รายงาน เรื่อง ..................................
คานาหน้าชื่อ + ชื่อ - นามสกุล
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา......................................... สาขาวิชา......................................... คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปีการศึกษา .......
ก คานา สหกิจ ศึกษาเป็ น ระบบการศึก ษาที่ ก่ อให้ เ กิ ดประโยชน์ร่ว มกัน ทั้ ง ๓ ฝ่ าย คือ สถาบันการศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษา และสถานประกอบการ กระบวนการสหกิ จ ศึ ก ษาก่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการระหว่ า ง สถาบันการศึกษากับสถานประกอบการ โดยผ่านนักศึกษาที่ไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เป็นระยะเวลา ๑ ภาค การศึกษา (ประมาณ ๔ เดือน) นักศึกษาสหกิจศึกษาจึง เปรียบเสมือนตัวแทนของสถาบันการศึกษา ที่จะช่วย กระชับความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างสถาบันการศึกษากับสถานประกอบการ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความร่วมมือและ เป็นพันธมิตรที่ดีต่อกันในอนาคต ส านั ก ส่ ง เสริ ม วิช าการและงานทะเบี ยน มหาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร เป็น หน่ ว ยงานที่ ก ากั บ ดู แ ลการด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ เ ห็ น ความส าคั ญ ในการจั ด ท าคู่ มื อ สหกิจศึกษา โดยมุ่งหวังเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน และสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพ และความสาเร็จของการ จัดการเรียนการสอนระบบสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ รวบรวมสาระสาคัญของแนวทางปฏิบัติตามกระบวนการดาเนินการสหกิจศึกษาอย่างครบถ้วน ในโอกาสนี้ สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ข อ ข อ บ คุ ณ ผู้ ที่ มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร จั ด ท า คู่ มื อ ส ห กิ จ ศึ ก ษ า เ ล่ ม นี้ แ ล ะ ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า คู่มือสหกิจศึกษาเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาสหกิจศึกษา คณาจารย์ สถานประกอบการ และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่ายต่อไป
สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตุลาคม ๒๕๕๕
ข สารบัญ บทที่ ๑ ...................................................................................................... ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก สหกิจศึกษา คืออะไร ................................................................................................................................ 1 ๑.๑ หลักการและเหตุผล ................................................................................................... 1 ๑.๒ วัตถุประสงค์ของสหกิจศึกษา ...................................................................................... 2 ๑.๓ ประโยชน์จากสหกิจศึกษา .......................................................................................... 2 ๑.๔ การจัดหลักสูตรระบบสหกิจศึกษา................................................................................ 3 ๑.๕ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานสหกิจศึกษา แบ่งได้เป็น ๓ กลุ่ม........... ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก ๑.๖ นักศึกษาสหกิจศึกษา ..................................................... ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก ๑.๗ อาจารย์ประสานงานสหกิจศึกษาประจาคณะ/หัวหน้างานสหกิจศึกษาประจาคณะผิดพลาด! ไม่ได้ กาหนดบุ๊กมาร์ก ๑.๘ อาจารย์นิเทศงานสหกิจศึกษา (Cooperative Education Advisor – CA)ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนด บุ๊กมาร์ก ๑.๙ สถานประกอบการ ........................................................ ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก บทที่ ๒ ...................................................................................................... ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก กระบวนการและขั้นตอนสหกิจศึกษา ........................................................................................................ 2 ๒.๑ กระบวนการก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา .................................................................. 2 ๒.๒ กระบวนการระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ .............................. 6 ๒.๓ กระบวนการหลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ...................... ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก บทที่ ๓ ....................................................................................................................................................... 5 ส่วนประกอบรายงานสหกิจศึกษาและรูปแบบการพิมพ์ ........................................................................... 5 รายงานสหกิจศึกษา/การฝึกงานวิชาชีพ ............................................................................... 5 ๓.๑ รายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ ............................................... 5 ๓.๑.๑ ส่วนนา ........................................................................................................ 5 ๓.๑.๒ ส่วนเนื้อหา ........................................................ ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก ๓.๑.๓ ส่วนท้าย............................................................ ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก
บทที่ ๑ สหกิจศึกษา คืออะไร ส ห กิ จ ศึ ก ษ า ( Cooperative Education) เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ที่ เ น้ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น สถานประกอบการอย่างมีระบบ โดยจัดให้มีการเรียนในมหาวิทยาลัยร่วมกับการจัดให้นักศึกษาไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการที่ให้ความร่วมมืออย่างมีหลักการและเป็นระบบ ทาให้นักศึกษาได้มีโอกาสสร้างความเข้าใจ และเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน สามารถพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเพื่อ ให้มีคุณภาพตรงตามที่สถานประกอบการ ต้องการมากที่สุด โดยมีสหกิจศึกษาเป็นกลไกความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรมระหว่างสถานประกอบการและ มหาวิทยาลัย และยังก่อให้เกิดประโยชน์ร่ว มกัน นักศึกษาสหกิจศึกษาจะเข้าปฏิบัติงานแบบเต็มเวลาอย่ าง ต่อเนื่ องเสมือนหนึ่ งเป็ น พนั กงานชั่ว คราวในสถานประกอบการเป็นระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษา และได้รับ ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ซึ่งนักศึกษาไม่สามารถเรียนรู้ได้ในห้องเรียนปกติ นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาทักษะของงานอาชีพที่ผสมผสานระหว่างภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติได้อย่างลงตัว อัน จะส่งผลให้นักศึกษาเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพสูงเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น และกระบวนการสหกิจ ศึกษาจะก่อให้เกิดการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับสถานประกอบการ ทาให้มหาวิทยาลัยสามารถพัฒนาหลักสูตร ได้ตลอดเวลา ส่วนสถานประกอบการจะได้บัณฑิตที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของสถานประกอบการต่างๆ ๑.๑ หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันตลาดแรงงานมีการแข่งขันค่อนข้างสูง และลักษณะของบัณฑิตที่ตลาดแรงงานหรือสถาน ประกอบการต้องการ ได้แก่ การเป็นผู้ที่ไว้วางใจได้ในด้านการงาน การวางแผนการทางานอย่างมีระบบ การ ตัดสินใจ การแก้ปัญหา ความรู้ความสามารถในการรับรู้ มนุษยสัมพันธ์ ศีลธรรม จริยธรรม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ การสื่อสารข้อมูล การเป็นผู้นา เป็นต้น และสิ่งที่ท้าทายสาหรับบัณฑิตในปัจจุบัน คือ การได้มี โอกาสสร้างความเข้าใจและคุ้นเคยกับโลกแห่งความจริงของการทางาน เพื่อให้ได้มาซึ่งการเรียนรู้และการพัฒนา ทักษะของงานอาชีพและทักษะด้านการพัฒนาตนเอง นอกเหนือไปจากทักษะด้านวิชาการ ซึ่งทักษะเหล่านี้จะ เรียนรู้และพัฒนาได้โดยเร็ว เมื่อนักศึกษาได้มีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ดังนั้นนักศึกษาสหกิจ ศึกษาจึงเปรียบเสมือนผู้แทนที่เป็นความภาคภูมิใ จของมหาวิทยาลัย ที่จะสะท้อนให้เห็นคุณภาพของการจัดการ เรียนการสอนของมหาวิทยาลัย อีกทั้งเป็นการเผยแพร่เกียรติคุณของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการต่อบุคคล หน่วยงาน และสถานประกอบการต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
2 ๑.๒ วัตถุประสงค์ของสหกิจศึกษา ๑.๒.๑ เพื่อให้นักศึกษาเกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพและทางสั งคม อย่างมีระบบตรงตามความ ต้องการของสถานประกอบการ ๑.๒.๒ เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการใน การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต พัฒนาปรับปรุงหลักสูตร การวิจัยและนวัตกรรมในอนาคต อย่างได้มาตรฐานและตรง ตามความต้องการของสถานประกอบการ ๑.๒.๓ เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงในภาคปฏิ บัติ การปรับตัวเข้ากับสังคมการทางานจริงใน สถานประกอบการ ทั้งด้านบุคลิกภาพและหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมถึงสามารถคิดค้นวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่าง เป็นระบบ ๑.๒.๔ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ ผ่านนักศึกษาสหกิจศึกษาและ อาจารย์นิเทศ อันจะนาไปสู่ความร่วมมือที่ขยายกว้างขวางยิ่งขึ้น ๑.๓ ประโยชน์จากสหกิจศึกษา ๑.๓.๑ ประโยชน์ที่นักศึกษาได้รับ มีดังนี้ ๑.๓.๑.๑ ได้รับประสบการณ์วิชาชีพเพิ่มเติม นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน ๑.๓.๑.๒ เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองในด้านทักษะวิชาชีพ การทางานร่วมผู้อื่น ความ รับผิดชอบในหน้าที่การทางาน ความมีระเบียบวินัย มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่พึงประสงค์ ของสถานประกอบการ ๑.๓.๑.๓ เกิดทักษะการสื่อสารข้อมูล (Communication Skill) จากการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากพนักงานที่ปรึกษา การประชุม การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงานและการนาเสนองานหรือเสนอความคิด ๑.๓.๑.๔ รู้จักการคิดค้นวิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง เมื่อพบกับปัญหาต่างๆ ที่ แท้จริงในระหว่างปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ๑.๓.๑.๕ มีผลการเรียนดีขึ้นภายหลังจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เนื่ องจากมีความเข้าใจใน เนื้อหาวิชามากขึ้นจากประสบการณ์การปฏิบัติงานจริง ๑.๓.๑.๖ สามารถเลือกสาขาอาชีพได้ถูกต้อง เนื่องจากได้รับทราบความถนัดของตนเองมากขึ้น ๑.๓.๑.๗ เมื่อสาเร็จการศึกษาจะเป็นบัณฑิตที่มีศักยภาพในการทางานเป็นอย่างดี และมีโอกาส ได้รับการเสนองานก่อนสาเร็จการศึกษาอีกด้วย
3 ๑.๓.๒ ประโยชน์ที่สถานประกอบการได้รับ ๑.๓.๒.๑ พนักงานประจามีเวลามากขึ้นที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่อื่นที่มีความยากและซับซ้อน มากกว่า ๑.๓.๒.๒ เป็นวิธีการหนึ่งในการสรรหาคัดเลือกบัณฑิตเพื่อเข้าเป็นพนักงานประจาที่มีความรู้ ความสามารถตรงกับตาแหน่งงาน ซึ่งช่วยลดเวลาในการสอนงานและเวลาในการทดลองงานลงได้ ๑.๓.๒.๓ คณาจารย์นิเทศกับนักศึกษามีส่วนช่วยแก้ปัญหาให้กับสถานประกอบการ ซึ่งเป็นการ ลดภาระภายในองค์กร ๑.๓.๒.๔ เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับมหาวิทยาลัย และเสริมภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรใน การส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา และช่วยพัฒนาบัณฑิตของชาติ ๑.๔ การจัดหลักสูตรระบบสหกิจศึกษา ๑.๔.๑ การจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จัดระบบการศึกษาเป็นแบบทวิภาคใน ๑ ปีการศึกษา ประกอบด้วย ๒ ภาคการศึกษา และใน ๑ ภาคการศึกษานักศึกษาจะต้องปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เป็นระยะเวลา ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๑๖ สัปดาห์ ซึ่งหลักสูตรระบบสหกิจศึกษามีลักษณะดังนี้ ๑.๔.๑.๑ เป็นวิชาชีพเลือก (บังคับ) มีค่าเท่ ากับ ๖ หน่วยกิต โดยสาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัดจะ เป็นผู้รับผิดชอบในการคัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด เพื่อเข้าระบบสห กิจศึกษา ๑.๔.๑.๒ จัดภาคการศึกษาสหกิจศึกษาไว้ในภาคการศึกษาที่ ๑ ของปีที่ ๔ (ภาคปกติ – สมทบ) ภาคการศึกษาที่ ๒ ของปีที่ ๓ (ภาคปกติ – สมทบ) ๑.๔.๑.๓ เกณฑ์การวัดและประเมินผลสหกิจศึกษา มีระดับคะแนน ผ่าน (S) และไม่ผ่าน (U)
บทที่ ๒ กระบวนการและขั้นตอนสหกิจศึกษา สหกิจศึกษาถือเป็นรายวิชาหนึ่งในกลุ่มวิชาเอกของแต่ละสาขาวิชา โดยมีการจัดการเรียนการสอนนอก ห้ อ งเรี ย นที่ มุ่ ง เน้ น ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ไ ปปฏิ บั ติ ง านจริ ง ณ สถานประกอบการเป็ น ระยะเวลาไม่ ต่ ากว่ า ๑๖ สัปดาห์ (๑ ภาคการศึกษาปกติ) และเพื่อให้ดาเนินงานสหกิจศึกษามีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานของ สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและสมาคมสหกิจศึกษาไทย การดาเนินงานสหกิจศึกษาของคณะ/สาขาวิชา ต้องดาเนินการตามกระบวนการและกิจกรรม ดังนี้ ๒.๑ กระบวนการก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ๒.๑.๑ การเตรียมความพร้อม คณะ/สาขาวิชา ต้องดาเนินการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนา ทักษะด้านเกี่ยวกับสาขาวิชาชีพก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา อันจะเป็นการสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงานแก่ นักศึกษาและสร้างความเชื่อถือแก่สถานประกอบการ การเตรียมความพร้อมคณะ/สาขาวิชา อาจจัดให้มี รายวิชา เตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา จานวน ๑ หน่วยกิต หรือจัดโครงการอบรมเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษาอย่าง น้อย ๓๐ ชั่วโมง ทั้งนี้ภายหลังการเตรียมความพร้อมคณาจารย์นิเทศควรประเมินผลนักศึกษาเพื่อนาผลการ ประเมินนักศึกษาไปประกอบการพิจารณาสมัคงงานต่อไป การอบรมเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาสหกิจศึกษาก่อนออกไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการนั้นแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๒.๑.๑.๑ การปฐมนิเทศสหกิจศึกษา คณะจะเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการอบรมโดยจะเน้นความรู้ ความเข้าใจหลักการสหกิจศึกษา ความสาคัญและประโยชน์ที่นักศึกษาจะได้รับกระบวนการและขั้นตอนสหกิจ ศึกษา แนวปฏิบัติของนักศึกษาที่ต้องปฏิบัติ ๒.๑.๑.๒ การอบรมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพเฉพาะเพื่อเตรียมความพร้อมทางวิชาการ คณะ/สาขาวิช า จะเป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการอบรม เนื้อหาการอบรมควรเน้นความรู้ความเข้ าใจที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพโดยเฉพาะ เพื่อเพิ่มเติมความรู้และทักษะให้แก่นักศึกษาก่อนไปปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ ๒.๑.๑.๓ การอบรมทักษะที่ทาให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงาน คณะดาเนินการจัดการอบรม ในหัวข้อต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมในการทางานและการใช้ชีวิต เช่น ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสาหรับการ
5 ปฏิบัติงาน ทักษะด้านภาษาต่างประเทศ ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน เทคนิคการสัมภาษณ์งาน เทคนิค การเขียนรายงานและนาเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ วัฒนธรรมองค์กร คุณธรรมจริยธรรมกับการทางาน เป็น ต้น ๒.๑.๒ การประชาสัมพันธ์การรับสมัครงานและตาแหน่งงาน คณะ/สาขาวิชาต่างๆ ทาการประชาสัมพันธ์ ข่าวสารการรับสมัครงาน ข้อมูลตาแหน่งงาน คุณสมบัติ ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาที่ผ่านการเตรียมความพร้อมรับทราบและดาเนินการกรอก ใบสมัครงานตามตาแหน่งที่สอดคล้องกับสาขาวิชานั้นๆ ก่อนการประชาสัมพันธ์การสมัครงานและตาแหน่งงาน อาจารย์ประจาสาขาวิชาจะต้องพิจารณา คุณภาพงานและรับรองงานให้แก่นักศึกษา คุณภาพของงานซึ่งควรมี ลักษณะงานตรงกับสาขาวิชาที่นักศึกษาเรียนมาและงานมีประโยชน์ต่อสถานประกอบการ ๒.๑.๓ การสมัครงานสหกิจศึกษา นักศึกษาที่ผ่านรายวิชาเตรียมความพร้อม หรือโครงการอบรมเตรียมความพร้อมต้องกรอกใบ สมัครงานด้วยตนเอง โดยกรอกข้อมูลรายละเอียดการสมัครตามแบบฟอร์มการสมัครงาน พร้อมแนบเอกสาร หลักฐานประกอบการสมัครงานและส่งใบสมัครกับคณะ/สาขาวิชา เอกสารที่นักศึกษาจะต้องแนบพร้อมใบสมัคร งาน มี ดังนี้ - ใบสมัครงานสหกิจศึกษา - รูปถ่าย ขนาด ๑ นิ้ว จานวน ๒ รูป - ใบรับรองผลการศึกษา (Transcript) - ประวัติส่วนตัว (Resume) - สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน - สาเนาทะเบียนบ้าน - ใบรับรองแพทย์ ๒.๑.๔ การพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ
6 สาหรับพิจารณาการคัดเลือกนักศึกษาสหกิจศึกษาเพื่อไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบ การเป็นการดาเนินการของสถานประกอบการ หรือสถานประกอบการอาจมอบหมายให้คณะ/สาขาวิชาเป็นผู้ พิจารณานักศึกษาเองก็ได้ การพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาอาจพิจารณาจากใบสมัครของนักศึกษาหรือสัมภาษณ์นักศึกษา ซึ่ง การสัมภาษณ์นักศึกษานั้นคณะ/สาขาวิชาจะต้องประสานแจ้งให้แก่สถานประกอบการส่งแบบฟอร์มแจ้งกาหนดการ สัมภาษณ์มายังคณะ/สาขาวิชา และให้คณะ/สาขาวิชาแจ้งกาหนดการสัมภาษณ์ให้แก่นักศึกษาทราบต่อไป ๒.๑.๕ การประกาศแจ้งรายชื่อนักศึกษาผู้ผ่านการคัดเลือก ภายหลังการพิจารณาคัดเลื อกและจัดสรรงานเรียบร้อยแล้ว คณะ/สาขาวิชาต้องดาเนิ นการ ประกาศแจ้งรายชื่อนักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก พร้อมทั้งตาแหน่งงานและสถานประกอบการให้นักศึกษาทราบ เพื่อให้นักศึกษาได้ลงทะเบียนเรียนและเตรียมตัวก่อนไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ การประกาศแจ้งรายชื่อ นักศึกษาควรดาเนินการอย่างน้อย ๑๕ วัน ก่อนไปปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ให้คณะ/สาขาวิชา ทาหนังสือแจ้งผู้ปกครอง ของนักศึกษาเกี่ยวกับการไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาด้วย ๒.๑.๖ การประชุมหรือปฐมนิเทศร่วมกันระหว่างคณาจารย์ ผู้นิเทศ และนักศึกษา ภายหลังการจัดสรรงานให้แก่นักศึกษาสหกิจศึกษาเรียบร้อยแล้ว ก่อนถึงกาหนดเวลาที่นักศึกษา สหกิจศึกษาจะไปปฏิบั ติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ คณะ/สาขาวิชาต้องจัดให้ มีการประชุ มหรื อ ปฐมนิเทศ ณ คณะ/สาขาวิชา เพื่อชี้แจงการไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาให้แก่นักศึกษา รวมทั้งเพื่อยืนยันลักษณะ งานที่นักศึกษาจะต้องปฏิบัติ ๒.๑.๗ การส่งจดหมายส่งตัวนักศึกษา คณะ/สาขาวิชา ต้องดาเนินการจัดทาจดหมายส่งตัวนักศึกษาเพื่อมอบให้แก่นักศึกษาถือไปส่ง มอบให้กับสถานประกอบการในวันที่ไปรายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน หรือคณะ/สาขาวิชาอาจดาเนินการส่งสาเนา จดหมายส่งตัวนักศึกษาไปล่วงหน้าเพื่อแจ้งสถานประกอบการทราบก่อนก็ได้ โดยให้พิจารณาตามความเหมาะสม ๒.๒ กระบวนการระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ กิจกรรมในกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เป็นกิจกรรมที่นักศึกษา และอาจารย์นิเทศ จะต้องประสานงานกันเพื่อให้เกิดความสะดวกในการดาเนินการ อย่างไรก็ตามกิจกรรมที่นักศึกษา และอาจารย์ นิเทศจะต้องทราบและดาเนินการระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ มีดังต่อไปนี้ ๒.๒.๑ การรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ
7 นักศึกษาจะต้องเดินทางไปยังสถานประกอบการเพื่อรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษาตามวัน เวลา ที่ได้นั ดหมายและกาหนดไว้ โดยจะต้อ งไปติดต่อยื่นเอกสารจดหมายส่ งตัวและเอกสารที่เกี่ยวข้องยัง หน่ ว ยงานที่ร ะบุ พร้ อมรั บ ฟัง รายละเอีย ดงาน ข้อแนะนาในการปฏิ บัติ งาน กฎระเบียบต่า งๆ ของสถาน ประกอบการ ๒.๒.๒ การส่งข้อมูลที่พักและแผนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ระหว่างสัปดาห์ที่ ๒ ของการปฏิบัติงาน นัก ศึกษาจะต้องส่งรายละเอียดที่พัก (FM ๐๙-๐๓) และแบบแจ้งแผนปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (FM ๐๙–๐๔) ของนักศึกษามายังคณะ/สาขาวิชา เพื่อเป็นข้อมูลในการ ๒.๒.๓ การเขียนบันทึกรายงานการปฏิบัติงานประจาสัปดาห์ นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเขี ย นบั น ทึ ก รายงานเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านประจ าวั น ของตนเอง โดยให้ นักศึกษาบันทึกรายละเอียดลักษณะงาน ภาระงาน ปัญหาและอุปสรรคในแต่ละวันและสรุปส่งนาส่งอาจารย์ นิ เ ทศทุ ก สั ป ดาห์ เพื่ อ ให้ อ าจารย์ นิ เ ทศใช้เ ป็ นข้ อ มู ล ในการให้ ค าแนะน า ปรึ ก ษา หรื อ แก้ ไ ขปั ญ ห าในการ ปฏิบัติงานของนักศึกษา ๒.๒.๔ การส่งเอกสารการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เพื่อให้การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และป้องกันปัญหาต่างๆ ที่อาจจะ เกิดขึ้นนักศึกษาจะต้องรายงานความก้าวหน้าเกี่ยวกับการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด ดังนี้ ๒.๒.๔.๑ สัปดาห์ที่ ๓ ของการปฏิบัติงาน นักศึกษาจะต้องส่งแบบแจ้งโครงร่างรายงานการ ปฏิบัติงาน (FM ๐๙–๐๕) โดยนักศึกษาจะต้องขอรับคาปรึกษาจากพนักงานที่ปรึกษา เพื่อกาหนดหัวข้อรายงาน ที่เหมาะสมโดยคานึงถึงความต้องการของสถานประกอบการเป็นหลัก ตัวอย่างรายงานได้แก่ ผลงานที่นักศึกษา ปฏิบัติรายงานวิชาการที่น่าสนใจ การสรุปข้อมูลหรือสถิติบางประการ การวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล เป็น ต้น นอกจากนี้นักศึกษาจะต้องรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติงานประจาสัปดาห์ต่ออาจารย์นิเทศ ด้วยเพื่อรายงานการจัดทาโครงงาน/รายงานและขอคาแนะนาการแก้ไขปัญหาการทาโครงงาน/รายงานที่นักศึกษา กาลังดาเนินการ ๒.๒.๔.๒ ระหว่างสัปดาห์ที่ ๑๔ – ๑๕ ของการปฏิบัติงาน นักศึกษาจะต้องส่งร่างรายงานฉบับ สมบู ร ณ์กลั บ มายั งอาจารย์ นิ เทศเพื่อ ตรวจสอบและให้ คาแนะนา ทั้งนี้แต่ล ะคณะ/สาขาวิช าจะต้ อง ก าหนด ระยะเวลาการส่งรายงานความก้าวหน้าของรายงานแต่ละบทอีกครั้งตามความเหมาะสมซึ่งจะต้องไม่ช้ากว่าสัปดาห์
บทที่ ๓ ส่วนประกอบรายงานสหกิจศึกษาและรูปแบบการพิมพ์ ส่วนประกอบรูปเล่มรายงานสหกิจศึกษา มีส่วนประกอบทั้งหมด ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนนา ส่วนเนื้อหา และ ส่วนประกอบท้ายเรื่อง โดยทุกส่วนจะต้องครบถ้วนตามคู่มือการเขียนรายงานสหกิจศึกษา ซึ่งกาหนดให้ใช้ดังนี้ รายงานสหกิจศึกษา/การฝึกงานวิชาชีพ การจัดทารายงานสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ ให้ใช้ตัวพิมพ์ (Font) TH SarabunPSK ตลอดทั้ง เล่ม กระดาษที่ใช้พิมพ์ ใช้กระดาษขาวไม่มีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 ขนาด แกรม ใช้พิมพ์เพียงหน้าเดียว ตัวพิมพ์และระยะบรรทัด ใช้พิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft words และพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์แบบ Letter Quality หรือเครื่องพิมพ์ เลเซอร์ (Laser Printer) ไม่ควร ใช้เครื่องพิมพ์แบบ Dot Matrix หรือ Inkjet ตัวพิมพ์ควรเป็นแบบเดียวกันและ ชัดเจนตลอดทั้งเล่ม นักศึกษาสามารถทาได้ ๒ ลักษณะ ได้แก่ (๑) รายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ และ (๒) รายงานโครงงาน/รายงานวิจัย มีรายละเอียดดังนี้ ๓.๑ รายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ ๓.๑.๑ ส่วนนา ทาการกาหนดเลขหน้าโดยใช้ตัวอักษรภาษาไทย ใช้ตัวพิมพ์ TH SarabunPSK ขนาด ๑๖ พอยต์ ชิดขอบขวา ให้เริ่มนับหน้าแรกที่หน้าบทคัดย่อเป็นต้นไป ประกอบด้วย
9 ๑) พิมพ์สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ขนาด ๖x๓.๒๘ ซม. ไว้ กึ่งกลางหน้ากระดาษ ๒) พิมพ์ข้อความ “รายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา” หรือ “รายงานการฝึกงานวิชาชีพ” ใช้ขนาดอักษร ๓๐ พอยต์ ตัวหนา (Bold) สีดา ไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษใต้สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ๓) ข้อความบนปกในที่เขียนเป็นภาษาไทยให้ใช้ขนาดตัวอักษร ๑๘ พอยต์ ตัวหนา (Bold) ๔) หัวข้อรายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพที่ได้รับอนุมั ติให้ จัดทาจากอาจารย์ที่ปรึกษา ๕) ชื่อผู้จัดทารายงาน มีคานาหน้าชื่อ นาย หรือนางสาว ในกรณีที่มี ยศ เช่น ว่าที่ร้อยตรี หม่อมราชวงศ์ เป็นต้น ให้ใช้ยศนั้นๆ นาหน้าชื่อ ๖) ระบุว่ารายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพเป็นส่วนหนึ่ ง ของ การศึ ก ษาในหลั ก สู ต รใด สาขาวิ ช า และชื่ อ คณะที่ ศึ ก ษา ชื่ อ มหาวิ ท ยาลั ย (คณะเทคโนโลยี สื่ อ สารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร) และปีการศึกษาที่ปฏิบัติสหกิจศึกษา/การฝึกงานวิชาชีพ จ) ใบรับรองรายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ ให้ใช้แบบฟอร์มของคณะ เทคโนโลยี สื่อสารมวลชน โดยพิมพ์ข้อความ การลงนามใบรับรองให้ล งลายมือชื่อจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา หัวหน้าสาขาวิชา และรองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย โดยมีรายการในใบรับรองดังนี้ ๑) ชื่อรายงานการปฏิบัติสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ ๒) ชื่อเรื่องรายงานสหกิจศึกษา/รายงานการฝึกงานวิชาชีพ ๓) ชื่อผู้เขียนรายงาน ๔) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๕) ชื่อหัวหน้าสาขาวิชา ๖) ชื่อรองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
10 บรรณานุกรม วิจิตร ศรีสอ้าน และคณะ (๒๕๕๒). ประมวลสาระชุดฝึกอบรมสหกิจศึกษา. สมาคมสหกิจศึกษาไทย. นครราชสีมา. ชวนะ ภวกานันท. (๒๕๔๘). ธุรกิจสปาไทยนากาวไกลไปกวานี้. คนเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๘, จาก http://www.businesstgai.co.th/content.php ปญหาสามชายแดนภาคใต. (ม.ป.ป.). คนเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙, จาก http://www.tvs.co.th/service/mod/hertitage/nation/misc/vision/border.htm