งานระบบภายในอาคารสํ านักงาน
จัดทําโดย นายกฤตภาส
ตรีนุชจรัสกุล
04530001
นายกิตติพศ
คงสรรคเสถี ์ ยร 04530002
นางสาวจินตรัตน์
พัฒนวิทยากุล
04530003 04530004
นางสาวชนิกานต ์
ไผสุ ั น์ ่ วฒ จัว ่ นาน
นางสาวจิรภรณ์
รายวิชา TECHNOLOGICAL SYSTEM ภาควิชาออกแบบตกแตงภายใน ่ มหาวิทยาลัยศิ ลปากร
04530005
ระบบนํา้ ภายในอาคาร หลักการจ่ายนํ ้าในอาคารมี 2ลักษณะ 1.ระบบจ่ายนํ ้าด้ วยความดัน(UPFEED SYSTEM) เป็ นการจ่ายนํ ้าโดยอาศัยการอัดแรงดันนํ ้าในระบบท่อประปาจากถังอัดความดัน ระบบที่ใช้ กบั ความสูงไม่จํากัด ทังยั ้ งไม่ ต้ องมีถงั เก็บนํ ้า ไว้ ดาดฟ้าอาคาร 2.ระบบจ่ายนํ ้าโดยแรงโน้ มถ่วง(DOWNFEED SYSTEM) เป็ นการสูบนํ ้าขึ ้นไปเก็บไว้ บนดาดฟ้าแล้ วปล่อยนํ ้าลงมาตามแรงโน้ มถ่วง ใช้ กบั อาคารที่มีความสูง 10 ชันขึ ้ ้นไปจึงต้ อง คํานึงถึงโครงสร้ างในการรับนํ ้าหนักและความสวยงาม ระบบท่อระบายนํ ้าหมายถึง ระบบท่อที่ติดตังเพื ้ ่อระบายนํ ้าเสีย นํ ้าฝน หรื อนํ ้าทิ ้งอื่นๆ ไปยังแหล่งกําจัด ระบบท่ออากาศประกอบด้ วย ท่อที่ใช้ สําหรับให้ อากาศผ่านเข้ าออก จากระบบท่อระบายนํ ้า การต่อท่ออากาศนันจะต้ ้ องไม่เล็กกว่า ครึ่งหนึง่ ของท่อระบายนํ ้าและต้ องไม่เล็กกว่า 30มม. ท่อในระบบระบายนํ ้า
ต้ องมีองค์ประกอบด้ วยกัน 3ส่วน คือ ท่อระบายนํ ้า ที่ดกั กลิน่ และท้ อระบายอากาศ soil pipe
ท่อนํ ้าโสโครก ใช้ สําหรับระบายของเสียจากโถส้ วม
waste pipe
ท่อนํ ้าเสีย ใช้ ในการระบายนํ ้าเสียอื่นๆ
building drain
หมายถึงท่อที่รับนํ ้าจาก soil pipeและ waste pipe ก่อนส่งไปยัง building sewer
building sewer คือท่อที่จะส่งนํ ้าเสียจาก building drain ไปยังจุดปล่อยที่เหมาะสม vent pipe
ท่ออากาศต่อกับท่อระบายนํ ้าใกล้ กบั ที่ดกั กลิน่ เพื่อรักษาความดันภายในท่อระบายนํ ้า
ระบบการจ่ายนํ ้าและสํารองนํ ้า หลักการจ่ายนํ ้าภายในอาคารมี 2 ลักษณะคือ 1. ระบบจ่ายนํ ้าด้ วยความดัน(PRESSURIZED UPFEED/SYSTEM) เป็ นการจ่ายนํ ้าโดยอาศัยการอัดแรงดันนํ ้าจากระบบท่อประปาจากถังอัดความดันใช้ กบั ความสูงไม่จํากัดทังยั ้ งที่ต้องมีถงั เก็บนํ ้าไว้ ดาดฟ้าอาคาร 2. ระบบจ่ายนํ ้าโดยแรงโน้ มถ่วง เป็ นการสูบนํ ้าขึ ้นไปเก็บไว้ ดาดฟ้าแล้ วปล่อยลงมาตามธรรมชาติตามท่อต้ องเป็ นอาคารที่มีความสูงตังแต่ ้ 10ชันขึ ้ ้นไป ไม่ ต้ องใช้ ไฟในการจ่ายนํ ้า แต่จะต้ องเตรี ยมถังเก็บนํ ้าไว้ บนดาดฟ้า ในการสํารองนํ ้าสําหรับการใช้ งานนันจะต้ ้ องมีการใช้ ถงั เก็บนํ ้าแบบต่างๆรวมทังอาจจะต้ ้ องมีเครื่ องสูบนํ ้าติดตัง้ อีกด้ วย
วัสดุอปุ กรณ์ งานประปาสุขาภิบาล
1.วัสดุทอ่ และข้ อต่อ 1.1.1
ท่อนํ ้าประปาให้ ใช้ ทอ่ เหล็กอาบสังกะสี(GSP) ต่อแบบเกลียวท่อขาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ ้ว ทนแรงดันใช้ งาน
ไม่ตํ่ากว่า 200ปอนด์ตอ่ ตารางนิ ้ว 1.1.2
ท่อนํ ้าโสโครก ท่อนํ ้าทิ ้งแบบแนวดิ่ง(RISER)ให้ ใช้ ทอ่ เหล็กหล่อชันความหนา ้ EXTRA HEAVY ตามมาตรฐาน
มอก. 533-230 ท่อแนวย่อยในแต่ละชันใช้ ้ ทอ่ พีวีซีตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก.17-2523 อุปกรณ์ไล่อากาศอัตโนมัติ(AUTOMATIC AIR VENT) เป็ นแบบ DIRECT ACTING FLOAT TYPE ขนาดของท่อต่อเข้ า 3/4นิ ้ว ออกแบบมาใช้ สําหรับทนแรงดันขณะใช้ งาน ได้ ไม่น้อยกว่า 200 ปอนด์ตอ่ ตารางนิ ้วลูกลอยและส่วนประกอบภายในทําด้ วย stainless steel
ช่องระบายนํ ้าพื ้น (FLOOR DRAIN) ทําด้ วยเหล็กหล่อ โดยที่สว่ นบนเป็ นทองเหลือง หรื อชุบโครเมี่ยมมีปีกโดยรอบป้องกันนํ ้ารั่ว เมื่อใช้ ติดตังกั ้ บพื ้น กันนํ ้าซึม ต้ องใช้ FLASHING CLAMP กรณีที่ใช้ เครื่ องสูบนํ ้าที่มีแรงดันมากขึ ้น ต้ องออกแบบให้ ถงั เก็บนํ ้าและให้ เดินท่อจากการประปามาจ่ายในถังเก็บนํ ้าและให้ เครื่ องสูบนํ ้าสูบนํ ้าจากถังนี ้เท่านันห้ ้ ามสูบจากท่อประปาโดยตรง ระบบระบายนํ ้าทิ ้งมีแนวคิดในการออกแบบดังนี ้ การออกแบบระบบท่อนํ ้าทิ ้งนันใช้ ้ หลักการว่านํ ้าไหลจากที่สงู ลงสูท่ ี่ตํ่า คํานวณขนาดท่อและความเอีบยงของท่อ ให้ เหมาะสมเพื่อให้ นํ ้าไหลในท่อได้ เร็วยิ่งขึ ้น ในการเดินท่อแนวนอนต้ องมีความลาดเอียงอย่างน้ อย 1:100 การจัดการกับกลิน่ ไม่พงึ ประสงค์นนั ้ อุปกรณ์ทกุ ชนิดที่ตอ่ กับท่อระบายนํ ้าทิ ้งต้ องมีที่ดกั หรื อ P-TRAP การแขวนโยงท่อและยึดท่อที่เดินภายในอาคารไม่ได้ ฝัง ต้ องแขวนหรื อโยงไว้ กบั โครงสร้ างของอาคารที่มนั่ คงแข็งแรง อย่า ให้ โยกคลอนแกว่งได้ การแขวงโยงท่อที่เดินตามแนวราบให้ ใช้ เหล็กรัดท่อตามขนาดท่อรัดไว้ หรื อยึดโดยใช้ ที่แขวนยึดที่ ลักษณะคล้ ายคลึงกับผลิตภัณฑ์ของ GRINNEL หรื อ UNISTRUT
SLEEVE ที่ผา่ นกําแพงอิฐ กําแพงคอนกรี ต หรื อกําแพงภายในที่ทําด้ วยวัสดุอื่นใช้ ทอ่ เหล็กอาบสังกะสี แผ่นปิ ดพื ้นผนังเพดาน ทุกๆจุดที่ทอ่ เดินทะลุผา่ นผนังฝากัน้ เพดาน และพื ้นอาคารซึง่ ตกตแงผิวหน้ าแล้ วต้ องจัดการปิ ดช่องโหว่ทงั ้ ทางเข้ าทางออกของท่อด้ วยแผ่นเหล็กชุบโครเมี่ยม ซึง่ มีขนาดโตพอที่จะผิดช่องรอบๆท่อได้ อย่างมิดชิด แผ่นอลูมิเนียมที่ใช้ ที่เพดานและผนังต้ องยึดด้ วยสลักแบบเซทสกรู ห้ ามใช้ คลิปสปริง วิธีการเดินท่อประปา 1.การเดินท่อแบบลอย คือการเดินท่อติดผนังหรื อวางบนพื ้น การเดินท่อแบบนี ้จะเห็นได้ ชดั เจน ซ่อมแซมได้ ง่าย แต่จะดูไม่สวยงาม
2.การเดินท่อแบบฝั งคือ การเจาะสกัดผนังแล้ วเดินท่อเมื่อเรี ยบร้ อยแล้ วก็ฉาบปนทับซ่อนไว้ ใต้ เพดานก็ได้ ซึง่ จะดู เรี ยบร้ อยแต่ซอ่ มแซมยาก ในการเดินท่อแบบฝั งภายในผนังจุดปลายของท่อที่ยื่นออกจากผนังสําหรับติดตังวาลว์ ้ หรื อก๊ อกนํ ้าจะมีการติดตังข้ ้ อต่อ ชนิดเกลียวไว้ สําหรับสวมกับวาล์วหรื อก๊ อกนํ ้าในภายหลัง ควรจะเป็ นข้ อต่อที่ทําด้ วยเหล็ก ข้ อกําหนดภายหลังการติดตัง้ การทาสีและรหัสป้ายชื่อ ท่อ จะต้ องทาสี พร้ อมตัวอักษร และลูกศร แสดงชนิดท่อ และ ทิศทางการไหลดังนี ้
การตรวจสอบและบํารุงรักษาประจําวัน 1. อุณหภูมิของรองลื่น 2. ความดันทางท่อดูดและท่อจ่าย 3. การรั่วจากกันรั่ว 4. การหล่อลื่นกันรั่วโดยดูจากการไหลของของเหลวที่มาหล่อเลี ้ยง 5. โหลด ของเครื่ องปั๊ มนํ ้า 6. ระดับนํ ้ามันหล่อลื่นที่มารองลื่น การตรวจสอบและบํารุงรักษาทุก 6 เดือน 1. การได้ ศนู ย์ระหว่างปั๊ มนํ ้าและต้ นกําลัง 2. การเติมนํ ้ามันหรื อไขให้ กบั รองลื่น
การตรวจสอบและบํารุงรักษาประจําปี 1. การรั่วตามเพลาและการซ่อมบํารุงกันรั่ว 2. การสึกปลอกเพลา 3. ช่องว่างระหว่างใบพัดกับแหวนกันสึก 4. ทดสอบและปรับแก้ เกจวัดต่างๆที่ใช้ วดั นํ ้าและกระแสไฟฟ้า 5.เปลี่ยนนํ ้ามันหล่อลื่นและไขที่รองลื่น เนื่องจากรายละเอียดของวิธีการตรวจสอบและการซ่อมบํารุงจะแตกต่างกันไปตามชนิดของปั๊ มนํ ้าและบริษัทของ ผู้ผลิต ดังนันขอให้ ้ ศกึ ษาจากคูม่ ือใช้ สําหรับปั๊ มนํ ้ามันนันๆ ้ โดยเฉพาะ ถังบําบัดนํ ้าเสียสําเร็จรูป มีอยูด่ ้ วยกัน 3 ประเภทใหญ่คือ 1.แบบเติมอากาศ อาศัยแบคทีเรี ยชนิดที่ใช้ ออกซิเจนทําหน้ าที่ยอ่ ยสลายสารอินทรี ย์ที่ปนเปื อ้ นในนํ ้าเสีย 2.แบบไม่เติมอากาศ ใช้ แบคทีเรี ยชนิดไม่ใช้ ออกซิเจน 3.ถังบําบัดนํ ้าเสียรวมสําเร็จรูป การรวมเอาส่วนเกรอะ และส่วนกรองไร้ อากาศไว้ ในใบเดียวกัน
ถังเกรอะ
ทําให้ เกิดการตะกอน
ถังกรองไร้ อากาศ นํ ้าที่ไหลมาจากถังเกรอะจะไหลเข้ าสูส่ ว่ นล่างของถังกรองผ่านชันตั ้ วกลาง(MEDIA)
ถังดักไขมัน
ถังดักไขมันแบ่งการทํางานออกเป็ น 3ขันตอนคื ้ อ 1.จะช่วยกรองเศษอาหาร 2.ส่วนแยกไขมันของนํ ้า 3.ส่วนระบายไขมันออกทางท่ออ่อนลงถุง การติดตังถั ้ งดักไขมันควรวางไว้ ใกล้ กบั อ่างล้ างจาน การดูแลรักษาถังดักไขมันควรนําตะกร้ าดักเศษอาหารทิ ้งทุกวัน ระบบประปาในอาคาร ต้ องคํานึงถึงการจัดวางตําแหน่งของ ระบบท่อนํ ้าดี ระบบท่อนํ ้าทิ ้ง ระบบท่อนํ ้าเสีย และระบบท่อระบายอากาศให้ เหมาะสมกับการใช้ งานเพื่อประสิทธิภาพในการใช้ งาน ระบบท่อต่างๆจะถูกซ่อนไว้ ในผนัง พื ้น ฝ้าเพดาน ฉะนันต้ ้ องมีการ วางแผนให้ ดีเพื่อประโยชน์ในการซ่อมบํารุงในภายหลัง 1. การจัดเตรี ยมพื ้นที่การเดินท่อทังแนวนอน ้ แนวดิ่ง รวมระยะลาดเอียงต่างๆ 2. ติดตังฉนวนในระบบท่ ้ อที่จําเป็ น เช่น ท่อนํ ้าเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม 3. ออกแบบระบบแขวนและรายละเอียดอื่นๆตามมาตรฐานของอุปกรณ์ตา่ งๆ 4. จัดเตรี ยมพื ้นที่สําหรับกาบํารุงรักษา นอกเหนือจากนันยั ้ งจะต้ องมีระบบการสํารองนํ ้าในกรณีฉกุ เฉินหรื อมีการปิ ดซ่อม ในอาคารบางประเภทยังต้ องสํารองนํ ้า สําหรับระบบดับเพลิงอีกด้ วย ตําแหน่งที่ตงถั ั ้ งเก็บนํ ้าที่ใช้ ทวั่ ไปมีที่ตงั ้ 2 แบบ 1. ถังนํ ้าบนดิน ที่มีพื ้นที่เพียงพอเพื่อใช้ ประโยชน์ในการใช้ แรงดันนํ ้าสําหรับแจกจ่าย 2. ถังเก็บนํ ้าใต้ ดิน ใช้ ในกรณีไม่มีพื ้นที่ในการติดตังเพี ้ ยงพอการบํารุงดูแลรักษาทําได้ ยากการเลือกถังต้ องมีความละเอียด
ชนิดถังเก็บนํ ้า 1.ถังเก็บนํ ้า ค.ส.ล. เป็ นถังแข็งแรงทนทานสามารถสร้ างได้ ทงแบบนดิ ั้ นและใต้ ดินแต่มีนํ ้าหนักมากต้ องระวังเรื่ องรั่วซึม 2. ถังเก็บสแตนเลสเป็ นสําเร็จรูปโดยใช้ โลหะสแตนเลสที่ไม่เป็ นสนิม มีความทนทานต่อการใช้ งานติดตังเป็ ้ นถังนํ ้าบนดิน 3.ถังเก็บนํ ้าไฟเบอร์ กลาส เป็ นถังเก็บนํ ้าสําเร็จรูปใช้ วสั ดุไฟเบอร์ กลาส ที่มีความยืดหยุน่ สูง ไม่แตกหักง่ายมีนํ ้าหนักเบารับ แรงดันได้ ดี และไม่เป็ นพิษกับนํ ้าสามารถติดตังได้ ้ ทงบนดิ ั้ น 4. ถังเก็บนํ ้าPE เป็ นถังเก็บนํ ้าที่ใช้ วสั ดุชนิดเดียวกับท่อประปา สามารถรับแรงดันได้ ดี ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
ระบบจ่ายไฟฟ้าเริ่มจากสถานียอ่ ยซึง่ มีสายไฟหลายเส้ นต่อผ่านเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ออกมาสูล่ กู ค้ าที่บริเวณต่างๆ สาจ่ายไฟ จะต่อเข้ ากับอุปกรณ์รับไฟฟ้าของโรงงานหรื ออาคารสํานักงานอุปกรณ์รับไฟฟ้าแต่ละตัวจะมีอปุ กรณ์ป้องกันต่ออยู่ เมื่อ เกิดอุบตั ิเหตุหรื อเกิดลัดวงจรขึ ้น เบรกเกอร์ จะทําการตัดไฟฟ้าเพื่อแยกอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ ้นและจํากัดความเสียหายไว้ เฉพาะ อุปกรณ์ที่เกิดอุบตั ิเหตุเท่านัน้ พลังงานไฟฟ้าภายในอาคารจะต้ องผ่านอุปกรณ์รับและแปลงไฟฟ้า สายเมน ไปที่อปุ กรณ์ควบคุมไฟสําหรับเครื่ องใช้ ไฟฟ้า และแสงสว่าง แล้ วจ่ายให้ ภาระที่ต้องการพลังงานไฟฟ้า เช่นมอเตอร์ อุปกรณ์สอ่ งสว่าง เป็ นต้ น
ปั จจัยพื ้นฐานสําหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า ระบบการจ่ายพลังงานไฟฟ้า (Power distribution system) ที่ดีที่สดุ สําหรับอาคารหลังหนึง่ ๆ คือ ระบบซึง่ จะจ่ายพลังงาน ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย และเพียงพอสําหรับโหลดในปั จจุบนั และอนาคตเนื่องจากอาคารแต่ละหลังมีความต้ องการพลังงาน ไฟฟ้าแตกต่างกัน ดังนันผู ้ ้ ออกแบบจะต้ องวิเคราะห์ความต้ องการดังกล่าวอย่างรอบคอบแล้ วนําข้ อสรุปมาออกแบบระบบ ไฟฟ้านันๆ ้ ปั จจัยพื ้นฐานสําหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า คือ (1) ความปลอดภัย (Safety) ความปลอดภัยช่วยทําให้ อายุของอุปกรณ์ไฟฟ้ายืนยาวขึ ้นและเป็ นสิง่ สําคัญสําหรับการ ออกแบบระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม และจะต้ องไม่ทําให้ เกิดอันตรายต่อบุคคล สิง่ ที่จะต้ องพิจารณาในเรื่ องระบบ ความปลอดภัยคือ การเลือกชนิดของวัสดุตามมาตรฐานและอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่จะใช้ (2) ความเชื่อถือได้ (Reliability) ในบางครัง้ ระบบไฟฟ้าอาจจะตัดกระแสไฟฟ้าในขณะที่เราต้ องการใช้ พลังงานอย่าง ต่อเนื่อง ดังนันการออกแบบระบบไฟฟ ้ ้ าจะต้ องทําให้ จดุ บกพร่องเหล่านี ้เกิดขึ ้นน้ อยที่สดุ เพื่อให้ วางใจในระบบได้ สงู สุด และมีราคาพอสมควร (3) ความง่ายในการใช้ งาน (Simplicity of operation) ความง่ายในการใช้ งานนับเป็ นสิง่ สําคัญมากเพื่อความปลอดภัย และสามารถทํางานที่เชื่อถือได้ ข้ อสําคัญคือการทํางานของระบบจะต้ องพยายามทําให้ เป็ นแบบที่ง่ายที่สดุ เท่าที่จะเป็ นไป ได้ และให้ ตรงความต้ องการของการผลิต
(4) ความสมํ่าเสมอของแรงดัน (Voltage regulation) แรงดันที่ไม่สมํ่าเสมอจะทําให้ อายุของอุปกรณ์ไฟฟ้าสันลง ้ แรงดันที่ เป็ นประโยชน์ตอ่ อุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้ องรักษาไม่ให้ เกินขีดจํากัดภายใต้ สภาวะโหลดปกติ (5) การดูแลรักษา (Maintenance) ในการออกแบบระบบไฟฟ้า จะต้ องให้ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสามารถดูแลรักษา ตรวจสอบ ซ่อมแซม และทําความสะอาดได้ ง่าย (6) ความคล่องตัว (Flexibility) ระบบไฟฟ้าจะต้ องสามารถดัดแปลง ปรับปรุง และขยายได้ ในอนาคต ข้ อที่จําเป็ นต้ อง พิจารณาคือ แรงดันไฟฟ้า และเผื่อที่ว่างสําหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าให้ เหมาะสมกับโหลดที่จะมีเพิ่มขึ ้น (7) ค่าใช้ จ่ายเริ่มต้ น (First cost) ค่าใช้ จ่ายเริ่มต้ นนับเป็ นสิง่ จําเป็ นสําหรับความปลอดภัยความเชื่อถือได้ ความสมํ่าเสมอ ของแรงดัน การดูแลรักษา และเพื่อการขยายในอนาคต ดังนันจะต้ ้ องพิจารณาเลือกแบบที่ดีที่สดุ เพื่อลดต้ นทุน การวางระบบไฟฟ้า การวางระบบไฟฟ้าในอาคารจะเกี่ยวข้ องกับการเดินสายไฟไม่วา่ จะเป็ นการเดินสายไฟแบบลอยหรื อแบบฝั ง การวาง ตําแหน่งดวงโคม สวิตช์ไฟ ปลัก๊ ไฟ ตลอดจนการเดินสายไฟเตรี ยมไว้ สําหรับการติดตังอุ ้ ปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เช่น เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องทํานํ ้าร้ อน เครื่ องดูดควัน รวมถึงการติดตังอุ ้ ปกรณ์ควบคุมต่างๆ เช่น เบรกเกอร์ หรื อ เครื่ องตัดไฟ ข้ อสังเกตเกี่ยวกับประโยชน์การใช้ งานและความปลอดภัย 1. สายไฟที่ใช้ ควรมีการประทับข้ อความบนตัวฉนวนของสายไฟเป็ นระยะๆ โดยบ่งบอกยี่ห้อของสายไฟหรื อผู้ผลิต ชนิด ของสายไฟ แรงดันไฟฟ้า และอุณหภูมิการใช้ งานที่สายไฟสามารถทนได้ 2. สายไฟควรอยูใ่ นสภาพใหม่ ฉนวนไม่มีรอยแตกหรื อปริ มีความแข็งผิดปกติ หมดอายุหรื อใช้ งานไม่เหมาะสม 3. การเดินสายไฟแบบฝั งภายในผนัง ฝั งใต้ พื ้น หรื อเดินเหนือเพดาน จะต้ องเป็ นการเดินสายไฟแบร้ อยท่อ ในกรณีที่ใช้ ทอ่ โลหะ จะต้ องมีการลบคมตรงขอบด้ านในของท่อตรงบริเวณรอยตัดทุกแห่ง เพื่อป้องกันไม่ให้ บาดสายไฟ กรณีที่ใช้ ทอ่ พีวีซี ท่อที่ใช้ จะต้ องเป็ นสีเหลืองซึง่ ผลิตสําหรับงานร้ อยสายไฟโดยเฉพาะ เนื่องจากมีความแข็งแรงและทนต่ออุณหภูมิสงู และ ขนาดของท่อร้ อยสายที่ใช้ ควรใหญ่พอสําหรับจํานวนสายที่ร้อย ในแต่ละท่อ ไม่ควรรอยไฟจนคับท่อเกินไป 4. ปั จจุบนั การการไฟฟ้านครหลวง ได้ ออกข้ อกําหนดให้ ผ้ ทู ี่ขอยื่นใช้ ไฟฟ้าจะต้ องเดินระบบไฟใหม่ให้ มีสายดิน รวมทัง้ กําหนดให้ ใช้ ปลัก๊ ไฟแบบที่มี 3 ช่องเสียบซึง่ มีช่องต่อขัวสายดิ ้ น 5. เกี่ยวกับระบบสายดิน ส่วนประกอบที่สําคัญที่จะให้ ความปลอดภัยแก่ผ้ ใู ช้ ไฟฟ้า โดยใช้ หลักดินซึง่ เป็ นลักษณะแท่ง โลหะฝั งอยูใ่ นดินทําหน้ าที่นํากระแสไฟฟ้าลงดินเอเกิดการรั่ว หลักดินควรทําจากทองแดงที่มีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางไม่ น้ อยกว่า 16 มิลลิเมตร ยาวไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร โดยหลักดินดังกล่าวเชื่อมต่อกับสายดิน ของตู้ควบคุม ระบบไฟฟ้า 6. การใช้ สายไฟร่วมกันระหว่างสวิตซ์ไฟ กับปลัก๊ อาจก่อให้ เกิดการรบกวนต่อการใช้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ ปลัก๊ ไฟนันๆ ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสวิตช์เปิ ดปิ ด หลอดไฟฟลูออเรสเซนที่ตอ่ สายไฟร่วมกับปลัก๊ ที่ใช้ สําหรับเครื่ องรับโทรทัศน์ หรื อเครื่ อง เสียง เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาดังกล่าวควรกําหนดจุดวางอุปกรณ์เครื่ องใช้ ดงั กล่าวไว้ ลว่ งหน้ าและระบุกบั ช่างว่าห้ ามใช้ สายไฟ ร่วมกัน
วิธีการเดินสายไฟฟ้า 1. ประเภทแรกคือ การเดินสายไฟลอยตามผนัง สามารถซ่อมแซมได้ ง่ายแต่ดไู ม่เรี ยบร้ อย 2. การเดินผ่านท่อซึง่ ฝั งในผนังอาคาร หรื อเรี ยกว่าการเดินท่อร้ อยสาย ทําพร้ อมกับการก่อสร้ างหรื อการตกแต่ง
ชนิดของหลอดไฟ หลอดไฟที่ใช้ กนั ทัว่ ไปมีอยู่3ประเภท คือ 1.หลอดอินแคนเดสเซน 2.หลอดฟลูออเรสเซน 3.หลอด LED
หลอด T5 "T" หมายถึงหลอดที่มีลกั ษณะเป็ น หลอดทรงคล้ ายท่อ (Tubular) ตัวเลขต่อทาย "eT" แสดงความยาวเส้ นผ่านศูนย์กลาง เป็ นหุน หลอด T5 จึงมีขนาดเล็กกว่าหลอดผอม (T8 ประมาณ 40% และ เล็กกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา (T12) เกือบ 60% หลอด T5 มีขายทังแบบธรรมดา ้ (Standard output)หลอด T5 ธรรมดา คือ 14, 21, 28 และ 35 วัตต์ แบบความเข้ มสูง (High output)ความเข้ มสูงคือ 24, 39, 54 และ 80 วัตต์(แบบความเข้ มสูงยี่ห้อ GE มีแบบ 49 วัตต์ด้วย) ชนิดของโคมไฟ 1.โคมส่องโดยทัว่ ไป จะใช้ ติดเพดาน หรื อผนัง ความสว่างปานกลาง 2.โคมส่องเฉพาะจุด มีความสว่างมากว่าแต่จะให้ แสงสว่างในวงแคบๆ 3.โคมไฟตังพื ้ ้นให้ แสงสว่างน้ อยสุดเพื่อบรรยากาศที่ดีไม่ต้องการแสงจ้ าจนเกินไป ระบบไฟฟ้าในห้ องนํ ้า ควรมีไฟส่องสว่าง 2 จุด คืหน้ ากระจกกับส่วนอาบนํ ้าส่วนปลัก๊ ควรจะอยูส่ งู จากพื ้นและมีฝาปิ ด สวิตช์เปิ ดปิ ดไฟควรอยุ่ นอกห้ องและควรมีเบรกเกอร์ ตดั ไฟด้ วย หลอดไฟฮาโลเจน สว่างมากกว่าหลอดอินแคนเดสเซนประหยัดไฟมากกกว่านิยมใช้ สอ่ งโต๊ ะทํางาน ประตมากรรม ภาพเขียน
ฟิ วส์ ใช้ ป้องกันการใช้ ไฟฟ้าเกินกําลังแบ่งเป็ น 3 ประเภท 1. ฟิ วส์เส้ น
เป็ นเส้ นเปลือยใช้ ตอ่ ในวงจร
2.ฟิ วส์หลอด
เป็ นหลอดกระเบื ้องภายในบรรจุสารเคมีป้องกันการสปาร์ ค
3.ปลัก๊ ฟิ วส์
มีลกั ษณะคล้ ายหลอดเกลียว
Standpipe and Hose System Class of Standpipe ประเภทของระบบท่อยืนและสายฉีดนํ ้าดับเพลิง แบ่งประเภทของการใช้ งานออกเป็ น 3 ประเภทดังนี ้ - ท่อยืนประเภทที่ 1 : หัวต่อสายฉีดนํ ้าดับเพลิงขนาด 65 มิลลิเมตร สําหรับพนักงานดับเพลิง ขนาดท่อยืนไม่เล็กกว่า 150 มิลลิเมตร - ท่อยืนประเภทที่ 2 : สายฉีดนํ ้าดับเพลิงขนาด 25 มิลลิเมตร สําหรับผู้อาศัยภายในอาคารใช้ ขนาดท่อยืนไม่เล็กกว่า 100 มิลลิเมตร - ท่อยืนประเภทที่ 3 : ท่อยืนประเภทที่ 1+2 ตําแหน่งหัวรี บนํ ้าดับเพลิง : อยูใ่ นตําแหน่งที่ รถดับเพลิงสามารถเข้ าถึงได้ โดยสะดวก Standpipe and Hose System Protection of Standpipe Riser 1.ท่อยืนประเภทที่ 1 และ 3 จะต้ องอยูใ่ นพื ้นที่ ป้องกันไฟ เช่น บันไดหนีไฟและโถงลิฟท์ดบั เพลิง 2.ท่อยืนประเภทที่1 ออกแบบติดตังดั ้ บเพลิงจะต้ อง ไม่ทําให้ อตั ราการทนไฟของบันไดหนีไฟเสียไป 3.ตําแหน่งท่อยืนจะต้ องไม่กิดขวางทางวิ่งในบันได หนีไฟ
Standpipe and Hose System Location of FHC Class I and Class III การวางตู้ดบั เพลิงแบบ Exit Location Method (วางตามทางหนีไฟ) กําหนดท่อยืนที่ทกุ บันไดหนีไฟ และโถงลิฟท์ดบั เพลิง การวางตู้ดบั เพลิงแบบ Actual Length Method (วางตามทางเดินที่ สังเกตเห็นได้ ง่าย) ออกแบบสําหรับท่อยืนประเภท2สําหรับผู้ใช้ อาคารใช้ ใน การดับเพลิงในเบื ้องต้ น
ระบบดับเพลิงในอาคาร Standpipe and Hose การกําหนดตําแหน่ง FHC 1.ที่บนั ไดหนีไฟและโถงลิฟท์ดบั เพลิงต้ องมี FHC โดยต่อตรงจากท่อยืน 2.ตามแบบแปลน ลงตําแหน่งตู่ FHC ครอบคลุมพื่นที่ทงหมดในระยะเข้ ั้ าถึง 39.5 3.ตู้ FHC ที่ลงเป็ นแบบ Class III Standpipe and Hose System Hose Valve w/Pressure Regulating Device ค่าความดันใช้ งานของ Hose Valve ตามมาตราฐาน วสท และ พรบ. ควบคุมอาคารกําหนดให้ Hose Valve2 ต้ องมีความ ดันเหลือใช้ งาน Residual Pressure ไม่นต้ องกว่า 65 psig และไม่สงู กว่า 100 psig
กรณีที่ความดันสูงกว่า 100 psig
จะต้ องติดตังอุ ้ ปกรณืลดความดันลง Standpipe and Hose System การหาอัตราการไหลสูงสุดของระบบท่อยืน ระบบส่งนํ ้าดับเพลิงจะต้ องออกแบบให้ สามารถจ่ายนํ ้าให้ กบั ระบบท่อยืนที่ไกลที่สดุ สามารถจ่ายให้ กบั ท่อยืนที่ เหลือที่อตั ราการไหล 250 gpm Sprinkler System Sprinkler Head มีสว่ นประกอบที่สําคัญดังนี ้ 1. Thermp-Sensitive Element เป็ นอุปกรณ์ที่ทําให้ Sprinkler Head เริ่มทํางาน 2. Deflector and Tines 3. Frame 4. Sprinkler Orifice 5. Finish and Coating
Standard Response สําหรับอาคารประเภท Industrial และ Commercial Building Quick Response ใช้ สําหรับ อาคารประเภทบ้ านพักอาศัย Dweling Unit, Apartment ซึง่ ทํางานเร็วกว่าปกติ Sprinkler System การจัดระยะห่างสูงสุดของหัวกระจายนํ ้าดับเพลิง
- ระยะห่างสูงสุดของหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงจากผนัง เท่ากับครึ่งหนึง่ ของระยะห่างสูงสุดของหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงแต่ละ หัว และห่างจากผนังไม่น้องกว่า 100 มิลลิเมตร - ระยะห่างของหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงกับจุดใดๆในพื ้นที่ไม่ควรเกิน 0.75 เท่าของระยะห่างสูงสุด - ระยะห่างของหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงแต่ละหัวต้ องไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร กรณีติดตังบริ ้ เวณโครงสร้ างที่ไม่มีสงิ่ กีดขวางกระจายนํ ้า ระยะห่างของ แผ่นกระจายนํ ้าดับเพลิงที่ติดตังใต้ ้ เพดานจะต้ องห่างจากเพดานอย่างน้ อย 25 มม. (1นิ ้ว) และห่างมากที่สดุ ไม่เกิน 300 มม. แนะนําระบบลิฟนวัตกรรมใหม่สําหรับอาคารสูงและอาคารพิเศษ มาตราฐานสากลในการกําหนดคุณภาพของการให้ บริการที่ประกอบด้ วย ค่าของจํานวนผู้โดยสารที่สามารถ ขนส่งได้ ภายในเวลา 5นาที ต้ องไม่น้อยกว่า 12เปอร์ เซ็นของจํานวนประชากรของอาคาร 1.ข้ อกําหนดด้ วยคุณภาพการให้ บริการ จะประกอบด้ วยปั จจัยสําคัญหลายประการเช่น จํานวนลิฟท์ ขนาดของ ลิฟท์ ความเร็วของลิฟท์ จํานวนชันที ้ ่จอด รวมถึงวิธีการควบคุมการทํางานของลิฟท์ตามลําดับความสําคัญหรื อปั จจัย ประกอบอื่นๆร่วมด้ วย เช่น ลิฟต์สําหรับผู้บริหาร หรื อสําหรับพื ้นที่พิเศษ เป็ นต้ น 2.โครงสร้ างและส่วนประกอบของระบบลิฟต์ ระบบลิฟท์โดยพื ้นฐาน การทํางานจะประกอบด้ วย ตัวลิฟต์ และนํ ้าหนักถ่วง หรื อที่เรี ยกว่า CWT โดยปกตินํ ้าหนักถ่วงจะมี พิกดั นํ ้าหนักประมาณ 50% ของ นํ ้าหนักบรรทุกลิฟต์ทงในกรณี ั้ ลฟิ ต์เปล่า หรื อนํ ้าหนักบรรทุกเต็มพิกดั 100% และมี อัตราเร็วเฉลี่ยนมากกว่า 2.5เมตรต่อวินาที สําหรับตึกสูง 2.2.1 ห้ องเครื่ องลิฟต์ ประกอบด้ วย เครื่ องลิฟต์ ชุดควบคุม ชุด อุปกรณ์ ควบคุมความเร็วลิฟท์ และสวิตช์ตดั ตอนทางไฟฟ้า เป็ นต้ น 2.2.2 ปล่องลิฟต์ ปล่องลิฟต์คือช่องทางหรื อพท ที่ใช้ สําหรับเคลื่อนที่ของลิฟต์ในแนวดิ่งจะประกอบด้ วย รางบังคับสําหรับ ตัวลิฟต์และนํ ้าหนักถ่วง มเคเบิลสําหรับการเคลื่อนที่ มเชือกลวดแขวน ,โซ่หรื อเชือกลวดชเชย อุปกรณ์ควบคุมการจอด , และทางออกฉุกเฉิน 2.2.3 ตัวลิฟค์นํ ้าหนักถ่วง
2.2.4 ประตูปล่องลิฟต์และกลไกนํ ้าหนักถ่วงกสนเคลื่อนที่ ระบบปรับอากาศ ปั จจัยขนาดของเครื่ องปรับอากาศ 1.ขนาดห้ อง กว้ างxยาวxสูง 2.ประเภท 3.ปริมาณแสงแดดBTU (British Thermal Unit) 1. BTU คือ ปริมาณความร้ อนที่เพิ่มอุณหภูมิของนํ ้า 1 ปอ นด์ (0.45 กิโลกรัม) ขึ ้น 1 องศาฟาเรนไฮด์ (0.56 องศา) ใน เวลา 1ชัว่ โมง เครื่ องปรับอากาศ มีขนาดเป็ น บีทียตู อ่ ชัว่ โมง (BTU/Hr) - หน่วย12000 บีทีย/ู ชม. เรี ยกว่า1ตัน ทําความเย็น หมายถึงปริมาณความร้ อนที่สามารถละลายนํ ้าแข็งหนักได้ 1ตันให้ ละลายเป็ นนํ ้าได้ หมดภายในเวลา 1ชม. เนื ้อที่ประมาณ 2000ตารางฟุต (185.5 ตร.ม.) ต้ องใช้ เครื่ องปรับอากาศขนาด 60000 บีทียู หรื อขนาด5ตันทําความเย็น การคํานวณอย่างง่าย สําหรับระบบปรับอากาศขนาดเล็ก -พท ที่ห้อง(กว้ างxยาว)x700 เช่นพื่นที่ห้องกว้ าง4เมตร ยาว3เมตร BTU 4x3x700 = 8400 ให้ เลือก 9000 BTU การเลือกตําแหน่งคอนเด็นซิ่งยูนิต (CDU) ที่เหมาะสม 1. บริเวณที่ติดตังเครื ้ ่ องต้ องรับนํ ้าหนักแรงสะเทิอนจากการทํางานได้ 2. ในกรณีที่ CDU ตังวางบนพื ้ ้นนดินต้ องทําฐานรองรับเครื่ องด้ วยคอนกรี ต 3. ติดตังใบบริ ้ เวณที่มีอากษศถ่ายเทสะดวก 4. บริเวณที่ติดดังต้ ้ องมีการระบายนํ ้าได้ ดีหรื อที่ที่นํ ้าท่วมไม่ถงึ 5. การวาง CDU ควรมีลกู ยางรองเพื่อลดแรงสัน่ สะเทือนจากการทํางานของตัวเครื่ อง 6. ควรวาง CDU ให้ หา่ งจากพื ้นที่ใช้ สอยทัว่ ไป 7. อย่าตังเคร่ ้ าองชิดกับ CDU อื่นหรื อผนังเพราะทําให้ ระบายความร้ อนยาก 8. ควรวาง CDU ในบริเวณที่สามารถเข้ าไปตรวจซ่อมภายหลังได้ อย่างสะดวก ตําแหน่งแฟนคอยล์ยนู ิต (FCU) ที่เหมาะสม 1.ตังในบริ ้ เวณที่สามารถกระจายลมได้ ทวั่ ทังห้ ้ อง 2. อย่าให้ สงิ่ ของกีดขวางทางไหลของอากาศ
3. บริเวณที่ติดตังเครื ้ ่ องต้ องแข็งแรงสามารถรับนํ ้าหนักและแรงสัน่ สะเทือนจากการทํางานได้ 4. หลีกเลี่ยงการวาง FCU ในบริเวฯที่สามารถตรวจซ่อมภายหลังได้ 6. อย่างติดตังชิ ้ ดผนังที่โดนแดดจัด 7. พยายามติดตัง้ FCU ให้ อยูใ๋ กล้ กบั CDU เครื่ องปรับอากาศแต่ละเบอร์ นนแบ่ ั ้ งออกได้ เป็ นไปตามระดับ EER ดังตารางด้ านล่าง
ประเภทของระบบทําความเย็น โดยการแบ่งตาม Fluid ใช้ ในการถ่ายเทความร้ อนจากห้ องไปสูเ่ ครื่ องทําความเย็น 1. Direct Refrigerant System -ระบบที่ง่ายที่สดุ เหมาะสมกับการทําความเย็นให้ กบั พื ้นที่เล็กถึงกลาง ที่ต้ องการเครื่ องปรับอากาศที่ทํางานอยูใ่ นพื ้นที่ 2. All-Air System -การทําความเย็นในระบบนี ้อากาศจะถูกเป่ าผ่าน evsporator coil ที่มีความเย็ฯและถูกส่งต้ อโดยผ่านทางท่อ เพื่อไปยัง ห้ องที่ต้องการความเย็น -การออกแบบจะต้ องมีการเผื่อพื ้นที่สําหรับงานเดินท่อจ่ายลม
3. All-Water System -ในระบบนี ้นํ ้าจะถุกทําให้ เย็นโดย evaporator coil และถูกส่งต่อไปตามท่อไปสู่ fan-coil unit ในพื ้นที่แต่ละส่วนเพื่อทํา ความเย็น
4. Combination Air-Water System -ระบบปรับอากาศที่ผสมกันระหว่างนํ ้าและอากาศในการทําความเย็น มีนํ ้าเป็ นของไหลที่พาความเย็นไปในระบบเป็ นหลัก โดยมีอากาศเป็ นตัวเสริมเพื่อทําให้ ระบบสมบูรณ์
ระบบระบายความร้ อนที่เกิดขึ ้นในเครื่ องปรับอากาศ - การระบายความร้ อนที่เกิดขึ ้นในเครื่ องปรับอากศจะถูกปล่อยไปยัง Heat Sink - ในระบบปรับอากาศสําหรับอาคารขนาดเล็ก ความร้ อนจะถูเป่ าออกไปสูอ่ ากาศภายนอกเครื่ อง
ความร้ อนจาก Condensing Coil สามารถระบายได้ มากขึ ้นโดยการใช้ นํ ้า Spray ผ่านด้ านบน Coil เผื่อระบายความร้ อนในลักษณะนี ้เรี ยกว่าEvaporative condenser Cooling Water ทําหน้ าที่ทําความเย็นให้ กบั นํ ้าที่จะผ่านเข้ าสูร่ ะบบเพื่อที่จะทํา ความเย็นให้ กบั condenser coil โดยปกติตําแหน่งของ cooling water จะอยูบ่ น หลังคาอาคารแต่เมื่อพื่นดินมีมากเพียงพอ cooling water สามารถอยูบ่ นดินได้ ระบบปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ่ ระบบปรับอากาศสําหรับอาคารขนาดใหญ่จะใช้ เครื่ องปรับอากาศแบบที่มีอปุ กรณ์ ความเย็นส่วนกลางสําหรับ อาคารสูงสามารถใช้ พื ้นที่หลังคาและพื ้นที่ชนใต้ ั ้ ดินเป็ นส่วนงานระบบ Central Station System
VAV ระบบจ่ายลมที่มีปริมาณการจ่ายลมเปลี่ยนแปร เป็ นแบบปริมาณการจ่ายลมคงที่ (Constant Air Volume หรื อ CAV) แต่การจ่ายลมแบบนี ้จะมีเครื่ องควบคุม อุณหภูมิหรื อเทอร์ โมสตัทเพียงชุดเดียว จึงทําให้ ไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิในบริเวฯต่างๆ ให้ ทวั่ ถึงดังนันอาคารสํ ้ านักงาน จึงมักใช้ ระบบการจ่ายลมที่มีปริมาณการจ่ายลมเปลี่ยนแปร โดยมีกล่องควบคุมปริมาณลม (VAV BOX) ซึง่ มรพื ้นฐาน ควบคุมปริมาณลมตามเทอร์ โมสตัทในบริเวณนัน้ ทําให้ ปริมาณการจ่ายลมมากน้ อยตามสภาพการใช้ งานและการรับแดด Return Air จะถูกนํากลับโดยการผ่าน Return Girll แต่ลม กลับสามารถผ่าน lighting fixtures ฝ้าเพดานที่มีรูพรุน Grille ไม่ควรอยูบ่ นพื ้นเพื่อป้องกันฝุ่ นและสิง่ ของขนาดเล็ก จะลงไปได้ ไม่ควรวางตําแหน่ง return grille ไว้ ใกล้ กบั ด้ านหลัง ของช่องจ่ายลมเกินไปเพื่อป้องกันการส่งกลับของลมที่ไม่ทําให้ ห้องเกิดความเย็น ระบบพืน้ ยกภายในอาคาร ACCESS FLOOR พื ้นยกสําเร็จรูป Access Floors พื ้นยกสําเร็จรูป บริการจําหน่ายและติดตังพื ้ ้นยกสําเร็จรูป ทีมี ประสิทธิภาพสูง ช่วยอํานวยความสะดวก และ ช่วยตอบสนองความต้ องการในการใช้ งาน อีกทังยั ้ งมีความคงทน และ รูปแบบสวยงามซึง่ พื ้นยกสําเร็จรูป นี ้ได้ มีการพัฒนาออกมาเพื่อเป็ นทางเลือกประยุกต์สําหรับการก่อสร้ างอาคาร พาณิชย์ ที่ต้องการยกพื ้นให้ สงู ขึ ้นและสามารถเดินสายไฟฟ้าหรื อสายสัญญาณต่างๆด้ า น ล่าง แบ่งออกเป็ น OA Access floors ทําจากเหล็กขึ ้นรูป (Cold Roll Steel Sheet) พ่บทับด้ วยสีอีฟ๊อกซี่ (Power Coating) ความหนาสี 50-80 ไมครอน เพื่อ ป้องกันการเกิดสนิม ภายในตัวบรรจุเด้ วย ซีเมนต์ชนิดเบา เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับนํ ้าหนักและการดูดซับเสียง การติดตังพื ้ ้นยกสําเร็จรูป สามารถติดตังได้ ้ ง่ายไม่ยงุ่ ยากและมีความแม่นยํา เพราะ ทางห้ างฯ ได้ นําเทคโนโลยีของทาง อเมริกา โดยใช้ เครื่ องยิงเลเซอร์ ในการวัดระดับพื ้นและว่างลาย ตําแหน่งของขาพื ้น
Anti static เป็ นพื ้นยกที่มีระบบป้องกัน ไฟฟ้าสถิตโดยมีสามารถ กําจัดไฟฟ้าสถิตที่เกิดจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่คอมพิวเตอร์ ทํางาน การใช้ งานพื ้นยก Aniti-Static ในห้ องคอมพิวเตอร์ หรื อห้ อง Server ยังช่วยรักษาความ เสถียรและช่วยยืดอายุการ
ทํางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้ ใช้ งานได้ ยาวนานยิ่งขึ ้น ระบบพื ้นยกสําเร็จรูปยังสามารถ อํานวยความสะดวกในเรื่ องการ เดินสายไฟหรื อสาย เคเบิ ้ลต่างๆการติดตังได้ ้ ง่ายในระบบสายไฟใต้ พื ้นยกสําเร็จรูป ทําให้ เพิ่มประสิทธิภาพ ในการใช้ งาน
Air Flow
พื ้นยกสําเร็จรูป Air Flow เป็ นพื ้นยกที่ทํามาจากเหล็ก ดีไซน์ให้ พื ้นยกเป็ นรู เพื่อระบายลมและความชื ้นจากด้ านล่างใต้ พื ้น มีหลายแบบให้ เลือกใช้ งาน ตามความต้ องการระบายลม เหมาะสําหรับใช้ งานในห้ องต่างๆ ดังนี ้ ห้ องคอมพิวเตอร์ หรื อห้ อง Server ห้ องคลีนรูม โรงงานอุตาสหกรรมต่างๆ เช่น ห้ องปฏิบตั ิการเคมี, ปิ โตรเคมี พื ้นยกสําเร็จรูป Air Flow ยังมีตวั Damper ซึง่ เป็ นอุปกรณ์เสริมไว้ สําหรับ เปิ ดปิ ดช่องลม พื ้นยกสําเร็จรูป Aluminum พื ้นยกสําเร็จรูป Aluminum เป็ นพื ้นยกที่เหมาะสําหรับงานที่รับนํ ้าหนักมากๆ เพราะพื ้นยกมีโครงสร้ างเป็ นตารางเพื่อเพิ่ม ความสามารถกระจายนํ ้าหนักได้ อย่างมีประสิทธิภาพ พื ้นยก Aluminum มีความทนทานและมีรูปทรงที่ได้ มาตราฐานทํา ให้ สามารถติดตังหรื ้ อแลกเปลี่ยนแผ่นพื ้นยกได้ อย่างง่าย พื ้นยก Aluminum ใช้ วสั ดุไม่ตดิ ไฟ ได้ มาตราฐาน Class A
สามารถใช้ งานในห้ อง ปฏิบตั ิการเคมี ห้ องคลีนรูม ห้ องServer ฯลฯ
ตัวอย่างข้ อกําหนดระบบพื ้นยกสําเร็จรูป ( ACCESS FLOOR SYSTEM ) 1. แผ่นพื ้นยกสําเร็จรูป ( Access floor panels ) เป็ นของใหม่ไม่เคยใช้ งานหรื อติดตังมาก่ ้ อน และเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส ขนาดต่อแผ่น 600 x 600 มม. 2. แผ่นพื ้นเป็ นระบบที่สามารถเคลื่อนย้ ายและสับเปลี่ยนตําแหน่งได้ โดยไม่เสียรูปทรง และความเรี ยบร้ อย โดยให้ มีขนาด เต็มแผ่นเท่านันในการติ ้ ดตัง้ ยกเว้ นถ้ าติดเสาหรื อผนังด้ านข้ าง อนุโลมให้ ใช้ เศษของแผ่นได้ 3. แผ่นพื ้นยกทําจากเหล็กปั๊ มขึ ้นรูป หรื อเชื่อมต่อเป็ นรูปหล่อภายในบรรจุด้วยซีเมนต์นํ ้าหนักเบาชนิดอัดแน่น และมีแผ่น เหล็กปิ ดหุ้มมิดชิดทัง้ 6 ด้ าน โดยแผ่นเหล็กนี ้จะต้ องชุบสารป้องกันการเกิดสนิม 4. ชุดขาตัง้ (Pedestals) ต้ องเป็ นเหล็กชุบสังกะสี หรื อระบบเคลือบที่สามารถป้องกันการเกิดสนิม โดยมีสว่ นหัวของขาตัง้ มีแผ่นยางรองกันกระแทก 5. ระบบพื ้นยกสําเร็จรูปมีความสูงตามแบบที่กําหนด ใช้ ระบบ Bolt Stringer มีคานยึดระหว่างหัวเสาของขาตังรั้ บแผ่นพื ้น ยกโดยใช้ สกรูยดึ 6. คุณสมบัติการกันไฟของแผ่นพื ้นต้ องไม่ติดไฟเมื่อได้ รับความร้ อน มีความสามารถต่อการลุกไหม้ ตามมาตรฐาน 7. แผ่นพื ้นยกจะปิ ดผิวด้ านบนด้ วย Anti-static High Pressure Laminated โดยมีคา่ ความต้ านทานไฟฟ้า ( Electrical Resistance ) 8. การรับนํ ้าหนักของแผ่นพื ้นยกแบบ Concentrated load สามารถรับได้ ....../ ตารางนิ ้ว และ Uniform load สามารถรับ ได้ ....../ ตารางเมตร โดยแผ่นยุบตัวไม่เกิน 2.4 มม.