Pinnacle Of Expermental Graphic Design 1980-2000

Page 1







รูปแบบของศิลปะด้านการออกแบบแต่ละยุคนั้นเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลที่มีต่อการดำาเนินชีวิต ประจำาวันของผู้คนปัจจัยทางด้านสภาพแวดล้อมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น ในสมัยก่อนศิลปะอยู่ในสื่อรูปแบบของ จิตรกรรม และประติมากรรม ที่เป็นศิลปะประเภท Fine Art ที่ศิลปินสร้างสรรคผลงานด้วยการสะท้อนความ เป็นอยู่และการดำาเนินชีวิตของคนในสมัยนั้นซึ่งแตกต่างตากจากในศตวรรษที่ 20 เป็นยุคสมัยของเทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทรวมไปถึงโลกที่เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรมการบริโภคนิยมผลงานการออกแบบจึงอยู่ ในสื่อ(media)หลายรูปแบบ เช่น สิ่งของเครื่องใช้รูปแบบสื่อการโฆษณาและมัลติมีเดียต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไป ตามความต้องการของมนุษย์เป็นหลักซึ่งมีความต้องการในเรื่องของประโยชน์ใช้สอยเป็นอันดับแรก ในปัจจุบันเห็นได้ว่าการพัฒนาของเทคโนโลยีทำาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆขึ้นมากมายและสิ่งประดิษฐ์ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงต่อในการดำารงชีวิตมากที่สุดนั่นก็คือคอมพิวเตอร์ที่ได้เข้ามามีบทบาทในการ สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบที่เกิดจากโปรแกรมทำาให้เกิดการของรูปแบบใหม่ของงานศิลปะประโยชน์ที่ เห็นได้ชัดในยุคของการทำางานออกแบบในเชิงพาณิชย์คือคอมพิวเตอร์และระบบการพิมพ์ทำาให้งานออกแบบ เข้าถึงผู้คนได้ง่ายสามารถต่อยอดความคิดหรือความต้องการของศิลปินได้มากขึ้นและเนื่องจากการพัฒนา ของเทคโนโลยีจากการที่คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการออกแบบทำาให้มีกลุ่มคนนักออกแบบในช่วง เวลานั้นสร้างสรรค์ออกแบบผลงานวิธีใหม่ด้วยคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างจากงานออกแบบในสมัยก่อนซึ่งถือว่า เป็นการปฏิวัติการออกแบบกราฟิกด้วยการทดลองสร้างสรรค์รูปแบบสไตล์ใหม่จึงทำาให้นักออกแบบกลุ่มนี้ได้ ยกย่องว่าเป็นผู้ที่ปฏิวัติหรือบุกเบิกงานกราฟิกในยุคดิจิตอลวผลงานของนักออกแบบกลุ่มนี้เป็นงานออกแบบ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวมีความโดดเด่นพวกเขามีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการออกแบบกราฟิก ดีไซน์มากที่สุดในศตวรรษนั้นและผลงานของเขายังสามารถสร้างแรงบันดาลใจมาถึงนักออกแบบกราฟิกในยุค ปัจจุบันอีกด้วยอย่างไรก็ตามสิ่งที่เห็นได้จากผลงานของพวกเขาไม่ได้เป็นเพียงการได้เห็นทักษะความสามารถ ของการใช้โปรแกรมแต่สิ่งที่พวกเขาแสดงออกในผลงานของพวกเขาคือวิธีการที่เขาได้ทดลองในสิ่งใหม่ความ แตกต่างไม่ยึดติดในกฏเกณฑ์การสร้างสรรค์แบบเดิม ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นเปลี่ยนรูปแบบงานออกแบบกราฟิก สิ่งที่สำาคัญที่สุดคือการแสดงความสามารถทางด้านความคิดที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไม่สามารถให้เราได้







13




April Greiman เป็นกราฟิกดีไซน์เนอร์หญิงชาวนิวยอร์คเกิดในปี 1948 เป็นนักออกแบบคนแรกๆที่ใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบบและได้กลายเป็น นักออกแบบผู้สร้างรูปแบบสไตล์ และเป็นคลื่นลูกใหม่ในอเมริกาช่วงปลายยุค 1970-1980 ปัจจุบัน April Greiman เป็นผู้ก่อตั้ง Made in Space เป็นบริษัทรับปรึกษาทาง ด้านออกแบบที่ลอสแองเจอริส April Greiman ได้รับการยกย่อง ว่าเป็นหนึ่งในนักออกแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุดของยุคดิจิตอลเป็นที่ยอมรับสำาหรับนักออกแบบกราฟิก โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนในการออกแบบ ในขณะที่คนส่วนมากมีความเข้าใจว่าเครื่อง คอมพิวเตอร์ถูกมองว่าเป็นอุปกรณ์ของอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์เท่านั้น April Greiman จบการศึกษา ที่ Kansas City Art Institute จากนั้นได้ไปศึกษาต่อที่ Allgemeine Kunstgewerberschule Basel หรือ เป็นที่รู้จักในชื่อของ The Basel School of Design ที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิซเซอร์แลนด์และยังเป็นลูก ศิษย์ของกราฟิกดีไซน์เนอร์ที่มีชื่อเสียงอย่าง Armin Hofmann และ Wolfgang Weingart ผู้มีอิทธิพล ในสไตล์งานออกแบบของเธอผลงานที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของเธอคือ“Does It Make Sense?” ซึ่งเป็น ภาพเปลือยของตัวเองโดยทดลองกับตัวอักษรและการจัดวางองค์ประกอบของ Poster ที่มีขนาดความ สูงและความกว้างของ Artwork เท่ากับความสูงของตัวจริง

16


17



April Greiman ได้ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ โปสเตอร์ทั้งสองด้านขนาด 2x6 ฟุตซึ่งเป็นการ ออกแบบให้กับนิตยสาร Design Quarterly ในปี 1986 Greiman ได้อธิบายถึงขั้นตอนการ ออกแบบของเธอไว้ว่าใช้เวลาทั้งหมด 6 เดือน สำาหรับรวบรวมวัสดุ 3 เดือนสำาหรับการร่าง โดยโปรแกรม MacPaint และ วาดภาพโดย ใช้ MacVision และ 3 เดือนสำาหรับ ประกอบ ตกแต่ง เรียบเรียง โดยโปรแกรม MacDraw ก่อนที่จะพิมพ์ออกมาภาพในโปสเตอร์แสดง ให้เห็นถึงรูปร่างของ Greiman ที่อยู่ในท่ายืน เปลือยซึ่งประกอบไปด้วยภาพเล็กๆ อีกหลาย ภาพ เช่น ไดโนเสาร์ สมอง นักบินอวกาศ เป็ น ต้ น มี เ ส้ น ตารางเวลาระบุ ถึ ง การคิ ด ค้ น พั ฒ นาต่ า งๆรวมทั้งวันเกิดของเธอเองด้วย สิ่งสำาคัญในโปสเตอร์ของ April Greiman ก็ คือ ความเลยเถิด ไม่ว่าจะในแง่ของความคิด ขนาด รายละเอียด และปริมาณของข้อมูล สำาหรับนักออกแบบจำานวนมากในแง่ของการ ออกแบบนั้นจะต้องกำาจัดข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง ออกไป ในต้นทศวรรษที่ 1990 ในขณะที่ความ สามารถในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ พั ฒ นาไปอย่ า งรวดเร็ ว นั้ น การออกแบบบน หน้าจอก็เริ่มซับซ้อนมากขึ้น

สำาหรับ Greiman คอมพิวเตอร์นั้นเป็น สิ่งใหม่ที่เข้ามาบุกเบิกรูปแบบใหม่ของ การออกแบบให้กับนักกราฟฟิคทั้งหลาย Greiman เข้าใจในทันทีว่าคอมพิวเตอร์ จะมาเปลี่ยนแปลงกระบวนการออกแบบ ทั้งหลายในยุคที่ศิลปะและการออกแบบ ก้ า วเข้ า สู่ เ ทคโนโลยี น วั ต กรรมต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะทำ า ให้ ง านกราฟิ ก ดี ไ ซน์ เปลี่ยนแปลงและพัฒนารูปแบบต่อไปใน อนาคต 19



21







27







เดวิด คาร์สัน เคยเป็นนักเล่นเซริฟติดอันดับ 9 ของโลก และจบการศึกษาในสาขาสังคมวิทยาจากมหาวิทยาลัย ซานดิเอโก ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับงานด้านกราฟฟิกเลยแม้แต่ น้อยแต่ปัจจุบันเขาเป็นผู้มีบทบาทสำาคัญและเป็นหัวหน้า นักออกแบบของ David Carson, Inc. ซึ่งตั้งอยู่ที่เดลมาร์ แคลิฟอร์เนีย และซูริช ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เขาเป็นผู้ที่ มีอิทธิพลต่อนักออกแบบกราฟิกจนถึงทุกวันนี้ Newsweek Magazine ได้กล่าวว่าเขาเป็นผู้เปลี่ยนแปลงรูปโฉมของงาน ทางด้าน Graphic Design เขาได้รับฉายาในการออกแบบว่า เป็น “Father of Grunge Design” และยังได้รับการยกย่อง ว่าเป็นนักออกแบบอัฉริยะผลงานของเขาได้ทำาลายระบบกริด การแหวกแนวให้ตัวชื่อนิตยสารไปอยู่ข้างล่างแทนที่จะอยู่ข้าง บนการที่ไม่เน้นการสื่อสารของปกแต่เน้นไปทางด้านสไตล์ ตัวตนของตัวเอง ถือได้ว่าเป็นผู้ริเริ่มในด้านการพิมพ์ทดลอง

33


Carsonมี ค วามสนใจในเรื่ อ งของศิ ล ปะ เขาจึ ง ได้ ศึ ก ษาในด้ า นกราฟิ ก ดี ไ ซน์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ที่ อ ริ โ ซนาและซาดิ เ อโก้ หลั ง จากนั้ น จึ ง ศึ ก ษาด้ า นศิ ล ปศาสตร์ บั ณ ฑิ ต ด้ า นสั ง คมและเมื่อ เขาได้ เ ข้ า ร่ ว ม ในการประชุ ม สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การออกแบบกราฟิกเป็นเวลาสามสัปดาห์ท่ี สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ซ่ึ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ปริญญาทำาให้เขาได้กลายเป็นที่รู้จักอย่าง แพร่ ห ลายในฐานะครั้ง แรกของการเป็ น อาจารย์ในหลักสูตรนี้สตูดิโอของเขามีฐาน ลูกค้าที่กว้างและมากมายประกอบไปด้วย New York Type Directors Club, American Center for Design และ I.D. Magazine ทำาให้เขาสามารถทำางานออกแบบให้ครอบ คลุ ม ทั้ ง ด้ า ธุ ร กิ จ และด้ า นศิ ล ปะอี ก ด้ ว ย

34

Carson มีผลงานมากมายลงในนิตรสารกว่า 180 ฉบับอีก ทัง้ บทความในหนังสือพิมพ์ทว่ั โลก เช่น นิตยสาร Newsweek หน้าหนึง่ หนังสือพิมพ์ New York Times และ นติ ยสาร Creative Review ของลอนดอนยกให้เขาเป็นอาทไดเรค เตอร์ย์ อดเยีย่ มแห่งยุค The American Center for Design Chicago วิจารณ์งานของเขาในนิตรสาร Ray Gun ว่าเป็น ผลงานออกแบบที่ดีเยี่ยมจากอเมริกางานของเขาจาก นิตรสาร Beach Culture ทีเ่ ขาเป็นอาทไดเรคเตอร์ยงั ได้รับรางวัล“ออกแบบยอดเยี่ยม”และ“ปกยอดเยี่ยม” จาก Society of Publication Designers ในนิวยอร์ค และในปี 2006 นัน้ Carson ยังได้รบั เลือกให้เป็น“หนึง่ ใน 50คนสร้ า งสรรค์ ร ะดั บ แนวหน้ า ของอเมริ ก า


35



นิตยสารเกี่ยวกับดนตรีและไลฟ์สไตล์ของวัยรุ่น ในยุค 90s ตีพิมพ์ออกมาในปี 1992 ในช่วงขั้น แรกของงานออกแบบสิ่งพิมพ์ Raygun และได้ รับการตอบรับเป็นอย่างดี เพราะเป็นรูปแบบ ใหม่ของนิตยสารที่แหวกกฏแบบเดิมๆ และ สามารถบ่งบอกถึงลักษณะรูปแบบสไตล์ของ เขาที่แสดงถึงลักษณะพิเศษโดยผ่านความ เป็น“Grunge Style”ที่สามารถแสดงถึงตัวตน ของศิลปินในยุคนัน้ และการจัดวางคอลัมน์ระบบ กริดที่ไม่คำานึงถึงความเป็นมาตราฐานหรือหลัก เกณฑ์วิธีที่ถูกต้องของหลัก Typography และ บ่อยครั้งที่ผู้อ่านไม่สามารถอ่านออกได้ จนได้ รับการยอมรับว่า Raygun เป็นนิตยสารดนตรี และสไตล์ที่มีรูปแบบการดีไซน์ที่เท่ที่สุดในยุค นั้นหลังจากที่ Raygun ประสบความสำาเร็จและ ได้ตีพิมพ์ กับ NewyorkTime และ Newswee เขาได้ก่อตั้งสตูดิโอของตัวเองขึ้นในปี 1955 ชื่อ David Carson Design

37





41





Peter Saville กราฟิกดีไซน์เนอร์และอาทไดเรคเตอร์ชาวอังกฤษ เกิดวันที่ 9 ตุลาคม 1955 ใน Manchester ซึ่งปัจจุบันเขาอยู่และทำางานในกรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ Saville จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาจาก St. Ambrose College และได้เข้าศึกษา ด้านการออกแบบกราฟิกที่ Manchester Polytechnic (ภายหลังเปลี่ยนเป็น Manchester Metropolitan University) ในปี 1975 - 1978 Peter Saville มีชื่อเสียง สำาหรับการออกแบบกราฟิกปกอัลบั้มให้กับ Factory Records ค่ายเพลงอินดี้ที่มีวง ที่เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงอย่าง Joy Division, New Order, A Certain Ratio,The Durutti Column, Happy Modays, Northside and James and Orchestral Manoeuvres in the Dark เขาได้เป็นผู้ปฏิวัติรูปลักษณ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สำาหรับเพลงเปลี่ยนไป นับตั้งแต่ที่ Peter Saville ได้ทำางานออกแบบให้กับ Factory Records ในปี 1970, Peter Saville ได้กลายเป็นส่วนสำาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงการ ออกแบบกราฟิก สไตล์ วัฒนธรรมแฟชั่นค่านิยมที่แสดงออกมาในรูปแบบศิลปะที่อยู่ ในผลงานการออกแบบปกอัลบั้ม ผลงานของเขาเต็มไปด้วยความสง่างามไม่มีพลาดที่ มีความสามารถโดดเด่นในการระบุภาพเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนในขณะนี้และเมื่ออัลบั้ม วางแผงแน่นอนว่าเขาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างภาพลักษณ์ให้กับศิลปินอย่าง ปก Unknown Pleasures ของ Joy Division ที่ได้กลายเป็นลายกราฟิกที่นิยมอย่าง ล้นหลาม ผลงานออกของปีเตอร์ Saville กลายเป็นงานกราฟิกที่มีอิทธิพลต่อวงการ เพลงในยุค 90’s เพราะศิลปินในยุคนั้นต่างก็อยากให้เขาเป็นผู้ออกแบบปกอัลบั้ม งานออกแบบที่ผสมรูปแบบของ Post Modern และ Fine Art จนกลายเป็นลักษณะ งาน Abstract ที่มีเสน่ห์ จนมีผู้กล่าวถึงเขาว่า Peter Saville เป็นหนึ่งในนักออกแบบ กราฟิกผู้เป็นตำานานของเกาะอังกฤษที่ผสมผสานทั้งวิถีชีวิตของโพสต์โมเดิร์นชน ศิลปะคลาสสิค และกลิ่นฉุนอันเย้ายวนของแฟชั่นเข้าด้วยกัน ผลงานเขาได้รับอิทธิพล จากหนังสือ Pioneers of Modern Typography โดย Herbert Spencer เป็นหนังสือ ที่ประกอบไปด้วยข้อมูลที่อธิบายเกี่ยวกับการออกแบบ Modern Typography และพูด ถึงเทคนิคการพิมพ์ที่ทันสมัยสามารถนำาไปพัฒนาเป็นไอเดียในการออกแบบและใช้ได้ จริงในศตวรรษที่ 20 และยังกล่าวถึงงานภาพวาด บทกวี สถาปัตยกรรมที่มีส่วนใน การพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Saville ยังได้รับอิทธิพลของ Jan Tschichold ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ Typography เป็นอย่างมาก หลังจากที่เขาได้ออกจาก Factory Records เขาได้ทำางานให้กับ DinDisc เป็นเวลา 3 ปีและยังเป็น Partner ให้กับ Pentagram และเขาได้ทำางานในส่วนของ Art Director ที่ Frankfurt Balkind หลังจากนั้นเขาจึงเริ่มทำาสตูดิโอของตัวเองตลอดการทำางาน ในการออกแบบกราฟิก Peter Saville ได้ทำางานออกแบบเกี่ยวกับอุตสาหกรรมดนตรี ออกแบบปกอัลบั้มให้กับวงดนตรีเช่น Duran Duran, Wham! and Roxy Music.

TRICK TO KNOW YOU SHOULD KNOW ABOUT SAVILLE’S WORK

1. งานออกแบบปกอัลบั้มงานเพลง 2. งานออกแแบกราฟิกที่สามารถเป็น งานศิลปะ Fine Art 2. งานกราฟิกในแบบ Post Modenist 4. ภาพประกอบที่เป็นนามธรรมมี ลักษณะที่เป็น Abstract หรือบางครั้ง เป็นงาน Classic Art 5. ไม่ใช้เทคนิคซ้ำาซ้อนในการทำางาน บางครั้งมีลักษณะแบบ Minimal ด้วย การเล่นกับรูปทรง Geometric Shape



Peter Saville เป็นนักูออกแบบที่ไม่ซ้ำากันของอิทธิพลเมื่อวัฒนธรรม ทางสายตามานานกว่ า ยี่ สิ บ ห้ า ปี ที่ เ ขาได้ ผ ลิ ต นวั ต กรรมที่ สำ า คั ญ ใน ด้ า นการสื่ อ สารอย่ า งมี นั ย สำ า คั ญ ที่ มี ผ ลต่ อ กั น ระหว่ า งศิ ล ปะและ การออกแบบในฐานะที่เป็นผู้ร่วมก่อตั้งของ Factory Record ค่าย เพลงอิ ส ระตำ า นานเขาสร้ า งชุ ด ของอั ล บั้ ม ที่ โ ดดเด่ น ครอบคลุ ม สำาหรับ Joy Division และ New Order Peter Saville ได้ทำางาน กั น อย่ า งกว้ า งขวางในแฟชั่ น และภาคศิ ล ปะเขาอยู่ ใ นแถวหน้ า ของ การพั ฒ นาในการออกแบบแนวคิ ด และการจั ด แสดงนิ ท รรศการ ผลงานของเขาในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ละหอศิ ล ป์ ร ะดั บ นานาชาติ Peter Saville ขณะนี้เล่นบทบาทเชิงกลยุทธ์ชั้นนำาในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ และยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาวัฒนธรรมของเมืองแมนเชสเตอร์ที่บ้านของเป็น ผู้อำานวยการสร้างสรรค์ของเขาที่จะให้คำาปรึกษาแมนเชสเตอร์ซิตี้สภา เช่ น ปี เ ตอร์ ทำา งานอย่ า งใกล้ชิด กับ การตลาดหน่วยของเราประสาน ในโครงการที่ต้องมีวิธีการเข้าร่วมงานหรือที่เมืองเป็นหนึ่งในแบรนด์ ที่จะถูกแสดง

47



Factory Records ค่ายเพลงอินดี้ของอังกฤษตั้งอยู่ใน Manchester ประเทศอังกฤษเริ่มต้นในปี 1978 โดย Tony Wilson และ Alan Erasmus ซึ่งมีจุดเด่นหลากหลายและวงดนตรีอินดี้ที่มีชื่อเสียงอย่าง Joy Division, New Order, A Certain Ratio,The Durutti Column, Happy Modays, Northside and James and Orchestral Manoeuvres in the Dark อีกทั้ง Poster โฆษณาของศิลปินในค่ายได้มี ทีมออกแบบกราฟิกที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักอย่าง Peter Saville ซึ่งเป็นกราฟิกดีไซน์เนอร์ที่ออกแบบ โปสเตอร์ ปกอัลบั้ม และป้ายประกาศจัดแสดงทัวร์ต่างๆ จึงทำาให้งานออกแบบกราฟิกที่เกี่ยวกับดนตรี นั้นมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ในยุคนั้นเลยก็ว่าได้เพราะถือว่าเป็นภาพลักษณ์อีกอย่างหนึ่งของ ศิลปินเลยก็ว่าได้งานออกแบบสิ่งพิมพ์โปสเตอร์ต่างๆที่เขาออกแบบให้ Factory Record ผลิตออกมา อย่างจำานวนจำากัดในช่วงแรกที่เขาทำางานกับ Factory Record นั้น Peter Saville ได้รับอิทธิพลในการ ออกแบบจากเพื่อนในสมัยเรียนของเขา Malcolm Garrett ผู้ที่ได้ริเริ่มการออกแบบ The Manchester Punk group, The Buzz cocks, and by Herbert Spencer’s ผู้บุกเบิก Modern Typography งานออกแบบกราฟิ ก ปกอั ล บั้ ม ให้ กั บ ศิ ล ปิ น ในค่ า ยFactoryRecordเมื่ อ ได้ อ อกวางจำ า หน่ า ย เลยเผยแพร่ โ ปรโมทศิ ล ปิ น ทำ า ให้ ศิ ล ปิ น มี ชื่ อ เสี ย งปกอั ล บั้ ม ที่ เ ขาออกแบบจึ ง กลายเป็ น ที่ รู้ จั ก



51





EMIGRE








Emigre Font Shop ที่ก่อตั้งโดย Rudy Vandarlans กับ Zuzana Licko ได้ออกแบบ Fonts และจำาหน่าย ทางแคตตาล็อก Emigre Magazine ซึ่งตีพิมพ์ใน ช่วงระหว่างปี 1984 ถึง ปี 2005 ได้ตีพิมพ์ออกมา ทั้งหมด 69 เล่ม โดยที่เล่มที่ 1 - 63 ได้ตีพิมพ์และ จัดจำาหน่ายเอง ส่วนในเล่มที่ 64 - 69 ได้ผลิตและ จัดจำาหน่ายร่วมกับ Priceton Architectural Press โดย Emigre Magazine ที่ได้ตีพิมพ์ออกมานั้นก็จะ มีความแตกต่างกันไปในแต่ละฉบับ โดยที่เนื้อหาของ แต่ละฉบับนั้นก็จะมีเรื่องเกี่ยวกับการนำาเสนอรูปแบบ Fonts เป็นส่วนใหญ่เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้จักกับ Fonts นั้นๆด้วยการนำาเสนอโดยการจัดวางองค์ประกอบ ที่แตกต่างกันของ Typeface ให้มีความน่าสนใจ เพื่อที่จะสามารถนำาไปเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับงาน ออกแบบของตัวเอง ทั้งประเภทที่นำาไปเป็น Display Type สำาหรับจัดแสดงหรือ Text Type สำาหรับอ่าน โดยปัจจุบัน Emigre แมกกาซีนได้ถูกจัดเก็บอยู่ใน San Francisco Museum of Modern Art, Museum of Modern Art ใน New York และ Cooper-Hewitt Nation Design Museum ใน New York

62

และก็ยังมีที่ Design Museum ใน London และ Denver Art Museum มีทั้งหมด 5 พิพิธภัณฑ์ ที่มีอยู่ตอนนี้ และเล่มล่าสุดที่ตีพิมพ์ในปี 2007 คือ Malaga by Emigre โดยเล่มล่าสุดนี้ก็ได้ นำาเสนอแบบตัวอักษรที่ชื่อ Malaga (2007) ออกแบบโดย Xavier Dupre นักออกแบบรุ่นใหม่ ชาวฝรั่งเศส ความน่าสนใจในตัวนักออกแบบ คนนี้คือ ความสนใจในความหลากหลายของ วัฒนธรรมในแต่ละประเทศ เขาเล่าว่าตัวอักษร Malaga นี้ก็ออกแบบในระหว่างการเดินทาง ไปทั่วประเทศต่างๆ ซึ่งเริ่มด้วย ประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย พม่า แคมโบเดีย


TRICK TO KNOW YOU SHOULD KNOW ABOUT EMIGRE’S WORK

1. งานออกแบบ Digital Fonts 2. มีการจัดระบบคอลัมน์กริดที่ชัดเจน 3. การออกแบบใน Emigre Magazine โชว์ลักษณะจุดเด่นของ Font ที่ชัดเจน 4. Font มีทั้งแบบ Text Fonts Display Fonts และ Picture Fonts

Zuzana Licko เกิดในเมือง Bratislava, Czechoslovakia ในปี 1961 และย้ายไปอยู่ที่อเมริกาเธอเรียนสถาปัตยกรรมการถ่ายภาพและการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะได้รับปริญญาในด้านการสื่อสาร กราฟิกที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียพ่อของเธอเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในซานฟรานซิสและเธอได้ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยงานของพ่อที่เกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลเธอได้วางแผนเรียน ต่ อ ทางด้ า นสถาปั ต ยกรรมแต่ ก็ ไ ด้ เ ปลี่ ย นไปเรี ย นทั ศ นศิ ล ป์ แ ละจบ การศึกษาสาขาศิลปะเพื่อการติดต่อสื่อสารเธอได้พบกับทีมEmigre Design กับสามีของเธอ Rudy Vandarlans ในปี 1984 และร่วม กั น ผลิ ต วารสารงานวิ จ ารณ์ ร วมถึ ง การออกแบบตั ว เลขของLicko Emigreได้ มุ่ ง หมายตั้ ง แต่ แ รกที่ จ ะให้ นิ ต ยสารนี้ แ สดงถึ ง นั ก ออก แบบ ช่างถ่ายรูป นักกวี และสถาปนิก Emigre ได้ตีพิมพ์ครั้งแรก ในปี 1984 แต่ไม่มีงบประมาณสำาหรับเรียงพิมพ์ตัวหนังสือที่ใช้ตัวพิมพ์ เกือบทั้งหมดซึ่งเคยใช้บนเครื่องถ่ายเอกสาร Licko เริ่มสร้างตัวอักษรลง ใน Emperor Lakland and Emigre Magazine ต่อมาพวกเขาได้ออกแบบ จัดการดำาเนินการผลิตให้เข้าที่พวกเขาได้ตีพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 และหลัง จากนั้นก็เริ่มมีผู้อ่านมากมายถามหาหนังสือของเขาเธอเริ่มโฆษณาและ ตีพิมพ์เป็นครั้งที่ 3 ในปี 1905 Licko และ Vandarlans ได้รับการยอมรับ ให้เข้าสู่กลุ่มตลาดและกลายเป็นนักออกแบบดีไซน์เนอร์ตั้งแต่อายุน้อย

63















Neville Brody กราฟิกดีไซน์เนอร์ ไทโปกราฟเฟอร์และอาทไดเรคเตอร์ชาวอังกฤษ เกิดวันที่ 23 เมษายน 1957 ที่ London จบการศึกษาจากวิทยาลัยศิลปะการออก ใน London College of Communication และได้ศึกษา ต่อที่ Hammersmith College of Art เขาได้เป็นที่รู้จัก จากการเป็น Art Director ให้กับนิตยสาร The Face ในปี 1981 - 1986 และนิตยาสาร Arena ในปี 1987 –1990 ในขณะเดียวกัน เขาก็ได้ออกแบบปกอัลบั้มให้กับศิลปินนักร้องมีชื่อเสียง Cabarel Voltaire และ Depechemode Neville ได้ก่อตั้ง Reserch Studio ในปี 1994 และเป็นหนึ่งใน ผู้ก่อตั้งของ Fontworks หรือตอนนี้เรียกว่า Font Shopและได้รับผิดชอบโปรเจค Fuse บางส่วนที่มีอิทธิพลดับนิตยสารกราฟิกดีไซน์และ Typeface ในแต่ละงาน ประกอบไปด้วยเนื้อหาบทความที่เกี่ยวกับเทคนิคการออกแบบตัวอักษรในเชิง ทดลอง Experimental Font และเนื้อหาส่วนมากจะโดยทั่วไปเกี่ยวกับการทำา CorporateIdentity การทำา Branding และการออกแบบโปสเตอร์ Research studios เปิดที่ San Francisco, Paris, Berin and New York บริษัทได้คิดแพคเกจ ใหม่ๆและ website design สำาหรับลูกค้า ได้แก่ Kenzo, on-screen graphic สำาหรับลูกค้า ได้แก่ Paramount Studios บริษัทยังประสบความสำาเร็จในงาน นิทรรศการ Nuit Blanche สำาหรับ The Famous Paris Contemporary ในปี 2006

TRICK TO KNOW YOU SHOULD KNOW ABOUT BRODY’S WORK

1. Typography ที่เกิดจากการทดลอง และดัดแปลงไม่สามารถอ่านออกได้ 2. ภาพประกอบโปสเตอร์เกิดจากการ นำา Font มาดัดแปลง 3. Typography มีลักษณะรูปทรงที่ แปลกประหลาด 4. มีการใช้รูปแบบโครงสร้างของ Constructivism เข้ามาดัดแปลง

77







Brody เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้ง Font Work หรือตอนนี้เรียก ว่า Font Shop ที่กรุงลอนดอน และเขาได้ดีไซน์ No of Notable Typeface ให้ Font Shop และยังเป็นผู้รับผิดชอบ โปรเจค FUSE ซึ่งในแต่ละงานประกอบไปด้วยการตีพิมพ์ บทความที่เกี่ยวกับเทคนิกการเรียงพิมพ์และเนื้อหาโดยรอบ เกี่ยวกับวิชา, การทำา Branding และ Poster แรกเริ่มเขา ทำางานครอบคลุมเกี่ยวกับเรื่องดีไซน์.ทำาให้ตัวเขามีชื่อเสียงขี้ นมาได้โดยการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในฐานะ Art Director ของ The Face Magazine งานของ Brody ติดอันดับหนังสือ กราฟิกดีไซน์ที่ขายดีที่สุดในโลกที่มียอดขายมากกว่า 120000 ดอลลาร์และได้จัดแสดงงานนิทรรศการที่ Victoria and Albert Museum ซึ่งมีผู้ชมมากกว่า 4 หมื่นคนปัจจุบัน Neville Brody เป็นกราฟิคดีไซน์เนอร์พร้อมกับการร่วมเป็น Partner กับ Fwa Ricards เพื่อก่อตั้ง Research Studios ที่ลอนดอนใน ปี1994. ได้รับออกแบบเกี่ยวกับ Packaging และ Website design มีลูกค้ารายใหญ่อย่าง Kenzo, Paramount Studios

รูปแบบ Typography ส่วนใหญ่ของโบรดีจะไม่เน้นในการนำา เอาใช้เพื่อให้สามารถอ่านได้แต่เป็น Font เชิงทดลองที่เขาอยาก จะให้มีความแตกต่างออกไปด้วยการจัดวาง Composition แบบใหม่ให้ตัวหนังสือที่เขาออกแบบดูมีชีวิตชีวามากกว่าการให้ เรียงเท่าๆ กันลักษณะการออกแบบที่โดดเด่นและชัดเจนของเขา คือ Typeface ที่มีบุคลิกแตกต่างกันโปสเตอร์ที่เขาออกแบบจะ เป็นงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการออกแบบ เนวิล โบรดี้จัดได้ว่าเป็น ดีไซน์เนอร์คนหนึ่งที่มีความเป็น Experimental เป็นอย่างมากเพราะ เขาพยายามที่จะศึกษาและ ทดลองหาแนวทางในการออกแบบของเขาเองทำาให้เกิด Visual Image ขึ้นในงานของเขาเกิดเป็นรูปแบบสไตล์ หรือลักษณะ เฉพาะในงานออกแบบของเขาในยุคที่คอมพิวเตอร์เข้ามามีบท บาท์ด้วยการที่คอมพิวเตอร์ที่เทคนิคหลายอย่างที่สามารถทำาให้ เกิด Visual ที่แปลกใหม่ได้โบรดี้สามารถดึงเอาความพิเศษของ เทคนิคจากคอมพิวเตอร์ผสมกับงานออกแบบของเขาสื่อสารออก มาจากการจัดองค์ประกอบที่ลงตัว








90


91














104

Paula Scher นักออกแบบกราฟิกชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 6 ตุลาคม 1948 ที่ Virginia ได้ศึกษาที่ Tyler of Art ใน Philadelphia และเริ่มต้นอาชีพ กราฟิ ค ดี ไ ซน์ โ ดยการเป็ น อาทไดเรคเตอร์ ที่ Atlantic และ CBS Records ทั้งสองที่ในปี 1970s. ต่อมาในปี1984เธอได้เข้าร่วมก่อตั้งKoppel& Scherและในปี 1 991เธอได้ ช่ ว ยร่ ว มงานกั บ Pentagram เธอได้พัฒนาระบบ Identity และ Branding ข้อความโฆษณา,กราฟิคสิ่งแวดล้อม, บรรจุภัณฑ์,และการออกแบบสิ่งพิมพ์เพื่อการ ตอบสนองที่กว้างขวางและแพร่หลายของลูกค้า เธอได้สร้างรูปแบบที่ร่วมสมัยของงานออกแบบ


การทำ า งานของเธอผลงานที่ เ ห็ น ได้ ก ลายเป็ น ข้ อ พิ สู จ น์ ประสบการณ์การทำางานที่สะสมในเมือง New York เธอเป็น สมาชิกของ Art Directors Club Hall of Fame และที่ผ่าน มาได้รับรางวัล Chrysler Award for Innovation in Design เธอได้ทำางานกับคณะผู้บริหารระดับประเทศของ American Institute of Graphic Arts และในปี 2001 เธอได้รับรางวัลผู้ เชี่ยวชาญสูงสุดเหรียญ AIGA ด้วยการเห็นพ้องของที่ประชุม เธอประสบความสำ า เร็ จ ด้ ว ยความแตกต่ า งและยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น อย่ า งกว้ า งขวางเธอคว้ า เกี ย รติ นิ ย ม จาก Corcoran College of Art and Design และ Maryland Institute College of Art และเป็นสมาชิก Aliance Graphic Institute College of Art และเป็นสมาชิก Aliance Graphic International เธอได้ทำางานเป็น Directors ให้กับ The Public Theater และในปี 2006 เธอได้ฉายา Art Commission แห่ง นิ ว ยอร์ ก งานของเธอได้ จั ด แสดงทั่ ว โลกและที่ ย อมรั บ อย่างสูงจนได้รับการยกย่องโดยรางวัลและการนำาผลงาน ของเธอไปจั ด แสดงในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ม าหลายชิ้ น อย่ า งเช่ น โปสเตอร์ของ Public Theater ซึ่งเป็นแบบอย่างทั้งด้านระบบ Identityการออกแบบโปสเตอร์ แ ละการเล่ น กั บ ตั ว พิ ม พ์ ทำาให้ผลงานของเธอเป็นตัวอย่างของงานดีไซน์คลาสสิค

105




ความหลงใหลใน Typography ของเธอนั้นเกิดขึ้นจากการที่เธอแหกกฏของ International Style เธอได้ลองฝืนกฏการออกแบบในสมัยเรียนมหาวิทยาลัย เธอเชื่อว่า Typography นั้นเป็นเครื่องมือที่จำาเป็นสำาหรับสร้างงานโดยเฉพาะ และมันจะใช้ได้ดีทีสุดเมื่อมันทำาหน้าที่เป็นส่วนประกอบรวมความคิดทั้งหมด เข้าด้วยกันถึงแม้ฉันจะมีความเชื่อหนักแน่นผิดปกติเกี่ยวกับที่แน่นอนตายตัว ของ Classic Letterforms ที่เหมาะสมกับเทคโนโลยีหรือแฟชั่นแน่นอนว่าไม่ จำาเป็นต้องโต้แย้งที่จะห้ามสิ่งที่มีอยในช่วงเวลา 1980 โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน United States “Retro” ได้กลายเป็นสไตล์หนึ่งที่เด่นชัดในช่วง 10 ปี เธอมี ความเข้าใจดีเกี่ยวกับรูปแบบสไตล์กราฟิกที่เก่าแก่อย่าง Futurist, Construc tivist De Stijl , Bauhaus,Art Deco , Pictorial Modernism เธอได้ถูกเลือกให้ เป็นอาทไดเรคเตอร์ให้กับลูกค้าทำาให้รูปแบบการทำางานของเธอมีอิทธิพลในปี หลังจากออกจาก CBS เธอได้คิดที่จะเริ่มก่อตั้งบริษัทใหม่ Koppel & Scher โดย Terry Koppel ซึ่งเป็นผู้ช่วย ที่มีโปรเจคแรกคือโบรชัวร์โฆษณาที่มีชื่อว่า Great Begining เป็นคุณค่าทางการศึกษาเป็น อย่างมากพอๆกับ Goeth’s Faust, Kafka’s Metamorphosis และ Thomas Mann’s Magic Mountain ซึ่งเหมาะสมกับยุคสมัย ของหนังสือดีไซน์เนอร์คนอื่นๆไม่ว่าจะเป็น Louise Fili Art Director ของ Pantheon Books และ Goldberg อีกทั้งนักออกแบบ ปกหนังสืองานที่ผลิตล้วนนำาเอาความเก่าแก่ ของสมัยต้นๆผ่านทาง Typography ของ TRICK TO KNOW ViennaSecession จนถึงนักออกแบบของ Bauhaus และPaul Renner รูปแบบของ สไตล์เก่าๆต่างๆได้ถูกพิจารณาผ่านการแข่ง YOU SHOULD KNOW ABOUT SHER’S WORKS ส่งผลให้ประสบ ความสำาเร็จเสมอและความ ฉลาดทางโฆษณาวิทยุโทรทัศน์การนำาแนวทาง 1. การจัดวาง Compostion ของ Typography กลับมาใช้ได้เพิ่มขึ้นนานถึง 10 ปี ในปี 1990 ให้อยู่ในทิศทางต่างๆ การหารือในเรื่องของ Modernism & Eclecti2. ความเป็นกราฟิกในแบบโมเดรินสไตล์ cism ที่นิวยอร์ก 3. Constructivism Style 4. สีที่โดดเด่นใช้ Primary Colors เป็นหลัก 5. Typography แบบ Sans Serif เช่น Impact Helvetica Futara 6. นำาเอารูปแบบสไตล์เก่ามาประยุคใช้ให้เกิด เป็นสไตล์ใหม่เข้ากับยุคสมัย 108


Tibal Kalman ได้เสนอข้อตำาหนิประเด็น สำาคัญเขารับมือเรื่องการนำารูปแบบเก่ามา ใช้ในงานออกแบบกราฟิคข้อดีข้อเสียและ ปรับปรุงภาษาตัวหนังสือ การร่วมงานเขียน ของ J. Abbott Miller และ Karrie Jacobs ภายหลังได้ตีพิมพ์ลงใน Print Magazine ชื่อ “Designers abuse history” พวกเขา โต้แย้งที่พวกเขาใช้ทางลัดจนได้งานได้ทันที และการทำาโฆษณาวิทยุโทรทัศน์จะประสบ ความสำาเร็จการลอกเลียนแบบที่ถูกและเชื่อ ถือได้ทดแทนความบกพร่องทางความคิด การออกแบบชนิดนี้คือ Jive Modernism จะพ่วง Modernism ติดมาด้วยตลอดเป็นที่ ยอมรับและได้รับความนิยมทั้งสไตล์ ลูกค้า ตัวอย่างหลักของพวกเขาคือ Kalman Miller และ Jacobs จัดแสดงโปสเตอร์โดย Paula Scher โฆษณานาฬิกา Swatch ปี 1986 ในปี 1934 ได้มีการออกแบบโปสเตอร์เชิงท่องเที่ยว ในสวิซเซอร์แลนด์ออกแบบโดย Herbert Matter โปสเตอร์ของ Scher ไม่ได้ตั้งใจเลียนแบบรูปลักษณ์ ภายนอกมีการจินตนาการระหว่างรูปภาพภายใต้ เรื่องราว Scher พิถีพิถันการเริ่มออกแบบโปสเตอร์ ให้เข้ากับแบบอักษรเพื่อแสดงความเป็น Swiss Style ด้วยความชำานาญอย่างยิ่งดูได้จาก ตัวสินค้าให้ดูน่าติดตามและมีชีวิตชีวา เมื่ออยู่นอกสถานที่ Scher เลือกรูปแบบ เดิมของ Matter ที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ 109










Stefan Sagmeister เป็นหนึ่งในนักออกแบบที่สำาคัญที่สุดคนหนึ่งในวงการนักออกแบบกราฟิกเขาเกิดที่ ประเทศออสเตรียและอาศัยอยู่ที่นิวยอร์ก ครอบครัวของเขาทำาธุรกิจเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นต่อมาเขา ได้เข้าไปศึกษา ในโรงเรียนประจำาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับวิศวกรรมหลังจากนั้นในปี 1981 เขาได้ย้าย ไปเรียน ที่ Vienna ซึ่งเขาได้เรียนกราฟิกที่ Vienna University of Applied Arts ในปี 1984 เขาได้ออกแบบของ Vienna’s Schauspielhaus Theatre ซึ่งเขาได้ประสบความสำาเร็จ ในการช่วยเหลือ the Ronacher Music hall และจบการศึกษาปริญญาปีชั้น 1 ในปี 1985 และได้เงิน รางวัลอีก 1,000$ จาก the City of Vienna ต่อมาเขาได้เริ่มต้น ใช้ชีวิตที่ New York ในปี 1987 ได้รับทุนการศึกษาเพื่อเข้าไปเรียนที่ Pratt Institute เขาได้กลับบ้านเกิดที่เวียนนาอีกครั้งได้เข้าเกณฑ์ทหารเพื่อรับใช้ชาติ และได้ทำางานในเขตผู้ลี้ภัยและได้ โปสเตอร์สำาหรับงานเทศกาล Nickelsdorf jazz ต่อมาเขาได้ย้ายไปอยู่ที่ Hongkong ในปี 1991เพื่อเข้าไป ทำางานในบริษัทของ LeoBurnett และหลังจากนั้นเขาได้กลับไปที่ New York


ต่อมาเขาได้ย้ายไปอยู่ที่ Hongkong ในปี 1991 เพื่อเข้าไปทำางาน ในบริษัทของ Leo Burnett และต่อมาในปี1992 ได้มีคนมาโต้วิภาค วิจารณ์งานประกวดโปสเตอร์ของเขาที่ชื่อว่า bum-bearing 4As และหลังจากนั้นเขาได้กลับไปที่ New York อีกครั้งในปี 1993 เพื่อ ทำางานกับ Tibor Kalman ที่บริษัท M&Co หลังจากนั้นอีก6เดือนต่อ มา Kalman ได้ปิดบริษัท M&Co ลงไป Sagmeister จึงตัดสินใจ เปิดสตูดิโอของตัวเองขึ้นมาในปี 1994 เขาได้คิด Identity ให้บริษัท ลูกพี่ลูกน้องของเขาที่ชื่อ Martin’s jeans stores และได้เสนอชื่อเข้า ชิงตำาแหน่ง Grammy Award เพื่อใช้คลุม H. P. Zinker’s Mountains of Madness ต่อมาในปี1995 ก็ได้ร่วมงานกับ David Byrne ซึ่งได้ ออกแบบปกอัลบั้มของ David Byrne และต่อมาในปี 1996 เขาก็เริ่ม วางแผนออกแบบปกอัลบั้ม The Twilight Reeling ให้กับ Lou Reed นอกจากนั้นเขายังได้รับออกแบบงานโปสเตอร์ของ AIGA ที่มีชื่อว่า Fresh Dialogue talks และในปี 1997 เขาก็ได้ออกแบบโปสเตอร์ของ AIGA ที่มีชื่อว่า Headless Chicken โดยทาง AIGA จะจัดงานขึ้น ทุกๆ 2 ปี ที่ New Orleans และเขายังได้ออกแบบกราฟฟิกสำาหรับ David Byrne’s Feelings และ Rolling Stones’ Bridges to Babylon ในปี1999 Sagmeister ได้เอามีดสลักข้อความทั่วตัวของเขาสำาหรับ บรรยายใน AIGA ที่ Cranbrook Academy ใกล้กับ Detroit แต่ใน ปี 2000 Sagmeister ได้หยุดทำางานในปีนเี้ พือ่ วางแผนทำางานทดลอง งานอื่นๆต่อไปในอนาคต และในปี 2001 เขาก็ได้เปิดสตูดิโอของเขา อีกครั้ง เพื่อจัดพิมพ์หนังสือของเขา ที่มีชื่อว่า “Made You Look”

TRICK TO KNOW YOU SHOULD KNOW ABOUT SAGMEISTER’S WORK

1. ใช้สิ่งของจากรอบๆตัวมาสร้างสรรค์ 2. Sagmeister จะเอาตัวเองเข้าไปเป็นส่วน หนึ่งในผลงานของเขาบ่อยๆ 3. เขาจะไม่ค่อยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในการออกแบบ 4. เป็นงานออกแบบกราฟิกที่สามารถเป็นงาน ศิลปะที่ให้อารมณ์ความรู้สึกที่ตลก 5. Typography ในงานของเขาเป็นลายมือ ของเขาเอง เขาจะไม่ใช่ Font ของคนอื่น 6. ใส่ความเป็นตัวตนและสไตล์ของตัวเอง ในผลงานทุกชิ้น

119


120 121


121





Made you Look : Sagmeister ได้บอกเอาไว้ว่าเขาทำาเพราะความต้องการ ส่วนตัวของเขาใน Made you Look ทำาให้คุณสามารถ เห็นทุกงานที่เขาเคยออกแบบรวมทั้งงานที่ไม่ดี์ ด้วย เทคนิคการพิมพ์เป็นหนังสือปกอ่อนและมีพลาสติกสี แดงแบบโปร่งใสสามารถถอดออกได้จากหนังสือซึ่งจะ แสดงอารมณ์ของสุนัขคนละแบบ หนังสือเล่มนี้ยังพูด ถึงเกี่ยวกับแรงบันดาลใจของ Sagmeister ตลอด 20 ปี ที่เขาทำางานเป็นกราฟิกดีไซน์เนอร์ ซึ่งเขาให้ข้อคิดใน Made you Look ว่าสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวก็สามารถเป็น แรงบันดาลใจให้กับเราได้คิดต่อยอดเกี่ยวกับ Project และยังพูดถึงกระบวนการคิดที่มาของแต่ละงานของเขา ว่ากว่าจะมาเป็น Idea? จากมุมมองที่สามารถเป็นไปได้ รวมทั้งข้อความที่นำามาเขียนด้วยลายมือจากไดอารี่ของ Sagmeister และความเห็นจำานวนมากจากลูกค้าหนังสือ เล่มนี้พูดถึงแรงบันดาลใจของ Sagmeister ที่แสดงถึง ความเข้าใจถึงกระบวนการทำางานในการออกแบบที่เขา ได้ถ่ายทอดออกมากลายเป็นผลงานที่เป็นที่ยอมรับ 125



Reference • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

Jon Wozencraft. The Graphic Language of Neville BrodyVol. 2.London: Universe Publishing,1996 Jon Wozencraft. The Graphic Language of Neville Brody.London: Universe Publishing,2002 Neville Brody. Fuse: Neville Brody.London: Taschen,2012 Stefan Sagmeister. Sagmeister: Made You Look.London: Abrams,2009 Stefan Sagmeister. Things I have learned in my life so far.Singapore: Abrams,2008 Stefan Sagmeister. Sagmeister: Another Book about Promotion and Sales Material.Singapore: Abrams; Bilingual edition,2011 Peter Saville. Designed by Peter Saville.London: Princeton Architectural Press; 1 edition,2003 Matthew Robertson. Factory Records: The Complete Graphic Album.London: Chronicle Books,2006 Rudy Vansderland. Emigre No. 70 the Look Back Issue: Selections from Emigre Magazine 1-69. Celebrating 25 Years of Graphic Design.London: Gingko Press; First edition,2009 David Carson. Trek: David Carson, Recent Work.London: Gingko Press; First edition,2003 David Carson. Trek: The End of Print: The Grafik Design of David Carson.London: Laurence King Publishers; First edition,2000 Steven Heller Trek: T100 Ideas that Changed Graphic Design.London: Laurence King Publishers,2012 Barbara Kruger Barbara Kruger: Rizzoli,2010 Neville Brody . Retrieved 2012 from http://www.researchstudios.com/ Arena Neville Brody . Retrieved 2011 from http://www.dezeen.com/tag/neville-brody/ Neville Brody . Retrieved 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Neville_Brody Peter Saville . Retrieved 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Peter_Saville_(graphic_designer) Peter Saville . Retrieved 2012 from http://www.petersaville.info/ Peter Saville . Retrieved 2012 from http://www.marketingmanchester.com/original-modern/peter-saville.aspx Stefan Sagmeister . Retrieved 2012 from http://www.sagmeisterwalsh.com/ Stefan Sagmeister . Retrieved 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Stefan_Sagmeister Stefan Sagmeister . Retrieved 2012 from http://www.ted.com/speakers/stefan_sagmeister.html Stefan Sagmeister . Retrieved 2012 from http://designmuseum.org/design/stefan-sagmeister April Greiman . Retrieved 2012 from http://madeinspace.la/ April Greiman . Retrieved 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/April_Greiman April Greiman . Retrieved 2012 from http://www.aiga.org/medalist-aprilgreiman/




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.