วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
178 สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com อำนาจ สุคนเขตร์* พิเชษฐ เพียรเจริญ** วิวฒ ั นาการของ e-Magazine กาลเวลาหมุนเวียนเปลีย่ นไปย่อมมีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ เป็นธรรมดา สือ่ สิง่ พิมพ์เช่นเดียว กันทีต่ อ้ งหาทางรอดในยุคปัจจุบนั ทีส่ อ่ื ออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวติ ประจำวันอย่างยิง่ นิตยสาร หรือ แมกกาซีน (Magazine) มีจดุ กำเนิดขึน้ มาจากความต้องการในการสือ่ สาร เมื่อสังคมปัจจุบันเปลี่ยนเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม มีนวัตกรรมใหม่เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สื่อ บันเทิงต่างๆ, ภาพยนตร์, แฟชัน่ , ความรูด้ า้ นต่างๆ ทำให้การนำเสนอเนือ้ หาในนิตยสารเริม่ เปลีย่ น แปลงไปจากเดิม อีกทัง้ รูปแบบของนิตยสารมีพฒ ั นาการเช่นเดียวกัน เดิมเป็นเพียงการพิมพ์ตวั หนังสือ ลงบนกระดาษ มีการเพิ่มด้านศิลป์เข้าไป มีการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ตสี่สี จัดวางรูปแบบอย่าง สวยงาม เพิม่ เติมส่วนบรรณาธิการ จัดวางหัวหนังสือ เนือ้ หาต่างๆ ให้มคี วามเหมาะสมและทันสมัย มากยิ่งขึ้นจนกระทั่งเป็นนิตยสารทั่วไปที่เรารู้จักกันดี ด้วยระบบไอทีทพ่ี ฒ ั นาอย่างก้าวกระโดด การกำเนิดของอินเทอร์เน็ต จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และการสือ่ สารข้ามทวีปทีส่ ะดวกรวดเร็วอย่างทีไ่ ม่เคยเป็นมาก่อน เปรียบเสมือนการย่อโลกให้แคบลง และสือ่ สารถึงกันได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม ส่งผลให้วงการสือ่ สิง่ พิมพ์มพี ฒ ั นาการและการเปลีย่ น แปลงเกิดขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเริ่มจากการนำประโยชน์ของระบบไอทีมาประยุกต์ใช้ให้สามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารได้ง่ายขึ้นและมีความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น e-Magazine เป็นผลผลิตทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งของเทคโนโลยี หากพิจารณา e-Magazine แล้วพบว่า เนือ้ หา ข่าวสาร รูปภาพต่างๆ ทัง้ หมดทีม่ อี ยูใ่ นนิตยสาร ถูกย่อส่วนให้ลงมา ได้ไม่แตกต่างจากนิตยสารที่เป็นรูปเล่ม แต่มีความแตกต่างกันในเรื่องของวิธีการและช่องทางการรับ สาร รวมไปถึงรูปแบบทีม่ คี วามทันสมัยมากยิง่ ขึน้ สามารถนำเทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ได้อย่าง หลากหลาย อีกทั้งวิธีการรับสารสะดวกสบายมากกว่าการรับสารจากนิตยสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์ e-Magazine สามารถเปิดหน้าหรือเลือ่ นหน้า ด้วยเทคโนโลยีดจิ ติ อลอันทันสมัย ทำให้เปิดหน้า ในรูปแบบภาพ 3 มิติ จากหน้าจอคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนว่ากำลังเปิดหนังสืออยู่ นอกจากนีแ้ ล้ว * นักวิชาการอุดมศึกษา ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ * นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการพิเศษ ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
179 วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
ยังมีเครือ่ งมือต่างๆ ทีช่ ว่ ยให้การรับสารมีความสะดวกรวดเร็วมากยิง่ ขึน้ เช่น การค้นหาข้อมูลจากเนือ้ หา ภายในเล่มสามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็วด้วยการกดปุม่ ค้นหา (Search) จากนัน้ สามารถเลือ่ นไปยัง หน้ า ที ่ ต ้ อ งการอ่ า นได้ ท ั น ที ย่ อ หรื อ ขยายการแสดงผลทั ้ ง ตั ว อั ก ษรและภาพ เพื ่ อ ให้ อ ่ า นง่ า ย และสบายตายิง่ ขึน้ สามารถกำหนดตำแหน่งของไฟล์บนเว็บ (URL: Uniform Resource Locator) ให้คลิกเพือ่ เปิดไปหน้าเว็บเพจต่างๆ หรือเว็บไซต์ทเ่ี กีย่ วข้องกับเนือ้ หา ค้นหาข้อมูลเพิม่ เติม เว็บไซต์ ของผูใ้ ห้การสนับสนุน รวมถึงการพิมพ์หน้าทีต่ อ้ งการได้ เป็นต้น ความหมายและจุดเด่นของ e-Magazine e-magazine คือ นิตยสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่นเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ที่ผู้ใช้สามารถเปิดอ่านจากคอมพิวเตอร์ได้อย่างง่ายดาย ทั้งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โน๊ตบุ๊ค เน็ตบุ๊ค แท็ปเล็ต สมาร์ทโฟน ทั้งที่ใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows), แมคโอเอส (Mac OS) และลีนกุ ซ์ (Linux) จุดเด่นของ e-Magazine คือ การออกแบบมาให้แสดงเนือ้ หาต่างๆ ได้คล้ายคลึงกับการอ่าน นิตยสารที่ตีพิมพ์เป็นเล่ม ทั้งตัวอักษร ข้อความ ภาพ การพลิกหรือเลื่อนหน้าและด้วยเทคโนโลยี ดิจติ อลอันทันสมัย e-Magazine จึงมีความสามารถค้นหาข้อมูลจากเนือ้ หาภายในเล่มได้อย่างรวดเร็ว เลือ่ นไปยังหน้าทีต่ อ้ งการอ่านได้ทนั ที แสดงหน้าทัง้ หมดแบบภาพขนาดเล็ก (Thumbnail) เพือ่ ให้เลือก แสดงหน้าที่ต้องการได้ทันที ย่อหรือขยายการแสดงผลทั้งตัวอักษรและภาพ เพื่อให้อ่านได้ง่าย และ สบายตาขึน้ สามารถกำหนดตำแหน่งไฟล์บนเว็บ (URL: Uniform Resource Locator) ให้คลิกเพือ่ เปิดไปหน้าเว็บเพจต่างๆ เช่น เว็บไซต์ทเ่ี กีย่ วข้องกับเนือ้ หา ข้อมูลเพิม่ เติม เว็บไซต์ของผูใ้ ห้การสนับสนุน รวมถึงการพิมพ์หน้าที่ต้องการได้อีกด้วย ตัวอย่าง e-Magazine 1. e-Magazine คูม่ อื การใช้งาน E-Book I Love Library
ภาพที่ 1 e-Magazine คูม่ อื การใช้งาน E-Book I Love Library
180 สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
2. e-Magazine มิสทีน
ภาพที่ 2 e-Magazine มิสทีน 3. e-Magazine 360 องศา
ภาพที่ 3 e-Magazine 360 องศา สร้าง e-Magazine ด้วย issuu.com issuu.com คือเว็บไซต์ผใู้ ห้บริการรวบรวมเนือ้ หา e-Book เอาไว้หลากหลายจากทัว่ โลก ปัจจุบนั มีผใู้ ช้บนเว็บไซต์ issuu.com มากกว่าล้านคน e-Book ส่วนใหญ่เป็นเนือ้ หาทีส่ ร้างขึน้ เฉพาะบนโลก
181 วารสารวิทยบริการ
สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
ออนไลน์ มีทง้ั มินแิ ม็คกาซีน (Mini-Magazine) นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) หนังสือออนไลน์ ในแบบเฉพาะ รวมทัง้ สมุดภาพสวยๆ ของบรรดาช่างภาพมืออาชีพบนโลกออนไลน์ เว็บไซต์ issuu.com ยังอนุญาตให้ผใู้ ช้งานสมัครสมาชิกฟรี เพือ่ อัพโหลดไฟล์เอกสารหรือ งาน นิตยสาร e-Book ของตัวเอง ซึง่ อาจสร้างขึน้ ในรูปแบบไฟล์พดี เี อฟ (PDF) เมือ่ อัพโหลดขึน้ ไปแล้ว ระบบจะสร้าง e-Book ให้ฟรี ในแบบทีส่ ามารถเปิดหน้าหนังสือดูได้ทนั ที ทีส่ ำคัญคือผูเ้ ข้าชมนัน้ ไม่ จำเป็นต้องติดตัง้ โปรแกรมใดๆ ลงบนเครือ่ งทีใ่ ช้งานอยู่
ภาพที่ 4 เว็บไซต์ issuu.com สร้าง e-Magazine ง่ายๆ ดังนี้ 1. ใช้โปรแกรมอะไรก็ได้สร้างไฟล์พดี เี อฟขึน้ มา ตัวอย่างในทีน่ ข้ี อใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์ เวิรด์ สร้างเนือ้ หาขึน้ มาสัก 10 หน้า ดังภาพที่ 5
ภาพที่ 5 ตัวอย่างเนือ้ หา 10 หน้ากระดาษ ขนาด เอ 4
182 สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
2. ใช้โปรแกรม PDF Creator แปลงเป็นไฟล์พีดีเอฟ ด้วยการสั่งพิมพ์ผ่านเครื่องพิมพ์ PDFCreator ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 สัง่ พิมพ์ดว้ ยเครือ่ งพิมพ์ชอ่ื PDFCreator รอสักครูจ่ ะปรากฏหน้าจอดังภาพที่ 7 จากนัน้ คลิกปุม่ Save
ภาพที่ 7 หน้าต่างหลังสัง่ พิมพ์ดว้ ยเครือ่ งพิมพ์ชอ่ื PDFCreator หลังจากนัน้ โปรแกรม PDFCreator แสดงหน้าต่าง Save as ขึน้ มาดังภาพที่ 8 ตัง้ ชือ่ ตามความ ต้องการ จากตัวอย่างในภาพที่ 8 ใช้ชอ่ื ไฟล์วา่ emagazine ให้คลิกปุม่ Save
ภาพที่ 8. โปรแกรม PDFCreator แสดงหน้าต่าง Save as
183 วารสารวิทยบริการ
สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
3. เรียกเว็บไซต์ www.issuu.com คลิกปุม่
ดังภาพที่ 9
ภาพที่ 9 เว็บไซต์ issuu.com 4. เข้าใช้งานระบบ (Login) ของ issuu.com ด้วยการใช้บญ ั ชีผใู้ ช้ของ facebook ให้คลิกปุม่ ดังภาพที่ 10
ภาพที่ 10. เข้าใช้งานระบบของ issuu.com ด้วยบัญชีผใู้ ช้ของ facebook 5. เมือ่ เข้าใช้งานระบบสำเร็จแล้ว เว็บไซต์ issuu.com จะแสดงดังภาพที่ 11 คลิกปุม่
ภาพที่ 11 เข้าใช้งานระบบ
184 สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
คลิกปุ่ม เลื อ กไฟล์ พ ี ด ี เ อฟที ่ เ ตรี ย มไว้ จากตั ว อย่ า งในที ่ น ี ้ เ ลื อ กไฟล์ ช ื ่ อ emagazine.pdf ใส่ชอ่ื นิตยสารทีช่ อ่ ง Title และรายละเอียดนิตยสารทีช่ อ่ ง Description จากนัน่ คลิกปุม่ ดังภาพที่ 12
ภาพที่ 12 เลือกไฟล์พดี เี อฟและนำไฟล์ขน้ึ ไปวาง issuu.com จะนำไฟล์พดี เี อฟทีเ่ ลือกไว้นำขึน้ ไปวางไว้บน issuu.com รอจนกว่าแสดงหน้า เว็บไซต์ดงั ภาพที่ 13 เป็นอันเสร็จสิน้ คลิกปุม่
ภาพที่ 13.e-magazine พร้อมใช้งานแล้ว
185 วารสารวิทยบริการ
สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
เปิด e-Magazine ขึน้ มาอ่านจากหน้า My Library หลังจากคลิกปุ่ม จากภาพที่ 13 แล้ว จะเห็น e-magazine ทีพ่ ร้อม ใช้งานแล้วบนโลกออนไลน์ ดังภาพที่ 14 ให้นำเม้าส์ไปที่ e-magazine ฉบับทีต่ อ้ งการอ่าน จะมีปมุ่ ข้อความ Open ลอยเหนือ e-magazine ฉบับนัน้ แล้วคลิกลงไป
ภาพที่ 14.หน้า My Library หลังจากนัน้ issuu.com จะแสดง e-magazine ฉบับทีเ่ ลือกไว้ดงั ภาพที่ 15
ภาพที่ 15.e-magazine ฉบับทีเ่ ลือกไว้ ส่ง e-magazine ให้อา่ นถึงโต๊ะ ต้องการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) บอกสมาชิกหรือเพือ่ น ให้คลิกปุม่ จากนัน้ issuu.com จะแสดงหน้าต่างขึน้ มาดังภาพที่ 16 ใส่ทอ่ี ยูจ่ ดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail address) ทีช่ อ่ ง To:username or email และใส่ขอ้ ความเพิม่ เติมลงทีช่ อ่ ง Message: optional จากนัน้ คลิกปุ่ม เพียงเท่านี้ issuu.com จะส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) แจ้งไปยังสมาชิก หรือเพือ่ นของคุณให้ทราบว่ามี e-magazine ฉบับใหม่มาแล้ว
186 สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
ภาพที่ 16 แสดงหน้า Share this publication
ภาพที่ 17 แสดงจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ท่ี issuu.com ส่งมา การใช้ e-Magazine จากภาพที่ 15 ให้คลิกลงบนหน้าตัวอย่างของ e-magazine เพือ่ เปิด e-magazine ขึน้ มาอ่าน e-magazine จะแสดงขึน้ มาดังภาพที่ 18
ภาพที่ 18 แสดงส่วนการควบคุม e-magazine
187 วารสารวิทยบริการ
สร้าง e-Magazine แบบมืออาชีพด้วย issuu.com
ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๖
อำนาจ สุคนเขตร์ และพิเชษฐ เพียรเจริญ
ส่งท้ายบทความ ด้วยความสามารถในการแสดงผลที่โดดเด่น สวยงามและแสดงภาพลักษณ์ที่ทันสมัยกว่า งานพิมพ์ดว้ ยกระดาษ กอปรกับการเข้าถึงเนือ้ หาของ e-Magazine ยังได้จำลองรูปแบบการอ่านจาก หนังสือจริง มาไว้บนหน้าจอซึง่ การเปิดอ่านนัน้ เสมือนเปิดหน้าหนังสือจริง (Flip Page) ซึง่ แตกต่าง จากการอ่านเอกสารดิจิตอลอื่นๆ อาทิ Word, Open Document เป็นต้น โดยการเข้าถึงเนื้อหาของ เอกสารดิจติ อลเหล่านีจ้ ะเป็นลักษณะเลือ่ นขึน้ -ลง ซึง่ ยากต่อการเข้าถึงเนือ้ หาของผูอ้ า่ น นอกจากนีต้ น้ ทุนในการเผยแพร่และเข้าถึง e-Magazine ยังต่ำกว่างานพิมพ์ เนือ่ งจากสามารถ ส่งผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ทได้โดยตรง ส่งผลให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึง e-magazine ได้อย่างสะดวก รวดเร็วและเข้าถึงได้ตลอดเวลา ในมุมของผู้ผลิตช่วยประหยัดงบประมาณ เวลาและสถานที่จัดเก็บ นิตยสาร ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนในการจัดเก็บได้อกี ด้วย เอกสารอ้างอิง ปกรณ์ สุขสำราญ. (2554) E-Book E-Magazine สือ่ ออนไลน์แห่งอนาคต. สืบค้นเมือ่ วันที่ 13 ก.พ.2556 สืบค้นจาก http://kornpup.blogspot.com/2011/08/e-book-emagazine.html ปริญญา ชาวสมุน. (2555) “ทำไมต้อง e-magazine” กับปรากฏการณ์ขา่ วในมือคุณ. สืบค้นเมือ่ วันที่ 13 ก.พ.2556, สืบค้นจาก http://www.bangkokbiznews.com/home/ detail/life-style/read-write/20120408/445721/ทำไมต้ อ ง e-magazine กับปรากฏการณ์ข่าวในมือคุณ.html เศรษฐพงค์ มะลิสวุ รรณ. (2553) E-Magazine. สืบค้นเมือ่ วันที่ 13 ก.พ.2556 สืบค้นจาก http://www.vcharkarn.com/varticle/41875 ********************************