ศิลปะวิถี
1
นิทรรศการ สร้างสรรค์
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน คณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ 2555 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ศิลปะวิถี 2
ศิลปะวิถี
3
นิทรรศการศิลปะวิถี เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน คณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ 2555 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ศิลปะวิถี
4
สาส์นจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะและการออกแบบ นอกเหนือจากคุณค่าทางความ งามหรือสุนทรียภาพแล้ว ยังเป็นสิ่งถ่ายทอดสภาพชีวิต ความคิดของผู้คนในแต่ละยุค สมัยได้อย่างคมชัด หลากหลายและตรงไปตรงมา เป็นดัชนีชวี้ ดั ความเจริญทางด้านจิตใจ และความรุ่มรวยทางด้านวัฒนธรรมของท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาท้องถิ่นมีภารกิจ สำ�คัญในการสร้างและเผยแพร่องค์ความรูท้ างด้านศิลปวัฒนธรรม ทัง้ ทีเ่ ป็นท้องถิน่ นิยม และศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย การจัดการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบเป็นยุทธศาสตร์ ทางการศึกษาที่สำ�คัญ สำ�หรับใช้เป็นแนวทางในการดำ�รงรักษา พัฒนา เพื่อเป็นฐานใน การสร้างองค์ความรู้ใหม่ จากภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยระเบียบวิธีที่เป็นสากล พัฒนาและ ถ่ายทอดผลงานศิลปกรรมของท้องถิ่นและชาติให้มีคุณค่า และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นิทรรศการ “ศิลปะวิถ”ี จะเป็นสือ่ สร้างสุนทรียภาพให้กบั ท้องถิน่ เพือ่ การอยูร่ ว่ มกันอย่าง สันติสุขตามภารกิจของมหาวิทยาลัย “เพื่อพัฒนาท้องถิ่น” เพื่อความยั่งยืนสืบไป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรีไตรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ศิลปะวิถี
5
สาส์นจากคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเชิงวิชาการ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อเผย แพร่องค์ความรู้อันเกิดจากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เป็นอีกนโยบายหนึ่งของคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่มุ่งเน้นและสนับสนุนให้คณาจารย์สร้างองค์ความรู้ผ่าน ผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ โดยเฉพาะภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ ที่มีคณาจารย์ เชี่ยวชาญในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและผลงานออกแบบเชิงวิชาการ ให้สามารถนำ� เสนอผลงานสร้างสรรค์ต่อสาธารณะในโอกาสต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ทั่งใน ระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนผู้สนใจทั่วไป ขอแสดงความชื่นชมต่อคณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ที่ได้จัดนิทรรศการ “ศิลปะวิถี” นี้ขึ้น เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนในการใช้กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเชิง วิชาการในการส่งเสริมความหลากหลาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ สุดท้ายนี้ขอบคุณ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ช่วยทำ�ให้นิทรรศการครั้งนี้สำ�เร็จสิ้นไป ด้วยดี และขออวยพรให้การจัดนิทรรศการ “ศิลปะวิถ”ี ของคณาจารย์ภาควิชาศิลปกรรม ศาสตร์ ครั้งนี้ประสบความสำ�เร็จดังเจตนารมณ์ทุกประการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ศิลปะวิถี
6
สาส์นจากหัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ นิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ทางศิลปะเชิงวิชาการ “ศิลปะวิถี”เป็นโครงการที่ ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ได้จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ การนำ � เสนอผลงานสร้ า งสรรค์ แ ละจั ด ทำ � เอกสารสู จิ บั ต รเผยแพร่ ภ ายใต้ โ ครงการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน ซึง่ เป็นยุทธศาสตร์ที่สำ�คัญในการ พัฒนากระบวนการเรียนการสอนศิลปะและการออกแบบ ของคณาจารย์ในภาควิชา ศิลปกรรมศาสตร์ที่มุ่งเน้นกระบวนการสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ และมีระเบียบวิธีที่ ชัดเจนมีเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงให้เห็น แนวคิด วัตถุประสงค์ใน การสร้างสรรค์ นิทรรศการครั้งนี้ประกอบด้วยผลงานของคณาจารย์ 2 สาขาวิชา ได้แก่ผลงาน คณาจารย์ในสาขาวิชาศิลปกรรมและสาขาวิชาออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ จำ�นวน 9 ท่านด้วยกัน ซึง่ แต่ละท่านได้แสดงออกเป็นผลงานที่มีความแตกต่างหลากหลายทางรูป แบบ และวัสดุการสร้างสรรค์อนั เป็นผลมาจากการค้นคว้าทดลองเพือ่ หาข้อสรุป ตามวิถี ทางศิลปะทีแ่ ตกต่างกัน สำ�หรับใช้เป็นสือ่ สร้างสรรค์เพือ่ การเรียนรูท้ อี่ าจารย์แต่ละท่านรับ ผิดชอบสอนในแต่ละภาคเรียนไว้อย่างสังเขป สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการแสดงนิทรรศการ “ศิลปะวิถี” ในครั้งนี้จะก่อ ประโยชน์ตอ่ ประสบการณ์การรับรู้ สุนทรียภาพและวิชาการด้านศิลปะและการออกแบบได้ บ้างไม่มากก็น้อย
อาจารย์ประทีป สุวรรณโร หัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์
7 ศิลปะวิถี
ศิลปินรับเชิญ
ชื่อภาพ Partai Mek Mas ศิลปิน Ismail Kadir (Malaysia) ขนาด 56 x 76 cm. เทคนิค สีนํ้าบนกระดาษ
ชื่อภาพ Krabi Island ศิลปิน Goh Beng Kwan (Singapore) ขนาด 90 x 75 cm. เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ
ศิลปะวิถี
8
ศิลปินรับเชิญ
ชื่อภาพ แสงจันทร์ ศิลปิน มูฮำ�มัด โรจนอุดมศาสตร์ ขนาด 75 x 75 cm เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ
ชื่อภาพ สามัคคีประเทศไทย ศิลปิน รศ.วุฒิ วัฒนสิน ขนาด 75 x 95 เซนติเมตร เทคนิค อะคริลิคบนผ้าใบ
ชื่อภาพ ขอพรใต้สันติสุข ศิลปิน ผศ.ชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์ ขนาด 80 x 100 เซนติเมตร เทคนิค อะคริลิคบนผ้าไม้
ชื่อภาพ มโนรา ศิลปิน รศ.วรสิทธิ์ มุทธเมธา ขนาด 70 x 90 เซนติเมตร เทคนิค สีน้ำ�มัน
9 ศิลปะวิถี
ศิลปินรับเชิญ
ศิลปะวิถี
10
ศิลปินรับเชิญ
ชื่อภาพ ธรรมชาติกับจินตนาการ ศิลปิน ผศ.อ้อยทิพย์ พลศรี ขนาด 40 x 90 cm เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ
ชื่อภาพ ปลูกป่าสามัคคี-ใต้ร่มบารมี 84 พรรษา เทิดไท้องค์ราชัน ศิลปิน นายอ๊อด ศรีสมัย ขนาด 120 x 150 cm เทคนิค สีน้ำ�มันบนผ้าใบ
ชื่อภาพ มโนราห์ธรรมนิตย์ ศิลปิน นายวินัย สุขวิน ขนาด 100 x 140 เซนติเมตร เทคนิค สีน้ำ�มันบนผ้าใบ
ดอกไม้พื้นเมืองในความทรงจำ�ของฉัน Indigenous flowers of south in my memory รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์
ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ภาคใต้เป็นดินแดนที่มีความพิเศษโดยเฉพาะความอุดมสมบูรณ์อันเนื่องมาจาก มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ทำ�ให้มีความชุ่มชื่นมีแหล่งน้ำ�ที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งก่อให้เกิดความ หลากหลาย มีทั้งความเหมือนและความแตกต่างจากภาคอื่นๆ มีความงดงามความต่าง ของสี รูปทรง โดยเฉพาะดอกไม้ ล้วนสวยสดงดงามชูช่อแบ่งบาน เป็นดอกเป็นผลสุก ร่วงหล่น ก่อให้เกิดชีวิตใหม่หมุนเวียนไปตามกาลเวลา สิ่งเหล่านี้เป็นความทรงจำ�ที่งดงาม ที่ข้าพเจ้าประทับใจ สุขสดชื่น เมื่อได้รำ�ลึก ถึงทั้งที่พบเห็นในวันวานที่ผ่านไป วัตถุประสงค์ 1 เพื่อสร้างสรรค์ผลงานจากการค้นคว้าทดลองอย่างมีระบบในหัวข้อเรื่อง “ดอกไม้พื้นเมืองในความทรงจำ�ของฉัน” 2 เพื่อนำ�เสนองานออกแบบย้อมสีในรูปแบบของการจัดนิทรรศการให้บุคคล ทั่วไปเข้าชมและเห็นคุณค่าของความงามและประโยชน์ ใช้สอย 3 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน
Indigenous flowers of south in my memory ASSOC.PROF. Nantha Rojana-udomsart
The importance and the source of the creative work South is a special land where is rich due to the rain throughout the year. This causes the South becomes moist with plentiful of water resources and leads it to a variety. There are both similarities and dissimilarities compared to other parts of the country such as beauty , differences of color, shapes, especially flowers that bloom beautifully, ripe to fall and bring new life through the cycle of time. These wonderful memories keep me impressive every time when I recall the past. Objectives 1. To create work from systematic research titled “Native flowers in my memory” 2. To present work of dye design in the form of an exhibition to the general people in order to value the beauty and its usefulness 3. To be the guidelines for the sake of improvement in teaching and learning
ศิลปะวิถี
11
ศิลปะวิถี
12
ชื่อภาพ ดองดึง ขนาด 85 x 87 cm เทคนิค บาติก
ศิลปะวิถี
13
ชื่อภาพ ชบา ขนาด 85 x 87 cm เทคนิค บาติก
ศิลปะวิถี
14
มิติสัมพันธ์ของเวลาและบริเวณที่ว่างในภาพทิวทัศน์ The Relative Dimension of Time and Space in Landscape paintings รองศาสตราจารย์นิคอเละ ระเด่นอาหมัด
ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ภาพทิวทัศน์เป็นจิตรกรรมทีส่ อื่ แทนภาพธรรมชาติในมุมกว้างที่ให้เห็นสภาพภูมปิ ระเทศเหมือนเช่นภาพที่ เรามองออกไปนอกหน้าต่างบ้าน ในประเทศอังกฤษบรรยากาศค่อนข้างจะปกคลุมด้วยเมฆหมอกตลอดเวลา โดย เฉพาะเมืองใหญ่ที่เป็นเขตอุตสาหกรรมในยุคปลายศตวรรษที่สิบแปดและระหว่างศตวรรษที่สิบเก้าซึ่งเป็นยุคการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมทำ�ให้เมืองใหญ่ ๆ มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมายซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กล่าวคือในเมืองเต็มไปด้วยควันจากโรงงานอุตสาหกรรมทำ�ให้คนอังกฤษในระดับกลางมีความต้องการภาพ จิตกรรมทิวทัศน์ประดับผนังบ้านเพื่อทำ�หน้าที่เป็นหน้าต่างเทียมแทนที่หน้าต่างจริงที่มีภูมิทัศน์ภายนอกที่ ไม่น่า ดู ศิลปินภาพทิวทัศน์ทีมีชื่อเสียงของอังกฤษที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางทั้งในอังกฤษและยุโรปได้แก่ วิลเลียม เทอเนอร์ (William Turner) และจอห์น คอนสเตเบิล (John Constable) ภาพทิวทัศน์ของเขาได้แสดงความให้เห็น ถึงบรรยากาศของแสงแดดและภูมิอากาศที่ราวกับว่า สามารถเดินเข้าไปในภาพได้ ซึ่งก่อนหน้านั้นศิลปินยุโรปใน ยุคก่อนวาดภาพทิวทัศน์ที่ได้รับการวิจารณ์ว่า เหมือนไม่มีอากาศหายใจ หลังจากนั้นภาพทิวทัศน์จึงเป็นที่นิยม มากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะในฝรั่งเศส ศิลปินกลุ่มหนุ่มสาวที่มีความคิดก้าวหน้าได้หันมาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพ ทิวทัศน์อย่างจริงจังโดยการวาดภาพทิวทัศน์ ในสถานที่จริง ส่งผลให้ศิลปินได้ภาพวาดที่มีบรรยากาศเหมือน จริงมากยิ่งขึ้น ในจำ�นวนนี้เริ่มจากศิลปินกลุ่มบาร์บีซง (Barbizon) ที่ออกไปวาดภาพทิวทัศน์อยู่ในหมู่บ้านชื่อ ดังกล่าวจนกลายเป็นชื่อกลุ่มศิลปิน ที่สำ�คัญที่สุดคือศิลปินกลุ่มประทับใจ (Impressionism) โดยการนำ�ของโก ลด โมเน (Claude Monet) และศิลปินหัวก้าวหน้าอีกหลายคนได้เริ่มวาดภาพทิวทัศน์โดยใช้เทคนิคสีน้ำ�มันแบบใหม่ ที่เรียกว่าระบายแบบโดยตรง (Direct painting) แทนที่การวาดแบบโบราณที่ใช้เทคนิคสีซ้อนบนพื้นน้ำ�ตาล ทำ�ให้ได้ ภาพทีม่ บี รรยากาศสดใสกว่า และได้เปิดประเด็นเกีย่ วกับเวลาและบริเวณทีว่ า่ งทีส่ มั พันธ์กบั มิตใิ นภาพทิวทัศน์ (The Relative Dimension of Time and Space in Landscape paintings) ประเด็นเกี่ยวกับเวลาคือการบันทึกภาพ ทิวทัศน์ที่แสดงให้เห็นบรรยากาศที่เวลาที่แน่นอนว่า เป็นเช้าเที่ยงหรือเย็น ส่วนเกี่ยวกับที่บริเวณที่ว่างคือการ แสดงให้เห็นถึงมุมมองของภาพทิวทัศน์หรือวัตถุที่แปรเปลี่ยนตามตำ�แหน่งของมุมมองทำ�ให้ศิลปินเริ่มตระหนัก ถึงบริเวณที่ว่างที่สัมพันธ์กับรูปที่เห็นเป็นการถ่ายทอดงานจิตรกรรมที่เปิดสู่มิติของโลกสมัยใหม่ที่มีมิติด้าน อื่น ๆ เข้ามาเกี่ยวข้องอีกมากมาย ดังเช่นผลงานภาพจิตรกรรมชุดของโมเนที่บันทึกภาพทิวทัศน์ภาพเดียวกัน จำ�นวนหลายภาพที่ต่างเวลาและบรรยากาศ ตลอดจนต่างมุมมองซึ่งส่งอิทธิผลต่อแนวคิดของศิลปินยุคหลังได้ พัฒนากลายเป็นศิลปะต้นแบบใหม่ ๆ ของศิลปะสมัยใหม่ ๆ ข้าพเจ้าได้แนวคิดจากจิตรกรรมชุดของโมเนดังกล่าว มาพัฒนาสู่แนวคิดของตัวเองโดยการเสนอแนวคิดเดียวกันแต่เป็นการตีความและใช้สื่อใช้เทคนิคจิตรกรรมแบบ ใหม่ ในภาพทิวทัศน์ ในบริบทที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำ�วันของตัวเอง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมเทคนิคสีอะคริลิกบนผ้าใบจำ�นวน 1 รายการ (2 ภาพ) 2. เพื่อนำ�เสนอมุมมองเกี่ยวกับความงามของภาพทิวทัศน์แนวใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเวลาและบริเวณที่ว่าง 3. เพื่อสร้างต้นแบบงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์เชิงประจักษ์และเชิงเปรียบเทียบ 4. เพื่อเป็นต้นแบบงานจิตรกรรมที่สร้างแนวคิดว่าด้วยหลักสุนทรียศาสตร์ที่มองความงามเชิงสัมพัทธ์ หรือเชิงบริบทมากกว่าความงามเป็นสัมบูรณ์ ทัง้ นีเ้ พื่อจุดประกายแนวคิดให้นกั ศึกษาหรือศิลปินผูส้ นใจได้พฒ ั นา แนวคิดต่อเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานในอนาคต
ASSOC.PROF. Nicoleh Radenahmad
The importance and the source of the creative work Landscape painting is the painting that represents natural image in wide scope as showed scenery as similar as when we looked out the window. In Britain, the atmosphere is quite hazy all the time especially big cities located in industrial zone. In the late eighteenth century and in between the nineteenth century, these were the era of the Industrial Revolution. As a result, there were many industrial factories set up in big cities and that affected to the environment where there was full of pollution from the factories. Therefore, middle class of British needed landscape paintings attached on their walls to be as an artificial replacement window instead of a real one that had an ill-sight scenery. British landscape artists who were famous and well known both in Britain and Europe included William Turner and John Constable. Their landscape paintings represented the atmosphere of sun light and the weather like you could walk into the paintings. Prior to that, landscape paintings of European artists had been criticized as there was no air to breathe. Later, landscape paintings became more popular especially in France. Many young and fresh artists turned to create landscape paintings pragmatically by drawing from real location. This had reflected the paintings to be more realistic. Among them was the artists who were from Barbizon group. They went out to draw landscape painting in a famous village as later known as the name of the artists. The most important group was the Impression led by Claude Monet and many leading artists. They had started to draw landscape painting by using new oil color technique as called “Direct Painting” instead of the traditional drawing that used multiple colors technique on brown ground. As a result, the painting had brighter atmosphere and had raised an issue on the Relative Dimension of Time and Space in Landscape Painting. The time issue was about record of landscape painting represented the atmosphere at exact time whether in the morning, noon or evening. Whereas empty space referred to the perspective of landscape painting or the object that changed according to the position of perspective. These had led to the artists’ awareness of the empty space related the painting appeared and that was the transmissibility of painting that opened to the dimension of modern world and other dimensions such as a series of painting created by Monet who captured the same paintings several time at a different time and atmosphere. The different perspectives influenced the next generation of artists and had developed a new master of the art and modern art. I have got the idea from Monet’s series of painting and have developed into my own concept by presenting the same concept but interpreting and using new technique of landscape painting in the context related to my personal daily life. Objectives 1. To create painting work by using Acrylic techniques on canvas for 1 piece (2 paintings) 2. To present perspective on the beauty of new style of landscape painting related to time and empty space 3. To create model of empirical and comparative landscape painting 4. To be the model of painting that creates the idea on aesthetic principles in which concern on its relation or context rather than an absolute beauty. The idea is to spark students or artists who have developed the concept for the future creation
15 ศิลปะวิถี
The Relative Dimension of Time and Space in Landscape paintings
ศิลปะวิถี
16
ชื่อภาพ สะพานสนามช้างเผือกยามเที่ยง ขนาด 60 x 80 ซม. เทคนิค สีอะคริลิกบนผ้าใบ
ศิลปะวิถี
17
ชื่อภาพ สะพานสนามช้างเผือกยามเย็น ขนาด 60 x 80 ซม. เทคนิค สีอะคริลิกบนผ้าใบ
ศิลปะวิถี
18
การสร้างหุ่นจำ�ลองโมเดลของมนุษย์ Human Model in 3Ds Graphic ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สุนทรนนท์
ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ในอดีตนั้น การพัฒนาสร้างหุ่นโมเดล 3 มิติมีข้อจำ�กัดอยู่มาก รวมถึงความยากในการ พัฒนาเมื่อเปรียบเทียบกับการสร้างหุน่ 2 มิตแิ ล้ว จะเห็นถึงความยุง่ ยากซับซ้อนเนื่องจากการสร้าง หุ่นโมเดล 3 มิตินั้น ผู้พัฒนาต้องเข้าใจโลก 3 มิติเสียก่อน ซึ่งแตกต่างจากโลก 2 มิติอย่างสิ้นเชิง ปัจจุบันนักออกแบบเริ่มหันมาพัฒนาใช้ โปรแกรม Autodesk 3D Studio Max ถือเป็น โปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง และโปรแกรม Autodesk 3D Studio Max ช่วยให้ นักออกแบบสามารถพัฒนาสร้างงานออกแบบต่างๆ ได้อย่างสำ�เร็จไม่ว่าจะเป็นการสร้าง ตัวละคร ในเกม ฉากของเกม และองค์ประกอบด้านภาพอื่นๆ ได้โดยง่าย และมีคุณภาพสูง ดังนั้นโปรแกรม Autodesk 3D Studio Max จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการศึกษาการสร้างโมเดล 3 มิติ เพื่อใช้ในการ พัฒนา การสร้างหุ่นโมเดลของมนุษย์รวมถึงสื่อมัลติมีเดียต่างๆ และช่วยสร้างวัตถุที่มีอยู่จริง ในโลก เช่น การออกแบบพื้นผิว และอาคาร การสร้างหุ่นจำ�ลองโมเดลมนุษย์ เป็นการสร้างงาน วัตถุ 3 มิติ ที่ต้องใช้ความรู้ความชำ�นาญสูง ไม่ว่าจะเป็นการใช้โปรแกรมแกรม 3 มิติแล้ว จะต้อง เข้าใจในโครงสร้างของมนุษย์ พื้นผิว ทรงผม สีหน้า ท่าทาง เป็นต้น เพราะฉะนั้นการสร้างหุ่น โมเดลมนุษย์เป็นเรื่องที่ยาก ซับซ้อนพอสมควร อีกทั้งความสามารถในการ เคลิ่อนไหว การพูด การยิ้ม หรือการแสดงสีหน้าต่าง ๆ การสร้ า งสรรค์ ง านด้ า นการออกแบบ การสร้ า งหุ่ น โมเดลของมนุ ษ ย์ ใ นครั้ ง นี้ เพื่อต้องการศึกษาและสร้างสรรค์งานด้าน 3 มิติ ทีจ่ ะนำ�ประโยชน์ไปใช้ในวงการสร้างงานภาพยนตร์ และสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ งานด้านการพัฒนาเกมส์ งานด้านการสร้างหุ่นจำ�ลองต่าง ๆ และบูรณาการณ์กับการเรียนการสอนของภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะและการออกแบบให้เกิดความประจักษ์ต่อสายตาผู้ชม 2. เพื่อต้องการสร้างหุ่นโมเดลใบหน้าของมนุษย์ ให้เหมือน จริงมากที่สุด 3. เพื่อนำ�ความรู้ไปใช้สอนและบูรณาการกับการเรียนการสอนในวิชาที่เกี่ยวข้อง
ศิลปะวิถี
19
Human Model in 3Ds Graphic ASSOC.PROF. Suporn Soontornnon The importance and the source of the creative work Historically, the development of 3D model creation was very limited and had a difficulty. As compared to 2D model creation, it would show its complexity. Therefore, in order to create a 3D, the developer should understand the world of 3D first as it is totally different from the 2D. Nowadays, designers turn to use Autodesk 3D Studio Max program as one of the well known programs. The program allows designers to create, design and develop successfully. This easily facilitates the creation of characters in the game, the scenes and the other image components. Therefore, Autodesk 3D Studio Max program is a good starting point for the study of the creation of 3D models in order to develop the creation of human model and other multimedia and to create real objects in this world such as the design of surface and building. The creation of human model is the creation work of 3D object that requires advanced skills. Moreover, designers need to understand human structure, skin, hair style, facial expression and gesture. Therefore, creation of human model is difficult and quite complex due to the ability of human movement, deliverance, smile and facial expressions. The creative design of this human model is to study and create the 3D work as to bring benefits to the industry of cinematography and television advertising, game development, creation of any models, and integration to the teaching and learning of Fine Arts program, faculty of Humanities and Social Sciences in Yala Rajabhat University as to be more further effective. Objectives 1. To create works of art and design as manifested to the eyes of audience 2. To create a model of the most realistic human face 3. To apply the knowledge and integrate with teaching and learning in related subjects
ศิลปะวิถี
20
ชื่อภาพ MODEL 1 ขนาด 16 x 22 นิ้ว เทคนิค Computer Graphic and 3D max
ชื่อภาพ MODEL 2 ขนาด 16 x 22 นิ้ว เทคนิค Computer Graphic and 3D max
ศิลปะวิถี
21
ชื่อภาพ MODEL 3 ขนาด 16 x 22 นิ้ว เทคนิค Computer Graphic and 3D max
ศิลปะวิถี
22
ไม่มีชื่อ
“UNTITLED” อาจารย์ศตพล ลูกอินทร์ ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ผลงานศิ ล ปะภาพพิ ม พ์ โ ดยความหมายของคำ � ย่ อ มเป็ น ที่ เ ข้ า ใจกั น ว่ า ผลงานศิลปะที่สร้างขึ้นด้วยวิธีการพิมพ์ ซึ่งผลงานสร้างสรรค์ศิลปะภาพพิมพ์จะ มีลักษณะคล้ายกับผลงานด้านจิตรกรรมหรือภาพถ่าย คือ มีลักษณะเป็น 2 มิติ ส่วนในด้านมิติที่ 3 นั้น คือ ความลึกที่จะเกิดขึ้นจากการใช้เส้น สี น้ำ�หนักและพื้นผิว สร้างสรรค์ ให้ดูลวงตาลึกเข้าไปในระนาบ 2 มิติของพื้นภาพในการสร้างผลงานศิลปะ ภาพพิมพ์ต้องสร้างแม่พิมพ์ขึ้นมาก่อน แล้วจึงผ่านกระบวนการพิมพ์และถ่ายทอด ออกมาเป็นภาพที่ศิลปินหรือผู้สร้างสรรค์ต้องการให้เกิดขึ้นโดยใช้แรงบันดาลใจจาก เรื่องราวต่าง ๆ จากธรรมชาติมาเป็นเนื้อหาที่ใช้สำ�หรับสร้างสรรค์ถ่ายทอดออกมา เป็นภาพ 2 มิติ โดยใช้ประสบการณ์ของผู้สร้างงานถ่ายทอดในลักษณะ ลด ตัด ทอน เพิ่มเติม เพื่อให้ผลงานชิ้นนั้นดูสมบูรณ์ยิ่งขึ้นตามจินตนาการของผู้สร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ ใช้แนวคิด (concept) ในการสร้างสรรค์จาก ธรรมชาติผสมผสานกับรูปทรง พื้นผิว นำ�มาถ่ายทอด โดยการ ลด ตัด ทอน โดย แสดงให้เห็นถึงเรื่องราวของน้ำ�หนัก พื้นผิว และการใช้น้ำ�หนักของสีแสดงถึงความ หมายของการสื่อจากเรื่องราวทางธรรมชาติผสมผสานกับรูปทรง พื้นผิว โดยเน้น การจัดองค์ประกอบงานสร้างสรรค์ โดยการสร้างสรรค์ครั้งนี้ ใช้เทคนิค MONOTYPE และเทคนิค MIXED – MEDIA เป็นเทคนิคในการถ่ายทอดลงบนพื้นระนาบ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ ด้วยเทคนิค MONOTYPE และเทคนิค MIXED – MEDIA 2. เพื่อถ่ายทอดสิ่งต่างๆจากเนื้อหาที่กำ�หนดให้ใช้เทคนิคดังกล่าวเป็นสื่อ ในการถ่ายทอด 3. เพื่อบูรนาการงานสร้างสรรค์ทั้งกระบานการเรียนการสอนในรายวิชา เทคนิคผสมทางภาพพิมพ์ และนวัตกรรมทางภาพพิมพ์
ศิลปะวิถี
23
“UNTITLED” Satapol Luk-in
The importance and the source of the creative work Graphic art, by its definition is understood as the art works created via printing. The creative works of graphic art are similar to painting and photography as they are two-dimensional. Whereas the threedimensional side is the depth occurred from the use of lines, colors, weight, and texture camouflaged into two-dimensional image. To create graphic art, molds need to establish precedent and then through printing and produced as an image based on what artist or producer needs to be presented. They take the inspiration of nature as the content to create two-dimensional images using their experiences in the form of reducing, cutting, an adding to the work for its perfection based on the imagination of creators. The creation of this series uses the concept of creation from nature blended with figure and surface produced by reducing and cutting. This represents the story of the weight, surface and color intensity in which defines as a conveyance from the story of nature combined with the shape and the surface as focus on the composition of creative works. This creative work uses monotype and mixed media techniques to convey the plane surface. Objectives 1. To create graphic arts by using monotype and mixed media techniques 2. To convey things from the content prescribed by using the techniques as medium of transmissibility 3. To integrate the creative works both the process of teaching and learning of mixed media techniques and innovative graphics courses
ศิลปะวิถี
24
ชื่อภาพ UNTITLE 1 ขนาด 35 x 50 ซม. เทคนิค MONO PRINT
ศิลปะวิถี
25
ชื่อภาพ UNTITLE 2 ขนาด 35 x 50 ซม. เทคนิค MONO PRINT
ศิลปะวิถี
26
การสร้างสรรค์ศิลปะสื่อผสม ชุด ดุลยภาพของความหลากหลาย
Mixed-Media Art Serie: The Balance of Variety. อาจารย์ประทีป สุวรรณโร ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ในประเทศหนึ่ ง มั ก ไม่ ไ ด้ ป ระกอบด้ ว ยวั ฒ นธรรมเดี่ ย วเพี ย งอย่ า งเดี ย วแต่ ยั ง ประกอบด้วยวัฒนธรรมย่อย ๆ อีกมากมาย วัฒนธรรมที่คนในชาติยึดถือปฏิบัติร่วมกัน เรียกว่าวัฒนธรรมหลักหรือวัฒนธรรมชาติ (Macroculture) ขณะที่กลุ่มคนหรือสังคม ย่อยๆ ก็จะมีวัฒนธรรมเฉพาะเป็นของตนเองจึงเรียกว่าวัฒนธรรมรอง (Microcultures) ซึ่งในชาติหนึ่งอาจมีจำ�นวนวัฒนธรรมรองมากน้อยแตกต่างกันไปตามคุณลักษณะของ ประชากรที่อยู่อาศัยในประเทศนั้น ๆ สำ�หรับสังคมไทยประกอบด้วยประชากรหลากหลาย ชาติพันธุ์ หลัก ๆ ได้แก่ คนไทยพื้นเมืองคนไทยเชื้อสายจีน คนไทยเชื้อสายมลายู คนไทย ภูเขา เป็นต้น ซึ่งคนไทยเหล่านี้จะมีวัฒนธรรมหลักร่วมกัน เช่น การใช้ภาษาไทยในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน การเคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับเดียวกัน เป็นต้น ขณะที่คนไทยในแต่ละชาติพันธุ์ก็จะมีวัฒนธรรมย่อยแตกต่างกัน ไป เช่น คนไทยเชื้อสายมลายูส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาอิสลาม พูดภาษามลายู มีการแต่ง กายและวิถีชีวิตเป็นแบบมลายู คนไทยเชื้อสายจีนก็จะปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี ดั้งเดิมของตน เช่น การไหว้เจ้า ไหว้บรรพบุรุษในช่วงเทศกาลตรุษจีน ส่วนคนไทยพื้น เมืองก็จะมีวัฒนธรรมเฉพาะของตนเอง เช่น คนไทยภาคเหนือก็จะใช้ภาษาไทยเหนือในการ ติดต่อสื่อสาร การนิยมรับประทาน ข้าวเหนียว การแต่งกายพื้นเมือง รวมทั้งผลงานศิลปะ ก็จะมีลักษณะเฉพาะเป็นของตนเองจึงอาจกล่าวได้ว่า ประเทศไทยเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม (Multicultural Society) โดยแท้จริง โครงการสร้างสรรค์ ในครั้งนี้ต้องการสื่อสารความหมายของวัฒนธรรมและวิถี ชีวิตของสังคมในจังหวัดชายแดนใต้ โดยการคัดสรรอัตลักษณ์จากความแตกต่างหลาก หลาย ของพี่น้องชาวไทยพุทธ ไทยมุสลิม และพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีน โดยผ่านอัต ลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันได้แก่ เครื่องแต่งการ ลวดลายเครื่องประดับ ข้าวของเครื่องใช้ สีสันและรสนิยมในการบริโภคทั้งในอดีตและปัจจุบัน เพื่อสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ที่โยงใย ระหว่างกันและกัน จนเกิดเป็นดุลยภาพของความหลากหลายในสังคมชายแดนใต้ วัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาสังคมและศิลปวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนใต้ 2 เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ประเภทศิลปะสื่อผสม 3 เพื่อสร้างองค์ความรู้และต่อยอดองค์ความรู้ทางด้านทัศนศิลป์ 4 เพื่อนำ�เสนอผลงานทัศนศิลป์ที่แสดงความเป็นท้องถิ่น 5 เพื่อใช้เป็นแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบ นวัตกรรมทัศนศิลป์ ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์ วิชาระเบียบวิธีวิจัยทางศิลปะ วิชามโนทัศน์ศิลปะหลังสมัยใหม่
Mixed-Media Art Serie: The Balance of Variety. Prateep Suwanro The importance and the source of the creative work In one country, it does not often comprise of one single culture. In fact, it consists of many subcultures. The culture that people in the nation practices and abides together called main culture or macroculture. Whereas minor group or society also has their own unique culture as called microculture. The number of microculture in one country may be different based on the characteristics of the population living in that country. For Thai society, it consists of diverse population and the main ethnic groups are such as native Thai, Chinese Thai, Melayu Thai, and Thai mountaineers. These Thai ethnics share the main culture together such as using Thai language to communicate with each other, a respect in monarchy, and the practices complied with the same laws and regulations. However, each Thai ethnic has their own microculture differently such as most of the Melayu Thais believe in Islam, speak Melayu language and have Melayu lifestyle. The Chinese Thais also follow their traditional customs such as paying respect to the ancestor during the Chinese New Year whereas the native Thais have their own culture such as the northern Thais have their own characteristics. So it can be said that Thailand is a truly multicultural society. This creative project needs to communicate the meaning of Thai culture and social life in the deep South by selecting identity from the diversity of the Buddhists, Muslims, and Chinese through cultural identity such as clothing, jewelry design, appliance, color and taste of consumes in the past and the present to reflect the relationship bond together resulted as the balance of diversity in the southern border. Objectives 1. To study society, art and culture in the southern provinces 2. To create visual art works in mixed media arts category 3. To create cognition and further the knowledge of visual arts 4. To present visual art works that represent locality 5. To use as methods of development of teaching and learning in design, innovative visual arts, aesthetics, research methods in the art and concept of postmodern art programs
ศิลปะวิถี
27
ศิลปะวิถี
28
ชื่อภาพ ดุลยภาพที่หลากหลาย 1 ขนาด 70 X 90 cm เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม
ศิลปะวิถี
29
ชื่อภาพ ดุลยภาพที่หลากหลาย 2 ขนาด 70 X 90 cm เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม
ศิลปะวิถี
30
พบกันที่นอกสายตา Out of Focus อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง
ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ในภาวะการรับรูเ้ รามักให้ความสำ�คัญกับจุดสนใจ หรือจุดโพกัสในสิง่ ทีพ่ บเห็น เพื่อ ทำ�ความเข้าใจในรายละเอียดและความชัดเจนของสิ่งที่เราคาดหวัง ซึ่งบางครั้งผลลัพธ์ที่ ได้คือความเป็นปกติสามัญของความสมบูรณ์แบบ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นความคุ้นชินต่อ สภาวะการรับรู้ในรูปแบบทัว่ ๆ ไป ซึง่ ถึงแม้บางครัง้ เราอาจจะแยกส่วนหรือลำ�ดับความสำ�คัญ ต่อความชัดเจนในสิง่ ทีเ่ ป็นจุดทีเ่ ราสนใจ และสร้างความพร่ามัวหรือลดความชัดเจนในสิง่ ที่ มีความสำ�คัญน้อยลงไปก็ตาม แต่เราก็ยังคงยึดติดอยู่กับความงามตามความเป็นจริงแห่ง การรับรู้อยู่ดี ข้าพเจ้ามิอาจปฏิเสธรูปแบบของการรับรู้จากการที่กล่าวถึงข้างต้นได้ เพียงแต่ ข้าพเจ้าสนใจมุมมองของการรับรู้ที่ให้ความสำ�คัญกับสิ่งต่าง ๆ ตามที่ตาเห็นในสภาวะของ ความพร่ามัว คลุมเครือ และฟุ้งฝัน หรือการหลุดออกจากความชัดเจนของทุก ๆ ส่วนที่ ปรากฏ (Out of Focus) เพื่อเข้าหาบทสรุปแห่งสภาวะนามธรรมในสมมุติแห่งความงามตาม การรับรู้เฉพาะตน ซึ่งบางครั้งสิ่งสำ�คัญไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายตามการรับรู้ในลักษณะเฉพาะตน 2. เพื่อนำ�เสนอผลงานภาพถ่ายสร้างสรรค์ ในรูปแบบของการแสดงนิทรรศการ ทางศิลปะให้บุคคลทั่วไปได้รับชม 3. เพื่อบูรณาการงานสร้างสรรค์กับกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาหลัก การออกแบบทัศนศิลป์ ความคิดสร้างสรรค์หรือรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ศิลปะวิถี
31
Out of Focus Pramote Sriplung
The importance and the source of the creative work In a state of recognition, we tend to focus on points of interest or the focus point on what have seen to understand the details and clarity we expected. Sometimes the result perceived is a commonness of perfection. It can be said that it is a habitude to recognition state in general pattern and although sometimes we may separate or prioritize to the clarity on the points we interested and create blurring or reduce the clarity in what is less important somehow. However we still stick to the beauty based on the reality of recognition. I could not deny the pattern of the above recognition mentioned. But I am interested in the perspective that prioritizes things by the eyes in a state of blurry, vague and dreams or being out of focus to turn to the conclusion of abstract state in the assumption of beauty based on personal recognition in which sometimes the importance might not be seen with the eyes based on the reality. Objectives 1. To create perceptive images based on personal specific recognition 2. To present creative images in the form of an art exhibition to the general public 3. To integrate the creative works with the process of teaching and learning in the visual design courses, creativity or related subjects
ศิลปะวิถี
32
ชื่อภาพ Out of Focus 1 ขนาด 50 x 70 cm เทคนิค ถ่ายภาพ (No Photoshop)
ศิลปะวิถี
33
ชื่อภาพ Out of Focus 2 ขนาด 50 x 70 cm เทคนิค ถ่ายภาพ (No Photoshop)
ศิลปะวิถี
34
อารมณ์ของท้องฟ้ากับแสงตะวัน Sky & Sunshine Emotion อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต
ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ ธรรมชาติเป็นสิ่งที่น่าอัศจรรย์ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาก่อนที่มนุษย์จะก่อกำ�เนิดขึ้นด้วยซ้ำ� และ ธรรมชาติก็มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและงานออกแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น งานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม งานออกแบบบรรจุภัณฑ์ งานออกแบบเครื่องประดับ งานออกแบบเสื้อผ้า ฯลฯ ความบริสุทธิ์และปราศจากการเสริมแต่งของธรรมชาติเป็นความงาม เป็น สุนทรียภาพ ที่น่าชื่นชม การถ่ายทอดความรู้สึก หรือสิ่งที่ได้เห็นจากธรรมชาติมาสร้างสรรค์เป็นผล งานศิลปะและออกแบบนั้น สามารถทำ�ได้หลายรูปแบบและเทคนิค แล้วแต่จินตนาการและความถนัดของ ศิลปินผู้สร้างงาน ซึ่งบางครั้งก็ถ่ายทอดออกมาในลักษณะเหมือนจริง แต่บางครั้งศิลปินก็นำ�เอาบาง ส่วนของธรรมชาติมาตัดทอน เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมให้เป็นไปอย่างที่ตนคิดและจินตนาการเอาไว้ ข้าพเจ้าเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ เห็นคุณค่า คุณประโยชน์ของธรรมชาติ และที่สำ�คัญเห็นความงาม ของธรรมชาติที่มีหลากหลายและไม่มีขีดจำ�กัด จึงคิดสร้างสรรค์ผลงานที่จะทำ�ให้ความงามที่มีอยู่นั้น ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเป็นรูปธรรมให้ผู้ชมได้ชื่นชมและร่วมรับรู้ความงามได้อย่างเต็มอารมณ์ ซึ่งเลือกธรรมชาติที่ใกล้ตัวเรามากที่สุด คือ บรรยากาศของท้องฟ้า ก้อนเมฆ สีแสงที่เกิดขึ้นในแต่ละ วัน ซึ่งข้าพเจ้ามองว่ามันเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวที่เกิดขึ้นทุกวัน แต่ถูกมองข้ามไป ความมีเสน่ห์ของมันคือ ไม่มีบรรยากาศวันใดที่มีความเหมือนกันทุก ๆ วัน ท้องฟ้า แสงสีของมันเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยตามสภาพ อากาศและองค์ประกอบทีแ่ ปรเปลีย่ น โดยจะถ่ายทอดผลงานออกมาผ่านเทคนิคการถ่ายภาพด้วยกล้อง ถ่ายภาพ ซึ่งจะสามารถแสดงรายละเอียดของท้องฟ้า และสีแสงของบรรยากาศได้ชัดเจน เป็นลักษณะ เหมือนจริง ให้ผชู้ มได้เห็นความงามขององค์ประกอบในท้องฟ้า ซึง่ แปรเปลีย่ นไปตามช่วงเวลาและสถาน ที่ ถือเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่ต้องอาศัยการติดตามและรอคอยความเป็นไปของท้องฟ้า เพื่อเลือกที่จะ นำ�เสนอท้องฟ้าทีม่ ีความงามและน่าอัศจรรย์ผ่านภาพถ่ายนิง่ แสดงความรู้สกึ ของท้องฟ้าด้วยสี ทีว่ า่ ง และการจัดองค์ประกอบของธรรมชาติโดยธรรมชาติ เพื่อคนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัตถุประสงค์ 1 สร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายด้วยเทคนิคการถ่ายภาพด้วยกล้อง DSLR 2 เพื่อถ่ายทอดความงามของสีแสงและบรรยากาศของธรรมชาติโดยเน้นไปทีท่ อ้ งฟ้าในแต่ละ ช่วงเวลาและแต่ละสถานที่
ศิลปะวิถี
35
Sky & Sunshine Emotion Sringkhan Kitiwinit The importance and the source of the creative work Nature is amazing. It is even the first thing created before the creation of human. And nature inspires in art work creations and designs such as painting, sculpture, architecture, packaging design, jewelry design, clothing design etc. The purity and without ornamentation of nature is a beauty and an admirable aesthetic. Expression of feelings or of what that has seen from the nature to create art works and designs can be done through variety of techniques based on imagination and skill of the artists who create the works. Sometimes, the expression conveys in a realistic manner. But sometimes artists also bring some parts of nature to excise, change or add according to their mind and the imagination. I am part of nature, appreciating its value and benefits and the most important thing is on its diverse and unlimited beauty. Therefore, I have created works that would make the beauty possessed being expressed into concrete works for the audience to appreciate and recognize the full beauty of nature. I have chosen the closest nature which is the atmosphere of sky, the clouds, colors and lights happened in everyday. I think they are something surrounding that have happened every day however they have been overlooked. Their charm is that there has no similar atmosphere on each day. The sky and its color and light change based on the weather and the elements that are changed by expressing the works through photography technique via camera. This can clearly display the details of sky and colors of realistic atmosphere for the audience to see the beautiful elements of the sky which vary according to time and place. This is as a creation that requires track and waiting of the possibility of the sky to choose in order to present the beauty and the miracle via slides that show the expression of the sky with colors and spaces and the composition of nature by the nature as for human who is part of the nature. Objectives 1. To create image with photography technique via DSLR camera 2. To express the beauty of color, light and atmosphere of nature by focusing on the sky at different times and places
ศิลปะวิถี
36
ชื่อภาพ Sunset @ Thalenoi เทคนิค ถ่ายภาพ ข้อมูลภาพ f11, 1/125 s, iso200, 18-55 mm , 18.05 น. สถานที่ สะพานเอกชัย ทะเลน้อย – ระโนด
ศิลปะวิถี
37
ชื่อภาพ Sunrise @ Haadkaew เทคนิค ถ่ายภาพ ข้อมูลภาพ f18, 13 s, iso200, 10-22 mm, 05.55 น. สถานที่ หาดแก้ว สงขลา
ศิลปะวิถี
38
อัตลักษณ์มลายูในผ้าโสร่งปาเต๊ะ สู่การสร้างสรรค์ ผลงานจิตรกรรมเทคนิคผสม Malayu identity in Sarong batik towards the creation of Multi-technique Paintings อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ หากเราเข้าใจร่วมกันว่า “อัตลักษณ์” หมายถึงอำ�นาจในการจัดการชีวิตและความฝันของตนเอง โดยไม่เป็นอันตราย ต่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม เราจะเข้าถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เป็นหนทางหนึ่งในการแก้ปัญหา ความไม่สงบของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในมิติกระบวนผลิตซ้ำ�ทางความคิดที่ยังคงดำ�เนินอยู่ในปัจจุบัน ย้อนมอง “ปัญหาความเป็นอื่น (the other ) จากความแตกต่างทางวัฒนธรรม “ในประวัตศิ าสตร์ของไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศใช้นโยบายวัฒนธรรมแบบรัฐนิยม สร้างวัฒนธรรมชาติโดยไม่เปิดพื้นที่อันเท่าเทียมกันแก่ความแตก ต่าง พยายามเปลี่ยนแปลงกลืนกลายอัตลักษณ์ของมลายูมุสลิมในพื้นที่ภาคใต้ที่มีลักษณะเฉพาะ และมีความเชื่อที่แตกต่างกับคน ส่วนใหญ่ของประเทศ มลายูมุสลิมในพื้นที่ภาคใต้จึงถูกจัดเป็นชนกลุ่มน้อย (minority) ในสังคมไทย นับตัง้ แต่เหตุการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เมื่อต้นปีพ.ศ. 2547 เป็นต้นมา แวดวงวิชาการทัง้ ในสถาบัน การศึกษา และนักวิชาการอิสระต่างให้ความสนใจเรื่องของชาวมลายูมุสลิมในแง่มุมต่าง ๆ ไม่ว่าประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภาษา โดยมีจุดมุ่งหมายคือการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมลายู คำ�ว่า“ มลายู ” ใช้เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ได้ในสองความหมาย กล่าวคือ 1. มลายูกลุ่มประชากรโพลีนีเชียน 2. มลายูกลุ่มประชากรที่สำ�นึกว่าตัวเป็น “มลายู” และพูดภาษามลายู ซึ่งมีอาณาบริเวณคาบสมุทรมลายูตอนล่าง ฝั่ง ตะวันออกของสุมาตรา บางส่วนของเกาะกาลิมันตัน(หรือเบอร์เนียว) ปัจจุบันอยู่ภายใต้รัฐสี่รัฐ คือ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย และบรูไน (ในผลงานสร้างสรรค์เชิงวิชาการ จะกล่าวเฉพาะประชากรในเขตสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ปัตตานี นราธิวาส และ ยะลา เท่านัน้ ซึง่ เรียกในทีน่ วี้ า่ “มลายูมสุ ลิมชนบท”) มลายูมสุ ลิมชนบทในพืน้ ทีส่ ามจังหวัดชายแดนภาคใต้มพี นื้ ฐานศาสนากำ�หนด บุคลิกความเป็นมุสลิมทั้งเรื่องปัจเจกบุคคลและชุมชน ทั้งนี้มีสัญลักษณ์สำ�คัญในการจำ�แนกตัวเองจากคนอื่น อันประกอบด้วย ศาสนา การศึกษา วิถชี วี ติ และการประกอบอาชีพ ภาษาและการแต่งกาย อัตลักษณ์ของมลายูมสุ ลิมชนบทเป็นวิถชี วี ติ แบบองค์รวม เราไม่สามารถลดอัตลักษณ์ ให้เหลือเป็นแต่วัตถุได้ ทั้งนี้จะทำ�ให้อัตลักษณ์ของวัตถุเหล่านั้นไม่มีบริบทอื่น ๆ และไม่มีประวัติศาสตร์ ผลงานการสร้างสรรค์เชิงวิชาการชิ้นนี้ จึงนำ�เสนอมโนทัศน์ผ้าโสร่งปาเต๊ะในบริบทสังคมและความเป็นการเมืองใน ประวัติศาสตร์ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ยังหาข้อยุติไม่ได้ ผนวกกับหลักการของทฤษฏี catharsis ว่าด้วยการชำ�ระล้าง อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ผ่านความสงสาร ความเห็นอกเห็นใจและความกลัว (through pity and fear) ดูดดึงใจผู้คนออกจาก ความเห็นแก่ตัวและจุดยืนที่เป็นเรื่องส่วนตัว พร้อมมองสิ่งที่เกิดขึ้นเชื่อมโยงกับสำ�นึกร่วมต่อการดำ�รงอยู่ของชีวิต วัตถุประสงค์ 1. เพื่อการธำ�รงอัตลักษณ์มลายู โดยสะท้อนอัตลักษณ์ผ้าโสร่งปาเต๊ะ ในบริบทสังคมและความเป็นการเมือง ของมลายูมุสลิมชนบท เป็นจิตรกรรมเทคนิคผสม ขนาด 100 cm x 100 cm จำ�นวน 2 ภาพ 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการยอมรับและเคารพความแตกต่างหลากหลายของการดำ�รงอยู่ร่วมกัน โดยเปิดพื้นที่แสดงตัวตนของมลายูมุสลิมชนบทต่อสังคมที่ตนเองเป็นสมาชิก 3. เพื่อศึกษาลักษณะลวดลายและวิเคราะห์อัตลักษณ์ผ้าโสร่งปาเต๊ะของมลายู จากรากเหง้าของท้องถิ่น อันเกี่ยวเนื่องจากความเชื่อทางศาสนาและอิทธิพลทางศิลปะของประเทศเพื่อนบ้าน 4. นำ�ผลงานการสร้างสรรค์เชิงวิชาการมาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
Malayu identity in Sarong batik towards the creation of Multi-technique Paintings Karp Seppakit
The importance and the source of the creative work If we all understand that “identity” means the power to manage their own lives and dreams without harm to the unity of society, we understand the value and dignity of human beings. This is one way to solve the problem of unrest in three southern border provinces through the process of reproduction of thoughts that still proceeded today. We look back to the problem of “the other” from cultural differences within the historical time of Field Marshal Por Phibunsongkram who enacted state convention policy that created national culture without opening the space of equality of differences. The policy tried to change and assimilate the unique identity of Melayu Muslims in the southern part. Melayu Muslims had a distinctive belief with the majority of the country therefore they somehow were classified as minority ethnic group in Thai society. Since the unrest situation in three southern provinces in early 2547 B.E, both academic fields in educational institutions and independent academicians are interested in Melayu Muslims in various aspects such as their history, ethnic, society, religion, arts and culture, traditions and language as aim to create understanding about Melayu society. The word “Melayu” can be used to call ethnic group in two meanings; 1. Polynesian populations of Melayu 2. The populations who realize that they are as “Melayu” and speak Malay language. This has covered the lower area of Melayu Peninsula, the East coast of Sumatra and some parts of Kalimantan Island (or Borneo Island). Presently, they are located under four states; Malaysia, Thailand, Indonesia and Brunei (in the academic creative works would mention only the population in the three southern provinces which are Pattani, Narathiwat and Yala as referred here as “local Melayu Muslims”). The local Melayu Muslims in the three southern border provinces have the basis of religion that stipulates the Muslim personality both individuals and communities. There are important symbols that identify themselves from others such as religion, education, lifestyle and occupation, language and dress. The identity of local Melayu Muslims is holistic way of life. We cannot reduce the identity to be an object as it would cause no other context and history to the identity of those objects. Therefore, the creation of this academic work presents the concepts of Batik Sarong in social and political context in the history of the three southern border provinces that has no settlement yet. Moreover, the principles of catharsis theory that states the purification of emotions and feelings through sympathy, compassion and fear attracted people from selfishness and the standpoint of personal matters as are ready for the things happened with the existence of life. Objectives 1. To preserve Melayu identity by reflecting the Batik sarong identity in social and political contexts of the local Melayu Muslims. It is a mixed technique painting. The size is 100 cm. X 100 cm in 2 pieces of painting. 2. To encourage acceptance and respect for the diversity of a shared living by opening a space to show the identity of the local Melayu Muslims towards their society in which being as a member 3. To study the patterns and to analyze the identity of the Melayu Batik Sarong from the roots of locality in which related to the belief of religion and artistic influences of neighboring countries 4. To bring the academic creative works as a tool in teaching and learning
ศิลปะวิถี
39
ศิลปะวิถี
40
ชื่อภาพ Home1 เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม ขนาด 100 X 100 ซ.ม.
ศิลปะวิถี
41
ชื่อภาพ Home2 เทคนิค จิตรกรรมเทคนิคผสม ขนาด 100 X 100 ซ.ม.
ศิลปะวิถี
42
จิตรกรรมชุด ลวดลายว่าวมลายู The Malayu Kite in Painting อาจารย์รุซณี ซูสารอ
ความสำ�คัญและที่มาของปัญหาที่ทำ�งานสร้างสรรค์ เมื่อถามถึงศิลปวัฒนธรรมมลายู คนส่วนใหญ่จะนึกถึงชายแดนใต้หรือ ศิลปะแหลมมลายู เมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีภูมินิเวศเป็นที่ราบติดกับเพื่อน บ้านมาเลเซีย มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ใช้ร่วมกันสืบสานกันมาหลายรุ่น มีมรดกทางวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงจนบางครั้งเกิดข้อสรุปที่ ไม่แน่นอนในความเป็น เจ้าของวัฒนธรรมเหล่านั้น ข้ า พเจ้ า สนใจในศิ ล ปะหั ต ถกรรมว่ า วของชาวมลายู ม ากและได้ ศึ ก ษา ประวัติศาสตร์จากตำ�ราและจากการสอบถามช่างฝีมือชาวปัตตานีและชาวมาเลเซีย จนถึงบัดนี้ก็ยังหาข้อสรุปไม่ได้เลยว่ามันเกิดขึ้นที่ ใดก่อน ซึ่งทั้งฝ่ายมาเลเซียเองจัด ว่าให้ความสำ�คัญและยกฐานะของศิลปะชิ้นนี้ ไว้เป็นสัญลักษณ์ของประเทศเลยก็ว่า ได้ ส่วนช่างฝีมือที่ผูกพันอยู่กับการทำ�ว่าวของชาวปัตตานีเองก็ ไม่เคยปฏิเสธเลย ว่าเป็นวัฒนธรรมการละเล่นที่สืบทอดจากเจ้าเมืองปัตตานีก่อน ซึ่งรูปแบบของว่าว มลายูแต่ละพื้นที่ก็แตกต่างกันไป การตกแต่งลวดลายบนว่าวด้วยพฤกษาเน้นความ สวยงามประณีตด้วยงานแกะฉลุลวดลายของช่างท้องถิ่นที่หาดูได้ยากเป็นลวดลาย ทีม่ อี ยู่ในประเทศมาเลเซียเท่านัน้ ส่วนช่างฝีมอื ฉลุลวดลายว่าวในปัตตานีจะมีลวดลาย ไม่ซับซ้อนรายละเอียดน้อยกว่าว่าวของมาเลเซีย ซึ่งรับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ในการรังสรรค์ว่าวได้ตามแบบฉบับชาวมลายูเดิมซึ่งถือเป็นสิ่งดี เพราะนี่คือข้อแตก ต่างถึงแม้ว่าข้อสรุปในความเป็นเจ้าของต้นกำ�เนิดนั้นอาจจะไม่มีก็ตาม มันก็แสดงถึง อัตลักษณ์ที่สะท้อนตัวตนตามแบบฉบับของวิถีคนท้องถิ่นแห่งนั้น แม้ ในปั จ จุ บั น ยั ง คงมี ก ลุ่ ม ที่ เ คลื่ อ นไหวพยายามรั ก ษามรดกทางศิ ล ป วัฒนธรรมของแหลมมลายู ทั้งกลุ่มวัฒนธรรมพื้นบ้าน กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย แต่ก็ยังกระจัดกระจายจนไม่มีพลังสะท้อนความเข้มแข็งทางด้านวัฒนธรรมอย่าง ชัดเจน ศิลปวัฒนธรรมที่มีอยู่อย่างหลากหลาย ขาดการมีส่วนร่วมจากเยาวชนคน รุ่นใหม่ ข้าพเจ้าจึงตัดทอนรูปแบบและใช้วิธีการนำ�เสนอให้มีความร่วมสมัยให้น่าสนใจ มากยิ่งขึ้น เพื่อได้เป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่ในสิ่งที่สังคมให้และได้ให้คืนสังคม วัตถุประสงค์ 1 เพื่อสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมทีแ่ สดงถึงลวดลายว่าวมลายูทสี่ วยงาม 2 เพื่ออนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนใต้ 3 เพื่อถ่ายทอดให้สังคมตระหนักถึงงานหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้
ศิลปะวิถี
43
The Malayu Kite in Painting Rusnee Susara
The importance and the source of the creative work When we ask about the Melayu culture, most people would think of southern part or the art of Melayu peninsula. It is the city that has a long history. The ecology is flat neighboring to Malaysia. There is a cultural diversity that shared for many generations. The cultural heritage is similar as there is uncertain conclusion towards the ownership of those cultures. I am very interested in kite, the art crafts of Melayu people. In order to get the information, I have studied from texts and have asked Pattani and Malaysian craftsmen. Until now, it has not been yet concluded of where it is originated. The Malaysian side itself prioritizes this craft and regards it as a symbol of the country. The craftsmen who have related in making the kite in Pattani have not denied that it was a cultural play inherited from the old Pattani governor. The patterns of the Melayu kite in each location are also different. The flora decorative patterns on the kite stress on the beauty with the carve of the local craftsmen that is hardly find and only appears in Malaysia. However, the crave in Pattani has non-complex patterns and less details than that in Malaysia as inherited from ancestors in creating the kites based on traditional Melayu people but that is an advantage. This differences show advantages although it could not decide its origin. But, it represents an identity that reflects the style of life of the local people. Even in the present, there are some movement groups that still try to preserve the cultural heritage of the Melayu peninsula. This includes the local cultural groups and the contemporary cultural groups. But their scattering has no power to clearly reflect the cultural strength. The arts and cultures that exist diversely are lack of participation of the youth generation. I, then excise the patterns and styles of presentation to be more contemporary and be a part of publishing from what the society given and to the society in return. Objectives 1. To create painting that represents beautiful pattern of Melayu kites 2. To conserve the arts and cultures in the deep South provinces 3. To convey social awareness on Southern local crafts
ศิลปะวิถี
44
ชื่อภาพ BULAN MIRAH ขนาด 70 x 90 cm เทคนิค สีอะคริลิกบนผ้าใบ
ศิลปะวิถี
45
ชื่อภาพ BULAN BIRU ขนาด 70x90 cm เทคนิค สีอะคริลิกบนผ้าใบ
ศิลปะวิถี
46
รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์ Assoc.Prof.Nantha Rojana-udomsart เกิด
การศึกษา งานวิจัย
7 พฤษภาคม 2490 จ.นครศรีธรรมราช ป.ม.ช. เพาะช่าง ปริญญาตรีศิลปศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ลวดลายตกแต่งบ้านของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศิลปะมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คนไทยในตุมปัต (วิจัยร่วม) ลวดลายและองค์ประกอบทางศิลปะบนมัสยิดในจังหวัดปัตตานี (วิจัยร่วม) โครงการการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำ�ข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์การพัฒนา ที่อยู่อาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษาจังหวัดยะลา (วิจัยร่วม)
ผลงานทางวิชาการ หนังสือการออกแบบเครื่องหนัง หนังสือการทำ�ผ้าบาติก หนังสือบาติกอินโดนีเซีย หนังสือการออกแบบลายผ้า: พับ มัด ย้อม เอกสารประกอบการสอนประวัติศาสตร์ศิลป์ เอกสารคำ�สอนประวัติศาสตร์ศิลป์ไทย เอกสารประกอบการสอนภูมิปัญญาศิลปกรรมพื้นถิ่นภาคใต้ เอกสารคำ�สอนเรื่อง เทคนิคการย้อมสี บาติกและแก้วศิลป์ (แต่งรวมกับ รศ.เฉลิมยศ อุทยารัตน์) เทคนิคบาติกลายเขียน เทคนิคบาติกลายพิมพ์ ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2553 นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งาน มรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
เกิด 13 ตุลาคม 2492 จ.ปัตตานี การศึกษา
ปริญญาตรี กศ.บ.(ศิลปศึกษา) ปริญญาโท M.A. (Fine Arts)
ผลงานสร้างสรรค์ 2548 ร่วมนิทรรศการศิลปะคิดถึงสมเด็จย่าฯ ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ และร่วมบริจาคผลงานเพื่อประมูลหารายได้เข้ามูลนิธิ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จำ�นวน 3 ชิ้นเป็นเงินทั้งสิ้นสองแสนสองพันบาท 2549 ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมครบรอบ 1 ปี สึนามิและร่วมบริจาคภาพเข้าร่วมประมูล เพื่อสมทบทุนมูลนิธิคุณพุ่ม เจนเซน 2550 นิทรรศการศิลปกรรม วันกัลยาณิวัฒนา ณ หอศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2551 นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยนานาชาติ 2551 สงขลา ประเทศไทย ครั้งที่ 1 นิทรรศการศิลปกรรมมหัศจรรย์กล้วยไม้นานาชาติ ณ ศูนย์การค้า สยามพารากอน กรุงเทพฯ นิทรรศการจิตรกรรมเฉลิมพระเกียรติ ฯ “พระผู้ทรงงานอันยิ่งใหญ่” ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพ ฯ นิทรรศการศิลปกรรมชมรมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติครั้งที่ 1 ณ หอศิลป์สิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพ ฯ นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปกรรมชมรมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติครั้งที่ 1 ณ หอศิลป์สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นิทรรศการจิตรกรรม...โลหิตสานชีวิต ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน กรุงเทพมหานคร นิทรรศการวาดเส้นสาธิตศิลปกรรม ครั้งที่ 2 ณ หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสนามจันทร์ นิทรรศการศิลปกรรม “ความผูกพัน” ณ พิพิธภัณฑ์บ้านหัตถกรรมและศิลปกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2553 นิทรรศการ มหัศจรรย์กล้วยไม้ แห่งรักนิรันดร์ เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวัน ราชาภิเษกสมรสครบ 60 ปี และเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ ศูนย์การค้า สยามพารากอน กรุงเทพฯ นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งาน มรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการของสมาคมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติ ณ หอศิลป์สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพ ฯ ชื่ อ ภาพ เห็ดลำ�พะยา นิทรรศการศิ ลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) บาติกซ้อลนสี บนผ้าไหมไทย 2555เทคนิ นิคทรรศการศิ ปกรรม “นำ�สิ่งที่ดีสู่ชีวิต” ครั้งที่ 5 ประจำ�ปี 2555 450 x ว110 ขนาดภาพวาดกล้ ยไม้ ซม. แห่งอัครนารีเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา พระบรมราชินีนาถ
ศิลปะวิถี
รศ. นิคอเละ ระเด่นอาหมัด Assoc.Prof. Nicoleh Radenahmad
47
ศิลปะวิถี
48
ผศ.สุพร สุนทรนนท์ ASST.PROF. Suporn Soontornnon เกิด
จังหวัดตรัง
การศึกษา ม.ศ.3 จากโรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการพิมพ์ จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ ในปัจจุบัน) ปริญญาตรีสาขา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา ปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ผลงานวิจัย การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น หัตถกรรมผ้าบาติกลายพิมพ์ จังหวัดนราธิวาส 2548 การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์บทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชา เทคนิคการถ่ายภาพ เพื่องานออกแบบสำ�หรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2553 ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2553 นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งาน มรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
เกิด 15 กรกฎาคม 2500 จ.ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา ศศบ.ศิลปกรรม (สาขาศิลปะภาพพิมพ์) สถาบันเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาวิทยาเขตเพาะช่าง ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51“ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2553 นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งานมรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
ชื่อภาพ ภาพหุ่นนิ่ง 1 เทคนิค การถ่ายภาพจัดแสงในสตูดิโอ ขนาดภาพ 15” X 17”
ศิลปะวิถี
อาจารย์ศตพล ลูกอินทร์ Satapol Luk-in
49
ศิลปะวิถี
50
อาจารย์ประทีป สุวรรณโร Prateep Suwanro เกิด 21 มีนาคม 2512 จ. สงขลา การศึกษา มัธยมศึกษา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อนุปริญญา (ออกแบบประยุกต์ศิลป์) วิทยาลัยครูยะลา ศึกษาศาสตร์บัณฑิต (ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การศึกษามหาบัณฑิต (ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพมหานคร ผลงานสร้างสรรค์ 2544 นิทรรศการสีน้ำ�นักศึกษาปริญญาโท มศว.ประสานมิตร กรุงเทพ 2546 นิทรรศการศิลปะ “วิถีชีวิตชาวใต้” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) นิทรรศการศิลปกรรม “ความผูกพัน” ณ พิพิธภัณฑ์บ้านหัตถกรรมและศิลปกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2553 นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งาน มรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
เกิด 13 มิถุนายน 2516 จังหวัดเพชรบุรี การศึกษา ศิลปศาสตร์บัณฑิต (ศิลปกรรม) ศศ.บ.(ศิลปกรรม) เกียรตินิยมอันดับ 1 สถาบันราชภัฏเพชรบุรี ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศึกษา) ค.ม.(ศิลปศึกษา)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสร้างสรรค์ 2540 นิทรรศการศิลปะ “สีสัน ปลายพู่กัน อันดามัน ภูเก็ต” (ภูเก็ต) 2543 นิทรรศการศิลปกรรม ชุด “สีสันสหัสวรรษ” (กรุงเทพฯ) นิทรรศการศิลปะ “สีสัน ปลายพู่กัน อันดามัน ภูเก็ต” (ภูเก็ต) 2544 นิทรรศการศิลปะ ชุด “สีสันตะวันออก” The Oriental Colour(กรุงเทพฯ) นิทรรศการศิลปะ “สีสัน ปลายพู่กัน อันดามัน ภูเก็ต” (ภูเก็ต) 2546 นิทรรศการศิลปะ “ วิถีชีวิตชาวใต้” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ปัตตานี) 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา ( TK Park) 2553 นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งานมรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
ศิลปะวิถี
อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง Pramote Sriplung
51
ศิลปะวิถี
52
อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต Sringkharn Kitiwinit เกิด 5 กุมภาพันธ์ 2518 จังหวัดพัทลุง การศึกษา ศิลปบัณฑิต (ศบ.) เกียรตินิยมอันดับ 2 สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ศิลปมหาบัณฑิต (ศม.) สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานสร้างสรรค์ 2545 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้กับกลุ่มแม่บ้านจ.สมุทรสงคราม 2546 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ gift set ให้กับเครื่องสำ�อาง AVON ออกแบบอัตลักษณ์องค์กรให้กับบริษัท Loqic Park 2547 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้กับผลิตภัณฑ์กาแฟ ยี่ห้อ คาเฟ่ ดิโอโร่ (CAFFE D’ ORO) 2550 ออกแบบตราสัญลักษณ์ของคณะวิทยาการจัดการ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชการ 51” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2553 ออกแบบตราสัญลักษณ์ของโรตารีจังหวัดยะลา นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งาน มรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ศิลปินชายแดนใต้ เทิดไท้องค์ราชันย์ ๘๔ พรรษา” ณ โคลิเซี่ยมซีนีเพล็กซ์ยะลา ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์งาน มรย.วิชาการ 54 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) ออกแบบครุยวิทยฐานะ (ใหม่) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2555 ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้กับน้ำ�แร่ธรรมชาติ “มีริน” ออกแบบตราสัญลักษณ์ “ค่ายวิชาการสานสัมพันธ์ชายแดนใต้” ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้กับ ร้านคลูแอนด์ชิลล์(Cool&chill) ออกแบบตราสัญลักษณ์ ให้กับสำ�นักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ออกแบบลายเสื้อ T-shirt ให้กับการจัดเสวนา “ทางออกวิกฤตสถานการณ์ ใต้” ออกแบบตราสัญลักษณ์ ให้ร้านอาหาร “สมศรีคิทเช่น”
เกิด 5 กันยายน 2512 จ.ยะลา การศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ศศบ. (ออกแบบประยุกต์ศิลป์) สถาบันราชภัฏยะลา ผลงานสร้างสรรค์ 2551 นิทรรศการศิลปะ “งาน มรย.วิชาการ 51 “มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงในดวงใจ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2552 นิทรรศการศิลปะ “ศิลปะนิทรรศ” งาน มรย.วิชาการ 52 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นิทรรศการศิลปะ “ศรีศิลป์ ศรีแผ่นดิน” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park) 2553 นิทรรศการศิลปะ Visual Art in Creativity 2 ณ ศูนย์ศิลป์ศรีพิพัฒน์ กรุงเทพมหานคร นิทรรศการศิลปะ “ทัศนาศิลป์” งาน มรย.วิชาการ 53 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2554 นิทรรศการศิลปะ “เป็น อยู่ คือ” อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK Park)
ชื่อภาพ ร่องรอยแห่งเวลา 1 เทคนิค ถ่ายภาพ ขนาดภาพ 16” x 24”
ศิลปะวิถี
อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ Karp Seppakit
53
ศิลปะวิถี
54
อาจารย์รุซณี ซูสารอ Rusnee Susaro เกิด 10 กรกฏาคม 2527 การศึกษา ป. ตรี ศษ.บ ศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขา ศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี ป.โท MFA. MASTER OF FINE ART Aligarh Muslim University ผลงานสร้างสรรค์ 2549 นิทรรศการคนพิมพ์งาน ลีการ์เด้นท์ หาดใหญ่ 2552 OCTA EXHIBITION : CANEDY HALL (INDIA)
ศิลปะวิถี
55
ศิลปะวิถี
56
ศิลปะวิถี
57
ขอบคุณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อุทยานการเรียนรู้ (TK Park) ยะลา
ศิลปะวิถี
58
เจ้าของ : ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 133 ถ.เทศบาล 3 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทรศัพท์ 073 - 227151 - 60 ต่อ 1038 และ www.yalaart.multiply.com
ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรีไตรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อาจารย์ประทีป สุวรรณโร หัวหน้าภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์นิคอเละ ระเด่นอาหมัด
กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์นันทา โรจนอุดมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สุนทรนนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อับดุลรอซะ วรรณอาลี อาจารย์ปราโมทย์ ศรีปลั่ง อาจารย์ศตพล ลูกอินทร์ อาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต อาจารย์กัปปน์ สรรพกิจ นางสาวจิรชยา ฉวีอินทร์
ออกแบบปกและจัดพิมพ์ ไมตรี ลีอะละ 081-599-6575
ผู้ประกอบการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ (UBI) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
พิมพ์ที่ :
บริษัท ประชุมทองพริ้นติ้งกรุ๊ป จำ�กัด กรุงเทพมหานคร
ศิลปะวิถี
59
ศิลปะวิถี
60