นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์เชิงวิชาการ 2553 โดย คณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โครงการงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ และ จัดทำเอกสารเผยแพร่งานสร้างสรรค์
แสดงนิทรรศการ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา สิงหาคม 2553 แสดงนิทรรศการ ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK Park) ยะลา กันยายน 2553
เจ้าของ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 133 ถ.เทศบาล 3 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
โทรศัพท์ 073 - 227151 - 60 ต่อ 1038 และ http://yalaart.multiply.com ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรีไตรรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ นายประทีป สุวรรณโร
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์นิคอเละ ระเด่นอาหมัด กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สุนทรนนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อับดุลรอซะ วรรณอาลี อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง อาจารย์ศตพล ลูกอินทร์
อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ อาจารย์วรา สำราญ นางสาวจิรชยา ฉวีอินทร์
ออกแบบปก/รูปเล่ม อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต สำนักพิมพ์ Graphic Innovation Publishing (GIP) กราฟิก อินโนเวชั่น พับลิชชิ่ง ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พิมพ์ที่ บรรลือการพิมพ์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พุทธศักราช 2553 จำนวน 500 เล่ม
สาส์นอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การสร้ า งสรรค์ ผ ลงานทางด้ า นศิ ล ปกรรมและ การออกแบบ นอกเหนื อ จากคุ ณ ค่ า ทางความงามหรื อ สุ น ทรี ย ภาพแล้ ว ยั ง สะท้ อ นสภาพชี วิ ต ความคิ ด ของผู้ ค น ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย ได้ อ ย่ า งคมชั ด หลากหลายและตรงไป ตรงมา เป็นดัชนีชี้วัดความเจริญทางด้านจิตใจ และความ รุ่มรวยทางด้านวัฒนธรรมของท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อ พั ฒ นาท้ อ งถิ่ น มี ภ าระกิ จ สำคั ญ ในการสร้ า งและเผยแพร่ องค์ ค วามรู้ ท างด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม ทั้ ง ที่ เ ป็ น ท้ อ งถิ่ น นิ ย ม และศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย การจัดการศึกษาด้านศิลปะ และการออกแบบเป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ท างการศึ ก ษาที่ ส ำคั ญ สำหรั บ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการดำรงรั ก ษา พั ฒ นา เพื่ อ เป็น ฐานในการสร้ า งองค์ ค วามรู้ ใ หม่ จากภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยระเบี ย บวิ ธี ที่ เ ป็ น สากล พั ฒ นาและถ่ า ยทอดผลงาน ศิลปกรรมของท้องถิ่นและชาติให้มีคุณค่าสืบไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรีไตรรัตน์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
3
สาส์นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โครงการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์เชิงวิชาการ เพื่ อ เผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ อั น เกิ ด จากงานวิ จั ย และงาน สร้ า งสรรค์ เ ป็ น อี ก นโยบายหนึ่ ง ของคณะมนุ ษ ยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์ ที่ มุ่ ง เน้ น และสนั บ สนุ น ให้ ค ณาจารย์ ผลิ ต องค์ ค วามรู้ ผ่ า นผลงานวิ จั ย และผลงานสร้ า งสรรค์ โดยเฉพาะภาควิ ช าศิ ล ปกรรมศาสตร์ ที่ มี ค ณาจารย์ เชี่ ย วชาญในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานศิ ล ปะและผลงาน ออกแบบเชิงวิชาการ ให้สามารถนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ ต่ อ สาธารณะในโอกาสต่ า งๆ เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ การเรี ย นรู้ ทั่ ง ในระบบ นอกระบบและตามอั ธ ยาศั ย ของนั ก เรี ย น นักศึกษาและประชาชนผู้สนใจทั่วไป ขอแสดงความชื่นชมต่อคณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรม ศาสตร์ ที่ ไ ด้ จั ด นิ ท รรศการนี้ ขึ้ น เพื่ อ เป็ น พลั ง ขั บ เคลื่ อ น ในการใช้กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเชิงวิชาการ ในส่ ง เสริ ม ความหลากหลาย เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้เรียนเป็นสำคัญในลำดับต่อไป สุ ด ท้ า ยนี้ ข อบคุ ณ ผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งที่ ช่ ว ยทำให้ นิ ท รรศการครั้ ง นี้ ส ำเร็ จ สิ้ น ไปด้ ว ยดี และขออวยพรให้ ก าร จัดนิทรรศการทัศนาศิลป์ ของคณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรม ศาสตร์ ครั้งนี้ประสบความสำเร็จดังเจตนารมณ์ทุกประการ
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์) คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
4
สาส์นหัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ นิ ท รรศการผลงานทางทั ศ นศิ ล ป์ เ ชิ ง วิ ช าการ “ทั ศ นา ศิ ล ป์ ” เป็ น โครงการที่ ภ าควิ ช าศิ ล ปกรรมศาสตร์ ไ ด้ จั ด ให้ มี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณ การนำเสนอผลงานสร้ า งสรรค์ แ ละจั ด ทำเอกสารสู จิ บั ต ร เผยแพร่ ภ ายใต้ โ ครงการสร้ า งสรรค์ ทั ศ นศิ ล ป์ เ ชิ ง วิ ช าการ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการพัฒนากระบวนการเรียน การสอนศิลปะและการออกแบบ ของคณาจารย์ในภาควิชา ศิ ล ปกรรมศาสตร์ ที่ มุ่ ง เน้ น กระบวนการสร้ า งสรรค์ อ ย่ า ง เป็ น ระบบ และมี ร ะเบี ย บวิ ธี ที่ ชั ด เจนมี เ อกสารประกอบ การสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงให้เห็นแนวคิด วัตถุประสงค์ และวิธีการทำงาน นิทรรศการครั้งนี้ประกอบด้วยผลงานของคณาจารย์ 2 หลักสูตร ได้แก่ผลงานคณาจารย์ในหลักสูตรศิลปกรรม และหลักสูตรออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ จำนวน 10 ท่าน ด้ ว ยกั น ซึ่ ง แต่ ล ะท่ า นได้ แ สดงออกเป็ น ผลงานที่ มี ค วาม แตกต่างหลากหลายทางรูปแบบ และวัสดุในการสร้างสรรค์ อันเป็นผลมาจากการค้นคว้าทดลองเพื่อหาข้อสรุป สำหรับ ใช้ เ ป็ น สื่ อ สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ อ าจารย์ แ ต่ ล ะท่ า น รับผิดชอบสอนในแต่ละภาคเรียน 30 ชิ้นงานไว้อย่างสังเขป สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการแสดงนิทรรศการฯ ใน ครั้งนี้จะก่อประโยชน์ต่อประสบการณ์การรับรู้สุนทรียภาพ และวิชาการด้านศิลปะและการออกแบบได้บ้างไม่มากก็น้อย
(นายประทีป สุวรรณโร) หัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
5
จิตรกรรม เทคนิคสีอะครีลิกบนผ้าใบ ชุด เงาสะท้อน The Reflection โดย รองศาสตราจารย์ นิคอเละ ระเด่นอาหมัด* แนวคิดการสร้างสรรค์ เงาสะท้ อ นเป็ น ปรากฏการณ์ ใ นธรรมชาติ อ ย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง เกิ ด จาก ผิวน้ำที่เรียบใสกับภาพธรรมชาติบนตลิ่ง การสะท้อนมีลักษณะเดียวกัน กับกระจกเงาแต่ผิวน้ำเป็นของเหลวจะกระเพื่อมหรือเกิดคลื่นเมื่อลม พั ด หรื อ เมื่ อ มี วั ต ถุ ก ระทบผิ ว เกิ ด เป็ น ริ้ ว คลื่ น เล็ ก ๆ ทำให้ เ งาพลิ้ ว ไหว แปรเปลี่ยนตามจังหวะการเคลื่อนที่ของผิว เกิดความงาม และความ แตกต่ า งระหว่ า งรู ป จริ ง กั บ รู ป เงา เงาสะท้ อ นในธรรมชาติ ป รากฏอยู่ ทั่วไปตามแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น บึง สระน้ำ ลำธาร หรือแม่น้ำ แต่เงา สะท้อนที่งดงามเกิดจากแหล่งน้ำที่สงบนิ่ง ข้าพเจ้าได้แรงบันดาลใจจาก ความงามของเงาสะท้อนที่หน้าโรงแรมหาดแก้ววิลล่า จังหวัดสงขลา เป็นทิวทัศน์บริเวณที่ลุ่ม น้ำท่วมขังมีต้นไม้โอบล้อมรอบบริเวณผิวน้ำ สงบนิ่ง จนเกิดเงาสะท้อนของต้นไม้โดยรอบ แม้น้ำจะไม่ใสสะอาดนัก แต่ ค วามงามจากเงาสะท้ อ นปรากฏให้ เ ห็ น ชั ด เจนตั้ ง แต่ โ คนต้ น จรด ปลายยอดไม้ ทำให้เกิดภาพปริศนาระหว่างภาพแนวตั้งกับภาพแนวพลิก เมื่อบั น ทึ ก ภาพทำให้ เ ราสามารถมองดู ไ ด้ ทั้ ง สองด้ า นระหว่ า งด้ า นตั้ ง และภาพกลั บ หั ว ทำให้ เ กิ ด ความล้ อ กั น ระหว่ า งภาพจริ ง กั บ ภาพเงา ข้าพเจ้าบันทึกภาพความงามของเงาสะท้อนเพื่อต้องการนำเสนอภาพ จากมุมมองเล็กๆ ที่ปรากฏให้เห็นรอบตัวเราที่คนทั่วไปมักจะมองข้าม จนขาดโอกาสจะสัมผัสความงาม บางครั้งอาจจะเกิดจากชีวิตที่เร่งรีบ หรืออาจเกิดจากความไม่ใส่ใจ จึงเป็นหน้าที่ของศิลปินที่จะนำเสนอภาพ ความงามดังกล่าวให้คนทั่วไปได้ตระหนักว่า แท้ที่จริงแล้วความงาม เป็นสิ่งที่มีอยู่ทั่วไปรอบตัวเรา อยู่ที่การเลือกมองของเราเอง ทำให้นึกถึง สุ ภ าษิ ต ไทยที่ ว่ า “สองคนยลตามช่ อ ง คนหนึ่ ง มองเห็ น โคลนตม...”
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
6
ชื่อภาพ สงบนิ่งกลางน้ำ เทคนิค จิตรกรรมเทคนิค สีอะครีลิกบนผ้าใบ ขนาด 50 x 80 ซม.
ชื่อภาพ เงาล้อริมตลิ่ง เทคนิค จิตรกรรมเทคนิค สีอะครีลิกบนผ้าใบ ขนาด 50 x 80 ซม.
7
จิตรกรรม เทคนิคสีอะครีลิกบนผ้าใบ ชุดนิเวศแห่งป่า The Ecology of The Forest โดย รองศาสตราจารย์ นิคอเละ ระเด่นอาหมัด* แนวคิดการสร้างสรรค์ ประเทศไทยเคยเป็นประเทศที่อุดมไปด้วยป่าไม้เขตร้อนชื้น แม้ว่า ปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ป่ า ไม้ จ ะถู ก ทำลายไปบ้ า งจากการแผ้ ว ถางเพื่ อ เป็ น การ เพาะปลูกหรือเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย แต่พื้นที่ป่าหลายแห่งยังคงอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในพื้ น ที่ ร อยต่ อ ระหว่ า งจั ง หวั ด ยะลาและจั ง หวั ด นราธิวาส มีพื้นที่ป่าที่สมบูรณ์ชื่อว่า ป่าบาลาฮาลา สัตว์ป่าหลายชนิด ที่อาศัยอยู่ในป่าแห่งนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ป่าประเภทนกเงือก เสือ และสมเสร็จ ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันถึงความสมบูรณ์ของป่าแห่งนี้ ข้าพเจ้า ต้องการนำเสนอความงามแห่งป่าในสายตาของศิลปินที่เห็นความงาม ในเชิงองค์ประกอบทางศิลปะซึ่งประกอบด้วยเส้นตรงแนวตั้งของต้นไม้ กับเส้นแนวของพื้นดิน และการขัดกันระหว่างกิ่งก้าน พุ่มใบระเกะระกะ เกิดจังหวะการซ้อนของมิติความลึกที่งดงาม การตัดกันและการประสาน ระหว่างสีร้อนและสีเย็นของใบและดอก ความต่างของสีใบไม้ที่เปลี่ยน ไปตามฤดูกาล ตลอดจนการกระทบของแสงแดดที่ส่องลอดผ่านรอย ปรุของพุ่มใบตกทอดยังพื้นดินเกิดการตัดระหว่างความมืดความสว่าง ของแสงกับเงาที่งดงาม ป่าไม้เหมือนเช่นหน่วยหนึ่งของชีวิตที่มีระบบ การป้องกันและเยียวยาตัวเองเช่นเดียวกับมนุษย์ เมื่อป่าไม้รกชัฏเกินไป ทำให้เกิดการแก่งแย่งอาหาร ความหนาของพุ่มใบทำให้แสงแดดส่อง ไม่ถึงพื้นดิน ส่งผลให้เกิดเชื้อราและมีพืชประเภทกาฝากเกาะกินต้นไม้ ใหญ่มากเกินไป ระบบการเยียวยาทำให้เกิดไฟป่าเพื่อทำลายความรกชัฏ ซึ่งดูเหมือนกับจะสร้างความเสียหายให้กับป่า แต่แท้จริงแล้วมันช่วย กำจัดความหนาแน่นของต้นไม้ ไม่ช้าเมื่อแสงแดดส่องถึงพื้นดิน เมล็ด พันธุ์ที่ฝังอยู่ในดินจะแตกเป็นต้นกล้า เพิ่มความสมบูรณ์ของป่าอีกครั้ง เป็นวัฏจักรแห่งชีวิตป่า ข้าพเจ้าต้องการนำเสนอความงามของป่าในเชิง สุ น ทรี ย ศาสตร์ และความสั ม พั น ธ์ ใ นเชิ ง นิ เ วศวิ ท ยา ป่ า ไม้ ที่ ส มบู ร ณ์ ย่อมหมายถึงความสมดุลของระบบนิเวศ เพราะป่าช่วยรักษาแหล่งน้ำ รั ก ษาความชุ่ ม ชื้ น ของภู มิ อ ากาศ และรั ก ษาสั ต ว์ ป่ า ป่ า ยั ง เป็ น แหล่ ง อาหาร เป็นแหล่งยารักษาโรคของมนุษย์มาแต่โบราณ ดังนั้นความงาม ของป่าจึงเป็นสิ่งที่ควรแก่การนำเสนอให้ปรากฏแก่สายตาสาธารณชน เพื่อสร้างความตระหนักในการที่จะช่วยกันอนุรักษ์รักษาผืนป่าของไทย ให้คงสมบูรณ์สืบไป *อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
8
ชื่อภาพ ใบไม้ร่วง เทคนิค จิตรกรรมเทคนิค สีอะครีลิกบนผ้าใบ ขนาด 50 x 80 ซม.
ชื่อภาพ ป่ารักษ์น้ำ เทคนิค จิตรกรรมเทคนิค สีอะครีลิกบนผ้าใบ ขนาด 50 x 80 ซม.
9
ศิลปภาพพิมพ์ เทคนิค WOOD CUT ชุด พลัง POWER โดย อาจารย์ศตพล ลูกอินทร์* แนวคิดการสร้างสรรค์ ผลงานศิลปภาพพิมพ์ (เทคนิคภาพพิมพ์นูน WOOD CUT) เป็น เทคนิ ค ที่ เ ก่ า แก่ ม าก ผู้ ที่ ส ร้ า งงานศิ ล ปภาพพิ ม พ์ โดยใช้ วิ ธี เ ทคนิ ค WOOD CUT ก็ยังถือว่าเป็นผลงานที่หาดูได้ยากมากเฉพาะในบ้านเรา ซึ่งมีศิลปินด้านนี้ค่อนข้างน้อย ผมจึงได้หยิบขึ้นมาปัดฝุ่นฝีไม้ลายมือของ ตั ว เอง ด้ ว ยการนำเสนอผลงานสร้ า งสรรค์ ชุ ด แรกหลั ง จากที่ ไ ด้ ทิ้ ง ไปยาวนาน ในการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ ได้แนวคิดการสร้างสรรค์ที่ดูแล้ว อาจจะไม่ลึกซึ้งมากนัก ชื่อผลงานสั้นๆ คำว่า “พลัง” เป็นคำอธิบายใน เชิงความคิดจากสิ่งที่มีพลังต่าง ๆ โดยธรรมชาติพลังคือ สิ่งที่ทำให้สิ่งต่าง ๆ เคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวได้ หรือสรรพสิ่งมีพลังของตัวเอง ผมสร้างสรรค์โดยให้สื่อถึงความเคลื่อนไหวของพลังจากธรรมชาติ โดยใช้รูปทรงที่แล้วเคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่ง หนักแน่น และบางครั้งดูนุ่มนวล แต่แฝงด้วยความเคลื่อนไหวที่ดูแล้วรุนแรง ซึ่งเนื้อหาและน้ำหนักที่ใช้ ดูจะเข้ากับการใช้เทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ (WOOD CUT) ซึ่งเป็นผลงาน ภาพพิมพ์แกะไม้ขาว – ดำ ซึ่งเป็นการตัดกันระหว่างน้ำหนักดำ – ขาว โดยใช้รูปทรงอิสระง่ายๆ เป็นสื่อแทนเพื่อให้เกิดจินตภาพความต้องการ ของผู้สร้างสรรค์
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
10
ชื่อภาพ ปลูกป่าเพื่อพ่อ เทคนิค WOOD CUT ขนาด 25 x 39 ซม.
ชื่อภาพ RECYCLE เทคนิค MONOPRINT ขนาด 25 x 39 ซม.
ชื่อภาพ พลัง เทคนิค WOOD CUT ขนาด 40 x 55 ซม.
11
จิตรกรรม เทคนิคผสม ชุด พลังของสีในมิติตามการรับรู้ Power of Colours in The Dimension of Perception โดย อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง* แนวคิดการสร้างสรรค์ สรรพสิ่งใดๆ ย่อมมีนัยแห่งสมบัติธาตุที่เป็นเฉพาะ ซึ่งเราสามารถ รับรู้จากสัมผัสต่างๆ ที่ก่อเกิดความรู้สึกกับสิ่งนั้นได้ สีเป็นทัศนธาตุที่มี อิทธิพลอย่างยิ่ง ต่อภาวะอารมณ์และความรู้สึกของผู้รับรู้ ซึ่งคุณลักษณะ ของสี แ ต่ ล ะสี ก็ มี ผ ลทางจิ ต วิ ท ยาในการรั บ รู้ แ ตกต่ า งกั น ไป ตามแต่ สภาวการณ์ของสีที่ปรากฏ และปัจจัยปรุงแต่งแห่งจิตในแต่ละช่วงขณะ ของการรั บ รู้ ซึ่ ง อาจแปรเปลี่ ย นไปตามสิ่ ง เร้ า ต่ า งๆ ที่ ผ ลั ก ดั น หรื อ มี อิทธิพลครอบงำอันส่งผลกระทบต่อจิตใจโดยรวมในที่สุด ในทางสร้ า งสรรค์ พลั ง ของสี ก็ คื อ อำนาจหรื อ อิ ท ธิ พ ลของสี ที่ครอบงำทางความรู้สึกในการรับรู้ อันก่อให้เกิดจุดเปลี่ยนทางอารมณ์ ที่ ผั น แปรตามเหตุ ปั จ จั ย ต่ า งๆ ของสิ่ ง เร้ า และผู้ รั บ รู้ เ อง ไม่ ว่ า จะเป็ น ความเชื่ อ ส่ ว นตั ว ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ระดั บ ภู มิ ปั ญ ญา กรอบ วัฒนธรรม และหรือปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ ก็ตามที่โดยสภาวะ ที่กล่าวมา เราอาจเรียกได้ว่าเป็นมิติของการรับรู้ ซึ่งมิติดังกล่าวอาจมี โครงสร้างทางความคิด และรูปแบบที่ชัดเจนหรือคลุมเครือ หรืออาจจะ มีภาพรวมที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา หรืออาจจะซับซ้อนยากแก่การ ตีความหรือสร้างความเข้าใจในแบบปกติสามัญทั่วๆ ไปก็แล้วแต่ ประเด็นสำคัญในการสร้างสรรค์ ชุดผลงานจิตรกรรมครั้งนี้ คงไม่ใช่ แค่เพียงสื่อถึงการรับรู้ในการแสดงออก ถึงพลังของสีในแต่ละสี ว่ามีผล ต่ออารมณ์และความรู้สึกอย่างไร แต่ข้าพเจ้าต้องการสร้างสภาวะเงื่อนไข จากปั จ จั ย ปรุ ง แต่ ง ในมิ ติ ข องการรั บ รู้ จากสาระของทั ศ นธาตุ เ รื่ อ งสี ผ่ า นรู ป แบบของผลงานในลั ก ษณะของการผสมผสาน ทั้ ง โครงสร้ า ง ชิ้นงาน องสีก็คือ สามารถรับรู้จากกาต่อย่างใด การเดินทางไปราชการ ในครั้ ง นี้ ข้ า พเจ้ า ไม่ ข อเบิ ก ค่ า ใช้ จ่ า ยใดๆ ทั้ ง สิ้ น ยชน์ ต่ อ ข้ า พเจการ ประกอบติดตั้งจัดวาง เทคนิคกรรมวิธีและการแสดงออก ที่สร้างความ ขัดแย้งและกลมกลืนกัน ตามการรับรู้ในมิติแห่งตัวตนของข้าพเจ้าเอง
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
12
ชื่อภาพ Colour Perception 1 เทคนิค สีอะครีลิก เลเซอร์พริ้นท์ และคอลาจบนผ้าใบ ขนาด 50 x 100 ซม.
ชื่อภาพ Colour Perception 2 เทคนิค สีอะครีลิก เลเซอร์พริ้นท์ และคอลาจบนผ้าใบ ขนาด 50 x 100 ซม.
ชื่อภาพ Colour Perception 4 เทคนิค สีอะครีลิก เลเซอร์พริ้นท์ และคอลาจบนผ้าใบ ขนาด 100 x 105 ซม.
13
จิตรกรรม เทคนิคสีอะครีลิก ชุด จังหวะของสีในสภาวะจิต Rhythm of Colours in The State of Mind โดย อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง* แนวคิดการสร้างสรรค์ ในธรรมชาติของการดำรงอยู่ ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีอิทธิพลและ แรงดึ ง ดู ด ซึ่ ง กั น และกั น เสมอ ซึ่ ง เป็ น ไปตามจั ง หวะของกฎแห่ ง การ เคลื่อนไหวที่ครอบคลุมไปในทุกสรรพสิ่ง ตั้งแต่สิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดจนถึง สิ่งที่เล็กที่สุด เช่นจังหวะการเคลื่อนที่หมุนเวียนในระบบสุริยะจักรวาล จังหวะการเปลี่ยนแปลงของดิน ฟ้า อากาศ จังหวะการเคลื่อนไหวของ สิ่งมีชีวิตต่างๆ จังหวะการเต้นของหัวใจ หรือจังหวะการเคลื่อนตัวแบ่ง เซลล์ของเชื้อโรค เป็นต้น เราอาจกล่าวได้ว่า จังหวะก็คือภาพรวมของการซ้ำหรือการจัดวาง ส่วนประกอบของรูปแบบในสิ่งต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องและเหมาะสม ทำให้เกิดการรับรู้ที่แสดงถึงความเคลื่อนไหว ก่อเกิดความงาม อารมณ์ หรือความรู้สึกให้ปรากฏ ซึ่งในงานศิลปะ จังหวะ ถือเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วย ประสานส่วนประกอบต่างๆ ทางศิลปะ ให้มีความต่อเนื่อง กลมกลืน และเคลื่อนไหวอย่างเป็นเอกภาพ สำหรับแนวทางการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมชุดนี้ ข้าพเจ้าใช้ทัศนธาตุเรื่องสีเป็นสาระสำคัญในการแสดงออก ตามการรับรู้จากสีในทุก สรรพสิ่ ง ที่ ป รากฏ ในห้ ว งมโนภาพแห่ ง จิ ต ที่ ป รุ ง แต่ ง ด้ ว ยอารมณ์ ความรู้สึก โดยการถ่ายทอดรูปแบบเป็นศิลปะนามธรรม (Abstract Art) ซึ่ ง ไม่ แ สดงเนื้ อ หา หรื อ เรื่ อ งราวใดๆ แต่ จ ะนำเสนอภาพความงาม ของสีต่างๆ ด้วยการจัดวางองค์ประกอบทางศิลปะ ที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างสีที่สดใสกับสีที่หม่น มืด คล้ำ สร้างค่าน้ำหนักเข้ม อ่อน ประสาน ต่อเนื่องจากความขัดแย้ง และความกลมกลืน ก่อเกิดเป็นจังหวะลีลา และการเคลื่ อ นไหวที่ ต่ อ เนื่ อ งระหว่ า ง เส้ น สี และพื้ น ผิ ว บนระนาบ ที่เป็นไปโดยอิสระ มิได้มีระเบียบแบบแผนหรือรูปแบบใดๆ ที่ตายตัว มากนัก แต่จะปล่อยให้การสร้างสรรค์ดำเนินไปตามความรู้สึกในช่วง ขณะจิตที่ทำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นสมบูรณ์
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
14
ชื่อภาพ Colour Mild 1 เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด 40 x 60 ซม.
ชื่อภาพ Colour Mild 2 เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด 40 x 60 ซม.
ชื่อภาพ Colour Mild 4 เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด 60 x 80 ซม.
15
ศิลปะสื่อผสม ชุด อัตลักษณ์เกย์ Mixed Media Depicting Indentitiy in Gay โดย อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ* แนวคิดการสร้างสรรค์ หากในประวัติศาสตร์เคยมีการจำแนกผลงานทัศนศิลป์ออกเป็น กลุ่ ม Realism,Impressionism,Expressionism,Surrealism, Feminnism กันมาแล้ว เห็นควรจะต้องมีศิลปะในกลุ่ม Homo-Eroticism ร่ ว มเป็ น อี ก หนึ่ ง สกุ ล ด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ นำพาไปสู่ ค วามเข้ า ใจกั บ อารมณ์ ความรู้ สึ ก ภายในและวั ฒ นธรรมย่ อ ย (subculture) ของกลุ่ ม คน รั ก ร่ ว มเพศ ที่ มี ก ระบวนการพั ฒ นาและธำรงอั ต ลั ก ษณ์ ม าได้ จ นถึ ง ปัจจุบัน” อารมณ์ความรู้สึกแบบชายรักเพศเดียวกัน (gay) นั้น มีปรากฏอยู่ เคียงคู่กับวงการศิลปะมาเป็นระยะเวลายาวนาน และปรากฏเด่นชัดใน ช่วงอารยธรรมกรีกโบราณ ตลอดจนผลงานภาพแบบเขียน,John the Baptist , Battel of Anghiari และภาพที่เป็นเป้าแห่งการวิจารณ์สุดอื้อฉาว “เทพจุติ” (Angel incarnate)ของ Leonardo Da Vinci ,ภาพนักบุญ Sebastian ของ Carlo Saraceni ,ภาพวาดเด็กหนุ่มอ่อนวัยหลายๆ ชิ้น ของCaravaggio, งานประติ ม ากรรม David ของ Michelangelo ผลงานวรรณกรรม The Portrait of Mr. W.H. และ The Picture of Dorian Gray ของ Oscar Wilde บทกวีของ Abu Nuwas , Walt Whitman รวมถึงบทพรรณนาโฉมตัวละครชายในวรรณคดีไทยอย่างลิลิตพระลอ ต่างก็สะท้อนถึงความชื่นชมต่อความงดงามของเพศชายด้วยกันได้อย่าง ทรงพลังชนิดที่บุรุษปกติทั่วไปคงไม่สามารถรังสรรค์ได้ จึ ง เชื่ อ ว่ า คุ ณ สมบั ติ ส ำคั ญ ประการหนึ่ ง ของผู้ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า ศิ ล ปิ น ไม่ว่าแขนงใดๆ ก็คือความสัตย์ซื่อ จริงใจ ต่ออารมณ์ความรู้สึกของตัวเอง ที่ถ่ายทอดออกมาผ่านผลงานศิลปะ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะปิดเผยตัวเอง อย่างภาคภูมิใจว่ามีรสนิยมรักเพศเดียวกัน เพื่อแสดงตัวตนต่อสังคม ที่ตนเองเป็นสมาชิก
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
16
ชื่อภาพ อภิเชษฐ์ภุชงค์ เทคนิค สื่อผสม
ชื่อภาพ ชอลิ้วเฮียง เทคนิค สื่อผสม
17
ศิลปะสื่อผสม ชุด อำนาจและความชอบธรรมของความเป็นเพศ Power and Morality in Genderism Subject โดย อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ*
แนวคิดการสร้างสรรค์ องค์กรหรือหน่วยงานที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนในหลายประเทศ ทั่ ว โลกได้ ตื่ น ตั ว และตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ในเรื่ อ งเพศสรี ร ะ(sex) ความเป็ น เพศ (gender)และ เพศวิ ถี ( sexuality)ที่ มี ผ ลต่ อ สิ ท ธิ แ ละ เสรีภาพทางการเมืองของกลุ่มอัญเพศ(queer) สะท้อนให้เห็นว่าในสังคม มีปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อกลุ่มอัญเพศ หรือ สังคมมีความ ตระหนักต่อสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของกลุ่มอัญเพศมากขึ้น “อัญเพศ” เป็นกลุ่มบุคคลที่ถูกสร้างให้เป็นอื่น (the other) จาก วาทกรรม(discourse)ที่สร้างขึ้นมาเป็นตัวบท(texts)เชื่อมโยงกันเป็น เอกภาพของระบบความรู้ในศาสตร์ต่างๆ จนกลายเป็นความเชื่อ ค่านิยม แบบแผนปฏิบัติการทางสังคมที่สัมพันธ์กับความเป็นเพศและวิถีเพศ โดยสร้างความเข้าใจ รับรู้ และยอมรับร่วมกันของคนส่วนใหญ่ว่ามนุษย์ มีเพียงสองเพศเท่านั้น บุคคลใดที่มีลักษณะและพฤติกรรมที่แตกต่างไป จากเกณฑ์ ที่ ก ำหนด ก็ จ ะถู ก เบี ย ดขั บ ออกนอกพื้ น ที่ จึ ง เกิ ด ความ เหลื่อมล้ำที่ตั้งอยู่บนฐานอคติทางเพศต่อกลุ่มอัญเพศ (queer prejudice) หรื อ การรั ง เกี ย จต่ อ กลุ่ ม อั ญ เพศ(queer phobia) ทั้ ง นี้ มี ค วามรุ น แรง ต่างกัน ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาคนั้นๆ โดยบุคคลในกลุ่ม อัญเพศจะถูกกระทำอย่างปราศจากการควบคุม เนื่องจากกฎหมายและ วัฒนธรรมความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนยังไม่เบ่งบานเต็มที่ จึงอุปมาความหลากหลายของการดำรงอยู่ มาประกอบสร้างให้อยู่ รวมกันเป็นเอกภาพเปิด(open unity)ที่มีสไตล์ต่างกัน(heterogen style) เพื่อคลี่คลายและเผยให้เห็นถึงปัญหาดังกล่าวต่อการดำเนินชีวิตท่าม กลางความซั บ ซ้ อ นของอั ต ลั ก ษณ์ ม นุ ษ ย์ ( human identity)ในสั ง คม ร่วมสมัย
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
18
ชื่อภาพ COMEมิ่ง OUT ๑ เทคนิค สื่อผสม
ชื่อภาพ COMEมิ่ง OUT ๒ เทคนิค สื่อผสม
19
จิตรกรรมเทคนิคผสม ชุด ภาพลักษณ์มนุษย์บริโภคนิยม โดย อาจารย์ประทีป สุวรรณโร* แนวคิดการสร้างสรรค์ การสร้างภาพสิ่งแทน (Representaion) เป็นผลผลิตความหมาย สิ่งที่คิดในสมองของเราผ่านสื่อ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างความคิดและ ภาษา ทำให้เราสามารถอ้างอิงโลก เหตุการณ์ สถานการณ์ จิตนาการ ผู้คน เหตุการณ์และโลกสมมุติได้ ปั จ จุ บั น มนุ ษ ย์ ใ นสั ง คมต่ า งมี ชี วิ ต เกี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ โ ภคอย่ า ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ท่ามกลางสังคมและวัฒนธรรมที่ปรับเปลี่ยนไม่หยุดยั้ง ปัจจัยพื้นฐานไม่เพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์ รวมทั้งกระแสการ บริโภคนิยมซึ่งเป็นไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ที่นิยมกันทั่วโลก จนกลาย เป็นวิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน การบริโภคในสังคมปัจจุบันจึงถือว่าเป็น วัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ความสัมพันธ์กับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การก่อเกิดของลัทธิบริโภคนิยมและการศึกษาความเกี่ยวข้องของการ บริ โ ภคกั บ ชี วิ ต ของปั จ เจกบุ ค ลที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ประจำวั น กลไกและ เครื่องมือของการบริโภค ความสัมพันธ์ระหว่าง บริโภคนิยมกับวัฒนธรรม ประชานิยม กลุ่มความคิดแบบโครงสร้างนิยม (post structuralism) และ ความคิดยุคหลังสมัยใหม่ (postmodernism) ได้นำแนวคิดมาเป็นกรอบ ในการวิเคราะห์เพื่อศึกษาพฤติกรรมบริโภคนิยมมากขึ้น และได้กำหนด ประเด็นที่น่าสนใจ คือ การบริโภคเชิงสัญญะ การบริโภคที่บ่งบอกความ เป็นตัวตน วัยรุ่น มีการบริโภคเชิงสัญญะ และการบริโภคที่ต้องการ สร้างความเป็นตัวตนหรืออัตลักษณ์อย่างมาก มีการสร้างภาษาที่ใช้ ในกลุ่มวัฒนธรรมวัยรุ่น มีคำเรียกที่สร้างเป็นเอกลักษณ์ เช่น เด็กแนว วัยใส วัยจ๊าบ เป็นต้น กระแสวัฒนธรรมบริโภคนิยมมีบทบาทต่อวิถีชีวิตผู้คนร่วมสมัย อย่างมาก การแสวงหาตัวตนของกลุ่มวัยรุ่น เป็นการแสดงเพื่อต่อต้าน สั ง คมและวั ฒ นธรรมของผู้ ใ หญ่ วั ย รุ่ น จึ ง แสวงหาพื้ น ที่ แ สดงความ เป็ น ตั ว ตนท่ า มกลางความเชี่ ย วกรากของกระแสวั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย วิถีชีวิตของคนในสังคมที่มีธรรมชาติเหมือนกับสิ่งอื่นๆ ในโลก ที่มีการ เปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา ปั จ จั ย ที่ ท ำให้ วั ฒ นธรรมเปลี่ ย นแปลง เป็นปัจจัยเดียวกับที่ทำให้เกิดการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
20
ชื่อภาพ มนุษย์นิยมบริโภค 1 เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม ขนาด 80 x 100 ซม.
ชื่อภาพ มนุษย์นิยมบริโภค 2 เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม ขนาด 80 x 100 ซม.
21
จิตรกรมเทคนิคผสม ชุด จริตมนุษย์ โดย อาจารย์ประทีป สุวรรณโร* แนวคิดการสร้างสรรค์ มนุ ษ ย์ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ น โดยเฉพาะที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อารมณ์และความรู้สึกเมื่อมนุษย์ถูกจัดเป็นสัตว์สังคม การอยู่ร่วมกัน ย่อมเกิดความขัดแย้งได้เสมอ ถ้าเพียงรู้และทำความเข้าใจนิสัยหรือ ธรรมชาติ จิ ต ใจของเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เราก็ จ ะอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ สุ ข “จริตมนุษย์” ในที่นี้หมายถึงสภาวะจิตของคนตามธรรมชาติ แนวคิด เกี่ ย วกั บ ประเภทของจริ ต มนุ ษ ย์ นี้ มี ร ากฐานมาจากคั ม ภี ร์ วิ สุ ท ธิ ม รรค ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นพระอรหันต์ชาวลังกา ในคัมภีร์ดังกล่าวได้อธิบายถึง สภาวะจิตหรือนิสัยมนุษย์ว่ามีอยู่ด้วยกัน 6 ประเภท 1. ราคะจริ ต หรื อ สภาวะจิ ต ที่ ห ลงติ ด ในรู ป รส กลิ่ น เสี ย งและ สัมผัสจนเป็นอารมณ์ 2. โทสะจริต หรือสภาวะจิตที่โกรธง่าย ฉุนเฉียวง่าย เพียงพูดผิด สักคำ ได้เห็นดีกัน 3. โมหะจริต หรือสภาวจิตที่มักอยู่ในสภาพง่วงเหงาหาวนอนหรือ ซึมเศร้าเป็นอาจิณ 4. วิ ต กจริ ต หรื อ สภาวะจิ ต ที่ กั ง วล สั บ สนและวุ่ น วายฟุ้ ง ซ่ า น แทบทุกลมหายใจ 5. ศรัทธาจริต หรือสภาวะจิตที่มีปรัชญาหรือหลักการของตัวเอง และพยายามผลักดันให้ตัวเอง และผู้อื่นบรรลุถึงจุดหมายนั้น 6. พุทธิจริต หรือสภาวะจิตที่เน้นการใช้ปัญญาในการไตร่ตรอง คิ ด หาเหตุ ห าผลมาแก้ ปั ญ หา ต่ า งๆในชี วิ ต ทั้ ง ชี วิ ต ส่ ว นตั ว ชี วิ ต การ ทำงาน รวมทั้ง มีความสนใจ เรื่องการยกระดับและพัฒนาจิตวิญญาณ การสร้ า งสรรค์ จิ ต รกรรมเทคนิ ค ผสมในครั้ ง นี้ ต้ อ งการสะท้ อ น และทำความเข้ า ใจสภาวะทางด้ า นอารมณ์ ข องคนโดยทั่ ว ไปในกฎ 6 ประการตามที่กล่าวมาแล้วนี้ บางคนมีอารมณ์ทั้ง 6 อย่างนี้ครบถ้วน บางรายก็มีไม่ครบ มีมาก มีน้อย การเรียนรู้จริตเหล่านี้จะทำให้สามารถ เข้าใจพฤติกรรมที่หนักไปทางด้านใดด้านหนึ่ง อย่างเกินขอบเขตให้เกิด ความพอดี ถูกต้อง เหมาะสม ตลอดจนกระทั่งระมัดระวังจริตที่จะสร้าง ปัญหาให้แก่ตัวเอง ผู้อื่น และสังคม รวมถึงการปฏิบัติต่อบุคคลที่มีจริต ต่างกัน ได้อย่างเหมาะสมผ่านผลงานจิตรกรรมเทคนิคผสม จำนวน 1 ชุด * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
22
ชื่อภาพ จริตมนุษย์ เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม ขนาด 30 x 30 ซม. (จำนวน 8 ชิ้น)
23
การออกแบบจัดวางอักษร ชุด มนุษย์ Typography Design : human โดย อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต* แนวคิดการสร้างสรรค์ มนุ ษ ย์ มี ค วามแตกต่ า งจากสั ต ว์ อื่ น ทั่ ว ไปตรงที่ ม นุ ษ ย์ ส ามารถ แสดงอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก ที่ ห ลากหลาย ชั ด เจนมากกว่ า และสามารถ ควบคุ ม อารมณ์ ความรู้ สึ ก ได้ ดี ก ว่ า อารมณ์ ค วามรู้ สึ ก ที่ อ ยู่ ภ ายในใจ ของมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีลักษณะที่ต่างกัน นอกเหนือจากความแตกต่าง ทางกายภาพ การสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ ต้องการนำเสนออารมณ์ ความรู้สึกของ มนุษย์ เช่น รัก โลภ โกรธ หลง สุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทุกข์ โกรธ กลัว ฯลฯ ในรูปแบบของตัวอักษรและจัดวางตัวอักษรภาษาไทย ให้เกิด เป็นองค์ประกอบทางศิลปะ สื่อให้เห็นว่าในความเป็นมนุษย์ มีอารมณ์ ความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ มีความคิดทั้งสร้างสรรค์และทำลายได้ * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
24
ชื่อภาพ อารมณ์ร้าย เทคนิค คอมพิวเตอร์กราฟิก ขนาด 20 x 30 นิ้ว
25
จิตรกรรมสร้างสรรค์ด้วยคอมพิวเตอร์ ชุด เด็ก สื่อ ยุคโลกาภิวัฒน์ Digital Paint : child media globalization โดย อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต* แนวคิดการสร้างสรรค์ ยุคโลกาภิวัฒน์เป็นยุคที่เกิดการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและ สั ง คมอย่ า งรวดเร็ ว ด้ ว ยพลั ง แห่ ง เทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น ยุ ค โลก ไร้พรมแดน การติดต่อสื่อสารรวดเร็ว มีส่วนช่วยให้เกิดการเปลี่ยนถ่าย ข้อมูลใหม่ๆ หมุนเวียนอยู่ตลอดเวลาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ก่อให้เกิดการ ไหลบ่ า ทั้ ง ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม และวั ฒ นธรรม จึ ง ดู เ หมื อ นว่ า มี ก าร เปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย จนอาจทำให้คนในสังคมปรับตัวไม่ทันกับ คลื่นการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกโดยเฉพาะกับเด็ก ซึ่งก็มีโอกาสเป็น ผู้ บ ริ โ ภคข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ มี ม ากมายเหล่ า นั้ น ได้ อ ย่ า งไม่ มี ข้ อ ยกเว้ น ด้วยวุฒิภาวะอาจมีผลกระทบต่อความคิด จิตใจ จิตสำนึก ฉะนั้นหาก ไม่มีการเลือก หรือวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ หรือเลือกใช้สื่อไปในลักษณะ ที่ ไ ม่ เ หมาะสมและเกิ ด ประโยชน์ ก็ เ ท่ า กั บ ว่ า เด็ ก และเยาวชนจะเป็ น เหยื่อของสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์และมีผลกระทบต่อสังคมในวงกว้าง ต่อไป
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
26
ชื่อภาพ Danger เทคนิค คอมพิวเตอร์กราฟิก ขนาด 15 x 19 นิว้
27
สีสันแห่งวสันตฤดู The colours to Rainy Season โดย รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์ * แนวคิดการสร้างสรรค์ ฝนที่โปรยปรายช่วยบรรเทาความร้อนและแห้งแล้งแห่งฤดูร้อน พืชพรรณไม้ต่างๆ ล้วนผลิใบสดชื่นเมื่อฝนพร่ำ แมกไม้ผลิตดอกสวยงาม หากเปรียบได้กับชีวิต ฤดูฝนเป็นฤดูแห่งการเกิดดั่งเช่น การแตกช่อผลิด อกออกผล การเกิดของฝนเป็นวงจรหมุนเวียนไป จากน้ำระเหยเป็นไอน้ำรวม กลุ่มกับเป็นเมฆ จากนั้น ตกลงมาเป็นน้ำฝน น้ำขังตามแอ่งน้ำแล้วระเหย เป็ น น้ ำ ฝนต่ อ ไป เปรี ย บได้ กั บ ความพยายามที่ ป ระสบผลสำเร็ จ และ เมื่อเรื่ อ งหนึ่ ง ลุ ล่ ว งไปแล้ ว มนุ ษ ย์ ก็ จ ะมี ค วามหวั ง ความพยายามกั บ เรื่องใหม่ต่อไป ทุกอย่างต้องมีความพอดี หากฝนกระหน่ำรุนแรงปริมารฝนมาก เกิ น ไปก็ จ ะทำให้ เ กิ ด พิ บั ติ ภั ย สิ่ ง นี้ ส ามารถนำมาประยุ ก ต์ ไ ด้ กั บ การ ดำรงชีวิต น้ ำ ฝนชะล้ า งละอองในอากาศซึ่ ง เกิ ด จากอนุ ภ าคเล็ ก ๆ เช่ น ฝุ่นละออง หรือ เขม่าควันให้ตกลงสู่พื้นดิน เราจึงเห็นว่าท้องฟ้าหลังฝน ตกหนักจะโปร่งใส ดังคำกล่าวที่ว่า ฟ้าหลังฝนงดงามเสมอ จากแรงบัลดานใจ ดังกล่าว ข้าพเจ้าสนใจแนวทางการสร้างสรรค์ การออกแบบผ้าด้วยการใช้ผ้าไหมไทย เทียนและสีเป็นสื่อแสดงสาระ ของความรู้ สึ ก และความงดงามในมโนภาพของวสั น ตฤดู รู ป แบบ ธรรมชาติด้วยกลวิธีของบาติก การเขียนเทียน ซ้อนสี การสลัด สะบัด เพื่อให้เกิดมิติแห่งสี ถ่ายทอดความงามและความรู้สึกของวสันตฤดู
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
28
ชื่อภาพ งานออกแบบชุดสีสันแห่งวสันตฤดู เทคนิค บาติก ขนาด 105 x 275 ซม.
29
สีสันแห่งคิมหันต์ฤดู The colorus of Summer Season โดย รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์ * แนวคิดการสร้างสรรค์ ฤดูกาลสัมพันธ์กับอุณหภูมิและแสงอาทิตย์เหมันต์ ฤดูหรือฤดูร้อน เป็นฤดูที่โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากและนานกว่า เมื่อฤดูร้อน มาถึง สภาพแวดล้อมถูกปกคลุมด้วยแสงสว่างสดใส เจิดจ้า ฤดูร้อนนำ สีสัน สู่ พื้ น โลก เติ ม เต็ ม จิ ต ใจก่ อ ให้ เ กิ ด พลั ง แห่ ง ชี วิ ต ด้ ว ยเสี ย งหั ว เราะ และดอกไม้ บ าน ฤดู ร้ อ นเป็ น ฤดู แ ห่ ง การครอบครั ว การพั ก ผ่ อ นการ ท่องเที่ยว เพื่อสำรวจสถานที่ต่างๆ ได้สัมผัสกลิ่นไอทะเล แสงอันเจิดจ้า และอบอุ่น หรือร้อนแรงของดวงอาทิตย์ บรรยากาศในฤดูร้อนในความรู้สึกของบางคน อาจหมายถึง ฤดูกาล ที่ร้อนรุ่ม ทั้งบรรยากาศ อารมณ์ และความรู้สึกเป็นฤดูที่แห้งแล้งลมแรง ต้ อ งหลบอยู่ ภ ายใต้ ร่ ม เงา ในขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น ฤดู ก าลที่ ส ว่ า งโสว เริงร่ารับลมร้อน ไม่ซึมเศร้า หม่นหมองเหมือนฤดูกาลอื่น จากข้ อ มู ล และความรู้ สึ ก ดั ง กล่ า ว ข้ า พเจ้ า สนในแนวทางการ สร้ า งสรรค์ ผ ลงานการออกแบบย้ อ มสี โดยใช้ ผ้ า ไหมไทยและสี ย้ อ ม เป็นสื่อ เลือกเทคนิคการย้อมเย็นในการแสดงออกถึงสาระความรู้สึก ต่ อ ธรรมชาติ แ ละสภาพแวดล้ อ มในฤดู ร้ อ นหรื อ ฤดู เ หมั น ต์ ถ่ า ยทอด ความรู้ สึ ก การรั บ รู้ ด้ ว ยการพิ ม พ์ เย็ บ พั บ มั ด ย้ อ ม ถ่ า ยทอดรู ป แบบ เป็ น ลั ก ษณะนามธรรม (Abstract) ด้ ว ยเส้ น รู ป ทรง และสี ที่ มี ค วาม สว่างสดใส มืด คล้ำ ทับ ซ้อนต่อเนื่องกันอย่างมีจังหวะ * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
30
ชื่อภาพ งานออกแบบชุดสีสันแห่งคิมหันต์ฤดู เทคนิค พับ มัดย้อม ขนาด 105 x 210 ซม.
31
การถ่ายภาพ ชุด แสงไฟ Night Picture โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สุนทรนนท์ * แนวคิดการสร้างสรรค์ แสงในยามค่ำคืน มีความสดใส สร้างความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะความสว่างของสีที่เกิดจากแสง ที่เปล่งออกมาจากต้นกำเนิดมิได้ ผ่านการผสมผสานจากแสงอื่นใด เราจะเห็นแสงยามค่ำคืน เป็นแสงแห่ง ความบริ สุ ท ธิ์ มี ค วามสวยงาม น่ า ชวนมอง นั ก ถ่ า ยภาพหลายท่ า น ที่ต้องการบันทึกแสงเหล่านี้เพื่อถ่ายทอดเนื้อหา อารมณ์ของภาพออกมา ให้ผู้ชมได้รับรู้ ตื่นเต้นกับสิ่งเหล่านั้น เริ่มต้นจากการไปเที่ยวงานศิลปวัฒนธรรมที่จังหวัดปัตตานี ภาพ แสงไฟที่ติดตั้งตามร้านค้าที่เรียงราย ตามเส้นทางเดินซึ่งทอดยาวเพื่อ วางขายสิ่งของต่างๆ ที่หลากหลายกันออกไป นอกจากของกินของใช้แล้ว ความบันเทิงสร้างความสนุกสนานไม่ใช่น้อยนั้นก็คือ เครื่องเล่นต่างๆ สำหรับเด็ก ไม่ว่าจะเป็นม้าหมุน เรือเหาะ และชิงช้าสวรรค์ ที่คอยเรียก ผู้ชมให้เห็นภาพของงานแต่ไกล สีสันแห่งแสงไฟที่ติดตั้งกับเครื่องเล่น เหล่ า นั้ น สร้ า งความตื่ น เต้ น ไม่ ใ ช่ น้ อ ย ผสมผสานกั บ แสงไฟพลุ ที่ จุ ด ประกายสว่ า งไสวชั่ ว ครู่ เ พื่ อ ให้ ทุ ก คนได้ ท ราบว่ า งานประจำปี ไ ด้ เ ริ่ ม ต้ น ขึ้ น แล้ ว จากแนวคิ ด เหล่ า นี้ ได้ ถู ก บั น ทึ ก ภาพไว้ ด้ ว ยกล้ อ งคู่ ใ จ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง เพื่ อ ท่ า นผู้ ช มจะได้ ช มและสนุ ก สนานไปกั บ งานประจำปี ที่มาเยือนในปีนี้อีกครั้ง............ * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
32
ชื่อภาพ งานประเพณี 1 เทคนิค ถ่ายภาพ ขนาด 16 x 24 นิ้ว
ชื่อภาพ งานประเพณี 2 เทคนิค ถ่ายภาพ ขนาด 16 x 24 นิ้ว
ชื่อภาพ แสงพลุ 2 เทคนิค ถ่ายภาพ ขนาด 16 x 24 นิ้ว
33
การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สุนทรนนท์* แนวคิดการสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ ชิ้นงาน จากภาพถ่ายที่ได้บันทึกไว้ขณะที่มีโอกาส ไปเที่ยวตลาดน้ำอัมพวา ซึ่งในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ที่นี่จะเต็มไปด้วยเรือ ของแม่ค้าที่บรรทุก อาหาร ผักผลไม้ ของใช้ ส่วนด้านบนสองฟากฝั่ง จะมีนักท่องเที่ยวค่อยจับจ่ายใช้สอย ดูแล้วให้อารมณ์ของความสนุก ในวันหยุดอย่างแท้จริง ในมุมมองอีกเวลาหนึ่ง แสงสี เสียง ของตลาดแห่งนี้ จะมีสีสัน ไม่แพ้ตอนกลางวัน ยามค่ำคืนจะมีเสียงเพลงบรรเลงจากร้านอาหาร ของสองฟากฝั่ง แสงสีจากหลอดไฟที่ประดับประดาไว้สะท้อนแสงกับ ผิวน้ำของคลองแห่งนี้ ผู้คนจะเดินจับจ่ายใช้สอย ดูเสื้อผ้า กำไล แหวน ภาพเก่าๆ และอาหารโบราณที่ทำกันมาแต่ดั้งเดิมอีกมากมายจิปาถะ จากความสนุ ก สนานผสมผสานของแสงสี ที่ ส ะท้ อ นออกมาให้ เ ห็ น ความเป็นธรรมชาติของสถานแห่งนี้ จึงนำภาพปรากฏการณ์เหล่านั้นมา ผสมผสานให้เกิดภาพจินตนาการที่จะเล่าเรื่องของสถานที่แห่งนี้ * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
34
ชื่อภาพ ตลาดน้ำอัมพวา 1 เทคนิค ตกแต่งด้วยคอมพิวเตอร์ ขนาด 16 x 24 นิว้
ชื่อภาพ ตลาดน้ำอัมพวา 2 เทคนิค ตกแต่งด้วยคอมพิวเตอร์ ขนาด 16 x 24 นิว้
35
ศิลปะดิจิตอลอาร์ต ชุดล้น Unreasonable โดย อาจารย์วรา สำราญ* แนวคิดการสร้างสรรค์ ธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนมีอารมณ์ด้วยกันทั้งสิ้น เช่น อารมณ์ ตื่นเต้น เสียใจ ดีใจ ตกใจ กลัว โกรธ ฯลฯ แต่จะแตกต่างกันในลักษณะ ของการแสดงออก โดยบางคนสามารถระงับอารมณ์ที่เกิดขึ้น แต่บางคน ก็ไม่สามารถระงับความรู้สึกทางอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้ และจะแสดงออกมา ให้เห็นอย่างเด่นชัด แต่หากคนเราปราศจากอารมณ์ชีวิตก็จะราบเรียบ และไม่ ต่ า งอะไรไปจากหุ่ น ยนต์ ในอี ก มุ ม มองหากคนเราไม่ ส ามารถ ความคุมอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้ หรือเป็นการขาดสติ สิ่งเลวร้ายเกิดขึ้นจาก การตั ด สิ น ใจจากอารมณ์ เ พี ย งชั่ ว วู บ หรื อ อารมณ์ ที่ “ล้ น ” ออกมา โดยแสดงออกทางการกระทำ เช่น การทำร้ายตนเอง ทำร้ายผู้อื่น ทำลาย วั ต ถุ สิ่ ง ของ จนกระทบผลที่ ต ามมาจากอารมณ์ “ล้ น ” อาจมากมาย เกินกว่าจะคาดคิดได้ ผลงานดิจิตอลอาร์ต ชุด ล้นนี้ ผู้สร้างสรรค์ต้องการที่จะนำเสนอ สภาวะของอารมณ์ที่ล้นจนขาดสติ อันเกิดจากสิ่งเร้าต่างๆ ที่เข้ามามีผล กระทบต่อจิตใจในแง่ลบ ผ่านการออกแบบสร้างสรรค์ โดยใช้องค์ประกอบ ทางศิลปะไม่ว่าจะเป็น รูปร่าง เส้น สี พื้นผิว พื้นที่ว่าง นำมาจัดองค์ประกอบ ให้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา โดยที่ผู้สร้างสรรค์จะนำเสนอ สภาวะของ อารมณ์ ที่ “ล้ น ” ออกมา เพื่ อ ให้ ผู้ ที่ ส นใจในผลงานสร้ า งสรรค์ ชิ้ น นี้ ได้ เ กิ ด ความรู สึ ก ว่ า การขาดสติ ห รื อ ไม่ ส ามารถควบคุ ม อารมณ์ ที่ ล้ น ออกมาได้นั้น เป็นอย่างไร * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
36
ชื่อภาพ ล้น เทคนิค ดิจิตอลอาร์ต ขนาด 50 x 100 ซม.
37
ศิลปะดิจิตอลอาร์ต (Digital Arts) ชุด ก้อนชีวิต โดย อาจารย์วรา สำราญ* แนวคิดการสร้างสรรค์ เป็นที่ยอมรับกันว่านักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันมีความสามารถมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากดูจากผลงานที่เกี่ยวข้องกับ ดีเอ็นเอ ซึ่งเป็นความ สลับซับซ้อนในสิ่งมีชีวิต มีรูปแบบการรวมตัวของอนุภาคที่เล็กที่สุด เป็น ฐานของสิ่งมีชีวิต นักวิทยาศาสตร์ก็สามารถวิเคราะห์และเปลี่ยนแปลง มันได้ ซึ่งเรียกว่าเทคโนโลยีการตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) แต่การกระทำ เหล่านั้นเป็นการยัดเยียดความต้องการใหม่ คุณค่าใหม่ ให้แก่ยีนของ สิ่ ง มี ชี วิ ต เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ อ าจเกิ น ขอบเขตความจำเป็ น ของมนุ ษ ย์ และอาจสร้างมหันตภัยแก่เผ่าพันธุ์ของสรรพสิ่งบนโลกใบนี้ ผู้สร้างสรรค์ผลงานดิจิตอลอาร์ต ชุด ก้อนชีวิตนี้ สนใจที่จะศึกษา จิ ต รกรรมที่ แ สดงออกถึ ง จิ น ตนาการเหนื อ จริ ง ที่ แ สดงออกถึ ง เนื้ อ หา อันเกิดจากผลกระทบในการตัดต่อพันธุกรรม โดยต้องการเน้นอารมณ์ ของความเจ็บปวด ทุรนทุราย จากการฝืนกฎธรรมชาติด้วยเทคโนโลยี ของมนุษย์ ในรูปแบบของความฝันหรือความเป็นจริงตามความนึกคิด ที่ เ ปลี่ ย นแปลงจากสิ่ ง หนึ่ ง ไปสู่ อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ด้ ว ยเทคโนโลยี ชี ว ภาพใน การตัดต่อพันธุกรรม
38
* อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
ชื่อภาพ ก้อนทรมาน เทคนิค ดิจิตอลอาร์ต ขนาด 50 x 100 ซม.
39
สถาปัตยกรรม ชุดออกแบบมัสยิดกลางมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อับดุลรอซะ วรรณอาลี* แนวความคิดการสร้างสรรค์ 1 . แนวคิดด้านประโยชน์ใช้สอย มั ส ยิ ด ในแนวทางอิ ส ลามเป็ น ศู น ย์ ก ลางชุ ม ชน สำหรั บ การ ประกอบคุณงามความดี การออกแบบอาคารต้องมีความยืดหยุ่น สำหรับ ทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นในมหาวิทยาลัย 2. แนวคิดด้านรูปทรง ใช้รูปทรงที่เหมาะแก่การจดจำ และสื่อแสดงอออกถึงความ เรียบง่าย นำสถาปัตยกรรมในรูปแบบของอิสลาม (ISLAMIC ARCHITECTURE) ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่นมลายูชายแดนภาคใต้ 3. แนวคิดด้านเอกลักษณ์ ออกแบบให้เป็นรูปทรงเฉพาะและสอดคล้องกับรูปทรงโดยภาพรวม ของมหาวิทยาลัย * อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
40
ชื่อภาพ โครงการออกแบบและก่อสร้างอาคารมัสยิดกลาง มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เทคนิค Photoshop
41
ประวัติผู้สร้างสรรค์ Artist Biography
42
43
รศ.นิคอเละ ระเด่นอาหมัด
Assoc.Prof. Nicoleh Radenahmad เกิด 13 ตุลาคม 2492 จ.ปัตตานี การศึกษา ปริญญาตรี กศ.บ.(ศิลปศึกษา) ปริญญาโท M.A. [Fine Arts] ผลงานสร้างสรรค์ 2548 ร่ ว มนิ ท รรศการศิ ล ปะคิ ด ถึ ง สมเด็ จ ย่ า ฯ ณ หอศิ ล ป์ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ และร่วมบริจาคผลงานเพื่อประมูลหารายได้เข้ามูลนิธิ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จำนวน 3 ชิ้นเป็นเงินทั้งสิ้นสองแสนสองพันบาท 2549 ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมครบรอบ 1 ปี สึนามิและร่วมบริจาคภาพเข้าร่วมประมูล เพื่อสมทบทุนมูลนิธิคุณพุ่ม เจนเซน 2550 นิทรรศการศิลปกรรม วันกัลยาณิวัฒนา ณ หอศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2551 นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยนานาชาติ 2551 สงขลา ประเทศไทย ครั้งที่ 1 นิทรรศการศิลปกรรมมหัศจรรย์กล้วยไม้นานาชาติ ณ ศูนย์การค้า สยามพารากอน กรุงเทพฯ นิ ท รรศการจิ ต รกรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ “พระผู้ ท รงงานอั น ยิ่ ง ใหญ่ ” ณ หอศิ ล ป์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพ ฯ นิ ท รรศการศิ ล ปกรรมชมรมศิ ล ปิ น ทั ศ นศิ ล ป์ น านาชาติ ค รั้ ง ที่ 1 ณ หอศิ ล ป์ สิ ริ กิ ต์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพ ฯ นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) 2552 นิ ท รรศการศิ ล ปกรรมชมรมศิ ล ปิ น ทั ศ นศิ ล ป์ น านาชาติ ค รั้ ง ที่ 1 ณ หอศิ ล ป์ สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ นิทรรศการจิตรกรรม...โลหิตสานชีวติ ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน กรุงเทพมหานคร นิทรรศการวาดเส้นสาธิตศิลปกรรม ครั้งที่ 2 ณ หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสนามจันทร์ นิทรรศการศิลปกรรม “ความผูกพัน” ณ พิพิธภัณฑ์บ้านหัตถกรรมและศิลปกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) 2553 นิ ท รรศการ มหั ศ จรรย์ ก ล้ ว ยไม้ แห่ ง รั ก นิ รั น ดร์ เฉลิ ม พระเกี ย รติ เ นื่ อ งในโอกาส วันราชาภิเษกสมรสครบ 60 ปีและ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ ศูนย์การค้า สยามพารากอน กรุงเทพฯ
44
อาจารย์ศตพล ลูกอินทร์ Satapol Luk-in
เกิด 15 กรกฎาคม 2500 จ.ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา ศศบ.ศิลปกรรม (สาขาศิลปะภาพพิมพ์) สถาบันเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
45
อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง Pramote Sriplung
เกิด 13 มิถุนายน 2516 จังหวัดเพชรบุรี การศึกษา ศิ ล ปศาสตร์ บั ณ ฑิ ต (ศิ ล ปกรรม) ศศ.บ.(ศิ ล ปกรรม) เกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ 1 สถาบันราชภัฏเพชรบุรี ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศึกษา) ค.ม.(ศิลปศึกษา)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสร้างสรรค์ 2540 นิทรรศการศิลปะ “สีสัน ปลายพู่กัน อันดามัน ภูเก็ต” (ภูเก็ต) 2543 นิทรรศการศิลปกรรม ชุด “สีสันสหัสวรรษ” (กรุงเทพฯ) นิทรรศการศิลปะ “สีสัน ปลายพู่กัน อันดามัน ภูเก็ต” (ภูเก็ต) 2544 นิทรรศการศิลปะ ชุด “สีสันตะวันออก” The Oriental Colour(กรุงเทพฯ) นิทรรศการศิลปะ “สีสัน ปลายพู่กัน อันดามัน ภูเก็ต” (ภูเก็ต) 2546 นิทรรศการศิลปะ “ วิถีชีวิตชาวใต้” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ปัตตานี) 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะเฉลิ ม พระเกี ย รติ “ในหลวงในดวงใจ” อุ ท ยาน การเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะ “ศรี ศิ ล ป์ ศรี แ ผ่ น ดิ น ” อุ ท ยานการเรี ย นรู้ ย ะลา (TK Park)
46
อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ Karp Seppakit
เกิด 5 กันยายน 2512 จ.ยะลา การศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ศศบ. (ออกแบบประยุกต์ศิลป์) สถาบันราชภัฏยะลา ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะเฉลิ ม พระเกี ย รติ “ในหลวงในดวงใจ” อุ ท ยาน การเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะ “ศรี ศิ ล ป์ ศรี แ ผ่ น ดิ น ” อุ ท ยานการเรี ย นรู้ ย ะลา (TK Park) 2553 นิทรรศการศิลปะ Visual Art in Creativity 2 ณ ศูนย์ศิลป์ศรีพิพัฒน์ กรุงเทพมหานคร
47
อาจารย์ประทีป สุวรรณโร Prateep Suwanro
เกิด 21 มีนาคม 2512 จ.สงขลา การศึกษา มัธยมศึกษา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อนุปริญญา(ออกแบบประยุกต์ศิลป์) วิทยาลัยครูยะลา ศึกษาศาสตร์บัณฑิต(ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การศึกษามหาบัณฑิต(ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพมหานคร ผลงานสร้างสรรค์ 2544 นิ ท รรศการสี น้ ำ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโท มศว.ประสานมิ ต ร กรุ ง เทพ 2546 นิ ท รรศการศิ ล ปะ “วิ ถี ชี วิ ต ชาวใต้ ” มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ปัตตานี 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะเฉลิ ม พระเกี ย รติ “ในหลวงในดวงใจ” อุ ท ยาน การเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะ “ศรี ศิ ล ป์ ศรี แ ผ่ น ดิ น ” อุ ท ยานการเรี ย นรู้ ย ะลา (TK Park) นิทรรศการศิลปกรรม “ความผูกพัน” ณ พิพิธภัณฑ์บ้านหัตถกรรม และศิลปกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
48
อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต Saringkharn Kitiwinit
เกิด 5 กุมภาพันธ์ 2518 จังหวัดพัทลุง การศึกษา ศิลปบัณฑิต (ศบ.) เกียรตินิยมอันดับ 2 สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ศิลปมหาบัณฑิต (ศม.) สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานสร้างสรรค์ 2545 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้กับกลุ่มแม่บ้าน จ.สมุทรสงคราม 2546 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ gift set ให้กับเครื่องสำอาง AVON ออกแบบอัตลักษณ์องค์กรให้กับบริษัท Loqic Park 2547 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์กาแฟ ยี่ห้อ คาเฟ่ ดิโอโร่ (CAFFE D’ ORO) 2550 ออกแบบตราสัญลักษณ์ของคณะวิทยาการจัดการ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชการ 51” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะเฉลิ ม พระเกี ย รติ “ในหลวงในดวงใจ” อุ ท ยาน การเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา นิ ท รรศการศิ ล ปะ “ศรี ศิ ล ป์ ศรี แ ผ่ น ดิ น ” อุ ท ยานการเรี ย นรู้ ย ะลา (TK Park) 2553 ออกแบบตราสัญลักษณ์ของโรตารีจังหวัดยะลา
49
รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์ Assoc.Prof. Nantha Rojana-udomsart เกิด 7 พฤษภาคม 2490 จ.นครศรีธรรมราช การศึกษา ป.ม.ช. เพาะช่าง ปริญญาตรีศิลปศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร งานวิจัย ลวดลายตกแต่งบ้านของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศิลปะมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คนไทยในตุมปัต(วิจัยร่วม) ลวดลายและองค์ประกอบทางศิลปะบนมัสยิดในจังหวัดปัตตานี (วิจัยร่วม) โครงการการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัย ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษาจังหวัดยะลา(วิจัยร่วม) ผลงานทางวิชาการ หนังสือการออกแบบเครื่องหนัง หนังสือการทำผ้าบาติก หนังสือบาติกอินโดนีเซีย หนังสือการออกแบบลายผ้า: พับ มัด ย้อม เอกสารประกอบการสอนประวัติศาสตร์ศิลป์ เอกสารคำสอนประวัติศาสตร์ศิลป์ไทย เอกสารประกอบการสอนภูมิปัญญาศิลปกรรมพื้นถิ่นภาคใต้ เอกสารคำสอนเรื่อง เทคนิคการย้อมสี บาติกและแก้วศิลป์ (แต่งรวมกับ รศ.เฉลิมยศ อุทยารัตน์) ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 50
ผศ.สุพร สุนทรนนท์
Asst.Prof. Suporn Soontornnon เกิด จังหวัดตรัง การศึกษา ม.ศ.3 จากโรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการพิมพ์ จากวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวะศึกษา(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ ในปัจจุบัน) ปริญญาตรีสาขา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา ปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ผลงานวิจัย การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น หัตถกรรมผ้าบาติกลายพิมพ์ จังหวัดนราธิวาส 2548 การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์บทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคนิคการถ่ายภาพเพื่องานออกแบบสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2553 ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
51
อาจารย์วรา สำราญ Wara Samran
เกิด 17 มกราคม 2525 จ.นราธิวาส การศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ศศบ. (ออกแบบประยุกต์ศิลป์) สถาบันราชภัฏยะลา ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2553 นิทรรศการศิลปะ Visual Art in Creativity 2 ณ ศูนย์ศลิ ป์ศรีพพิ ฒ ั น์ กรุงเทพมหานคร
52
ผศ.อับดุลรอซะ วรรณอาลี
Asst.Prof. Abdulrosah Wanna-alee เกิด 26 กุมภาพันธ์ 2506 จ.ยะลา การศึกษา ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิตย์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปริญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิตย์(พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(นิด้า) ผลงานวิจัย โครงการการศึกษาวิจัยลวดลายประดับและตกแต่งทางศิลปะของมัสยิด ในจังหวัดปัตตานี (หัวหน้าโครงการวิจัย) โครงการการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์การพัฒนา ที่อยู่อาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษาจังหวัดยะลา (หัวหน้าโครงการวิจัย) ผลงานสร้างสรรค์ด้านสถาปนิก ออกแบบและวางผังอาคาร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา(ทั้งโครงการ) ออกแบบอาคารสำนักงานเทศบาลเมืองนราธิวาส (แบบชนะการประกวด) ออกแบบอาคารสำนักงานองค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา ร่วมออกแบบอาคารศูนย์กีฬา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ออกแบบอาคารสำนักงานคณะกรรมอิสลามประจำจังหวัดยะลาและปัตตานี ผลงานสร้างสรรค์ด้านศิลปะ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 53
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ประจำปีงบประมาณ 2553 โครงการ งานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ ความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการวิจัย ความสอดคล้องกับตัวชี้ของ: สมศ.ที่ 2.1,2.2,2.3,2.4,2.5,2.7 กพร.ที่ 4.2.1,4.2.2,4.2.3,4.2.5 สกอ.ที่ 2.8,4.1,4.2,4.3,4.4 ผู้รับผิดชอบ คณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์... หลักการและเหตุผล
งานวิ จั ย และงานสร้ า งสรรค์ เ ป็ น ภารกิ จ สำคั ญ อย่ า งหนึ่ ง ของอาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย โดยเฉพาะงาน สร้ า งสรรค์ ท างด้ า นทั ศ นศิ ล ป์ เ ป็ น สิ่ ง ที่ อ าจารย์ ส อนศิ ล ปกรรมมี ค วามถนั ด มากที่ สุ ด ดั ง นั้ น โครงการงาน สร้ า งสรรค์ ทั ศ นศิ ล ป์ จึ ง เปิ ด โอกาสให้ อ าจารย์ ใ นสั ง กั ด ภาควิ ช าศิ ล ปกรรมศาสตร์ ไ ด้ ส ร้ า งสรรค์ ผ ลงานทาง ทัศนศิลป์พร้อมกับกระบวนการเผยแพร่เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจตามที่กำหนดของ กพอ.
วัตถุประสงค์
1. เพื่ออาจารย์ในสังกัดภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ได้สร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์คนละ 2 ชุด 2. เพื่ อ นำผลงานสร้ า งสรรค์ ทั้ ง หมดไปเผยแพร่ โ ดยวิ ธี ก ารจั ด นิ ท รรศการและจั ด พิ ม พ์ เ ป็ น เอกสาร ประกอบผลงานสร้างสรรค์
เป้าหมาย
54
1. มีผลงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ไม่น้อยกว่า 18 ชุด 2. มีเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ผลงานรายบุคคลไม่น้อยกว่า 18 ชุด 3. มีการจัดแสดงนิทรรศการ จำนวน 2 ครั้ง
แผนการดำเนินงาน กิจกรรมสำคัญ
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. เสนอโครงการ 2. ประชุมเตรียมการ 3. ดำเนินการสร้างสรรค์ ครั้งที่ 1 4. จัดนิทรรศการครั้งที่ 1 5. ดำเนินการสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2 6. จัดนิทรรศการครั้งที่ 2 5. สรุปผลโครงการ งบบำรุงการศึกษา 167,400 บาท ค่าใช้สอย 1. ค่าจ้างจัดพิมพ์เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ จำนวน 80,000 บาท 2. ค่าจ้างพิมพ์ต้นฉบับงานสร้างสรรค์ 10,000 บาท ค่าวัสดุ 1. ค่าวัสดุสำหรับงานสร้างสรรค์ จำนวน 77,400 บาท งบโครงการบัณฑิตศึกษา 12,600 บาท ค่าวัสดุ 1. ค่าวัสดุสำหรับงานสร้างสรรค์ จำนวน 12,600 บาท หมายเหตุ : ขอถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. อาจารย์ได้สร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ไม่น้อยกว่า 18 รายการพร้อมเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ 2. ได้เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์โดยการจัดนิทรรศการจำนวน 2 ครั้งและสูจิบัตรจำนวน 2 เล่ม
55
ลงชื่อ..........................................................ผู้เสนอโครงการ (รองศาสตราจารย์นิคอเละ ระเด่นอาหมัด) ประธานหลักสูตรออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์
ลงชื่อ..........................................................ผู้ตรวจสอบโครงการ (นายประทีป สุวรรณโร) หัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
ลงชื่อ..........................................................ผู้ตรวจสอบโครงการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ โยธาทิพย์) คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
56
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ประจำปีงบประมาณ 2553 โครงการ จัดทำเอกสารเผยแพร่งานสร้างสรรค์ ความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการวิจัย ความสอดคล้องกับตัวชี้ของ: สมศ.ที่ 2.1,2.2,2.3,2.4,2.5,2.7 กพร.ที่ 4.2.1,4.2.2,4.2.3,4.2.5 สกอ.ที่ 2.8,4.1,4.2,4.3,4.4 ผู้รับผิดชอบ คณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์... หลักการและเหตุผล
คณาจารย์ใ นภาควิ ช าศิ ล ปกรรมศาสตร์ ไ ด้ จั ดโครงการงานสร้ างสรรค์ ด้ านทัศ นศิ ล ป์ เพื่ อ เป็ นผลงาน ทางวิชาการ ในการะบวนการสร้างสรรค์ดังกล่าว จะต้องมีการเผยแพร่ผลงาน ดังนั้นจึงจัดทำเอกสารเผยแพร่ งานสร้างสรรค์ในรูปแบบของสูจิบัตรพร้อมทั้งการจัดนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดทำเอกสารเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ 2. เพือ่ นำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทั้งหมดในรูปแบบของเอกสารประกอบผลงานสร้างสรรค์
เป้าหมาย
1. มีสูจิบัตรงานสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ จำนวน 2 เล่ม 2. มีเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ผลงานรายบุคคลไม่น้อยกว่า 18 ชุด 3. มีการจัดแสดงนิทรรศการ จำนวน 2 ครั้ง
57
แผนการดำเนินงาน กิจกรรมสำคัญ
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. เสนอโครงการ 2. ประชุมเตรียมการ 3. ดำเนินการสร้างสรรค์ ครั้งที่ 1 4. จัดนิทรรศการครั้งที่ 1 5. ดำเนินการสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2 6. จัดพิมพ์และเผยแพร่ เอกสารครั้งที่ 2 7. สรุปผลโครงการ งบโครงการบัณฑิตศึกษา 20,000 บาท ค่าใช้สอย 1. ค่าจ้างจัดพิมพ์เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ จำนวน 20,000 บาท หมายเหตุ : ขอถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. อาจารย์ได้สร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ไม่น้อยกว่า 18 รายการพร้อมเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ 2. ได้เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์โดยการจัดนิทรรศการจำนวน 2 ครั้งและสูจิบัตรจำนวน 2 เล่ม
ลงชื่อ..........................................................ผู้เสนอโครงการ (รองศาสตราจารย์นิคอเละ ระเด่นอาหมัด) ประธานหลักสูตรออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์
58
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เรื่อง รายชื่อผู้ได้รับการพิจารณาทุนอุดหนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จากเงินงบบำรุงการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2553
ประเภทอาจารย์
ลำดับที่
ชื่องานสร้างสรรค์
ผู้รับผิดชอบ
ประเภท โครงการ
งบประมาณที่ อนุมัติจัดสรร
1 2 3 4 5 6 7 8 10 11 12 13 14 15
จิตรกรรม ชุด นิเวศน์แห่งป่า จิตรกรรม ชุด เงาสะท้อน บาติกย้อมสี ชุด สีสันแห่งวสันตฤดู บาติกย้อมสี ชุด สีสันแห่งคิมหันตฤดู การถ่ายภาพ : แสงไฟ Night Picture การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ออกแบบมัสยิดกลางมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา จังหวัดของสีในสภาวะจิตเทคนิคสีอะคริลิก พลังของสีในมิติตามการรับรู้เทคนิคสีอะคริลิก จิตรกรรมเทคนิคผสม ชุด ภาพลักษณ์คนในสังคมร่วมสมัย จิตรกรรมเทคนิคผสม ชุด จริตมนุษย์ Digital Print ชุด สื่อ : เด็ก : ยุคโลกาภิวัฒน์ Typography Design : มนุษย์ ภาพพิมพ์แกะไม้สี ชุด น้ำหนักและ TEXTURE ของสี ศิลปะสื่อผสม ชุด อำนาจและความชอบธรรมของ ความเป็นเพศ ศิลปะสื่อผสม ชุด อัตลักษณ์ของเกย์ Digital Paint ชุด ล้น Digital Paint ชุด ก้อนชีวิต
รศ.นิคอเละ ระเด่นอาหมัด รศ.นิคอเละ ระเด่นอาหมัด รศ.นันทา โรจนอุดมศาสตร์ รศ.นันทา โรจนอุดมศาสตร์ ผศ.สุพร สุนทรนนท์ ผศ.สุพร สุนทรนนท์ ผศ.อับดุลรอซะ วรรณอาลี นายปราโมทย์ ศรีปลั่ง นายปราโมทย์ ศรีปลั่ง นายประทีป สุวรรณโร นายประทีป สุวรรณโร นายศฤงคาร กิติวินิต นายศฤงคาร กิติวินิต นายศตพล ลูกอินทร์ นายกัปปน์ สรรพกิจ
เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว
10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000
นายกัปปน์ สรรพกิจ นายวรา สำราญ นายวรา สำราญ
เดี่ยว เดี่ยว เดี่ยว
10,000 10,000 10,000
16 17 18
59
โดยให้ผู้ที่ได้รับทุนข้างต้น ทำสัญญาการรับทุนอุดหนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จาก เงินงบบำรุงการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2553 และผู้รับทุนสามารถมารับสัญญาการวิจัยฯ ได้ที่ สำนักงานคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2553
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรีไตรรัตน์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
60