คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร (KM HEC Manual)

Page 1

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


KM HEC Manual คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


คานา คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สามารถสร้างกระบวนการ ให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ พร้อมทั้งกระตุ้นให้บุคลากรมีความคิดเชิงวิเคราะห์และคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งที่เป็น ประโยชน์ ในการท างาน โดยการส่ งเสริ มให้ บุ คลากรมี การเรีย นรู้ ด้ว ยตนเองให้ เกิ ด การพัฒ นาตนเองอยู่ ตลอดเวลา เพื่อนาไปสู่การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) อย่างแท้จริง ดังนั้น องค์กรจึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ภายในคณะฯ อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในระดับคณะฯ ต่อไป นฤศร มังกรศิลา งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


สารบัญ หน้า บทที่ 1 หลักการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ บทที่ 2 การบ่งชี้ความรู้ บทที่ 3 การสร้างและแสวงหาความรู้ บทที่ 4 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ บทที่ 5 การประมวลและกลั่นกรองความรู้ บทที่ 6 การเข้าถึงความรู้ บทที่ 7 การแบ่งบันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทที่ 8 การเรียนรู้ บทที่ 9 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสารที่น่าสนใจ

1 4 7 9 12 14 19 25 27

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 1 หลักการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 2

หลักการการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ การจัดการความรู้ ในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ต้องการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ โดยมีจุดเน้นเพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างความเชื่อมั่น เพื่อดึงศักยภาพในตัวบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทางานให้มีระดับสูงขึ้น พร้อมทั้งสามารถกาหนดเป็นแนว ปฏิบัติที่ดี (Good Practice) และนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามวิสัยทัศน์และพันธกิจฯ ทางด้านการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยมีปัจจัยแห่งความสาเร็จ คือ แผนการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่ให้ความสาคัญในการสร้างเวทีเพื่อถ่ายทอดความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมถึง ประสบการณ์ของบุคลากรทุกภาคส่วนของคณะฯ นามากระตุ้นและส่งเสริมให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ดั้งนั้น การจัดการความรู้จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการขับเคลื่อนองค์กรในทุกๆ ระดับ ทาให้บุคลากร สามารถทางานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว รวมถึงเป็นแหล่งความรู้ ใหม่ เพียงแค่เข้าไปค้นหาคลังความรู้ และ ทะเบียนความรู้เพื่อเรียนรู้องค์ความรู้เดิมที่มีอยู่ในคณะฯ หรือองค์กรได้ และสิ่งที่สาคัญที่บุคลากรควรเรียนรู้ไว้ คือเรื่องของกระบวนการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการสาคัญในการจัดการความรู้ได้ง่ายขึ้นอีกทางหนึ่ง และช่วยให้เข้าใจถึงขั้นตอนที่ทาให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การบ่งชี้ความรู้ คือ การระบุประเด็นความรู้ที่สาคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขององค์กร เช่น พิจารณาว่า วิสัยทัศน์และพันธกิจ เป้าหมายคืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย บุคลากรจาเป็นต้องรู้อะไร, ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง, อยู่ในรูปแบบใด, อยู่ที่ใคร เป็นต้น ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดในการดาเนินการ จัดการความรู้ ในระดับคณะฯ 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ คือ การค้นหาแหล่งความรู้ที่ขาดหายไปในองค์กรอย่างต่อเนื่อง เช่น การสร้างความรู้ใหม่, แสวงหาความรู้จากภายในและภายนอกองค์กร, รักษาความรู้เก่า, กาจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้ ออกไป เป็นต้น 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ คือ การวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต เช่น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้ รวมทั้งส่งเสริมให้บุคลากรได้ เข้าถึงองค์ความรู้ที่จัดเก็บไว้ในระบบเทคโนยีสารสนเทศเพิ่มขึ้น เป็นต้น 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ คือ การจัดรูปแบบและภาษาที่เข้าใจง่ายเพื่อการสื่อสารภายใน องค์กร เช่น ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน, ใช้ภาษาเดียวกันโดยการจัดทาเป็นอภิธานศัพท์ หรือ คานิยามศัพท์เฉพาะทางด้านคหกรรรมศาสตร์ เป็นต้น คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 3

5) การเข้าถึงความรู้ คือ การทาให้ผู้ใช้ความรู้สามารถเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวกมาก ยิ่งขึ้น เช่น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, เว็บบอร์ด, บอร์ดประชาสัมพันธ์, บทความการจัดการความรู้ , เว็บ บล็อก (Web Blog) และชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ (RMUTP CoP Web Blog) เป็นต้น 6) การแบ่ ง ปั น แลกเปลี่ ย นความรู้ คื อ การสร้ า งบรรยากาศการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั น อย่ า งมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) จัดทาเป็นคู่มือ, เอกสาร, ฐานความรู้, เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) จัดทาเป็น ระบบทีมข้ามสายงาน, กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม, ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ระบบพี่เลี้ยง, การสับเปลี่ยนงาน, การยืมตัว, เวที แลกเปลี่ยนความรู้, แหล่งผู้รู้ในองค์กร เป็นต้น 7) การเรียนรู้ คือ การทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายร่วมกันใน องค์กร เช่น การกาหนดระบบการเรียนรู้จากการสร้างองค์ความรู้ > นาความรู้ไปใช้> เกิดการเรียนรู้และ ประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนความรู้อย่างต่อเนื่อง (Knowledge Spiral) การดาเนินการตามกระบวนการจัดการความรู้ ทั้ง 7 ประการ ส่งผลดีต่อการจัดการความรู้ในระดับ บุ ค คลที่ ป ฏิ บั ติ รวมถึ ง ในระดั บ หน่ ว ยงานสามารถเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ที่ ส าคั ญ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้อย่างต่อเนื่องและขับเคลื่อนไปสู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพต่อไป

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 2 การบ่งชี้ความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 5

การบ่งชี้ความรู้ การบ่งชี้ความรู้ คือ การระบุประเด็นความรู้ที่สาคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขององค์กร เช่น พิจารณาว่า โดยการกาหนดและการดาเนินการวิสัยทัศน์และพันธกิจ เป้าหมายของการจัดการความรู้ของ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ โดยมุ่งไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning organization) สู่อาเซียน เน้นการปฏิบัติอย่างสมดุลตามแผนการจัดการความรู้ของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ดังนี้ คือ 1. การผลิตบัณฑิต เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาการและวิชาชีพ มี คุณลักษณะตามหลักสูตรที่กาหนด การเรียนการสอนในยุคปัจจุบันใช้หลักการของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนั้น พันธกิจดังกล่าวจึงเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนการสอน เริ่มตั้งแต่การกาหนดปัจจัยนาเข้าที่ได้มาตรฐานตามที่กาหนด กระบวนการการจัดการเรียนการสอน และ บัณฑิตที่จ บไปแล้ ว มีงานทา และเพื่อเป็ น การบ่งชี้ความรู้ที่ส าคัญในการผลิตบัณฑิต ประกอบด้ว ย การมี อาจารย์ที่มีปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มีกระบวนการบริหารจัดการการเรียนการสอน ใน รูปแบบต่างๆ ที่อาศัยหลักการร่วมแรงร่วมใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ยกตัวอย่าง การบ่งชี้ความรู้ทางการกระบวนการการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เช่น อาจารย์นฤศร มังกรศิลา อาจารย์ประจาหลักสูตร สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร รับรางวัลผู้มี ผลงานด้านการพัฒนาการสอนด้านสื่อการสอนดีเด่น ประจาปี 2558 จึง ได้จัดทาแนวปฏิบัติที่ดี (good practice) เกี่ยวกับองค์ความรู้สาหรับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในระบบสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-learning) เพื่อเป็นการส่งเสริมการจัดการความรู้ตามแผนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบัณฑิต โดยบุคลากร คณะฯ ที่ต้องจัดการเรีย นการสอน และสนับสนุนให้นักศึกษาของคณะฯ ได้เรียนรู้บนฐานของเทคโนโลยี (technology based learning) ต่อไปได้ในอนาคต เพื่อมุ่งสู่ การเป็นมหาวิทยาลั ยดิจิตอล (Digital University) ต่อไปในอนาคต เป็นต้น 2. การวิจัย เป็นการดาเนินการทางด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ให้กับคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เช่น การบ่งชี้ความรู้ที่สาคัญเพื่อดาเนินการสร้างองค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือจะเป็นนวัตกรรมทางด้านอาหาร หรือสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถนามาถ่ายทอดและเรียนรู้ใช้ ประโยชน์ได้จริง รวมทั้งถ่ายทอดให้กับชุมชนโดยรอบ หรือชุมชนเป้าหมายที่ต้องการใช้องค์ความรู้ต่างๆ ของ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ โดยประโยชน์อีกทางหนึ่ง คือ บุคลากรของคณะฯ สามารถเรีย นรู้องค์ความรู้ ต่างๆ ที่ผู้ถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบต่างๆ สามารถกระทาได้ เช่น บันทึกเรื่องเล่า วิดีทัศน์ คู่มือ และอื่นๆ อีก มากมายที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านการวิจัย เพื่อนามาใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลดีต่อการดาเนินการวิจัยของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ในระยะยาวต่อไป

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 6

3. การบริการวิชาการแก่สังคม เป็นการดาเนินการที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือ ชุม ชนกลุ่ ม เป้ า หมายให้ ส ามารถประกอบอาชี พ หรื อ น าเอาองค์ ค วามรู้ จ ากการวิ จั ย ของนั กวิ จั ย ในคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร มาต่อยอดเพื่อก้าวไปสู่การเป็นชุมชนที่มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน อย่างยั่งยืน สิ่งที่บุคลากรในคณะฯ สามารถทาได้คือ การสร้างองค์ความรู้ออกมาในรูปแบบของการถ่ายทอด ความรู้ให้เป็นลายลักษณ์อักษรออกมา (Explicit Knowledge) เช่น วิดีทัศน์การแกะสลัก วิดีทัศน์การทายาดม ส้มโอมือ คู่มอื การทายาดมส้มโอ และอื่นๆ อีกมากมาย ที่สามารถนามาเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาค้นหาองค์ ความรู้ เป็นต้น 4. สมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน เป็นการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานของ บุคลากรสายสนับสนุนของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร ด้วยการบ่งชี้ความรู้ที่สาคัญต่อการ พัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน เช่น การบริการนักศึกษา และอาจารย์อย่างไรให้เกิดความประทับใจ โดย จะต้ อ งมี บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ที่ มี แ นวปฏิ บั ติที่ ดี ม าทาการถ่ า ยทอดองค์ ความรู้ ออกมาให้ บุ ค ลากรสาย สนับสนุนในรูปแบบต่างๆ เช่น บันทึกเรื่องเล่า วิดีทัศน์ คู่มือ และอื่นๆ อีกมากมาย สรุป โดยในขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดในการดาเนินการจัดการความรู้ ในระดับ คณะฯ ที่สาคัญที่สุด เนื่องจากบุคลากรในคณะฯ ต้องการหรือยังขาดองค์ความรู้ใดอยู่บ้าง เพื่อตั้งเป็นแผนหรือ ประเด็นในการแสวงหาองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับบุคลากรในคณะฯ ต่อไป

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 3 การสร้างและแสวงหาความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 8

การสร้างและแสวงหาความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ คือ การค้นหาแหล่งความรู้ที่ขาดหายไปในองค์กรอย่างต่อเนื่อง โดย การสร้างความรู้ใหม่ โดยสามารถแสวงหาความรู้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อมุ่งเน้นการจัดหาองค์ ความรู้ที่จาเป็นต่อการพัฒนาบุคลากรในคณะฯ โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นหลักๆ คือ 1. การสร้างความรู้ใหม่ เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ของบุคลากรภายในคณะฯ ในแต่ละรุ่น แต่ละยุคใช้เวลาสร้างองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาเป็นเวลายาวนาน และส่งผลดีต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กับ บุคลากรใหม่ของคณะฯ และร่วมกันแสวงหาความรู้ใหม่ๆ จากบุคลากรของคณะฯ อยู่ตลอดเวลา เช่น องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการพัฒนาการจัดการความรู้ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ จัดทาบันทึกเรื่องเล่า วิดีทัศน์ คู่มือขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานเพื่อสร้างความรู้ใหม่ๆ ให้กับองค์กรอย่างต่อเนื่อง และการสร้ า งองค์ ค วามรู้ ใ หม่ ภ ายในสาขาวิ ช า หรื อ หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น ภายในคณะ สามารถ ดาเนินการสร้างองค์ความรู้ หรือแนวปฏิบัติที่ดีให้กับสาขาวิชา หรือหน่วยงานสนับสนุนภายในคณะต่อไปได้ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนให้บุคลากรใช้ช่องทางเว็บบล็อกในการถ่ายทอดความรู้ให้เพิ่มมากขึ้น เป็นต้น 2. การแสวงหาความรู้ แต่ในกรณีที่ไม่มีองค์ความรู้ดังกล่าวภายในองค์กร บุคลากรคณะฯ สามารถ แสวงหาความรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีภายนอกองค์กรได้ เช่น การค้นหาวิทยากร หรือบุคคลต้นแบบที่ สามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่จาเป็นในการพัฒนาบุคลากรของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร และใช้ การแสวงหาความรู้บนพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ส่งผลต่อบุคลากรใน คณะฯ ที่ต้องมุ่งมั่นแสวงหาข้อมูลที่ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น วิธีการนาเสนอผลงาน หรือส่งบทความวิชาการ บทความวิจัย บุคลากรสามารถค้นหาองค์ความรู้จากคลังความรู้ และทะเบียนความรู้ภายในคณะฯ ก่อน ถ้าไม่มีองค์ความรู้ที่ค้นหา บุคลากรสามารถค้นหาองค์ความรู้ที่จาเป็นต่อการพัฒนาประสิทธิภาพใน การทางาน หรือสามารถสร้างความโดดเด่นในการดาเนินงานตามพันธกิจทั้ง 4 ด้านได้ เมื่อค้นหาองค์ความรู้ จากเว็บไซต์ หรือแหล่งข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศที่เก็บเอาไว้ในรูปแบบออนไลน์ของแหล่งข้อมูลภายนอก บุคลากรที่ได้เรี ยนรู้องค์ความรู้ ที่จ าเป็ น แล้ว เกิดการรวบรวมจนกลายเป็นองค์ความรู้ใหม่ที่เหมาะสมกับ บุคลากรในคณะฯ และพร้อมที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เป็นระบบต่อไป เช่น การค้นหาจะเว็บไซต์ หนังสือ ตารา และแหล่งอ้างอิงอื่นๆ รวมทั้งการรับฟังคาบรรยายจากบุคคลที่มีความสาคัญในการขับเคลื่อนองค์ความรู้ ให้เกิดขึ้นภายในองค์กรอย่างต่อเนื่องทางด้านการพัฒนาให้เป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล จะต้องใช้กลุ่ม บุคคลอ้างอิง ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ที่สามารถพัฒนาและปฏิบัติได้จริงเกี่ยวกั บการ ขั บ เคลื่ อ นให้ เ ป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ดิ จิ ทั ล ด้ ว ยองค์ ค วามรู้ ข องผู้ ถ่ า ยทอดความรู้ ที่ เ ป็ น บุ ค คลอ้ า งอิ ง ในกลุ่ ม มหาวิทยาลัยที่มีองค์ความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนาในประเด็นดังกล่าว คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 10

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ คือ การวางโครงสร้างความรู้ เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบ โดยการจัดการความรู้ให้เป็นระบบได้นั้น จะต้องเกิด จากความร่วมแรงร่วมใจของบุคลากรใน คณะฯ เพื่อรวบรวมความรู้ต่างๆ ในรูปแบบที่บุคลากรในรุ่นต่อไปของคณะฯ สามารถเรียนรู้ได้จากองค์ความรู้ ที่ชัดแจ้งและเป็นระบบ แบ่งการจัดการความรู้ให้เป็นระบบได้ ดังนี้ 4.1 แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) เป็นการจัดการความรู้ที่เป็นระบบจากบุคลากรในคณะฯ ที่ เป็นต้นแบบ และมีแนวปฏิบัติที่ดี ในเรื่องต่างๆ ที่ต้องการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นแนวทางที่สาคัญต่อการ พัฒนาตนเองให้ไปสู่เป้าหมายความสาเร็จเหมือนกับบุคลากรภายในคณะฯ และผู้ที่สนใจในการพัฒนาตนเอง ต่อไป 4.2 การจัดทาบันทึกเรื่องเล่า (Story Telling) บุคลากรที่ต้องการสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือ ต้องการถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบลายลักษณ์อักษรแบบหนึ่ง ที่ต้องการกระตุ้นให้บุคลากรถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่ได้จากการฝึกอบรม โครงการต่างๆ หรือบุคลากรของคณะฯ ที่ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ที่ค้นพบด้วยตนเอง สามารถนามาถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ๆ ในบันทึกเรื่องเล่า แล้วต้องการจัดเก็บองค์ความรู้ให้เป็นระบบต่อไป 4.3 วิดีทัศน์ (Video Clip) ช่องทางการจัดการความรู้ให้เป็นระบบด้วยรูปแบบการถ่ายทอดความรู้ที่ สามารถเข้าไปรับชมได้อยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการลงวิดีทัศน์ไว้ในเว็บไซต์ส่วนตัวของบุคลากรในคณะฯ ที่ ต้องการถ่ายทอดความรู้เอง หรือจะเป็นการเก็บไว้ในทะเบียนความรู้ของคณะฯ โดยบุคลากรสามารถถ่ายทอด ความรู้ออกมาด้วยวิธีการนาเสนอเนื้อหาสาระสาคัญที่ต้องการให้บุคลากรในคณะฯ รับรู้หรือศึกษาองค์ความรู้ ใหม่ๆ จากวิดีทัศน์ต่างๆ ที่บุคลากรได้จัดทาวิดีทัศน์ขึ้นมา 4.4 คู่มือ (Manual) การจัดทาคู่มือถือเป็นรูปแบบการจัดการความรู้ทีสาคัญช่องทางหนึ่ง โดย หน่วยงานภายในคณะฯ สามารถจัดทาคู่มือ จะมีรูปแบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ และวิธีก ารในการดาเนิ น การเพื่อไปสู่ เป้ าหมายที่ท าให้ บุคลากรประสบความส าเร็จได้ถ้ าทาตามขั้นตอน กระบวนการที่แสดงเอาไว้ในคู่มือ 4.5 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้ (Knowledge Management System) โดยในระดับคณะฯ ตามระบบที่ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร ได้จัดเตรีย มเอาไว้ให้กับบุคลากรคณะฯ คือ เว็บบล็อกการจัดการความรู้ (KM Web Blog), เว็บบล็อกชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ (RMUTP CoP Web Blog) และสื่ออื่นๆ ที่ใช้ในการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 4.6 สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เป็นการส่งเสริมให้บุคลากรได้เข้าถึงองค์ความรู้ที่จัดเก็บไว้ ในเทคโนยีสารสนเทศในระดับคณะฯ และในระดับมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นอย่างเป็นระบบ เป็นต้น

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 11

4.7 สื่อการจัดการความรู้อื่นๆ (Other) บุคลากรอาจจะใช้ช่องทางการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ในช่องทางอื่นๆ ได้นอกเหนือจากที่ได้กล่าวเอาไว้ สรุปได้ว่า การจัดการความรู้ให้เป็นระบบเป็นสิ่ งที่บุคลากรทุกคนในหน่วยงานระดับคณะฯ สามารถ ดาเนินการได้โดยการจัดเก็บข้อมูล หรือการจัดการองค์ความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่ให้เป็นระบบ สามารถสื บค้นและนา กลับมาใช้ใหม่ได้ รวมทั้งสามารถรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ของสาขาวิชา หรือหน่วยงานสนับสนุนต่างๆ ใส่ไว้ ในเว็บบล็ อก หรือเว็บไซต์ของงานจั ดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เพื่อจัดทาเป็นทะเบียน ความรู้ของคณะฯ ต่อไป

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 5 การประมวลและกลั่นกรองความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 12

การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ คือ การจัดรูปแบบและภาษาที่เข้าใจง่ายเพื่อการสื่อสารภายใน คณะฯ ควรกาหนดเป็นมาตรฐานในการสื่อสาร หรือการใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ที่จาเป็นต่อการสร้างความ เข้าใจที่ตรงกันในการเรียนรู้ของบุคลากรในคณะฯ โดยการจัดทาเป็นคานิยามศัพท์เฉพาะทางด้านคหกรรรม ศาสตร์ หรือ ส่วนหนึ่งเกิดจากการประมวลและกลั่นกรองความรู้โดยคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์การ จัดการความรู้ หรือบุคลากรคณะฯ ที่ต้องการเข้าร่วมประมวลและกลั่นกรองความรู้ โดยเน้นการพิจารณาองค์ ความรู้ ที่ จ าเป็ น ต่ อ การน ามาถ่ า ยทอดความรู้ แ ละแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ภายในคณะฯ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และอีกส่วนหนึ่งเกิดจากการร่วมแรงร่วมใจทาคานิยามศัพท์เฉพาะของแต่ละสาขาวิชา หรือหน่วยงานต่างๆ ภายในคณะฯ เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันและถูกต้อง ส่งผลดีต่อการสื่อสารและการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น ได้แก่ 5.1 แผนผังความคิด (Mind Map) เป็นการสร้างรูปแบบการจัดการความรู้ที่ได้รับการประมวลและ กลั่นกรองความรู้จากบุคลากรของคณะฯ ที่ต้องการถ่ายทอดองค์ความรู้แบบง่ายๆ ในรูปแบบสัญลักษณ์ที่ดูง่าย และสวยงาม สามารถเข้าใจองค์ความรู้ในเรื่องที่บุคลากรท่านหนึ่งสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านสื่อใน รูปแบบแผนผังความคิด โดยบุคลากรของคณะฯ สามารถดาวโหลดโปรแกรมจัดการแผนผังความคิดได้จาก เว็บไซต์งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้ที่ http://www.km.hec.rmutp.ac.th 5.2 ตาราง และแผนภูมิ (Table and Chart) เป็นรูปแบบการนาเสนอ หรือวิธีการถ่ายทอดความรู้ ที่มีมานานแล้ว ง่ายต่อการเรียนรู้ และทาความเข้า ใจ ซึ่ง ณ ปัจจุบันนี้ เราอาจจะเรียกให้ดูทันสมัย เรียกว่า กราฟิกข้อมูล (Info Graphic) ได้รับความนิยมในทุกหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ หรือภาคเอกชน เนื่องจาก ความสะดวกในการเรียนรู้ ทาความเข้าใจได้ง่ายกว่าการอ่านเนื้อหาในเอกสารทั่วไปที่กระทากัน 5.3 การจัดรายการวิทยุ และรายการโทรทัศน์ (Radio and Television Technology) เป็นการ ประมวลและกลั่นกรองความรู้จากเอกสาร ออกมาเป็นคาพูด หรือการแสดงออกที่เข้าใจได้โดยง่ายผ่านสื่อ รายการวิทยุ และโทรทัศน์ ซึ่งมีช่องทางการสื่ อสารในรูปแบบดังกล่าวนี้ สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ร่วมด้วย ได้ เช่น การใช้เฟสบุ๊คไลฟ์ (Facebook Live) เพื่อถ่ายทอดสดการอัดรายการ รวมทั้งสามารถอัดรายการวิทยุ และโทรทัศน์เก็บไว้ในเฟสบุ๊คได้อีกด้วย 5.4 ช่องทางการประมวลและกลั่นกรองทางด้านอื่นๆ (Other) เนื่องด้วยความถนัดของบุคลากร ของคณะฯ แต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคนอาจจะถนัดใช้ วิธีการประมวลและกลั่นกรองตามวิธีการทั้ง 3 แบบ ข้ า งต้ น แต่ บ างคนอาจจะต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารประมวลและกลั่ น กรองออกมาเป็ น แนวความคิ ด เป็ น ต้ น แบบ (Prototype) หรือสร้างเป็นนวัตกรรมใหม่ (New Innovation) ขึ้นมาเพื่อพัฒนาองค์กรของเราต่อไปได้ เพื่อ ลดต้นทุนการบริหารจัดการ และทาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารจัดการองค์กร เช่น การพัฒนา ระบบการบริหารจัดการสหกิจศึกษาของคณะฯ ที่ครอบคลุมทั้งระบบ เพื่อลดการใช้กระดาษในทุกขั้นตอน เป็นต้น สรุป การประมวลและกลั่นกรองความรู้จะเกิดขึ้นได้จะต้องเกิดจากความคิดของบุคลากรภายใน ที่ ต้องการถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ให้ง่ายขึ้น เพื่อให้บุคลากรที่ เข้ามาทางานในองค์กรต่อไปในอนาคตได้เข้ามา เรียนรู้ได้โดยไม่ต้องสอบถามจากบุคลากรต้นทางที่เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้โดยตรงและได้ประโยชน์ที่แท้จริง คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 6 การเข้าถึงความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 14

การเข้าถึงความรู้ การเข้าถึงความรู้ คือ การทาให้ผู้ใช้ความรู้ สามารถเข้าถึงความรู้ที่ ต้องการได้ง่ายและสะดวกมาก ยิ่งขึ้น โดยการสืบค้นผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของคณะฯ เช่น เว็บไซต์การจัดการความรู้ของคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (KM HEC RMUTP), บทความการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (KM HEC Articles), เว็บบล็อกการจัดการความรู้ (KM Web Blog), เว็บบล็อกชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ (RMUTP CoP Web Blog) และสื่อกลางในการเข้าถึงความรู้อื่นๆ เป็นต้น รวมทั้งเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น ดังนี้ การถ่ า ยทอดความรู้ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ในการเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ที่ มี อ ยู่ ใ นตั ว บุ ค คล (Tacit Knowledge) ออกมาเป็นองค์ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ที่แสดงออกมาเป็นสื่อต่างๆ ใน ช่องทางที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการทาเป็นคู่มือ หนังสือ ตารา วิดีโอ เทปเสียง และอื่นๆ อีกมากมาย ที่ บุคคลกรคณะฯ ทุกๆ ท่านที่มีความสนใจในประเด็น หรือองค์กรความรู้ต่างๆ โดยท่านสามารถเข้าไปศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติมได้อยู่ตลอดเวลา ในปัจจุบันการถ่ายทอดความรู้สามารถเผยแพร่องค์ความรู้ได้ทางเว็ บบล็อก โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้จัดเตรียมช่องทางการถ่ายทอดความรู้ต่างๆ เหล่านี้ ให้มาพร้อมแล้ว 6.1 ขั้นตอนการเปิดใช้งานเว็บบล็อกการจัดการความรู้ (KM Web Blog) 6.1.1 เข้าไปที่เว็บไซต์ KM blog คลิกเข้าตามลิงค์นี้ (http://blog.rmutp.ac.th) จะ ปรากฏหน้าเว็บไซต์ KM blog ขึ้นมา

6.1.2 คลิกไปที่หัวข้อ แบบฟอร์มขอเปิดการใช้งาน KM Blog จะปรากฏหน้าจอดังกล่าว ขึ้ น มา โดยบุ ค ลากรคณะฯ สามารถกรอกข้ อ มู ล ชื่ อ -นามสกุ ล , Username (RMUTP Passport), E-mail และคาอธิบาย หรือ รายละเอียดของ Blog ที่ ต้องการถ่ายทอดความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 15

6.1.3 เมื่อกรอกข้อมูลเพื่อขอเปิดการใช้งาน KM Blog เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกส่งข้อมูล ดังกล่าวที่ปุ่ม ลงทะเบียน จากนั้นศูนย์จัดการความรู้ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จะแจ้งการเปิดการใช้งานให้กับบุคลากรคณะฯ ต่อไป 6.2 วิธีการถ่ายทอดความรู้ใน KM Blog 6.2.1 บุคลากรคณะฯ ใส่ชื่อเว็บไซต์ หรือคลิกตามลิงค์นี้ (http://blog.rmutp.ac.th/wpadmin) ในช่องกรอก URL ในบราวเซอร์ที่บุคลากรคณะฯ ใช้ในแต่ล ะเครื่อง คอมพิวเตอร์ จะปรากฏหน้าให้กรอกชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านเข้าสู่เว็บบล็อก เพื่อเข้าสู่ การจัดการหน้าเว็บบล็อกของบุคลากร หรือที่เรียกว่าหน้าควบคุมเว็บบล็อก (KM Blog Dashboard)

6.2.2 เมื่อกรอกชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านเข้าสู่เว็บบล็อก จะปรากฏหน้าควบคุมเว็บบล็อก (KM Blog Dashboard) ขึ้นมา โดยมีส่วนประกอบสาคัญหลายส่วน เช่น - Posts คือ เรื่องที่ต้องการถ่ายทอดความรู้ - Media คือ สื่อต่างๆ ที่ต้องการแทรกลงไปในเรื่อง เช่น ภาพ วิดีโอ เป็นต้น - Links คือ ลิงค์ที่ต้องการให้เข้าไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จากแหล่งข้อมูลต่างๆ - Pages คือ หน้าที่ใช้แบ่งส่วนเรื่อง และเอกสารต่างๆ ในเว็บบล็อก คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 16

- Video คือ วิดีโอต่างๆ ที่ต้องการแทรกลงไปในเรื่อง - Comment คือ คาติชม หรือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นจากผู้ใช้ หรือ บุคลากร คณะฯ ท่านอื่นๆ เข้ามาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน - Appearance คือ หน้าปรับแต่งเว็บบล็อก - Plugin คือ ปลั๊กอินที่ใช้ปรับแต่งเว็บบล็อก - User คือ ผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในเว็บบล็อก - Tools คือ เครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในเว็บบล็อก - Setting คือ ตั้งค่าพื้นฐานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเว็บบล็อก -

6.2.3 เรื่องที่บุคลากรต้องการจะถ่ายทอดความรู้ สามารถเข้าไปคลิกที่หัวข้อ Posts> Add New จะปรากฏหน้าจอดังกล่าวนี้ขึ้นมา โดยเริ่มต้นจากการกรอกชื่อเรื่อง และส่วน ของเนื้ อ หาสามารถกรอกข้ อ มู ล เป็ น ตั ว อั ก ษร และสื่ อ ต่ า งๆ ลงไปได้ ต ามความ ต้องการ

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 17

6.2.4 สามารถแทรกสื่อต่างๆ เช่น ภาพ วิดีโอ และอื่นๆ ได้โดยคลิกที่ปุ่ม Add Media 6.2.5 เมื่อปรับแต่งเรื่องที่ต้องการถ่ายทอดเสร็จแล้ว ให้กดปุ่ม Update หรือ Public ใน ส่วนของมุมขวาบนของหน้านี้ แค่นี้ เราก็จะได้เนื้อหาเพื่อนามาถ่ายทอดของกับ บุคลากรคณะฯ ท่านอื่นๆ ได้ 6.3 การร่วมแสดงความคิดเห็น (Comment) 6.3.1 การแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ของบุคลากรคณะฯ ถือได้ว่าเป็นสิ่งสาคัญเป็น อย่างยิ่ง ที่จะทาให้เกิดการขมวดเกลียวขององค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้น เป็นการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยคลิกไปที่หัวข้อต่างๆ ตามประเด็นที่ท่าน สนใจได้ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นในมุมมองที่เหมือน หรือแตกต่างกันของแต่ละ บุคคลได้อย่างอิสระ และใช้ถ้อยคาที่สุภาพ

6.3.2 เมื่อคลิกเข้าไปที่หัวข้อต่างๆ ตามประเด็นที่ท่านสนใจแล้ว สามารถอ่านเพื่อนาความ เข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อนั้นๆ จากนั้นเลื่อนไปที่ส่วนล่วงของหน้าเว็บไซต์หัวข้อดังกล่าว จะปรากฏช่องให้แสดงความคิดเห็น (Comment) ท่านสามารถกรอกข้อมูลในช่อง แสดงความคิดเห็นได้ทันที เมื่อแสดงความคิดเห็นเสร็จแล้ว ให้คลิก โพสแสดงความ คิดเห็น คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 18

ทั้งนี้ ท่านยังสามารถดาเนินการถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบเดิมผ่านทางแบบฟอร์มการถ่ายทอดองค์ ความรู้ โดยดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์นี้ เพื่อบันทึกองค์ความรู้ที่ท่านต้องการถ่ายทอดให้กับบุคลากรในคณะฯ ต่อไป --> แบบฟอร์มบันทึกเรื่องเล่า คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พรนคร

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 7 การแบ่งบันแลกเปลี่ยนความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 20

การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การแบ่ ง ปั น แลกเปลี่ ย นความรู้ คื อ การสร้ า งบรรยากาศการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั น อย่ า งมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ควรจัดทาเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice), คู่มือการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (KM HEC Manual), บันทึกเรื่องเล่า (Story Telling), ฐานความรู้ (Database), สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ยกตัวอย่าง เช่น กลุ่มชุมชนคน โชติเวชในเฟสบุ๊ค (Facebook) สามารถร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ทางด้านคหกรรมศาสตร์ ร่วมกัน หรือ ความรู้ แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) จัดทาเป็นกิจกรรมกลุ่ม หรือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ โดยสร้างเวทีแลกเปลี่ยน ความรู้บนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อให้ก้าวทันตามกระแสการเปลี่ยนแปลงใน รูปแบบเศรษฐกิจดิจิตอล และให้ทันต่อการแข่งขันในเวทีในระดับอาเซียน และในระดับโลกต่อไป เป็นต้น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดขึ้นได้ตลอดในองค์กรของเรา ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยแลกเปลี่ยนกันระหว่าง บุคคล หรือกลุ่มที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน และต้องการมาแบ่งบันประสบการณ์ร่วมกันเกี่ยวกับพันธกิจ ต่างๆ เช่น การเรียนการสอน, การวิจัย, การบริการวิชาการ และศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น หรืออาจจะเป็น ประเด็นๆ อื่นๆ ที่ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนองค์กรได้อย่างต่อเนื่องในทุกช่องทางที่กล่าว มาข้างต้น ในปั จ จุ บั น นี้ เราสามารถเข้ามามีส่ ว นร่ว มแลกเปลี่ ยนเรียนรู้ร่ ว มกันในเว็บไซต์ชุมชนแนวปฏิบั ติ ออนไลน์ (RMUTP CoP Web Blog) 7.1 ขั้นตอนการใช้งาน RMUTP CoP Web Blog 7.1.1 เข้าไปที่เว็บไซต์ RMUTP CoP Web Blog คลิกเข้าตามลิงค์นี้ (http://blog.rmutp.ac.th/cop) จะปรากฏหน้าเว็บไซต์ RMUTP CoP WebBlog ขึ้นมา จากนั้นกรอกผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่าน (Password) ตามที่บุคลากร คณะฯ เคยกรอกเข้าใช้อินเตอร์เน็ตของคณะฯ นั้นเอง โดยกรอกมุมซ้ายบนของ เว็บไซต์ เช่น ผู้ใช้ - narusorn.m และรหัสผ่าน - ใช้รหัสประจาตัวประชาชน เป็น ต้น

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 21

7.1.2 เมื่อกรอกผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่าน (Password) เสร็จจะปรากฏหน้าจอหลัก เพื่อเข้าใช้งาน RMUTP CoP WebBlog

7.1.3 บุคลากรคณะฯ สามารถเข้าร่วมสร้างเรื่องใหม่ (New Post) และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ตามหมวดหมู่ชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ ได้ 3 หมวด คือ - การจัดการเรียนการสอน - งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ - การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน

7.2 วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน RMUTP CoP WebBlog 7.2.1 บุ ค ล า ก ร ค ณ ะ ฯ ใ ส่ ชื่ อ เ ว็ บ ไ ซ ต์ ห รื อ ค ลิ ก ต า ม ลิ ง ค์ นี้ (http://blog.rmutp.ac.th/cop) สามารถเข้าร่วมสร้างเรื่องใหม่ (New Post) โดย คลิกที่หัวข้อ สร้าง New Post จะปรากฏหน้าควบคุมการใส่เรื่องชุมชน แนวปฏิบัติ (RMUTP CoP WebBlog Dashboard)

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 22

7.2.2 สามารถกรอกข้อมูลโดยคลิกที่ Post > Add New กรอกชื่อเรื่อง และเนื้อหาได้ใน RMUTP CoP WebBlog ได้ โดยมีเครื่องมือสาคัญหลายส่วน เช่น - Posts คือ เรื่องที่ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ - Media คือ สื่อต่างๆ ที่ต้องการแทรกลงไปในเรื่อง เช่น ภาพ วิดีโอ เป็นต้น - Contact คือ รายนามผู้ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ - Profile คือ รายละเอียดของผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์ - Tools คือ เครื่องมือจาเป็นในการปรับแต่งหน้าเว็บไซต์ชุมชนแนวปฏิบัติออนไลน์

7.2.3 สามารถแทรกสื่อต่างๆ เช่น ภาพ วิดีโอ และอื่นๆ ได้โดยคลิกที่ปุ่ม Add Media 7.2.4 เมื่อปรับแต่งเรื่องที่ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสร็จแล้ว ให้กดปุ่ม Update หรือ Public ในส่ ว นของมุ ม ขวาบนของหน้ า นี้ แค่ นี้ เราก็ จ ะได้ เ นื้ อ หาเพื่ อ น ามา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันของบุคลากรทั้งภายในและภายนอกคณะฯ ได้แล้ว

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 23

7.3 การร่วมแสดงความคิดเห็น (Comment) 7.3.1 การแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ของบุคลากรคณะฯ ถือได้ว่าเป็นสิ่งสาคัญเป็น อย่างยิ่ง ที่จะทาให้เกิดการขมวดเกลียวขององค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้น เป็นการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยคลิกไปที่หัวข้อต่างๆ ตามประเด็นที่ท่าน สนใจได้ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นในมุมมองที่เหมือน หรือแตกต่างกันของแต่ละ บุคคลได้อย่างอิสระ และใช้ถ้อยคาที่สุภาพ

7.3.2 เมื่อคลิกเข้าไปที่หัวข้อต่างๆ ตามประเด็นที่ท่านสนใจแล้ว สามารถอ่านเพื่อนาความ เข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อนั้นๆ จากนั้นเลื่อนไปที่ส่วนล่วงของหน้าเว็บไซต์หัวข้อดังกล่าว จะปรากฏช่องเพิ่มความคิดเห็น (Comment) ท่านสามารถกรอกข้อมูลในช่อง แสดงความคิดเห็นได้ทันที เมื่อแสดงความคิดเห็นเสร็จแล้ว ให้คลิก เข้าสู่ระบบเพื่อ โพสต์ และท่านสามารถเลือกโพส์บน Facebook ด้วยได้โดยการ คลิกที่ Check Box ใต้ช่อง เพิ่มความคิดเห็นลงใน Facebook ได้ทันทีเช่นกัน

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 24

ทั้ง นี้ ท่ านยั ง สามารถดาเนิ น การถ่า ยทอดความรู้ใ นรู ป แบบเดิ มผ่ า นทางแบบฟอร์ มการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมชุมชนแนวปฏิบัติ โดยดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์นี้ เพื่อบันทึกองค์ความรู้ที่ ท่านต้องการได้แลกเปลี่ ย นเรี ยนรู้ ระหว่างกันในชุมชนแนวปฏิบัติ ให้ กับบุคลากรในคณะฯ ต่อไป --> แบบฟอร์มบันทึกเรื่องเล่า คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ มทร.พรนคร

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 8 การเรียนรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 26

การเรียนรู้ การเรียนรู้ คือ การกระตุ้นให้บุคลากรคณะฯเกิดกระบวนการเรียนรู้ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ สื่อสังคมออนไลน์เพิ่มขึ้น เพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกันในองค์กร เช่น การกาหนดระบบการเรียนรู้จากการ สร้างองค์ความรู้ ใหม่ หรือ ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรผ่ านการสืบค้นจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แล้ว นา ความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้จริงภายในคณะฯ รวมถึงเมื่อเกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ บุคลากรคณะฯ ยัง สามารถถ่ า ยทอดและแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั บ บุ ค ลากรคณะฯ รุ่ น ต่ อ ๆ ไป เป็ น การ หมุ น เกลี ย วความรู้ (Knowledge Spiral) ที่เกิดขึ้นภายในคณะฯ อย่างต่อเนื่อง โดยหลักการของการหมุนเกลียวความรู้ (Knowledge Spiral) เป็นสิ่งที่องค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ ต้องการให้เกิดขึ้น เนื่องจากองค์ความรู้ในแต่ละช่วงเวลาของการบริหารจัดการองค์กร หรือหน่วยงานเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงได้อยู่ตลอดเวลา และการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ ถือได้ว่าเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่ง ที่ กระตุ้นความคิดให้บุคลากรสร้างสรรค์นวัตกรรม หรือวิ ธีการทางานแบบใหม่ๆ ลดขั้นตอนการทางาน แต่เพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางานได้เป็นอย่างดี ส่งผลดีต่อประสิทธิผลที่เกิดขึ้นในภาพรวมขององค์กร หรือหน่วยงาน เนื่องด้วยการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ตามกระบวนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ผู้จัดทาคู่มือต้องการชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นที่มีต่อการเตรียมความพร้อมในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรื อ แสวงหาองค์ความรู้ จ ากภายในและภายนอกตามช่ ว งเวลานั้น ๆ เพื่อ ให้ อ งค์ ความรู้ข ององค์ กร หรื อ หน่วยงานเกิดการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา โดยสิ่ ง ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ การเรี ย นรู้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ค้ น คว้ า หาความรู้ เ พื่ อ พั ฒ นา ประสิทธิภาพการทางานเพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ได้ดี และได้เปรียบในการแข่งขั นทางด้านการศึกษาใน ระดับคณะฯ และระดับมหาวิทยาลัยในอนาคตต่อไป สรุปได้ว่า การสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ จึงเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในการกระตุ้นและส่งเสริมให้ บุคลากรมีการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ หรือนวัตกรรมที่สามารถขับเคลื่อนไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองของบุคลากรในระดับคณะฯ และระดับมหาวิทยาลัยฯ โดยการใช้ ช่องทางการค้นคว้าข้อมูลจากทะเบียนความรู้ของคณะฯ และมหาวิทยาลัยฯ ให้เพิ่มขึ้น

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บทที่ 9 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสารที่นา่ สนใจ

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ห น้ า | 28

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสารที่นา่ สนใจ

9.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร (http://webkm.rmutp.ac.th) สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (http://www.kmi.or.th) คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (http://www.hec.rmutp.ac.th)

9.2 เอกสารที่น่าสนใจ แบบฟอร์มรายชื่อกิจกรรมถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบบฟอร์มใบเซ็นชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

แบบฟอร์มรายชื่อกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ CoP แบบฟอร์มใบเซ็นชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม CoP

แบบฟอร์มบันทึกเรื่องเล่า แบบฟอร์ม AAR

แบบฟอร์ม-แนวปฏิบัติที่ดี Good-Practice แบบฟอร์ม ทะเบียนความรู้

คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ งานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.