คอมพิวเตอร์

Page 1

1

คอมพิวเตอร์ และระบบคอมพิวเตอร์ ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรื อ การคานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่ องอิเล็กทรอนิกส์แบบ อัตโนมัติ ทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิ ตศาสตร์ " คอมพิวเตอร์จึงเป็ นเครื่ องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถกู สร้างขึ้นเพื่อใช้ทางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิด คานวณและสามารถจาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพือ่ การเรี ยกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยัง สามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ดว้ ยความเร็ วสูง โดยปฏิบตั ิตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยงั มี ความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรี ยบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บ ข้อมูลในตัวเครื่ องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ ส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) 4.หน่วยความจา (Memory Unit) 1.ส่ วนรับข้ อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผูใ้ ช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบนั อุปกรณ์มากมายแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ ได้ดงั นี้ - Keyboard (คีย์บอร์ ด) Keyboard เป็ นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเป็ นปุ่ มตัวอักษร เหมือนปุ่ มเครื่ องพิมพ์ดีด เป็ นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ตอ้ งมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ อง จะรับข้อมูลจากการ กดแป้ นแล้วทาการเปลี่ยน เป็ นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กบั คอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ที่ใช้ในการป้ อนข้อมูลจะมี จานวนตั้งแต่ 50 แป้ นขึ้นไป แผงแป้ นอักขระส่วนใหญ่มีแป้ นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทาให้การป้ อน ข้อมูลตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น การวางตาแหน่งแป้ นอักขระ จะเป็ นไปตามมาตรฐานของระบบพิมพ์ สัมผัสของเครื่ องพิมพ์ดีด ที่มีการใช้แป้ นยกแคร่ (shift) เพื่อทาให้สามารถใช้พิมพ์ได้ท้งั ตัวอักษร ตัวพิมพ์ ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักษรที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็ นรหัส 7 หรื อ 8 บิต


2

กล่าวคือ เมื่อมีการกดแป้ นพิมพ์ แผงแป้ นอักขระจะส่งรหัสขนาด 7 หรื อ 8 บิต นี้เข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์

- Mouse (เมาส์ ) Mouse เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทางาน โดยทัว่ ไปจะเป็ นตัวที่ใช้ ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสาหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก หรื อเลื่อนวัตถุ ต่างๆ บนจอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้ 2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port และ PS/2 (Personal System Version2)

- Scanner (สแกนเนอร์ ) สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์จบั ภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรู ปแบบของแอนาลอกเป็ นดิจิตอล ซึ่ง คอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรี ยบเรี ยง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็ นรู ปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรื อแม้แต่วตั ถุสามมิติ

- Webcam (เว็บแคม) เว็บแคมหรื อชื่อเรี ยกเต็มๆว่า Web Camera (เว็บแคเมรา) แต่ในบางครั้งก็มีคนเรี ยกว่า Video Camera หรื อ Video Conference เว็บแคมเป็ นอุปกรณ์อินพุตที่ สามารถจับภาพเคลื่อนไหวของเราไปปรากฏ ในหน้าจอมอนิเตอร์ และสามารถส่งภาพเคลื่อนไหวนี้ผา่ นระบบเครื อข่ายเพื่อให้คนอีกฟากหนึ่งสามารถ


3

เห็นตัวเราเคลื่อนไหว ได้เหมือนอยูต่ ่อหน้า ถือว่าเป็ นอุปกรณ์ที่มีประโยชน์อีกตัวหนึ่ง และมีความจา เป็ นมากขึ้นเรื่ อยๆ

- Microphone (ไมโครโฟน) ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทาการแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า เพื่อประมวลผลในเครื่ องขยาย เสียงหรื ออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็ นหลัก เมื่อเสียงกระทบ ตัวรับในไมโครโฟนจะทาให้ขดลวดสัน่ สะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้ า ซึ่งเป็ น หลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทัว่ ไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรื อเสียงร้องเพลง

- Touch screen (ทัชสกรีน) ทัชสกรี น คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็ นจอภาพแบบพิเศษที่เป็ นทั้งอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล มักนาไปใช้กบั ธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์ สถานบันเทิงคาราโอเกะ รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น เครื่ องเอทีเอ็ม ซึ่งผูใ้ ช้งานเพียงแต่นานิ้วหรื อใช้แท่งคล้ายดินสอหรื อปากกา แตะ/ กดลงบนตาแหน่งที่ตอ้ งการบนจอภาพ

2.ส่ วนประมวลผลข้ อมูล (Central Processing Unit) ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่จะขาดไม่ได้เลยคือหน่วยประมวลผลกลาง หรื อ ซีพียู เรี ยกอีกชื่อ หนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรื อ ชิป (chip) นับเป็ นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผใู้ ช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมที่ ผูใ้ ช้ตอ้ งการใช้งาน ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางนั้นประกอบไปด้วย


4

1. หน่ วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) 2. หน่ วยควบคุม (Control Unit) 3. หน่ วยความจาหลัก (Main Memory)

3.ส่ วนแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 3.1) หน่ วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึง การแสดงผลออกมาให้ผใู้ ช้ได้รับทราบใน ขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรื อเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็ นวัตถุให้เก็บได้ ถ้าต้องการเก็บ ผลลัพธ์น้ นั ก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรู ปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ใน ภายหลัง ได้แก่ - จอภาพ (Monitor)

- อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)

- อุปกรณ์เสียง (Audio Output)


5

3.2) หน่ วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) หมายถึง การแสดงผลที่สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ ตามต้องการ มักจะออกมาในรู ปของกระดาษ ซึ่งผูใ้ ช้สามารถนาไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรื อให้ผรู้ ่ วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้ อุปกรณ์ที่ใช้เช่น - เครื่องพิมพ์ (Printer)

- เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)

4.หน่ วยความจา (Memory Unit) หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรื อข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรี ยม ส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล และเตรี ยม ส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่งหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้ 4.1) หน่ วยความจาหลัก (Main Memory Unit) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยูร่ ะหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ บางครั้งอาจเรี ยกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 4.1.1) หน่ วยความจาหลักแบบอ่านได้ อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM) เป็ นหน่วยความจา แบบสารกึ่งตัวนาชัว่ คราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็ นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึก ซ้ าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็ นความจาที่ซอฟต์แวร์หรื อข้อมูลอยูแ่ ล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับไมโคร โพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจาก หน่วยความจา (nonvolatile) โดยทัว่ ไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ตอ้ งมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บโปรแกรม ไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรื อเฟิ ร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บ โปรแกรมการทางานสาหรับเครื่ องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน เช่น ใน รถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่ องซักผ้า เป็ นต้น


6

4.1.2) หน่ วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM) เป็ นหน่วยความจา หลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยคุ ปัจจุบนั หน่วยความจาชนิดนี้ อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ใน ตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็ วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรื อดิสก์ ที่มี ข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ตอ้ งทาตามลาดับก่อนหลังตามที่จดั เก็บไว้ในสื่อ หรื อมีขอ้ กาจัดแบบ รอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว ข้อมูลในแรม อาจเป็ นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรื อข้อมูลที่ใช้ในการ ประมวลผล ของโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถกู ปิ ดลง เนื่องจากหน่วยความจาชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้ าหล่อเลี้ยงเท่านั้น

4.2) หน่ วยเก็บข้ อมูลสารอง (Secondary Storage Unit) สามารถแบ่งออกได้เป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้ 4.2.1) แบบจานแม่เหล็ก เป็ นอุปกรณ์สารองข้อมูลที่เป็ นลักษณะของจานแม่เหล็กสาหรับบันทึก ข้อมูลไว้ภายใน Disk ได้รับความนิยมและใช้งานมานานพอสมควรซึ่งเป็ น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลักๆ เลยในปัจจุบนั ยกตัวอย่างเช่น ฮาร์ ดดิสก์

4.2.2) แบบแสง เป็ นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบนั โดยใช้หลักการทางาน ของแสง การจัดการข้อมูลจะคล้ายกับแผ่นจานแม่เหล็ก ต่างกันที่การแบ่งจะเป็ นรูปก้นหอย และเริ่ มเก็บ บันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก ที่เป็ นที่นิยมและรู้จกั กันดี เช่น CD , DVD


7

4.2.3) แบบเทป เป็ นสื่อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็ นจานวนมากและเข้าถึงข้อมูลแบบ เรี ยงลาดับต่อเนื่องกันไป มีการผลิตขึ้นมาหลากหลายขนาดแตกต่างกันไป เช่น DAT และ QIC เป็ นต้น ปัจจุบนั ไม่ค่อยถือเป็ น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

4.2.4) แบบอืน่ ๆ เป็ นสื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่พบได้ทวั่ ไปในปัจจุบนั มีชื่อเรี ยกแตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb Drive , Handy Drive เป็ นต้น อีกชนิดคือ Memory Card เพื่อใช้เก็บข้อมูลในกล้อง ดิจิตอลแบบพกพา

ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กนั และทางานร่ วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่ อง คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น ฮาร์ดแวร์


8

ประกอบด้วย o o o o o

หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรื อ CPU หน่วยความจาหลัก หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit )

หน่วยรับข้อมูล จะเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วย ประมวลผลกลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผใู้ ช้รับทราบทาง หน่วยแสดง ผลลัพธ์ หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชัว่ คราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะ ทาหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยูก่ บั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะ ขึ้นอยูก่ บั หน่วยความจาหลักของเครื่ องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ อยูใ่ นหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะที่ขอ้ มูลอยูท่ ี่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ ผูใ้ ช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็บข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บ ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรื อเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือการเรี ยกใช้ขอ้ มูล จะช้ากว่าหน่วยความจาหลักมาก

ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็ นชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมที่สงั่ ให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดย ชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษา หนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรื อนักเขียนโปรแกรมเป็ นผูใ้ ช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียน ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ นสองประเภทใหญ่ๆคือ


9

o o

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )

ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่ องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบ เป็ นส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่ มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผใู้ ช้ตอ้ งการได้ ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็ นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กบั ผูใ้ ช้ ซึ่งแตกต่าง กันไปตามความต้องการของผูใ้ ช้แต่ละคน

ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) เครื่ องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสัง่ ให้เครื่ องทางาน เรี ยกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผูใ้ ช้ หรื อ ยู เซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ตอ้ งใช้ผคู้ วบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยงั คง ต้องถูกออกแบบหรื อดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็ นหลายระดับ เพราะผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มี ความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรี ยกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยสู เซอร์ (power user) ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผูท้ ี่ได้ศึกษาวิชาการทางด้าน คอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศกึ ษามาประยุกต์และ พัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็ นผูเ้ ชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และ เป็ นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป บุคลากรก็เป็ นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุ ปลักษณะ งานได้ดงั นี้ -การดาเนินงานและเครื่ องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรื อส่งข้อมูลเข้าประมวล หรื อควบคุม


10

การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บนั ทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็ นต้น -การพัฒนาและบารุ งรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พฒั นาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พฒั นาโปรแกรม (System Programmer) เป็ นต้น -การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบ ระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จดั การ ฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็ นต้น -การพัฒนาและบารุ งรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็ นต้น -การบริ หารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผูบ้ ริ หารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็ นต้น ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีขอ้ มูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถกู เก็บรวบรวมมา ประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ ซึ้งในปัจจุบนั มีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มา เป็ นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ข้ อมูล คือ ได้จากการสารวจจริ ง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผา่ นกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศเป็ นสิ่งที่ผบู้ ริ หารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์น้นั จะมี คุณสมบัติ ดังตาราง

มีความสัมพันธ์กนั (relevant)

สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจุบนั

มีความทันสมัย (timely)

ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทนั ที เมื่อต้องการ

มีความถูกต้องแม่นยา (accurate)

เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้ จะต้องถูกต้องในทุกส่วน

มีความกระชับรัดกุม (concise)

ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ

มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete)

ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน


11

คุณสมบัตขิ องสารสนเทศที่มปี ระโยชน์

การเปลีย่ นรูปจากข้ อมูลสู่ สารสนเทศ กระบวนการทางาน (Procedure) กระบวนการทางานหรื อโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผใู้ ช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะ อย่างจากคอมพิวเตอร์ซ่ึงผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะ สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่ อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้อง ผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

จอภาพแสดงข้อความเตรี ยมพร้อมที่จะทางาน สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใ้ ช้ เลือกรายการ ใส่จานวนเงินที่ตอ้ งการ รับเงิน รับใบบันทึกรายการ และบัตร

การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบตั ิงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีข้นั ตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลา ต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิงานด้วย จึงต้องมีค่มู ือการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจน เช่น คู่มือสาหรับผูค้ วบคุมเครื่ อง (Operation Manual) คู่มือสาหรับผูใ้ ช้ (User Manual) เป็ นต้น


12

ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ 1.ด้านการศึกษา -ช่วยนาเสนอข้อมูลได้หลายรู ปแบบ -ช่วยรวบรวมข้อมูลต่างๆ -ช่วยให้ผเู้ รี ยนสามารถศึกษาหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง -ช่วยแลกเปลี่ยนและนาเสนอความคิดของผูเ้ รี ยนกับผูอ้ ื่น -ช่วยขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่ผเู้ รี ยนที่ขาดแคลนผูส้ อน -ช่วยผลิตสื่อการเรี ยนรู้ที่น่าสนใจ และส่งเสริ มการเรี ยนรู้แก่ผเู้ รี ยน -ช่วยอานวยความสะดวกในการเรี ยนรู้ ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนที่ไหนหรื อเมื่อไรก็ได้ที่มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2.ด้านการสื่อสาร -ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร -เป็ นสื่อกลางในการรับและส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง -ช่วยกระจายข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังผูใ้ ช้ทุกคน 3.ด้านการบริ หารประเทศ -เป็ นช่องทางการรับรู้ขอ้ มูลจากประชาชน -เป็ นช่องทางการนาเสนอข้อมูลไปสู่ประชาชน -ส่งเสริ มการแสดงออกซึ่งประชาธิปไตร -เพิ่มทัศนคติที่เกี่ยวกับการบริ หารประเทศด้านบวกให้แก่ประชาชน -เป็ นช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานของรัฐบาล -ช่วยอานวยความสะดวกให้กบั ประชาชนและข้าราชการในการจัดการเกี่ยวกับงานด้านทะเบียนราษฎร 4.ด้านสังคมศาสตร์ -ช่วยเก็บข้อมูลสถิติดา้ นสังคมศาสตร์ -ช่วยคานวณโน้มปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต -ช่วยนาเสนอข้อมูลในรู ปแบบของกราฟ แผนภูมิ หรื อภาพ 3 มิติ ทาให้สามารถเปรี ยบเทียบข้อมูลต่างๆได้ ง่ายยิง่ ขึ้น 5.ด้านวิศวกรรม -ช่วยออกแบบและคานวณโครงสร้างบ้านและอาคาร -สร้างโมเดลจาลองก่อนการสร้างโมเดลจริ ง -ควบคุมการทางานด้านก่อสร้างที่มีความละเอียดอ่อน -ช่วยประมวลผลและประเมินสถานการณ์ที่อาจเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต 6.ด้านวิทยาศาสตร์ -ช่วยเก็บและประมวลผลข้อมูลในงานวิจยั และการทดลองต่างๆ


13

-เชื่อมต่ออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์น้นั -ช่วยทางานวิจยั หรื องานทดลองที่มีความละเอียดและมีขนาดที่เล็กๆได้ -สร้างแบบจาลองงานทดลองเพื่อลดความผิดพลาดจากการทดลองกับของจริ ง 7.ด้านการแพทย์ -ลดความผิดพลาดและเพิ่มความแม่นยาในการวินิจฉัยและรักษาโรค -เผยแพร่ ขอ้ มูลเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพ -ช่วยลดเวลาในการรักษาโรค 8.ด้านอุตสาหกรรม -ช่วยควบคุมการผลิตชิ้นงานให้ได้ปริ มาณและคุณภาพตามต้องการ -ช่วยทางานในพื้นที่ เสี่ยงภัยหรื องานที่มนุษย์ไม่สามารถทาได้ -ช่วยลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน -ช่วยคานวณปริ มาณวัตถุดิบ สินค้า และกาไร 9.ด้านธุรกิจ -เป็ นช่องทางการนาเสนอสินค้า -ช่วยตรวจสอบและสัง่ ซื้อสิ้นค้าต่างๆ -ขยายโอกาสทางธุรกิจให้แก่ผทู้ ี่มีเงินทุนต่า -ช่วยคานวณตัวเลขทางธุรกิจได้อย่างแม่นยา -เพิ่มความสะดวกในการซื้อและขายสินค้าจากทัว่ โลก 10.ด้านธนาคาร -ลดขั้นในการดาเนินการ -ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผใู้ ช้บริ การธนาคาร ทาให้สามารถตรวจสอบข้อมูลของลูกค้าได้จากทุก ธนาคาร -ช่วยเก็บข้อมูลลูกค้าไว้ในส่วนกลาง ทาให้สามารถตรวจสอบข้อมูลของลูกค้าได้จ ากทุกธนาคาร 11.ด้านสานักงาน -ใช้สร้างงานนาเสนอในรู ปแบบที่น่าสนใจ -ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการพิมพ์เอกสาร -ช่วยเก็บข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผูบ้ ริ หาร -ช่วยจัดทา แก้ไข หรื อคัดลอกเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว เป็ นระเบียบ และสวยงาม 12.ด้านความบันเทิง -ช่วยให้เกิดความสนุกสนานและทาให้รู้สึกผ่อนคลาย -เพิม่ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ -ส่งเสริ มความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์


14

-ส่งเสริ มพัฒนาการทางด้านสมอง -ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการหาความบันเทิง -เป็ นพื้นฐานในการสร้างแอนนิเมชันและเทคนิคพิเศษทางด้านภาพยนตร์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.