NAKHON YOD LAME LEARNING CENTER ศูนย์การเรียนรู้ ณ ครยอดแหลม

Page 1

ARISARA

Nakhon Yod Laem Learning center project design 4


NAKHON YOD LAME LEARNING CENTER ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ ณ ค ร ย อ ด แ ห ล ม ลืมแล้วข้าวหลามนครปฐม เมื่อก่อนเคยเป็นที่โด่งดังแต่ปัจจุบันเหลือน้อยเต็มทีเนื่องจาก สาเหตุมากมายที่ทำให้ชื่อเสียงของข้าวหลามนครปฐมเรื่องหายไปอาธิเช่น สถานที่ขายไม่อยู่

ในเขตนักท่องเทียว พ่อค้าคนกลางที่ทำลายชื่อเสียง แม่ค้าที่ทยอยเลิกกิจการเพราะไม่มีคน สารต่อ ศูนย์การค้าแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อนแก้ปัญหาของแม่ค้าให้มีพื้นที่ขาย พัฒนาสิ่งที่ มีอยู่ให้กลับมาเป็นที่รู้จักเหมือนเคย


สารบัญ เ รื่ อ ง

ห น้ า

ส่วนที่ 1 บทนำ ที่มา ความสำคัญ วัตถุประสงค์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย ................................................................................................................................................................................. 1 ส่วนที่ 2 ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้นที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม .............................................................................................. 9 ส่วนที่ 3 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ....................................................................................................................................................................................................................................................... 11 ส่วนที่ 4 การกำหนดพื้นที่องค์ประกอบโครงการและแสดงการคำนวนพื้นที่โครงการ ...................................................................................................................................................... 25 ส่วนที่ 5 การศึกษาอาคารตัวอย่าง ................................................................................................................................................................................................................................................ 62 ส่วนที่ 6 การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคาร วัสดุและวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ....................................................................................................................... 73

ส่วนที่ 7 การศึกษาและสรุปข้อกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง ....................................................................................................................................................................................... 85 ส่วนที่ 8

แนวคิดในการออกแบบเบื้องต้นการจัดวางองค์ประกอบ ....................................................................................................................................................................................... 88 ส่วนที่ 9 ความก้าวหน้าและการตรวจแบบร่าง ........................................................................................................................................................................................................................... 90 ส่วนที่ 10 ผลงานการออกแบบ ........................................................................................................................................................................................................................................................ 95


1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญ จังหวัดนครปฐมมีเพียงชุมชนเดียวคือชุมชนวัดพระงาม ประกอบอาชีพหลักคือทำนา จะ ทำข้าวหลามจในช่วงเทศกาล คือหลัง 3 ค่ำ เดือน 3 จนถึงเดือน 4 ราว130ปี ต่อมามีการ ทำข้าวหลามเป็นอาชีพและไปขายแถบบริเวณสะพานเจริญศรัทธาจนถึงบริเวณด้านในของ องค์พระปฐมเจดีย์ มีเรียกันว่า "ข้าวหลามนครปฐม“เรียกได้ว่าเป็นยุคทองของข้าวหลาม นครปฐม ด้วยผู้ว่าราชการประสงค์ให้มีการสาธิตการทำข้าวหลามถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว(ร.9) และสมเด็จพระเจ้าโบดวง ในวโรกาสที่เสด็จฯมาจังหวัดนครปฐมเมื่อปี

พ.ศ. 2503 จึงขอให้แม่ทรัพย์ สาธิตการทำข้าวหลามถวาย คนทั่วไปเรียกขานกันว่า "ข้าวหลามเสวย" ตั้งแต่นั้นมา จากข้าวหลามนครปฐมที่เคยรุ่งเรืองในอดีต ผู้ทำ 20 ราย เหลือเพียงผู้ผลิตรายใหญ่ เพียง 5 ราย พบว่าเกิดจากปัญหาด้านผู้ผลิต ต้นทุนสูงถึงร้อยละ 80 ของเงินที่ได้คืนมา ผู้ที่ทำอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและคาดว่าไม่มีผู้สืบทอดอาชีพนี้ อีกทั้งผู้ผลิต

ไม่มีการพัฒนา ยังคงทำตามรูปแบบเดิมที่เคยทำในอดีต และปัญหาด้านผู้ขาย บริเวณ ทำเลที่เคยขาย เมื่อมีการจัดระบบการขายใหม่ ทำให้จุดที่คนขายกับคนซื้ออยู่ต่างที่กัน การ สร้างถนนธนบุรี-ปากท่อใหม่ จึงเหลือเพียงรถจากกาญจนบุรีและราชบุรีที่ยังผ่านอยู่ และ ปัญหาจากพ่อค้าคนกลางที่ไม่ช่วยรักษา ชื่อเสียงของผู้ผลิต ดังนั้นจังอยากให้กลุ่มผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนวัดพระงามต้องประชุมหารือเพื่อ

ศึกษาความเป็นไปได้ของแนวทางแก้ไขที่กล่าวข้างต้น มีหน่วยงานของรัฐ เช่น มหาวิทยาลัยศิลปากร ช่วยจัดหาตลาด ซึ่งมีกลุ่มผู้บริโภคที่นิยมของสดใหม่และมีคุณภาพ

และเป็นกลุ่มที่ช่วยประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงข้าวหลามนครปฐมคืนมา และประสานความร่วม มือกับปฐมอโศก ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร และหน่วยงานภาครัฐ เพื่อปรับเปลี่ยน

ให้เกิดรสชาติใหม่ๆ ตลอดจนการฟื้ นฟูข้าวหลามที่เคยเฟื่ องฟูในอดีต เช่น ข้าวหลามบ๊ะจ่าง


2

บทนำ วัตถุประสงค์โครงการ

เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดกระบวนการคิด จิตสำนึก รวมถึงหัวใจอนุรักษ์ถิ่นฐานบ้านและปลูกฝัง ให้คนรุ่นใหม่กลับมานิยมวิถีชีวิตของคนในชุมชน ข้าวหลามที่ตอนนี้มีไม่กี่บ้านที่ยังคงอาชีพนี้อยู่ให้กลับ มาโด่งดังเหมือนเก่าและเพื่อให้เกิดการพัฒนาสิค้าให้ดี และมีชื่อเสียงโด่งดังกว่าเดิม


บทนำ

3

กลุ่มเป้าหมาย วันรุ่น ช่วงอายุ20-29ปี เป็นช่วงของการสร้างคนรุ่น ใหม่ให้มีคุณภาพจึงเป็นภารกิจระดับชาติที่ผู้ใหญ่ทุก

คนต้องมีส่วนร่วม หากจะตีเส้นให้เด็กๆ เดินตามโดย ยึดถือเพียงสิ่งที่ทำตามกันมา คงจะเข้าถึงใจเด็ก Gen นี้ไม่ได้แล้ว บทบาทของศูนย์การเรีนรู้แห่งนี้จึง ต้องปรับเปลี่ยนจากเขียนกรอบสูตรสำเร็จ เป็นให้เด็ก เขียนเส้นทางอนาคตของตัวเอง โดยที่ผู้ใหญ่เพียงแค่ คอยชี้แนะและประคับประคองเท่านั้น


4

สธิติ : นักท่องเที่ยว

ข้อมูล : สำนักงานสถิติ จังหวัดนครปฐม


5

ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้น ส ภ า พ แ ว ก ล้ อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ

ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ของ จังหวัดนครปฐมเป็นที่ราบ ไม่มีภูเขาและป่าไม้ มีแม่น้ำท่าจีนไหล ผ่านจังหวัดจากทิศเหนือไปสู่ทิศใต้ พื้นที่ทางตอนเหนือและทาง ตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็นที่ดอนมีที่ราบ ใช้ทํานาได้ เพียงบางส่วน พื้นที่ตอนกลางของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีที่ ดอนและแหล่งน้ำกระจายเป็นแห่ง ๆ ส่วนพื้นที่ทางด้านตะวัน ออกและด้านใต้เป็นที่ราบลุ่มริมฝั่ งแม่น้ำท่าจีน มีคลอง ธรรมชาติและคลองซอยที่ขุด ขึ้นอยู่มาก


ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้น

6

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ


ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้น

7

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ


ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้น 8

เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์


ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้น

9

สังคมและวัฒนธรรม


ความเป็นไปได้โครงการเบื้องต้น

10

สภาพแวดล้อมและผลกระทบต่อชุมชนในอนาคต


11

SITE SELECTION


SITE SELECTION

12

SITE 1

SITE 2

SITE 3


13

ความสัมพันธ์กับโครงการใกล้เคียง

SITE 1

SITE 2

SITE 3

- ตลาดทุ่งพระเมรุ - โรงเรียนราชินีบูรณะ - โรงเรียนวันไผ่ล้อม - โรงเรียนวัดใหญ่ - วัดพระปฐมเจดีย์

- Big C - Makro - สำนักงานจัดหางาน - ตลาดทุ่งพระเมรุ - โรงแรมเอราวัณ

- ตลาดประฐมมงคล - ตลาดทุ่งพระเมรุ - ตลาดศรีวิชัย - Big C - โรงเรียนราชินี


14

ด้านการจราจรและคมนาคม

SITE 1

SITE 2

SITE 3

- ถนนราชวิถี - ถนนหลังวัดใหญ่ - ถนนหน้าพระ

- ถนนหน้าพระ - ถนนเพชรเกษม - ถนนยิงเป้าใต้เก้า

- ถนนวัดโพธิ์ - ถนนคตกฤช - ถนนหน้าพระ - ถนนราชวิธี


15

การมองเห็นที่ตั้งและลักษณะการเชื้อเชิญ

SITE 1

SITE 2

SITE 3

มองเห็นได้ 3 ทิศทาง มุมมองเป็น พาโนราม่า

มองเข้าด้านหน้าได้ด้านเดียว แต่ สามารถมองออกด้านหลังไซต์ได้

มองเห็นได้3ทิศทาง มุมมองเป็นพา โนราม่า


16

สภาพแวดล้อมโดนรอบ

SITE 1

SITE 2

SITE 3

อยู่ในเขตชุมชน ค่อนข้างแออัด

หน้าไซต์ติดถนนใหญ่ อาจมีเสียง รบกวนจากรถบรรทุก

โดยรอบเป็นตลาด การจราจร ติดขัด


17

ความสะดวกในการเข้าถึง

SITE 1

SITE 2

SITE 3

ถนนเข้าไซต์ค่อนข้างแคบ รถจะติด ในช่องเวลารับส่งนักเรียน

ง่ายต่อการเข้าถึง ถนนใหญ่และรถ ไม่ติด

ถนนเข้าไซต์ค่อนข้างแคบ รถจะติด ในช่วงเวลารับส่งนักเรียน


18

การขยายตัวของโครงการ

SITE 1

SITE 2

SITE 3

ขยายไปด้านหลังและด้านข้างของ ไซต์

ขยายไปด้านหลังของไซต์

ขยายไปด้านหลังและด้านข้างของ ไซต์


พิจารณาเลือกไซต์

19

G R A D E A = 4 ดี ม า ก G R A D E B = 3 ดี G R A D E C = 2 ป า น ก ล า ง G R A D E D = 0 แ ย่


SITE 3 เลขโฉนดที่ดิน : 14616 หน้าสำรวจ : 1052 เลขที่ดิน : 146 ระวาง : 5036 IV 1426-12 (1000) ตำบล : ห้วยจเข้ อำเภอ : เมืองนครปฐมปฐม จังหวัด : นครปฐม เนื้อที่ : 2 ไร่ 2 งาน 31.6 ตารางวา ราคา แคร์ที่ดิน(กรมธนารักษ์) : 44,000 บาทต่อตารางวา หรือติดตามข้อมูล และหน่วยงานกรมธนารักษ์ หรือติดต่อสำนักงานที่ดิน พิกัดพิกัด : 13.81033901,100.06992669 ข้อมูลผู้โดยสาร : จากที่นี่แปลงเป็นแปลงที่ดิน แปลงปลูกพืชไร่

20


Approach

21


Vista

22


23

Site Analysis ต้นไม้

เสียงรบกวน


24

Site Analysis ลักษณะอากาศขึ้นอยู่กับอิทธิพลของ ลมมรสุมที่พัดประจําฤดูกาล 2 ชนิดคือ ลม มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะ พัดพามวลอากาศเย็นและแห้งจาก ประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยในช่วง ฤดู หนาว ทําให้มีอากาศหนาวเย็นและ แห้งแล้งทั่วไป กับลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ ซึ่งจะพัดพา มวลอากาศชื้นจาก ทะเลและมหาสมุทรปกคลุมประเทศไทย ในช่วงฤดูฝน ทําให้จังหวัดนครปฐมมี ฝนตกทั่วไป


25

พื้นที่องค์ประกอบโครงการ 1.พื้นที่แสดงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 25% - พื้นที่จัดแสดงต้นกำเนิดอำเภอวัดพระงาม - พื้นที่จัดแสดงประวัติความเป็นมาข้าวหลาม - พื้นที่จัดแสดงการทำข้าวหลาม - พื้นที่จัดแสดงข้าวหลามยุคใหม่ 2. พื้นที่เรียนรู้และให้ความรู้ 35% - ห้องบรรยาย จำนวน 200 ที่นั่ง - ห้องบรรยาย จำนวน 250 ที่นั่ง - ห้องบรรยาย จำนวน 180 ที่นั่ง - ห้องบรรยาย จำนวน 60 ที่นั่ง - ห้องประชุมสัมมนา จำนวน 80 ที่นั่ง - ห้องประชุมสัมมนา จำนวน 40 ที่นั่ง - ห้องประชุมสัมมนา จำนวน 35 ที่นั่ง - ห้องประชุมสัมมนา จำนวน 24 ที่นั่ง 3. พื้นที่เรียนรู้ตามอัตยาศัย 10% - ห้องสมุด 4. สำนักงานบริการโครงการ 5% - ห้องสำนักงาน

5. พื้นที่ส่วนบริการโครงการ 5% - ส่วนบริการ - โถงต้อนรับ - ร้านอาหาร 6. พื้นที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษาเอง 20% - พื้นที่ทำข้าวหลาม - พื้นที่เตรียมวัตถุดิบและเก็บของ - พื้นที่ทำสวน 7. พื้นที่จอดรถยนต์และมอเตอร์ไซต์ - จอดรถยนต์ - มอเตอร์ไซต์ 8. งานระบบ - ห้องเครื่องไฟ - ห้องเครื่องปรับอากาศ - ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสำรอง - ห้องส่วนพื้นที่ปั๊ มน้ำ


26

วัฒนธรรม ส่วนนิทรรศการถาวร 1.การบันทึกภาพการทำข้าวหลามในอดีต แสดงงานแบบมีการโชว์อุปกรณ์ประมาณ 50 ชิ้น ใช้แบบM1 : 3.24 x 50 = 162 m2 แสดงงานแบบมีการโชว์อุปกรณีแบบลอยตัว ประมาณ 20 ชิ้น ใช้แบบ : M4 9.00 x 20 = 180 m2 มีบอร์ดอธิบายงานที่จัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้ ใช้แบบ : WB1 : 3 กับ B4 : 2 (2.88 x 3) + (9.00 x 2) = 26.64 m2 รวมทั้งหมดส่วนนี้ใช้พื้นที่ 162 + 180 + 26.64 = 368.64 m2 ทางสัญจรภายใน 30% : 368.64 x 30% = 110.6 m2 พื้นที่ทั้งหมด + ทางสัญจรภายใน : 368.64 + 110.6 = 479.24 m2


27

วัฒนธรรม ส่วนนิทรรศการถาวร 2.การบันทึกภาพการทำข้าวหลามในปัจจุบัน มีบอร์ดอธิบายงานที่จัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้ ใช้แบบ : WB1 : 3 กับ B4 : 2 (2.88 x 3) + (9.00 x 2) = 26.64 m2 มีบอร์ด Electronic boards แบบลอยตัว ใช้แบบ : EB5 2 ชุด 9.00 x 2 = 18.00 m2 มีบอร์ด Electronic boards แบบติดผนัง ใช้แบบ : EB3 2 ชุด 4.32 x 2 = 8.64 m2

รวมทั้งหมดส่วนนี้ใช้พื้นที่ 26.64 + 18.00 + 8.64 = 53.28 m2 ทางสัญจรภายใน 30% : 53.28 x 30% =

16.00 m2 พื้นที่ทั้งหมด + ทางสัญจรภายใน = 53.28 + 16.00 = 69.28 m2


28

วัฒนธรรม ส่วนนิทรรศการถาวร

3.สนุกกับเทคโนโลยีทางภาพ มีบอร์ดอธิบายงานที่จัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้ ใช้แบบ : WB1 : 3 กับB5 : 2(2.88 x 3) + (10.80 x 2) = 30.24m2 มีการจัดแบบ Electronic boards แบบติดผนังเพื่อให้ความรู้ ใช้แบบ : EB3 4 ชิ้น 4.32 x 4 = 17.28 m2 มีการจัดแบบ Electronic boards แบบลอยตัวเพื่อให้ความรู้ ใช้แบบ : EB6 4 ชิ้น 10.80 x 4 = 43.20 m2 มีตู้แสดงงาน Diorama เพื่อให้ความรู้ ใช้แบบ : D3 4 ชิ้น 10.80 x 4 = 43.20 m2 รวมทั้งหมดส่วนนี้ใช้พื้นที่ 30.24 + 17.28 + 43.20 + 282.24 = 90.72 m2 ทางสัญจรภายใน 30% : 90.72 x 30% = 27.22 m2 พื้นที่ทั้งหมด + ทางสัญจรภายใน : 90.72 + 27.22 = 117.94 m2 รวมทั้งหมดทุกส่วน : 479.24 + 69.28 + 117.94 = 666.46 m2


29

วัฒนธรรม ส่วนนิทรรศการพิเศษ

มีการจัดแสดงแบบบอร์ดติดผนัง ใช้แบบ WB1 : 5 (2.88 x 5) = 14.40 m2 มีการจัดแสดงแบบ Diorama แบบติดผนัง

ใช้แบบ D2 5 ชุด (9.00 x 5) = 45.00 m2 มีบอร์ด Electronic boards แบบติดผนัง ใช้แบบ : EB3 2 ชุด 4.32 x 2 = 8.64 m2

รวมทั้งหมดส่วนนี้ใช้พื้นที่ 14.40 + 45 + 8.64 = 68.04 m2 ทางสัญจรภายใน 30% : 68.04 x 30% = 20.41 m2 พื้นที่ทั้งหมด + ทางสัญจร = 68.04 + 20.41 = 88.45 m2


30

วัฒนธรรม ส่วนทำงานฝ่ายนิทรรศการ

2.1 หัวหน้าแผนก 1 คน : T4-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 2.4 + (3.85 x 2) = 10.1 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 10.1 x 30% = 3.03 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 10.1 + 3.03 = 13.13 m2 2.2 รองหัวหน้าแผนก 1 คน : T4-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 2.4 + (3.85 x 2) = 10.1 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 10.1 x 30% = 3.03 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 10.1 + 3.03 = 13.13 m2 2.3 แผนกข้อมูลวิชาการ 5 คน : T6-2 ชุด , L1-6 ชุด,T3-1 ชุด,L2-2 ชุด,C2-1 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : (5.6x2)+(3.85x6) 4.28+(2.88x2)+6.20 = 50.54 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :50.54 x 30% = 15.16 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :50.54 + 15.16 = 65.70 m2 2.4 แผนกสาธิตทำข้าวหลาม 6 : T6-2 ชุด , L1-6 ชุด , T8-1 ชุด , L2-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด :(5.6 x 2)+(3.85 x 6)+4.20+(2.88x2) = 44.26 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :44.26 x 30% = 13.28 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :44.26 + 13.28 = 57.54 m2


31

วัฒนธรรม ส่วนทำงานฝ่ายนิทรรศการ

2.5 งานทะเบียนและซ่อม 3 คนต้องการ T6-1 ชุด , L1-2 ชุด , T2-1 ชุด , L2-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 5.6 + (3.85 x 2) + 2.88 + (2.88 x 2) = 21.94 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :21.94 x 30% = 6.58 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :21.94 + 6.58 = 28.52 m2 รวมทั้งหมดส่วนนี้ใช้พื้นที่ 13.13 + 13.13 + 65.70 + 57.54 + 28.52 = 178.02 m2 ส่วนคลังพิพิธภัณฑ์ คิดพื้นที่จาก 10% ของนิทรรศการถาวร ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 866.40 x 10% = 86.64 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 86.64 x 30% = 25.99 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 86.64 + 25.99 = 122.63 m2


32

วัฒนธรรม ส่วนห้องน้ำนิทรรศการ

จำนวนผู้เข้าชม 1,080 คนต้องการ

ห้องส้วม 13 ห้อง , โถปัสสาวะ 6 โถ , อ่างล้างหน้า 10 อ่างและห้องเก็บ ของ ห้องนี้ใช้พื้นที่ 34.16 m2 พื้นที่สัญจร 30% :34.16 x 30% = 10.25 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :34.16 + 10.25 = 44.41 m2 พื้นที่รวมทั้งหมดทุส่วนมีพื้นที่ = 1099.97 m2 พื้นที่สัญจร 40% = 439.99 m2 รวมพื้นที่ทุกส่วนกับทางสัญจร = 1539.96 m2


33

เรียนรู้ ห้องบรรยาย จำนวน 200 ที่นั่ง ทั้งหมด 2 ห้อง 1 คน ใช้พื้นที่ 1.00 x 0.80 = 0.80 ตารางเมตร

200 คน ใช้พื้นที่ 200 x 0.80 = 160.00 ตารางเมตร พื้นที่สัญจร (160 x 50)/100 = 80 ตารางเมตร = 240 ตารางเมตร ห้องเก็บของคิดเป็น 10% = 24 ตารางเมตร = 264 ตารางเมตร พื้นที่โถง Pre Function คิดเป็น 10% = 26.40 ตารางเมตร ดังนั้น พื้นที่ห้องบรรยายทั้งหมด = 290.40 ตารางเมตร มีห้องบรรยายทั้งหมด 2 ห้อง พื้นที่ห้องบรรยาย 2 ห้อง = 290.40 x 2 พื้นที่ทั้งหมด = 580.80 ตารางเมตร


34

เรียนรู้ ห้องน้ำบรรยาย

ห้องน้ำ

ต้องการ ห้องส้วม 9 ห้อง , โถปัสสาวะ 4 โถ , อ่างล้างหน้า 6 อ่างและห้องเก็บของ ห้องนี้ใช้พื้นที่ 26.90 m2 พื้นที่สัญจร 30% : 26.90 x 30% = 8.07 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 26.90 + 8.07 = 34.97 m2 พื้นที่ทั้งหมด : 615.77 m2 ทางสัญจร 40% : 246.31 m2 พื้นที่ทางสัญจร : 862.08 m2


35

3 ห้องชมภาพยนตร์ 180 ที่นั่ง ทั้งหมด 2 โรง รวมจำนวนที่นั่งทั้งหมด =360 ที่นั่ง คิดจำนวนผู้เข้าชม 100% = 360 คน 1. พื้นที่โรงภาพยนตร์ 1 คน ใช้พื้นที่ 1.00 x 0.70 = 0.70 m2 180 คน ใช้พื้นที่ 180 x 0.70 = 126 m2 พื้นที่สัญจร (126 x 50)/100 = 63 m2 = 189 m2 ห้องเก็บของคิดเป็น 10% = 18.9 m2 = 207.9 m2 พื้นที่โถง Pre Function คิดเป็น 10% = 20.79 m2 พื้นที่รวม = 228.69 m2 2. การฉายภาพยนตร์ พื้นที่กิจกรรม 2.50 x 5.00 = 17.50 m2 รวมพื้นที่ 228.69 + 17.50 = 246.19 m2 พื้นที่สัญจร 30% ของพื้นที่ = 73.86 m2 รวมพื้นที่ 246.19 + 73.86 = 320.05 m2 รวมพื้นที่โรงภาพยนตร์ 2 โรง มีพื้นที่ = 640.1 m2

เรียนรู้


36

3 ห้องชมภาพยนตร์ 180 ที่นั่ง ทั้งหมด 2 โรง 3.3 การขายตัว พื้นที่กิจกรรม 0.60 x 1.20 = 0.72 ตร.ม 3.4 โถงพักคอยส่วนขายขนม คิดจำนวนผู้เข้ามาใชโครงการ 50 % ของผู้ที่เข้ามาใช้บริการทั้งหมด =1080 x 50/100 = 540 คน ระยะเวลาในการใช้พื้นที่ส่วนนี้ต่อ 1 คน = 5 นาที ใน 1 ชั่วโมง คิดการใช้พื้นที่ส่วนนี้เป็น60/5 = 12 ช่วง ดังนั้น ใน 5 นาทีมีผู้มาใช้บริการ 540/12 ในช่วงเวลาเร่งด่วน มีคนมาใช้ =45 คน พื้นที่ในการยืนต่อ 1 คน = 0.65 ตร.ม = 0.65 x45 =29.25 m2 พื้นที่สัญจร 30% ของพื้นที่ = 29.25 x 30/60 = 8.78 m2 รวมพื้นที่ 29.25 + 8.78 = 38.03 m2 3.5 การคิดงิน พื้นที่กิจกรรม 1.25 x 1.75 = 2.19 m2

เรียนรู้


37

ส่วนห้องน้ำภาพยนตร์ 3.8 locker เปลี่ยนชุด พื้นที่กิจกรรม 1.20 x 2.60 = 3.12 ตร.ม รวมพื้นที่โรงภาพยนตร์ 3.9 ห้องน้ำสาธารณะ

= 888.76 m2

ส่วนห้องน้ำ 360 คน/ช่วง ต้องการ ห้องส้วม 7 ชุด , โถ 3 ชุด , อ่างล้างหน้า 4 ชุด , ห้องเก็บของ 1 ห้อง ห้องน้ำมีพื้นที่ 18.50 m2 ทางสัญจรภายใน 30%18.50 x 30%= 5.55 m2 ห้องน้ำ + ทางสัญจรภายใน 18.50 + 5.55= 24.05 m2

พื้นที่รวมทั้งหมดทุส่วนมีพื้นที่

= 1528.58 m2 พื้นที่สัญจร 40% = 611.43 m2 รวมพื้นที่ทุกส่วนกับทางสัญจร = 2140.01 m2

เรียนรู้


38

จำนวนผู้เข้าใช้ห้องสมุด และพื้นที่การใช้งาน เปิดทำการตั้งแต่ 9.00 – 17.00 เป็นเวลา 8 ชั่วโมง / วัน สามารถหาจำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุดได้จาก

ผู้ใช้โครงการ 1080 คน หากผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดโดยคาดการณ์จาก 20 % ของผู้ใช้บริการโครงการต่อวัน จะได้จำนวนผู้ใช้บริการ = (1080 x 20) / 100 = 216 คน

โดยผู้อ่านหนังสือจะใช้เวลวในการอ่าน ประมาณ 2 ชั่วโมง 4 ช่วง

1 ช่วง มีผู้เข้าบริการ = 54 คน จากการเทียบกับโครงการห้องสมุดกำหนดให้อัตราส่วนของผู้ใช้ 1 คน ต่อหนังสือ 10 เล่ม ดังนั้น จะได้จำนวนหนังสือ 216 คน x 20 เล่ม = 2160 เล่ม โดยจัดเก็บตู้หนังสือขนาด 0.90 x 0.80 x 0.10 ม. โดนที่ตู้สามารถบรรจุหนังสือขนาด 0.21 x 0.30 x 0.10 ม. ได้จำนวน 90 เล่ม ดังนั้น หนังสือจำนวน 8000 เล่ม ต้องใช้ตู้วางหนังสือ จำนวน 2160 / 90 เล่ม ประมาณ 24 ตู้ 1 ตู้ใช้พื้นที่ 0.90 ตารางเมตร (จากมาตราฐาน) ดังนั้น พื้นที่ต้องใช้ตู้ 24 ตู้ x 0.90 ตารางเมตร = 21.60 m2 มีพื้นที่สัญจร (21.60 x 50) / 100 = 10.8 m2 ดังนั้น มีพื้นที่ส่วนตู้หนังสือ = 32.4 m2

อัธยาศัย


39

พื้นที่อ่านหนังสือ 54 คน 1-1 พื้นที่มาตรฐานส่วนบุคคลยืน ใช้พื้นที่ทั้งหมด 0.80 x0.80 = 0.65 ตารางเมตร พื้นที่ยืนอ่านหนังสือ 5 คน x 0.65 = 3.25 m2

1-2 พื้นที่อ่านหนังสือ 1 ที่นั่ง ประกอบด้วยครุภัณฑ์ ใช้พื้นที่ทั้งหมด1.00 x 2.42 = 2.42 m2 พื้นที่นั่งอ่านหนังสือ 5 โต๊ะ x 2.2 = 11 m2 1-3 พื้นที่อ่านหนังสือ 4 ที่นั่ง ประกอบด้วยครุภัณฑ์ ใช้พื้นที่ทั้งหมด2.42 x 2.72 = 6.58 m2 พื้นที่นั่งอ่านหนังสือ 5 โต๊ะ x 6.58 = 32.9 m2 1-4 พื้นที่อ่านหนังสือ 6 ทีนั่ง ประกอบด้วยครุภัณฑ์ ใช้พื้นที่ทั้งหมด2.42 x 3.18 = 7.69 m2 พื้นที่นั่งอ่านหนังสือ 4 โต๊ะ x 7.69 = 30.76 m2 ดังนั้น พื้นที่นั่งอ่านหนังสือทั้งหมด = 77.91 m2 พื้นที่สัญจร (77.91 x 50)/100 = 38.96 m2 พื้นที่ส่วนอ่านหนังสือ = 116.87 m2 ดังนั้น ห้องสมุดมีพื้นที่ทั้งหมด 32.4 + 116.87 = 149.27 m2 โดนห้องเก็บของจะคิดเป็น 5% ของห้องสมุด

มีพื้นที่เก็บของ (149.27 x 5) / 100 = 7.46 m2 ดังนั้น ห้องสมุดจะมีพื้นที่ทั้งหมด 149.27 + 7.46 = 156.73 m2

อัธยาศัย


40

พื้นที่ส่วนสาธิตการทำข้าวหลามรูปแบบใหม่ และจำนวนผู้เข้าใช้ หากผู้เข้าใช้ส่วนสาธิตการทำข้าวหลามโดยคาดการณ์จาก 40% ของผู้ใช้บริการโครงการต่อวัน จะได้จำนวนผู้ใช้บริการ= (1081 x 40) / 100 = 432 คน 8 ชั่วโมง จะมี 432 / 4 รอบ = 108 คน

1 คนใช้พื้นที 1.20 x 1.00 = 1.20 ตารางเมตร พื้นที่ทำข้าวหลาม 108 คน x 1.20 = 129.6 ตารางเมตร

พื้นที่เตรียมวัตถุดิบและเก็บของคิดเป็น 40 % = (129.6 x 40) / 100

= 51.84 ตารางเมตร พื้นที่รวม = 181.44 ตารางเมตร ทางสัญจร (252 x 30) / 100 = 54.43 ตารางเมตร พื้นที่ส่วนแสดงการทำข้าวหลามทั้งหมด = 235.87 ตารางเมตร

อัธยาศัย


41

อัธยาศัย

ห้องน้ำส่วนสาธิตการทำข้าวหลามรูปแบบใหม่

ห้องน้ำ

ต้องการ ห้องส้วม 5 ห้อง , โถปัสสาวะ 2 โถ , อ่างล้างหน้า 4 อ่างและห้องเก็บของ ห้องนี้ใช้พื้นที่ 15.04 m2

พื้นที่สัญจร 30% :15.04 x 30% = 4.51 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :15.04 + 4.51 = 19.55 m2 ดังนั้น พื้นที่ส่วนสาธิตการทำข้าวหลามรูปแบบใหม่ทั้งหมด พื้นที่ทั้งหมด : 431.7m2 ทางสัญจร 40% : 172.68 m2 พื้นที่ + ทางสัญจร : 604.38 m2

= 255.42 m2


42

สำนักงาน 1. ส่วนบริหารระดับสูง 1.1 ห้องผู้อำนวยการ 1 คนต้องการ T1-1 ชุด , C2-1 ชุด , L1-2 ชุด , WC1-1 ห้อง ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 7.56 + 6.20 + (3.85 x 2) + 2.17 = 23.63 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :23.63 x 30% = 7.09 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :23.63 + 7.09 = 30.72 m2 1.2 ห้องรองผู้อำนวยการ 1 คนต้องการ T1-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 7.56 + (3.85 x 2) = 15.26 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 15.26 x 30% = 4.58 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 15.26 + 4.58 = 19.84 m2 ดังนั้น ส่วนบริหารระดับสูงมีพื้นที่ทั้งหมด = 50.56 m2


43

สำนักงาน 2. แผนกธุรการและการเงินการบัญชี 2.1 หัวหน้าแผนก 1 คนต้องการ T4-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 2.4 + (3.85 x 2) = 10.1 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 10.1 x 30% = 3.03 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 10.1 + 3.03 = 13.13 m2 2.2 รองหัวหน้าแผนก 1 คนต้องการ T4-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 2.4 + (3.85 x 2) = 10.1 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 10.1 x 30% = 3.03 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 10.1 + 3.03 = 13.13 m2 2.3 เจ้าหน้าทีธุรการการเงินและการบัญชี 4 คน ต้องการ T6-2 ชุด , L1-6 ชุด , T3-1 ชุด , L2-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด :(5.6 x 2)+(3.85 x 6) + 4.28 + (2.88 x 2) = 44.34 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :44.34 x 30% = 13.30 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :44.34 + 13.30 = 57.64 m2 ดังนั้น แผนกธุรการและการเงินการบัญชีมีพื้นที่ทั้งหมด = 83.9 m2


44

สำนักงาน 3. แผนกสารบัญและวิเทศสัมพันธ์, สถิติ 3.1 หัวหน้าแผนก 1 คนต้องการ T4-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 2.4 + (3.85 x 2) = 10.1 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 10.1 x 30% = 3.03 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 10.1 + 3.03 = 13.13 m2 3.2 รองหัวหน้าแผนก 1 คนต้องการ T4-1 ชุด , L1-2 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 2.4 + (3.85 x 2) = 10.1 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 10.1 x 30% = 3.03 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 10.1 + 3.03 = 13.13 m2 3.3 เจ้าหน้าทีวิเทศสัมพันธ์และพนักงานสถิติ 2 คน ต้องการ T6-1 ชุด , L1-2 ชุด , T3-1 ชุด , C1-1 ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 5.6 + (3.85x3) + 4.28 + 6.20 = 23.78 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 23.78 x 30% = 7.13 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 23.78 + 7.13 = 30.91 m2 ดังนั้น แผนกสารบัญและวิเทศสัมพันธ์, สถิติ มีพื้นที่ทั้งหมด = 57.17 m2


45

สำนักงาน 4. ห้องประชุม 10-18 คนต้องการ T9-1 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด :29.82 = 29.82 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 29.82 x 30% = 8.95 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 29.82 + 8.95 = 38.77 m2 5. ส่วนเตรียมอาหาร ต้องการ L4-1 ชุด , L5-1 ตู้ ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 4.48 + 0.96 + = 5.44 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% : 5.44 x 30% = 1.63 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด : 5.44 + 1.63 = 7.07 m2 6. โถงต้อนรับ ต้องการ T3-1 ชุด , C1-1 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด : 4.28 + 6.20 + = 10.48 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :10.48 x 30% = 3.15 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :10.48 + 3.15 = 13.63 m2


46

สำนักงาน 7. ห้องน้ำเจ้าหน้าที่ 30 คนต้องการ ห้องส้วม 5 ห้อง,โถปัสสาวะ 2 โถ,อ่างล้างหน้า 4 อ่างและห้องเก็บของ ห้องนี้ใช้พื้นที่ 15.04 m2 พื้นที่สัญจร 30% :15.04 x 30% = 4.51 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :15.04 + 4.51 = 19.55 m2 พื้นที่ทั้งหมด พื้นที่สัญจร 30%

พื้นที่ทั้งหมดกับทางสัญจร

: 270.65 m2 : 81.20 m2 : 351.85 m2


47

บริการ 1. ส่วนช่างเทคนิค 3 คน ต้องการ T7-2 ชุด , L1-2 ชุด , L2-3 ชุด ห้องนี้ใช้พื้นที่ทั้งหมด :(4.44 x 2) + (3.85 x 2) + (2.88 x 3) = 25.22 m2 พื้นที่สัญจรภายใน 30% :25.22x 30% = 7.56 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :25.22 + 7.56 = 32.78 m2 1.1 ห้องเครื่องไฟฟ้า ต้องการ MDB (ขนาด 6 x 8) : 48 m2 (ทางสัญจรภายใน 20%) 48 x 20% = 9.6 m2 ขนาดห้อง MBD : 48 + 9.6 = 57.60 m2 Generator (ขนาด 7 x 6) : 42 m2 (ทางสัญจรภายใน 20%) 42 x 20% = 8.4 m2 ขนาดห้อง Generator : 42 + 8.4 = 50.40 m2 ห้องควบคุมไฟฟ้า (ขนาด 2 x 3) : 6 m2 (ทางสัญจรภายใน 20%) 6 x 20% = 1.2 m2 ขนาดห้อง Generator : 6 + 1.2 = 7.20 m2 1.2 ห้องเครื่องน้ำประปา ต้องการ ปั้ มน้ำ-1 , ปั้ มดับเพลิง-1 , ปั้ มน้ำสำรอง-1 มีพื้นที่ 40 m2 ทางสัญจรภายใน 30% : 40 x 30% = 12 m2 รวมพื้นที่ห้อง + ทางสัญจร : 40 + 12 = 52 m2 1.3 ห้องเครื่องปรับอากาศ ห้องเครื่องมีพื้นที่ : 8 x 12 = 96 m2


48

บริการ 2. ส่วนต้อนรับ 1. ส่วนโถงทางเข้า จะคิดพื้นที่จากจำนวนผู้ใช้บริการของโครงการเป็นหลัก ที่มีบริมาณ 1081 คน / วัน หรือ 136 คน / ชม. (เปิดบริการ 8 ชม. / วัน) แต่เนื่องจากโครงการจะมีผู้เข้าชมที่เป็นหมู่คณะที่มีปริมาณสูงสุด คือ 200 คน / วัน โดยโถงทางเข้าจะต้องสามารถรองรับจำนวนผู้เข้าชมเป็นหมู่คณะได้ ดังนั้นจะใช้จำนวนผู้เข้า คณะสูงสุดเป็นเกณฑ์ในการหาพื้นที่ จำนวนผู้เข้าชมเป็นหมู่คณะสูงสุด 200 คน / วัน ดังนั้นโถงทางเข้าต้องรองรับได้ 200 คน พื้นที่โถง 1 คน / 0.25 m2ดังนั้นโถงจะต้องมีพื้นที่ 50 m2 2. ส่วนประชาสัมพันธ์ 2 คนต้องการ T3-2 ชุด พื้นที่ 4.28 x 2 = 8.56 m2 ทางสัญจรภายใน 30% 8.56 x 30% = 2.57 m2 พื้นที่ + ทางสัญจร 8.56 + 2.57 = 11.13 m2

ชมเป็นหมู่


49

บริการ 3. พื้นที่จำหน่ายบัตร 2 คนต้องการ T3-2 ชุด พื้นที่4.28 x 2 = 8.56 m2 ทางสัญจรภายใน 30% 8.56 x 30% = 2.57 m2 พื้นที่ + ทางสัญจร 8.56 + 2.57 = 11.13 m2

4. ห้องน้ำสาธารณะ ต้องการ ห้องส้วม 5 ห้อง , โถปัสสาวะ 2 โถ , อ่างล้างหน้า 4 อ่างและห้องเก็บของ ห้องนี้ใช้พื้นที่ 15.04 m2 พื้นที่สัญจร 30% :15.04 x 30% = 4.51 m2 รวมพื้นที่ทั้งหมด :15.04 + 4.51 = 19.55 m2

พื้นที่ทั้งหมด : 387.79 m2


50

นักศึกษา 1. ร้านขายข้าวหลาม - พื้นที่ผู้ยืนใช้บริการ จากจำนวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ 1,081 คนต่อวัน คิด 80% ผู้ใช้บริการส่วนร้านค้า 1,081 x 80% = 865 คน / วัน ผู้ใช้บริการต่อชั่วโมง (เปิด 8 ชม./วัน) 865 / 8 = 109 คน / ชม. ผู้ใช้ซื้อของประมาณ 15 นาที = 5ช่วง ผู้ใช้ 1 ช่วง 109 / 5 =22 คน / ช่วง พื้นที่ผู้ใช้บริการ / คน 1.9 คน / m2 ดังนั้นพื้นที่ยืนซื้อของ 22 x 1.9 = 41.8 m2 - พื้นที่ร้านค้า พื้นที่ 12 x 36 = 432 m2 ทางสัญจรภายใน 20% 432 x 20% = 86.4 m2 ดังนั้นพื้นที่ร้านขายของ 432 + 86.4 = 518.4 m2


51

นักศึกษา - ส่วนห้องน้ำ 365 คน/ช่วง ต้องการห้องส้วม 7 ชุด , โถ 3 ชุด , อ่างล้างหน้า 4 ชุด , ห้องเก็บของ 1 ห้อง ห้องน้ำมีพื้นที่ 18.50 m2 ทางสัญจรภายใน 30%18.50 x 30%= 5.55 m2 ห้องน้ำ + ทางสัญจรภายใน 18.50 + 5.55= 24.05 m2 ดังนั้น ร้านขายข้าวหลามมีพื้นที่ทั้งหมด = 542.45 m2


52

นักศึกษา 2 ส่วนโรงอาหาร จำนวนผู้ใช้บริการส่วนร้านอาหาร สามารถคำนวณได้จาก จำนวนผู้เข้าชมโครงการ โดยรายละเอียดดังต่อไปนี้ จำนวนผู้เข้าชมโครงการต่อวัน 1081 คน / วัน จำนวนผู้ใช้ห้องอาหารคิดเป็น 30% :360 คน ระยะเวลาเฉลี่ยในการรับประทานอาหารประมาณ 20 นาที / คน ดังนั้นใน 1 ชม. จะแบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา จำนวนผู้เข้าใช้บริการ 1 ช่วง 360 / 3 : 120 คน / ผลัด โต๊ะรับประทานอาหาร 1 ชุดสามารถนั่งได้ 4 ที่นั่ง ดังนั้นจะต้องมีทั้งหมด 120 / 4 = 30 ชุด พื้นที่ใช้งานส่วนรับประทานอาหาร 30 x 4.41 = 132.3m2 พื้นที่สัญจรภายใน 40% : 132.3 x 40/100 = 52.92 m2 พื้นที่ใช้งานส่วนรับประทานอาหารทั้งหมด 132.3 + 52.92 = 185.22 m2


53

นักศึกษา โดยพื้นที่ส่วนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับส่วนห้องอาหารนี้จะใช้การคิดพื้นที่จากสัดส่วนพื้นที่ห้องอาหารและห้องครัว โดยมีรายละเอียดในการคำนวณดังต่อไปนี้

- ส่วนห้องครัว คิดเป็น 20% ของพื้นที่ห้องอาหาร ส่วนครัวจะมีพื้นที่ 185.22 x 20% = 37.04m2 ทางสัญจรภายใน 30% 37.04 x 30% = 11.11 m2 ครัวมีพื้นที่ทั้งหมด 37.04 + 11.11 = 48.15 m2 - ส่วนล้างภาชนะ คิดเป็น 10% ของพื้นที่ห้องครัว ส่วนล้างภาชนะพื้นที่ทั้งหมด

48.15 x 10%

= 4.82 m2

- บริเวณจัดเก็บภาชนะและเตรียมเครื่องดื่ม คิดเป็น 40% ของพื้นที่ห้องครัว บริเวณจัดเก็บภาชนะและเตรียมเครื่องดื่มพื้นที่ 48.15x 40% = 19.26 m2


54

นักศึกษา - ห้องเก็บขยะ คิดเป็น 5% ของพื้นที่ห้องครัว ห้องเก็บขยะมีพื้นที่ ทางสัญจรภายใน 30% ห้องเก็บขยะมีพื้นที่ทั้งหมด

48.15 x 5% = 2.4 m2 2.4 x 30% = 0.72 m2 2.4 + 0.72 = 3.12 m2

- Loading area คิดเป็น 10% ของพื้นที่ห้องครัว Loading area มีพื้นที่ 48.15 x 10% = 4.82 m2 ทางสัญจรภายใน 30% 4.82 x 30% = 1.44m2 Loading area มีพื้นที่ทั้งหมด 4.82 + 1.44 =13.14 m2


55

นักศึกษา - ส่วนห้องน้ำ 365 คน/ช่วง ต้องการห้องส้วม 7 ชุด , โถ 3 ชุด , อ่างล้างหน้า 4 ชุด , ห้องเก็บของ 1 ห้อง ห้องน้ำมีพื้นที่ 18.50 m2 ทางสัญจรภายใน 30%18.50 x 30%= 5.55 m2 ห้องน้ำ + ทางสัญจรภายใน 18.50 + 5.55= 24.05 m2 ดังนั้นโรงอาหารมีพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ทั้งหมด

: 864.26 m2 ทางสัญจร : 345.7 m2 พื้นที่ + ทางสัญจร : 1209.96 m2

= 297.76 m2


56

พื้นที่จอดรถยนต์ - 1. พื้นที่จอดรถของส่วนสำนักงาน ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2537 ออกตาม พ.ร.บ. ควบคุมการก่อสร้าง 2479 กำหนดให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่สำนักงาน120 m2 โดยพื้นที่ส่วนสำนักงานประมาณ 351.85 m2 คิดเป็น (351.85 / 120) = 3 คัน , CP1 : 12 m2 ดังนั้นมีพื้นที่ 13.2 x 3 = 39.6 m2 2. พื้นที่จอดรถของส่วนพื้นที่ทั่วไป ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2537 ออกตาม พ.ร.บ. ควบคุมการก่อสร้าง 2479กำหนดให้ใช้กับอาคารสาธารณะ โดยกำหนดให้ใช้รถ 1 คันต่อพื้นที่อาคาร 120 m2 พื้นที่ทั้งหมดของโครงการ ( 5882.1 / 120) = 50 คัน , CP1 : 13.2 m2 ดังนั้นมีพื้นที่ 13.2 x 50 = 660 m2 (หมายเหตุ , พื้นที่อาคารไม่ร่วมพื้นที่สำนักงาน) 2.1 คนพิการ 2 คัน = 42 m2 3. พื้นที่จอดรถบัสของโครงการ คิดจากจำนวนผู้เข้าชมเป็นหมู่คณะสูงสุด =200 คน รถบัส 1 คันสามารถจุผู้โดยสารได้ = 40 คน พื้นที่จอดรถบัสทั้งหมด = 200 / 40 = 5 คัน , CP2 : 48 m2 ดังนั้นมีพื้นที่ 50 x 5 = 250 m2


57

พื้นที่จอดรถยนต์ 4. พื้นที่จอดรถมอเตอร์ไซค์ จะคิดจาก 5% ของผู้ใช้เข้าชมโครงการ1(จำนวนผู้เข้าชมทั้งวัน1081 คน) =55 คน รถมอเตอร์ไซค์ 1 คันสามารถจุได้ 2 คนดังนั้นจำนวนพื้นที่จอดรถมอเตอร์ไซค์ (55 / 2) = 28 คัน , CP3 : 2 m2 ดังนั้นมีพื้นที่ 28 x 2 = 56 m2

พื้นที่ทังหมด : 1047.6 m2 ทางสัญจร 50% : 523.8m2 พื้นที่ + ทางสัญจร : 1571.4m2


58

สรุป


62

การศึกษาอาคารตัวอย่าง CORNELIUS SCHLOTTHAUER - Vienna University of Economics and Business, Wien, Austria - Zaha Hadid Architects - พื้นที่ 28000 ตร.ม. / 7 ชั้น

THE YOUTH ACTIVITY CENTER - Beizhuang Town, Miyun District, Beijing, China - Rouging Studio , REDe Architects - พื้นที่ 5400 ตร.ม. / 1 ชั้น

WADDEN SEA CENTER - Okholmvej 5, 6760 Ribe , เดนมาร์ก - Dorte Mandrup - พื้นที่ 1000 ตร.ม. / 1 ชั้น


63

การศึกษาอาคารตัวอย่าง ภาพรวมโครงการ Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center


64

การศึกษาอาคารตัวอย่าง แ น ว คิ ด ก า ร อ อ ก แ บ บ Cornelius Schlotthauer

เส้นอาคารแบ่งเป็นระดับที่แยกจากกันแต่ เคลื่อนเข้าหากันและเส้นโค้งที่ไหลลื่น

The Youth Activity Center

การมีปฏิสัมพันธ์กับอาคารต่างๆ ทำให้เกิด ศักยภาพของชีวิตในพื้นที่ใหม่

Wadden Sea Center

แสดงถึงความอ่อนไหวต่อภูมิทัศน์ที่เป็น เอกลักษณ์ ลักษณะอาคาร วัสดุ และแสง


65

การศึกษาอาคารตัวอย่าง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ สั ด ส่ ว น พื้ น ที่ Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center

1.ห้องสมุด 2.ห้องกวดวิชา 3.สำนักงานบริหาร 4.ศูนย์นักเรียน 5.ร้านหนังสือ 6.โรงอาหาร 7.พื้นที่จัดกิจกรรม

1.ศูนย์การเรียนรู้ 2.ห้องประชุม 3.ร้านอาหาร 4.ห้องครัว 5.การประชุมเชิงปฏิบัการ 6.แผนกต้องรับ 7.บ้านสีเขียว 8.ที่พัก 9.ค่ายศึกษาเยาวชน

1.ยุ้งฉาง 2.พื้นที่การศึกษาใหม่ 3.พื้นที่การศึกษาดั้งเดิม 4.นิทรรศการ 5.ทางเข้าโรงหนัง 6.โรงหนัง 7.โรงอาหาร


66

การศึกษาอาคารตัวอย่าง ก า ร จั ด ว า ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center

Single Corridor + Open Court

Single Corridor

ก า ร สั ญ จ ร ภ า ย ใ น Single Corridor + Court


67

การศึกษาอาคารตัวอย่าง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ที่ ว่ า ง ภ า พ ใ น อ า ค า ร Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center


68

การศึกษาอาคารตัวอย่าง วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่ อ า ค า ร Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center


69

การศึกษาอาคารตัวอย่าง วิ เ ค ร า ะ ห์ S O L I D แ ล ะ V O I D Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center


70

การศึกษาอาคารตัวอย่าง วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่ อ า ค า ร Cornelius Schlotthauer

Section B-B

The Youth Activity Center

Section A-A

Wadden Sea Center

Section A-A


71

การศึกษาอาคารตัวอย่าง วั ส ดุ ห ลั ก ป ร ะ ก อ บ อ า ค า ร Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center


72

การศึกษาอาคารตัวอย่าง วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ ดี แ ล ะ ข้ อ เ สี ย Cornelius Schlotthauer

The Youth Activity Center

Wadden Sea Center

วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ ดี

- ดีไซต์ตัวอสคารให้มีความเลื่อนไหลทั้ง ภายนอกและภายในตัวอาคาร

- จัดผังอาคารได้ดี เป็นสัดส่วนอย่างชัดเจน - การใช่วัสุที่มีความหลากหลาย มีผิวสัมผัสใน ตัว

- เลื่อกใช่วัสดุอาคารตามธรรมชาติ หาได้ง่าย ราคาถูก และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ เ สี ย

- อยู่ในพื้นที่มหาลัย ผู้ใช้งานจึงมีแค่เด็กในมหา ลัยเท่านั้น

- มีมุมมองที่มองได้แค่ภายในเขตอาคาร ไม่ สามารถมองออกนอกอาคารได้นอกจากตัวรง งานเท่านั้น

-วัสดุไม่ค่อยคงทน -คอดกลางอาคารคนนอกสามารถเข้ามาได้ง่าย


73

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า ( E L E C T R I C A L S Y S T E M ) ระบบไฟแสงสว่าง(LightingandReceptacleSystem) ระบบไฟฟ้ากําลัง (General Power System) ระบบไฟฉุกเฉิน (Emergency Power Supply System) ระบบสายล่อฟ้า(LightingSystem)


74

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ ป รั บ อ า ก า ศ แ ล ะ ร ะ บ า ย อากาศ(HEATING,VENTILATIONANDAI RCONDITIONING;HVACSYSTEM) - ระบบทําความเย็น (Air Conditioning System)


75

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ ป รั บ อ า ก า ศ แ ล ะ ร ะ บ า ย อากาศ(HEATING,VENTILATIONANDAI RCONDITIONING;HVACSYSTEM) - ระบบระบายอากาศ (Ventilation System)


76

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ สุ ข า ภิ บ า ล ( S A N I T A R Y S Y S T E M ) แ ล ะ ร ะ บ บ ท่ อ ภ า ย ใ น อ า ค า ร ( P L U M B I N G SYSTEM) ระบบจ่ายน้ําดีหรือประปา(WaterSupplySystem) ระบบบําบัดน้ําเสีย(WastewaterSupplySystem) ระบบน้ําโสโครก (Wastewater Drainage System) ระบบท่ออากาศ (Ventilation Pipe System) ระบบระบายน้ําฝน(StromDrainageSystem) ระบบระบายน้ําทิ้ง(DrainageSystem) ระบบระบายน้ํานอกอาคาร(SiteDrainageSystem) ระบบน้ําร้อน (Hot Water Supply System)


77

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ ก า ร ข น ส่ ง ใ น อ า ค า ร (TRANSPORTATION SYSTEM) ระบบการขนส่งทางดิ่ง เช่น ลิฟต์ (Lift) และบันไดเลื่อน (Escalator)


78

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ ก า ร ป้ อ ง กั น อั ค คี ภั ย แ ล ะ ดั บ เ พ ลิ ง ( F I R E A L A R M A N D P R O T E C T I O N S YSTEM) ระบบสัญญาณเตือนไฟไหม้ (Fire Alarm)


79

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ( C O M M U N I C A T I O N SYSTEM) ระบบโทรศัพท์ (Telephone System)


80

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ( C O M M U N I C A T I O N SYSTEM) ระบบโทรทัศน์สายอากาศ รวม(MasterAntennaTelevisionSystem;MATV)


81

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ( C O M M U N I C A T I O N SYSTEM) ระบบเสียงประกาศ (Public Address System)


82

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ( S E C U R I T Y SYSTEM) ระบบกล้องทีวีวงจรปิด (Closed Circuit TV; CCTV)


83

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ( S E C U R I T Y SYSTEM) ระบบควบคุมการเข้าออกแบบ อัตโนมัติ(AccessControlSystem)


84

การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคารวัสดุ และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ร ะ บ บ จั ด ก า ร อ า ค า ร ( B U I L D I N G MANAGEMENT SYSTEM) ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Building Automation System; BAS)


85

ศึกษาและสรุปข้อกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง : สมาคมสถาปนิกสยามใบพระบรม ราชูปถัมภ์ ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) ข้อ 24 บันไดของอาคาร ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) ข้อ 30 บันไดหนีไฟ ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) ข้อ 33 (2) ที่ว่างภายในอาคาร

ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 41 (3) ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 44 ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 47 ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 50


86

ศึกษาและสรุปข้อกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง : สมาคมสถาปนิกสยามใบพระบรม ราชูปถัมภ์ แหล่งอ้างอิง : สมาคมสถาปนิกสยามใบพระบรม ราชูปถัมภ์ ฉบับที่7 (พ.ศ.2517) ในกฎกระทรวงนี้ ข้อ 1 (12) ฉบับที่7 (พ.ศ.2517) ให้กำหนดประเภทของอาคารซึ่งต้อง มีที่จอดรถยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของ รถยนต์ ข้อ2 (7) ฉบับที่7 (พ.ศ.2517) จำนวนที่จอดรถ ข้อ 3(2) (ซ)

ฉบับที่3(พ.ศ.2522) อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัด ให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคน ชราตามที่กำหนดในกฎกระทรวงนี้ ในบริเวณที่เปิดให้แก่บุคคลทั่วไป ข้อ 3(2) ฉบับที่3(พ.ศ.2522) ทางลาดและลิฟต์ ข้อ 7 , 8 , 9 , 10 ฉบับที่3(พ.ศ.2522) บันได ข้อ 11 ฉบับที่3(พ.ศ.2522) ที่จอดรถ ข้อ 12 , 13 , 14


87

ศึกษาและสรุปข้อกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง : สมาคมสถาปนิกสยามใบพระบรม ราชูปถัมภ์ ฉบับที่3(พ.ศ.2522) ทางเข้า ทางเดินระหว่างอาคาร และ ทางเชื่อมระหว่างอาร ข้อ 15 , 16 , 17 ฉบับที่3(พ.ศ.2522) ประตู ข้อ 18 , 19 ฉบับที่3(พ.ศ.2522) ห้องส้วม ข้อ 20 , 21 , 22 , 23 , 24 ฉบับที่3(พ.ศ.2522) พื้นผิวต่างสัมผัส ข้อ 25 ฉบับที่3(พ.ศ.2522) โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม ข้อ 26 , 27 , 28

ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 41 (3) ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 44 ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 47 ฉบับที่55 (พ.ศ.2543) แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 50


DIAGRAM

88


ZONING

ไม่ได้ใช้งาน

สาธารณะ

ส่วนตัว

กึ่งสาธารณะ

บริการ

89


90

แบบร่าง


แบบร่าง

91


แบบร่าง

92


แบบร่าง

93


แบบร่าง

94


95


B A S E M E N T

96

F L O O R P L A N


G R O U N G F L O O R P L A N

97


98

2

ND

F L O O R P L A N


99

3

RD

F L O O R P L A N


100

4

TH

F L O O R P L A N


101

5

TH

F L O O R P L A N


102

6

TH

F L O O R P L A N


103


104


105


106


107


108


109


110


111

P E R S P E C T I V E


112

P E R S P E C T I V E


113

P E R S P E C T I V E


114

P E R S P E C T I V E


115

P E R S P E C T I V E


116

P E R S P E C T I V E


117

P E R S P E C T I V E


118

P E R S P E C T I V E


P O S T F A C E B O O K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.