MENTAL HEALTHCARE CENTER (THESIS 2018)

Page 1

MENAL HEALTH CARE CENTER ศู น ย์ พั ฒ น า แ ล ะ บา บั ด จิ ต ใ จ เ พื่ อ ผู้ ป่ ว ย โ ร ค ท า ง ก า ย เ รื้ อ รั ง



โครงการพัฒนาและบาบัดจิตใจเพือ่ ผูป้ ว่ ยโรคทางกายเรือ้ รัง

สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561


MENTAL HEALTH CARE CENTER

SUPAPORN SOMNAWAT

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FILFILMENT OF THE

REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGAKA UNIVERSITY IF TECHNOLOGY THANYABURI 2018


หัวข้อวิทยานิพนธ์ ชือ่ ผู้เขียน สาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย

อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ ปีการศึกษา

ศูนย์พัฒนาและบาบัดจิตใจเพื่อผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าสัมพันธ์กับโรคทางกาย สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์ สาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี อาจารย์ พรนภา พรพันธุ์ไพบูลย์ 2561

บทคัดย่อ จากปัญหาภาวะโรคซึมเศร้าที่มีแนวโน้มสูงขึ้นและส่งผลกระทบต่อตัวบุคคลและสังคม ผู้ป่วยบางคนอาจรู้ตัวอีกที่ตอนที่โรคกาลังพัฒนาไปสู่ ขั้นรุนแรง สาเหตุของภาวะซึมเศร้ามีปัจจัยการเกิดที่ค่อนข้างซับซ้อนและหลากหลาย เช่น การทางานของสารเคมีในสมอง พันธุกรรม ลักษณะนิสัยการเผชิญ เหตุการณ์ตึงเครียด และอาการเจ็บป่วยเป็นต้น ภาวะซึมเศร้าสามารถรักษาให้หายได้อย่างไรก็ตามการป้องกันภาวะซึมเศร้าอาจทาได้โดยการกาจัดปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เช่น การรักษาพฤติกรรม ทางสุขภาพที่ดี ทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกาลังกายเพื่อลดโอกาสเกิดโรคต่างๆและภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดแทรกซ้อนได้ เนื่องจากในประเทศไทยมีสถานบาบัด และโรงพยาบาลที่มีการรักษาผู้ป่วยแต่ผู้ป่วยก็มีความคิดเชิงลบต่ออาการป่วยของตนเองและสถานที่ทาให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาในเวลาที่ สมควร วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวทางการออกแบบพื้นที่ให้เหมาะสมเพื่อรองรับการบาบัดรักษาผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าที่สัมพันธ์ กับโรคทางกาย เรื้อรังทั้งที่เป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลและผู้ป่วยที่มีปัญหาทางดานจิตใจโดยมีขั้นตอนการศึกษาด้านพื้นที่และขั้นตอนการบาบัดทั้งร่างกายและด้านจิตใจที่มีผลต่อผู้ป่วย เช่นพื้นที่ให้คาปรึกษาและแนะนาแนวทางการรักษา พื้นที่ส่งเสริมสุขภาพทางด้านร่างกาย พื้นที่สาหรับการทากิจกรรมร่วมกันเพื่อแบ่งปัน ความรู้และความรู้สึกของผู้ป่วย ด้วยกัน อีกทั้งยังศึกษาพื้นที่ของสุนัขที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการบาบัดผู้ป่วยอีกด้วยทั้งนี้เพื่อสร้างแนวทางการออกแบบศูนย์บาบัดในเรื่องสภาพแวดล้อมและเพื่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีแก่ผู้ป่วยที่เข้ารับการบาบัดรักษาในศูนย์บาบัด คาสาคัญ ภาวะซึมเศร้า ผูป้ ว่ ยโรคทางกาย การบาบัด



CONTENT

1 บทคัดย่อ

สารบัญ

สารบัญตาราง

สารบัญรูปภาพ

2

INTRODUCTION บทนา

1.1 ความเป็นมาของโครงการ

1-2

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-4

1.3 ขอบเขตการศึกษา

1-4

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1-4

PRICIPLES AND THEORY หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายของโรคทางกายเรื้อรัง

2-8

2.2 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

2-9

2.3 มะเร็ง

2-10

2.4 วิธีการรักษาโรคมะเร็ง

2-11


2.5 ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติด้านจิตใจ

2-14

2.16 การวิเคราะห์การเกิดกิจกรรมตามอาการของผู้ป่วย

2-28

2.6 การรักษาทางด้านจิตวิทยา

2-15

2.17 การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา

2-30

2.7 ปัจจัยทางจิตใจที่มีผลต่อความเจ็บป่วยทางกาย

2-17

2.18 ความหมายของคาว่า เยียวยา

2-31

2.8 การวินิจฉัย

2-18

2.19 Color in The Environment

2-34

2.9 การดูแลโดยแบ่งตามสภาพการเกิดผลกระ

2-19

2.20 หลักการออกแบบที่เกี่ยวข้อง

2-35

2.21 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

2-41

2.22 การศึกษาและเปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง

2-43

ทบทางจิตใจของผู้ป่วย

2.10 ปฏิกิริยาทางจิตใจและพฤติกรรมของผู้ป่วย

2-21

2.11 กระบวนการหายจากโรค

2-23

2.12 ลักษณะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ

2-24

หายจากโรคซึมเศร้า

2.13 ปัจจัยการหายจากภาวะซึมเศร้า

2-25

2.14 กิจกรรมบาบัดโรค

2-26

2.15 ปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาพจิตใจของผู้ป่วยโรคมะเร็ง

2-27


3

3.1 ประวัติความเป็นมาละที่ตั้งโครงการ

3-54

4.1 ที่มาของโครงการ

4-68

3.2 ผังสีและการใช้ประโยชน์ที่ดิน

3-57

4.2 แนวความคิดโครงการ

4-69

3.3 ลักษณะทางกายภาพ

3-58

4.3 แนวความคิดด้านรูปแบบ(FORM CONCEPTS)

4-72

3.4 การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

3-60

4.4 วัตถุประสงค์ของโครงการ

4-73

3.5 กิจกรรมหรือโครงการที่สนับสนุน

3-60

4.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ

4-73

3.6 เกณฑ์การวิเคราะห์ที่ตั้ง

3-62

4.6 โครงสร้างบริหารโครงการ

4-74

3.7 ขนาดที่ตั้งและบริบทโดยรอบ

3-63

4.7 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-75

3.8 ทัศนียภาพของที่ตั้งโครงการ

3-65

4.8 ลักษณะผู้ใช้โครงการ

4-76

4.9 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-78

4.10 สัดส่วนการใช้พื้นที่

4-92

4.11 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-93

4.12 ด้านเทคโนโลยีวัสดุอาคาร

4-95

4.13 ระบบโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง

4-97

4


LIST OF PICTURE ภาพที่ 1.1 ความเป็นมาของโครงการ

1-2

ภาพที่ 2.13 ANIMAL HOUSING ROOMS

2-36

ภาพที่ 1.2 ความเป็นมาของโครงการ

1-2

ภาพที่ 2.14 โยคะ

2-37

ภาพที่ 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-3

ภาพที่ 2.15 โยคะ

2-38

ภาพที่ 2.1 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

2-9

ภาพที่ 2.16 ขนาดเตียงนวด

2-39

ภาพที่ 2.2 การผ่าตัด

2-11

ภาพที่ 2.17 ขนาดเตียงนวด

2-39

ภาพที่ 2.3 รังสีรักษา

2-12

ภาพที่ 3.1 จังหวัดปทุมธานี

3-54

ภาพที่ 2.4 รังสีรักษา

2-12

ภาพที่ 3.2 แผนที่จังหวัดปทุมธานี

3-56

ภาพที่ 2.5 ปัจจัยทางจิตใจที่มีผลต่อความเจ็บป่วยทางกาย 2-17

ภาพที่ 3.3 แผนที่จังหวัดปทุมธานี

3-57

ภาพที่ 2.6 ปัจจัยทางจิตใจที่มีผลต่อความเจ็บป่วยทางกาย 2-17

ภาพที่ 3.4 แผนที่จังหวัดปทุมธานี

3-58

ภาพที่ 2.7 การวินิจฉัย

2-18

ภาพที่ 3.5 ตาแหน่งที่ตั้งโครงการ

3-59

ภาพที่ 2.8 สภาพการเกิดผลกระทบทางจิตใจของผู้ป่วย

2-20

ภาพที่ 3.6 ที่ตั้งโครงการ

3-61

ภาพที่ 2.9 กิจกรรมบาบัดโรค

2-26

ภาพที่ 3.7 ขนาดที่ตั้งโครงการ

3-63

ภาพที่ 2.10 สภาพแวดล้อม

2-32

ภาพที่ 3.8 ขนาดที่ตั้งโครงการ

3-63

ภาพที่ 2.11 สภาพแวดล้อม

2-32

ภาพที่ 3.9 ทัศนียภาพรอบที่ตั้งโครงการ

3-65

ภาพที่ 2.12 วงล้อสี

2-33

ภาพที่ 3.10 ทัศนียภาพรอบที่ตั้งโครงการ

3-65


LIST OF TABLE 2.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

2-41

2.2 เปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง

2-51

4.1 SERVICE SPACE

4-78

4.2 DOCTOR AND NURSE UNIT

4-80

4.3 YOGA SPACE

4-82

4.4 HANDMADE SPACE

4-84

4.5 DOG THERAPY

4-86

4.6 AROMATHERAPY

4-88

4.7 VOLUNTEER SPACE

4-89

4.8 DOG TRAINNING

4-90

4.9 CAFE SPACE

4-91

4.10 ส่วนรักษาความสะอาด

4-92

4.11 ส่วนงานระบบ

4-93

4.12 สัดส่วนการใช้พื้นที่

4-94


INTRODUCTION

‘’ เพราะโรคทางกายและโรคซึ ม เศร้ า เชื่ อ มโยงกั น

‘’ 1 –1


บทนา 1.1 ความเป็นมาของโครงการ NCDs หรือ กลุม่ โรคไม่ติดต่อเรือ้ รัง

มะเร็งร้ายครองอันดับ 1

โรคกลุ่ม NCDs ย่อมาจาก Non-communicable diseases คือโรคกลุ่มที่ไม่ติดต่อ เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่ติดต่อแม้ มีการสัมผัส คลุกคลี หรือมีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งต่างๆ โรค กลุ่ม NCDs เป็นโรคที่เกี่ยวกับนิสัยหรือพฤติกรรมการดาเนินชีวิต ซึ่ง โรคกลุ่มนี้จะค่อยๆสะสมอาการ ค่อยเกิดค่อยทวีความรุนแรงและ เมื่ อ มี อ าการของโรคแล้ ว จะเกิ ด การเรื้ อ รั ง ของโรค ตามมาด้วยถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา จะส่งผล กระทบอย่างมากต่อการดาเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้างและ พบว่าผู้ป่วยจานวนมากเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มนี้ ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ตลอดช่วงเวลา 10 ปี ที่ผ่านมา กลุ่ม โรคไม่ติดต่อ NCDs เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่ง ของคนไทย โดยมีคนไทยป่วยเป็น โรค NCDs ถึง 14 ล้านคน เสียชีวิตปีละกว่า 300,000 คน โรคร้ายที่ทุกวันนี้มีเพิ่มมากขึ้นใน สังคม เป็นเพราะพฤติกรรมเสี่ยง ที่คนในสังคมสร้างขึ้นมาเองทั้งสิ้น ซึ่ง 10 โรคร้ายที่เป็นโรคเสี่ยงตาย ของคนไทยในยุคปัจจุบันนี้ ล้วน แต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจาวันที่ผิดปกติไป จนกลายเป็น ปัญหาเรื้อรังด้านสุขภาพและเป็นภัยเงียบที่สามารถคร่าชีวิตคนไทย ไปได้หลายล้านคน แม้ว่าโรคเหล่านี้จะมีชื่อเป็นที่รู้จัก และรักษาได้

ไม่วา่ จะเป็นมะเร็งชนิดใด มะเร็งลาไส้, มะเร็งมดลูก หรือมะเร็งเต้า นม ก็ลว้ นแล้วแต่คร่าชีวติ คนไทยมาแล้วนักต่อนักสถิตกิ ารเป็นมะเร็งของคน ไทยนัน้ เพิม่ สูงขึน้ ถึง 70,000 คน และมีแนวโน้มจะสูงขึน้ เรือ่ ยๆมะเร็งยังครอง แชมป์การเป็นโรคทีม่ คี นเป็นมากทีส่ ดุ ในประเทศ อันดับที่ 1 ถึง 5 ปีซอ้ น และมีผเู้ สียชีวติ ไปด้วยโรคนีถ้ งึ ปีละ 50,000 คนอีกด้วย ซึง่ โรคเหล่านีล้ ว้ นแล้วแต่เป็นโรคจากการใช้ชวี ติ ประจาวันแบบผิดๆของคนใน ยุคสมัยใหม่ โดยมีทงั้ การรักษาทางการแพทย์ การรักษาโดยวิถสี มุนไพร หรือ แม้แต่การดูแลสุขภาพแบบชีวจิต ก็ลว้ นแล้วแต่เป็นวิธกี ารรักษามะเร็ง ทีล่ ว้ น แล้วแต่ถกู คิดค้นขึน้ มาเพือ่ รักษาและป้องกันการเป็นมะเร็งทัง้ สิน้ กลุม่ ทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รังดังกล่าวและญาติใกล้ชดิ จะมีปญั หา สุขภาพจิตด้วย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาซึมเศร้า ผูป้ ว่ ยโรคทางกายทีม่ ี อาการป่วยทางจิตร่วมด้วย จะทาให้โอกาสการฟืน้ ตัวบรรเทาจากโรคเป็นไป ได้ยากขึน้ โดยในกลุม่ ประชาชนทัว่ ไปทีไ่ ม่มโี รคประจาตัวจะมีความเสีย่ งเกิด ภาวะซึมเศร้า พบในเพศหญิงร้อยละ 10-25 ส่วนเพศชายพบได้รอ้ ยละ 512 แต่ในกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีม่ โี รคประจาตัวเรือ้ รังจะมีความเสีย่ งเกิดภาวะซึมเศร้า สูงกว่าคนทัว่ ไปถึงร้อยละ 25-33 ผลทีต่ ามมาก็คอื จะทาให้อาการผูป้ ว่ ยทรุด ลง รักษายากขึน้ เป็นวัฏจักรหมุนเวียนไม่สนิ้ สุด

ภาพที่ 1.1 ความเป็นมาของโครงการ ที่มา https://unsplash.com/

ภาพที่ 1.2 ความเป็นมาของโครงการ ที่มา https://unsplash.com/

1-2


ภาพที่ 1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ที่มา https://unsplash.com/

1-3


1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาหลักการและพื้นที่ใช้สอยเกี่ยวกับสุนัข บาบัด 1.2.2 เพื่อศึกษาหลักการและแนวทางการออกแบบพื้นที่ ที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพจิตใจ 1.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมผู้ใช้งานที่ สอดคล้องกับผู้ที่มีปัญหาด้านสภาพจิตใจ 1.2.4 เพื่อศึกษาองค์ประกอบของธรรมชาติ การสร้าง บรรยากาศ เช่น แสงธรรมชาติ เสียง สี

1.3 ขอบเขตการศึกษา

1.4 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั

1.3.1 ศึกษาขั้นตอนและวิธีการของกิจกรรมที่ตอบสนอง

ต่อสุข ภาวะทางกายและสุขภาวะทางใจของผู้ใช้งาน 1.3.2 หน้าที่ใช้สอยภายในโครงการ กิจกรรมและขนาด พื้นที่ใช้ สอยให้สัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆภายใน โครงการ 1.3.3 หลักการออกแบบพื้นที่การทากิจกรรมระหว่าง ผู้ป่วยและสุนัขบรรยากาศ เช่น แสงธรรมชาติ เสียง สี

1-4

1.4.1 มีความรู้ความสามารถในการออกแบบ สถาปัตยกรรม และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้ใช้ อาคาร อื้อต่อผู้ป่วยทางกายเรื้อรังให้เกิดสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี 1.4.2 สามารถออกแบบพื้นที่ใช้สอยให้ตรงกับประโยชน์ ใช้สอยและสภาพแวดล้อมได้ 1.4.3 สามารถกาหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับโครงการ ที่สนับสนุนในการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสม


สภาพปัญหา

- ผู้ป่วยโรคทางกายเรื้อรังที่มีแนวโน้มมากขึ้น ทุกปี - ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าซึ่ง อาจทาให้อาการที่ผู้ป่วยเป็นอยู่มีอาการแย่ลง

สาเหตุที่ทาให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การฟืน้ ฟูทงั้ ทางด้านด้านร่างกายและจิตใจ

RESERCH

THESIS

เหตุผลทีท่ าให้เกิดโครงการ

PROBLEM

1.5 วิธแี ละขัน้ ตอนดาเนินการ

โรคเรื้อรังหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง และทันเวลาจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการ ดาเนินชีวิต กลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังดังกล่าว และญาติใกล้ชิดจะมีปัญหาสุขภาพจิตโดยเฉพาะ อย่างยิ่งปัญหาซึมเศร้า

องค์ประกอบที่ตอ้ งากร OFFICE DOCTOR AND NURSE CAFE YOGA THERAPY AROMATHERAPY DOG TRAINER DOG THERAPY MEETING SPACE

กลุม่ เป้าหมาย การศึกษาข้อมูลเบือ้ งต้น - ข้อมูลจากหนังสือวิทยานิพนธ์ - ข้อมูลจากบทความ - ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต

ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แพทย์ - พยาบาล โครงการพัฒนาและบาบัดจิตใจเพือ่ ผูป้ ว่ ยโรคทางกายเรือ้ รังสัมพันธุก์ บั ภาวะซึมเศร้า

CASE STUDY โครงการพัฒนาในประเทศ โครงการพัฒนาต่างประเทศ

1-5


- สภาวะการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ - การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้ เอื้อต่อการเยียวยา - จิตวิทยาสีกับความรู้สึก

SYNTHESIS

METHOD / TOOL

ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง

การสร้างทางเลือก สร้างทางเลือกจากการวิเคราะห์ SCHEMMETIC STACKING DIAGRAM ZONING DIAGRAM

การออกแบบเบือ้ งต้น - พิจารณาปัญหาและความต้องการ - พิจารณาแนวทางการแกไขปัญหา - พิจารณาแนวความคิดและนามาใช้

การพัฒนาแบบ พัฒนาให้สอดคล้องกับแนวความคิดและบริบท โดยรอบ แก้ไขปรับปรุง

ข้อมูล/แบบสถาปัตยกรรม/หุน่ จาลอง ขัน้ ตอนการนาเสนองาน

1-6


PRINCIPLES AND THEORY

2-7


2. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 2.1 ความหมายของโรคทางกายเรือ้ รัง โรคทางกายเรื้อรัง

สาหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง 14 ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และที่สาคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.ศ. 2552 พบว่า มีประชากรเสีย ชีวิต จากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิต ของประชากรไทย ทั้งหมดในปี 2552

หมายถึงโรคที่ รักษาไม่หาย การรักษาเป็นเพียงการพยุงไม่ให้มีการ สูญเสียการทางานของร่างกายมากขึ้น กลุ่มที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังดังกล่าว และ ญาติใ กล้ชิดจะมีปัญ หาสุ ขภาพจิตด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญ หาซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคทางกายที่มีอาการป่วยทางจิตร่วมด้วย จะทาให้โอกาสการฟื้นตัว บรรเทาจากโรคเป็ น ไปได้ ย ากขึ้ น โดยในกลุ่ ม ประชาชนทั่ ว ไปที่ ไ ม่ มี โ รค ประจาตัวจะมีความเสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้า ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัว เรื้อรังจะมีความเสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้าสูงกว่าคนทั่วไปถึงร้อยละ 25-33 ผลที่ ตามมาก็คือ จะทาให้อาการผู้ป่วยทรุดลง รักษายากขึ้น เป็นวัฏจักรหมุนเวียน ไม่สิ้นสุด

โรคซึมเศร้า (MAJOR DEPRESSIVE DISORDER) คื อ โรคทางจิ ต เวช ประเภทหนึ่ง ที่ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด ซึ่ง อาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน ทาให้รู้สึกว่าตัวเอง ไม่มีความสุข มีแต่ความวิตกกังวล เกิดจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง ชื่ อ เซโรโทนิ น (Serotonin) มี ป ริ ม าณลดลง ท าให้ ผู้ ป่ ว ยมี อ าการป่ ว ยทั้ ง ร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึกท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนาน กับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้ ความสามารถในการทางานลดลง

กลุ่ ม โรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรื อ ชื่ อ ภาษาไทย เรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นเป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมา จากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุก คลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนาโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิด จากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากไลฟ์สไตล์วิธีการใช้ ชีวิต ที่ มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกาลังกาย อาหาร หวานมันเค็มจัด และมีความเครียด

2-8


2.2 สถานการณ์โรคไม่ตดิ ต่อเรือ้ รัง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าว ว่า สหพันธ์สุขภาพจิตโลก ได้กาหนดให้วันที่ 10 ตุลาคมของทุกปี เป็นวันสุขภาพจิตโลก (world mental health day) เพื่อรณรงค์ให้ทั่วโลกให้ความสาคัญกับ สุขภาพจิต โดยในปีนี้ได้กาหนดการรณรงค์ว่า สุขภาพ จะดีไม่ได้ ถ้าสุขภาพจิตไม่ดี (no health without mental health) ประเด็นรณรงค์ในปีนี้ มุ่งเน้นการป้องกันปัญหา สุขภาพจิตที่เกิดจากการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรังที่สาคัญ 4 โรค ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือดเบาหวาน มะเร็ง และโรคถุงลมปอดโป่งพองเรื้อรัง ซึ่งเป็นสาเหตุการ เสียชีวิตคนทั่วโลกร้อยละ 60

ภาพที่ 2.1 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่มา https://unsplash.com/

2-9

โรคร้ายที่ทุกวันนี้มีเพิ่มมากขึ้นในสังคม เป็น เพราะพฤติกรรมเสี่ยง ที่คนในสังคมสร้างขึ้นมาเอง ทั้งสิ้น ของคนไทยในยุคปัจจุบันนี้ ล้วนแต่เป็นโรคที่เกิด จากการใช้ชีวิตประจาวันที่ผิดปกติไปจนกลายเป็น ปัญหาเรื้อรังด้านสุขภาพ และเป็นภัยเงียบที่สามารถคร่า ชีวิตคนไทยไปได้หลายล้านคน แม้ว่าโรคเหล่านี้จะมีชื่อ เป็นที่รู้จัก และรักษาได้ แต่ก็ไม่ควรที่จะประมาท เพราะอย่างน้อยการป้องกัน ก็ย่อมดีกว่ามารักษาใน ภายหลัง


2.3 มะเร็งร้ายครองอันดับ1

ไม่ว่าจะเป็นมะเร็งชนิดใดมะเร็งลาไส้,มะเร็ง มดลูก หรือมะเร็งเต้านม ก็ล้วนแล้วแต่คร่าชีวิตคนไทย มาแล้วนักต่อนัก สถิติการเป็นมะเร็งของคนไทยนั้นเพิ่ม สูงขึ้นถึง 70,000 คน และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆมะเร็งยัง ครองแชมป์การเป็นโรคที่มีคนเป็นมากที่สุดในประเทศ อันดับที่ 1 ถึง 5 ปีซ้อน และมีผู้เสียชีวิตไปด้วยโรคนี้ถึงปีละ 50,000 คน จากผลการศึกษาวิจัย กลุ่มที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ดังกล่าว และญาติใกล้ชิดจะมีปัญหาสุขภาพจิตด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคทางกายที่มี อาการป่วยทางจิตร่วมด้วย จะทาให้โอกาสการฟื้นตัว บรรเทาจากโรคเป็นไปได้ยากขึ้น โดยในกลุ่มประชาชนทั่วไป ที่ไม่มีโรคประจาตัวจะมีความเสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้า พบใน เพศหญิงร้อยละ 10-25 ส่วนเพศชายพบได้ร้อยละ 512 แต่ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัวเรื้อรังจะมีความเสี่ยง เกิดภาวะซึมเศร้าสูงกว่าคนทั่วไปถึงร้อยละ 25-33 ผลที่ ตามมาก็คือ จะทาให้อาการผู้ป่วยทรุดลง รักษายากขึ้น เป็นวัฏจักรหมุนเวียนไม่สิ้นสุด

มีการศึกษามากมายที่แสดงความสัมพันธ์ว่าการมี โรคทางกายส่งผลให้เกิดภาวะซึมเศร้าโดยตรง เช่น ต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติ หรือโรคสมอง บางชนิด คนไข้จะแสดงอาการด้านอารมณ์เศร้า ออกมาได้บ่อย ขณะเดียวกันความทุกข์ทรมาน จากความเจ็บป่วยของร่างกายก็เป็นตัวกระตุ้น ทางจิตใจที่ทาให้ผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าหรือวิตก กังวลตามมา อีกทิศทางหนึ่งของความสัมพันธ์ ระหว่างโรคทางกายกับโรคซึมเศร้าเองสามารถ ทาให้ร่างกายแย่ลงได้เช่นกัน ภาวะเครียดเรื้อรัง ส่งผลต่อการทางานหนักของฮอร์โมนเครียดและ สารอักเสบไปกระทบต่อการทางานของระบบ ต่างๆ เช่นระบบหัวใจและหลอดเลือด จะเห็นว่า ความสัมพันธ์ระหว่างโรคทางกายกับโรคซึมเศร้า นั้นเป็นความสัมพันธ์ด้านลบสองทาง ปัญหาคือ เราแยกไม่ออกว่าอาการเปลี่ยนแปลงที่เห็นใน ผู้ป่วยนั้น เป็นอาการจากโรคทางกายหรือจาก ซึมเศร้า

2-10

เมื่อสามารถวินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยมีปัญหาทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ การรักษาทัง้ สองด้านร่วมกันก็ ย่อมส่งผลดีต่อร่างกาย การดาเนินโรคทางกาย พยากรณ์โรค รวมถึงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและ ผู้ดูแล การดูแลทางจิตเวชในผู้ป่วยทางกายได้แก่ การวินิจฉัยให้ถูกต้องว่าปัญหาทางอารมณ์ที่เป็น ปัญหานั้นเกิดจากอะไร การติดต่อสื่อสารกับ แพทย์สาขาอื่นเพื่อร่วมกันคุมอาการของโรคให้ดี ที่สุด การใช้ยารักษาอาการซึมเศร้าวิตกกังวล หรือนอนไม่หลับ และการให้คาปรึกษาแนะนา เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวปรับตัวได้กับความ เปลี่ยนแปลง


2.4 วิธกี ารรักษาโรคมะเร็ง โรคมะเร็งสามารถรักษาได้หลายวิธี เช่น การผ่าตัด รังสีรักษา เคมีบาบัด ฮอร์โมน ยารักษาตรงเป้า การปลูกถ่าย ไขกระดูก/สเต็มเซลล์ การรักษาเพื่อบรรเทา/ประทังอาการ การแพทย์สนับสนุนและการแพทย์ทางเลือก โดยแยกเป็นวิธีการต่างๆ ดังนี้ - การผ่าตัด - รังสีรักษา - รังสีร่วมรักษา - เคมีบาบัด - ฮอร์โมน

2.4.1 การผ่าตัด การผ่าตัดในโรคมะเร็ง แบ่งเป็น 2 วิธีหลัก คือ การ ผ่าตัดเพื่อวินิจฉัยโรคมะเร็งและการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคมะเร็ง การผ่าตัดเพื่อวินิจฉัยโรคมะเร็ง มักเป็นการผ่าตัดเล็ก ได้แก่ การตัดชิ้น-เนื้อหรือการเจาะ/ดูดเซลล์จากก้อนเนื้อ/แผล ผิดปรกติ เพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยาหรือเซลล์วิทยา เพื่อ วินิจฉัยว่าเป็นเนื้อมะเร็งหรือไม่ ส่วนการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคมะเร็ง แบ่งเป็น 2 วิธีหลักเช่นกัน ได้แก่ การผ่าตัดเพื่อหายขาด และการผ่าตัดเพื่อบรรเทา/ ประทังอาการ การผ่าตัดเพื่อการรักษาหายขาด มักเป็นการผ่าตัดใหญ่และมี การสูญเสียอวัยวะ ในปัจจุบันกาลังมีการศึกษาการผ่าตัด โรคมะเร็งด้วยการส่องกล้อง ซึ่งจะช่วยลดโอกาสเกิดผล ข้างเคียง/แทรกซ้อน และลดระยะเวลาการพักฟื้นใน โรงพยาบาล การผ่าตัดเพื่อบรรเทา/ประทังอาการ เป็นการผ่าตัดเล็ก ไม่มี การสูญเสียอวัยวะ เพียงเพื่อบรรเทา/ประทังอาการทรมานที่ เกิดจากโรคมะเร็งของผู้ป่วยเท่านั้น เช่น การผ่าตัดทาทวาร เทียมในโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ ซึ่งผู้ป่วยถ่ายอุจจาระไม่ได้ เนื่องจากก้อนเนื้อมะเร็งอุดตันลาไส้ใหญ่ หรือการเจาะคอเพื่อ ช่วยการหายใจในโรคมะเร็งกล่องเสียงระยะลุกลามรุนแรง ซึ่ง เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยหายใจติดขัด/หายใจไม่ออก เนื่องจาก ก้อนเนื้อมะเร็งอุดกั้นทางเดินหายใจ

ผลข้างเคียง ผลข้างเคียง/แทรกซ้อนจากการผ่าตัดทุกวิธีการจึงพบ ได้น้อย อาการที่อาจพบได้ เช่น เจ็บแผล แผลผ่าตัดติดเชื้อ มีเลือดออกจากแผลผ่าตัด ระบบทางเดินปัสสาวะและ/หรือ ระบบทางเดินหายใจติดเชื้อภายหลังการผ่าตัด

ภาพที่ 2.2 การผ่าตัด ที่มา https://unsplash.com/

2-11


2.4.2 รังสีรักษา รังสีรักษา คือ การรักษาโรคต่างๆ ด้วยการใช้รังสี ซึ่ง ใช้รักษาได้ทั้งโรคที่ไม่ใช่มะเร็งและโรคมะเร็ง แต่โดยทั่วไป ประมาณร้อยละ 90 ใช้รักษาโรคมะเร็ง ซึ่งแพทย์ที่ใช้รังสี รักษาเพื่อการรักษาโรค ปัจจุบันเรียกว่า แพทย์เฉพาะทางด้าน รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา การรักษา/พยาบาลด้านรังสีรักษามีจากัดอยู่เฉพาะในบาง โรงพยาบาลเท่านั้น ทั้งนี้ เพราะเป็นวิธีการรักษาที่ต้องใช้ เครื่องมือราคาแพงมาก และควบคุมโดยแพทย์เฉพาะทาง เท่านั้น จึงให้บริการรักษาได้เฉพาะในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ที่มีแพทย์ด้านรังสีรักษาและมะเร็งวิทยาประจาอยู่ เช่น โรงพยาบาลของโรงเรียนแพทย์และศูนย์รักษาโรคมะเร็ง ส่วนโรคที่ไม่ใช่มะเร็ง แต่ใช้รังสีรักษาก็มีหลายโรค เช่น โรค เนื้องอกธรรมดาชนิดที่ไม่ใช่มะเร็ง โรคปาน โรคไขข้ออักเสบ โรคเส้นเลือดในสมองโป่งพอง และการป้องกันการเกิด แผลเป็นจากการผ่าตัด อย่างไรก็ตาม แพทย์จะเลือกใช้รังสี รักษาในโรคที่ไม่ใช่มะเร็ง เฉพาะในกรณีที่รักษาด้วยวิธีการอื่น ไม่ได้ผล เช่นการผ่าตัด และหากปล่อยไว้ไม่รักษา โรค เหล่านั้นอาจก่ออันตรายต่อชีวิตผู้ป่วยได้ ทั้งนี้ เพราะ ผลข้างเคียง/แทรกซ้อนจากรังสีรักษาในโรคที่ไม่ใช่โรคมะเร็ง อาจเป็นปัจจัยให้เกิดโรคมะเร็งขึ้นในตาแหน่งที่ได้รับรังสีรักษา ผลข้างเคียง การรักษาโดยใช้รังสีรักษามีผลข้างเคียง/แทรกซ้อน

เซลล์บาดเจ็บโดยเป็นการอักเสบที่เกิดจากรังสี ไม่ใช่การ อักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ และผลข้างเคียง/แทรกซ้อนจาก รังสีรักษา จะเกิดขึ้นกับเนื้อเยื่อ/อวัยวะเฉพาะส่วนที่ได้รับรังสี เท่านั้น ไม่เกิดขึ้นกับเนื้อเยื่อ/อวัยวะส่วนอื่น ผลข้างเคียง/ แทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในช่วงที่ได้รับรังสีรักษา เรียกว่า ผลข้างเคียง/แทรกซ้อนระยะเฉียบพลัน เช่นอาการเจ็บใน บริเวณที่ได้รับรังสีรักษา ส่วนผลข้างเคียง/แทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ภายหลังได้รับรังสีรักษาครบแล้ว เรียกว่า ผลข้างเคียง/แทรก ซ้อนระยะยาว เช่น การเกิดพังผืดของเนื้อเยื่อ/อวัยวะหรือการ ตีบ/อุดตันของเส้นเลือดเฉพาะในเนื้อเยื่อ/อวัยวะที่เคยได้รับ รังสีรักษา

2.4.3 รังสีรว่ มรักษา (interventional radiology) เป็นวิธีการตรวจโรคและวิธีรักษาโรคมะเร็งอีกวิธีการหนึ่ง ที่ให้ การตรวจและรักษาโดยแพทย์ด้านรังสีวินิจฉัย โดยขณะตรวจ และรักษาจะมีการตรวจทางเอกซเรย์หรืออัลตราซาวนด์ร่วม/ พร้อมกันไปด้วย (sonogram) เพื่อให้เห็นตาแหน่งโรคที่จะ ตรวจ/รักษาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และแม่นยาขึ้น ผลข้างเคียง ความเสียหายชั่วคราวของเนื้อเยื่อสุขภาพดีจะก่อให้เกิด ผลข้างเคียงต่อมนุษย์ซึ่งส่วนใหญ่มีระยะเวลาสั้น ๆ สาหรับผลข้างเคียงทั่วไปก็คืออาการปวดผิวหนัง เหนื่อย

ภาพที่ 2.4 รังสีร่วมรักษา ที่มา https://unsplash.com/ ภาพที่ 2.3 รังสีรักษา ที่มา https://unsplash.com/

2-12


2.4.4 เคมีบาบัด เป็นวิธีรักษาโรคมะเร็งที่สาคัญมากวิธีการหนึ่ง โดยการ ใช้ยาซึ่งเป็นสารเคมีที่มีคุณสมบัติทาลาย/ฆ่าเซลล์มะเร็ง ยา เคมีบาบัดมีหลากหลายชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัติในการฆ่า เซลล์มะเร็งชนิดต่างๆ แตกต่างกัน แต่ยาเคมีบาบัดทุกชนิด มี ผลข้างเคียง/แทรกซ้อนจากการรักษาคล้ายคลึงกัน ผลข้างเคียง ยาเคมีบาบัดทุกชนิดมีผลข้างเคียง/แทรกซ้อน แต่ โดยทั่วไปเป็นผลข้างเคียง/แทรกซ้อนที่ยอมรับได้ ไม่มี อันตรายและไม่มีอาการรุนแรง ซึ่งในการให้ยาเคมีบาบัด แพทย์จะให้ยาป้องกัน/ลดอาการเหล่านี้อยู่แล้ว ได้แก่ อาการ คลื่นไส้/อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย เจ็บในช่องปาก ผมร่วง และการกดไขกระดูก (มีเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ เกร็ดเลือดต่า) อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยจะได้รับคาแนะนาและการดูแลอย่าง สม่าเสมอ จากแพทย์/พยาบาลด้านเคมีบาบัด ทั้งก่อนรับการ รักษา ระหว่างรับการรักษา และภายหลังรับการรักษา ซึ่งถ้า สงสัย/กังวลหรือมีอาการผิดปรกติ ผู้ป่วย/ครอบครัวควร ปรึกษาแพทย์/พยาบาล อย่าเก็บความกังวลไว้

2.4.5 ฮอร์โมน ฮอร์โมน คือ สารทางชีวเคมี (biochemical substances) ซึ่งมีหลายชนิด โดยสร้างขึ้นจากอวัยวะต่างๆในร่างกาย เช่น ต่อมไทรอยด์ รังไข่/อัณฑะ และต่อมใต้สมอง หรือสร้าง ขึ้นจากการสังเคราะห์ในอุตสาหกรรมยา ฮอร์โมนมีคุณสมบัติในการกระตุ้นหรือหยุดยั้งการเจริญเติบโต หรือการทางานของเซลล์บางชนิด หรือภูมิคุ้มกัน/ต้านทานโรค ดังนั้น ในการรักษาโรคมะเร็งชนิดที่มีธรรมชาติของโรค ตอบสนองต่อยาฮอร์โมน การรักษาด้วยฮอร์โมนจึงสามารถ หยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้ ผลข้างเคียง การใช้ยาฮอร์โมนก็เช่นเดียวกับการใช้ยาทุกชนิด คือ อาจมีผลข้างเคียง/แทรกซ้อนได้ แต่ผลข้างเคียง/แทรกซ้อน จากยาฮอร์โมน มักไม่รุนแรง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชนิดของยา ปริมาณยาที่ได้รับในแต่ละครั้ง และปริมาณยาสะสม ผลข้างเคียง/แทรกซ้อนที่อาจพบก็เช่น อยากอาหาร ผิวแห้ง กลับมามีประจาเดือน (หลังหมดประจาเดือนไปแล้ว) กระดูก พรุน และปวดข้อ ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับคาแนะนาจากแพทย์/ พยาบาล ก่อนได้รับการรักษาด้วยยาชนิดนั้นๆ หรือหากผู้ป่วย สงสัยควรสอบถามจากแพทย์/พยาบาล อย่าเก็บไว้หรืออย่า ปรึกษากันเอง

2-13


2.5 ปัจจัยเสีย่ งต่อการเกิดความผิดปกติดา้ นจิตใจ แบ่งเป็น 2 ปัจจัยหลัก 2.5.1 ปัจจัยจากตัวโรคมะเร็ง และ หรือ ผลข้างเคียง/แทรกซ้อนจากการรักษา ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาด้านจิตใจและอารมณ์ มักเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะรุนแรงหรือการรักษา ยุ่งยากซับซ้อนหรือมีผลข้างเคียง / แทรกซ้อนจากการ ตรวจรักษามากหรือการรักษาโรคไม่ได้ผล หรือมี อุบัติการณ์การกลับเป็นซ้าได้ หรือควบคุมอาการ เจ็บปวดไม่ได้หรืออาจเป็นอาการจากยาบางชนิด

2.5.2 ปัจจัยเสีย่ งจากด้านตัวผูป้ ว่ ยเอง ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการทางจิตใจและ อารมณ์ จนกลายเป็นโรคทางจิตเวชได้ง่าย ได้แก่ ผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยตัวคนเดียว ขาดคนดูแล ที่มีนิสัย เก็บตัว ซึมเศร้าง่าย วิตกกังวลง่าย หรือที่มีประวัติเคย มีปัญหาด้านจิตใจมาก่อนหรือคนในครอบครัวมีปัญหา ด้านจิตใจ รวมทั้งปัญหาชีวิตครอบครัว การงานและ/ หรือทางเศรษฐกิจ

2-14

ผู้ป่วยโรคมะเร็งนอกจากจะมีอาการทางกายจากตัว โรคมะเร็งแล้วยังมีปัญหาทางด้านจิตวิทยา หรืออาการทางจิตใจ อารมณ์อีกด้วย มากหรือน้อยขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง อาการทาง จิตใจและอารมณ์ ที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคมะเร็ง คืออาการวิตก กังวลและอาการซึมเศร้า ผู้ป่วยส่วนมากจะสามารถผ่านพ้นระยะ ต่างๆของการปรับตัวของการปรับตัวไปได้ด้วยตนเอง ระยะเวลา ที่มีความไม่สบายใจนี้จะแตกต่างกันไป ตั้งแต่เป็นสัปดาห์จนถึง เป็นเดือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและสมรรถภาพในการปรับตัว ของผู้ป่วย รวมถึงขั้นอยู่กับโรค วิธีการรักษาและผลการรักษาอีก ด้วย แพทย์ผู้รักษาและบุคลากรทางการแพทย์ควรมีความรู้ใน เรื่องภาวะจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง สนใจ มีความตระหนัก และ จริงใจที่จะช่วยเหลือผู้ป่วยทั้งทางกายและจิตใจ โดยการรับฟัง การยอมรับ การให้ความกระจ่างในสิ่งที่สงสัย ให้กาลังใจ การ ปลอบโยน การให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมแสดงความ คิดเห็น ประคับประคองความภาคภูมิใจในตนเองของผู้ป่วยไว้ และช่วยเหลือผู้ป่วยในการจากกับสิ่งที่เป็นที่รักหากเขาต้องจบ ชีวิตลงในที่สุด


2.6 การรักษาทางด้านจิตวิทยา การรักษาจิตใจมีความสาคัญ และจาเป็นสาหรับผู้ป่วยมะเร็งมาก เพราะว่า เพียงแต่รู้ว่าตนเองเป็นมะเร็งเท่านั้น ผู้ป่วยก็จะหมดกาลังใจเสียแล้ว ผู้ป่วยมะเร็งในประเทศไทยส่วนใหญ่ ก่อนจะมารับการรักษาที่ถูกต้องนั้น มักจะ หมดแล้ว ทั้งกาลังกาย กาลังใจ และกาลังทรัพย์ และโดยเฉพาะในระยะสุดท้าย ของโรค นอกจากผู้ป่วยจะมีอาการไม่สบาย เจ็บปวดทางกายแล้ว ผู้ป่วยยังมี ความรู้สึกอ้างว้าง รู้สึกว่า ถูกทอดทิ้ง หรือเป็นที่รังเกียจแม้แต่กับญาติสนิท ฉะนั้นการให้การรักษาในด้านจิตวิทยา และการกระทาใดๆ ก็ตาม ที่ทาให้ผู้ป่วย มีจิตใจสบายขึ้น ก็จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วยเป็นอย่างมาก ผู้ป่วยอาจจะมีชีวิต ยืนยาวขึ้นอีกเล็กน้อย โดยมีความสุขใจพอสมควร แม้ว่าจะเป็นความสุข ความ พอใจเล็กๆ น้อยๆ ในช่วงสุดท้ายของชีวิตก็ตาม ผลของการรักษาโรคมะเร็งไม่ว่าจะใช้วิธีใดก็ตาม จะดีหรือเลวนั้นมิได้ ขึ้นอยู่กับแพทย์ผู้รักษาเพียงฝ่ายเดียว หากแต่ยังขึ้นอยู่กับตัวผู้ป่วยเอง ชนิดของ มะเร็ง และที่สาคัญที่สุดคือ ระยะของโรค การรักษาโดยอาศัยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทางโรคมะเร็งโดยเฉพาะ และการมีเครื่องมือในการรักษาพร้อม เป็นเพียงส่วน หนึ่งที่ทาให้การรักษาได้ผลดี แต่จะดีขึ้นถ้าหากว่า ผู้ป่วยได้สนใจต่อตนเอง หรือ มารับการรักษา ในขณะที่โรคยังเป็นน้อย และให้ความร่วมมือในการรักษาเป็น อย่างดีด้วย

2-15


2-16


2.7 ปัจจัยทางจิตใจทีม่ ีผลต่อความเจ็บป่วยทางกาย

ภาพที่ 2.5 ปัจจัยทางจิตใจที่มีผลต่อความเจ็บป่วยทางกาย ที่มา https://unsplash.com/

ภาพที่ 2.6 ปัจจัยทางจิตใจที่มีผลต่อความเจ็บป่วยทางกาย ที่มา https://unsplash.com/

2.7.1 โรคในกลุ่มปัจจัยทางจิตใจทีม่ ีผลต่อภาวะความเจ็บป่วยทางกาย (PSYCHOLOGICAL FACTORS AFFECTING MEDICAL CONDITION) หมายถึง โรคทางกายหรือภาวะความผิดปกติทางกายที่ตรวจพบว่า มีพยาธิสภาพทางกาย (anatomical lesion) การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงในระบบฮอร์โมนและ ต่อมไร้ท่อ หรือระบบภูมิคุ้มกันซึ่งมีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านจิตใจอย่างชัดเจน ปัจจัย ด้านจิตใจนี้ส่งผลอย่างชัดเจนต่อโรคทางกาย โดยอาจเปลี่ยนแปลงการดาเนินโรค หรือ ผลการรักษาก็ได้ ลักษณะของปัจจัยทางจิตใจที่มีผลต่อโรคทางกาย ได้แก่ 1. โรคทางจิตเวชทีม่ ีผลต่อโรคทางกาย เช่น โรคซึมเศร้าส่งผลต่อการฟื้นตัวของผูป้ ว่ ยโรค กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 2. อาการทางจิตเวชทีม่ ีผลต่อโรคทางกาย เช่น อาการแพนิคทาให้โรคหอบหืดกาเริบ บ่อยๆ 3. บุคลิกภาพ หรือวิธีการปรับตัวต่อโรคทางกาย เช่น การปฏิเสธว่าตนเองไม่ได้เป็น โรคมะเร็ง (pathological denial) ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม 4. พฤติกรรมเสีย่ งด้านสุขภาพ (health risk behaviors) ที่มีผลต่อโรคทางกาย เช่น การมี เพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ปองกัน (unsafe sex)ส่งผลให้ผู้ป่วยโรคเอดส์มีโอกาสรับเชื้อเอดส์มาก ขึ้น 5. ปฏิกริ ยิ าตอบสนองทางสรีวทิ ยาต่อความเครียด (stress - related physiological response) ที่มีผลต่อโรคทางกาย เช่น ความเครียดจากการทางานมีผลให้กรดในกระเพาะ

2-17


2.8 การวินจิ ฉัย แพทย์-พยาบาล 1.มีภาวะความเจ็บป่วยทางกาย มีปัจจัยด้านจิตใจที่ส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วย ทางกายนั้นๆทางใดทางหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) ทาให้เกิดภาวะความเจ็บป่วยทางกาย หรือ ทาให้อาการกาเริบหายช้าลง 2) รบกวนต่อการรักษา 3) เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของบุคคลนั้น 4) ปฏิกิริยาตอบสนองทางสรีรวิทยาต่อ ความเครียด มีผลต่อการกาเริบของภาวะความ เจ็บป่วยทางกาย ปัจจัยด้านจิตใจดังกล่าว ต้องไม่เกิดจากภาวะ หรือโรค ดังต่อไปนี้ โรคทางจิตเวชที่แสดงออก ด้วยทาการทางกาย เช่น conversion , somatization disorder , hypochondriasis, อาการทาง กายที่เกี่ยวเนื่องกับโรคทางจิตเวช เช่น อาการ อ่อนเพลียที่พบในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า และอาการ ทางกายที่สืบเนื่องมาจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการ ใช้สารเสพติด

ภาพที่ 2.7 การวินิจฉัย https://unsplash.com/

2-18


ระยะก่อนและขณะทีไ่ ด้รบั ทราบการวินจิ ฉัยโรค ระยะทีใ่ ห้การรักษา ระยะติดตามการรักษา ระยะสุดท้าย 12.9.1 ระยะก่อนและขณะทีไ่ ด้รบั ทราบการวินจิ ฉัยโรค

ผู้ป่วยมะเร็งส่วนใหญ่มักจะอยู่ในวัยที่ต้องรับผิดชอบต่อครอบครัวดังนั้นความตึงเครียด และความกังวลต่อโรคที่ได้รับการวินิจฉัยจึงค่อนข้างสูง ความรู้สึกในวันก่อนทราบผล การวินิจฉัยจึงมีลักษณะขัดแย้งกันในตัวเอง มีความสับสน ทั้งต้องการทราบผลการ วินิจฉัย แต่ก็กลัวที่จะเป็นมะเร็ง เป็นลักษณะความขัดแย้งในอารมณ์ เมื่อแพทย์บอก การวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็ง ด้วยความรู้สึกและมีเจตคติต่อโรคมะเร็งว่า เป็นโรคที่ผู้ใด เป็นแล้วต้องตายไม่มีทางรักษา พฤติกรรมก็อาจจะแสดงออกมาในรูปแบบต่าง ๆ กัน

2.9 การดูแลโดยแบ่งตามสภาพการเกิดผลกระทบทางจิตใจของผูป้ ว่ ย

การปฏิเสธความจริง การโกรธและก้าวร้าว การต่อรอง การยอมรับ ภาวะซึมเศร้า พฤติกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจเรียง หรือ ไม่เรียงตามลาดับก็ได้ เช่น ผู้ป่วยอาจจะมี ภาวะซึมเศร้า ก่อนหรือหลังภาวะการยอมรับก็ได้ ภาวะต่าง ๆ เหล่านี้ ตั้งแต่การ ปฏิเสธความจริง การต่อรอง หรือการหลบหนีความจริง ล้วนแล้วแต่สร้างความกังวล ใจให้ผู้ป่วย ซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีภาวะซึมเศร้าร่วมด้วยก็ได้

2-19


2.9.2 ระยะทีใ่ ห้การรักษา เป็นที่ทราบกันดีว่า การรักษาโรคมะเร็งมีวิธีการได้ต่างๆกัน ตั้งแต่การผ่าตัด การให้ยา เคมีบาบัด และการฉาย รังสี ซึ่งเป็นเรื่องที่ผู้ป่วยไม่ค่อยเข้าใจ และกลัวต่อ ภาวะแทรกซ้อนมาก ดังนั้นผู้ป่วยควรสอบถามแพทย์เกี่ยวกับวิธีการรักษาต่างๆ, ภาวะแทรกซ้อน และวิธีการดูแลตนเองในระหว่างการรักษา ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึก มั่นใจยิ่งขึ้น

2.9.3 ระยะติดตามการรักษา ระยะนี้ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีความสบายใจ และมั่นใจมากขึ้น เนื่องจากผลการรักษา มักจะขจัดอาการต่างให้ดีขึ้นอย่างชัดเจน เช่น อาการปวด หอบเหนื่อย หรืออาการ ทางระบบประสาท เช่น แขนขาอ่อนแรง ในระยะนี้ผู้ป่วยมักจะมีความสบายใจมากขึ้น แต่ก็มีความกังวลใจเกี่ยวกับการกลับเป็นใหม่ หรือ การกระจายของโรค ดังนั้นจึง มักจะแสวงหาสิ่งอื่น ๆ มาเสริมสร้างกาลังใจ เช่น การใช้ยาสมุนไพร ตลอดจนยาพระ ยาหม้อ เป็นต้น 2.9.4 ระยะสุดท้าย ระยะนี้ผู้ป่วยจะท้อแท้เป็นที่สุด บางครั้งมีความรู้สึกอยากตาย บางครั้งรู้สึกไม่อยาก ตาย รู้สึกยังมีสิ่งที่ยังไม่ได้จัดการอีกมาก ดังนั้นการกระทาใดๆที่สามารถกระทาให้ ผู้ป่วย รู้สึกพึงพอใจเป็นสิ่งสาคัญ จะเป็นการปรับตัวและจิตใจ นาไปสู่การดูแลผู้ป่วยที่ ดีขึ้นได้

ภาพที่ 2.8 สภาพการเกิดผลกระทบทางจิตใจของผู้ป่วย https://unsplash.com/

2-20


2.10 ปฏิกริ ยิ าทางจิตใจและพฤติกรรมของผูป้ ว่ ย ผู้เจ็บป่วยทุกรายต้องเผชิญกับปัญหาชีวิต ย่อมมีความกังวลเป็น ธรรมดา กังวลและซึมเศร้า เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด แต่การแสดงออก อาจไม่เท่ากัน ระยะเวลาที่มีอาการสั้นหรือยาว ย่อมขึ้นอยู่กับ ความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยลาดับขั้นตอนของการแสดงออก ทาง อารมณ์และพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยโรคร้ายแรง ได้แก่ 2.10.1 ตกใจและปฏิเสธความจริง (shock and denial) ผู้ป่วยตกใจต่อการที่ทราบหรือสงสัยว่าตน เป็นโรคร้ายที่รักษาไม่ หายและอาจต้องเสียชีวิตในเวลาอันใกล้ อาจมีอาการ “ช้อค” กังวล มาก สับสนซึมเฉย หรือถ้าตกใจมากอาจเอะอะโวยวาย ควบคุมอารมณ์ ไม่ได้ ในระยะนี้ผู้ป่วย จะปฏิเสธความจริง ปฏิเสธว่าตนไม่ได้เป็นโรค นั้นๆ อาจโทษว่าแพทย์ตรวจผิด ผู้ป่วยจะ พยายามหาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อลบล้างผลการตรวจของแพทย์ อาจไปหาแพทย์หลายคน เพื่อให้ ยืนยันว่าตนไม่ป่วย 2.10.2 กังวล สับสน และโกรธ (anxiety, anger) เมื่อไม่สามารถปฏิเสธความจริงได้ต่อไปผู้ป่วย เริ่มมีความกังวลมาก ความคิดสับสน รู้สึกอึดอัดและหาทางออกไม่ได้ รู้สึกโกรธที่ตนต้อง เผชิญกับปัญหาที่ร้ายแรง อาจโทษว่าเป็นความผิดของแพทย์หรือผู้อื่น บางรายอาจแสดง วาจาหรือกิริยาที่ก้าวร้าว มีการต่อต้านการตรวจและ คาแนะนาของแพทย์ โกรธญาติและคน อื่นๆ

2-21


2.10.3 ต่อรอง (bargaining)

2.10.5 ยอมรับความจริง (acceptance)

ต่อมาผู้ป่วยจะเริ่มสงบลง ต่อรองว่าตนอาจจะไม่เป็นโรคร้ายแรง อาจจะกลับไปสู่ ระยะปฏิเสธความจริงได้อีก บางรายก็มีความหวังว่าจะมีการตรวจละเอียดที่ พบว่าตน ไม่เป็นโรคร้ายหรือเป็นชนิดที่ไม่มีอันตรายและรักษาได้ ทั้งนี้ก็เพื่อเพิ่มความหวัง ให้กับ ตนเองและยึดเวลาก่อนที่จะยอมรับความจริงไปอีกสักระยะหนึ่ง

ระยะต่อมาผู้ป่วยยอมรับความจริงที่ตนหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาการเศร้าลดลง มีการซักถามถึง รายละเอียดของโรคที่เป็นและวิธีรักษา แต่ในบางรายอาจ เฉยๆ และแสดงความไม่สนใจ ปล่อยให้ เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของแพทย์และญาติใน เรื่องการรักษาต่อจากนี้ผู้ป่วยก็เริ่มปรับตัวต่อ การรักษาและการดาเนินชีวิตต่อไป ผู้ป่วยเริ่มรับ ฟังคาแนะนาของแพทย์ ให้ความร่วมมือในกา รักษาและร่วมรับผิดชอบตนเองมากขึ้น พยายาม หาวิธีและแนวทางในการดาเนินชีวิต การปรับตัว ต่อครอบครัวและผู้ร่วมงาน ตลอดจนการ ติดต่อกับแพทย์และพยาบาลผู้ให้การรักษาเตรียมตัว เผชิญกับความทุกข์ทรมานทั้งทางกาย และทางใจ และเผชิญกับตายในที่สุดหากโรคนั้นรักษาไม่หาย การแสดงออกของผู้ป่วยไม่ จาเป็นจะต้องเรียงลาดับขั้นตอนดังกล่าวนี้เสมอไป อาจจะข้ามขั้นตอน หรือมีการแสดงออก เพียงบางขั้นตอนเท่านั้นก็ได้

2.10.4 เศร้า และหมดหวัง (depress)

ผู้ป่วยจะเริ่มรู้สึกหมดหวังและเศร้าโศกเสียใจเมื่อเริ่มยอมรับ ความจริงของการเป็น โรคร้าย หลังจากที่การปฏิเสธและการต่อรองไม่เป็นผลสาเร็จ ผู้ป่วยจึง ต้องยอม จานนด้วยเหตุผล แต่จิตใจของผู้ป่วยยังไม่สามารถยอมรับได้ มีอารมณ์ซึมเศร้าต่อ การสูญเสีย มีความรู้สึกผิดรู้สึกอ้างว้าง พูดและทาสิ่งต่างๆ น้อยลง แยกตัว ชอบอยู่ คนเดียว เหม่อลอย กินไม่ได้ นอนไม่หลับ อาจมีความรู้สึกอยากตาย หรือถ้าอาการ รุนแรงอาจมี ประสาทหลอน หูแว่ว ระแวงได้

2-22


2.11 กระบวนการหายจากโรค Peden เป็นผู้ริเริ่มทา การศึกษาเกี่ยวกับ การหายในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้า (Recovery in depression) เป็นคนแรก ซึ่ง Peden(24) ได้ทาการ ศึกษากระบวนการหาย (Recovery process) จากภาวะซึมเศร้า ภายใต้แนวคิดการมองคนแบบ องค์รวมและเพื่อ ทาความเข้าใจในมนุษย์เกี่ยวกับ การตอบสนองของบุคคลต่อปัญหาสุขภาพโดยใช้ ทฤษฎี การพยาบาลสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของ เพพพลาว (Peplau’s Theory) ซึ่ง Peden ได้ ทา งานศึกษาเชิงคุณภาพในผู้หญิงซึมเศร้าจานวน 7 คน ในสตรีอายุ 29-53 ปีเป็นผู้ที่ เคยเข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาลอย่างน้อย 1 ครั้ง จากการ ป่วยด้วยภาวะซึมเศร้า และขณะทาการศึกษาผู้ป่วย รับรู้ว่าตนเองกา ลังอยู่ในช่วงการหายจากภาวะ ซึมเศร้า ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการฟื้นหาย จากภาวะซึมเศร้ามี3 ระยะ เป็นกระบวนการที่ เป็นพลวัต (dynamic) โดยไม่มีรูปแบบตายตัวว่า กระบวนการฟื้นหายจะต้องเริ่มต้นที่ ระยะที่ 1 แล้วไประยะที่2 และระยะที่3 อาจเกิดขึ้นในเวลา ใกล้เคียงกันหรือคาบเกี่ยวกัน ของระยะต่างๆ มีการ เคลื่อนไหวในระยะต่างๆ ตลอดเวลา โดยเริ่มต้นจาก

ระยะที่ 3 เป็นระยะรูส้ กึ มีคณุ ค่าในตนเอง (Self-esteem) ซึ่งเชื่อมโยงกับการดารง ความสมดุล (maining balance) ซึ่งระยะนี้เป็นจุดที่มีภาวะ สุขภาพดีที่สุด (mosthealthypoint) ในกระบวนการหายโดยประสบการณ์การประสบความสาเร็จในระยะที่ 2 ช่วยเอื้อให้มีการคงอยู่และดาเนินต่อไปการยอมรับตนเองเกิดในระหว่างกระบวนการ หายสา หรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า รู้ข้อดีข้อเสียของตนเองและมีความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ซึ่งเป็นสิ่ง ที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองเป็น ประสบการณ์แรกและนาไปสู่การดารงไว้ซึ่งความสมดุลโดยผู้ป่วยจะพยายามใช้ทักษะ ต่างๆในการหายอย่างสม่าเสมอเพื่อเกิดความสาเร็จที่ต่อเนื่องและช่วยในการคงไว้ ซึ่ง ความสมดุล ซึ่งทักษะต่างๆได้รับการส่งเสริมจากบุคลากรทางวิชาชีพจะใช้ในช่วง ระยะแรกๆ ของการหายและใช้เมื่อภาวะซึมเศร้าลดลงแล้ว

กระบวนการฟื้นหายจากโรคซึมเศร้าเป็น ประสบการณ์ตามการรับรู้ของผู้ป่วย เป็นวิถีทาง ที่จะทา ให้ผู้ป่วยหายจากโรคซึมเศร้า ซึ่งเป้าหมาย ของการหายไม่ได้หวัง เพียงแต่ให้อาการซึมเศร้า ลดลงเพียงอย่างเดียว จะต้องประกอบไปด้วย กระบวนการ เยียวยารักษา และสร้างชีวิตใหม่ด้วย ตัวของผู้ป่วยเอง และการที่พยาบาลมีความเข้าใจ กระบวนการหายรวมไปถึงลักษณะและปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการหายจากโรคซึมเศร้าช่วย ให้พยาบาล สามารถออกแบบกิจกรรมการพยาบาลได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย โรคซึมเศร้าให้มีการหายมากที่สุด

ระยะที1่ เริ่มจากจุดเปลีย่ น หรือภาวะวิกฤต ในชีวิต(Turningpointor crisis) และ การสนับสนุน จากเจ้าหน้าที่วิชาชีพ (Professional support) ซึ่งนา ไปสู่การ ประคับประคองจากวิชาชีพสุขภาพ ระยะที่ 2 ฟืน้ หายด้วยการกาหนดตนเอง ซึง่ มีองค์ประกอบย่อยคือ การสนับสนุน จากเพื่อน และครอบครัว การทา งานหนัก และการประสบ ความสาเร็จ การกาหนด ตนเองนี้รวมไปถึงการเลือก ที่มีสติ หรือมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือก การตัดสินใจ นั้น ซึ่งการสนับสนุนจากเพื่อน และ ครอบครัวเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของการหาย (recovery) รวมถึงสัมพันธภาพในเชิงบวกเครือข่าย การช่วยเหลือทางสังคมที่เพียงพอจะ ช่วยป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าได้

2-23


2.12 ลักษณะและปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการหายจากโรคซึมเศร้า

D R

การหายขาดจากโรคซึมเศร้าเป็นเป้าหมายหลักที่สาคัญของบุคคลกรทาง การแพทย์ที่ทาการ รักษา เพื่อมุ่งไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีสาหรับผู้ป่วยจากการทบทวน วรรณกรรมเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การหายจากภาวะซึมเศร้า ผู้วิจัย สามารถสรุปออกมาในลักษณะการหายจากภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การหายจากโรคซึมเศร้าได้ ดังนี้

E P

1. ลักษณะการหายจากภาวะซึมเศร้า สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ด้านดังนี้ 1.1 ด้านอารมณ์และจิตใจ ไม่รสู้ ึกกังวล หรือกังวลลดลง รูส้ ึกสบายใจ ไม่ เครียด จิตใจ เข้มแข็ง อารมณ์ดียิ้มได้จิตใจแจ่มใส ร้องไห้ลดลง สดใส ร่าเริง สนุกสนาน หัวเราะได้มีความสุข

1.2 ด้านร่างกาย นอนหลับได้ดีรบั ประทาน อาหารได้ไม่มอี าการทางกาย 1.3 การมีศักยภาพ ทางานได้ ทางานดีขนึ้ อยากทางานการตัดสินใจดีขนึ้ มีความมั่นใจ ในตนเองมากขึ้น ช่วยเหลือตนเองได้พึ่งพาผู้อื่นลดลงควบคุมตนเอง ได้ดีขึ้นกลับไปทากิจกรรม ต่างๆ ที่เคยทาได้

SS I O N

1.4 ด้านสังคม มีปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ นื่ พูดคุยกับผูอ้ นื่ มากขึน้ เข้าสังคมได้ อยากร่วม กิจกรรมทางสังคม 1.5 ด้านความคิด มองโลกในแง่ดมี ีความคิดที่ดเี ปลีย่ นแปลงทัศนคติใหม่ ยอมรับใน ตัวเองเข้าใจตัวเองไม่คิดมากไม่ฟุ้งซ่านปล่อยวางปลงได้มองปัญหาว่า เป็นเรื่องธรรมดา 1.6 ด้านจิตวิญญาณ มีความหวังมีกาลังใจมีความเชือ่ มัน่ ว่าจะหาย

2-24


2.13 ปัจจัยการหายจากภาวะซึมเศร้า แบ่งออก เป็น 2 ปัจจัยหลักคือ 2.13.1 ปัจจัยภายในบุคคล การยอมรับ ตัวเอง เป็นตัวของตัวเอง การมีความเชื่อมั่น ในตนเองมีการเติบโตในตนเอง การมีความหวัง การมี กาลังใจมีแรงใจ การเป็นคนมองโลกในแง่ดี การตระหนักรู้ถึงสาเหตุของ ปัญหา การมีเป้าหมาย ในชีวิต การมีสุขภาพที่แข็งแรง มีความสามารถ ใน การควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อ ภาวะซึมเศร้าและการฟื้นหาย มุ่งแก้ไขที่ตนเอง มากกว่าการเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่น การมีความคิด ที่จะ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเองและการใช้ชีวิต ความสามารถในการจัดการกับ ปัญหา สิ่งแวดล้อม ต่างๆ

2.13.2 ปัจจัยภายนอกบุคคล ครอบครัว เพื่อน เพื่อนร่วมงาน บุคลากรทางการแพทย์ สังคมสิ่งแวดล้อมคอยให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ทั้ง ด้านอารมณ์วัตถุสิ่งของและแรงงาน ให้ความ เข้าใจและยอมรับในตัวผู้ป่วย มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย และการที่ผู้ป่วยได้รับกิจกรรมบาบัดมีกิจกรรม ทางศาสนา งานอดิเรก และการได้รับยารักษาต่างๆ การให้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่ถูกต้องกับผู้ป่วย จะทา ให้ผู้ป่วยรู้จักวิธีในการเผชิญกับปัญหา จัดการ กับอาการด้วยตนเอง และผลจากการบาบัดช่วยให้ ผู้ป่วยรู้จักวิธี เผชิญปัญหาและมีการเปลี่ยนแปลง ความคิด เข้าใจตัวเองและคนอื่นมากขึ้น

2-25


2.14 กิจกรรมบาบัดโรค 2.14.1 ความหมายของกิจกรรมบาบัด กิจกรรมบาบัด หมายถึงการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ที่มี ความความพิการทั้งทางด้า้น ร่างกายจิตใจอารมณ์และสังคม โดย ประยุกต์ดัดแปลง กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวันของผู้ป่วย ให้ เ้ป็นสื่อสาหรับการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปใช้ชีวิตอยู่ใน สังคมอย่างมีความสุขและ พึ่งตนเองได้

2.14.2 ประเภทของกิจกรรมบาบัด 1. อาชีวะบาบัด อาชีวะบาบัด หมายถึงการรักษาโดยการให้ผู้ป่วยได้ทางานด้าน อาชีวะต่างๆ เช่นการจัดสวน ทอผ้า ทากระเป๋า ทาเครื่องใช้อื่นๆ เพื่อหวังผลในแง่ของการรักษาให้ผู้ป่วยหายจากความพิการทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ 2. กลุม่ นันทนาการบาบัด กลุ่มนันทนาการบาบัด หมายถึงเป็นกลุ่มกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อรักษา โดยใช้ความรื่นเริงบันเทิงใจให้ผู้ป่วยได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน กลุ่มที่นิยมทากัน เช่น ร้องเพลงร่วมกัน เล่านิทาน เล่น เกมส์ เปิดโอกาสให้มีความสัมพันธภาพกับผู้อื่น นอกจากจะได้รับ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ผ่อนคลายความตึงเครียด ยังช่วยให้ ผู้ป่วยได้มีอิสระด้านการแสดงความคิดเห็น ความสามารถทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ ภาพที่ 2.9 กิจกรรมบาบัดโรค

2-26

https://unsplash.com/


2.15 ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อสภาพจิตใจของผู้ปว่ ยโรคมะเร็ง

1

3

2 ระยะก่อนและขณะที่ ได้รบั ทราบการวินจิ ฉัย

- เซลล์มะเร็งที่เริ่มเกิดในอวัยวะหนึ่ง - ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักอยู่ในวัยที่ต้องรับ ผิดชอบต่อครอบครัว - ความตึงเครียดและกังวลต่อโรคที่ได้รับการ วินิจฉัยจึงค่อนข้างมีสูง - ความรู้สึกและความเข้าใจที่มีอยู่แล้วว่า ผู้ที่เป็นมะเร็งจะต้องตายและไม่มีทางรักษา พฤติกรรมต่างๆที่ผปู้ ว่ ยแสดงออกมา 1.การปฏิเสธความจริง (Denying) 2.อารมณ์โกรธและก้าวร้าว (Aggression) 3.การต่อรอง (Bargaining) 4.การยอมรับ (Acceptance)

4

ระยะที่ได้รับการรักษา

ระยะติดตามการรักษา

การรักษาโรคมะเร็งมีวธิ ีการต่างๆ •การผ่าตัด •การใช้ยาเคมีบาบัด •การฉายรังสี ผู้ป่วยไม่ค่อยเข้าใจและกลัวต่อภาวะแทรกซ้อน มาก กลัวผลกระทบต่างๆจะเกิดขึ้นจากรังสี ซึ่งมีกลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะอย่างนี้ในปริมาณที่ สูงพอสมควร

ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีความสบายใจแต่ ผู้ป่วยก็มีความกังวลใจเกี่ยวกับการกลับมาเป็น ใหม่ หรือการกระจายของโรคมีความเชื่อมั่นใน การรักษาลดลง

2-27

ระยะสุดท้าย

- ระยะนี้ผู้ป่วยจะท้อแท้มากที่สุด บางครั้งมี ความรู้สึกอยากตาย - การสร้างเสริมความเข้มแข็งของสภาพจิตใจ ของผู้ป่วยให้ใช้ชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุข


2.16 การวิเคราะห์การเกิดกิจกรรมตามอาการของผูป้ ว่ ย

ความตึงเครียด

ความกลัว

ความกังวลใจ

เศร้า และหมดหวัง

ระยะก่อนและขณะที่ได้รับ ทราบการวินิจฉัย

ระยะที่ให้การรักษา

2-28

ระยะติดตามการรักษา

ระยะสุดท้าย


2-29


ประเภทของสิง่ แวดล้อม

2.17 การจัดสิง่ แวดล้อมเพือ่ การเยียวยา (Healing Environ2.17.1 ความหมายของสิง่ แวดล้อม สิ่งแวดล้อม คือ ทุกสิ่งทุก อย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตรวมทั้งที่เป็นรูปธรรม (สามารถจับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม (เช่นวัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกันเป็นปัจจัยในการเกื้อหนุน ซึ่ง กันและกัน 2.17.2 ประเภทของสิง่ แวดล้อม สิง่ แวดล้อมตามธรรมชาติ(Natural Environment) สภาพพื้น ที่ตั้งสภาพพื้นที่ โดยรอบ ทิศทางลม แสงแดดสภาพภูมิอากาศ ต่างๆในบริเวณที่ตั้งของ โรงพยาบาล สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) สภาพของ อาคาร สถานที่ ขนาดของพื้นที่ เส้นทางสัญจร แสง เสียง อุณหภูมิการระบาย อากาศของพื้นที่ต่างๆ 2.17.3 ประเภทของสิง่ แวดล้อม สิง่ แวดล้อมทางสังคม (Social Environment) วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา ศิลปกรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อผู้รับบริการ ผู้ป่วย ญาติ และ บุคลากรของโรงพยาบาล

สิง่ แวดล้อมทางด้านจิตใจ(Psychological environment ) ความรู้สึก ความ ทรงจาที่เกิดจากประสบการณ์ จะเป็นตัวกาหนดทัศนคติ ความเชื่อ คุณค่า และเจตนา ในการ กระทาของผู้คนทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยาสาหรับผู้ป่วย ผู้มารับบริการ เจ้าหน้าที่ ให้มีความอบอุ่นเหมือนบ้านที่สามารถรับรู้ ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของคน คือ การเห็น การรับกลิ่น การลิ้มรส การได้ยิน การรับรู้/ สัมผัส 2-30


2.18 ความหมายของคาว่า เยียวยา (Healing) การจัดการสุขภาพแบบองค์รวม โดยการสร้างความ กลมกลืน ของกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ เพื่อลดความเครียด และ ผ่อนคลายความวิตกกังวลของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ(Natural Environment) สภาพแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) สิง่ แวดล้อมทางด้านจิตใจ(Psychological environment) 2.18.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) Environmental Light : การจัดให้มีแสงสว่างที่เพียงพอ เหมาะสม ในพื้นที่ และการจัดให้มีแสงสว่างจากธรรมชาติเข้า มาในหอผู้ป่วย/ สถานที่ทางานในปริมาณที่เหมาะสม Color in The Environment : การศึกษาและเลือกสีที่เหมาะสม มีผลต่ออารมณ์ ความรู้สึก ของผู้ที่ใช้สอยอาคารก็จะ เสริมสร้างความ สดชื่นมีชีวิตชีวาของผู้อยู่อาศัย Environmental Landscape : การจัดสวน การปรับภูมิทัศน์ ให้ดู สวยงาม มีความงดงามของพรรณไม้ธรรมชาติน้อยใหญ่ มีก้อน หิน บ่อน้า ลาธาร น้าพุ น้าตก รวมทั้งแสงแดดธรรมชาติ

2-31


2.18.1 สภาพแวดล้อมระหว่างบุคคล 1. ระบบสนับสนุนระหว่างบุคคล ประกอบด้วย ความสัมพันธ์หลายอย่าง เช่นครอบครัว เพื่อน แพทย์ 2. สภาพแวดล้อมระหว่างบุคคลที่ดีที่สุดถูกสร้างขึ้น จากความสัมพันธ์เชิงบวกมากกว่าสิ่งที่เป้นภาระ สิ่งที่ ได้รับการเยียวยาตามธรรมชาติมีความรัก ความ เมตตา ความไว้วางใจและประโยชน์ต่อทุกคนรอบตัว 2.18.2 สภาพแวดล้อมด้านพฤติกรรม 1. สภาพแวดล้อมด้านพฤติกรรมถูกสร้างขึ้นจากการ กระทาของคนที่เราใช้ป้องกันการเจ็บป่วย ปรับปรุง สุขภาพและมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในทางที่ช่วย ให้ขั้นตอนการเยียวยาตามธรรมชาติเกิดขึ้น 2. พฤติกรรมทางสุขภาพสามารถเพิ่มความเป็นอยู่ที่ดี การเลือกรับประทานอาหารที่ดี การใช้งานทาง ร่างกายและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่แข็งแรงมี ความสาคัญสาหรับการสร้างความยืดหยุ่นและสุขภาพ และความอยู่ดีมีสุข

2.18.3 การหาแรงจูงใจในการเปลีย่ นแปลง 1. การใช้งานร่างกาย และการสร้างความยืดหยุ่นมี บทบาทสาคัญในการเยียวยาร่างกาย จิตใจและจิต วิญญาณของเรา 2. ความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิต ต้อง เปลี่ยนแปลงจากสภาพแวดล้อมเพื่อให้พบความพึง พอใจและผลตอบแทนจากพฤติกรรมด้านสุขภาพ ภาพที่ 2.10 สภาพแวดล้อม https://unsplash.com/

ภาพที่ 12.11 สภาพแวดล้อม https://unsplash.com/

2-32


ภาพที่ 12.12 วงล้อสี https://www.harding.edu/gclayton/color/

2-33


2.19 COLOR IN THE ENVIRONMENT 2.19.1 กลุม่ สีโทนร้อน เป็นกลุ่มสีที่ทาให้เกิดความรู้สึกมีพลัง เราร้อน กระตือรือร้น และกระฉับกระเฉง เช่น สีเหลือง เป็นสีแห่งความสนุกสนาน ความฉลาดรอบรู้ สดใสร่า เริง และทาให้มีอารมณ์ขัน สามารถใช้เยียวยา อาการท้อแท้หด หู่และหมดกาลังใจได้ด้วย สีแดง เป็นสีทกี่ ระตุน้ ระบบประสาทของเราได้รนุ แรง ทีส่ ุด ให้ ความรู้สึกเร้าใจ ตื่นเต้น ท้าทาย ตื่นตัว พลังของ สีแดงกระตุ้น พลังชีวิตให้มีความเข้มแข็ง กระตือรือร้น และมีชีวิตชีวา สีส้ม เป็นสีแห่งความสร้างสรรค์ อบอุน่ สดใส มี สติปญั ญา ความทะเยอทะยานที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ในขณะเดียว กันก็มี ความระมัดระวังไปในตัว มีคุณใน การบรรเทาอาการซึมเศร้า หากต้องการเรียกพลังความ กระตือรือร้นในชีวิตให้กลับคืนมา

2-34

2.19.2 กลุ่มสีโทนเย็น เป็นกลุ่มสีที่ให้ความรู้สึกสดชื่น สงบ ทาให้เรารู้สึกผ่อนคลาย สบายใจ และไม่ทาให้เครียด สีโทนเย็นจึงเหมาะอย่างยิ่งสาหรับ คน ที่ต้องทางานหนักและใช้ความคิดเป็นอย่างมาก เช่น สีเขียว ให้ความรูส้ ึกร่มรืน่ สบายตา ผ่อนคลาย ปลอดภัย ทา ให้เกิดความหวังและความสมดุล ในด้าน การรักษา ใช้เมื่อ ต้องการผ่อนคลายความตึงเครียด สีฟา้ เป็นแม่สีทใี่ ห้ความรูส้ กึ สงบเยือกเย็นเป็นอิสระ ปลอดโปรง สบาย ปลอดภัย ใจเย็น และระงับความกระวนกระวายใจได้ดี สีนา้ เงิน เป็นสีทมี่ คี วามสุขมุ เยือกเย็น หนักแน่ น และ ละเอียดรอบคอบ คลายความเหงา อีกทั้งยังเป็นสีที่ใช้ใน การ สร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดี สีมว่ ง ช่วยให้เกิดความรูส้ กึ ผ่อนคลาย กระตุน้ ให้เกิดแรง บันดาลใจ และสร้างความสงบใน จิตใจได้เป็นอย่างดี


2.20 หลักการออกแบบทีเ่ กีย่ วข้อง 2.20.1 สุนขั บาบัด แนวคิดของการบาบัดด้วยสัตว์ พบว่าสัตว์สามารถช่วยในเรื่อง การรับรู้สัมผัส เสริมสร้างสมาธิ เพิ่มความไว้วางใจผู้อื่น ให้สัมผัสที่อบอุ่น ปลอดภัย และเป็นมิตร เพิ่มแรงจูงใจในการทากิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยัง ช่วยให้เด็กเรียนรู้ในเรื่องสัมพันธภาพ และการตอบสนองทาง อารมณ์ได้ดีขึ้นด้วย

สุนัขบาบัด หรือการนาสุนัขมาช่วยในการบาบัด สามารถช่วยได้ทั้ง เรื่องของร่างกายและจิตใจ การบาบัดทางร่างกาย สาหรับผู้ป่วยที่มีอาการอัมพฤกษ์ อัมพาต โดยหลักการทั่วไปของกายภาพบาบัด จาเป็นต้องมีการบริหาร กล้ามเนื้อ ซึ่งการมีสุนัขร่วมทากิจกรรมด้วย จะทาให้ผู้ป่วยไม่รู้สึก

เบื่อหน่ายและสามารถออกกาลังได้นานขึ้น สุนัขสามารถเข้ามาช่วย ให้มีการขยับแขนหรือขาเพิ่มขึ้น โดยการโยนของไปแล้วให้สุนัขวิ่ง ไปคาบกลับมา การลูบคลา หรือการแปรงขนสุนัขก็เป็นการออก กาลังกายแขนอย่างหนึ่ง การบาบัดทางจิตใจ โดยการนาสุนัขไปแสดงโชว์ความน่ารักให้ ผู้สูงอายุหรือเด็กดู เพื่อช่วยให้คลายความเหงาลงได้ และการเลี้ยง สุนัขยังช่วยลดอาการซึมเศร้าลงได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถจัดเป็นโปรแกรมการบาบัดโดยตรง โดยมี เป้าหมายและระยะเวลาที่ชัดเจน เพื่อปรับเปลี่ยนมุมมองความคิด ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีต่อตนเอง และคนรอบข้าง ให้เป็นเชิงบวก มากขึ้น

2-35


MINIMUM SPACE REQUIREMENT FOR DOGS

ภาพที่ 2.13 Animal Housing Rooms ที่มา https://www.wbdg.org/building-types/researchfacilities/animal-research-facility

2-36


หลักการออกแบบทีเ่ กีย่ วข้อง 2.20.2 โยคะบาบัด (YOGA THERAPY) โยคะบาบัด เป็นอีกวิธที างเลือกสาหรับการช่วยบาบัดอาการและโรคทีเ่ ป็นอยู่ ควบคู่ไปกับการดูแลทางการแพทย์ เราสามารถใช้โยคะ ควบคู่ในการดูแล ร่างกายและจิตใจ เพื่อให้ร่างกายจิตใจค่อยๆ เข้มแข็ง อย่างยั่งยืนและระยะ ยาว โยคะไม่ใช่เป็นเพียงแค่การออกกาลังกายยืดเส้นสาย ยังมีการฝึกหายใจ สมาธิ รวมถึงการชาระล้างร่างกาย จิตใจ ควบคู่กันไป ให้เหมาะกับร่างกาย และจิตใจของแต่ละบุคคล การฝึกโยคะ นอกจากทาให้ร่างกายสดชื่น ความคิดและจิตใจก็จะสดใจ คิดในแง่บวกมากขึ้น โยคะบาบัด

ช่องว่าง พื้นที่ส่วนกลางต้องมีขนาดใหญ่ และควรมีห้องสาหรับบริการผู้ใช้งาน เช่น locker ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า YOGA STUDIO การออกแบบควรมีความยืดหยุ่นเพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคตหรือความ ต้องการที่แตกต่าง มาตรฐานของเสื่อโยคะประมาณ 1.70 x 0.60 เมตร โดยควร ทิ้งระยะห่างระหว่างเสื่ออย่างน้อย 50 ซม. เพื่อให้ผู้ใช้มีอิสระในการออกกาลัง กาย ภาพที่ 2.14 โยคะ ที่มา https://unsplash.com

2-37


สภาพแวดล้อม

เสียงสะท้อน ช่องว่างภายในอาคารควรจะเงียบสนิท ไม่มี เสียงรบกวนรอบข้าง หากมีเสียงควรจะเป็น เสียงธรรมชาติ ซึ่งจะทาให้เกิดการปฏิบัติที่ แตกต่างกันได้ดีขึ้น การออกแบบเพื่อการ ไหลเวียนของลม

แสง ให้ความสาคัญกับแสงโดยควรมีแสงธรรมชาติ ลอดผ่านเข้ามาภายในห้องได้ และสามารถ ควบคุมความเข้มของห้องได้ถ้าหากจาเป็น

ภาพที่ 2.15 โยคะ ที่มา https://www.archdaily.com

2-38


หลักการออกแบบทีเ่ กีย่ วข้อง 2.20.3 อโรมาเธอราพี (AROMATHERAPY) อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) หรือ สุคนธบาบัด คือ ศาสตร์ในการใช้น้ามัน หอมระเหยที่ได้จากการสกัดพืชหอม (ขอย้าว่าต้องเป็นน้ามันหอมระเหยที่ได้ จากการสกัดจากพืชเท่านั้น) เพื่อการบาบัดรักษาหลายอาการ ตั้งแต่ อาการ ติดเชื้อต่างๆ โรคผิวหนัง ไปจนถึงภูมิคุ้มกันบกพร่องและความเครียด

โต๊ะนวดขนาด 72” x 30” ความต้องการพืน้ ที่ โดยทั่วไปมีขนาด 120-140 ตารางฟุต พื้นที่สาหรับล้างมือควรมีน้าอุ่นและน้า เย็น การเก็บรักษา ควรมีห้องสาหรับจัดเก็บผ้าขนหนูไว้ ภายในหรือภายนอกได้

ภาพที่ 2.16 ขนาดเตียงนวด

ภาพที่ 2.17 ขนาดเตียงนวด

ที่มา https://www.universalcompanies.com

ที่มา https://www.pinterest.com/

ภาพที่ 3 โยคะ

2-39

ที่มา https://unsplash.com


2-40


2.21 กฏหมายที่เกีย่ วข้อง หัวข้อ/ข้อบังคับกฏหมาย

ภาพประกอบ

ส่วนที่ ๓ บันไดของอาคาร ข้อ ๒๓ บันไดของอาคารอยู่อาศัยถ้ามีต้องมีอย่างน้อยหนึ่งบันไดที่มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า ๘๐ เซนติเมตร ช่วงหนึ่งสูงไม่เกิน ๓ เมตร ลูกตั้งสูงไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๒ เซนติเมตร และต้องมีพื้นหน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันได ต้องมีความกว้างและความยาวไม่น้อยกว่าความกว้างสุทธิของบันได เว้นแต่บันไดที่มีความกว้างสุทธิเกิน ๒ เมตร ชานพัก บันไดและพื้นหน้าบันไดจะมีความยาวไม่เกิน ๒ เมตรก็ได้ บันไดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองต้องมีลูกตั้งสูงไม่เกิน ๑๘ เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้ว เหลือความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๕ เซนติเมตร และต้องมีราวบันไดกันตกบันไดที่มีความกว้างสุทธิเกิน ๖ เมตร และช่วงบันได สูงเกิน ๑ เมตร ต้องมีราวบันไดทั้งสองข้างบริเวณจมูกบันไดต้องมีวัสดุกันลื่น

ส่วนที่ ๔ บันไดหนีไฟ ข้อ ๒๘ บันไดหนีไฟต้องมีความลาดชันน้อยกว่า ๖๐ องศา เว้นแต่ตึกแถวและบ้านแถวที่สูงไม่เกินสี่ชั้น ให้มีบันไดหนีไฟที่ มีความลาดชันเกิน ๖๐ องศาได้ และต้องมีชานพักบันไดทุกชั้น ข้อ ๒๙ บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า ๖๐ เซนติเมตรและต้องมีผนังส่วนที่บันไดหนีไฟพาด ผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ

2-41


หัวข้อ/ข้อบังคับกฏหมาย

ภาพประกอบ

หมวด ๔ แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร อาคารที่สูงเกินสองชั้นหรือเกิน ๘ เมตร ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ ป้ายหรือสิ่ง ที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรือตั้งป้ายหรือคลังสินค้า ที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะ (๑) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย ๖ เมตร (๒) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน ๒๐ เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนน สาธารณะอย่างน้อย ๑ ใน ๑๐ ของความกว้างของถนนสาธารณะ (๓) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างเกิน ๒๐ เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะอย่างน้อย ๒ เมตร

กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 อาคารขนาดใหญ่ ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจานวนที่กาหนดของแต่ละประเภทของอาคารที่ใช้เป็น ที่ประกอบกิจการในอาคาร ขนาดใหญ่นั้นรวมกันหรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่อาคาร 240 ตารางเมตร เศษของ 240 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 240 ตารางเมตร ทั้งนี้ ให้ถือที่จอดรถยนต์จานวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์ ข้อ 5 ที่จอดรถยนต์ 1 คัน ต้องเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้างไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร ยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร โดยต้องทา เครื่องหมายแสดงลักษณะ และขอบเขตของที่จอดรถยนต์ไว้ให้ปรากฏ ข้อ 6 ที่จอดรถยนต์ต้องจอดให้อยู่ภายในบริเวณของอาคารนั้น ถ้าอยู่ภายนอกอาคารต้องมีทางไปสู่อาคารนั้นไม่เกิน 200 เมตร

2-42


CASE STUDY 2.22 การศึกษาและเปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง

2-43


1

CENTRE FOR CANCER AND HEALTH / NORD ARCHITECTS ARCHITECTS: NORD ARCHITECTS LOCATION: COPENHAGEN, DENMARK AREA: 2250.0 M2 PROJECT YEAR: 2011

2-44


การป่วยเป็นมะเร็งก็เหมือนกับการเริ่มต้นการ เดินทาง ผู้ป่วยจาเป็นต้องใช้ความแข็งแรงในการรับมือกับ โรค การวิจัยแสดงให้เห็นว่าสถาปัตยกรรมก็อาจจะมีผล ต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วย เช่นการสร้างบรรยากาศให้อบอุ่น ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้น PROGRAM 

courtyard for contemplation

spaces for exercises

cook healthy food

meeting rooms for patients groups etc.

2-45


2-46


2

UNIVERSITY PSYCHIATRIC CENTRE / STÉPHANE BEEL ARCHITECTS ARCHITECTS: STÉPHANE BEEL ARCHITECTS

แนวคิดในการออกแบบ ลาน ภูมิทัศน์บาบัด การเชื่อมต่อกับอาคารทุกชั้นเพื่อให้ผู้ป่วย สามารถเข้าถึงพื้นที่การบาบัดได้ด้วยการเดินผ่าน รวมทั้งยังเป็น พื้นที่สาหรับผ่อนคลายและการเชื่อมต่อกับผู้ป่วยและผู้เชี่ยวชาญ ด้านสุขภาพ ลานนี้ยังเชื่อมต่อกับห้องกีฬาเพื่อให้มองเห็นใจกลาง เมืองและพื้นที่สีเขียว

LOCATION: HERESTRAAT 49, 3000 LEUVEN, BELGIUM ARCHITECTS IN CHARGE : STÉPHANE BEEL, INGE BUYSE, ARUNAS ARLAUSKAS, KAROLIEN NOYEZ, LANDO DE KEYZER, ALEXIS LAGAE, SOPHIE DEHEEGHER, TOM CORTOOS, WOUT VANDRIESSCHE AREA: 9374.0 M2 PROJECT YEAR: 2015

2-47


แนวความคิด

2-48


HEALTHCARE CENTER IN VALENZÁ / IDOM

3

ARCHITECT: IDOM

LOCATION: VALENZÁ, ORENSE, SPAIN ARCHITECT IN CHARGE: JESÚS LLAMAZARES CASTRO AREA:1952.0 M2

2-49


2-50


2.23 เปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง ARCHITECTURE

LOCATION

CENTRE FOR CANCER AND HEALTH / NORD ARCHITECTS

COPENHAGEN, DENMARK

PROGRAM 

COURTYARD FOR CONTEM-

AREA 2250.0 m2

PLATION

UNIVERSITY PSYCHIATRIC CENTRE / STÉPHANE BEEL ARCHITECTS

HERESTRAAT 49, 3000 LEUVEN, BELGIUM

HEALTHCARE CENTER IN VALENZÁ / IDOM

VALENZÁ, ORENSE, SPAIN

SPACES FOR EXERCISES

COOK HEALTHY FOOD

MEETING ROOMS FOR PA-

CONSULTATION ROOMS

TRAINING AND ADMINISTRATION ROOMS

HOSPITALISATION UNITS

SPORTS HALL

HEALTH EDUCATION ROOM

MULTIPURPOSE ROOM

BOARD ROOM AND A LIBRARY

2-51

9374.0 m2

1952.0 m2


CONCEPT

LAYOUT

PLAN

2-52

SECTION


SITE AND LOCATION ตำแหน่งทีต่ ั้งและกำรวิเครำะห์โครงกำร

3 –53


3.1 ประวัตคิ วามเป็นมาละทีต่ งั้ โครงการ ปทุมธานีเป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลาง ของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ ปริมณฑลของกรุงเทพมหานครตั้งอยู่บริเวณลุ่ม แม่น้าเจ้าพระยาทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานีมีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมือง มาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ปีนับตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อ พ.ศ. 2202 มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัว มอญ เมืองเมาะตะมะ อพยพหนีภัยจากศึกพม่า เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยาซึ่งสมเด็จพระนาย รายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้าน สามโคก ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชแห่งกรุงธนบุรี ชาวมอญได้อพยพหนีพม่า เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งบ้านเรือน ที่บ้านสามโคกอีกและในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยก็ได้มีการอพยพชาวมอญ ครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทย เรียกว่า"มอญใหญ่"พระองค์ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้าน สามโคกอีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็กบ้าน สามโคกจึงกลายเป็นเมืองสามโคกในเวลาต่อมา

พืน้ ที่ เป็นที่ราบลุ่ม ตั้งอยู่บริเวณสองฝั่งคลองรังสิต เขตพืน้ ที่ ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บึงบา อ.หนองเสือ ทิศใต้ ติดต่อ ต.บึงทองหลาง อ.ล้าลูกกา ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.บึงน้​้ารักษ์ อ.ธัญบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.ล้าผักกูด อ.ธัญบุรี 3.1.2 ประวัตคิ วามเป็นมาต้าบลบึงสนัน่ ต้าบลสนั่น(ช่วงคลอง9-11ถนนรังสิต-นครนายก กม.21-26) เป็นต้าบลหนึ่งในอ้าเภอธัญบุรี อดีต เป็นพื้นที่ป่ามีบึงน้​้าขนาดใหญ่ ซึ่งมีชื่อแดนสี่สิบ มีเขตแดนระหว่างอ้าเภอล้าลูกกาและอ้าเภอ ธัญบุรี (ในปัจจุบัน)บึงน้​้านี้มีสัตว์ป่าลงมากินเป็น จ้านวนมาก เช่น ช้างป่า หมู่ป่า เก้ง กวาง สุนัข ป่า และเสือโคร่งฯลฯ จะมีเสียงเอ็ดอึงอึกทึก ครึกโครมดังสนั่นลั่นทุ่งอยู่เป็นประจ้า ชาวบ้านจึง เรียกว่าบึงสนั่น ต่อมายกฐานะเป็นต้าบลบึงสนั่น ขึ้นอยู่กับอ้าเภอรังสิต (ธัญบุรี)

ภาพที่ 3.1 จังหวัดปทุมธานี

3-54

ที่มา https://google.com/


3.1.3 ข้อมูลสถิตพิ นื้ ที่ 1. ลักษณะภูมอิ ากาศ อากาศร้อนชื้น มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน อยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือน พฤษภาคม ฤดูฝน อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน ถึง เดือนตุลาคม ฤดูหนาว อยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือน มกราคม 2. เนือ้ ที่ อ้าเภอธัญบุรี ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดปทุมธานีไปทาง ทิศตะวันออก ประมาณ 26 กิโลเมตรมีจ้านวนทั้งสิ้น 6 ต้าบล แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ส้าหรับทิศเหนือจะเป็นหมู่บ้านเลขคู่ ส่วน ทิศใต้จะเป็นเลขคี่ มีพื้นที่ประมาณ 69,925 ไร่ 3. เส้นทางการคมนาคม การคมนาคมทางบก เป็นทางหลักของชุมชนได้แก่ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 305 (ถนนรังสิต-นครนายก) และตามคลองซอยต่างๆ จะมีถนนเลียบคลอง ส่วน ถนนรังสิตนครนายกจะแบ่งเป็น 2 ฝั่งคลอง

3-55


ภาพที่ 3.2 แผนที่จังหวัดปทุมธานี ที่มา สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์

3-56


3.2 ผังสีและการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ จังหวัดปทุมธานี 3.2.1 การใช้ประโยชน์ที่ดนิ ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๑.๑ ถึงหมายเลข ๑.๒๖ ที่ก้าหนดไว้เป็น สีชมพู ให้เป็นที่ดิน ประเภทชุมชน ข้อ ๘ ที่ดินประเภทชุมชน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการ อยู่อาศัย พาณิชยกรรม เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ส้าหรับ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้เป็นไปตามที่ ก้าหนด ดังต่อไปนี้

(๑) ให้ด้าเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่ เกิน ๒๓ เมตร การวัดความสูง ของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดิน ที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า ส้าหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัด จาก ระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (๒) ให้ใช้ได้ไม่เกนริ ้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละ บริเวณ

ภาพที่ 3.3 แผนที่จังหวัดปทุมธานี ที่มา http://www.ratchakitcha.soc.go.th

3-57


3.3 ลักษณะทางกายภาพ ทีต่ ั้งโครงการ ถนน รังสิต-นครนายก ต้าบล บึงสนั่น อ้าเภอ ธัญบุรี ปทุมธานี 12110

ภาพที่ 3.4 แผนที่จังหวัดปทุมธานี

SITE

ROAD

RIVER

3-58

ที่มา http://www.ratchakitcha.soc.go.th


ภาพที่ 3.5 ต้าแหน่งที่ตั้ง

3-59

ที่มา สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์


โรงพยาบาล มหาวชิราลงกรณ ธัญบุรีเป็นโรงพยาบาลที่รักษา ผู้ป่วยโรคมะเร็ง สังกัดกรมการแพทย์ 

เป็นโรงพยาบาลที่ได้รับรางวัลโรงพยาบาลที่มีระบบ การบริหารจัดการอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ การให้ บริการผู้ป่วยด้านความปลอดภัย และเอื้อต่อ การเยียวยาโดยได้รับรางวัล Healing Environment Award และรางวัล Spiritual Healthcare Award : SHA ปี 2556 เป็นแหล่งศึกษาดูงานและถ่ายทอดองค์ความรู้ จาก องค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆจากภาครัฐและ เอกชน ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์และพระบรมราช ชนนีและโรงพยาบาลศิริราช

3.5 กิจกรรมหรือโครงการทีส่ นับสนุน เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางที่รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง รวมทั้งมี ความใส่ใจในการดูแลสุขภาพจิตของผู้ป่วย มีการบ้าบัด ทางด้านจิตใจและกิจกรรม ที่เป็นปัจจัยการเกิดกิจกรรมบ้าบัดของโครงการ •การเข้าถึงโครงการ การเดินทางสะดวกต่อผู้ใช้หลัก เช่น มีรถโดยสารประจ้า ทางผ่าน มีรถรับ-ส่งของทางโรงพยาบาล •สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยที่ส้าคัญที่ส่งผลต่อทางด้านจิตใจ เช่น สภาพแวดล้อมที่ไม่มีมลภาวะรบกวน เช่น เสียง การจราจรที่แออัด

3.4 การวิเคราะห์ทตี่ งั้ โครงการ

•บริบทโดยรอบ

ลักษณะผู้ใช้งาน

เหมาะสมต่อการเกิดโครงการที่เป็นศูนย์บ้าบัด คือ ห่างไกล จากโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารสูงที่จะส่งผลต่อทางด้าน จิตใจของผู้ป่วย

เป็นผู้ใช้งานที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ ผู้ป่วยโรคทางกายเรื้อรังที่เป็นสาเหตุการตายอันดับ 1ของ ประเทศไทยซึ่งได้แก่ ผู้ป่วยโรคมะเร็งและมีปัจจัยเสี่ยงต่อการมีภาวะซึมเศร้ามาก ที่สุด 3-60


ภาพที่ 3.6 ที่ตั้งโครงการ ที่มา สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์

3-61


ACCESS / PATH

SUN

3.6 เกณฑ์การวิเคราะห์ที่ตงั้

WIND

SOUND

DUST

CONNECTION

3-62

Approach and Invitation เป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของโครงการอย่างมาก ซึ่งจะ ส่งผลไปยังปริมาณผู้เข้ามาใช้โครงการเนื่องจากควรที่จะสามารถ มองเห็นโดยง่ายจากในระยะใกล้ Linkage ในที่ตั้งของโครงการ ควรจะสามารถเชื่อมต่อกับโครงการที่มีลักษณะ กลุ่มเป้าหมายใกล้เคียงกันมีลักษณะกิจกรรมที่สนับสนุนเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันหรือมีความเอื้ออานวยต่อโครงการได้ Project Expansion เป็นหลักเกณฑ์ประกอบในการเลือกที่ตั้งโครงการเพื่อที่เตรียมรองรับ การขยายตัวของโครงการหรือสภาพแวดล้อมของโครงการต้องมี ศักยภาพที่ดีพอที่จะสามารถรองรับการขยายตัวของโครงการที่ อาจจะเกิดขึ้นภายในอนาคต Conformity อาคารของโครงการไม่ควรก่อให้เกิดผลเสียหรือผลกระทบกับอาคาร โดยรอบมีความเหมาะสมกันในด้านประเภทอาคารที่ใกล้เคียง ส่งเสริมกันได้ Surrounding สภาพแวดล้อมมีความส้าคัญมากที่สุดในการเลือกที่ตั้งโครงการ ควร ตั้งอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่ดี อยู่ในแหล่งกิจกรรมที่มีภาพลักษณ์ส่งเสริมต่อ โครงการที่ได้จัดตั้ง


3.7 ขนาดทีต่ งั้ และบริบทโดยรอบ

68

163

163

SITE

67

ภาพที่ 3.7 ขนาดที่ตั้งโครงการ ที่มา : สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์

3-63

ภาพที่ 3.8 ที่ตั้งโครงการ ที่มา : สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์


ต้าแหน่งของโรงพยาบาล

เส้นทางการเดินรถ

พื้นที่สีเขียวภายในโรงพยาบาล

3-64


3.8 ทัศนียภาพของทีต่ ั้งโครงการ มุมมองทางด้านทิศเหนือ

ภาพที่ 3.9 ทัศนียภาพรอบที่ตั้งโครงการ ที่มา : สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์

3-65


มุมมองทางด้านทิศใต้

มุมมองทางด้านทิศตะวันออก

ภาพที่ 3.10 ทัศนียภาพรอบที่ตั้งโครงการ ที่มา : สุภาภรณ์ โสมณวัฒน์

3-66


ARCHITECTURAL PROGRAMING กำรศึกษำรำยละเอียดโครงกำรและกำรออกแบบ

4 –67


4.1 ที่มาของโครงการ โรคทางกายเรื้อรัง หมายถึงโรคที่รักษาไม่หายการรักษาเป็นเพียงการพยุงไม่ให้มีการสูญเสียการท้างานของ ร่างกายมากขึ้นกลุ่มที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังดังกล่าวและญาติใกล้ชิดจะมีปัญหาสุขภาพจิตด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคทางกายที่มีอาการป่วยทางจิตร่วมด้วย จะท้าให้โอกาส การฟื้นตัวบรรเทาจากโรคเป็นไปได้ยากขึ้นโดยในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่ไม่มีโรคประจ้าตัวจะมีความ เสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจ้าตัวเรื้อรังจะมีความเสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้าสูงกว่า คนทั่วไปถึงร้อยละ 25-33 ผลที่ตามมาก็คือ จะท้าให้อาการผู้ป่วยทรุดลง รักษายากขึ้น เป็นวัฏ จักรหมุนเวียนไม่สิ้นสุด กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง นั้นเป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถ ติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวน้าโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากไลฟ์สไตล์วิธีการใช้ชีวิต ที่มี พฤติกรรมเสี่ยงอย่างเหล้า บุหรี่ ขาดการออกก้าลังกาย อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียด ส้าหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง 14 ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และที่ส้าคัญ ยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.ศ. 2552 พบว่า มี ประชากรเสีย ชีวิต จากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิต ของประชากรไทยทั้งหมดในปี 2552 โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder) คือโรคทางจิตเวชประเภทหนึ่ง ที่ท้าให้ผู้ป่วยมี อาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด ซึ่งอาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการด้าเนิน ชีวิตประจ้าวัน ท้าให้รู้สึกว่าตัวเองไม่มีความสุข มีแต่ความวิตกกังวล เกิดจากความผิดปกติของ สารเคมีในสมองชื่อ เซโรโทนิน (Serotonin) มีปริมาณลดลง ท้าให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึกท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนานกับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่น กลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้ความสามารถในการท้างานลดลง

4-68


4.2 แนวความคิดโครงการ โครงการนี้เป็นโครงการที่เกี่ยวกับการเยียวยาทั้งทางด้าน จิตใจและร่างกายของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาล แนวคิดการ ออกแบบจึงเน้นไปที่การท้ากิจกรรม และสภาพแวดล้อมภายใน โครงการ โดยใช้หลักการการออกแบบที่สามารถแบ่งปันทั้งด้านพื้นที่ และความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ การเชื่อมต่อกันระหว่างพื้นที่ภายใน โครงการและสภาพแวดล้อม พื้นที่ว่าง ระบบสัญจรภายในโครงการ เป็นต้น โดยแนวคิดโครงการสามารถแบ่งออกได้ ดังนี้ 1. แนวความคิดด้านหน้าที่ใช้สอย (Function Concepts)

2. แนวความคิดด้านรูปแบบ (Form Concepts) 4.2.1 แนวความคิดด้านหน้าทีใ่ ช้สอย (FUNCTIONCONCEPTS) แนวความคิดโครงการด้านหน้าที่ใช้สอยเป็นส่วนที่แสดงถึงรูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการกับรูปแบบ การใช้พื้นที่ โดยจัดได้ว่าเป็นความสัมพันธ์ในหลายปัจจัยของข้อมูล พื้นฐาน ดังนั้นในการก้าหนดแนวความคิดด้านนี้จึงแยกออกมาทีละ องค์ประกอบโดยแทรกพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในแต่ละองค์ประกอบ ให้เห็นอย่างชัดเจนโดยการแสดงรายละเอียดจะเป็นตามล้าดับ องค์ประกอบดังนี้

4 –69

4.2.2 ลักษณะประเภทพืน้ ทีก่ ิจกรรมภายในโครงการ - ส่วนส้าหรับท้ากิจกรรมบ้าบัด ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกที่เข้า มารับการรักษา ทั้งชนิด ไป-กลับและต้องะพักรักษาตัว

- ส่วนส้านักงาน คือ คอยประชาสัมพันธ์และด้าเนินงานในการรับ ผู้ป่วยเข้าท้ากิจกรรมบ้าบัด - ส่วนฝึกสุนัขบ้าบัด คือพื้นที่ส้าหับพักของสุนัขและฝึกสุนัข ใน การเข้ารับการท้ากิจกรรมสุนัขบ้าบัด 4.2.3 ผูใ้ ช้โครงการประเภทผูใ้ ช้ภายใน

แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ส่วนพักบุคลากรของโครงการ ส่วนให้ความรู้และค้าแนะน้าปัญหา ด้านจิตใจเต่อภาวะซึมเศร้าที่ผู้ป่วยต้องเผชิญส่วนพัฒนาศักยภาพ และให้ความรู้ผู้ที่สนใจในการเป็นจิตอาสา ส่วนฝึกและดูแลสุนัข จะประกอบไปด้วย 1.ผู้อ้านวยการศูนย์ 2.ผู้ช่วยผู้อ้านวยการ 7.ทีมแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ 3.ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 8.พยาบาล 9.ฝ่ายผู้เชี่ยวชาญการท้ากิจกรรม 4.ฝ่ายลงทะเบียน 10.ฝ่ายดูแลและฝึกสุนัข 5.ฝ่ายงานทะเบียน 11.ฝ่ายเทคนิคและซ่อมบ้ารุง 6.ฝ่ายต้อนรับ


4-70


4-71


ส่วนบริการ (SERVICE SPACE) ส่วนแพทย์และพยาบาล (DOCTOR &NURSE UNIT) ส่วนบ้าบัด (THERAPY SPACE) YOGA THERAPY

AROMATERAPY DOG THERAPY HANDMADE SPACE ส่วนพัฒนาและสนับสนุนโครงการ (SUPPORT EDUCATION ZONE) ส่วนสาธารณะ (PUBLIC ZONE)

ส่วนจอดรถ (PARKING ZONE) โดยแต่ละส่วนจะมีการก้าหนดแนวความคิดโครงการ(Programing Concept) ตามแนวความคิดที่สัมพันธ์กับข้อมูลพื้นฐาน โดย สามารถแสดงรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบโครงการ ด้วย หัวข้อแนวความคิดต่างๆดังนี้ 1. แนวความคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับความสัมพันธ์(Relationship) - แผนผังความสัมพันธ์ (Functional Diagram) 2. แนวความคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรม (Activities) - การจัดกลุ่มกิจกรรม (Activities Grouping) - ลาดับความส้าคัญของกิจกรรม (Sequence of Activities )

4-72

- การลาดับความส้าคัญของผู้ใช้ (Order of Importance) - ความต้องการพื้นที่ของกิจกรรม (Activities Requirement) 3. แนวความคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบการจัดการ(Operation) - ระบบบริการ (Service Management) - ระบบรักษาความปลอดภัย (Security Control) - ระบบสัญจร (Circulation System) - ระบบจราจร (Traffic System) - ระบบการลงเวลาทางานและเวลาการพักงาน (Time Check and Breaking Time) 4.3 แนวความคิดด้านรูปแบบ(FORM CONCEPTS) แนวความคิดโครงการด้านรูปแบบแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1.หลักเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ (Criteria for Site Selection) 2.แนวความคิดโครงการด้านจินตภาพ (Image Concept) 3.หลักเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ(Criteria for Site Selection) โครงการโรงเรียนนานาชาติแห่งหาดใหญ่ เป็นสถาบันทาง การศึกษาที่ต้องพิจารณาองค์ประกอบต่างๆโดยเฉพาะจะต้องอยู่ ในที่ตั้งที่เหมาะสมต่อทั้งรูปลักษณ์โครงการ และตรงกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นหลักเกณฑ์การพิจารณาที่ตั้ง(Site)โครงการโรงเรียนนานาชาติ แห่งหาดใหญ่ จึงมีขั้นตอน ดังนี้ ก. หลักเกณฑ์ในการเลือกที่ตั้งโครงการ ข. หลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบที่ตั้ง


4.4 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมที่ ส่งเสริมต่อความต้องการของผู้ป่วย 4.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการน้าสุนัขมาบ้าบัดร่วมกับ ผู้ป่วย 4.2.3 เพื่อศึกษาทฤษฎีและการออกแบบพื้นที่ที่ตอบสนองต่อการ ท้ากิจกรรมของผู้ป่วยในโรงพยาบาล 4.2.4 เพื่อการออกแบบพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมและสนับสนุน ผู้ป่วยในโรงพยาบาล 4.5 ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากโครงการ 4.3.1สามารถน้าหลักการการออกแบบสถาปัตยกรรมมาปรับใช้ให้ เกิดความเหมาะสมต่อพื้นที่ภายในโครงการ 4.3.2เพื่อน้าแนวทางการบ้าบัดด้วยสุนัขไปพัฒนาด้านกิจกรรม ระหว่างผู้ป่วยภาวะซึมเศร้าร่วมกับโรคทางกายเรื้อรัง 4.3.3ทราบถึงพฤติกรรมการฝึกสุนัขที่เหมาะสมต่อการบ้าบัดต่อการ ท้ากิจกรรมระหว่างผู้ป่วยและสุนัข 4.3.4ได้เรียนรู้และเข้าใจขั้นตอนการบ้าบัดจิตใจด้วยสุนัขบ้าบัดต่อ ผู้ป่วยทางกาย เรื้อรังที่ สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า

4-73


4.6 โครงสร้างบริหารโครงการ

อธิบดีกรมการแพทย์ ผู้อ้านวยการโรงพยาบาล ผู้อ้านวยการศูนย์บ้าบัด

ที่ปรึกษาผู้อ้านวยการศูนย์บ้าบัด

คณะกรรมการบริหาร

กลุ่มภารกิจด้านอ้านวยการ

กลุ่มพัฒนาและสนับสนุนบริการสุขภาพ

กลุ่มภารกิจด้านบริการ

กลุ่มการพยาบาล

ฝ่ายบริหารทั่วไป

ฝ่ายกิจกรรมบ้าบัด

กลุ่มงานจิตเวช

งานผู้ป่วยนอก

ฝ่ายการเงินและบัญชี

ฝ่ายโยคะบ้าบัด

กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์

งานผู้ป่วยใน

ฝ่ายพัสดุและบ้ารุงรักษา

ฝ่ายสุนัขบ้าบัด

กลุ่มงานนักจิตวิทยา

ฝ่ายแผนงานและประเมินผล

ฝ่ายอะโรมาเทอราพี่บ้าบัด

กลุ่มงานนักกิจกรรมบ้าบัด

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

ฝ่ายงานท้ามือ

4-74


4.7 รายละเอียดผูใ้ ช้โครงการ สถิติผู้มารับบริการโรงพยาบาลมหาวิชิราลงกรณ ธัญบุรี

2556

2557

2558

2559

2560

จ้านวนผูป้ ว่ ยนอกเฉลีย่ ต่อวัน

103.17 คน

204.71 คน

219.03 คน

247.51 คน

289.44 คน

จ้านวนผูป้ ว่ ยในเฉลีย่ ต่อวัน

17.70 คน

18.76 คน

18.58 คน

18.73 คน

21.33 คน

4-75


4.8 ลักษณะผูใ้ ช้โครงการ

MAIN USER

ACTIVITY ผู้ปว่ ยนอก OFFICE

มุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยที่ถูกส่งตัวจาก โรงพยาบาลในเขตรับผิดชอบของทาง โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี

SUB USER ผู้ปว่ ยใน ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่เข้ามาพักรักษาตัว แต่ไม่สามารถท้ากิจกรรมได้มากนัก เน้นการดูแลแบบประคับประคองและ การดูแลทางจิตใจ

4-76

DOCTER

THERAPY

DOG THERAPY

DOG TRAINING

VOLUNTEER


4-77


4.9 สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ

4.9.1 SERVICE S P A C E ส่วน SERVICE โถงส่วนกลำง

จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

แผนกต้อนรับ

2

1

15

15

ประชำสัมพันธ์

2

1

15

15

งำนทะเบียน

2

1

20

120

พักคอย

300

1

400

400

ห้องอำหำร

300

1

400

400

ห้องน้ำ

-

2

60

60

Circulation 20 %

-

-

-

1100

แผนกผู้ป่วยใน / นอก

2

1

30

30

ฝ่ำยกำรเงิน

2

1

12

12

1

10

10

แผนกจิตเวช

พักคอย สัมภำษณ์ / ตรวจ

5

5

15

15

ห้องพักเจ้ำหน้ำที่

5

5

20

20

Circulation 30 %

-

-

4-78

115


4-79


4.9.2 DOCTOR &NURSE U N I T ส่วน DOCTOR AND NURSE UNIT โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

ห้องทำงำนแพทย์ - พยำบำล

10

5

15

60

Locker

10

2

5

10

ห้องน้ำ

10

2

20

40

Circulation 30 %

4-80

140


4-81


4.9.3 YOGA S P A C E ส่วน YOGA SPACE จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

แผนกต้อนรับ

1

1

15

15

งำนทะเบียน

1

1

15

15

พักคอย

100

1

50

60

ห้องเรียนโยคะ

100

10

70

700

ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้ำ

30

10

10

100

ห้องอำบน้ำ

100

20

20

400

locker female

50

1

20

20

locker male

50

1

20

20

ห้องพักพนักงำน

50

2

20

40

โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

Circulation 30 %

4-82

1800


4-83


4.8.4 HANDMADE S P A C E จานวนผู้เรียนทั้งหมด

50 คน / วัน

จานวนนักเรียนห้องละ

7-8 คน /ห้อง

ปริมาณครูผู้สอน เฉลี่ยห้องละ

2 คน / ห้อง

ส่วน HANDMADE SPACE โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

จำนวนผู้ใช้

หน่วย/

พืน้ ที/่ หน่วย

พืน้ ทีร่ วม

แผนกต้อนรับ

1

1

15

15

งำนทะเบียน

1

1

15

15

พักคอย

50

1

30

30

Workshop ทำตุ๊กตำ

15

2

50

100

Workshop ถักหมวกไหมพรม

15

2

50

100

Workshop สกรีนเสื้อ

15

2

50

100

ห้องเก็บอุปกรณ์

-

1

10

10

ห้องล้ำงทำควำมสะอำด

-

1

10

10

ห้องพักพนักงำน

12

1

20

20

Circulation 30 % 4-84

520


4-85


4.9.5 DOG T H E R A P Y จานวนใช้บริการ

150 คน / วัน

ระยะเวลาการบาบัด

2-3 ชม / 20 คน

ปริมาณผู้สอน

สุนัข 1 ตัว / ผู้ดูแล 1 คน

ส่วน Dog THERAPY จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

แผนกต้อนรับ

1

1

15

15

งำนทะเบียน

1

1

15

15

พักคอย

150

-

50

50

Relax area

150

-

150

150

Activity area

150

-

150

150

โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

Circulation 50 %

4-86

570


4-87 4-82


4.9.6 AROMATHERAPY S P A C E จานวนใช้บริการ

50 คน / วัน

จานวนผู้ใช้ห้องละ

5 คน /ห้อง

ปริมาณพนักงาน ห้องละ

2 คน / ห้อง

ส่วน AROMATHERAPY SPACE โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พืน้ ที/่ หน่วย

พืน้ ทีร่ วม

แผนกต้อนรับ

1

1

15

15

งำนทะเบียน

1

1

15

15

พักคอย

50

-

30

30

ห้องอำบน้ำ / เปลี่ยนชุด

50

5

20

100

Locker

50

2

20

40

Massage

50

10

30

300

ห้องน้ำ ญ -ช

50

2

30

120

ห้องพักพนักงำน

25

1

40

40

Circulation 30 %

4-88

660


4.9.7 VOLUNTEER จานวนใช้บริการ

30 คน / วัน

จานวนผู้ใช้ห้องละ

10 คน /ห้อง

ปริมาณผู้สอน

2 คน / ห้อง

ส่วน VOLUNTEER SPACE จำนวนผู้ใช้

หน่วย/ พื้นที่

พื้นที่/ หน่วย

พื้นที่รวม

แผนกต้อนรับ

1

1

15

15

งำนทะเบียน

1

1

15

15

พักคอย

30

-

40

40

ห้องพักเจ้ำหน้ำที่

6

1

10

10

ห้อง Workshop กำรเป็นจิตอำสำ

30

3

30

90

โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

Circulation 30 %

4-89

230


4.9.8 DOG T R A I N E R จานวนสุนัข

10 ตัว

ปริมาณผู้ดูแล

สุนัข 1 ตัว / ผู้ดูแล 1 คน

ส่วน Dog TRAINNER จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

แผนกประชำสัมพันธ์

1

1

15

15

งำนทะเบียน

1

1

15

15

ส่วนพักสุนัข

10

1

20

20

ส่วนอำบน้ำ

10

2

20

30

ส่วนวิ่งเล่น

10

-

100

100

ห้องพักเจ้ำหน้ำที่

10

1

20

20

ห้องเก็บอุปกรณ์

-

1

10

10

โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

Circulation 40 % 4-90

380


4.9.9 CAFE S P A C E จานวนผู้เรียนโยคะทั้งหมด

100 คน / วัน

จานวนนักเรียนห้องละ

10 คน /ห้อง

ปริมาณครูผู้สอน เฉลี่ยห้องละ

2 คน / ห้อง

ส่วน CEFE SPACE พื้นที่รวม โถงส่วนกลำง

4-91

แผนกต้อนรับ

6

ส่วนอำหำร / เครื่องดื่ม

40

ห้องพักพนักงำน

10

ส่วนล้ำงอุปกรณ์

10

Circulation 30%

90


4.9.10 ส่วนรักษาความสะอาด / รักษาความปลอดภัย ส่วนรักษาความสะอาด แผนกแม่บ้ำน

จำนวนผู้ใช้งำน

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

หัวหน้ำแม่บ้ำน

เจ้ำหน้ำที่

1

10

10

ซักล้ำง

เจ้ำหน้ำที่

1

15

15

เก็บของเจ้ำหน้ำที่

เจ้ำหน้ำที่

1

30

30

ห้องพักเจ้ำหน้ำที่

เจ้ำหน้ำที่

1

20

20

ห้อง ร.ป.ภ

เจ้ำหน้ำที่ =8

1

9

9

ห้องทำนข้ำว

เจ้ำหน้ำที่

1

30

30

ห้องน้ำ

เจ้ำหน้ำที่

2

20

40

ครัว

เจ้ำหน้ำที่

1

20

20

Circulation 20 %

4-92

210


4.7.11 ส่วนงานระบบ ส่วนงานระบบ / ความสะอาด โถงทำงเข้ำ - ทำงเดิน

จำนวนผู้ใช้

หน่วย/พื้นที่

พื้นที่/หน่วย

พื้นที่รวม

ห้องเก็บขยะ

-

1

30

30

ห้องควบคุมกลำง

-

1

20

20

ห้องหม้อแปลง

-

1

80

80

ห้องสำรองไฟ

-

1

60

60

ห้องเครื่องแอร์

-

1

100

100

ห้องปั๊มน้ำ

-

1

40

40

แผนกซ่อมบำรุง

Circulation 20 %

4-93

400


4.10 สัดส่วนการใช้พนื้ ที่ องค์ประกอบของโครงการ

พื้นที่ใช้สอย

ส่วนบริหำร

140 ตร.ม

ส่วนบริกำรโครงกำร

1305 ตร.ม

ส่วนกิจกรรมบำบัด

3550 ตร.ม

ส่วนสนับสนุนโครงกำร

610 ตร.ม

ส่วนงำนระบบ/รักษำควำมสะอำด

610 ตร.ม

ที่จอดรถ

720 ตร.ม

พื้นที่ใช้สอยรวม

6935 = 7000 ตร.ม

4-94


4.11 ระบบวิศวกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง 4.9.1 ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System) ในโครงการเป็นระบบ up Feed เหมาะกับโครงการที่มีความสูงไม่เกิน 4 ชั้นท้าให้สามารถใช้ระบบนี้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจ่ายน้​้าประปาลง (Down feed Distribution System)หมายถึง ระบบการจ่ายน้​้าภายในอาคาร ซึ่งท้าการจ่ายน้​้าให้แก่เครื่อง สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเริ่มจากชั้นบนสุด ลงมาจนถึงชั้นล่างระบบ ดังกล่าวนี้ ประกอบด้วยถังเก็บน้​้าตั้งอยู่บนชั้นหลังคา (Roof Tank)ถังเก็บน้​้า อาจจะสร้างด้วยคอนกรีต เหล็ก หรือไฟเบอร์กลาสระบบนี้เหมาะส้าหรับ

4-95


4.11.2 ระบบปรับอากาศ (Air – Conditioning System) ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type) เป็นระบบปรับอากาศขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ขนาดท้าความเย็นจะไม่เกิน40,000 บีทียูต่อชั่วโมงส่วนประกอบขอเครื่องปรับอากาศจะแยกเป็น 2 ส่วนหลักคือส่วนของ คอล์ยท้าความเย็นที่เรียกว่า คอล์ยเย็น (Fan Coil Unit)ซึ่งจะติดตั้งในพื้นที่ปรับอากาศ และคอล์ยร้อน (Condensing Unit) ซึ่งจะมีเครื่องอัดสารท้าความเย็น (Compressor) อยู่ ภายในโดยจะติดตั้งอยู่ภายนอกอาคาร ระหว่างชุดคอล์ยร้อนและคอล์ยเย็นจะมีท่อสาร ท้าความเย็นท้าหน้าที่เป็นถ่ายเทความร้อนออกจากห้องปรับอากาศข้อดีคือสามารถแยก ส่วนในการใช้งานได้อย่างสะดวก 4.11.3

ระบบปรับอากาศแบบใช้เครือ่ งท้าน้​้าเย็น (Chiller)

เป็นระบบปรับอากาศขนาดใหญ่บางครั้งเรียกว่าระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ เหมาะส้าหรับพื้นที่ที่ต้องการปรับอากาศที่ขนาดใหญ่ มีจ้านวนห้องที่ จ้าเป็นต้องปรับ อากาศหลายห้อง หลายโซน หรือหลายชั้น โดยส่วนใหญ่จะใช้น้าเป็นสารตัวกลางในการ ถ่ายเทความร้อนหรือความเย็น

4.11.4

ระบบลิฟท์ (Elevator System)

แบบมีเกียร์(Geared Traction Machine) ระบบนี้ จะมีเฟืองตัวหนอน (Worm Gear) เป็นชุดส่งก้าลังและทดรอบระหว่างมอเตอร์ กับรอบขับเคลื่อนมอเตอร์ที่ใช้จึงมีรอบสูงได้และมีราคาถูกกว่า ระบบแบบมีเกียร์อาจใช้ มอเตอร์แบบกระแสตรงก็ได้หรือเป็นมอเตอร์กระแสสลับ (AC Motor)ก็ได้ระบบมีเกียร์ 4-96


4.11.5 งานระบบไฟฟ้าและสือ่ สาร ระบบไฟฟ้า3 เฟส ระบบไฟฟ้า3 เฟสเป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส( 3 -phase ) 4 สาย แรงดัน 380 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์มีค่าใช้จ่าย ในตอนต้นค่อนข้างสูง เช่น ค่าติดตั้งค่าประกันการใช้ไฟฟ้า แต่สามารถ ประหยัดค่า ใช้ไฟฟ้าได้ดี กว่าแบบเฟสเดียวเหมาะกับอาคารที่มีการใช้ ไฟฟ้าหลายจุดและเป็นปริมาณ มาก 4.11.6 ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Control Panel ;FCP ) แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เป็นอุปกรณ์ที่ท้าหน้าที่ควบคุมการท้างาน ของอุปกรณ์ ประมวลผล ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตามรายละเอียดที่ก้าหนดใน แบบและรายการประกอบแบบฯ 4.12 ด้านเทคโนโลยีวสั ดุอาคาร 4.12.1 กระจกที่มีสภาพการแผ่รังสีต่้า (Low-E Glass) กระจกที่มีสภาพการแผ่รังสีต่้าเป็นกระจกเคลือบสารโลหะโดยมีโลหะ เงินบริสุทธิ์เป็นองค์ประกอบส้าคัญเพื่อให้ได้ผิวเคลือบที่มีค่าการคายรังสี (Emissivity) ที่ต่้ามาก โดยที่กระจกยังคงมีลักษณะใส ไม่ทึบแสง ให้ค่าแสง ส่งผ่านมาก และมีค่าการสะท้อนแสงน้อย หมายความว่ากระจกนั้นมี ความสามารถในการแผ่รังสีความร้อนออกจากผิวกระจกน้อยมาก ท้าให้ กระจกชนิดนี้ถูกน้าไปใช้ท้าเป็นกระจกฉนวนกันความร้อนได้เป็นอย่างดี โดย ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ (Short Wave Radiation) ผ่านเข้ามาในตัว อาคาร 4-97


4.12.2 ผนังอาคาร ใช้ระบบฉนวนกันความร้อนภายนอก ( Exterior Insulation and Finished System:EIFS) ประกอบด้วย ชั้นของวัสดุโครงสร้างผนัง วัสดุป้องกันความชื้น และโฟมหนาประมาณ 3 นิ้วเพื่อเป็นฉนวนป้องกันความร้อน

4.12.3 กระจกกันความร้อน กระจกฮีตสต็อป เป็น กระจกที่เน้นการใช้งานไปในด้านการประหยัดพลังงาน ภายในอาคารและการใช้งานส้าหรับอาคารเฉพาะทาง เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ยอมให้ แสงผ่านเข้ามาภายในอาคารมาก แต่ความร้อนที่ผ่านกระจกเข้ามาจะน้อยมาก จึง นิยมใช้ในอาคารที่ต้องการควบคุมอุณหภูมิให้คงที่ตลอดเวลา 4.12.4 เทคโนโลยี Green Roof ในโครงการนี้เลือกประเภทของGreen Roof คือประเภท Extensive ซึ่งให้ความ ลึกของชั้นดินราว 10 ซม.เหมาะส้าหรับปลูกพืชประเภทคลุมดิน ที่ทนต่อ สภาพแวดล้อมนั้น เช่น หญ้า สามารถปล่อยให้เจริญเติบโตเอง ต้องการดูแลง่าย อาจดูแลเพียงปีละ 1- 2 ครั้ง รูปแบบนี้มีน้าหนักน้อยท้าให้โครงสร้างไม่รับน้​้าหนัก หลังคามากจนเกินไป และ ยังช่วยลดอุณภูมิตัวอาคาร กรองมลพิษ ลดคาร์บอน ลด แสงสะท้อน เป็นต้น สามารถรื้นถอนหรือเคลื่อนย้ายได้ภายหลัง

4-98


4.13 ระบบโครงสร้างทีเ่ กี่ยวข้อง 4.13.1 Post-Tension เป็นระบบพื้นซึ่งดึงลวดอัดแรง จึงจ้าเป็นต้องร้อยลวดอัดแรงไว้ใน ท่อ Galvanized เพื่อไม่ให้คอนกรีตจับตัวกับลวดอัดแรง แบ่งออกเป็น 2 ระบบ ที่มีลักษณะ ต่างกันดังนี้ 1. Bonded System เป็นระบบมีแรงยึดแหนี่ยว ระหว่าง PC Strand กับพื้นคอนกรีตโดยหุ้มด้วย ท่อเหล็กที่ขึ้นเป็นลอน ประกอบด้วย Multi Strand ท่อ 1 ท่อร้อยด้วยลวด 2, 3, 4 หรือ 5 เส้น ท่อ เป็นท่อ Galvanized Duct Anchorage 1 set / ลวด 2, 3, 4 หรือ 5 เส้น ต้องมีการอัดน้​้าปูน เข้าไปให้เต็มท่อหลังการดึงลวด (GROUTING) เพื่อให้จับยึดระหว่าง PC Strand กับท่อเหล็ก จะ ใช้กับอาคารที่พักอาศัย ห้างสรรพสินค้า ส้านักงาน และโครงสร้างขนาดใหญ่ 2. UnBonded System เป็นระบบไม่มีแรงยึดแหนี่ยว ระหว่าง PC Strand กับพื้นคอนกรีต แต่จะ ยึดที่บริเวณหัว Anchorage ที่ปลายพื้นทั้ง 2 ข้างเท่านั้น ประกอบด้วย Mono Strand ท่อ 1 ท่อ ร้อยด้วยลวด 1 เส้น ท่อ เป็นท่อ PE. Anchorage 1 set / ลวด 1 เส้น ลวดเคลือบด้วยจารบี

4.13.2 พืน้ คอนกรีตหล่อในที่ (Cast-in-Place Concrete Slabs) จะมีกระบวนการท้าแบบส้าหรับหล่อพื้น ผูกเหล็กเสริมของพื้นเชื่อมกับเหล็กในคาน แล้วจึงเท คอนกรีตพื้นให้เป็นเนื้อเดียวกับคานส่วนบน โดยส้าหรับพื้นชั้นสองขึ้นไปต้องมีการตั้งค้​้ายันแบบ ใต้ท้องพื้นจนกว่าคอนกรีตจะแข็งตัว อย่างน้อย 14 วัน ซึ่ง พื้นคอนกรีตหล่อในที่มี 2 รูปแบบ

4-99


4.13.3 เสา (Columns) เป็นองค์ประกอบอาคารทางแนวตั้งที่รับน้​้าหนักโครงสร้างพื้น โดยตรง วัสดุที่ใช้ท้าเสาในอาคารสูงใช้ได้แทบทุกชนิด ได้แก่ คอนกรีตเสริมเหล็ก, เหล็ก, และ เสาประกอบ (Composite) 1. ผนังรับน้​้าหนัก (Bearing wall) เป็นผนังทางตั้งมีช่องเปิดน้อยๆเพราะท้าหน้าที่รับน้​้าหนักพื้น หรือหลังคา และเป็นผนังกั้นห้องด้วย ซึ่งอาจใช้วัสดุต่างๆ เช่น เหล็ก ค.ส.ล. 2. โครงแขวน (Hangers) ท้าหน้าที่รับแรงดึง โดยอาจแขวนห้อยจากคานซึ่งยื่นออกจากปล่อง ลิฟต์ (Core) พื้นแต่ละชั้นจะถ่ายน้​้าหนักลงสู่โครงแขวน โดยอาจเป็นลวดท่อนเหล็ก เหล็กรูปตัว

4-100


บรรณานุกรม หนังสือ

ออนไลน์

มาโนชน์ หล่อตระกูล และ ปราโมทย์ สุคนิชย์ . (2550). จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี .

ธิติมา . 2017 .“จิตเวชความเจ็บป่วยที่ถูกลืม วิจัยสะท้อนช่องว่างการเข้าถึง พร้อมเสนอพัฒนา ระบบบริการ แก้ปัญหาผู้ป่วยจิตเวช ลดผลกระทบสังคม ” . [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา : https://www.hsri.or.th/ researcher/media/news/detail/ . ( 12 สิงหาคม 2561 )

(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร . บ.บียอนด์ เอ็นเทอไพรซ์ จ้ากัด

ศรีธรรม ธนะภูม . “ ภาวะจิตสังคมของการเจ็บป่วย (Psychosocial aspect of illness) ”. ระบบ ออนไลน์] . แหล่งที่มา : http://hp.anamai.moph.go.th . ( 12 สิงหาคม 2561 ) 2007 . “ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ควรเข้ารับการฟื้นฟูสภาพจิตใจ หลังเข้ารับการบ้าบัดรักษา ” . [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา : https://www.voathai.com . ( 15 สิงหาคม 2561 ) ลีน่าร์ กาซอ . 2018. “ ผู้ป่วยสุขภาพจิต กลุ่มเสี่ยงสารพัดโรคเรื้อรัง ” . [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา : https:// waymagazine.org/mental-disorder-ncd/ . ( 4 กันยายน 2561 ) พร ทิสยากร . 2018 .“ เพราะโรคทางกายและโรคซึมเศร้าถึงมีความเชื่อมโยงกัน “ . [ระบบ ออนไลน์] . แหล่งที่มา : https://www.bodyandmindclinicbkk.com/ bodyandmindconnection . ( 4 กันยายน 2561 )

“ กลุ่มโรค NCDs ” . [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา : http://www.thaihealth.or.th/microsite/ categories/5/ncds . ( 10 กันยายน 2561 )




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.