กล่าวนำ�
Forward
สีสันของรูปทรงในโลกจิตรกรรมบนผืนผ้าใบสองมิติถูกจัดวางราวกับภาพฝัน ขยับจินตนาการให้ล่องลอยไปกับร่องรอย ของการเคาะจังหวะแบบสะวิงคาบาเรต์ที่สอดแทรกทำ�นองการดีดสีตีเป่าของงานรื่นเริง และหอบหิ้วกระเตงกันไปเป็นคาราวาน เพื่อแบ่งปันสีสันไปตามสถานที่ต่างๆ ชีวิตคนเราก็คงจะไม่ต่างไปจากนี้สักเท่าไหร่ เพราะในแต่ละวันที่เราต้องเผชิญหน้ากับความ สนุกสนานของชีวิตอันเต็มไปด้วยรอยยิ้มและคราบนำ�้ตา ความตื่นเต้นและหดหู่ ความสมหวังและเศร้าหมอง ความผิดพลาดและ การเริ่มต้นใหม่ที่เกิดขึ้นในทุกเสี้ยววินาทีของการหายใจเข้าออก ถ้าการมองโลกทุกวันนี้ เกิดขึ้นจากมุมมองที่แตกต่างออกไป อาจ ทำ�ให้ปลายเท้าของคุณที่สัมผัสพื้นอยู่นั้นขยับเป็นจังหวะเบาๆ แม้กำ�ลังยืนอยู่ท่ามกลางความเงียบในขณะนี้
โอกาสที่จะได้ชมผลงานจิตรกรรมของศิลปินไทยที่ได้รับการยอมรับในระดับประเทศและนานาชาติด้วยตาตัวเอง ค่อนข้างยากแล้วในปัจจุบนั โดยเฉพาะผลงานจิตรกรรมร่วมสมัยของศิลปินไทย เนือ่ งจากการมีทางเลือกของการใช้สอ่ื ทีห่ ลากหลาย ทำ�ให้ศิลปินพยายามทดลองแนวความคิดและการสื่อสารในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป หากแต่ผลงานจิตรกรรมกลับยังคงเป็น ที่นิยมในการสร้างคุณค่าและมูลค่าในตลาดโลกปัจจุบัน หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพภูมิใจจัดแสดงผลงานจิตรกรรมร่วมสมัย ที่เด็กชมได้ผู้ใหญ่ชมดี โดย ผศ.คณากร คชาชีวะ ศิลปินที่วางแท่นพิมพ์แล้วหันมาจับพู่กันอย่างเต็มตัว ถ่ายทอดสีสันของชีวิตลง บนผืนผ้าใบ กระบวนการความคิดผ่านการเชื่อมโยงความแตกต่างทางวัฒนธรรม และนำ�เสนอคุณค่าเชิงความงามที่แทรกซึมอยู่ ภายใต้วัฒนธรรมยิ้มง่ายของภูมิภาคร้อนชื้นแถบเส้นศูนย์สูตรแผ่นดินนี้ ด้วยการแสวงหามุมมองอันแตกต่างจนสามารถสร้างความ สนุกสนานให้กบั จินตนาการและใช้การสือ่ สารผ่านภาษาสมมุตสิ ญ ั ลักษณ์ทล่ี ดทอนความซับซ้อนในการรับรูล้ งบนรูปทรงของสิง่ ของและ สิ่งมีชีวิตดังที่ได้พบเห็นในชีวิตประจำ�วันทั่วไป จนเกิดเป็นผลงานจิตรกรรมแนวเหนือจริงที่สร้างภาพจากจินตนาการอันสอดแทรก ไปด้วยสัญลักษณ์ที่แฝงนัยลึกซึ้งของศิลปิน ถึงแม้ว่าการขับเคลื่อนของกลไกทางสังคมและการซึมซับค่านิยมของผู้คนจากมายาคติ กลับเป็นการสะท้อนมาสู่พฤติกรรมการดำ�เนินชีวิตในรูปแบบต่างๆ ของมนุษย์นั้น และมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ และความ ปรารถนาของผู้คนที่ยึดโยงกับกระแสนิยมในสังคมอย่างมหาศาล แต่การไม่หยุดนิ่งทางความคิดและการฝึกฝนทดลองสิ่งใหม่ ยังคง เป็นแนวทางสำ�คัญสำ�หรับนักสร้างสรรค์ให้สามารถผลิตผลงานชิ้นโบว์แดงใหม่ๆ ขึ้นอย่างไม่มีวันสิ้นสุด
The colors of the two-dimensional painting on canvas were arranged like a drifting imagination.
It flowed like a cabaret swing tempo. The tempo that was composed of superb percussive sounds of a caravan fiesta with an innocent joyfulness. In comparison, our life would be like a caravan fluctuating with the twists and turns of life. Life is always full of smiles and tears, excitement and depression, success and sadness, mistakes and corrections. Those feelings can happen every second. If we see our current world with a different view, we could be with both feet on the ground moving rhythmically in mute surroundings. This is an opportunity to witness a Thai artist’s paintings that have been recognized nationally and
internationally. Rarely have they been in one place for us to enjoy. Despite of the current variety of media, Thai artists experiment with those media to express their ideas in different ways. However, paintings are able to keep their value and worth also in the current art market.
Bangkok University Gallery (BUG) proudly exhibits contemporary paintings to all generation
audiences. Asst. Prof. Knakorn Kachacheewa, the artist who left the printing press and turned intentionally to the painting brush to create colorful paintings of his life. His art concept was to create a link between cultural differences and the beauty of his smiley culture in this tropical land. Because of his different point of view, he could combine fun with imagination and express himself via symbolical communication. It is to minimize the materialistic perception of the form of objects and living creatures. The surreal paintings of fantasy were created with his symbolic imagination and inserted with the impressive illusions of the artist. The social movement and how people absorb their value of illusions have become the reflections of their behavior. It is also the influence of people’s thought, faith and desire which they adapt to how they
ในปีการศึกษา 2557 นี้ โครงการนิทรรศการความร่วมมือระหว่างองค์กรภายนอก ของหอศิลปฯ ต้องขอขอบคุณสำ�หรับ ความร่วมมือจากหอศิลป์ Ode To Art Gallery ประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย อาจารย์และนักศึกษาจากสาขาวิชา จิตรกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รวมถึงเพือ่ นฝูงในสาขาต่างๆ ของเรา ทีม่ าร่วมสร้างจินตนาการความฝันอันสวยงามให้เกิดขึน้ จริงภายใต้นทิ รรศการ The Jungle of Form, Color and Tempo ครัง้ นี้ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานที่นำ�ไปสู่การกระตุ้นให้เกิดความตื่นตัว และความเคลื่อนไหวในวงการศิลปะร่วมสมัยของประเทศไทย ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายความสัมพันธ์ทางด้านศิลปะร่วมสมัยระดับ สากลและข้ามสถาบันในเครือข่ายที่กว้างยิ่งขึ้น ด้วยความร่วมมือของกลุ่มเพื่อนในเครือข่ายจากในประเทศก้าวออกไปสู่สากล ซึ่งใน ขณะเดียวกัน โครงการนิทรรศการต่างๆ ของหอศิลปฯ ได้มีการปรับรูปแบบการนำ�เสนอที่เปิดกว้าง เพื่อกระตุ้นการขยายและวาง รากฐานของกลุ่มผู้ชื่นชอบงานศิลปะในประเทศไทยดังปัญหาที่ศิลปินและผู้ผลิตนิทรรศการอย่างเราๆ ได้ประสบกันมา
spend their lives. However, the living imagination and new experiments are the essential ingredients that
สุดท้ายนี้ หอศิลปฯ และทีมผู้จัดนิทรรศการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ชมทุกท่านจะได้รับความเริงรมย์ไปกับการชมผลงาน สามารถนำ�ความรู้ที่ได้รับจากนิทรรศการศิลปะนี้ไปต่อยอดความรู้เฉพาะทางของท่านมีไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ทำ�ให้ท่านคงความรัก ในศิลปะให้ยาวนานมากยิ่งขึ้น เพราะศิลปะสามารถขัดเกลาจิตใจให้อ่อนโยน ทำ�ให้ทุกวันของความตึงเครียดกลับกลายเป็นความ สุนทรีย์ และโลกใบนี้จะน่าอยู่มากขึ้น
at BUG have been adjusted to reach more audiences in Thailand and to solve the challenges that new artists
มณิภา ไชยวัณณ์ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
indeed.
allow the artist to continually create a new red bow master piece.
“Affiliated Program”, Academic Year 2014, organized by BUG, is an expression of the cooperation
with the Ode To Art Gallery in Singapore and Malaysia, faculty members and students from the Department of Fine Arts, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. As well as friends from other departments who came together and created fantasy dreams for the exhibition, “The Jungle of Form, Color and Tempo” at BUG. This exhibition is a space for knowledge-exchange and a support for art distribution to stimulate contemporary art awareness and movements in Thailand. The objective of this art project is to network contemporary art connections in the world and among institutes. Other exhibitions and exhibitionists have been facing.
All of us at BUG hope that everyone will enjoy this exhibition and that you will get in love with art
as art can give peace of mind and turn tensions into pleasantness. Then this world would be a better place, Manipa Jayawan Bangkok University Gallery (BUG)
สารจาก Ode To Art
Message from Ode To Art
โทนสีพาสเทล ความมีชีวิตชีวาตามวิถีป๊อป สุมทุมพุ่มไม้ในป่าแบบอิมเพรสชันนิสม์ ภาพคนที่วางท่าอย่างสง่างามหวน ให้นึกถึงภาพเปลือยในยุคคลาสสิก ซึ่งดูเหมือนว่าจะเป็นคําอธิบายถึงศิลปินที่มีแนวทางการทํางานที่หลากหลาย แต่ทั้งหมดนี้ล้วน เป็นคําอธิบายความโดดเด่นของศิลปินผู้นี้เท่านั้น
จากการผสมผสานคุณลักษณะทีพ่ เิ ศษของศิลปะแบบตะวันตกและตะวันออกเข้าด้วยกัน ศิลปินได้สร้างผลงานตามแนวคิด ทีพ่ รัง่ พรูหลัง่ ไหลไปตามสติแบบทีไ่ ม่รตู้ วั และรูต้ วั ซึง่ ความคิดทีด่ กู ระจัดกระจายกับความคิดทีถ่ กู จัดระบบตบรวบเป็นหนึง่ เดียวเหล่านี้ นั้นมีการแบ่งสรรปันส่วนด้านทัศนธาตุกันอย่างลงตัว Ode to Art มีความยินดีที่จะร่วมนําเสนอผลงานของคณากร คชาชีวะ ศิลปิน หนุม่ ทีป่ ระสบความสาํ เร็จและสร้างสรรค์ผลงานทีเ่ ต็มไปด้วยอรรถรสแห่งสุนทรียศาสตร์ องค์ประกอบแบบโลกตะวันออกในงานของ คณากรที่ดูซับซ้อน กลับถูกนํามาร้อยเรียงได้อย่างน่าสนใจตามแบบฉบับเฉพาะของศิลปินจากประเทศไทยท่านนี้ ศิลปะไทยนิยม ขนบการวาดภาพสองมิติมาช้านานโดยมีการจัดสรรพื้นที่ในภาพที่ทําให้องค์ประกอบหลักของภาพเด่นชัดขึ้นมา
the compartmentalized visuals that constitute it. A jack of all trades and master of aesthetics - Ode to Art
และด้วยการจัดวางในลักษณะนี้ เราจะเห็นว่าศิลปินท่านนี้ได้ใส่จินตนาการตามแบบตะวันตกลงไปด้วย เห็นได้ชัดจาก ใบไม้สีเขียวเข้มที่ทําให้นึกถึงโลกแห่งจินตนาการของรุสโซ และรูปแบบการแบ่งส่วนของสีแบบป๊อปๆ ที่ดึงดูดความสนใจ ผลที่ตามมา คือความสุนทรียะที่เจิดจรัสจากความสมบูรณ์อันประณีตของรอยแปรงที่รังสรรค์รูปทรงต่าง โดยศิลปินบรรจงผสมสีที่ให้ความรู้สึก สงบร่มเย็นแต่ในเวลาเดียวกันก็ดึงดูดความสนใจและติดตาต้องใจเรา ศิลปินมักใช้สีที่ตัดกัน เช่น สีระหว่างพื้นที่ด้านหลังหรือสีที่แยก ให้เห็นมิติของพื้นที่ที่ไกลตาตัดกับสีสว่างรอบส่วนที่เป็นจุดเด่นของภาพ การรวมตัวกันของสีสันที่โดดเด่นเกิดจากความช่ําชองในการ ผสมสีและการเลือกใช้สีของศิลปินที่ดึงดูดสายตาไปยังทุกรายละเอียดที่ปรากฏบนภาพ ซึ่งองค์ประกอบต่างๆ เหล่านั้นผสมผสาน เข้ากันได้ดีจนเราสัมผัสถึงความกลมกลืนอันเป็นหนึ่งเดียว
bringing to mind the fantastic worlds of Rousseau, and his patterned segmentation ringing clearly of Pop
ผลงานของคณากรนําเสนอแนวคิดที่เกี่ยวพันกับสถานที่และพื้นที่ ที่มีคุณลักษณะบางอย่างที่ดูจะปฏิเสธการแทนค่า จนเกือบจะเป็นแนวเหนือจริง ศิลปินยังคงทิ้งรูปร่างรูปทรงให้เห็นในงานแต่การรับรู้สารที่อยู่ในงานของศิลปินมักจะมาจากสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆ รูปเหล่านั้น และศิลปินยังใช้สีหน้าท่าทางเป็นตัวเสริมสร้างจินตนาการพร้อมกับใส่รายละเอียดที่เป็นบริบทแห่งยุคสมัย หรือสมัยใหม่ลงไปในงานด้วย
its elements into an en masse feast for the senses.
Pastel hues, pop vivacity, Impressionist forests and figures hewn with grace that echoes nude
classicism; what may describe a number of artists from various disciplines, is remarkably what defines the work of just one man. Blending together distinct elements of Western and Eastern Art, the artist creates visions of conceptual fluidity that ebb and flow with consciousness, dissipating and reuniting in unison with is pleased to present to you, the works of Knakorn Kachacheewa.
An artist of Thai heritage, the Eastern elements to Kachacheewa’s works are intricate and woven
seamlessly into his divertive style. Thai art has long held a tradition of two dimensional depictions where primary elements are kept isolated through the use of transformative space. Using this as his canvas of composition, the artist then creates his imagery in distinctly Western styles, with his dark green foliage technique. The resulting meld is a stunning aesthetic that carries a porcelain sheen of delicate perfection while still carving out contours of a determined brush stroke. The artist also maintains a deliberate and eye catching colour palette which communicates a tonality of serenity that manifests in itself, allowing the vivid components to command attention as individual spaces. The artist creates this effect through constant contrast, colour blocking with the illusion of negative space and rounding off his brightest hues with translucence. This remarkable coalescence of colour executed through his distinct use of both blended and evident strokes, allows for images that draw the eye to every edge and detail, while harmonizing
Conceptually, the subjects of Kachacheewa’s works ring of ethereal places and spaces, with
some characters that deny representation into almost surrealist boundaries.
While maintaining
figurative consistency in his subjects, the communicative feel of the artist’s works is most often strongly
กล่าวโดยสรุป ผลงานศิลปะที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ของศิลปินผู้มากความสามารถและพรสวรรค์ เป็นผลงานแห่ง สุนทรียะที่ลุ่มลึกผสมผสานแนวทางการทํางานแบบอิมเพรสชันนิสม์และการใช้สื่อแบบป๊อป เป็นการเดินทางของอารมณ์และความ รู้สึกที่เกิดจากความลงตัวอย่างหมดจดของแนวคิดกับความสุนทรียะที่จะสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมได้ในรูปแบบที่หลากหลาย เพียงแค่ผู้ชมดูและชมผลงานของศิลปินให้ครบทุกชิ้น
communicated from the surroundings his subjects find themselves in. The imaginative otherworldly
ขอเชิ ญ ร่ ว มประสบการณ์ ก ารเดิ น ทางผ่ า นป่ า เขาลํ า เนาไพรเพื่ อ ไปสั ม ผั ส กั บ สุ น ทรี ย รสอั น ล้ํา ค่ า จากผลงานของ คณากร คชาชีวะ
that impressionism strived towards and the evocative communication that Pop has come to embody.
aspect is then set off by the expressions and gestures he chooses to employ, with superficial detailing adding context to the era or modernity his work takes place in.
In short, the Art rings true to the artist’s greatest influences; it carries the aesthetic and depth
A journey of mind and senses, the impressive coalition of concept and aesthetic is significant in the variety of impressions it may create on a viewer, making it a collection that only pursues, but demands your attention. We invite you to experience this journey through forests, waters and kaleidoscopic lands; join us
แจ๊ส ชอง Ode to Art
as we travel the elaborate Art of Knakorn Kachacheewa.
Jazz Chong Ode to Art
OLD PASSION, 2014 Acrylic on canvas 200 x 150 cm
SERIES ON TV, 2014 Acrylic on canvas 80 x 60 cm
VICTORIA WATERLILY, 2014 Acrylic on canvas 200 x 150 cm
TELEVISION DRAMA, 2014 Acrylic on canvas 80 x 60 cm
CHANDELIER, 2012 Acrylic on canvas 200 x 180 cm
POOL, 2012 Acrylic on canvas 200 x 180 cm
BATHROBE, 2014 Acrylic on canvas 120 x 100 cm
BACK, 2014 Acrylic on canvas 120 x 100 cm
POOL PARTY, 2014 Acrylic on canvas 200 x 150 cm
PINK WOMAN, 2012 Acrylic on canvas 160 x 200 cm
SWIMMING POOL, 2014 Acrylic on canvas 110 x 80 cm
ZEBRA ON VICTORIA WATERLILY, 2014 Acrylic on canvas 230 x 190 cm
HORIZON LINE, 2014 Acrylic on canvas 70 x 50 cm
WOMAN ON HORSEBACK, 2014 Acrylic on canvas 200 x 150 cm
CAROUSEL, 2014 Acrylic on canvas 230 x 190 cm
บทสัมภาษณ์ กับ คณากร
Interview with Knakorn
มนวิไล: จากนิทรรศการเดี่ยวครั้งล่าสุด จนมาถึงนิทรรศการในครั้งนี้ทิ้งช่วงห่างสักพัก หลายปีทีเดียว อยากให้อาจารย์ช่วยเล่าถึง การทํางานในชุดนี้ว่า อาจารย์ได้มีการทดลองอะไรใหม่ๆ หรือว่าได้มีพัฒนาการในการทํางานจากงานชุดที่แล้วหรือไม่อย่างไรคะ
Monvilai: It has been couple of years since your last show. Could you tell us about the working process
คณากร: การทํางานในชุดนี้ทิ้งระยะห่างประมาณ 3-4 ปีจากชุด Limbic System ที่แสดงไป เรียกว่าทํางาน paint อย่างเต็ม ตัว แต่ก่อนนั้นเหมือนกับมีกระบวนการทางภาพพิมพ์มาเจือปน Limbic System นี่คือทํา paint อย่างเต็มตัว ก็เกิดการตั้งคําถาม ต่างๆ ในการสร้างงานศิลปะชุดนั้นเหมือนกันว่า จะต้องตั้งประเด็น สร้างเนื้อหา เพื่อที่จะมากําหนดรูปแบบมัน นี่คืออันแรกที่ชุดนั้น ทําแล้วมันก็มีข้อดีข้อเสียของมันอยู่ ผมก็รู้สึกเกร็ง ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นที่จะใช้รูปหรือภาษาภาพอะไรเข้าไปจัดการมัน พอมี concept ปุ๊บเราก็จัดการมันได้ระดับหนึ่งแต่มันก็เกร็งๆ มันออกมาค่อนข้างจะแข็งๆหน่อย ไม่รู้จะบอกว่าอะไร
Knakorn: This series is 3-4 years after ‘Limbic System’, my previous exhibition. I would say that I entirely
of this series whether you experiment with new method or you continue developing from your last series?
painted in this series. Previously, there might be some printing processes in my work but since ‘Limbic System’ I concentrated on paint. About working process, after that series, there are many questions coming up whether it is necessary or unnecessary to have main point or content to lead to the art form. I feel indecisive. I do not know where to start or how to manage figure and image. Then, with concept in mind, I only can paint confidently up to some certain levels without awkward feeling. I don’t know how
มนวิไล: แล้วถ้าอย่างงานชุดทีแ่ ล้วทีพ่ ยายามตัง้ ประเด็นเพือ่ มากาํ หนดผลงานหรือรูปแบบแต่ในชุดนีม้ นั มีวธิ กี ารทาํ งานอย่างไรบ้างคะ
to explain.
คณากร: ตอนที่เสร็จจากชุดนั้น เข้ามาถึงชุดที่จะมาแสดง ก็ทบทวนตัวเองอยู่นานเหมือนกัน แล้วก็ถามตัวเองว่าทํางานอย่างนั้นมัน มีความสุขมั้ย มันจะต้องขนาดนั้นเลยมั้ย ต้องตรงกับ concept ต้องมีเป๊ะ เป๊ะ ทุกอย่าง ก็เลยรู้สึกมันไม่ค่อยมีความสุข จะเขียน อะไร มันไม่ได้ออกมาด้วยความอัตโนมัติ จะต้องไปหาต้นทางอะไรสักอย่างมาประกอบ จริงๆ วิธีการหาต้นทางแบบนี้มันอาจจะเป็น วิธีที่ถูก แต่ผมก็รู้สึกมันเกร็งไป พอมาชุดนี้ก็เลยจัดการมันด้วย การนึกก่อนว่าอยากจะเขียนอะไร แล้วสิ่งที่เขียนมันแทนอะไรก็แค่ นั้น แล้วก็เริ่มว่าจะเขียนภาพยังไงซึ่งมันก็ยังไม่ชัดเจน แต่ก็เริ่มรู้ว่าจะเขียนรูปทรงอะไรก่อน แล้วก็เก็บรูปแบบ เก็บข้อมูลโดยการเก็บ ภาพ จากภาพต้นทางที่เราเห็นอยู่ตามนิตยสาร หรือตามสื่อต่างๆ หรือว่าที่เราสะสมไว้โดยคัดลอกเก็บไว้ คราวนี้สิ่งที่เก็บไว้เราก็ไม่ได้ คาดหวังว่าจะเอาไปทําอะไรต่อ คือเก็บโดยคัดลายเส้นออกมาโดยชอบลายเส้นมัน ตอนนั้นก็ตั้งใจไว้ว่ามันคงจะเอาไปทําอะไรได้สัก อย่าง พอได้สักระยะหนึ่งก็มาทบทวนว่ามันมีเรื่องราวอยู่ในตัวมันนะ ซึ่งมันอาจจะเป็น process หรือวิธีคิดด้วย ผมก็ไม่แน่ใจ คือ มันมีเรื่องราวเล่าอยู่ในลายเส้น รูปแบบต่างๆ ในกระดาษลอกลายที่เราเก็บข้อมูลไว้พอได้มาจํานวนหนึ่ง ก็มานั่งเลือก เราอยากได้ ภาพไหน การเลือกมันเหมือนกับว่าผมก็ใช้ทัศนคติส่วนตัวที่ไปดึงมันออกมาใช้ความเหมาะสม เรื่องของอารมณ์ภาพตรงนั้น โดยตั้ง ประเด็นไว้ว่า ภาพมันจะมีเรื่องของความหวั่นไหว ความรู้สึก ประเด็นทางความรู้สึกที่เกิดจากความหวั่นไหวในอดีตตอนนั้น แต่ก็ไม่ ได้ปูประเด็นไปถึงอะไรมาก คือ ภาพแต่ละภาพจะเห็นว่าถ้าสังเกตใบหน้าจะรู้สึกว่ามันไม่ค่อยมั่นคงในเรื่องของอารมณ์
Monvilai: It seems like in your last series you try to focus on concept in your artwork. What about this series, how different is the working process? Knakorn: After that series but before I start this series, I spend quite sometimes with myself and evaluate how happy I am to follow that kind of working process. Is it necessary that everything I do must correctly correspond with the concept? The answer is it makes me unhappy. I cannot paint automatically because I have to think of some components that lead to the content. On the other hand, in reality, that might be the correct process but I feel unconfident to do so. Then, in this series, I manage by thinking of what I want to paint and what it represents and that’s it. At the beginning, I might not know of how to paint but somehow I know what forms I will paint. Those forms are collected by sketching from the original where I have seen and researched from magazines or media. At that moment, I unintentionally plan to develop those sketches. I sketch because I like its line and I keep those sketches because I may use them sometimes. In a short while, I realize that there are stories in those lines and sketches, probably it could be
มนวิไล: พอนําภาพมารวบรวมแล้วลงมือวาดจริงๆ มันมีแรงบันดาลใจอะไรอย่างอื่นหรือว่ามันมีแนวทางการทํางานของศิลปินท่าน อื่นที่ชอบแล้วนํามาใช้ด้วยมั้ยคะ
called a process or thinking method which I am not so sure. With certain amounts, I start to select some sketches that affect my attitude and emotion towards them. Those selected sketches show sensational feeling. I don’t really strict with the selection criteria. As a result, each painting, from the face, shows
คณากร: คือมันคละกันหมด ศิลปินที่เป็นแรงบันดาลใจแล้วเอามาทําเลยมันก็ไม่ได้ จริงๆ ผมชอบมาร์ค ชากาล (Marc Chagall) ผมชอบวิธีการเอาเรื่อง symbolic เข้ามาโยนๆ ลงในงาน แล้วมันเป็นภาพที่มันเอามาเชื่อมกันได้ไง บางทีเอาคนมาต่อ เอาบ้านมา ต่อหัวคน เอานกมาใส่ เอาอะไรมาใส่ รู้สึกมันไม่เลว แต่ว่าก็ไม่ได้เอามาเป็นแรงบันดาลใจอะไรสุดๆ อย่างที่อาจารย์ว่า ฉากหลังของ ผมคล้ายๆ อองรี รูโซ่ (Henri Rousseau) ผมย้อนกลับไปดูเออมันก็เหมือน แต่ก็ไม่ได้ Naïve อะไรขนาดนั้น ประเด็นมันไม่ได้มา จากตัวงานศิลปินเหมือนวิธีคิดร่วมสมัยสมัยนี้ที่จะต้องไปโยงกับประวัติศาสตร์ผมไม่รู้ว่ามันถูกต้องรึเปล่า เราจะต้องไปโยงกับประวัติ ศาสตร์รึเปล่า แต่ว่าเวลาเราเขียนแล้วเราอาจจะไปโยงได้
emotionally unbalanced. Monvilai: In order to paint, apart from gathering those selected sketches, are there any inspirations or artists that inspired you to work in this series? Knakorn: It depends. We cannot do exactly the same as the artists that inspire us do. Truly, I like Marc Chagall. I like the way he put symbols which are harmoniously connected to each other in his works. You
มนวิไล: แล้วอย่างการทํางานในชิ้นหนึ่ง จะใช้เวลาประมาณเดือนหนึ่งแล้วแต่ แล้วเหมือนกับว่าทิ้งไว้พอมีอะไรในใจ นึกขึ้นได้แล้วก็ เติมเข้าไปเรื่อยๆ แล้วเรื่องราวต่างๆ ที่อาจารย์นํามาประกอบกันหรือว่าสิ่งที่อาจารย์เพิ่มเติมไปในแต่ละครั้ง ส่วนใหญ่มันมีที่มาที่ไป อย่างไรบ้างคะ
can see human connected to human, a house connected to human head, bird or whatever. It’s amazing. But I don’t really use him as my inspiration. Ark (a curator) also said that my paintings’ backgrounds are similar to Henri Rousseau. I look back and realize that there are some similarities but mine are not that naïve. My works do not follow contemporary method that must be related to art history. I don’t know
คณากร: ตอนแรกผมจะเลือกภาพ ที่เอาให้ดูคือ เลือกโครงสร้างใหญ่ของภาพก่อน ก็คือตัว Figure ภาพชิ้นนี้เป็นม้าลาย แล้วก็มี
whether it’s right or wrong that we have to link with history. But after we paint, we can tell the relation.
ใบบัววิคตอเรียอยู่ข้างใต้อันนี้ผมก็เลือกแค่นี้ก่อน แต่ข้างหลัง หรือ jigsaw เล็กๆน้อยๆ ไม่ได้คิดประเด็นไว้ก่อน คือมันไม่ได้เป็นภาพ ที่สําเร็จตั้งแต่แรก พอมันมา 3 ส่วนที่ใหญ่ๆ หลังจากนั้น พอขึ้นเฟรมใหญ่ผมก็จะมานั่งดูว่า มันเกิดอะไรขึ้นบนพื้นที่ของเฟรมนั้น พอรู้ว่ามันเกิดอะไร เราอยากจะทําอะไรบ้าง เหมือนมันเกิดขึ้นมาโดยอัตโนมัติซึ่งบางทีเว้นพื้นที่ไว้พื้นที่หนึ่งเพื่อจะรอรูปทรงอะไร บางอย่างเข้ามาเพื่อจะจบมัน ก็รออีกเป็นเดือน ก็ไปคิดอีกรูปหนึ่งก่อน ซึ่งผมก็คิดว่ามันอาจจะไม่ถูกต้องเพราะเราควรจะคิดให้เสร็จ ในสเกตให้เสร็จ แต่ผมก็ชอบตรงที่มันมีเรื่องของอารมณ์ระหว่างที่เราต่อรองหรือทํามัน มันก็เป็นเหมือน .. อันนี้ใช่อันนี้ไม่ใช่โดยการ ตัดสินใจ วิเคราะห์อันที่ว่า ถ้าจะบอกเรื่องอารมณ์ไม่ได้ก็อาจจะเป็นการวิเคราะห์ที่จะเอาไอ้เนี่ยลงไปในตําแหน่งนั้น ซึ่งอีกสองวัน ตําแหน่งนั้นอาจจะไม่ใช่อีกก็ได้ก็เลยไม่รู้จะบอกยังไง คือ เวลาเราบอกเด็ก เราก็จะบอกว่ามันต้องเป็นสเกตที่สมบูรณ์เวลาเราทําจริง เราก็ทําไม่ได้
Monvilai: You spend one month or more for one painting and then you leave it. Whenever you have
มนวิไล: เมื่อวานที่เราพูดถึงม้าลาย แล้วก็มีตัวนก ในตัวนกก็จะมีเรื่องราวอะไรต่างๆ มากมาย ตรงนั้นคือที่ค่อยๆ ที่อาจารย์บอกว่า รอมันมาทีละชิ้นทีละชื้น ฉะนั้นแต่ละอันที่วาดลงไปมันก็จะมีเรื่องราวของมัน หรือว่าที่มาที่ไปของมัน
to paint another piece. It might be a wrong process as we should finish the sketch earlier. However, I like
คณากร: คือ มันจะมีโครงสร้างหลักที่บอก ทีนี้มันจะมีอีกส่วนที่จะเป็นเหมือนโครงสร้างที่เหมือนจริง คือ ตัวนก แต่ว่าภายในตัว นกมันกลับถูกแทนค่าด้วยเรื่องราวหลายๆอย่างลงไปในตัวนก ซึ่งมันจะมีทั้งภาพวิว ทั้งคน มีทั้ง portrait มีอะไรปนอยู่ในนั้นหมด ประกอบกันเป็นตัวนก ตัวนกก็มีเรื่องราวที่มันผูก ติดสอยห้อยตามกับรูปทรงนี้มาอยู่แล้ว เรื่องราวภายในมันเหมือนกับเราจัดฉากข้าง หน้า ข้างหลังให้มันเป็นมิติเข้าไป โดยที่จะเล่าเรื่องประสบการณ์ส่วนตัวบ้าง เรื่องที่มาปะทะระหว่างทํางานบ้าง ผสมปนเปกันไปหมด โยนลงไปให้มันสะเปะสะปะลงไปเลย ก็ไม่รู้วามันจะถูกต้องหรือเปล่า
I teach I tell my students to complete the sketch before starting to paint but in face I cannot do like that.
มนวิไล: ซึ่งอาจารย์จะพูดเสมอว่าถูกต้องรึเปล่า
Knakorn: As I said earlier, I start with main figures which the bird is also counted here but inside is
คณากร: คือ มันเหมือนว่าสมัยนี้ศิลปะมันต้องมีกรอบที่มันควรจะเป็นแบบนี้รึเปล่า ผมก็ไม่รู้
profoundly and dimensional set from my personal experiences and situations that I encountered. I am not
มนวิไล: แล้วเมื่อวานอาจารย์พูดถึงเรื่องของนํารูปแบบต่างๆ เหล่านี้มา แต่ว่าเวลาวาดลงไปหรือทําลงไปแล้วเนี่ย อาจารย์จะมีการ สร้างแสงเงาที่ไม่เหมือนจริง ประเด็นเรื่องจริงไม่จริงนี้ค่ะ
Monvilai: You always concern about what is right or wrong.
คณากร: คือ ตอนแรกที่คิดไว้เราเขียนภาพคนแต่มันไม่ใช่ตั้งใจจะเขียนให้เป็นคนเหมือน หรือเป็นคนจริงๆ ออกมา แต่เราเขียน ให้มันเป็นคนเป็นภาพที่สื่อสารว่าเป็นคน แต่คนจริงๆแบบนี้ไม่มีหรอก ดูตาเบ้อเริ่มเดินออกมาคงไม่มี สีผิวแบบนี้คงไม่มีแต่เราจะ รู้สึกถึงความเป็นคน แล้วความที่เป็นคนตรงนี้เราสร้างความเป็นจริงบางอย่าง เขาเรียก นิยมใช้ในภาษาจิตรกรรมที่จะปั้นมันขึ้น มาให้มันมีท่าทาง ให้มันมีนำ�้หนักแสงเงา ที่นำ�้หนักแสงเงาจริงๆ แบบนี้ถ้าเป็นภาพถ่ายมันคงไม่มีประมาณแบบนี้ อันนี้เราก็ปั้นให้ มันมีโครงสร้างมีแสงเงาหรือความเป็นจริงในภาพที่จะมาลวงให้คนดูภาพให้เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย เขาน่าจะใช้คําว่ามันเป็น จิตรกรรมที่มันสื่อสารออกมารึเปล่า ประมาณนั้น ..
something coming up in your mind, you would fill in that painting again. Where the new stories or components come from? And how to fill them in? Knakorn: Firstly, I select the main figures. Like this painting, the main figures that I initially choose are human figure, zebra and Victoria lotus leaf. For background, I do not prepare. It is not a complete sketch since the beginning. Then, I paint the three main figures on the big frame and I ponder what is going on to the rest of the space of this frame. Whenever I realize what is going on, it comes up automatically what I would like to do. Sometimes, I leave that space empty for months. And while I wait to fill that space, I start the feeling of negotiating with the space of the frame. Sometimes, I decide to put some figures onto that space but later I change my mind and remove them. I don’t know. It seems contradictory because when
Monvilai: Yesterday, we talked about the zebra and the bird. Look at the bird, there are many different stories inside. Those, story by story, are what you are waiting for? Each of them has their own narrative or origin?
replaced with scenery, human figure, portrait etc. As part of the main structures, the stories inside are sure whether I do the right thing.
Knakorn: Because It seems like nowadays art must have conceptual framework. I don’t know. Monvilai: You said that you sketched, you took its lines and forms for your paint. When you painted, you also created unnatural light and shadow. What do you think about the issues of realism and idealism? Knakorn: At first, I want to paint human figure or portrait but not in realistic style. I want to communicate that I paint a human being. Although, this kind of person, such its eyes and skin tone, never exists, we can notice that it is a human. Then, I create what that should be real through posture with shade and shadow that can not at all be seen from photograph. The figures with realistic light and shadow in the painting delude the audience into believing that they are real figures. Probably, this can be called communicable paintings.
Acknowledgements BUG and artist would like to thank all individuals and organization for their invaluable support in realizing the exhibition : Bangkok University Gallery King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Ode To Art
Anawat Aiemkhum Anon Chaisansuk Boonma Sanwongsa Chin Fong Chong Magga Fongsmut Napat Vattanakuljalas Natnaran Bualoy Phumin Wongsingha Rach Julrachata Sansern Malindasuta Surat Setseang Tammarat Kittiwatanakun Tanet Awsinsiri Tawatchai Somkong Tewprai Bualoi Wuttigorn Kongka
Organized by
With the support of
สูจิบัตรนี้จัดพิมพ์เพื่อประกอบนิทรรศการ
This catalogue was published on the occasion of the exhibition
พฤศจิกายน 2557 - 17 มกราคม 2558 หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยนำ�้ไท
15 November 2014 – 17 January 2015
15
5 - 29
Bangkok University Gallery (BUG), City Campus 5 - 29 March 2015
มีนาคม 2558
Ode To Art Raffles City
Ode To Art Raffles City
คณากร คชาชีวะ
Artist:
Knakorn Kachacheewa
ผู้ประสานงาน
อรรฆย์ ฟองสมุทร อโณทัย อูปคำ� ดร. มนวิไล โรจนตันติ
Project Coordinators:
Ark Fongsmut
Dr. Monvilai Rojanatanti
ออกแบบสูจิบัตร แปล
รุจีลาวัณย์ จันทร ดร. มนวิไล โรจนตันติ
Catalogue Design:
Rujee-Lawan Chandhorn
Text Translation:
Dr. Monvilai Rojanatanti
พิมพ์ที่ แบบอักษร
บริษัท พลัสเพรส จำ�กัด (จำ�นวน 500 เล่ม)
Printed:
Pluspress Co., Ltd. (500 copies)
Typeface:
Quattrocento / TH Sarabun
Publisher:
Bangkok University Gallery
119 Rama 4 Road, Klong Toey
Bangkok 10110
ศิลปิน
Quattrocento / TH Sarabun
ผู้จัดพิมพ์ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 119 ถนนพระราม 4 คลองเตย กรุงเทพฯ 10110
Anothai Oupkum
Text / Images © 2014-2015 Bangkok University and Artist
© สงวนลิขสิทธิ์ 2557 การคัดลอก ลอกเลียน หรือผลิตซำ�้ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของหนังสือนี้ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ โดยไม่ได้ รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ มีความผิดตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
© All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system, or transmitted in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise without prior written permission writing from the publisher.
Bangkok University Gallery
Ode To Art Raffles City
119 Rama 4 Road, Kluay-Nam-Tai,
252, North Bridge Road,
Klong Toey, Bangkok 10110
Raffles City Shopping Centre,
Thailand
#01-36E/F, Singapore 179109 Telephone: +65 6250 1901,
Telephone: +66 2350 3626
E-mail: info@odetoart.com
E-mail: bugallery@bu.ac.th
www.odetoart.com,
www.facebook.com/bangkokuniversitygallery
www.facebook.com/odetoart.gallery
Opening hours: 10.00 - 19.00 hrs.
Opening hours: 11.00 - 21.00 hrs.
(Tuesday - Saturday)
(Monday - Sunday)