Krongkwan Boonaumpol
virtual exhibition art online
13-17 JUNE 2021
จุดเริ่มต้นงานกรอบของข้าพเจ้า เกิดจากการถูกจ�ำกัด ความจากสิ่งต่างๆรอบตัว และถูกก�ำจัดกัดความ ความเป็น ข้าพเจ้า ด้วยมุมมองของคนอื่น มองว่าข้าพเจ้าเป็นแบบไหน จากลักษณะภายนอก จนมาถึงความคิดและการแสดงออกใน งาน
The beginning of my ‘frame’ work caused by being limited, by things around in which including me versus other’s point of view. How others see me from the appearance, the way I dress, makeup and that judgemental impact on how they see my expression through my work.
สิ่งที่ข้าพเจ้าแสดงออกไม่ว่าจะเป็นตัวข้าพเจ้ามาก แค่ไหนก็ไม่พ้นที่จะถูกตัดสินจากบุคคลภายนอก ถูก ดี ขาว ด�ำ ปกติ หรือไม่ปกติ และศิลปะของข้าพเจ้าเช่นกัน ไม่มีถูก ผิด ไม่มีขอบเขต ไม่ว่าจะเป็นเทคนิคไหน ข้าพเจ้าสามารถ สร้างสรรค์ได้ตามความคิด ความรู้สึก แต่ท้ายที่สุดแล้ว ศิลปะ ของข้าพเจ้าจะมีคุณค่ามากแค่ไหน ไม่ได้ขึ้นอยู่เพียงแค่ตัว ข้าพเจ้าเอง ขอให้งานศิลปะของข้าพเจ้าน�ำพาไป
What I express, no matter how much I am, people will always judge, black or white, normal or unusual, right or wrong, so does my tattoo. From my perspective, art has no boundaries, no matter the technique. What I create, it purely from my thoughts and feelings, but in the end, how valuable will my art be? It does not depend only on me. Let my art leads its way.
ครองขวั ญ บุ ญ อำ � พล ศิ ล ปิ น
Krongkwan Boonaumpol Artist
ผลงานของขวั ญ มี ห ลายรู ป แบบและสามารถ ผสานจากกราฟฟิ ตี้ เ ป็ น รอยสั ก รอยสั ก เป็ น กราฟฟิ ตี้ ได้ หลั ก ส� ำ คั ญ ที่ ส ่ ง ผลต่ อ งานทั้ ง หมดของเธอคื อ ไลฟ์ สไตล์ แ ละประสบการณ์ ชี วิ ต งานของเธอจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ คิ ด อยู ่ ใ นหั ว โดยเน้ น ที่ ค วามลื่ น ไหลของมุ ม มอง สิ่ ง ที่ เ คย เห็ น เก็ บ มาเป็ น ภาพจ� ำ แรกผสมกั บ ไอเดี ย ที่ ผุ ด เข้ า มา ที่ ม าจากการไปเก็ บ เกี่ ย ว สั ม ผั ส ประสบการณ์ ใ นวงการ สั ก ของต่ า งประเทศ ศิลปะคืออะไร? แล้วการสักเป็นศิลปะไหม? ในมุ ม มองของคนไทยสมั ย ก่ อ น รอยสั ก นั้ น เป็ น เรื่ อ งราวของ คนที่ แหกคอกไม่ เ ป็ น ไปตามกฎเกณฑ์ สั ง คม มี ภ าพจ� ำ ของคนที่ มี ร อยสั ก นั้ น ล้ ว นเป็ น แง่ ล บไปเสี ย แม้ ก ระทั่ ง ผู ้ ที่ สั ก ก็ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก นั บ ว่ า เป็ น “ศิ ล ปิ น ” ผู ้ ส ร้ า งสรรค์ แต่ พวกเขาเป็ น เพี ย ง “ช่ า ง” ฝี มื อ ที่ ท� ำ ตาม ความช� ำ นาญ เพี ย งเท่ า นั้ น จนมาถึ ง ในสมั ย นี้ ที่ โ ลกถู ก เชื่ อ มต่ อ ให้ ใกล้ ชิ ด กั น มากขึ้ น ผ่ า นการเดิ น ทาง อิ น เทอร์ เ น็ ต และ โซเชี่ ย ล แพลตฟอร์ ม ต่ า งๆ ท� ำ ให้ มุ ม มองของคนที่ มี ต ่ อ การสั ก นั้ น เปลี่ ย นไปในทางบวกมากขึ้ น เรามองว่ า งานของขวั ญ เป็ น ตั ว แทนของศิ ล ปะ ยุ ค ใหม่ ที่ แ สดงถึ ง ความลื่ น ไหล ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งคงอยู ่ ในประเพณี ดั้ ง เดิ ม หรื อ นิ ย ามว่ า ต้ อ งท� ำ เช่ น ไรถึ ง จะ เป็ น “ศิ ล ปะ” เพราะการด� ำ รงชี วิ ต เองก็ ถื อ เป็ น ศิ ล ปะ เช่ น กั น นิ ท รรศการนี้ เ ป็ น การแสดงจุ ด ยื น ว่ า รอยสั ก คื อ งานศิ ล ปะบนผิ ว หนั ง มนุ ษ ย์ ที่ จ ะคงอยู ่ กั บ เจ้ า ของตราบ เท่ า ที่ บุ ค คลนั้ น ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ไม่ มี ก� ำ ไร ไม่ เ ปลี่ ย นเจ้ า ของ มี แ ต่ เ จ้ า ของและผลงานศิ ล ปะเท่ า นั้ น
ประติ ม า โกศการิ ก า ชนพล วิ บ ู ล ย์ ส ิ น ที ม ภั ณ ฑารั ก ษ์
Handpoke tattoo 80 x 100 cm. stencil
Kwan’s work takes various forms and could be merged from Graffiti to Tattoo and vice versa. Importantly her lifestyle and life experiences have a huge impact on all works. Thus the overarching of her work lies in ways of thinking, particularly emphasising on perspective fluidity. Quick question, what do you consider as an art and why is it? Does it have to do anything with culture? Well, for most former generation of Thais’ perspective on tattoo is for the only outcast to do it. Like so, the tattoo artist is not an “Artist” but a craftsman.
Parangjew x riot hunt 80 x 100 cm. stencil
We see Kwan’s work as a representation of the art of the new normal era that represents fluidity. where art doesn’t have to stay in the original tradition or the definition that art must be like this to be called “Art” since living life is considered an art as well. This exhibition is an online screaming that tattoo is an art on human sk in that walks around with its owner as long as the person lives. No profit gain, no ownership shifting, only owner and artwork.
Pratima Kohskarika Chanapon Viboonsin Curators team
ครองขวั ญ บุ ญ อ� ำ พล เป็ น ศิ ล ปิ น สตรี ท อาร์ ต ที่ มี การน� ำ กรอบซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะของศิ ล ปะ แบบดั้ ง เดิ ม มาผสม ผสานกั น รู ป แบบ Abstract จนท� ำ ให้ เ กิ ด รู ป แบบที่ เ ฉพาะ ตั ว เธอได้ จั ด แสดงผลงานสตรี ท อาร์ ต และเข้ า ไปท� ำ งานร่ ว ม กั บ ชุ ม ชนอยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง นอกจากนี้ ค รองขวั ญ ยั ง เชี่ ย วชาญใน เทคนิ ค การสั ก แบบ Hand-Poke เป็ น การสั ก โดยไม่ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า หรื อ เครื่ อ งสั ก จะมี เ พี ย งแค่ เ ข็ ม และหมึ ก เท่ า นั้ น การสั ก ด้ ว ย วิ ธี น้ี จ ะมี ค วามยากในเรื่ อ งของการควบคุ ม ความแม่ น ย� ำ และ น�้ ำ หนั ก มื อ เป็ น การสั ก ที่ ต ้ อ งอาศั ย ความประณี ต คล้ า ยกั บ การวาดเส้ น ลั ก ษณะลายเส้ น ของศิ ล ปิ น ในการออกแบบ ลายสั ก มี ล ายเส้ น ที่ ดู เ รี ย บง่ า ย ชั ด เจน และสี ที่ ค ่ อ นข้ า ง สด จุ ด เด่ น อี ก อย่ า งของการออกแบบลายสั ก ของศิ ล ปิ น คื อ การใช้ ล ายเส้ น ที่ เ รี ย บง่ า ยของศิ ล ปะสมั ย ใหม่ ผสมผสานกั บ ศิ ล ปะแบบดั้ ง เดิ ม หรื อ สิ่ ง ของที่ บุ ค คลทั่ ว ไปมองว่ า เป็ น ของ สู ง เพื่ อ น� ำ เสนอสิ่ ง นั้ น ให้ เ ข้ า ถึ ง คนได้ ม ากขึ้ น A Street artist with the introduction of the framework, which presents the idea of traditional art, using ‘frame’ combined with abstract to create a unique style. She exhibited street art, and often works with the community, often working by fixing dirty wall and replacing with ‘her ‘frame’ on it. Additionally, Klongkwan specializes in the Hand-Poke tattoo technique, meaning is no machine, only a needle and ink. Tattooing in this way has its difficulty in terms of accuracy and hand weight control. It is a tattoo that requires elaboration similar to drawing a line but actually many dots together to creates shape. The artist’s lines in tattoo design are simple, clear lines and sometimes relatively fresh, and vivid colours. Another highlight of the artist’s tattoo designs is the use of simple lines of modern art, mixed with traditional art to make it more accessible for Millennials and Gen Z.
Curator : Pratima Kohskarika Chanapon Viboonsin Project director : Putamaporn Poolperm Project assistant : Pannapat Phet-ourai Graphic designer : Supakarn Hammarid Nutthanicha Buachandang Nutthapol Boonpueak Virtual Exhibition designer : Pawinee Kaewklongnoi Admin : Singkhon Nirach Sukanya Muangmool Author : Kiattipoom Meedee