Wisdom and heritage

Page 1





กว่าจะเป็น “บางขุนเทียน”

“เขตบางขุนเทียน” เป็นเขตที่ลักษณะ พื้นที่กึ่งชานเมืองและชนบท โดยพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ทังหมด 123.26 ตร.กม. และเป็นบริเวณที่มีทั้งที่ อยู่อาศัย เขตเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ความน่า สนใจของเขตบางขุนเทียนเป็นเขตเดียว ในกรุ ง เทพมหานครที่ มี พื้ น ที่ ติ ด กั บ เขต อ่าวไทย โดยมีแนวชายฝั่งประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นป่าชายเลน ทีมีต้นโกงกาง ลำ�พู เสม ต้นเหงือกปลาหมอ โดยพื้นที่ ป่าชายเลนมีจำ�นวน 3,181ไร่ ชื่อของ บางขุนเทียนสามารถสืบของสันนิษฐาน ได้ 3 แนวทาง แนวทางวรรณกรรมจากงานเขียน สมัยต้นรัตนโกสินทร์ นิราศนรินทร์ ผู้ประพันธ์ คือ นายนรินทรเบศร์ มหาดเล็กฝ่ายพระราชวังบวร แต่งขึ้น เมื่อคราวสมเด็จพรบวรราชเจ้า มหา เสนานุรักษ์ เสด็จยกทัพหลวงไปรบ พม่า ซึ่งเข้ามาตีเมืองถลางและเมือง ชุมพร และงานนิราศเมืองเพชรของ สุนทรภู่ ที่มีการกล่าวถึงชุมชนที่เรียกว่า บางขุนเทียน

แนวคำ�บอกเล่า /คำ�ให้การ โดย เป็นการบอกเล่าว่า การติดต่อค้าขาย จากกอิงเวียนจากสุพรรณบุรี โดย ผู้คุมกันประจำ�กองเวียน จะเรียกว่า ขุน ซึ่งการเดินทางจะมีการหยุดกอง เกวียนเสมอ ชาวบ้านจึงเรียกว่า บาง ขุนเกวียน ต่อมามีการผิดเพี้ยนจาก บางขุนเกวียน มาเป็นบางขุนเกียน ท้ายสุดเป็นบางขุนเทียน โดยบริเวณ บางขุนเทียน น่าจะมีคนอยู่อย่างหนา แน่น เนื่องจากมีวัดบางขุนเทียนถึง 3 วัด (วัดบางขุนเทียนใน-กลาง-นอก) แนวทางประวัติศาสตร์ จากคำ�บันทึก บอกเล่าของเทียนวรรณ ที่สะท้อนให้ เห็นว่า บางขุนเทียน อาจเป็นชื่อของ ขุนนางรักษาสวนหลวงในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชที่มีนามว่า เทียร โดยมี ค ลองที่ ช าวบ้ า นเรี ย กขานตาม ชื่อของขุนเทียรว่า คอลงบางขุนเทียน ขุนเทียรเป็นทวดของเทียนวรรณ

Wisdom & Heritage



เขตบางขุนเทียน แรกเริ่มได้มีใช้เรือจอด ทำ � การบริ เ วณปากคลองหั ว กระบื อ โดยเรียกว่า อำ�เภอหัวกระบือ ต่อมา พ.ศ. 2437 ได้ย้ายไปตั้งบริเวณสาม แยกคลองบางขุนเทียน และในช่วง ทศวรรษที่ 2440 ได้มีการเปลี่ยนชื่อ จาก อำ�เภอศีรษะกระบือ มาเป็นอำ�เภอ บางขุนเทียน โดยถือว่าเป็นอำ�เภอชั้น นอกขึ้นตรงต่อมณฑลกรุงเทพ ฯ จน กระทั่ง พ.ศ. 2452 บริษัทท่าจีนได้สร้าง ทางรถไฟจากคลองสานไปแม่ ก ลอง อำ � เภอบางขุ น เที ย นได้ ย้ า ยไปอยู่ ที่ ดิ น บริเวณของวัดจอมทอง (วัดราชโอรสฯ) เนื่องจากความคับแคบของสถานที่ จึง ได้ มี ก ารย้ า ยที่ ทำ � การเขตบางขุ น เที ย น มาที่ถนนพระราม 2 ในพ.ศ. 2520 ในพ.ศ. 2532 เขตจอมทองได้แยกตัว ออกไปจากเขตบางขุนเทียน โดยแยก ออกไป 4 แขวง ได้แก่ แขวงบางขุนเทียน จอมทอง บางค้อและบางมด และใน พ.ศ. 2540 แขวงบางบอนได้แยกออก มาตั้งเป็นเขตบางบอน ปัจจุบันเขต บางขุนเทียนประกอบ 2 แขวงคือ แขวง ท่าข้ามและแสมดำ� ปัจจุบัน มีชุมชน ทั้งหมด 49 ชุมชน

เ ข ต บ า ง ขุ น เ ที ย น เ ป็ น เ ข ต ที มี แ ห ล่ ง โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สามารถ ย้อนรอยกลับไปถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ว่าจะเป็นวัดกก วัดเลา วัดกำ�แพง หรือวัดหัวกระบือ ทั้งนี้ บางขุนเทียน ตั้งอยู่ริมคลองด่าน ที่แยกออกจาก คลองบางกอกใหญ่(คลองบางหลวง) สามารถใช้เป็นเส้นสัญจรไปทางหัวเมือง ปักษ์ใต้ได้ ซึ่งคลองด่านนี้ เป็นคลอง ที่มีชื่อเรียกหลายชื่อมาก โดยช่วงต้น คลองที่ แ ยกจากคลองบางกอกใหญ่ จะเรียกว่า คลองด่าน เมื่อไหลต่อไปจะ เรียกว่า คลองสนามไชย และเมื่อผ่าน บางกระดี่ จะเรียกว่า คลองบางกะดี่ เมื่อไหลผ่านย่านแสมดำ� เรียกว่า คลอง แสมดำ� จนเมื่อเข้าสู่สมุทรสาคร จะเรียก ว่า คลองมหาชัย คลองนี้ถือว่าเป็น เส้ น เลื อ ดขนาดใหญ่ ที่ ห ล่ อ เลี้ ย งผู้ ค น ในอดีต ย่านบางขุนเทียนเป็นแหล่ง เกษตรกรรมที่ ขึ้ น ชื่ อ ในเรื่ อ งของการ ทำ�สวนผลไม้ ไม่ว่าจะเป็นสวนลิ้นจี่ สวน ส้มบางมด ก็ถือว่าเป็นของขึ้นชื่อเรื่อง รสชาติ

Wisdom & Heritage



กว่าจะเป็น “บางขุนเทียน” “บางขุนเทียน” ชื่อ 1 ใน 50 เขตของ กรุงเทพมหานคร เล่ากันว่า ในสมัยก่อน การเดินทางบกต้องใช้เกวียนเป็นหลัก และพื้นที่แถบนี้ได้เป็นที่หยุดพักของกอง เกวียนเป็นประจำ� ซึ่งแต่ละกองเกวียนจะ ต้องมี ‘ขุน’ คอยเป็นบอดี้การ์ด รักษา ความปลอดภั ย ในการเดิ น ทางขนส่ ง สินค้า ชาวบ้านได้พากัน เรียกว่า บาง ขุนเกวียน แต่ในความเป็นจริงชาวบ้าน ออกเสียงว่า “บางขุนเกียน” จึงเกิด การเพี้ยนของเสียงมาเรื่อยๆ จนกลาย เป็นคำ�ว่า “บางขุนเทียน” เขตบางขุนเทียน ก่อตั้งมาเป็นเวลา ประมาณ 100 ปีเศษ สันนิฐานว่าก่อ ตั้งในราวปี พ.ศ. 2410 เดิมขึ้นอยู่กับ จังหวัดธนบุรีต่อมาได้มีการรวมจังหวัด พระนครเป็ น นครหลวงกรุ ง เทพธนบุ รี และมาเปลี่ ย นเป็ น กรุ ง เทพมหานคร ในภายหลั ง มี ก ารแบ่ ง พื้ น ที่ อ อกเป็ น เขตและแขวงแทนอำ�เภอและตำ�บล ดัง นั้น อำ�เภอบางขุนเทียน จึงได้รับการ เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเขตบางขุนเทียน ที่มีเขตการปกครอง 7 แขวง ได้แก่ แขวงบางขุนเทียน แขวงบางค้อ แขวง จอมทอง แขวงบางมด แขวงท่าข้าม แขวงบางบอน และแขวงแสมดำ�

ส่วนสถานที่ตั้งของตัวอาคารมีผู้เล่าลือ กันว่า เดิมใช้เรือเป็นที่ทำ�การจอดประจำ� อยู่ บ ริ เ วณปากคลองหั ว กระบื อ หรื อ แขวงท่าข้ามในปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2437 ได้ ย้ า ยมาสร้ า งตั ว อาคารที่ ทำ � การอยู่ บริ เ วณสามแยกบางขุ น เที ย นและราว ปี พ.ศ. 2452 บริษัทท่าจีนได้สร้างทาง รถไฟเริ่ ม จากจั ง หวั ด สมุ ท รสาครผ่ า น บริเวณวัดราชโอรส เขตบางขุนเทียน แต่หลักจากนั้นได้ย้ายที่ทำ�การมาอยู่ริม ทางรถไฟในที่ดินของวัดราชโอรสาราม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ น การอำ � นวยความสะดวก แก่ประชาชนในขณะนั้นซึ่งมักอาศัยการ เดิ น ทางโดยรถไฟมาติ ด ต่ อ ราชการ ต่อมาส่งผลให้พื้นที่เขตบางขุนเทียนมี ประชากรมากขึ้นจวบจนปัจจุบันนี้

Wisdom & Heritage





ชีวิตกลางน้ำ�ที่ “แสนตอ” “แสนตอ” เดิมทีเป็นคลองส่งน้ำ�ธรรม ชาติ เ ล็ ก ๆที่ มี ต อไม้ อ ยู่ ม ากเชื่ อ มซึ่ ง กั บ คลองสายหลั ก คื อ คลองพิ ท ยาลง กรณ์ ซึ่งเชื่อมกับคลองขุนราชพินิจใจ เส้ น ทางออกสู่ ท ะเลกรุ ง เทพมหานคร คลองแสนตอมีน้ำ�เค็มตลอดทั้งปีเหมาะ แก่ ก ารทำ � นาเกลื อ ปั จ จุ บั น มี ป ระชากร ครอบครัว 51 หลังคาเรือน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทำ�นากุ้ง เลี้ยงหอยแครง และเลี้ยงปลา พร้อมเปิดบริการ Home Stay พายเรือคายัค งมหอยแครง โดย มีคุณจรัญ อ่วมสะอาด หรือลุงสอน ประธานชุมชนแสนตอเป็นผู้ดูแล วิธีการเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงหอยของคนใน ชุมชนแสนตอ เริ่มจากการเตรียมพื้นที่ ในการเลี้ยง ขุดบ่อที่มีความลึกถึง 1 เมตรครึ่ง ขุดเป็นล่องรอบพื้นที่ ทำ�เขต กั้นระหว่างคันกลางแล้วทำ�ประตูน้ำ� ซึ่ง การเปิ ด น้ำ � เข้ า -น้ำ � ออกจะขึ้ น กั บ เวลา ที่ น้ำ � เกิ ด โดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เวลาในตอน เช้ า พอตอนกลางคื น จึ ง ปล่ อ ยน้ำ � ออก ในบางวันที่เกิดน้ำ�ตาย (น้ำ�ขึ้นน้อย) จะ งดเปิดน้ำ�เข้า 2 วัน การเลี้ยงกุ้งใช้เวลา นาน 3 เดือนส่วนการเลี้ยงหอยนั้นต้อง ใช้เวลาปีกว่า

วิธีการจับกุ้งในสมัยก่อนใช้ลอบดักตรง คันตั้ง ทำ�ซั้งเข้ามุมแล้วหว่านลอบ เปิด ให้ น้ำ � ระบายออกกุ้ ง ก็ จ ะว่ า ยเข้ า ลอบ ปัจจุบัน ใช้อวนมาดักแทน โดยเปิดน้ำ� ในบ่อออกแล้วมีจุดเดียวทำ�ให้จับได้ง่าย และสะดวกกว่าสมัยก่อน ส่วนหอยใช้วิธี การจั บ โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ ตะแกลงเหล็ ก คราดหอยโดยใช้ เ รื อ ลากขณะทำ � การ ขูด แซะส่วนที่เป็นโคลนดินทรายรวมทั้ง เปลือกหอย และหอยที่ต้องการจับจะอยู่ ภายในคราด เมื่อลากหรือร่อนเอาโคลน ทรายออกจากตะแกรง ตัวหอย และสิ่ง อื่น ๆ ที่มีขนาดใหญ่กว่าช่องตะแกรงจะ ติดอยู่ที่ก้นตะแกรง บางครั้งใช้แรงงาน คนทำ�หน้าที่พลิกหน้าดินและหอยให้ขึ้น มาพอให้ ม องเห็ น ไม่ มี ต ะแกรงรองรั บ การใช้คราดหอยส่วนใหญ่จะลากเพียง ช่วงสั้น ๆ โดยคาดคะเนว่าได้โคลนหรือ ทรายเต็มตะแกรงแล้วจึงกู้คราดขึ้นมา

Wisdom & Heritage



ชีวิตกลางน้ำ�ที่ “แสนตอ” ชุมชนแสนตอเป็นชุมชนติดชายทะเลมี พื้ น ดิ น เค็ ม จึ ง ทำ � ให้ ต้ น ชะครามขึ้ น เอง ตามธรรมชาติโดยไม่ต้องปลูก ชะคาม เป็ น พื ช ล้ ม ลุ ก ได้ ห ลายปี ลำ � ต้ น แตกกิ่ ง เป็ น ทรงพุ่ ม ขนาดเล็ ก เมื่ อ แก่ เ ต็ ม ที่ จ ะมี สี น้ำ � ตาลอมแดงหรื อ สี แ ดงระเรื่ อ ส่ ว น ราก ประกอบด้วย รากแก้วที่แทงลึกลง ดิ น ในแนวตั้ ง และรากแขนงที่ ค่ อ นข้ า ง แทงออกตามแนวขนานกั บ พื้ น ดิ น ใบ ชะคราม จัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ใบแทง ออกเป็ น ใบเดี่ ย วๆตามความยาวของ กิ่ง ลิ้นใบเป็นแผ่นบาง ๆ สีน้ำ�ตาลอ่อน ลั ก ษณะทรงกระบอกเกื อ บเป็ น รู ป ทรง กลมเรียวยาวและอวบน้ำ�ส่วนปลายใบจะ แหลม ใบอ่อนมีสีเขียวอ่อนต่อมาโตเต็ม ที่ จ ะมี สี เ ทาเงิ น อมเขี ย วและเปลี่ ย นเป็ น สี น้ำ � ตาลหรื อ สี แ ดงระเรื่ อ หรื อ สี ค ราม เมื่ อ ต้ น แก่ เ ต็ ม ที่ ข นาดใบยาวประมาณ 2 - 5 เ ซ น ติ เ ม ต ร ก ว้ า ง ป ร ะ ม า ณ 2 - 5 มิลลิเมตร

ชะคราม กินได้จากใบสด ๆ ให้รสเค็ม นำ � มาประกอบอาหารได้ ทั้ ง คาว-หวาน หลากหลายเมนู เช่น สามารถกินคลุก กับกะปิ ต้มจิ้มน้ำ�พริกก็เข้ากันดี นำ�มา ทำ�ยำ�บ้าง ชุบไข่ทอดบ้าง แกงส้มก็ใส่ ใบชะครามได้ เ ช่ น กั น ส่ ว นใหญ่ จ ะทอด กับไข่ก่อน แล้วนำ�มาแกง ทางด้านเมนู ขนมหวานต้องนำ�ใบชะครามไปต้ม เพื่อ ลดความเค็มของเกลือก่อนไปประกอบ อาหารหรือรับประทานสามารถนำ�มาทำ� ขนมกล้วยและขนมดอกโสน นอกจาก นี้ ใบชะครามยังใช้ในการถอนอาการแพ้ จากยางต้นไม้ต่าง ๆ ได้อีกด้วย

Wisdom & Heritage


เนื่องจากชุมชนแสนตอเป็นชุมชนที่ติด กับชายทะเลการเดินทางมาชุมชนต้อง ใช้เรือในเป็นพาหนะเท่านั้นชาวบ้านในชุน ชนจึงต้องปลูกผักสวนครัว เพื่อนำ�มา ประกอบอาหารเป็นหลักไม่ต้องเดินทาง ไปซื้ อ ไกลๆและเป็ น การประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ายภายในครัวเรือน ผักสวนครัวที่ปลูก มี ห ลายชนิ ด ทั้ ง เป็ น ที่ นิ ย มทั่ ว ไปและที่ แปลกตาอย่าง ‘ผักเบี้ย’ หรือ ‘ผักเป๊ะ’ซึ่ง เป็นพืชคลุมดินที่พบในบริเวณชายหาด อยู่ในตระกูลไม้ล้มลุกมีรากฝอยและราก งอกตามข้ อ ลำ � ต้ น ที่ สั ม ผั ส ดิ น ลำ � ต้ น แตกกิ่ ง ก้ า นโปร่ ง แผ่ ร าบตามพื้ น ดิ น อวบน้ำ� ทอดเลื้อยไปตามผิวดิน ยอด ใหม่ แ ตกตามข้ อ ปล้ อ งลำ � ต้ น สี เ ขี ย ว ปนแดงหรื อ ม่ ว งใบเดี่ ย วเรี ย งแบบตรง ข้าม รูปขอบขนาน ก้านใบสั้น ปลายใบ โค้งมน ดอกมีขนาดเล็กสีชมพู 5 กลีบ ผั ก เบี้ ย ไม่ นิ ย มกิ น สดจึ ง ต้ อ งนำ � ใบมา ประกอบอาหารโดยการต้ ม แล้ ว คั้ น น้ำ � ออก จากนั้นจึงนำ�ใบมาแกง เช่น แกง ใบผักเบี้ย แกงคั้วปลาใส่กะทิ น้ำ�ยาขนม จีนอันป็นอาหารประจำ�ท้องถิ่นสูตรเด็ด ของที่นี่


ชีวิตกลางน้ำ�ที่ “แสนตอ” จุดเด่นของการเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเล มี ทำ � ให้ มี พื ช ที่ ขึ้ น อยู่ ต ามธรรมชาติ มากมายและสามารถนำ � ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ เช่น ต้นโกงกาง นำ�ก้านมาแล้วมาตัดท เสาค้ำ � ยั น สิ่ ง ปลู ก สร้ า งหรื อ จะเผาถ่ า น โดยใช้ไม้โกงกาง ไม้แสมซึ่งเป็นเชื้อเพลิง ได้ นอกจากนี้มี ‘ตะบูน’ เป็นไม้ผลัดใบ รากพู พ อนแผ่ อ อกจากโคนต้ น รากที่ ใช้หายใจรูปทรงค่อนข้างแบน เปลือก เรียบ สีน้ำ�ตาลอมเหลือง เปลือกหลุด ออกเป็นแผ่นบาง ๆ ใบเป็นใบประกอบ แบบขนนกชั้นเดียวมีสีเขียวอ่อน ผิวใบ เป็นมัน ดอกเป็นดอกช่อสีขาว 4 กลีบ แตกออกจากง่ามใบ ผลกลมสีน้ำ�ตาล อมเขียว ถ้าแก่จะกลายเป็นสีน้ำ�ตาลแก่ ภายในมี เ มล็ ด ขนาดใหญ่ อั ด แน่ น ในผล กิ่งและขั้วของต้นตะบูนเหนียวมากทำ�ให้ สามารถรองรั บ น้ำ � หนั ก ผลที่ มี จำ � นวน มาก แถมผลใหญ่แลหนักได้อย่างดี หาก ผลแก่ จึ ง ร่ ว งช้ า มากาหารประจำ � ท้ อ ง ถิ่นสูตรเด็ดของที่นี่

คุ ณ สมบั ติ ข องลู ก ตะบู น คื อ ใช้ ย้ อ มผ้ า ได้ เ ป็ น สี ก ลั บ หรื อ สี ที่ พ ระใช้ ทำ � ได้ โ ดย การกะเทาะเอาเปลือกออกปลอกเป็นชิ้น เล็กๆ ตากให้แห้งแล้วนำ�มาต้ม ชาวบ้าน นิ ย มนำ � น้ำ � ที่ ไ ด้ จ ากการต้ ม มาย้ อ มเป็ น เครื่องมือการประมงหรือที่ทุกคนเรียก กันว่า ‘แห’

Wisdom & Heritage





กระโหลกใบยาวกระโถนท้องพระโรง “คุ้งลิ้นจี่” ในอำ�เภอบางขุนเทียน เมื่อ 50-60 ปีที่แล้ว เป็นอำ�เภอที่ปลูกลิ้นจี่ อั น มี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดั ง โดยเฉพาะคลอง บางขุนเทียน ซึ่งแยกจากคลองด่านและ คลองสนามชั ย ที่ ม าบรรจบกั น คลอง บางขุ น เที ย นนี้ มี ลั ก ษณะโค้ ง และมี คุ้ ง น้ำ � อยู่ เ ลยเข้ า ไปจากวั ด บางขุ น เที ย น น อ ก วั ด บ า ง ขุ น เ ที ย น ก ล า ง แ ล ะ วั ด บางขุนเทียนใน ซึ่งสองฝั่งของคุ้งน้ำ�จะ เต็มไปด้วยสวนลิ้นจี่ทอดยาวตลอดแนว ปัจจุบันสวนลิ้นจี่ลดน้อยลง แต่พอมี ให้เห็นอยู่บ้าง ได้แก่ สวน “ลุงชา” ของ คุณปรีชา พวงรอด ภายในสวนมีลิ้นจี่ 2พันธุ์ด้วยกันนั่นคือพันธุ์กะโหลกใบยาว ใช้เวลา 5 ปี จึงเริ่มออกลูก ให้รสชาติ หวานฉ่ำ� กรอบ เนื้อแห้ง เม็ดไม่โตและ ลูกไม่ใหญ่เกินส่วนอีกพันธุ์คือ พันธุ์ กระโถนท้องพระโรงแก่ช้ากว่าพันธุ์แรก มีอายุราว 150 ปี ลักษณะลูกจะมีขนาด ใหญ่ รสฝาด หนามเนียนคล้ายลิ้นจี่ เหนื อ ที่ สำ � คั ญ ในตอนนี้ ส วนของลุ ง ชา เหลือเพียงต้นเดียวเท่านั้น

การปลู ก ลิ้ น จี่ ข องลุ ง ชานั้ น ใช้ วิ ธี ก าร ตอนกิ่งชำ�ให้รากเต็มถุงแล้วเตรียมปลูก พื้ น ที่ ป ลู ก ต้ อ งทำ � โขดสู ง กว่ า พื้ น ดิ น จากนั้นนำ�ต้นที่ชำ�ไว้ลงไปปลูก วิธีการ เลี้ยงใช้ปุ๋ยไส้เดือนที่ทำ�เองเพื่อดูแลต้น ลิ้นจี่ให้เจริญงอกงามตามธรรมชาติให้ ได้มากที่สุด

ลิ้นจี่เป็นผลไม้ตามฤดูกาลออกปีละ ครั้ง โดยระยะหลังลิ้นจี่บางขุนเทียน ไม่ออกมานานถึง 10 ปี อันเนื่อง มาจากสภาพอากาศไม่ เ อื้ อ อำ � นวย สำ�หรับคนที่สนใจลุงชาเปิดให้บุคคล คนทั่วไปสามารถเดินชมสวนชมต้น ลิ้ น จี่ ที่ มี อ ายุ ย าวนานกว่ า ร้ อ ยปี แ ละ ได้ เ รี ย นรู้ ก ารทำ � สวนพร้ อ มสั ม ผั ส ธรรมชาติได้อย่างใกล้ชิด

Wisdom & Heritage


ภู มิ ปั ญ ญาอี ก หนึ่ ง อย่ า งที่ ลุ ง ชาใช้ ใ น การเก็บลิ้นจี่ นั้นคือ พะอง หรือ บันได ไม้ ไ ผ่ ที่ ใ ช้ เ ก็ บ ลิ้ น จี่ ทำ � จากไม้ ไ ผ่ ลำ � ยาว ประมาณ 8 เมตร (แล้วแต่ขนาด) ไม้จะ เจาะเข้ า ไปที่ ตั ว ไม้ ไ ผ่ ท ะลุ ส องข้ า งเพื่ อ เป็นขั้นบันได มีตะกร้าเกี่ยวกับลูกพะอง พะองจะไม่พิงต้นแต่จะตั้งฉาก90 องศา โดยมีเชือก 3 เส้นเป็นตัวรั้งไม่ให้เกิด การล้มเชือกจะผูกบริเวณคอโคนตะขอ เชื อ กสามารถหย่ อ นลงมาให้ ค นข้ า ง ล่างคอยถ่ายลิ้นจี่ได้ในการเร่พะองแต่ละ ครั้งต้องใช้คนเดินถ่ายลิ้นจี่ คนขึ้นเก็บ


Wisdom & Heritage


Wisdom & Heritage


ในสมัยก่อนเวลาลิ้นจี่ออกผลทั้งกลาง วันและกลางคืนจะมีเสียงดังระงมตลอด ซึ่งเสียงมาจากบริเวณคุ้งน้ำ�ที่เกิดจาก การชัก ”ตะขาบ” อันเป็นภูมิปัญญาช่วย ในการไล่สัตว์จำ�พวกกระรอก หนู และ ค้างคาว ที่จะมากินลิ้นจี่ ลักษณะของ ตะขาบเป็ น ลำ � ไม้ ไ ผ่ ผ่ า ซี ก มี ที่ แ ขวนเจาะ รู ร้ อยเชื อกโยงไปตามกิ่ ง ไม้ แ ละนั่งร้า น ชาวสวน ทำ�การไล่โดยสอดคานไม้เพื่อ เป็ น ตั ว หมุ น แล้ ว นำ � ไปพาดกั บ กิ่ ง ไม้ ทั้ ง ซ้ายและขวา ปลายไม้ไผ่เจาะรูไว้ เมื่อชัก เข้าหาตัวแล้วปล่อยมือจากเชือก ไม้ไผ่ก็ จะติดตัวไปกระทบกัน ทำ�ให้เกิดเสียงดัง ปั ง ๆๆแต่ ปั จ จุ บั น นิ ย มติ ด แสงไฟนี อ อน ทั่ ว สวนเพื่ อ เป็ น การไล่ สั ต ว์ แ ทนการใช้ ตะขาบ เนื่องจากเสียงที่ดังทำ�ให้รบกวน ชาวบ้านในระแวกนั้น





บางกระดี่ “ควานกระดี่” ก่อนจะเป็นเมืองหงสาวดี ณ แม่น้ำ� กว้ า งใหญ่ ดิ น โผล่ ต รงกลางแม่ น้ำ � มี นก2ตั ว บิ น ร่ อ นลงมาเกาะดิ น ที่ โ ผล่ ซึ่ ง ตั ว ผู้ เ กาะก่ อ นและตั ว เมี ย ไม่ มี ที่ จ ะ เกาะจึงเกาะซ้อนตัวผู้ แล้วพระพุทธเจ้า บิ ณ ฑบาตเพราะท่ า นชี้ ล งมาให้ ส ร้ า ง เป็นเมืองหงสาวดี สัญลักษณ์ของชาว มอญ ก็คือ “หงส์” นั่นเอง ต่อมามอญ เสียรู้พม่าพม่าจึงได้ยึดเมืองมอญ ชาว มอญจึงอพยพมาอยู่ที่เมืองไทยตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อพม่ายกทัพตีเมือง ไทยชาวมอญได้ ทำ � การขวางทั พ พม่ า ไว้ จึ ง ไม่ ส ามารถยึ ด เมื อ งไทยได้ แ ต่ แ ล้ ว พม่าก็ได้เผากรุงศรีอยุธยาแล้วถอยทับ กลับไป คนมอญจึงเข้ามาอยู่ได้เพราะ ช่วยทำ�สงครามไว้ แต่ก็ไม่ให้ชาวมอญ อยู่เกาะกลุ่มกัน เพราะกลัวจะกบฏต่อ เมืองไทย ชาวมอญจึงโยกย้ายไปอยู่ ริมแม่น้ำ�ลำ�คลอง แถบสมุทรปราการ สมุทรสงคราม บ้านแพ้ว รวมกันเป็น 37 ชุมชนมอญ ถ้าวัดใดที่มีหงส์วัดนั้น ก็คือวัดมอญ

สถานที่ตั้งชุมชนมอญบางกระดี่ ตั้งชุมชน ปลากระดี่เยอะ จึงตั้ง ชื่อมอญว่า “ควานกระดี่” ต่อ มาสร้างวัดบางกระดี่ ซึ่งเป็น ศูนย์กลางของชุมชน ปัจจุบัน วัดนี้ 150 ปีแล้ว (แพ เป็นภาษา มอญ แปลว่า วัด)

Wisdom & Heritage


ชาวมอญกวนกาละแม ในวันที่ 12 เมษายนก่อนถึงวันสงกรานต์ 1 วัน เพื่อที่จะนำ�ไปทำ�บุญที่วัด ก่อนจะนำ�ไป ทำ�บุญต้องแบ่งไว้ 3 ส่วน ส่วนหนึ่งแบ่ง ไปวัด แบ่งไว้กินเอง แล้วก็แบ่งไปให้ปู่ย่า ตายายตามบ้าน ทำ�ให้บรรดาลูกหลาน ที่อยู่ในวัยเด็กและวัยหนุ่มสาวของแต่ละ ครอบครัวได้รู้จักเคารพผู้มีสัมมาคารวะ และมี ค วามสั ม พั น ธ์ คุ้ น เคยกั บ เครื อ ญาติของตน เสร็จจากกวนกาละแม ก็ จะทำ�ข้าวแช่ และอาหารทั้งหมด 7 อย่าง ดังนี้ ปลาช่อนตากเค็ม , หมูใส่เกลือตาก เค็ม , หัวไช้โป๊ต้มกะทิ , กระเทียมดองผัด ไข่ , หมี่น้ำ� , ยำ�มะม่วง และ ไข่เค็ม

วันที่ 16 ถึง 18 เมษายน เวลา กลางคืน มีการเล่นสนุกสนาน รื่นเริงตามประเพณี เช่น การ เล่นทะแยมอญ การเล่นสะบ้ารำ� ซึ่ ง อาจจะเล่ น ที่ บ ริ เ วณวั ด หรื อ ตามหมู่ บ้ า นก็ ไ ด้ แ ล้ ว แต่ ก รณี นอกจากการละเล่ น ดั ง กล่ า วมา แล้ว ยังมีการแล่นตามประเพณี อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งนิยมเล่นกันใน หมู่ผู้ชาย คือ การเล่นสะบ้า


วันที่ 16 ถึง 18 เมษายน เวลากลาง คืน มีการเล่นสนุกสนาน รื่นเริงตาม ประเพณี เช่น การเล่นทะแยมอญ การ เล่นสะบ้ารำ� ซึ่ง อาจจะเล่นที่บริเวณ วั ด หรื อ ตามหมู่ บ้ า นก็ ไ ด้ แ ล้ ว แต่ ก รณี นอกจากการละเล่นดังกล่าวมาแล้ว ยัง มี ก ารแล่ น ตามประเพณี อี ก อย่ า งหนึ่ ง ซึ่งนิยมเล่นกันในหมู่ผู้ชาย คือ การ เล่นสะบ้าทอย มีลักษณะ การเล่นแบบ แข่งขันความแม่นยำ�ในการทอยสะบ้าซึ่ง ลักษณะ การเล่นจะคล้ายๆ กับการโยน โบว์ลิ่งนั่นเอง การเล่นสะบ้าทอยนี้เล่นได้ ทั้งกลางวันและกลางคืน ตั้งแต่ช่วงวัน ที่ 12 ถึง 18 เมษายน

ประเพณีสงกรานต์ของชาวมอญ บางกระดี่ เ ป็ น สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ควรแก่ การอนุรักษ์ส่งเสริมให้คงอยู่ตลอด ไป เพราะเป็นประเพณีที่สร้างความ สมัครสมานสามัคคี ส่งเสริมให้รู้จัก มีสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และรู้จักสัมมา คารวะต่อผู้ใหญ่ที่อาวุโส รู้จักแสดง ความกตัญญูกตเวทีต่อ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย และบุพการีที่ล่วงลับ ไปแล้ว ตลอดจนการส่งเสริมบำ�รุง พระพุ ท ธศาสนาให้ เ จริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ตลอดไป

ยกตัวอย่างการทำ�ข้าวแช่ วิธีทำ�คือ 1. ข้าวหุง ก่อนที่จะหุงต้องตำ� กวัด ซาวน้ำ� อย่างละ 7 ครั้ง หุงเสร็จแล้วก็ ต้องล้างน้ำ�ให้สะอาด 7 ครั้ง ( เ พ ร า ะ โ บ ร า ณ บ อ ก ไ ว้ ว่ า น า ง สงกรานต์ มี 7 พระองค์) 2. น้ำ�ที่จะใส่นำ�มาต้มใส่ภาชนะทีฝา ใช้เทียน ที่นี่ไม่ต้องการเทียนอบ เพราะ เหม็ น ป้ า ภู ใ ช้ รำ � ข้ า วไว้ ต รงภาชนะ มะพร้ า วขู ด แล้ ว ไม่ คั้ น กะทิ ไ ว้ ข้ า งบน แล้วเผาถ่านให้มอด นำ�เทียนสีเหลือ งหักๆใส่ลงไป เมื่อถ่านมอดแล้วก็คีบ ลงใส่ข้างบน ควันก็จะกลบ ใส่ไปที่เรา เตรียมน้ำ�ไว้แล้วฝาปิด เอาผ้าคลุมให้ หมดไม่ให้ควันออก เป็นเวลา 1 คืน เรียกว่า “น้ำ�อบเทียน”




ปัจจุบันยังมีการห่มสไบมอญในวัน เ ท ศ ก า ล สำ � คั ญ อ ยู่ โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ว ล า เข้าวัด สไบเป็นสิ่งสำ�คัญสำ�หรับชาว รามัญมาก ซึ่งงานมงคลจะใช้สไบสีสัน สดใส ส่วนงานอวมงคลจะใช้สไบดำ� ปัก ดอกไม้สีขาว การปักผ้ามอญ ใช้เวลา ปักประมาณ 1 เดือน ราคาผืนละ 1000 บาทขึ้นไปดูจากความละเอียดของลาย ที่ปัก โดยสไบจะมีความยาว 2 เมตร กว้างประมาณ 40 เซนติเมตร ผ้าที่ใช้ คือ ผ้าโทเล โดยลายบนผ้าก็จะมี ลายดอกมะเขือ ลายดอกพิกุล ลายดอกกันหัน ลาย ดอกทานตะวัน และลายดาวกระจาย ผ้า สไบสำ�หรับฝ่ายชายนั้น จะมีวิธีพาด 3 แบบ คือ

1. งานธรรมดา จะพาดไหล่ข้าง ใดข้างหนึ่ง 2. งานรื่นเริง จะพาดสองไหล่ โดยคล้องผ้าด้านหน้าปล่อยชาย ผ้าทั้งสองด้านไว้ด้านหลัง 3. งานบุญหรือไปวัด จะพาดแบบ สไบเฉียง สำ�หรับฝ่ายหญิงนั้น ก็จะมีวิธีพาดสไบ 3 แบบเช่นกัน แตกต่ า งก็ แ ต่ ใ นกรณี พ าดสอง ไหล่ จ ะคล้ อ งคอจากด้ า นหลั ง ปล่อยชายผ้าทั้งสองข้างไว้ด้าน หน้า

Wisdom & Heritage


ผู้ ห ญิ ง ปั จ จุ บั น นี้ ส าวมอญ บางกระดี่ นิ ย มไว้ ท รงผมตามสมั ย นิ ย มมากขึ้ น แต่ ก็ มี บ างส่ ว นที่ ยั ง พยายามรักษาเอกลักษณ์ไว้ คือ การ เกล้าผมมวย (ศก-ฮะ-ก๊อด) การมวย ผมของผู้หญิงมอญมี 2 แบบ แบบที่ 1 เรียกว่า (ศก-ฮะ-ก๊อด) หรื อ เป็ น การเกล้ า ผมมวยแบบลู ก จันทร์นั่นเอง แบบที่ 2 เรียกว่า (ศก-ตรอง) ซึ่งเวลามวยผมจะใช้ไม้ กระดานแบบๆ มาตีที่มวยผมเพื่อ ให้มวยผมนั้นแบนและสวยงาม โดย เฉพาะผู้ สู ง อายุ ยั ง คงไว้ ผ มยาวและ เกล้าผมมวยกันทุกคน

การมวยผมจะประกอบด้วย เครื่องประดับ 2 ชิ้น คือ ชิ้นที่ 1 มีลักษณะคล้ายเกือกม้า เรียกว่า (อะ-หนด-ซก) ใช้เสียบแนวตั้ง ชิ้นที่ 2 มีลักษณะคล้ายใบไผ่ เรียกว่า (หะ-นะ-ซก-หะ)ใช้ เ สี ย บแนวนอน ในงานบุญหรืองานต่างๆ เครื่อง ประดับทั้ง 2 ชิ้นนี้ ยังใช้เป็นอาวุธ ป้องกันภัยสำ�หรับผู้หญิงได้อีกด้วย เมื่อถึงเวลามีงานบุญต่างๆ สาว มอญจะประดั บ มวยผมด้ ว ยดอกไม้ หรือลูกปัดที่มีภู่ห้อยหลายสีสวยงาม เรียกว่า (แหมะ-แกว-ปาว-ซก) สาว มอญจะสวมเสื้อคอกระเช้า หรือเสื้อสี พื้นคอปก นุ่งผ้าถุงกรองเท้าปล่อย ชาย ยกเว้นผู้สูงอายุมักจะสวมเสื้อ ชั้นในคอกระเช้าแบบหลวมๆ และแบบ รัดทรง มีกระดุมด้านหน้า



“เม็ดขนุนยักษ์” จุดเด่นของบ้านขนม ป้าเปี๊ยก คือ เม็ดใหญ่กว่าทุกที่ และมี รสชาติหวานอร่อย นอกจากนี้ บ้าน ขนมป้าเปี๊ยกยังมีขนมอีกมากมายไม่ว่า จะเป็น ฝอยทอง ทองหยิบ ทองหยอด ขนมหม้อแกง เม็ดมะขามคลุก เป็นต้น วิธีทำ� เม็ดขนุนทำ�จากถั่วเหลือง ผสม คลุกเคล้ากับมะพร้าวขูด น้ำ�ตาลทราย ไข่แดง(รีดไข่ขาวออก) เริ่มจากแช่ถั่ว เหลืองไว้ 1 คืนแล้วจึงนำ�ไปปั่น และกวน แล้วปั้นชุบกับไข่แดงในน้ำ�เชื่อมที่เตรียม ไว้ในกระทะร้อนๆ เมื่อดูว่าไข่แดงสุกแล้ว จึงตักขึ้นได้ (ที่นี่ใส่กล่องละครึ่งโล) “ป้าเปี๊ยกเล่าให้ฟังว่า” เริ่มจากทวดเข่ง (ป้าเปี๊ยกเป็นหลาน) ตามไปช่วยทวดติด เตา เตรียมของเลยซึมซับสูตร อาศัยครู พักลักจำ� บ้านขนมนี้เพิ่งมีมาได้เพียง 6-7 ปีแล้ว เพราะมีโครงการท่องเที่ยว แห่ ง ประเทศไทยให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มา บ้านขนมป้าเปี๊ยกจึงเป็นที่รู้จักมากขึ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.