2 3 4 6 18 24 30 31 34
สารจากประธานกรรมการ สารจากกรรมการผูจัดการ ขอมูลทางการเงินที่สำคัญ การจัดการ คณะกรรมการ คณะผูบริหาร ขอมูลทั่วไปของบริษัทฯ ขอมูลโดยสังเขปของบริษัทฯและบริษัทในเครือ ลักษณะการประกอบธุรกิจ
Message from the President Message from the Managing Director Important Financial Information Management tructure Board of Directors Management Team General Company Information Brief Information on the Company and Subsidiaries Nature of Business Operations
100 101 102 104 118 124 130 131 134
38 46 48 49 52 62
รายงานผลการดำเนินงาน ๏ สรุปผลประกอบการปี 2551 ๏ ผลการดำเนินงานดานการบริหารจัดการ ๏ เปาหมายทางการตลาด ๏ การบริหารเชิงคุณภาพ วิศวกรรมสิง่ แวดลอม ๏ บุคลากร ๏ บทบาทตอสังคมและสิ่งแวดลอม การวิเคราะหแนวโนมภาวะอุตสาหกรรมในปี 2552 โครงสรางผูถือหุน ปัจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง การกำกับดูแลกิจการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงิน รายการระหวางกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานผูสอบบัญชี งบการเงิน
Business Operation Report Business Operation in 2008 ๏ Performance of Management ๏ Market Goal ๏ Quality Management of Environmental ๏ Engineering and Technical Knowledge Personnel ๏ Corporate Social Responsibilities ๏ Industrial Analysis and Trends for 2009 Shareholder & Management Structure Risk Factors and Risk Management Statement of Compliance by Board Committee Statement of Responsibility by the Board of Directors Related Party transactions 2008 Audit Committee Report Report of Independent Auditors Financial Statements Report
138
63 66 67 68
146 148 149 153 165 166 170 171 172
[ ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ ]
ขอมูลทางการเงินที่สำคัญ
(หนวย : ลานบาท)
ฐานะการเงิน สินทรัพยหมุนเวียนรวม สินทรัพยไมหมุนเวียนรวม สินทรัพยรวม หนี้สินหมุนเวียนรวม หนี้สินไมหมุนเวียนรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน
2551 279.61 677.44 957.05 213.28 12.17 225.45 731.60
2550 413.84 502.31 916.15 163.42 43.70 207.12 709.03
กราฟแสดงฐานะการเงิน
2549 137.11 436.75 573.86 155.25 81.84 237.09 336.77
(หนวย : ลานบาท)
ผลการดำเนินงาน
2551
2550
2549
รายไดจากการใหบริการ รายไดรวม ตนทุนจากการใหบริการ คาใชจายในการขายและ บริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนดอกเบี้ยจายและ ภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย
607.83 611.07 362.44
579.32 580.58 352.82
466.85 467.62 300.39
163.60
106.77
78.62
526.04
459.59
379.01
85.03
120.99
88.61
7.65
8.04
11.40
ภาษีเงินได 7.01 6.08 7.06 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 70.36 106.85 70.15 กำไร(ขาดทุน) 0.22 0.43 0.40 ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) จำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย 320,000,000 247,386,301 175,904,110 ถวงน้ำหนัก (หุน)
[ ]
Annual Report ‘ 2008
กราฟแสดงผลการดำเนินงาน
อัตราสวนทางการเงินที่สำคัญ อัตราสวนสภาพคลอง (Current Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน ( Debt to Equity Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย (Debt to Asset Ratio) อัตรากำไรขั้นตน (Gross Profit Margin Ratio; GP) อัตรากำไรสุทธิ (Net Profit on Sale ; NP) อัตราผลตอบแทน จากสวนผูถือหุน (Return on Equity ; ROE) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (Return on Assets ; ROA)
อัตราการเติบโต สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูถือหุน รายได
หนวยวัด % % % %
หนวยวัด
2551
2550
2549
เทา
1.31
2.53
0.88
เทา
0.31
0.29
0.70
เทา
0.24
0.23
0.41
%
40.00
39.00
36.00
%
12.00
18.00
%
0.10
0.15
0.21
%
0.09
0.12
0.12
2551
2550 4.46 8.85 3.18 5.25
15.00
2549 59.65 (12.64) 110.54 24.15
18.91 (4.78) 44.15 69.40
กราฟแสดงอัตราการเติบโต
Annual Report ‘ 2008
[ ]
การจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) มีโครงสรางการจัดการ ประกอบดวย คณะกรรมการทีท่ ำหนาทีก่ ำหนดแนวนโยบายในดานตางๆ ของบริษทั ฯ ไดแก คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร โดยคณะ กรรมการและคณะอนุกรรมการตางๆ เหลานีป้ ระกอบดวยผูท รงคุณวุฒทิ ม่ี คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535 ทุกประการ ดังนี้
โครงสรางการจัดการ
1. คณะกรรมการบริษัทฯ ตามหนังสือรับรองกระทรวงพาณิชย ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2551 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจำนวน 9 ทาน มีรายนามดังตอไปนี้
ชื่อ - สกุล 1. นพ.ดร.วิชาญ 2. ดร.ธรรมนูญ 3. นายบุญญาบารมี 4. นางนารถฤดี 5. นายสุวัฒน 6. นายอัครวิทย 7. นายวรดิศ 8. นายสุทัศน 9. นางทัศนีย [ ]
วิทยาศัย อานันโทไทย สวางวงศ ธรรมวัน เหลืองวิริยะ ขันธแกว ธนภัทร บุณยอุดมศาสตร ทองดี
Annual Report ‘ 2008
ตำแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และเลขานุการบริษัทฯ
กรรมการผูมีอำนาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ประกอบดวย นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ ลงลายมือชื่อรวมกับ นายสุทัศน บุณยอุดมศาสตร หรือ นางทัศนีย ทองดี รวมเปนสองคน และประทับตราสำคัญของบริษัทฯ
การแตงตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัทฯ ขอบังคับของบริษทั ฯ กำหนดเรือ่ งองคประกอบ การแตงตัง้ การถอดถอน หรือการพนตำแหนงกรรมการ บริษัทฯ ซึ่งสามารถสรุปสาระสำคัญ ไดดังนี้ 1.) ที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการ โดยมีจำนวนไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ของจำนวนกรรมการทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร และกรรมการของบริษัทฯ จะตองเปนผูมีคุณสมบัติตามที่ กฎหมายกำหนด 2.) ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการโดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ • การเลือกตั้งกรรมการจะกำหนดใหเลือกเปนรายบุคคล • ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอเสียงหนึ่ง • ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับจำนวนหุนที่ถือ โดยถือวาหุนหนึ่งมีหนึ่งเสียง • ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงของคนที่มีอยูทั้งหมดออกเสียงตั้งกรรมการ • บุคคลทีไ่ ดรบั คะแนนเสียงเห็นชอบสูงสุดตามลำดับลงมา แตไมเกินจำนวนตำแหนง ทีเ่ ลือกตัง้ คราวนั้นเปนผูไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการ • ในกรณีทบ่ี คุ คลซึง่ ไดรบั การเลือกตัง้ มีคะแนนเสียงเทากันสำหรับลำดับสุดทาย ใหประธานของ ทีป่ ระชุมเป็นผูล งคะแนนเสียงชี้ขาด 3.) ในการประชุมสามัญประจำปของบริษทั ฯ ทุกครัง้ ใหกรรมการลาออกจากตำแหนงจำนวนหนึง่ ในสาม ของจำนวนกรรมการ ถาจำนวนกรรมการทีจ่ ะออกแบงเปนสามสวนไมได ใหออกโดยจำนวนใกลเคียงทีส่ ดุ กับสวนหนึง่ ในสาม แตไมเกินหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด 4.) กรรมการที่จะตองออกจากตำแหนงในปแรกและปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทฯ นั้น ใหจับฉลาก กันวาผูใ ดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการผูท อ่ี ยูใ นตำแหนงนานทีส่ ดุ นัน้ เปนผูอ อกจากตำแหนงโดยกรรมการซึง่ พนจาก ตำแหนงแลวนั้นอาจไดรับเลือกตั้งใหมได 5.) กรรมการยอมพนจากตำแหนงเมื่อถึงแกกรรม ยื่นใบลาออกจากตำแหนงกอนถึงกำหนดศาลมีคำสั่ง ใหออก หรือที่ประชุมลงมติใหถอดถอนจากตำแหนง หรือขาดคุณสมบัติตามที่กำหนดไวในขอบังคับ 6.) หากตำแหนงกรรมการวาลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการทีเ่ หลืออยู เลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามที่กำหนดไวเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมคราวถัดไป เวนแต วาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจำนวนกรรมการที่เหลืออยู และบุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนนี้ จะอยูในตำแหนงเพียงเทาวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนดำรงตำแหนงแทน
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษท ั ฯ มีดงั ตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจบริหารบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของ บริษัทฯตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุนดวยความซื่อสัตยสุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ
Annual Report ‘ 2008
[ ]
2. คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่กำหนดเปาหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของ บริษทั ฯ ควบคุมกำกับดูแลการบริหารการจัดการของฝายบริหารหรือของบุคคลใดๆ ซึง่ ไดรบั มอบหมายใหดำเนินงานดังกลาว เพือ่ ใหแนใจวาฝายบริหารหรือบุคคลใดๆ นั้นไดปฏิบัติตามนโยบายที่คณะกรรมการกำหนด 3. คณะกรรมการบริษทั ฯ มีอำนาจตรวจสอบ และพิจารณาอนุมตั นิ โยบาย แนวทาง และแผนการดำเนินงาน สำหรับโครงการลงทุนขนาดใหญของบริษัทฯ ตามที่ไดรับเสนอจากคณะอนุกรรมการ และ/หรือฝายบริหาร 4. คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจแตงตั้ง มอบหมายหรือแนะนำ ใหอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อ พิจารณาหรือปฏิบัติในเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร 5. คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจติดตามผลการดำเนินงานใหเปนไปตามแผนการดำเนินงาน และ งบประมาณการดำเนินงานของบริษัทฯ 6. คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่กำกับใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่ มีประสิทธิภาพ โดยจัดใหมีหนวยงานตรวจสอบภายในเปนผูติดตามและดำเนินการรวมและประสานงานกับคณะกรรมการ ตรวจสอบ 7. คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจพิจารณาและอนุมัติเรื่องใดๆ ที่จำเปน และเกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯ หรือ ที่เห็นวาเหมาะสมและเพื่อผลประโยชนของบริษัทฯ ทัง้ นีเ้ รือ่ งดังตอไปนี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ จะกระทำไดกต็ อ เมือ่ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ไดแก ก) เรื่องใดๆ ที่กฎหมายกำหนดใหตองไดรับมติจากที่ประชุมผูถือหุน และ ข) เรื่องใดๆ ที่กรรมการมีสวนไดเสีย และอยูในขายที่กฎหมายหรือประกาศของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยระบุใหตองไดรับอนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุน การตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อดำเนินการในเรื่องดังตอไปนี้ คณะกรรมการจะกระทำไดก็ตอ เมือ่ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวา 3 ใน 4 ของจำนวนเสียงทัง้ หมดของผูถ อื หุน ทีเ่ ขาประชุมและ มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน ก) การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯ ทั้งหมด หรือบางสวนที่สำคัญใหแกบุคคลอื่น ข) การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทฯ อื่นมาเปนของบริษัทฯ ค) การทำ แกไข หรือเลิกสัญญา เกี่ยวกับการใหเชากิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางสวนที่ สำคัญการมอบหมายใหบคุ คลอืน่ เขาจัดการธุรกิจของบริษทั ฯ หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงคจะแบงกำไร ขาดทุนกัน ง) การแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิหรือขอบังคับของบริษัทฯ จ) การเพิ่มทุน การลดทุน หรือการออกหุนกูของบริษัทฯ ฉ) การควบกิจการ หรือเลิกบริษัทฯ ช) การอืน่ ใดทีก่ ำหนดไวภายใตบทบัญญัตขิ องกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ/หรือประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่ตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และที่ ประชุมผูถือหุนดวยคะแนนเสียงดังกลาวขางตน ทัง้ นี้ เรือ่ งใดทีก่ รรมการมีสว นไดเสียหรือมีความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษทั ฯ หรือบริษทั ฯ ยอย กรรมการ ซึ่งมีสวนไดเสียหรือมีความขัดแยงทางผลประโยชนดังกลาวไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น
[ ]
Annual Report ‘ 2008
นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีขอบเขตหนาที่ในการกำกับดูแลใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย อาทิ การทำรายการเกี่ยวโยงกัน การไดมาหรือจำหนายไป ซึ่งทรัพยสินตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ
2. เลขานุการบริษัทฯ บริษัทฯ ไดแตงตั้งเลขานุการบริษัทฯ เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ที่ไดกำหนดบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัทฯ ไว โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2551 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 และมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทนครั้งที่ 2/2551 ไดมีมติแตงตั้ง นางทัศนีย ทองดี เขารับตำแหนงเปนเลขานุการบริษัท โดยมีหนาที่ความรับผิดชอบดังนี้
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัทฯ ไดแก 1. ใหคำแนะนำเบือ้ งตนแกกรรมการในขอกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับตาง ๆ ทีค่ ณะกรรมการตองทราบ และติดตามใหมีการปฏิบัติตามอยางถูกตองและสม่ำเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลงในขอกำหนดกฎหมายที่มีนัย สำคัญแกกรรมการ 2. จัดการประชุมผูถ อื หุน และประชุมคณะกรรมการใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับและขอพึงปฏิบตั ติ า ง ๆ 3. บันทึกรายงานการประชุมผูถือหุน และการประชุมคณะกรรมการ รวมทั้งติดตามใหมีการปฏิบัติตาม มติที่ประชุมผูถือหุน และที่ประชุมคณะกรรมการ 4. ดูแลใหมีการเปดเผยขอมูลและรายงานสารสนเทศในสวนที่รับผิดชอบตอหนวยงานที่กำกับดูแล และ ตามระเบียบและขอกำหนดของหนวยงานทางการ 5. ติดตอและสื่อสารกับผูถือหุนทั่วไปใหไดรับทราบสิทธิตาง ๆ ของผูถือหุนและขาวสารของบริษัทฯ 6. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ
3. คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ประกอบดวยคณะกรรมการซึง่ มีความเปนอิสระ และมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีจำนวน 3 ทาน ดังมีรายชื่อตอไปนี้
ชื่อ - สกุล 1. ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย 2. นายบุญญาบารมี สวางวงศ 3. นางนารถฤดี ธรรมวัน
ตำแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
โดยมี นางสาวศิริพร เสือสกุล เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
Annual Report ‘ 2008
[ ]
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบมีดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอโดยการประสานงาน กับผูสอบบัญชีภายนอก และผูบริหารที่รับผิดชอบจัดทำรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจำป คณะกรรมการ ตรวจสอบอาจเสนอแนะใหผูสอบบัญชีสอบทาน หรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นวาจำเปนและเปนเรื่องสำคัญในระหวาง การตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสม และ มีประสิทธิผล โดยสอบทานรวมกับผูสอบบัญชีและผูตรวจสอบภายใน 3. พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณา แตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 4. สอบทานการปฏิบัติของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 5. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาเสนอคาตอบแทนของ ผูสอบบัญชี โดยคำนึงถึงความเปนอิสระ ความนาเชื่อถือ ความเพียงพอของทรัพยากร ปริมาณงานตรวจสอบของสำนักงาน สอบบัญชี และประสบการณของบุคลากรที่ไดรับมอบหมายใหทำการตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงเขารวมประชุม กับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละครั้ง 6. พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษทั ฯ ในกรณีทเ่ี กิดรายการเกีย่ วโยง หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน ใหมคี วามถูกตอง ครบถวน และเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงใหความเห็น ถึงความจำเปนและความสมเหตุสมผลของการทำรายการดังกลาว โดยคำนึงถึงประโยชนสงู สุดตอบริษทั ฯ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย และคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบดวย 8. จัดทำรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจำปของบริษัทฯ ซึง่ ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 9. รายงานการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการทราบอยางนอยปละหนึ่งครั้ง 10. มีอำนาจในการดำเนินการตรวจสอบและสอบสวนตามที่จำเปนในเรื่องตางๆ รวมถึงการแสดงความ เห็นทีเ่ ปนอิสระจากทีป่ รึกษาทางวิชาชีพอืน่ ใดเมือ่ เห็นวาจำเปนดวยคาใชจา ยของบริษทั ฯ เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านภายใตหนาที่ ความรับผิดชอบสำเร็จลุลวงดวยดี
4. คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง มีจำนวน 5 ทาน ดังมีรายชื่อตอไปนี้
ชื่อ - สกุล 1. 2. 3. 4. 5.
[ 10 ]
นพ.ดร.วิชาญ ดร.ธรรมนูญ นายบุญญาบารมี นายสุวัฒน นายสุทัศน
วิทยาศัย อานันโทไทย สวางวงศ เหลืองวิริยะ บุณยอุดมศาสตร
ตำแหนง ประธานอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
โดยมีนายสุทัศน บุณยอุดมศาสตร เปนเลขานุการคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
Annual Report ‘ 2008
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีดงั ตอไปนี้ 1. สอบทานและนำเสนอนโยบายการบริหารความเสีย่ งและความเสีย่ งทีย่ อมรับไดใหแก คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 2. กำกับดูแลการพัฒนาและการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองคกร 3. สอบทานรายงานการบริหารความเสี่ยงเพื่อติดตามความเสี่ยงที่สำคัญ และดำเนินการใหมั่นใจไดวา องคกรมีการจัดการความเสี่ยงอยางเพียงพอและเหมาะสม 4. นำเสนอความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัทฯ รวมถึงความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน เพื่อ การจัดการความเสี่ยงดานตางๆ ที่สำคัญใหกับคณะกรรมการบริษัทฯ 5. ใหคำแนะนำกับบริษัทฯ ในดานงานบริหารความเสี่ยง และการพิจารณาแกไขขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวกับ การพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง 6. ใหมีอำนาจแตงตั้งคณะทำงานประเมินและติดตามความเสี่ยงของบริษัทฯ 7. เรื่องอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย โดยเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง
5. คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีจำนวน 4 ทาน ประกอบดวย
1. 2. 3. 4.
ชื่อ - สกุล
ตำแหนง
ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย นายบุญญาบารมี สวางวงศ นายอัครวิทย ขันธแกว นายสุทัศน บุณยอุดมศาสตร
ประธานอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน อนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน อนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน อนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
โดยมีนายสุทัศน บุณยอุดมศาสตร เปนเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีดังตอไปนี้
1. พิจารณาโครงสราง องคประกอบ รวมทั้งคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทฯ 2. คัดเลือก สรรหาบุคคลที่มีความรูความสามารถเหมาะสมกับกิจการของบริษัทฯ และสมควรเสนอชื่อ เปนกรรมการ ในกรณีที่ตำแหนงวางลง เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาแตงตั้ง 3. พิจารณาเสนอโครงสรา งค า ตอบแทนกรรมการ ได แ ก ค า ตอบแทน บำเหน็ จ โบนั ส สวั สดิการ ค า เบี ้ ย ประชุม และผลประโยชนตอบแทนอื่น ๆ ทั ้ ง ด า นการเงิ น และอื ่ น ๆ ตามตกลง 4. ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนและรายงานตอ คณะกรรมการบริษัทฯ ประจำป 5. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย โดยเกี่ยวเนื่องกับการสรรหา และพิจารณา คาตอบแทน Annual Report ‘ 2008
[ 11 ]
6. คณะกรรมการบริหาร มีจำนวน 5 ทาน มีรายนามดังตอไปนี ้
ชื่อ - สกุล 1. 2. 3. 4. 5.
นายสุวัฒน นายวันชัย นายเอกรินทร นางสาวจารุวรรณ นางพรเพ็ญ
เหลืองวิริยะ เหลืองวิริยะ เหลืองวิริยะ โพธิ์แจง เผารัชตพิบูลย
ตำแหนง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
โดยมีนางพรเพ็ญ เผารัชตพิบูลย เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร มีดงั ตอไปนี้ 1. จัดทำและนำเสนอนโยบายทางธุรกิจ เปาหมาย แผนการดำเนินงาน กลยุทธทางธุรกิจ และงบประมาณ ประจำปของบริษทั ฯ เพือ่ ขออนุมตั ติ อ คณะกรรมการบริษทั ฯ 2. ควบคุมดูแลการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ใหเปนไปตามนโยบายทางธุรกิจ เปาหมาย แผนการดำเนินงาน กลยุทธทางธุรกิจ และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ 3. กำหนดโครงสรางองคกร และอำนาจการบริหารจัดการ โดยใหครอบคลุมรายละเอียดการคัดเลือก การวาจาง การกำหนดผลประโยชนตอบแทน การโยกยาย การฝกอบรม และการเลิกจางพนักงานของบริษทั ฯ 4. อาจแตงตั้งหรือมอบหมายใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคนกระทำการอยางหนึ่งอยางใดแทนคณะ กรรมการบริหารตามที่เห็นสมควรได และคณะกรรมการบริหารสามารถยกเลิก เปลี่ยนแปลง หรือแกไขอำนาจนั้นๆ ได 5. มีอำนาจพิจารณาอนุมัติ การใชจายในการดำเนินการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ เชน การจัดซื้อ ทรัพยสิน การใชจายเงินลงทุนที่สำคัญเพื่อผลประโยชนของบริษัทฯ 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นใด ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ทัง้ นี้ การอนุมตั ริ ายการของคณะกรรมการบริหาร จะไมรวมถึงการอนุมตั ริ ายการทีค่ ณะกรรมการบริหารหรือ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสว นไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอืน่ ใดกับบริษทั ฯ และหรือบริษทั ยอย หรือการมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำการแทนในกรณีดังกลาว รวมทั้งรายการที่กำหนดใหตองขอความเห็นชอบจากผูถือหุน ในการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สำคัญของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอย เพื่อให สอดคลองกับขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ
7. ผูบริหาร
คณะกรรมการบริหารเปนผูพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีความรู ความสามารถและประสบการณในธุรกิจ ดานการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม และนำเสนอขออนุมัติแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยผูบริหารซึ่งมีจำนวน 10 ทาน ดังรายชือ่ ตอไปนี้ เปนผูด ำรงตำแหนงระดับบริหาร 4 รายแรกนับตอจากประธานเจาหนาทีบ่ ริหารลงมา มีรายนามดังตอไปนี้
[ 12 ]
Annual Report ‘ 2008
ชื่อ - สกุล 1. นายสุวัฒน 2. นายวันชัย 3. นายเอกรินทร 4. นายสุทัศน
เหลืองวิริยะ เหลืองวิริยะ เหลืองวิริยะ บุณยอุดมศาสตร
5. นายศุภวัฒน 6. นายอนุวัตร
คุณวรวินิจ หัชชะวณิช
7. นางสาวพชร 8. นางพรเพ็ญ 9. นางทัศนีย 10. นางสาวศิริพร
ศิริวัฒน เผารัชตพิบูลย ทองดี เสือสกุล
ตำแหนง กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ สายงานบริหาร รองกรรมการผูจัดการ สายงานปฏิบัติการ รองกรรมการผูจัดการ สายงานบัญชีและการเงิน และ รักษาการผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน ผูอำนวยการฝายบริหารการตลาด ผูจัดการศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี ผูจัดการฝายบริหารทรัพยากรบุคคล ผูจัดการฝายวิศวกรรมสิ่งแวดลอมและวิชาการ ผูจัดการฝายสงเสริมการขายและสารสนเทศ ผูจัดการฝายตรวจสอบภายใน
คุณสมบัติของผูบริหาร ผูบ ริหารของบริษทั ฯ เปนผูม จี ริยธรรม มีความสามารถ มีประสบการณในธุรกิจ มีการบริหารงานดวยความ ซื่อสัตยสุจริตและระมัดระวังเพื่อประโยชนของบริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะดำเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง มีความเขาใจและ รับผิดชอบตอสาธารณชนและเปนบุคคลที่มีชื่ออยูในระบบขอมูลรายชื่อผูบริหารตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ที่ กจ. 5/2548 เรื่อง ขอกำหนดเกี่ยวกับผูบริหารของบริษัท ที่ออกหลักทรัพย
ขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการผูจัดการ 1. ควบคุมดูแล และใหคำแนะนำตางๆ ในการดำเนินงานและการบริหารงานของบริษัทฯ ในแตละวัน 2. เขาดำเนินการหรือปฏิบัติหนาที่เพื่อใหเปนไปตามนโยบายแผนการดำเนินงาน และงบประมาณตามที่ ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ 3. เปนผูม อี ำนาจในการดำเนินธุรกิจใดๆ เพือ่ ใหเปนไปตามวัตถุประสงค นโยบาย ระเบียบ ขอตกลง คำสัง่ ตลอดจนมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือมติทป่ี ระชุมผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ 4. มีอำนาจออกคำสัง่ ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านเปนไปตามนโยบาย และผลประโยชน ของบริษัทฯ และเพื่อรักษาระเบียบวินัยการทำงานภายในองคกร 5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ในแตละวันเพื่อเตรียมตัว และปองกันความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งปจจัยภายนอกและปจจัยภายใน 6. มีอำนาจในการใหความเห็นชอบนิตกิ รรมทีเ่ กีย่ วกับการดำเนินธุรกรรมปกติของบริษทั ฯ เชน การซือ้ ขาย การจัดหามาซึง่ วัตถุดบิ เพือ่ การผลิต คาใชจา ยในการดำเนินธุรกรรมปกติ การลงทุน การจัดหามาหรือการจำหนายไปซึง่ เครือ่ งมือ ทรัพยสนิ และบริการ เพือ่ ผลประโยชนของบริษทั ฯ รวมถึงการมอบอำนาจชวงในการดำเนินการดังกลาวขางตน เพือ่ กอใหเกิด ความคลองตัวในการดำเนินงานของบริษัทฯ
Annual Report ‘ 2008
[ 13 ]
7. มีอำนาจกระทำการและแสดงตนเปนตัวแทนของบริษทั ฯ ตอบุคคลภายนอกในกิจการทีเ่ กีย่ วของจำเปน และเปนการดำเนินธุรกรรมทางการคาปกติ เพื่อผลประโยชนของบริษัทฯ 8. ปฏิบัติหนาที่อื่นใด ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ เปนครั้งคราว โดยอำนาจในการกระทำนิตกิ รรมใดๆ ทีอ่ าจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางกรรมการผูจ ดั การ หรือบุคคลที่มีสวนไดเสียกับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ตามที่กำหนดไวในกฎหมายและประกาศของคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ไมถอื วาอยูภ ายใตขอบขายอำนาจของกรรมการผูจ ดั การ ในการพิจารณาและสิทธิออกเสียงในนิติกรรมดังกลาวไมวาโดยดุลยพินิจของตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำ ในนามของตนเอง ในกรณีดังกลาว นิติกรรมนั้นจะตองนำเสนอเพื่อใหไดความเห็นชอบโดยผานคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อนำเสนอไปยังคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผูถือหุน (แลวแตกรณี) ตามที่กำหนดไวในขอบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมายตอไป
การสรรหากรรมการและผูบริหาร 1. การสรรหากรรมการบริษัทฯ บริษทั ฯ มีคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ทำหนาทีด่ า นการสรรหาและพิจารณาโครงสราง คาตอบแทนสำหรับกรรมการบริษัทฯ โดยเฉพาะ ซึ่งจะพิจารณาคุณสมบัติเบื้องตนของกรรมการตามเกณฑที่กฎหมาย ที่เกี่ยวของกำหนด รวมทั้งพิจารณาจากปจจัยในดานอื่นๆ มาประกอบกัน เชน ความรู ความสามารถ ประสบการณ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจ และความเอื้อประโยชนตอการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เปนตน เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาแตงตั้ง (แลวแตกรณี) โดยมีหลักเกณฑและขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. กรรมการของบริษัทฯ ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุน 2. คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการอยางนอย 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จำนวนกรรมการทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย และกรรมการตองมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายที่เกี่ยวของกำหนด 3. ในการประชุมผูถ อื หุน สามัญประจำปทกุ คราว ใหกรรมการพนจากตำแหนงเปนจำนวนหนึง่ ในสามของ จำนวนกรรมการทัง้ หมดในขณะนัน้ ถาจำนวนกรรมการทีจ่ ะพนจากตำแหนงไมอาจแบงออกไดพอดีหนึง่ ในสาม ก็ใหใชจำนวนที่ ใกลเคียงกันกับหนึ่งในสาม แตไมเกินหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด กรรมการที่จะตองออกจากตำแหนงในปแรก และปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทฯ นั้น ใหจับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการผูที่อยูในตำแหนง นานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตำแหนง โดยกรรมการซึ่งพนจากตำแหนงแลวนั้นอาจไดรับเลือกตั้งใหมได 4. คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูค ดั เลือก และสรรหาบุคคลทีม่ คี วามรูค วามสามารถ เหมาะสมกับกิจการของบริษทั ฯ รวมทัง้ พิจารณาคาตอบแทนกรรมการ เพือ่ นำเสนอตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 5. ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 5.1 ผูถือหุนคนหนึ่ง มีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 5.2 ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลเดียว หรือ หลายคน เปนกรรมการก็ได 5.3 บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทา จำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี คุ คลซึง่ ไดรบั การเลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้ง ในครัง้ นัน้ ใหประธานทีป่ ระชุมเปนผูอ อกเสียงชีข้ าด
[ 14 ]
Annual Report ‘ 2008
6. ในกรณีที่ตำแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะอนุกรรมการ สรรหาและพิจารณาคาตอบแทนทำการคัดเลือกและนำเสนอบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย มหาชนเขาเปนกรรมการแทนตำแหนงกรรมการที่วางในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ คราวถัดไป เวนแตวาระของ กรรมการผูนั้นจะเหลือนอยกวาสองเดือน โดยบุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการดังกลาวจะอยูในตำแหนงกรรมการไดเพียงเทา วาระทีย่ งั เหลืออยูข องกรรมการซึง่ ตนเขาแทน โดยมติดงั กลาวของคณะกรรมการจะตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวา สามในสี่ของจำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู 7. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตำแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระไดดวย คะแนนเสียงไมนอ ยกวาสามในสีข่ องจำนวนผูถ อื หุน ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีจำนวนหุน นับรวมกันไดไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจำนวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
2. การสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระอยางนอย 3 คน โดยมีวาระอยูในตำแหนงคราวละ 3 ป คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีนโยบายในการสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ใหสอดคลอง กับประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ กจ. 12/2543 เรือ่ ง การขออนุญาตและการอนุญาตใหเสนอ ขายหุนที่ออกใหม โดยจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ถือหุน ไมเกินรอยละหาของจำนวนทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและเรียกชำระแลวของบริษทั ฯ โดยรวมหุน ทีถ่ อื โดยบุคคลที่เกี่ยวของดวย 2. ไมเปนลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ดเงินเดือนประจำ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคล ทีจ่ ะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ 4. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ในลักษณะที่อาจเปน การขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระ และไมมลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกีย่ วกับการ ดำเนินงานของบริษัทฯ นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ดำรงตำแหนงกรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คน จะตองเปนบุคคลที่มี ความรูและประสบการณดานการบัญชีหรือการเงินเพียงพอที่จะสามารถทำหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อถือของ งบการเงินได รวมทั้งคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะพิจารณาคุณสมบัติในดานอื่นๆ ประกอบดวย เชน ประสบการณในธุรกิจ ความเชีย่ วชาญเฉพาะทางทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจ ความมีจริยธรรม เปนตน สำหรับหลักเกณฑและวิธกี าร แตงตัง้ กรรมการตรวจสอบ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารแตงตัง้ กรรมการบริษทั ฯ กรรมการตรวจสอบซึง่ พนจากตำแหนง ตามวาระอาจไดรบั การแตงตัง้ ใหกลับมาดำรงตำแหนงใหมได กรณีทต่ี ำแหนงกรรมการตรวจสอบวางลงเพราะเหตุอน่ื ใดนอก จากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนคัดเลือกและนำเสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาแตงตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนเปนกรรมการตรวจสอบเพื่อใหกรรมการตรวจสอบมีจำนวนครบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนด โดยบุคคลที่เปนกรรมการตรวจสอบแทนจะอยูในตำแหนงไดเพียงวาระที่เหลืออยูของ กรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน
Annual Report ‘ 2008
[ 15 ]
3. การสรรหาอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูแตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะประกอบดวยกรรมการหรือ ผูบริหารระดับสูงที่มาจากสายงานตางๆ รวมแลวไมเกิน 5 คน โดยกำหนดใหประธานคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ตองเปนกรรมการอิสระ ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระอยูในตำแหนงคราวละ 2 ป และกำหนดใหมีการ ประชุมอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง โดยองคประชุมของคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงตองมีจำนวนไมนอยกวา 3 คน เขารวมประชุม
4. การสรรหาอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูแตงตั้งคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนซึ่งจะประกอบดวย กรรมการไมเกิน 4 คน โดยกำหนดใหประธานคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ตองเปนกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีวาระอยูใ นตำแหนงคราวละ 3 ป โดยคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทนซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระอาจไดรับการแตงตั้งอีกได แตไมเกิน 2 วาระติดตอกัน และกำหนดใหมีการประชุม อยางนอยปละ 1 ครั้ง โดยองคประชุมของคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนตองมีจำนวนไมนอยกวา 3 คน เขารวมประชุม
5. การสรรหากรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูแตงตั้งกรรมการบริหาร โดยเลือกจากกรรมการหรือผูบริหารระดับสูงของ บริษัทฯ และบริษัทฯ ยอยที่สามารถบริหารงานในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตามปกติธุรกิจและงานบริหารของบริษัทฯ และสามารถกำหนดนโยบาย แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงสรางการบริหารงาน รวมถึงการตรวจสอบและติดตามผลการดำเนิน งานของบริษัทฯ ตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนด
6. การสรรหาผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ จะพิจารณาแตงตั้ง ผูบริหารจากบุคลากรที่มีประสบการณและมีความรูความสามารถในการบริหารงานในสายงานที่เกี่ยวของ
คาตอบแทนผูบริหาร 1. คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน เบี้ยประชุมกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บริษัทฯ มีคาตอบแทนที่เปนตัวเงินดังนี้ -เบี้ยประชุมกรรมการของบริษัทฯ กำหนดจายเปนรายครั้งในอัตราดังนี้ -ประธานกรรมการบริษัท 20,000 บาท/ครั้ง -กรรมการบริษัทฯ ทานละ 10,000 บาท/ครั้ง -เบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ กำหนดจายเปนรายครั้งในอัตราดังนี้ -ประธานกรรมการบริษัท 20,000 บาท/ครั้ง -กรรมการบริษัทฯ ทานละ 10,000 บาท/ครั้ง
[ 16 ]
Annual Report ‘ 2008
รายละเอียดการเขารวมประชุมและคาตอบแทนกรรมการในรูปแบบของเบีย้ ประชุมมีดงั นี้
กรรมการ
รายชือ่ 1. นพ.ดร.วิชาญ วิทยาศัย 2. ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย 3. นายบุญญาบารมี สวางวงศ 4. นางนารถฤดี ธรรมวัน 5. นายสุวฒ ั น เหลืองวิรยิ ะ 6. นายอัครวิทย ขันธแกว 7. นายวรดิศ ธนภัทร 8. นายสุทศั น บุณยอุดมศาสตร 9. นางสาวพชรพร อุน ศรี 10. นางทัศนีย ทองดี
5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 4/5 1/5
จำนวนครัง้ ทีเ่ ขารวมประชุม กรรมการ คณะอนุกรรมการ บริหาร ตรวจสอบ ความเสี่ยง 5/5 5/5 5/5 -
คณะอนุกรรมการ สรรหาและพิจารณา คาตอบแทน
2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 -
2/2 2/2 2/2 2/2 -
เบีย้ ประชุม (ลานบาท) 100,000 150,000 100,000 100,000 50,000 40,000 50,000 50,000 40,000 10,000
หมายเหตุ : 1/ นางสาวพชรพร อุน ศรี พนจากตำแหนงกรรมการในเดือนพฤศจิกายน 2551 2/ นางทัศนีย ทองดี ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการในเดือนพฤศจิกายน 2551
คาตอบแทนผูบ ริหาร ไดแก คาตอบแทนรวมของคณะผูบ ริหาร ดังนี้ กรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ ผูจัดการ ในป 2551 จำนวน 12 ทาน เปนเงินรวมทั้งสิ้น 19,416,680.79 บาท ป 2551 รายละเอียด เงินเดือน เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รวม
จำนวน (คน) 12 11
จำนวนเงิน (ลานบาท) 17,937,900.00 1,478,780.79 19,416,680.79
นโยบายการจายเงินปนผล บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอย มีนโยบายการจายเงินปนผลใหแก ผูถ อื หุน ในอัตราประมาณรอยละ 50 ของกำไรสุทธิ หลังหักภาษีเงินไดนิติบุคคล และหลังหักสำรองตามกฎหมายและเงินสะสมอื่นๆ ตามที่บริษัทกำหนด หากไมมีเหตุจำเปนอื่นใด เชน การขยายธุรกิจของบริษัทฯ ในโครงการตางๆ ในอนาคต และหากการ จายเงินปนผลนั้นจะมีผลกระทบตอการดำเนินงานปกติของบริษัทฯ อยางมีนัยสำคัญ
Annual Report ‘ 2008
[ 17 ]
[ 18 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 19 ]
[ 20 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 21 ]
[ 22 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 23 ]
[ 24 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 25 ]
[ 26 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 27 ]
[ 28 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 29 ]
ขอมูลทั่วไปของบริษัทฯ ชื่อบริษัท : ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ที่ตั้งสำนักงานใหญ : ที่ตั้งศูนยบริหารและจัดการ กากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี : เลขทะเบียนบริษัท : ทุนจดทะเบียน : โทรศัพท : โทรสาร : website :
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจใหบริการบริหารและจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว เลขที่ 2674/1 ซอยไดรฟอิน 2 หมูที่ 2 ถนนลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 เลขที่ 140 หมูที่ 8 ตำบลหวยแหง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 18110 บมจ. 01075748000161 ทุนจดทะเบียน 377 ลานบาท ทุนจดทะเบียนชำระแลว 320 ลานบาท มูลคาที่ตราไวตอหุน 1 บาท สำนักงานใหญ 0-2731-0080-1, 0-2731-1815 ศูนยบริหารและจัดการฯ 0-3623-7540-2 สำนักงานใหญ 0-2731-2574, 0-2731-3532 ศูนยบริหารและจัดการฯ 0-3623-7544 www.betterworldgreen.com
บุคคลอางอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย :
บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ชั้น 4, 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-229-2800, 02-229-2888 โทรสาร 02-3591259
ผูสอบบัญชี :
นายเจษฎา หังสพฤกษ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3759 บริษัท กรินทร ออดิท จำกัด เลขที่ 138 อาคารบุญมิตร ชั้น 6 หองบี 1 ถนนสีสม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท 0-26342484-6 โทรสาร 0-26342668
ที่ปรึกษากฎหมาย :
บริษัท กฎหมายธุรกิจ อนุรักษ จำกัด เลขที่ 121/106 อาคารอาร เอส ทาวเวอร ชั้นที่ 40 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 02-6427333 โทรสาร 02-6143773
ที่ปรึกษาทางการเงิน :
บริษัท หลักทรัพยเคทีบี จำกัด อาคารสำนักงาน ดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัล เวิลด ชั้น 16 เลขที่ 999/9 ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-2645888 หรือ 02-2645888 ตอ 6003 โทรสาร 02264-5880
[ 30 ]
Annual Report ‘ 2008
ขอมูลโดยสังเขปของบริษัทและบริษัทในเครือ บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ”) จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เปนนิติบุคคล ทะเบียนเลขที่ บอจ.สบ.763 เมื่อวันที่ 23 กรกฏาคม 2540 ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ลานบาท เพือ่ ประกอบธุรกิจบริหารจัดการสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใชแลว โดยมีทต่ี ง้ั “ ศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรมจังหวัดสระบุรี “ ตั้งอยูที่ตำบลหวยแหง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี บนเนื้อที่ประมาณ 271 ไร เพื่อประกอบกิจการดังนี้ 1. กิจการ “การปรับคุณภาพของเสียรวมและรับฝงกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่เปนอันตราย” และบำบัดน้ำเสียรวม” ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานลำดับที่ 101 2. กิจการ “ปรับคุณภาพของเสียรวมและรับฝงกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนอันตราย” ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานลำดับที่ 105 3. กิจการ “ปรับปรุงคุณภาพ วัสดุที่ไมใชแลว เพื่อเปนเชื้อเพลิงทดแทนและวัตถุดิบทดแทนในเตาเผา ซีเมนตและเตาเผาอุตสาหกรรมอืน่ ๆ” ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานลำดับที่ 106 บริษัทฯ มีสำนักงานใหญตั้งอยูเลขที่ 2674/1 ซอยไดรฟอิน 2 หมู 2 ถนนลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ มีทุนจดทะเบียนจำนวน 377,000,000 บาท (สามรอยเจ็ดสิบเจ็ดลานบาทถวน) ทุนที่ชำระแลวเปนเงิน 320,000,000 บาท (สามรอยยี่สิบลานบาทถวน) และมีศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี ตั้งอยูเลขที่ 140 หมู 8 ตำบลหวยแหง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี นอกจากนี้ มีบริษัทในเครืออีก 4 บริษัท คือ บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษทั เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด บริษทั เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด และบริษทั อัคคีปราการ จำกัด การดำเนินงานบริหารและประกอบการศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรีนั้นไดรับ การสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของทัง้ ภาครัฐและเอกชนซึง่ แสดงถึงความมุง มัน่ ความใสใจ ความหวงใย และความ ตระหนักดานการใหบริการบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุเหลือใชอยางมีคณ ุ ภาพ ไมสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม และสอดคลอง กับขอกำหนดทางกฎหมาย โดยมีรายละเอียดดังนี้
ป พ.ศ. 2546 บริษทั ฯ ไดรบั ความเห็นชอบจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment (EIA)) ของศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี รวมทัง้ ไดดำเนินการตามมาตรการลดผลกระทบสิง่ แวดลอม และติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
ป พ.ศ. 2547 บริษทั ฯ ไดเปนผูร บั สิทธิและประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน (Board of Investment (BOI)) ในกิจการ ฝงกลบกากอุตสาหกรรมเปนอันตรายไมอันตรายและเปนอันตราย และบำบัดน้ำเสียรวมเปนระยะเวลา 8 ป นับแตวันที่เริ่มมี รายไดจากการประกอบกิจการในป 2548 โดยมีสทิ ธิพเิ ศษจากการไดรบั การสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัตกิ ารสงเสริม การลงทุน พ.ศ. 2520 โดยสังเขปดังตอไปนี้ (ก) ไดรับยกเวนอากรขาเขาสำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ (ข) ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสำหรับกำไรสุทธิทไ่ี ดจากการประกอบกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริม 8 ป นับแตวนั ทีม่ รี ายไดจากการประกอบกิจการ (ค) ไดรบั ลดหยอนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสำหรับกำไรสุทธิทไ่ี ดรบั จากการลงทุนใน อัตรารอยละหาสิบ (50) ของอัตราปกติเปนเวลา 5 ป เปนตน Annual Report ‘ 2008
[ 31 ]
ป พ.ศ. 2548 บริษัทฯ ไดรับรองมาตรฐานระบบการจัดการดานคุณภาพและสิ่งแวดลอม ISO 9001 : 2000 และ ISO 14001 : 2001 จากบริษัท เอสจีเอส จำกัด (SGS) สำหรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนอันตราย (Non Hazardous Waste) ซึ่งแสดงถึงความมุงมั่น และตั้งใจในการพัฒนาการบริหารและจัดการสิงปฏิกูลฯ ประกอบดวย กิจกรรมตางๆ เชน การตลาด การจัดเก็บ การคัดแยก การขนสง การกำจัด การปองกันและแกไขเหตุฉุกเฉิน การติดตามผลกระทบสิ่งแวดลอม การประชาสัมพันธและความรับผิดชอบตอสังคม เปนตน บริษัทฯ ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการกำจัดสิ่งปฎิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่เปนอันตราย (Hazardous Waste) โดยวิธีการปรับเสถียรและฝงกลบ (Stabilization & Secured Landfill) บริษทั ฯ ไดทำการแปรสภาพเปนบริษทั มหาชนจำกัด พรอมทัง้ เปลีย่ นแปลงมูลคาทีต่ ราไวจากหุน ละ 100 บาท เปนหุนละ 1 บาท
ป พ.ศ. 2549
บริษทั ฯ ไดขยายการใหบริการเพิม่ เติมจากธุรกิจการฝงกลบ คือ การใหบริการในรูปแบบของการใชประโยชน จากสิ่งปฎิกูลฯ ใหกลายเปนพลังงานทดแทน โดยไดรับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมใหประกอบกิจการ ปรับปรุงคุณ ภาพสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใชแลวเพือ่ ใชเปนวัตถุดบิ ทดแทนหรือเชือ้ เพลิงทดแทนใหแกเตาเผาซีเมนต และเตาเผาอุตสาหกรรมตางๆ บริษัทฯ มุงเผยแพรความรูดานกฎหมายของการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ใหแกโรงงานอุตสาหกรรมทั่ว ประเทศรวมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม และการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ซึ่งเปนหนวยงานกำกับดูแลโรงงาน อุตสาหกรรมทั่วประเทศ
ป พ.ศ. 2550 บริษัทฯ ไดรับการสงเสริมการลงทุนในกิจการปรับปรุงคุณภาพสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวเพื่อใชเปน วัตถุดิบทดแทนหรือเชื้อเพลิงทดแทนใหแกเตาเผาซีเมนต และเตาเผาอุตสาหกรรมตางๆ เปนระยะเวลา 8 ป นับแตวันที่เริ่มมี รายไดจากการประกอบกิจการ โดยมีสทิ ธิพเิ ศษจากการไดรบั การสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 บริษัทฯ ไดเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกประชาชนจำนวน 76 ลานหุน และเสนอขายใหแกกรรมการ และพนักงานของบริษัทจำนวน 4 ลานหุน ทำใหบริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนชำระแลวเปนจำนวน 320 ลานบาท ในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2550 บริษัทฯ ไดเขาจดทะเบียนเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย
ป พ.ศ. 2551 บริษัทฯ ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการดานคุณภาพและสิ่งแวดลอม ISO 9001 : 2000 และ ISO 14001 : 2001 จากบริษัท เอสจีเอส จำกัด (SGS) สำหรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่เปนอันตราย (Hazardous Waste)
[ 32 ]
Annual Report ‘ 2008
นอกจากนีบ้ ริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) เขาถือหุน ในบริษทั อัคคีปราการ จำกัด* เพือ่ รวมประมูล การดำเนินการบริหารและประกอบการโครงการศูนยบริหารและจัดการวัสดุเหลือใชอุตสาหกรรม (เตาเผาอุตสาหกรรม) ของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม * (บริษัท อัคคีปราการ จำกัด ชื่อเดิมในการรวมประมูลโครงการฯ คือ กิจการรวมคา บี วาย เอส ซี ซึ่งประกอบดวย บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) รอยละ 93.99 บริษัท ยามาเซ็น โฮลดิ้งส จำกัด ถือหุนรอยละ 5 และบริษัท ซียูบี จำกัด ถือหุนรอยละ 1)
มกราคม 2551 คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบให บริษทั อัคคีปราการ จำกัด (บริษทั ฯ ถือหุน รอยละ 93.99) ชนะการประมูล และไดรับสิทธิใหบริหารและประกอบการโครงการศูนยบริหารและจัดการวัสดุเหลือใชอุตสาหกรรม (เตาเผาอุตสาหกรรม) ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เปนระยะเวลา 20 ปนับแตวันที่ลงนามในสัญญา (11 กุมภาพันธ 2551) และมีสิทธิยื่นคำรองขอใหตออายุสัญญาไดอีก กุมภาพันธ 2551 รวมลงนามในสัญญาใหใชสิทธิบริหารและประกอบการศูนยบริหารจัดการวัสดุเหลือใช อุตสาหกรรม (เตาเผาขยะอุตสาหกรรม) บางปู จังหวัดสมุทรปราการ ระหวางบริษัท อัคคีปราการ จำกัด และกรมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมรวมเปนสักขีพยาน ปจจุบันบริษัทฯ สามารถใหบริการทางดานการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ทั้งที่เปนอันตรายและไมเปน อันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศไดอยางครบวงจร ไดแก การบำบัดเพื่อนำกลับไปใชใหม การกำจัดโดยวิธีการ ฝงกลบดวยมาตรฐานที่ผานการรับรองจากหนวยงานตางๆ ทั้งในประเทศ และตางประเทศ การนำสิ่งปฏิกูลฯ ผานกระบวน การเพื่อนำกลับมาใชใหมทดแทนวัตถุดิบและเชื้อเพลิงซึ่งเปนการใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางเกิดประโยชนสูงสุด และ การเผาโดยเตาเผาสิ่งปฏิกูลฯอุณหภูมิสูงโดยเฉพาะแห ง แรกของประเทศไทย ที ่ ม ี ร ะบบฟอกอากาศที ่ ท ั น สมัยและ มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งการดำเนินการทั้งหมดอยูภายใตปรัชญญา “เราหวงใย...ทุกชีวิตและสิ่งแวดลอม”
Annual Report ‘ 2008
[ 33 ]
ลักษณะการประกอบธุรกิจ เพื่อใหสอดคลองกับปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวจากภาคอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น อันเปนผลมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางเนื่องในชวงปที่ผานมา ตลอดจนนโยบายการกำกับดูแลจากภาครัฐ ในการกำจัดสิ่งปฏิกูลฯ ใหเปนไปอยางถูกวิธี ดังนั้นการดำเนินกิจการดานการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว จึงจำเปนอยางยิ่งที่ตองดำเนินการใหสามารถรองรับสิ่งปฏิกูลฯ ไดอยางทั่วถึง ครบวงจร สอดคลองกับนโยบายของภาครัฐ เพื่อใหเกิดความพึงพอใจในการบริการจากกลุมผูประกอบกิจการภาคอุตสาหกรรม และการตอบรับนโยบายของภาครัฐใน สวนรวมรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ ใหมากที่สุด นั่นคือแนวนโยบายที่บริษัทฯ ไดกำหนดโครงสรางกลุมบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประกอบดวย
โครงสรางกลุมบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน)
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจใหบริการบริหารและจัดการสิง่ ปฏิกลู ฯ ทัง้ ทีไ่ มอนั ตราย (Non-Hazardous Waste) และทีเ่ ปน อันตราย (Hazardous Waste) มีศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี (“ศูนยบริหารและจัดการฯ”) ตั้งอยู เลขที่ 140 หมูที่ 8 ตำบลหวยแหง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี บนเนื้อที่ดินรวมประมาณ 271 ไร ภายในบริเวณศูนยฯ ประกอบดวยระบบการใหบริการดังนี้
1. ระบบการฝงกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนอันตราย เปนระบบที่ดำเนินการตามมาตรฐานหลุมฝงกลบ ที่ผานการรับรองจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อการประกอบกิจการฝงกลบวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนอันตราย ณ ศูนยบริหารและจัดการกาก อุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี ซึ่งหลุมฝงกลบวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนอันตรายนั้นประกอบดวย ระบบการปูพื้นหลุม (Lining) ตามมาตรฐานสากล ระบบการทดสอบการรัว่ ซึมของวัสดุปพู น้ื หลุมในระหวางขึน้ ตอนของการปูพน้ื หลุม ระบบทดสอบแรงอัด ของวัสดุปพู น้ื เพือ่ เตรียมพรอมสำหรับการรองรับสิง่ ปฏิกลู ฯ ระบบการรวบรวมน้ำชะกาก (Leachate) ระบบทอรวบรวมแกส ทีเ่ กิดขึน้ จากหลุมฝงกลบ รวมทัง้ ระบบการปดคลุมหลุมฝงกลบ และการติดตามตรวจสอบตลอดอายุการใชงานของหลุมฝังกลบ
[ 34 ]
Annual Report ‘ 2008
2. ระบบการปรับเสถียรและการฝงกลบสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใชแลวทีเ่ ปนอันตราย
ระบบปรับเสถียรเปนระบบลดความเปนพิษขององคประกอบของสิ่งปฏิกูลฯ แตละชนิด เพื่อปองกัน ผลกระทบตอสุขอนามัยและสิ่งแวดลอมในระยะยาว ภายหลังจากลดคาความเปนพิษซึ่งเปนไปตามเกณฑที่ยอมรับใน ระดับสากล สิง่ ปฏิกลู ฯ ก็จะถูกนำไปยังพืน้ ทีข่ องการฝงกลบอยางปลอดภัย (Secured Landfill) เปนแบบ Area & Trench Method ซึ่งสะดวกตอการควบคุมและการกำหนดพื้นที่ฝงกลบ หลุมฝงกลบอยางปลอดภัย มีระบบการปูพื้นหลุมแบบ Double Lining มีระบบปองกัน ควบคุม และดูแลสิง่ ปฏิกลู ฯ ทีน่ ำมาฝงกลบอยางเขมงวด มีการดำเนินงานทีร่ ดั กุมปลอดภัยตอ สิ่งแวดลอมอยางยิ่ง
3. ระบบบำบัดน้ำเสียรวม (Waste Water Treatment) บริษทั ฯ ไดจดั สรางระบบบำบัดน้ำเสียขึน้ ในบริเวณศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี ซึ่งมีการแบงแยกการดำเนินงานสำหรับน้ำเสียอันตราย และไมอันตรายไวอยางชัดเจน ไดแก ระบบบำบัดน้ำเสียชีวภาพ (Biological Treatment) และระบบบำบัดน้ำเสียเคมี (Chemical Wastewater Treatment) โดยระบบบำบัดน้ำเสียของบริษทั ฯ เปนแบบทีละเท (Batch) สามารถบำบัดน้ำเสียไดมากถึงวันละ 450 ลูกบาศกเมตร นอกจากนี้ในป 2551 บริษัทฯยังไดจัด ใหมีระบบ Reverse Osmosis (RO) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดใหดียิ่งขึ้น
Annual Report ‘ 2008
[ 35 ]
4. ระบบการปรับปรุงคุณภาพสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวเพื่อเปนเชื้อเพลิงทดแทน (Synthetic Fuel Blending) และวัตถุดิบทดแทน (Alternative Raw Material) ระบบดังกลาวเปนสวนหนึ่งของนโยบายในการนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวกลับมาใชประโยชนใหม ในรูปแบบของเชื้อเพลิงทดแทน และวัตถุดิบทดแทนโดยการนำสิ่งปฏิกูลฯ ไปปรับคุณภาพ / องคประกอบที่เหมาะสมที่จะ นำไปใชเปนเชื้อเพลิงทดแทน และวัตถุดิบทดแทนใหแกเตาเผาอุณหภูมิสูง เตาเผาอุตสาหกรรม และเตาเผาเฉพาะสำหรับ สิ่งปฏิกูลฯอันตราย โดยพิจารณาถึงองคประกอบดานพลังงานเปนสำคัญอีกทั้งยังเปนสวนสำคัญในการสนับสนุนการใช พลังงานทดแทนใหแกเตาเผาขยะอุตสาหกรรมโดยเฉพาะของ บริษัท อัคคีปราการ จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอย อีกดวย
5. ธุรกิจสนับสนุน (Subsidiaries Business Support) บริษทั ฯ ยังมีบริษทั ยอยตางๆ ดำเนินธุรกิจเพือ่ สนับสนุนการใหบริการบริหารจัดการสิง่ ปฏิกลู ฯ ดานตางๆ ดังนี้ 1. ธุรกิจการเปนตัวกลาง (Broker) ในการรับของเสีย หรือสิง่ ปฏิกลู ฯไปบริหารและจัดการดวยวิธกี ารตางๆ โดยมีบริษทั เบตเตอร เวสท แคร จำกัด (“BWC”) ซึง่ เปนบริษทั ยอย ทำหนาทีเ่ ปนตัวกลางดังกลาว โดย BWC จะทำหนาทีด่ า น การตลาดในการนำเสนอบริการใหแกโรงงานฯและใหคำแนะนำในการบริหารและจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ที่เหมาะสม ทั้งการบำบัด การนำกลับไปใชประโยชนใหม และการกำจัด เปนตน 2. ธุรกิจการใหบริการบริหารและจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวดวยวิธีนำกลับมาใชประโยชนใหม หรือรีไซเคิล (Recycle) มีบริษทั เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด (“E-Tech”) ซึง่ เปนบริษทั ยอย เปนผูใ หบริการ โดย E-Tech จะเปนผูรวบรวมสิ่งปฏิกูลฯ เพื่อผานกระบวนการและนำกลับมาใชประโยชนใหม และใหบริการเปนที่ปรึกษาดานการกำจัด สิ่งปฏิกูลฯ ภายในโรงงาน สิ่งปฏิกูลฯ ที่สามารถนำกลับมาใชใหมได การใหบริการปรึกษาดานระบบบำบัดน้ำเสีย เปนตน 3. ธุรกิจการบริหารจัดการดานขนสงของเสีย หรือสิ่งปฏิกูลฯ โดยมี บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด (“BWT”) เปนผูใหบริการ โดย BWT จะเปนผูดำเนินการใหบริการดวยรถขนสงของตนเอง รวมทั้งจัดหาและวาจาง ผูประกอบการขนสงภายนอกเพิ่มเติมดวยตามความจำเปน BWT จะเปนผูวางแผนและกำหนดเสนทางการขนสงทั้งหมดให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ ลดโอกาสในการเกิดอุบตั เิ หตุใหมนี อ ยทีส่ ดุ (Zero Accident) และยังไดมมี าตรการจัดการ กับภาวะฉุกเฉิน (Emergency Case) ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ โดยยึดหลักการสื่อสาร การประสานงาน และการปฏิบัติการ ที่รวดเร็ว ระหวางพนักงานขับรถขนสง และทีมฉุกเฉิน (Emergency Teams) ซึ่งเปนหนวยงานของ BWT และหนวยงาน ภายนอกอื่นที่เกี่ยวของในการจัดการและควบคุมสถานการณ เชน หนวยกูภัยประจำจังหวัดตางๆ อาสาสมัครปองกันภัย ฝายพลเรือน (หนวย อปพร.) เปนตน 4. ธุรกิจการกำจัดของเสีย หรือสิ่งปฏิกูลฯโดยการเผาทำลายในเตาเผาอุตสาหกรรมเฉพาะ (The First Industrial Incinerator Plant) โดยมีบริษัท อัคคีปราการ จำกัด เปนผูไดรับสิทธิเขาบริหารและประกอบการศูนยบริหารและ จัดการวัสดุเหลือใชอุตสาหกรรม (เตาเผาขยะอุตสาหกรรม) เปนเวลา 20 ป และตอขยายสัญญาไดอีกรวมกับกรมโรงงาน อุ ต สาหกรรม ซึ ่ ง เป น หน ว ยงานเจ า ของโครงการฯ มี ท ุ น จดทะเบี ย น 110,000,000 บาท (หนึ ่ ง ร อ ยสิ บ ล า นบาท) มีสถานที่ตั้งเลขที่ 792 หมูที่ 2 ซอย1C/1 นิคมอุตสาหกรรมบางปู ถนนสุขุมวิท ตำบลบางปูใหม อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ บนพืน้ ที่ 18 ไร 100 ตารางวา เตาเผาขยะอุตสาหกรรมนีเ้ ปนเตาเผาแหงแรกและแหงเดียวในประเทศไทย ที่เผาของเสียอันตรายทั้งที่อยูในรูปของแข็ง กากตะกอน (Sludge) ของเหลว ตัวทำละลาย น้ำมัน กาซ และมูลฝอย ติดเชื้อตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข ดวยอุณหภูมิสูงไมนอยกวา 1,100 องศาเซลเซียส สามารถใหบริการกำจัดของ เสียอันตราย ไดถึง 48 ตันตอวัน หรือ 15,000 ตันตอป หรือมากกวาทั้งนี้ขึ้นอยูกับการบริหารจัดการของเสีย ลักษณะของ เตาเผาเปนเตาเผาแบบหมุน (Rotary Kiln) ซึ่งมีอุปกรณฟอกอากาศที่ทันสมัย และควบคุมการทำงานทั้งหมดโดยระบบ (Programmable Logic Controller) PLC และระบบบำบัดเถาลอย (Fly Ash) และเถาหนัก (Bottom Ash) โดยการปรับเสถียร ทำใหเปนกอนแข็งแลวนำไปฝงกลบยังหลุมฝงกลบของบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) ตอไป [ 36 ]
Annual Report ‘ 2008
สรุปฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษท ั และบริษท ั ยอย
หนวย : ลานบาท
รายไดรวม กำไรขั้นตน กำไรสุทธิ อัตรากำไรขั้นตน อัตรากำไรสุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน
2549 467.62 166.46 70.15 35.66% 15.00% 573.87 237.09 336.77
2550 580.58 226.50 106.86 39.10% 18.41% 916.16 207.12 709.03
กราฟแสดงสรุปฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ของบริษัทและบริษัทยอย
2551 611.07 245.39 70.36 40.16% 11.51% 957.05 225.45 731.60
โครงสรางรายไดของบริษัทและบริษัทยอย
รายไดจากการบริการ รายไดจากการบริการของบริษัท - การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ที่ไมอันตราย - การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ที่เปนอันตราย - การปรับคุณภาพสิง่ ปฏิกลู ฯ เพือ่ เปนวัตถุดบิ และเชื้อเพลิงทดแทน - การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ที่เปนน้ำเสีย รวมรายไดจากการบริการของบริษัท รวมรายไดจากการบริการของบริษัทยอย รวมรายไดจากการบริการ รายไดอื่น * รวมรายได
หนวย : ลานบาท
ป 2549 มูลคา สัดสวน
ป 2550 มูลคา สัดสวน
ป 2551 มูลคา สัดสวน
224.96 167.80 -
48.11% 35.88% -
171.74 288.24 29.22
29.58% 49.65% 5.03%
124.61 244.05 130.40
20.39% 39.94% 21.34%
392.76 74.09 466.85 0.77 467.62
83.99% 15.85% 99.84% 0.16% 100.00%
22.29 3.84% 511.49 88.10% 67.83 11.68% 579.32 99.78% 1.26 0.22% 580.58 100.00%
30.43 529.49 78.34 607.83 3.24 611.07
4.98% 86.65% 12.82% 99.47% 0.53% 100%
หมายเหตุ : * รายไดอน่ื เชน รายไดคา วิเคราะหประเภทของเสีย กำไรจากการจำหนายทรัพยสนิ ดอกเบีย้ รับ รายไดเบ็ดเตล็ดฯลฯ
โครงสรางรายไดของบริษัทฯ ป 2551 มูลคา ปริมาณ (ตัน) (ลานบาท) รายไดจากการบริการของบริษัทฯ 88,219 - การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ที่ไมอันตราย - การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ที่เปนอันตราย 89,014 32,648 - การบริหารจัดการ Blending 8,874 - การบริหารจัดการน้ำเสีย 218,755 รวมรายไดจากการใหบริการของบริษัทฯ 29,700 รวมรายไดจากการใหบริการของบริษัทยอย 248,445 าร ก รวมรายไดจากการบริ
124.61 244.05 130.40 30.43 529.49 78.34 607.83
ป 2549 ป 2550 มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) 141,367 116,257 8,934 10,938 277,496 29,536 307,032
171.74 190,218 228.24 46,629 29.22 22.29 511.49 236,847 67.83 39,426 579.32 276,273
224.96 167,80 329.76 74.09 466.85
หมายเหตุ : รายไดภายหลังจากการตัดรายการระหวางกันของบริษัทและบริษัทยอย Annual Report ‘ 2008
[ 37 ]
สรุปผลประกอบการป 2551 1. การดำเนินงาน (บริษท ั ฯ และบริษท ั ยอย) รายได
ในป 2551 บริษัทฯ มีรายไดรวมจำนวน 611.07 ลานบาท เปรียบเทียบกับป 2550 มีรายไดรวมจำนวน 580.58 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนจำนวน 30.49 ลานบาท หรือรอยละ 5.25 ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทฯไดขยายประเภทธุรกิจ เพิม่ เติมคือรายไดจากโครงการปรับคุณภาพกากอุตสาหกรรมเพือ่ เปนวัตถุดบิ และเชือ้ เพลิงทดแทน รวมถึงการมีรายไดเพิม่ เติม จากบริษัทยอยแหงใหม คือ บริษัท อัคคีปราการ จำกัด อีกจำนวนหนึ่ง
กำไรสุทธิ
ในป 2551 บริษัทฯ มีกำไรสุทธิรวมจำนวน 70.39 ลานบาท เปรียบเทียบกับป 2550 มีกำไรสุทธิรวม จำนวน 106.86 ลานบาท คิดเปนอัตราสวนรอยละ 11.51 และรอยละ 18.41 ตามลำดับลดลงจากปกอน สืบเนื่องจากบริษัท อัคคีปราการ จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ มีผลประกอบการขาดทุนจำนวน 54.82 ลานบาท เพราะเพี่งเริ่มตนดำเนิน ธุรกิจในชวงแรกมีภาระคาใชจายในการเตรียมความพรอมกอนการเปดดำเนินงานเปนจำนวนมาก
ตนทุนและคาใชจา ย ในป 2551 บริษัทฯ มีคาใชจายรวมจำนวน 526.04 ลานบาท เมื่อเปรียบเทียบกับป 2550 บริษัทฯ มีคา ใชจา ยรวมจำนวน 459.60 ลานบาท คิดเปนสัดสวน 86.09% และ 79.16% ของรายไดรวมตามลำดับ สาเหตุทอ่ี ตั ราสวน ตนทุนเพิ่มขึ้น สืบเนื่องมาจากคาใชจายของบริษัทยอย คือบริษัท อัคคีปราการ จำกัด
2. ฐานะการเงิน (บริษท ั ฯและบริษท ั ยอย) สินทรัพย
บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทัง้ สิน้ จำนวน 957.05 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปทผ่ี า นมา จำนวน 40.89 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 4.46 โดยเปนการเพิ่มขึ้นเนื่องจากการลงทุนในสวนของระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบปรับเสถียรและหลุมฝงกลบกากอุตสาหกรรมอันตราย เปนสำคัญ
หนีส้ น ิ
ณ สิ้นป 2551 บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 225.45 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาจำนวน 18.33 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 8.85 เนื่องจากบริษัทฯมีการลงทุนขยายงาน จึงมีความจำเปนตองใชเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการดำเนินงาน เพิ่มขึ้นในระยะสั้น
สวนของผูถ อื หุน
บริษทั ฯ มีสว นของผูถ อื หุน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทัง้ สิน้ จำนวน 731.60 ลานบาท เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวน 709.03 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 22.56 ลานบาท เนื่องจากผลการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น ของบริษัทฯ และบริษัทยอย [ 38 ]
Annual Report ‘ 2008
ผลการดำเนินงานดานการบริหารจัดการป 2551 การตลาด และสงเสริมการขาย ในป 2551 บริษัทฯ ไดใหบริการกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวทั้งที่เปนอันตรายและไมเปนอันตราย รวมทั้งสิ้น 248,825 ตัน แบงออกเปนกากอุตสาหกรรมอันตราย 152,828 ตัน กากอุตสาหกรรมไมอันตราย 95,997 ตัน คิดเปนรายไดรวมทั้งสิ้น 554.09 ลานบาท กราฟแสดงปริมาณการกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว
โดยในป 2551 บริษัทฯ ไดรับความไววางใจใชบริการจากโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เพิ่มขึ้น ในกลุม อุตสาหกรรมหลักตางๆ ดังนี้
• • • • •
กลุมอุตสาหกรรมเหล็ก กลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต กลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี กลุมอุตสาหกรรมเคมี กลุมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
• กลุมอุตสาหกรรมฟอกยอม • กลุมอุตสาหกรรมกระดาษ • กลุมอุตสาหกรรมอาหาร • อื่นๆ
กราฟแสดงการใหบริการแกผูประกอบการแบงตามภาค
3% 1%
ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกฉี ยงเหนือ ภาคใต้
24%
2% 70%
Annual Report ‘ 2008
[ 39 ]
ทั้งนี้การกำหนดกลยุทธดานการตลาดไดดำเนินการควบคูไปพรอมกับกลยุทธดานการสงเสริมการขาย เพื่อการแขงขันดังนี้ 1. สรางภาพลักษณของการเปนผูใหการบริการที่ครบวงจร สะดวกรวดเร็ว ตรงตอเวลา ถูกตองตามหลัก วิชาการ และใสใจสิ่งแวดลอม 2. รักษาฐานลูกคารายเดิมไวอยางสม่ำเสมอ เปดโอกาสในการเยีย่ มชมธุรกิจหลัก และธุรกิจในเครือตางๆ เผยแพร และใหความรูเ รือ่ งการบริหารจัดการสิง่ ปฎิกลู ฯ ภายในโรงงานใหปลอดภัยตอสุขอนามัยและสิง่ แวดลอม จัดกิจกรรม สันทนาการดานความปลอดภัยภายในโรงงาน เปนตน 3. สรางความสัมพันธกบั ลูกคารายใหม โดยการใหความรู การบรรยายความเกีย่ วของของการดำเนินธุรกิจ อยางไรใหสอดคลองและปฎิบัติตามกฎหมายโรงงาน 4. การใชเทคโนโลยีทางดานสารสนเทศ สื่อสารไปยังกลุมลูกคา และกลุมผูที่สนใจตลอดจนหนวยงาน ภาครัฐ และสถาบันการศึกษา 5. ใหบริการดานงานเอกสาร และการประสานงาน เชน การประสานงานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการอนุญาต นำสิ่งปฎิกูลฯ ออกนอกบริเวณโรงงาน การประสานงานกับเจาหนาที่ภาครัฐในการตอบขอซักถามใหแกลูกคา 6. การรักษามาตรฐานในระบบคุณภาพและสิ่งแวดลอม เพื่อใหลูกคาเกิดความพึงพอใจสูงสุด 7. การอบรมเจาหนาทีบ่ ริหารงานขายในดานตางๆ เพือ่ ใหเกิดความชำนาญและความพรอมในการใหความ ชวยเหลือ และอำนวยความสะดวกดานการบริการใหแกลูกคามากที่สุด
การปฎิบัติการ จากนโยบายการใหบริการที่ครบวงจร และครอบคลุมในทุกภูมิภาค ในป 2551 บริษัทฯ จึงไดทำการ กอสราง เพือ่ ขยายพืน้ ทีส่ ำหรับรองรับปริมาณสิง่ ปฎิกลู ฯ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งและเพิม่ เติมอุปกรณ เครือ่ งมือและเครือ่ งจักร ที่ทำใหกำลังการผลิตในแตละผลิตภัณฑเพิ่มขึ้นประกอบดวย • การขยายพื้นที่หลุมฝงกลบ • การกอสรางระบบการปรับปรุงคุณภาพสิง่ ปฏิกลู ฯ ประเภทของแข็ง • การขยายการกอสรางระบบบำบัดน้ำเสีย • การขยายการกอสรางระบบปรับเสถียร • การขยายการกอสรางระบบการชั่งน้ำหนักสิ่งปฏิกูลฯ ซึ่งในการดำเนินการกอสรางสิ่งปลูกสรางดังกลาวขางตน ทำใหสามารถรองรับสิ่งปฏิกูลฯ ในวิธีการ กำจัด/ บำบัดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ ไดดังนี้ กากอุตสาหกรรมอันตราย 2550
ระบบการฝงกลบ ระบบปรับเสถียรและฝงกลบ ระบบำบัดน้ำเสีย ระบบปรับปรุงคุณภาพ
126,404 13,937 11,289
กากอุตสาหกรรมไมอันตราย
2551
99,307 12,963 40,558
หมายเหตุ กำลังการผลิตคิดวันทำงานเทากับ 300 วันตอปทำงานวันละ 8 ชั่วโมง [ 40 ]
Annual Report ‘ 2008
2550
150,015 -
2551
95,997 -
การบริหารคุณภาพเชิงวิศวกรรมสิ่งแวดลอม และวิชาการ
จากปจจัยทีส่ ำคัญของการนำสิง่ ปฎิกลู ฯ เขามากำจัด / บำบัด ยังศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี นั่นคือ การวิเคราะหหาองคประกอบของสิ่งปฏิกูลฯ เพื่อกำหนดวิธีการบำบัด / กำจัด ใหถูกตองตาม หลักวิชาการ โดยมีขอ กำหนด และวิธกี ารในการวิเคราะหเปนไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ งการกำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือ วัสดุทไ่ี มใชแลว พ.ศ. 2550 ซึง่ หองปฎิบตั กิ ารวิเคราะห และผูค วบคุม/ผูป ฎิบตั งิ าน ภายในหองปฏิบตั กิ ารวิเคราะหของบริษทั ฯ ไดรับการขึ้นทะเบียนและรับรองโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ใหสามารถดำเนินการวิเคราะห หาองคประกอบของสิ่งปฏิกูลฯ ทั้งที่เปนของแข็งและของเหลว และที่เปนอันตรายและไมเปนอันตรายได ซึ่งสามารถจำแนก ประเภทสิ่งปฎิกูลฯ และวิธีการกำจัดไดดังนี้ ปรั บเสถียร (073)
0% 47%
33%
ฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิ บาล (071) บำบัดน้ ำเสียทางเคมี กายภาพ (065) ผสมกากเชื้อเพลิง (042)
5% 15%
เชื้อเพลิงทดแทน (041)
ตลอดการดำเนินงานที่ผานมา บริษัทฯ ไดมีการวิจัยและพัฒนาสูตรเคมีเฉพาะ (Specific Recipe) ที่สามารถประหยัดตนทุนในการวิเคราะหองคประกอบสิ่งปฏิกูลฯ สามารถนำมาประยุกตใชในการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลฯ ใหเกิดประโยชนอยางสูงสุดทัง้ ดานพลังงานทดแทน ดานการบำบัดและกำจัดทีร่ วดเร็วและปลอดภัยตอสิง่ แวดลอมอยางสูงสุด
แนวโนมเปาหมายทางการตลาดป 2552 บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และกลุม บริษทั มีเปาหมายในการดำเนินงานภายใตนโยบาย การบริหารและจัดการสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใชแลวจากโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร (One Stop Service) สำหรับสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมอันตรายและสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่เปนอันตราย ดวยวิธีดังนี้ • การฝงกลบ • การบำบัดน้ำเสีย • การนำของเสียกลับมาใชประโยชนใหม • การปรับปรุงคุณภาพวัสดุที่ไมใชแลวเพื่อเปนวัตถุดิบและเชื้อเพลิงทดแทน • การเผาทำลายดวยเตาเผาอุณหภูมิสูง โดยเนนการใหบริการที่มีคุณภาพเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดของลูกคา และใหความสำคัญกับ การกำจัดที่ถูกตองตามหลักวิชาการโดยไมมีผลกระทบตอสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม ถึงแมวาในชวงครึ่งปหลังของป 2551 ทุกประเทศจะประสบกับวิกฤติสถาบันการเงินในสหรัฐอเมริกาและยุโรปทีป่ ะทุ ขึน้ เปนผลใหเกิดการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และประเทศไทยยังประสบผลกระทบจากวิกฤตการณทางการเมืองที่รุนแรง ทำใหการบริโภค และการลงทุนเติบโตต่ำ การ ทองเที่ยวและอัตราการขยายตัวของธุรกิจดานการสงออกชะลอตัวอยางชัดเจน อยางไรก็ตามเพือ่ ปองกันความเสีย่ งหากแนวโนมเศรษฐกิจป 2552 ยังคงไมมกี าร ฟน้ ตัวเทาทีค่ วร บริษทั ฯ จึงไดกำหนดเปาหมายการเติบโตของรายไดป 2552 ไวใกลเคียงกับรายไดรวมป 2551 ทั้งนี้ หากมีการดำเนินงานที่อยูใน Annual Report ‘ 2008
[ 41 ]
แผนการลงทุนที่กำหนดไวกอนหนานี้จะนำเขาเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ และหากเห็นโอกาสทางธุรกิจมากกวาตนทุน การดำเนินงาน และไมไดรับผลกระทบในเชิงลบตอการดำเนินธุรกิจแตอยางใด บริษัทฯ ก็จะดำเนินการสานตอเพื่อศักยภาพ ในการใหบริการครอบคลุม และเกิดประสิทธิผลตอบริษัทฯ มากที่สุด สำหรับการรับมือกับปญหาที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจโลกดังกลาวในป 2552 บริษัทฯ ไดเตรียมแผนการ ดำเนินงานไวดังนี้ • เนนการขยายธุรกิจในเชิงรุก นอกเหนือจากการบริหารจัดการสิ่งปฎิกูลฯ จากภาคอุตสาหกรรม ไปสูการบริหารจัดการสิ่งปฎิกูลฯ จากชุมชนรวมกับชุมชนทองถิ่นในภูมิภาคตางๆ • เนนการขยายฐานลูกคา โดยสรางความเชื่อมั่นจากการเขาเยี่ยมชมการดำเนินงานของบริษัทฯ ณ สถานที่กำจัดจริง ไดแก • ศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรมจังหวัดสระบุรี (กระบวนการฝงกลบ บำบัดน้ำเสีย และ การปรับปรุงคุณภาพดานพลังงานทดแทน) • ศูนยบริหารจัดการวัสดุเหลือใช อ ุ ต สาหกรรม (เตาเผาขยะอุ ต สาหกรรม) จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ (กระบวนการเผาโดยเตาเผาอุณภูมิสูง) • บริษัทฯ ยังคงเตรียมการรักษาฐานลูกคาเกาไวใหมากที่สุด • เนนกิจกรรมรวมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมสำหรับการเผยแพร และใหความรู เรื่องหลักเกณฑที่สำคัญสำหรับการบริหารจัดการสิ่งปฎิกูลฯ ของโรงงานแกผูประกอบการโรงงานในทุกภูมิภาค • เนนการดำเนินงานทีส่ อดคลองกับนโยบายการรับรองมาตรฐานในระดับสากลดานตางๆ เชน ระบบการ รับประกันคุณภาพ (ISO 9001) ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) ระบบมาตรฐานหองปฏิบัติการวิเคราะห (ISO 18001) ตลอดจนระบบมาตรฐานดานความรับผิดชอบตอสังคมและสวนรวม (ISO 26000) เพื่อใหลูกคาเกิดความ เชือ่ มัน่ และ พึงพอใจสูงสุดพัฒนาระบบการใชเทคโนโลยีทางดานสารสนเทศเพือ่ สือ่ สารไปยังกลุม เปาหมาย ตลอดจนผูท ส่ี นใจ ทั้งหนวยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษา • สงเสริมและพัฒนาความรู ความสามารถของผูแ ทนเทคนิคบริหารงานขายในดานตางๆ เพือ่ ใหเกิดความ ชำนาญและความพรอมในการใหความชวยเหลือ และอำนวยความสะดวกใหแกลูกคามากที่สุด • การดำเนินงานของบริษทั ฯ ยึดหลักการทำงานดวยความซือ่ สัตย เนนการใหบริการเปนหัวใจหลักทีส่ ำคัญ มีความรวดเร็วตรงตอเวลา คิดเสมอวาพนักงานทุกคนของบริษัทฯ และกลุมบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) คือผูใหบริการ จึงเปนสิ่งที่ปฏิบัติและประสบความสำเร็จมาโดยตลอด
[ 42 ]
Annual Report ‘ 2008
บุคลากร จำนวนพนักงานของบริษัทฯ (ไมรวมผูบริหาร) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวนทั้งสิ้น 240 คน ประกอบดวยพนักงานตามสายงานดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ฝ่าย ศูนยบริหารและจัดการกากอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี ฝายบริหารการตลาดและลูกคาสัมพันธ ฝายสงเสริมการขายและสารสนเทศ ฝายวิศวกรรมสิ่งแวดลอมและวิชาการ ฝายบริหารทรัพยากรบุคคลและควบคุมขนสง ฝายบัญชีและการเงิน ฝายตรวจสอบภายใน รวม
จำนวนพนักงาน (คน) 140 40 13 12 19 13 3 240
จำนวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ ยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 135 คน ทั้งนี้ในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมีขอพิพาทดานแรงงานใดๆ บริษัทฯ ยอย
จำนวนพนักงาน (คน)
บริษัทฯ เบตเตอร เวสท แคร จำกัด
ฝายบริหาร
1
ฝายวิศวกรรมสิ่งแวดลอม
2
ฝายลูกคาสัมพันธและสงเสริมการขาย
4
ฝายบัญชีและการเงิน
4
ฝายงานควบคุมขนสง
4
ฝายบริการ
1 รวม
13
บริษัทฯ เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด ฝายบริหาร
3
ฝายธุรการ
7
ฝายขนสง
30 รวม
40
บริษัทฯ เอิรธเท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด ฝายบริหารการตลาด
1 รวม
1
บริษัทฯ อัคคีปราการ จำกัด ฝายบริหาร
17
ฝายวิศวกรรมสิ่งแวดลอม
6
ฝายการตลาด
7
ฝายซองบำรุง
13
ฝายงานควบคุมขนสง
5
ฝายปฏิบัติการ
28
ฝายหองปฏิบัติการ
5 รวมทั้งสิ้น
81
Annual Report ‘ 2008
[ 43 ]
คาตอบแทนพนักงาน
บริษทั ฯ มีนโยบายการจายผลตอบแทนพนักงานเปนคาตอบแทนในรูปรายเดือน เชน เงินเดือน คาลวงเวลา เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund) และสวัสดิการดานอื่นๆ เชน เบี้ยขยัน รางวัลสำหรับพนักงานดีเดน การตรวจสุขภาพประจำป โดยบริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการพนักงานบริษัทฯ ขึ้นตามระเบียบของกระทรวงแรง งานและสวัสดิการสังคม ซึ่งประกอบดวยฝายนายจาง และฝายลูกจาง เพื่อพิจารณาเรื่องสวัสดิการของพนักงานดังกลาว โดยคาตอบแทนรวมของพนักงานของบริษทั ฯ ในป 2551 เปนจำนวน 58.04 ลานบาท และคาตอบแทนรวม ของพนักงานของบริษทั ยอยจำนวน 4 บริษทั ในป 2551 เปนจำนวน 24.13 ลานบาท ประกอบดวย • เงินเดือน • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ประกันสังคม • คารักษาพยาบาล • คาเบี้ยประกันชีวิตพนักงาน
นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริษทั ฯ และบริษทั ยอยใหความสำคัญเปนอยางยิง่ ในเรือ่ งของการพัฒนาความรูแ ละความสามารถ ของพนักงาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการทำงาน คุณภาพของการใหบริการ โดยไดจดั ใหมกี ารฝกอบรม การสัมมนาโดยบุคคล จากทั้งภายในและภายนอกที่จำเปนตอพนักงานโดยรวมและรายบุคคลอยางสม่ำเสมอ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทำงานและ สามารถนำความรูที่ไดรับไปปรับใชในการทำงาน รวมทั้งมีนโยบายในการใหผลตอบแทนกับพนักงานในอัตราที่เหมาะสม เพื่อจูงใจใหพนักงานทำงานกับบริษัทฯ และบริษัทยอยในระยะยาว และนอกจากนี้ บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจัดกิจกรรม เพื่อสานสัมพันธพนักงานเพื่อเปนการสรางความสามัคคีภายในองคกรอยางสม่ำเสมอ
[ 44 ]
Annual Report ‘ 2008
บทบาทตอสังคมและสิ่งแวดลอม
หนวยแพทยเคลื่อนที่
เยี่ยมบานเบตเตอร
ทำความสะอาดวัด
ประกวดเรียงความชิงทุนการศึกษา
มอบทุนอาหารกลางวัน และทุนการศึกษา
ในป 2551 บริษทั ฯ ไดดำเนินกิจกรรมรวมกับชุมชนและสังคม ซึง่ จุดเริม่ ตนสำหรับการแบงปนโอกาสใหกบั สังคมและชุมชนนั้น บริษัทฯ คำนึงถึงการสงเสริมความรู การใหโอกาสทางการศึกษา เพราะเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนา วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องชุมชนใหเปนไปอยางยัง่ ยืน และสามารถนำไปพัฒนาเพือ่ สรางความแข็งแกรงใหแกชมุ ชนของตนเองได ดังนั้น บริษัทฯ จึงไดจัดใหมีโครงการดีๆ เพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่องดังนี้ 1. โครงการแหลงเรียนรู. .. พัฒนาสูช มุ ชน เพือ่ สงเสริมและสนับสนุนคุณภาพทางการศึกษาใหแกเยาวชน และประชาชนที่สนใจในหลักการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมที่ถูกวิธีนอกเหนือจากในตำราเรียน และยังสรางความรู ความเขาใจทีถ่ กู ตอง เกีย่ วกับการดำเนินงานของบริษทั ฯ แกประชาชนอีกดวย จนเปนทีย่ อมรับทัง้ ในระดับประเทศและระดับ สากล นอกจากจะเปดโอกาสใหเยาวชนและประชาชนไดเขามาศึกษาเกี่ยวกับวิธีการดำเนินงานยังศูนยบริหารจัดการกาก อุตสาหกรรม จ.สระบุรีแลว การสงเสริมกิจกรรมอื่นๆ ที่สอดคลองกับการนำไปสูการพัฒนาชุมชนตอไปในอนาคต บริษัทฯ ก็ไดดำเนินการอยางตอเนื่อง เชน กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ การจัดประกวดผลงานทางวิทยาศาสตร การประกวด เรียงความสิ่งแวดลอมที่ดีของหนู เปนตน 2. โครงการบำเพ็ญสาธารณประโยชน เปนการใหความชว ยเหลือประชาชนในพืน้ ทีท่ ไ่ี ดรบั ความเดือดรอน จากปญหาในดานตางๆ เชน การขุดลอกคูคลอง การบริการน้ำดื่มน้ำใช การจัดหนวยแพทยเคลื่อนที่ การตรวจสายตา ประกอบแวนใหแกผูสูงอายุ การทำความสะอาดวัดวาอาราม ซึ่งนอกจากจะเปนการสงเสริมคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนใน ชุมชนแลว ยังเปนการสรางความสามัคคีใหเกิดแกชมุ ชนดวยสมดังวัตถุประสงคของโครงการทีต่ อ งการใหความชวยเหลือและ บรรเทาความเดือดรอน แกราษฎรในพื้นที่ สรางประโยชนใหแกสังคมและเปนการคืนกำไรสูทองถิ่น โครงการดีๆ อีกหนึ่งโครงการที่บริษัทฯ ไดมอบใหกับชุมชน และสังคมตามวัตถุประสงคของการรวม รับผิดชอบตอสังคมและสวนรวม นั่นคือ การเขารวมกิจกรรมในทุกๆ ดานเพื่อกระชับความสัมพันธอันดี และการสรางความ ไววางใจ และความศรัทธาที่เกิดจากความเขาใจอันดีของชุมชนเพื่อการอยูรวมกัน ซึ่งอาจกลาวไดวา ยิ่งชุมชน สังคม และผูใชบริการมีความเขาใจในกระบวนการทำงานในทุกขั้นตอนของบริษัทฯ เทาใด การตรวจสอบก็จะแปรเปลี่ยนเปนการ แนะนำเพือ่ นำมาสูก ารพัฒนา และสรางคุณประโยชนใหแกชมุ ชน และสังคมไดเปนอยางดี นอกจากนีย้ งั นำมาสูค วามเขาใจ ชวยใหการดำเนินงานเปนไปดวยความราบรืน่ และประสบผลสำเร็จมากทีส่ ดุ ดวยความเอือ้ อาทร ความรวมมือและความเขาใจ ถึงมาตรฐานการดำเนินงานมากวา 10 ป จึงทำให ในแตละป บริษัทฯ มีจำนวนผูเขาเยี่ยมชมในทุกระดับชั้น ทั้งนักเรียน นิสิต นักศึกษา ตลอดจนองคกรตางๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน (ในและตางประเทศ) ใหความสนใจเขาศึกษาดูงานระบบการบริหาร จัดการกากอุตสาหกรรม มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกๆ ป ปละไมต่ำกวา 1,000 ราย ซึ่งถือเปนอีกหนึ่งความภาคภูมิใจ ที่เกิดจากมาตรฐานที่บริษัทฯ ไดรักษาระดับมาตรฐานดานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม และระบบการจัดการคุณภาพ ตลอด จนความเอาใจใสตอสุขอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดลอมที่ควบคูกันไปภายใตปรัชญาแหงการบริหารงาน “เราหวงใย... ทุกชีวิตและสิ่งแวดลอม” Annual Report ‘ 2008
[ 45 ]
วิเคราะหภาวะอุตสาหกรรม และแนวโนมในป 2552 ถึงแมวาในชวงครึ่งปหลังของป 2551 ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติสถาบันการเงินในสหรัฐอเมริกา และยุโรป ปญหาการปรับตัวของราคาน้ำมัน ปญหาดานการเมืองที่มีผลกระทบตอความเชื่อมั่น ตลอดจนปญหาเงินเฟอ ทีเ่ กิดจากตนทุนของราคาสินคาทีเ่ พิม่ ขึน้ สงผลตอภาวะคาครองชีพของผูบ ริโภคและผลกระทบตอภาคการผลิตของผูป ระกอบ การก็ตาม แตหากสถานการณทางการเมืองคลี่คลายไปในทิศทางที่ดีขึ้น ภาครัฐเรงการลงทุนในโครงการ ขนาดใหญ ราคา น้ำมันปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องก็จะชวยใหการสั่งซื้อ เครื่องจักร และสินคา ทุนขยับตัวดีขึ้นสงผลโดยตรงตอการผลิตจาก ภาคอุตสาหกรรม อยางไรก็ตามในระหวางป 2549-2551 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมมีอัตราการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5 ในขณะที่ปริมาณของสิ่งปฎิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่เกิดจากกลุมโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ภายในประเทศมีอัตราที่เพิ่มขึ้น เฉลี่ยในชวง 3 ป ที่ผานมา (ระหวางป 2548 - 2550) รอยละ 47.09 สำหรับสิ่งปฏิกูลฯ ที่เปนอันตราย และรอยละ 27.64 สำหรับสิ่งปฏิกูลฯ ที่ไมเปนอันตราย ซึ่งแสดงดังตารางปริมาณสิ่งปฏิกูลฯ ในระหวางป 2548 -2551 ตารางแสดงปริมาณสิ่งปฏิกูลฯ ในระหวางป 2548-2551
ประเภท สิ่งปฏิกูลฯ ที่เปนอันตราย สิ่งปฏิกูลฯ ที่ไมเปนอันตราย รวม
ป 2548 1.03 10.03 11.06
ป 2549 1.78 10.43 12.21
ป 2550 2.16 15.78 17.94
หนวย : ลานตัน ปี 2551 2.45 14.63* 17.08
ที่มา: สำนักโรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา 6 กรมโรงงานอุตสาหกรรม หมายเหตุ * มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายเรื่องการกำจัดสิ่งปฎิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวฯ
ในขณะเดียวกันเพื่อเปนการปองกันปญหามลพิษในดานตางๆ เชน น้ำเสีย อากาศเสีย และของเสียหรือ สิ่งปฎิกูลที่เปนปญหาอยูในปจจุบัน ภาครัฐโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งมีหนาที่ในการกำกับดูแลโรงงานอุตสาหกรรม ตางๆ ทั่วประเทศก็ไดมีมาตรการการบังคับใชกฎหมายในดานของการจัดการสิ่งปฎิกูลฯ ใหถูกตองตามหลักวิชาการ และ กฎหมาย เชน • มีการออกกฎหมายบังคับใชในเรื่องการกำจัดสิ่งปฎิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว พ.ศ. 2548 ที่มีการจำแนก กลุมอุตสาหกรรมที่เปนผูกอกำเนิดสิ่งปฎิกูลฯ การจำแนกวิธีการกำจัดใหเปนไปอยางถูกตอง การเขมงวดในดานความรับผิด ชอบตอการกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั้งของโรงงานอุตสาหกรรม ผูขนสงสิ่งปฎิกูลฯ ตลอดจนผูใหบริการรับบำบัด/ กำจัดสิ่งปฎิกูลฯ • มีการประสานงานไปยังหนวยงานตางๆ เพื่อขอความรวมมือทั้งสำนักงานนโยบายและแผนการขนสง และจราจร กรมการขนสงทางบก สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดลอมในดานการออกมาตรการตรวจติดตามและตรวจสอบการประกอบการของอุตสาหกรรมตางๆเพือ่ แนว ทางปองกันผลกระทบในอนาคต • มีระบบแจงขอมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส เพื่อการตรวจสอบขอมูลการเคลื่อนยายสิ่งปฏิกูลฯ เพื่อไปกำจัด ยังปลายทางอยางถูกวิธี เห็นไดวาขอมูลในการขออนุญาตการนำสิ่งปฎิกูลฯ เขาระบบการจัดการอยางถูกตองตามกฎหมายของ โรงงานทีม่ อี ตั ราเพิม่ ขึน้ รอยละ 11.63 12.67 และ 13.63 ในป 2549 ป 2550 และป 2551 ตามลำดับ (ดังตารางแสดงจำนวน โรงงานที่เขาสูระบบการจัดการสิ่งปฎิกูลฯ อยางถูกตอง) [ 46 ]
Annual Report ‘ 2008
ตารางแสดงจำนวนโรงงานที่เขาสูระบบการจัดการสิ่งปฎิกูลฯ อยางถูกตอง พ.ศ. 2549 2550 2551
จำนวนโรงงาน (ประเภท 2 และ3)
จำนวนโรงงานที่เขาสูระบบ
75,938 80,297 84,637
8,830 10,166 11,538
รอยละ 11.63 12.67 13.63
ที่มา: สำนักโรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา 6 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของภาครัฐดังกลาวขางตน และนโยบายในการบริหารจัดการสิ่งปฎิกูล อยางครบวงจร ถูกตองตามหลักวิชาการ และสรางความพึงพอใจสูงสุดใหแกลกู คาทีใ่ ชบริการของบริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษทั ในเครือ ภายใตปรัชญา “เราหวงใย...ทุกชีวติ และสิง่ แวดลอม” ในป 2552 นี้ บริษทั ฯ จึงไดกำหนด นโยบายในดานตางๆ อาทิ การใหความรูค วามเขาใจในการจัดการสิง่ ปฎิกลู ฯ ภายในโรงงานอยางถูกวิธกี ารใหบริการทีส่ ะดวก และรวดเร็ว เพื่อรักษาฐานลูกคารายเดิม การสรางสัมพันธกับกลุมลูกคารายใหม ตลอดจนสนับสนุนกิจกรรมการดูแลและ รับผิดชอบตอสังคมและสวนรวม ใหสอดคลองกับเปาหมายในการดำเนินธุรกิจในป 2552 ตามที่วางไว
Annual Report ‘ 2008
[ 47 ]
โครงสรางผูถือหุนและการจัดการ ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ณ วันที่ 22 กันยายน 2551 รายชื่อผูถือหุน 1.กลุมเหลืองวิริยะ 1.1 นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ 1.2 นางสาวกมลา เหลืองวิริยะ 1.3 นายวันชัย เหลืองวิริยะ 1.4 นายเอกรินทร เหลืองวิริยะ 2.กลุมวิระเทพสุภรณ 2.1 นางนิภา วิระเทพสุภรณ 2.2 นายเยี่ยมยศ วิระเทพสุภรณ 3.กลุมจึงรุงเรืองกิจ 3.1 นายโกมล จึงรุงเรืองกิจ 3.2 หางหุนสวนสามัญเอื้อมภรณ 3.3 หางหุนสวนสามัญทองอราม 4.กลุมเอี่ยมสกุล 4.1 นางสาวระวีวรรณ เอี่ยมสกุล 4.2 นางสาวสุชาดา เอี่ยมสกุล 4.3 นายฉัตรชัย เอี่ยมสกุล 5. กลุม เตชะอินทราวงศ 5.1. นายสมหวัง เตชะอินทราวงศ 5.2. นายบรรเจิด เตชะอินทราวงศ 6.กลุมเนตรจารุ 6.1 นางสิริมา เนตรจารุ 6.2 นางสาววชิราภรณ เนตรจารุ 7.นายสุชาติ เมฆทรัพย 8.Yamazen Holdings Company Limited 9.นายเชิดชัย ลีลานภาพรรณ 10.นายอรรถพร เสถียรวารี 10.1 นางสาววิภาวี พุมมานนทชัย 11.นายศักดิ์สิทธิ์ กนะกาศัย รวม
[ 48 ]
Annual Report ‘ 2008
จำนวนหุน
รอยละของทุนชำระแลว
64,700,000 12,100,000 10,470,000 100,000
20.22 3.78 3.27 0.03
15,000,000 20,000
4.69 0.01
6,649,800 3,860,000 6,290,000
2.08 1.21 1.96
3,750,000 3,846,500 3,750,000
1.17 1.20 1.17
4,022,800 3,899,800
1.26 1.22
3,000,000 300,000 6,150,000 7,200,000 6,100,000 4,130,000 4,250,000 3,375,000 172,963,900
0.94 0.09
54.05
ปจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงจากขอพิพาททางกฎหมาย ขอพิพาทที่บริษัทฯ อยูในฐานะเปนผูรองสอด ในป 2546 ไดมีกลุมบุคคลรวมกันฟองคดีตอศาลปกครองกลาง โดยมีหนวยงานทางราชการ และเจาหนาที่ของรัฐเปนผูถูกกลาวหาวากระทำการโดยไมชอบดวยกฎหมายและละเลยตอ หนาที่ ในขั้นตอนการออกใบอนุญาตประกอบกิจการของหนวยงานราชการใหแกบริษัทฯ มีความไมถูกตอง และรองขอให ศาลปกครองกลางมีคำพิพากษาหรือคำสัง่ ใหเพิกถอนใบอนุญาตใหประกอบกิจการโรงงานรับฝงกลบสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใช แลวที่ไมอันตราย และที่เปนอันตราย และใหเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และใหทางบริษัทฯ ชดใชคา เสียหายทัง้ หมดใหกบั ราษฎรทีเ่ ดือดรอน ซีง่ ศาลปกครองกลางไดรบั คำฟองของผูฟ อ งคดีเมือ่ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 และพิจารณาใหบริษัทฯ เปนผูรองสอดในฐานะคูกรณีฝายที่ 3 ศาลปกครองกลางไดมีคำพิพากษายกฟองคดีดังกลาวเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2550 ผูฟองคดีไดยื่นอุทธรณ ไปยังศาลปกครองสูงสุด บริษทั ฯ ไดยน่ื คำแกอทุ ธรณตอ ศาลปกครองสูงสุดเมือ่ วันที่ 3 สิงหาคม 2550 เพือ่ ขอใหศาลปกครอง สูงสุดมีคำพิพากษายืนตามศาลปกครองกลาง โดยใหยกฟองอุทธรณ ของผูฟองคดี ซึ่งศาลปกครองสูงสุดไดรับคำแกอุทธรณ ของบริษัทฯ ไวพิจารณาแลว ที่ปรึกษาทางกฎหมายของบริษัทฯ ไดใหความเห็นทางคดีดังกลาววา แมผูฟองคดีจะใชสิทธิอุทธรณเพื่อ คัดคานคำวินิจฉัยของศาลปกครองกลางก็ตาม แตศาลปกครองกลางไดมีคำวินิจฉัยในเนื้อหาของคดีครอบคลุมครบถวน ทัง้ ในปญหาขอเท็จจริงและปญหาขอกฎหมาย จึงนาเชือ่ ไดวา ผลของคำพิพากษานาจะเปนไปในแนวทางเดียวกันอยางไรก็ตาม หากศาลปกครองสูงสุดไดมีคำพิพากษาหรือ คำสั ่ ง ชี ้ ข าดคดี ผลของคดี อ าจส ง ผลกระทบต อ การประกอบธุ ร กิจ และ ความรับผิดชอบทางกฎหมายของบริษัทฯ ดังนี้ ก) ผลกระทบตอการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ หากศาลปกครองสูงสุดมีคำพิพากษาวาผูถูกฟองคดีกระทำการโดยไมชอบดวยกฎหมายและละเลย ตอหนาที่ตามที่กฎหมายกำหนดใหตองปฏิบัติ บริษัทฯ อาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หรือใบอนุญาต ประกอบกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และอาจตองหยุดดำเนินกิจการโรงงานรับฝงกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวไว ชั่วคราวจนกวาจะไดรับใบอนุญาตใหม ซึ่งบริษัทฯ เชื่อมั่นวาทางหนวยงานราชการสามารถออกใบอนุญาตใหมที่ถูกตองตาม กฎหมายใหกับบริษัทฯ เสร็จสิ้นโดยเร็ว เพื่อใหบริษัทฯ สามารถดำเนินกิจการตอไปไดโดยเร็วที่สุด ข) ความรับผิดชอบทางกฎหมายของบริษัทฯ ในคดีดังกลาว ผูฟองคดีไดขอใหศาลปกครองกลางมีคำพิพากษาหรือคำสั่งใหบริษัทฯ ชดใชคาเสียหาย ใหกับราษฎรที่เดือดรอน ศาลปกครองกลางไดพิพากษายกฟองและวินิจฉัยในประเด็นนี้วา คำขอนั้นเปนเพียงการกลาวรวมๆ เทานัน้ ไมไดระบุวา เกิดความเสียหายแกผฟู อ งคดีรายใด จำนวนเทาใด กรณีนจ้ี งึ ไมมลี กั ษณะเปนคำขอทีศ่ าลจะพิจารณาใหได ขอพิพาทจากคดีอาญาทีฟ่ อ งบริษทั ฯ และผูบ ริหารในฐานะรวมกันไมปฏิบตั ติ ามคำสัง่ ขอพนักงานเจาหนาที่ ในป 2550 ไดมกี ลุม บุคคลรวมกันฟองคดีอาญาตอศาลจังหวัดสระบุรี กรณีบริษทั ฯ และกรรมการผูม อี ำนาจลงนามของบริษทั ฯ จำนวน 3 ทาน ไมปฏิบตั ติ ามคำสัง่ ของพนักงานเจาหนาที่ ทำใหเกิดกลิน่ เหม็น น้ำเนาเสียกอใหเกิดอันตรายความเสียหายและ ความเดือดรอนแกโจทกที่พักอาศัยอยูใกลชิดหรือติดตอกับพื้นที่ที่ผูถูกฟองคดีนำกากอุตสาหกรรมเขามาฝงกลบ ทั้งนี้ ศาล ไดมีคำสั่งนัดไตสวนมูลฟองในวันที่ 4 ธันวาคม 2550 ซึ่งบริษัทฯ ชี้แจงวา ไดปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่ตาม พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 อยางเครงครัดมาโดยตลอด โดยมีการรายงานผลการดำเนินงานของบริษัทฯ เปนประจำ และสม่ำเสมอ ตามระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด และไมเคยปรากฏวา บริษัทฯ ไดรับแจงจากพนักงานเจาหนาที่วา บริษัทฯ ไมปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่ ดังที่โจทกกลาวอางแตอยางใด เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2551 ศาลจังหวัดสระบุรีไดรับคำฟองของผูฟองคดีที่ไดยื่นฟองบริษัทฯ และ กรรมการผูมีอำนาจ ในขอหารวมกันไมปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่ โดยศาลจังหวัดสระบุรีไดมีคำสั่งใหกำหนด วันนัดสืบพยานโจทกครั้งแรกในวันอังคารที่ 1 กันยายน 2552
Annual Report ‘ 2008
[ 49 ]
ในการนี้ ทีป่ รึกษาทางกฎหมายของบริษทั ฯ มีความเห็นทางคดีดงั กลาววา ขอกลาวหาของโจทยทก่ี ลาวหา บริษทั ฯ วาไมนา จะรับฟงได เนือ่ งจากตลอดระยะเวลาในการประกอบกิจการของบริษทั ฯ ทีผ่ า นมาจนถึงปจจุบนั นัน้ ไมปรากฎวา พนักงานเจาหนาที่ของหนวยราชการ ที่มีอำนาจหนาที่ในการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ จะไดออกคำสั่งทางวาจาหรือ ลายลักษณอักษรวา บริษัทฯ ไมปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่แตอยางใดเลย ดังนั้น จึงนาเชื่อไดวา เมื่อบริษัทฯ ไดนำพยานหลักฐานตางๆ ประกอบการพิจารณาและนำเสนอตอศาลแลว ศาลนาจะพิจารณาและมีคำพิพากษายกฟองคดี ดังกลาว อยางไรก็ตาม หากผลคดีนี้ถึงที่สุดวา บริษัทฯ หรือกรรมการบริษัท ไดกระทำผิดตามคำฟองผลทางคดี โดยหลักแลว มีเพียงการเสียคาปรับตามทีเ่ ปรียบเทียบภายใน 30 วันนับแตวนั ทีม่ กี ารเปรียบเทียบปรับ และใหถอื วาคดีเลิกกันตามกฎหมาย ที่เกี่ยวของ 2. ความเสี่ยงจากผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม ในการดำเนินธุรกิจบริหารและจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวทั้งที่ไมอันตรายและที่เปนอันตราย มีความเสีย่ งตอการกอใหเกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมทีม่ ตี อ ชุมชนใกลเคียงบริษทั ฯ จึงไดกำหนดแนวทางในการดำเนินงานตางๆ และมีการควบคุมมาตรฐานสิ่งแวดลอมตามที่หนวยงานราชการกำหนด เพื่อไมใหเกิดผลกระทบดานมลภาวะตอชุมชนและ มีการควบคุมปญหาและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นไดไวอยางดี ดังนี้ 1) จัดตัง้ พืน้ ทีโ่ ครงการ ตามขอกำหนดของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และตามพระราชบัญญัตกิ ารอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติของสหรัฐอเมริกา (Resource Conservation and Recovery Act : EPA) 2) กำหนดนโยบายและคูมือปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อใหพนักงานใชเปนแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองตาม มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามที่กำหนดไวในรายงานการศึกษาผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 3) กำกับดูแลการดำเนินงานใหเปนไปตามกฎหมายและนโยบายของบริษัท โดยจัดตั้งหนวยงาน ฝายวิศวกรรมและสิ่งแวดลอมคอยตรวจสอบและติดตามผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง และใหหนวยงานภายนอก อิสระเขาตรวจสอบเปนประจำทุก 6 เดือน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดรับการรับรองมาตรฐานดานการจัดการคุณภาพ ISO 9001:2000 และมาตรฐานดานการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001:2004 จาก SGS (Thailand) Limited 4) มีการพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากรอยางตอเนื่อง เชน การฝกอบรม และการเขาสัมมนา ในเรื่องที่เกี่ยวของ เปนตน 3. ความเสี่ยงจากขอจำกัดทางดานการจัดหาที่ดินเพิ่มเติม ที่ดินในศูนยบริหารและจัดการ ของบริษัทฯ สามารถรองรับสิ่งปฏิกูลฯ ไดประมาณ 2.34 ลานตัน สำหรับ สิง่ ปฏิกลู ทีไ่ มอนั ตราย และประมาณ 1.63 ลานตัน สำหรับสิง่ ปฏิกลู ทีเ่ ปนอันตราย ทำใหบริษทั ฯ อาจมีความเสีย่ งในการจัดหา ที่ดินเพื่อใหบริการเพิ่มเติมเมื่อที่ดินที่มีอยูปจจุบันไดถูกฝงกลบสิ่งปฏิกูลทั้งหมดแลว อยางไรก็ตาม นับตั้งแตตนป 2552 เปนตนไป บริษัทฯ ยังคงมีที่ดินและหลุมฝงกลบที่สามารถรองรับสิ่งปฏิกูลฯ เพียงพอในการสรรหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อใช ในการขยายธุรกิจของตอไป 4. ความเสี่ยงจากดานการขนสง ในขั้นตอนของการรับสิ่งปฏิกูลจากโรงงานของลูกคามาบำบัดและฝงกลบ บริษัทฯ ไดมอบหมายใหบริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด ซึง่ เปนบริษทั ยอย เปนผูบ ริหารและจัดการเกีย่ วกับการใหบริการรถขนสงรวมทัง้ จัดหาและ วาจางผูประกอบการขนสงภายนอก ซึ่งมีการกำหนดวิธีการในการลดความเสี่ยง โดยเขมงวดในการคัดเลือกพนักงานขับรถ [ 50 ]
Annual Report ‘ 2008
หรือจัดจาง ผูรับเหมาภายนอก (Vendor) และติดตามประเมินผล ตลอดจนมีคูมือปฏิบัติงานและมีการฝกอบรมใหความรู ถึงความสำคัญของขั้นตอนการเคลื่อนยายและขนสงสิ่งปฏิกูล เพื่อใหมีความตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้ง มีการกำหนดสิ่งจูงใจตางๆ เพื่อรักษาคุณภาพการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ในเงื่อนไขขอตกลงตามสัญญาระหวางบริษัทฯ กับผูรับเหมาภายนอก (Vendor) ระบุขอตกลง ระหวางกันใหไลเบีย้ เอาผิดกับผูท ฝ่ี า ฝนหรือกระทำผิดไวอยางชัดเจน และใหผรู บั เหมาภายนอก (Vendor) ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบของหนวยงานราชการทั้งที่มีอยูแลวตลอดจนที่จะมีขึ้นตอไปทุกประการ ทั้งนี้ ในเบื้องตนกรณีที่เกิดเหตุรายแรงระหวางขนสง บริษัทฯ ไดมีหนวยงานฉุกเฉินที่จะคอยใหคำแนะนำ และความชวยเหลือตางๆ แกผูขับรถ เพื่อชวยบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นใหเหลือนอยที่สุด อยางไรก็ตาม การใหบริการ ดานกากอุตสาหกรรมของบริษัทฯ มีการใหบริการตามใบขออนุญาตตามที่ราชการออกให ดังนั้นกากอุตสาหกรรมชนิดที่เปน อันตรายสูง ไวไฟ หรือที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม บริษัทฯ จะงดการใหบริการ จึงเปนการลดโอกาสเกิดความเสี่ยงจาก ลักษณะดังกลาว 5. ความเสี่ยงดานบริหารการตลาด (Marketing Risk) การจัดการความเสี่ยงดานบริหารการตลาด บริษัทฯ ไดกำหนดใหฝายบริหารการตลาดจัดทำแผนการ ดำเนินงานดานการตลาดใหสอดคลองกับนโยบายของบริษัท รวมถึงไดกำหนดใหแตละหนวยงานจัดทำแผนการดำเนินงาน เพือ่ สนับสนุนใหการบริหารการตลาดของบริษัทฯ สามารถขับเคลื่อนไดตามเปาหมายที่กำหนด รวมถึงไดมีการติดตามผล การปฏิบัติงานอยางสม่ำเสมอ เพื่อรับทราบความเคลื่อนไหวของทางตลาดและคูแขงขัน เพื่อกำหนดกลยุทธใหเหมาะสมกับ สภาวการณ นอกจากนี้ จากการประกอบธุรกิจที่ผานมาบริษัทฯ มีจำนวนลูกคาที่ใชบริการรวมประมาณ 1,000 ราย ในแตละป บริษทั ฯ มีแนวทางในการลดความเสีย่ ง โดยมุง เนนการใหบริการทีค่ รบวงจรและมีคณ ุ ภาพไดมาตรฐานระดับสากล ในราคาที่เหมาะสมและแขงขันได เพื่อสรางความพึงพอใจใหแกลูกคา ซึ่งเปนสิ่งที่ทำใหลูกคาใชบริการอยางตอเนื่อง รวมทั้ง บริษทั ฯ ไดมฝี า ยบริหารการตลาดทีจ่ ะทำการคัดเลือกรายชือ่ ลูกคาหรือโรงงานอุตสาหกรรมเปาหมาย หรือติดตอผานหนวยงาน ราชการ เพื่อเขาไปแนะนำบริการของ บริษัทฯ ตอลูกคาโดยตรงหรือจัดทำประชาสัมพันธนอกสถานที่ เพื่อเปนการขยายฐาน ลูกคาอีกดวย 6. ความเสี่ยงดานการเงินและสภาพคลอง (Financial and Liquidity Risk) ในดานฐานะทางการเงินและสภาพคลองของบริษัทฯ นั้น จากการประเมินของคณะอนุกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง ฝายจัดการ และผูจ ดั การฝายบัญชีและการเงิน / CFO พบวา ปจจุบนั บริษทั ฯ ยังมีฐานะทางการเงินและสภาพคลอง อยูในเกณฑที่ดีมีคาใกลเคียงกับคาเฉลี่ยอุตสาหกรรม 7. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงาน (Operation Risk) การพิจารณาความเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน บริษัทฯ มีมาตรการควบคุมและปองกันความเสี่ยงในดาน การปฏิบัติงาน ดังนี้ 1) กำหนดใหผูปฏิบัติงานหรือผูที่เกี่ยวของปฏิบัติตามคูมือและขั้นตอนการทำงานอยางเครงครัด ซึ่งคูมือ และขัน้ ตอนการทำงานทีป่ ระกาศใช นัน้ ไดจดั ทำขึน้ โดยมีความสอดคลองตามมาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 14001 จึงไดรบั การตรวจติดตามอยางสม่ำเสมอ และหากมีการแกไขเปลี่ยนแปลงไดแจงกับผูที่เกี่ยวของรับทราบทันที Annual Report ‘ 2008
[ 51 ]
2) ความผิดพลาดอันเนื่องมาจากการปฏิบัติงานไมตรงตามความตองการของลูกคา หรือมีการรองเรียน จากภายในและภายนอก ไดกำหนดใหมีการติดตามอยางใกลชิดและเรงดวนทั้งนี้เพื่อใหลูกคาเกิดความพึงพอใจสูงสุด 3) ในการจัดการความเสีย่ งดานการปฏิบตั งิ าน บริษทั ฯ จะติดตามและปองกันโดยนำปญหาหรือประเด็น ที่มีแนวโนมเกิดปญหาบอยครั้งมาแกปญหาอยางเปนระบบ โดยจะบรรจุเปนวาระการประชุมเพื่อนำเสนอตอที่ประชุม คณะทำงานพัฒนาระบบ 4) ดานการประเมินผลการดำเนินงาน บริษัทฯ กำหนดใหหนวยงานที่เกี่ยวของทำการประเมินสอบถาม เพื่อวัดความพึงพอใจ และประเมินผูรับจางชวง/ผูใหบริการ เพื่อดำเนินการแกไขปรับปรุงตามขอคิดเห็น 5) บริษทั ฯ ไดกำหนดใหมหี นวยงานตรวจสอบภายในเพือ่ ทำหนาทีต่ รวจสอบและตรวจประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน
การกำกับดูแลกิจการ เพื่อใหเปนไปตามนโยบายการปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดี (Code of Best Practices) บริษัทฯ ไดนำ หลักการดังกลาวเปนแนวทางในการดำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อประโยชนตอการดำเนินธุรกิจ และเปนการเสริมสรางความ โปรงใส ความมีประสิทธิภาพของฝายบริหารจัดการ ซึ่งจะทำใหเกิดความเชื่อมั่นในกลุมผูถือหุน ผูลงทุนและผูที่เกี่ยวของทุก ฝาย คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดมีการกำหนดหลักการการกำกับดูแลกิจการ ซึ่งเปนการปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแล กิจการที่ดีซึ่งกำหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยหลักการการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังนี้
หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน (The Rights of Shareholders) บริษัทฯ ตระหนักและใหความสำคัญในสิทธิพื้นฐานตางๆ ของผูถือหุน ทั้งในฐานะเจาของบริษัทฯ และในฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย เชน สิทธิในการซือ้ ขาย หรือโอนหลักทรัพยทต่ี นถืออยู สิทธิในการไดรบั ขอมูลของบริษทั ฯ อยางเพียงพอ สิทธิในการที่จะไดรับสวนแบงผลกำไรจากบริษัทฯ สิทธิตางๆ ในการประชุมผูถือหุน สิทธิในการแสดงความ คิดเห็น สิทธิในการรวมตัดสินใจในเรื่องสำคัญของบริษัทฯ เชน การจัดสรรเงินปนผล การแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ การแตงตั้งผูสอบบัญชี การอนุมัติธุรกรรมที่สำคัญและมีผลตอทิศทางในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เปนตน นอกเหนือจากสิทธิพน้ื ฐานตางๆ ขางตนแลว บริษทั ฯ ยังไดดำเนินการในเรือ่ งตางๆ ทีเ่ ปนการอำนวยความ สะดวกในการใชสิทธิของผูถือหุน ดังนี้ • บริษัทฯ จะจัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจำปทุกป โดยจะจัดภายใน 4 เดือนนับจากวันสิ้นสุด รอบบัญชีในแตละป นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ไดเล็งเห็นความสำคัญของการประชุมผูถ อื หุน จึงไดกำหนดใหคณะกรรมการทัง้ คณะ เขารวมประชุมทุกครั้ง โดยในป 2551 คณะกรรมการทั้งคณะเขารวมประชุม เวนแตกรรมการบางคนติดภารกิจที่จำเปนไม สามารถเขารวมประชุมได ในระหวางการประชุม ประธานในที่ประชุมจะเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกันในการ แสดงความเห็นและซักถามขอสงสัย โดยประธานในที่ประชุมหรือกรรมการ จะตอบคำถาม ผูถือหุนใหไดรับความกระจาง ทุกครั้ง ทั้งนี้ บริษัทฯ จะจดบันทึกประเด็นขอซักถาม หรือความคิดเห็น หรือขอเสนอแนะของผูถือหุนอยางถูกตอง ครบถวน ในรายงานการประชุม และเผยแพรในเว็บไซตของบริษัทฯ ภายใน 14 วันนับจากวันที่ประชุมผูถือหุน ทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ซึ่งในป 2551 บริษัทฯ เปดโอกาสใหสิทธิแกผูถือหุนในการเสนอวาระการประชุมผูถือหุน และเสนอแตงตั้งกรรมการ รายใหมลว งหนากอนการประชุม รวมทัง้ เปดโอกาสใหผถู อื หุน สงคำถามลวงหนาทีเ่ กีย่ วกับวาระในการประชุมผานทางเว็บไซต www.betterworldgreen.com
[ 52 ]
Annual Report ‘ 2008
• บริษทั ฯ ไดจดั สงหนังสือนัดประชุมซึง่ ระบุรายละเอียดวัน เวลา สถานทีจ่ ดั การประชุมพรอมแผนทีแ่ สดง สถานที่ประชุม ระเบียบวาระการประชุมซึ่งไดจัดเรียงลำดับความสำคัญ พรอมขอมูลชี้แจงความเปนมา เหตุผลความจำเปน และประเด็นสำคัญของแตละเรื่องที่เสนอใหที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาหรือเพื่อทราบ รวมทั้งไดระบุความเห็นของ คณะกรรมการบริษัทฯ ในทุกวาระไวอยางชัดเจน เพื่อใหผูถือหุนใชประกอบการพิจารณาตัดสินใจลงมติในแตละวาระรวมทั้ง ไดจัดสงขอมูลที่เกี่ยวของพรอมกับหนังสือนัดประชุม ดังนี้ - ขอบังคับของบริษัทฯ ที่เกี่ยวของกับการประชุมผูถือหุน เพื่อใหผูเขาประชุมทราบ - ขอกำหนดเกี่ยวกับองคประชุม การมอบฉันทะเพื่อเขาประชุมผูถือหุน สิทธิการออกเสียงลงคะแนน คุณสมบัตขิ องกรรมการและการพนจากตำแหนง คาตอบแทนกรรมการ การจายเงินปนผลและการจัดสรรเงินกำไร การแตงตัง้ ผูสอบบัญชีและกำหนดคาธรรมเนียมในการสอบบัญชี - เอกสารแจงรายละเอียดหลักฐานที่ผูถือหุนตองนำมาแสดงตนประกอบการเขารวมประชุมวิธีการมอบ ฉันทะ การลงทะเบียนเขารวมประชุม และการออกเสียงลงคะแนนในการประชุม - รายงานการประชุมครั้งกอนที่เสนอใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณารับรอง - รายงานประจำปของคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ บรรจุสารสนเทศสำคัญเกีย่ วกับการดำเนินงานของบริษทั ฯ ในรอบปที่ผานมา รวมทั้งงบการเงินพรอมหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต - ประวัตยิ อ และขอมูลทีเ่ กีย่ วของของผูไ ดรบั การเสนอชือ่ เปนกรรมการ ไดแก ขอมูลการถือหุน ของบริษทั ฯ ขอมูลการดำรงตำแหนงกรรมการหรือผูบริหารในบริษัทจดทะเบียน บริษัท และกิจการอื่นๆ ลักษณะความสัมพันธของผูไดรับ การเสนอชื่อซึ่งมีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ โดยมีการเสนอแตงตั้งกรรมการอิสระแทนผูที่ออกตามวาระดวย - หนังสือมอบฉันทะตามที่กำหนดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย คือ แบบ ข. ซึ่งเปน แบบหนังสือมอบฉันทะทีก่ ำหนดรายการตางๆ ทีจ่ ะมอบฉันทะทีล่ ะเอียดชัดเจนตายตัว โดยบริษัทฯ ไดมอบใหบริษัทศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเปนนายทะเบียนหุน เปนผูจัดสงหนังสือเชิญประชุม หนังสือมอบฉันทะและเอกสารประกอบวาระการประชุมใหแกผูถือหุนไดพิจารณาลวง หนากอนวันประชุม 14 วัน (หรือเปนไปตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด) • บริษทั ฯ จัดใหมกี ารปกปองสิทธิของผูถ อื หุน และสงเสริมใหผถู อื หุน ใชสทิ ธิพน้ื ฐานตามทีก่ ฎหมายกำหนด เชน การมีสวนแบงในผลกำไรของกิจการ การซื้อขายหรือโอนหุน การไดรับขาวสาร ขอมูลของบริษัทอยางเพียงพอ การเขา รวมประชุมผูถือหุนเพื่อใชสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุนเพื่อแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ กำหนดคาตอบแทนกรรมการ แตงตั้งผูสอบบัญชีและกำหนดเงินคาสอบบัญชี และเรื่องที่มีผลกับบริษัทฯ เปนตน • บริษทั ฯ จัดใหมเี ว็บไซต เพือ่ เสนอขอมูลทีส่ ำคัญ ขาวสารตางๆ เชน รายงานทางการเงินผลประกอบการ ประจำไตรมาส ประจำป รายงานประจำป สำหรับหนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน กำหนดใหเผยแพรขอ มูลเหมือนกับเอกสารทีต่ อ ง สงใหผูถือหุนในรูปแบบเอกสารอยางนอย 30 วันกอนการประชุม • ในกรณีทผ่ี ถู อื หุน ไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษทั ฯ เปดโอกาสใหผถู อื หุน สามารถมอบฉันทะ ใหกบั บุคคลหนึง่ บุคคลใดใหเปนผูร บั มอบอำนาจ โดยบริษทั ฯ ไดเพิม่ ทางเลือกใหกบั ผูถ อื หุน ดวยการเสนอใหกรรมการอิสระ เปนผูรับมอบอำนาจจากผูถือหุน โดยจะระบุรายชื่อกรรมการผูรับมอบอำนาจในหนังสือมอบฉันทะที่แนบมาพรอมกับหนังสือ นัดประชุม • กอนการประชุมบริษัทฯ จะชี้แจงวิธีการลงคะแนนและวิธีการนับคะแนน • ในระหวางการประชุมบริษัทฯ จะเปดโอกาสใหผูถือหุนตั้งขอซักถาม ใหขอเสนอแนะ หรือแสดงความ คิดเห็นตอทีป่ ระชุมในประเด็นตางๆ อยางอิสระและเทาเทียมกัน ทัง้ นี้ ในการประชุมผูถ อื หุน จะมีกรรมการและผูบ ริหารทีเ่ กีย่ วของ เขารวมประชุมเพื่อตอบคำถาม และใหขอมูลรายละเอียดในที่ประชุม
Annual Report ‘ 2008
[ 53 ]
• ในการลงคะแนนและนับคะแนนเสียง บริษัทฯ ไดกระทำอยางเปดเผยและรวดเร็วซึ่งการออกเสียง ลงคะแนน บริษทั ฯ จะนับ 1 หุน เปน 1 เสียง และถือเสียงขางมากเปนมติ ยกเวนกรณีการลงมติพเิ ศษทีก่ ำหนดใหถอื คะแนนเสียง ไมนอ ยกวาสามในสีข่ องจำนวนเสียงทัง้ หมดของผูถ อื หุน ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดบนั ทึก มติที่ประชุมโดยแบงเปนจำนวนเสียงที่เห็นชอบ ไมเห็นชอบ และงดออกเสียงในแตละวาระไวเปนลายลักษณอักษรในราย งานการประชุม และมีการบันทึกคำถาม คำชี้แจง และความคิดเห็นของที่ประชุมไวอยางครบถวน • ภายหลังการประชุมแลวเสร็จบริษทั ฯ ไดจดั ทำรายงานการประชุมทัง้ ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และนำสงตอตลาดหลักทรัพยทันทีโดยมิไดชักชา ตลอดจนเผยแพรผานทางเว็ปไซดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และเว็ปไซดของบริษัทฯ โดยไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวน เพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได
ซึ่งในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2551 ที่ผานมา มีวาระที่สำคัญหลักๆ ไดแก • การอนุมัติงบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด • การอนุมัติการจัดสรรกำไรสุทธิ เพื่อจายเงินปนผลและสำรองตามกฎหมาย • การอนุมัติเงินโบนัสสำหรับคณะกรรมการ • การอนุมัติคาตอบแทนกรรมการ • การอนุมัติและแตงตั้งกรรมการ • การอนุมัติ และแตงตั้งผูสอบบัญชี และการกำหนดคาตอบแทน
หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียมกัน (The Equitable Treatment of Shareholders) 1. บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอผูถือหุน และอำนวยความสะดวกแกผูถือหุนอยางเทาเทียมกันทั้งใน การเขารวมประชุม การไดรับสารสนเทศ และการใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุน ในการเรียกประชุมผูถือหุน ในแตละครั้งบริษัทฯ จะจัดสงหนังสือเชิญประชุม โดยระบุความเห็นของคณะกรรมการ พรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุม แตละวาระใหผถู อื หุน ลวงหนากอนวันประชุมไมนอ ยกวา 7 วัน (หรือเปนไปตามที่ สำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยกำหนด) พรอมทั้งโฆษณาคำบอกกลาวเชิญประชุมในหนังสือพิมพไมนอยกวา 3 วันกอนวันประชุม โดยไมมีการ เพิ่มวาระการประชุมที่ไมไดแจงผูถือหุนทราบลวงหนากอน รวมทั้งเปดโอกาสใหผูถือหุนสงคำถามลวงหนาที่เกี่ยวกับวาระใน การประชุมผานทางเว็บไซตwww.betterworldgreen.com เพื่อใหผูถือหุนมีเวลาเพียงพอในการพิจารณาและศึกษาขอมูล สำหรับการเขารวมประชุมและการลงมติของผูถือหุน 2. บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสรางความเทาเทียมกันใหกับผูถือหุนทุกราย โดยในการดำเนินการประชุม ผูถือหุนแตละครั้ง บริษัทฯ จะใหโอกาสแกผูถือหุนอยางเทาเทียมกันทุกราย โดยกำหนดใหสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเปนไป ตามจำนวนหุนที่ผูถือหุนถืออยู คือ หนึ่งหุนมีสิทธิเทากับหนึ่งเสียง และในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษทั ฯ เปดโอกาสใหผถู อื หุน สามารถมอบฉันทะใหกบั บุคคลหนึง่ บุคคลใดเปนผูร บั มอบอำนาจ และบริษทั ฯ ไดเพิม่ ทางเลือก ใหกบั ผูถ อื หุน ดวยการเสนอใหกรรมการอิสระเปนผูร บั มอบอำนาจจากผูถ อื หุน โดยจะระบุรายชือ่ กรรมการผูร บั มอบอำนาจใน หนังสือมอบฉันทะที่แนบมาพรอมกับหนังสือนัดประชุม 3. บริษัทฯ ไดใหขอมูลแกกรรมการ และผูบริหารเกี่ยวกับหนาที่ที่ผูบริหารตองรายงานการถือหลักทรัพย ในบริษทั ฯ และบทกำหนดโทษตาม พ.ร.บ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 และตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และในกรณีทก่ี รรมการหรือผูบ ริหารมีการซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษทั ฯ จะตองรายงานการถือหลักทรัพยใน บริษทั ฯ ของตนเอง คูส มรส และบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทำการ ใหสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทราบ เพื่อเผยแพรตอ สาธารณะตอไป
[ 54 ]
Annual Report ‘ 2008
4. บริษัทฯ ไดกำหนดมาตรการปองกันการใชขอมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลที่ เกี่ยวของ ซึ่งหมายถึง กรรมการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของที่ไดรับทราบขอมูลภายในที่เปนสาระสำคัญ (รวมทัง้ คูส มรสและบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะของบุคคลดังกลาว) โดยหามบุคคลทีเ่ กีย่ วของทำการซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษทั ฯ กอนที่งบการเงินหรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน และควรรอคอยอยางนอย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปดเผย ขอมูลใหแกสาธารณชนแลว รวมทั้งหามไมใหเปดเผยขอมูลที่เปนสาระสำคัญนั้นตอบุคคลอื่น ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดกำหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝาฝนนำขอมูลภายในไปใชหาประโยชนสวนตน ซึง่ เริม่ ตัง้ แตการตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชัว่ คราวโดยไมไดรบั คาจาง หรือใหออกจากงาน ซึง่ การลงโทษจะพิจารณา จากเจตนาของการกระทำและความรายแรงของความผิดนั้นๆ
หมวดที่ 3 บทบาทของผูมีสวนไดเสีย (The Role of Stakeholders) บริษัทฯ ไดใหความสำคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงานและผูบ ริหารของบริษทั ฯ หรือผูม สี ว นไดเสียภายนอก เชน เจาหนี้ ลูกคา คูแ ขง สังคม เปนตน โดยบริษทั ฯ ตระหนัก ดีวา การสนับสนุนและไดรับขอคิดเห็นจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุมจะเปนประโยชนในการดำเนินงานและการพัฒนาธุรกิจของ บริษัทฯ ดังนั้นบริษัทฯ จะปฏิบัติตามกฎหมายและขอกำหนดที่เกี่ยวของเพื่อใหสิทธิของผูมีสวนไดเสียดังกลาวไดรับการดูแล เปนอยางดี นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังสงเสริมใหมคี วามรวมมือระหวางบริษทั ฯ และกลุม ผูม สี ว นไดเสียแตละกลุม เพือ่ สรางความ สมานฉันทใหเกิดขึ้น ดังแนวทางตอไปนี้ 1) จรรยาบรรณในเรื่องความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทฯ กำหนดนโยบายที่จะไมให กรรมการบริษัท เจาหนาที่บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ แสวงหา ผลประโยชนสวนตนจากบริษัท ดังนี้ - หามกรรมการบริษัทฯ เจาหนาที่บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ประกอบธุรกิจที่มีลักษณะเดียวกับ กิจการของบริษัทฯ หรือเปนธุรกิจที่แขงขันกับบริษัทฯ - กรรมการบริษทั ฯ เจาหนาทีบ่ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ หลีกเลีย่ งการทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงอันอาจ จะกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ - หากรายการนั้นกอใหเกิดประโยชนแกบริษัทฯ หรือไมสามารถหลีกเลี่ยงรายการที่เกี่ยวโยงกันนั้นได กรรมการบริษัทฯ เจาหนาที่บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ผูที่มีสวนไดเสียในรายการนั้น จะตองทำบันทึกเพื่อทราบเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ ตามสายการบังคับบัญชา และกรรมการบริษัทฯ เจาหนาที่บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ “ผูนั้นจะ ตองไมมีสวนในการพิจารณาอนุมัติ” ทั้งนี้ ให “กระทำรายการนั้นเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก” - ไมใชขอ มูลภายในเพือ่ ประโยชนของตนเองในการซือ้ ขายหุน ของบริษทั ฯ หรือใหขอ มูลภายในแกบคุ คล อื่นเพื่อประโยชนในการซื้อขายหุนของบริษัทฯ รวมทั้งไมใชโอกาสหรือขอมูลภายในของบริษัทฯ ในการหาประโยชนสวนตน และในเรื่องการทำธุรกิจที่แขงขันกับบริษัทฯ หรือทำธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง 2) จรรยาบรรณตอผูถือหุน บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดำเนินธุรกิจอยางซื่อสัตยสุจริต ถูกตอง และมีจริยธรรม และจะใชความพยายาม อยางที่สุดที่จะพัฒนากิจการใหเจริญเติบโต และสรางผลตอบแทนที่ดีใหกับผูถือหุนอยางตอเนื่องและยั่งยืน โดยยึดหลักการ ปฏิบัติอยางเสมอภาคเทาเทียมกันตอผูถือหุน
Annual Report ‘ 2008
[ 55 ]
3) จรรยาบรรณตอลูกคา บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของความพอใจของลูกคาที่มีตอความสำเร็จของธุรกิจของบริษัทฯ จึงมี เจตจำนงที่จะดำเนินธุรกิจ อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นตลอดเวลาเพื่อประโยชนสูงสุดตอลูกคาของบริษัทฯ ใหบริการที่มีคุณภาพใหแกลูกคาในราคาที่เหมาะสม เอาใจใสและรับผิดชอบตอลูกคา พัฒนารูปแบบการใหบริการ รักษา ความลับของลูกคา และมีระบบในการรับขอรองเรียนของลูกคาเพื่อรีบดำเนินการหาขอยุติโดยเร็วที่สุด 4) จรรยาบรรณตอคูคา บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะปฏิบตั ติ อ คูค า อยางเสมอภาคและเปนธรรม โดยคำนึงถึงประโยชนสงู สุดของบริษทั ฯ และตั้งอยูบนพื้นฐานของการไดรับผลตอบแทนที่เปนธรรมตอทั้งสองฝาย หลีกเลี่ยงสถานการณที่ทำใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน รวมทั้งปฏิบัติตามพันธะสัญญาใหขอมูลที่เปนจริง รายงานที่ถูกตอง การเจรจาแกปญหาและหาทางออกตั้งอยู บนพื้นฐานของความสัมพันธทางธุรกิจ 5) จรรยาบรรณตอคูแขงขันทางการคา บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอคูแขงทางการคาใหสอดคลองกับหลักสากล ภายใตกรอบแหงกฎหมาย เกี่ยวกับหลักปฏิบัติการแขงขันทางการคา ไมละเมิดความลับ หรือ ลวงรูความลับทางการคาของคูคาดวยวิธีฉอฉล บริษัทฯ ปฏิบัติตามกรอบกติกาการแขงขันทางธุรกิจที่ดี และไมดำเนินธุรกิจที่ทำรายคูแขงขัน 6) จรรยาบรรณตอเจาหนี้
ปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอตกลงที่กำหนดไวในสัญญา
7) จรรยาบรรณตอพนักงาน บริษัทฯ ตระหนักวา พนักงานเปนปจจัยแหงความสำเร็จของการบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ที่มีคุณคายิ่ง จึงเปนนโยบายของบริษัทฯ ที่จะใหการปฏิบัติที่เปนธรรม ทั้งในดานโอกาส ผลตอบแทน การแตงตั้งโยกยาย ตลอดจนการ พัฒนาศักยภาพ มีการปฏิบัติกับพนักงานอยางเทาเทียมไมแบงแยกเชื้อชาติ ศาสนา เพศหญิงหรือเพศชาย บริษัทฯ ใหความเปนธรรม และใหผลตอบแทนที่เหมาะสม ประกอบดวย เงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันสังคม คารักษา พยาบาล การประกันชีวิต เปนตน 8) จรรยาบรรณตอสังคมและสวนรวม มีความรับผิดชอบตอสังคมโดยดำเนินธุรกิจอยางมีจรรยาบรรณเยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพและใหการสนับสนุน กิจกรรมตางๆ ที่เกื้อกูลและสรางสรรคตอสังคม และชุมชน บริษัทฯ มีนโยบายในการสรางความตระหนักและความสำนึกใน การดูแลรักษาสิ่งแวดลอมเพื่อประโยชนตอลูกหลานรุนตอๆ ไป เปนสิ่งที่พนักงานทุกระดับชั้นยึดถือและปฎิบัติกันมาโดย ตลอด โดยเฉพาะการอยูร ว มกัน การพึง่ พาอาศัยกันระหวางบริษทั ฯ กับชุมชนและสังคม จุดเริม่ ตนสำหรับการแบงปนโอกาส ใหกับสังคมและชุมชนนั้น บริษัทฯ คำนึงถึงการสงเสริมความรู การใหโอกาสทางการศึกษา เพราะเปนจุดเริ่มตนของการ พัฒนาวิถชี วี ติ ความเปนอยูข องชุมชนใหเปนไปอยางยัง่ ยืน และสามารถนำไปพัฒนาเพือ่ สรางความแข็งแกรงใหแกชมุ ชนของ ตนเองได
[ 56 ]
Annual Report ‘ 2008
หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส (Disclosure and Transparency) บริษทั ฯ ตระหนักดีถงึ ความสำคัญของการเปดเผยขอมูลทีม่ คี วามถูกตอง ครบถวน และโปรงใส ทัง้ รายงาน ขอมูลทางการเงินและขอมูลทั่วไป ตามหลักเกณฑของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนขอมูลอื่นที่สำคัญที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของบริษัทฯซึ่งลวนมีผล ตอกระบวนการตัดสินใจของผูลงทุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ไดเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ตอผูถ อื หุน นักลงทุน และสาธารณชนผานชองทางและสือ่ การเผยแพรขอ มูลตางๆ ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึงเว็บไซตของบริษัทฯ คือ www.betterworldgreen.com ในสวนของงานดานผูลงทุนสัมพันธนั้น บริษัทฯ ยังไมไดมีการจัดตั้งหนวยงานเฉพาะ แตไดมอบหมายให ฝายบัญชีและการเงินเปนผูรับผิดชอบในการสื่อสารขอมูลที่สำคัญของบริษัทฯ แกนักลงทุน นักวิเคราะห และผูที่สนใจทั่วไป โดยสามารถติดตอทางโทรศัพท 0-2731-0080 หรือทาง e-mail address ที่ bwg@betterworldgreen.com คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูรับผิดชอบตอการดำเนินธุรกิจที่สำคัญแลการกำกับดูแลลกิจการ งบการเงิน รวมของบริษัทฯ และบริษัทฯ ยอย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏตอสาธารณชนในแบบแสดงรายการขอมูลประจำป และรายงานประจำป โดยการจัดทำงบการเงินดังกลาวจะตองเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย และตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีรับอนุญาตที่ไดรับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยเลือกใชนโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ และใชดลุ ยพินจิ อยางระมัดระวัง และประมาณการทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจัดทำ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of the Board of Directors) 1. โครงสรางคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวยบุคคลซึ่งมีความรูความสามารถ โดยเปนผูมีบทบาทสำคัญในการ กำหนดนโยบายและภาพรวมขององคกร ตลอดจนมีบทบาทสำคัญในการกำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามแผนที่วางไวอยางเปนอิสระบริษัทฯ ไดจัดใหมีจำนวนกรรมการที่เหมาะสมกับขนาด ของกิจการ จำนวนไมนอยกวา 5 ทาน โดยปจจุบันคณะกรรมการบริษัทฯ มีจำนวน 9 ทาน ประกอบดวย กรรมการบริษัทฯ ทีเ่ ปนผูบ ริหาร 3 ทาน คิดเปนรอยละ 33.33 ของกรรมการทัง้ หมด และกรรมการทีไ่ มเปนผูบ ริหาร 6 ทาน คิดเปนรอยละ 66.67 ของกรรมการทั้งหมด โดยกรรมการที่ไมเปนผูบริหารจำนวน 3 ใน 6 ทานดังกลาวเปนกรรมการตรวจสอบซึ่งถือเปนตัวแทน ของผูถือหุนในการทำหนาที่กำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ ใหมีความถูกตองและโปรงใส ตามขอบังคับของบริษทั ฯ กำหนดไววา ในการประชุมสามัญประจำปทกุ คราว ใหกรรมการพนจากตำแหนง เปนจำนวนหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมดในขณะนั้น ถาจำนวนกรรมการที่จะพนจากตำแหนงไมอาจแบงออกได พอดีหนึ่งในสาม ก็ใหใชจำนวนที่ใกลเคียงกันกับหนึ่งในสาม แตไมเกินหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด กรรมการ ที่จะตองออกจากตำแหนงในปแรกและปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทฯ นั้น ใหจับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไปใหกรรมการผูที่อยูในตำแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตำแหนง โดยกรรมการซึ่งพนจากตำแหนงแลวนั้นอาจไดรับ เลือกตั้งใหมได นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ยังไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการตางๆ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร เพือ่ ปฏิบตั ิ หนาทีเ่ ฉพาะเรือ่ งและเสนอเรือ่ งใหคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาหรือรับทราบ ซึง่ คณะอนุกรรมการแตละชุดมีขอบเขตอำนาจ หนาที่ตามที่ไดกำหนดไวในอำนาจหนาที่ของคณะอนุกรรมการแตละชุด
Annual Report ‘ 2008
[ 57 ]
บริษทั ฯ ไดแบงแยกบทบาทหนาทีค่ วามรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการบริษทั ฯ กับผูบ ริหารอยางชัดเจน โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ทำหนาที่ในการกำหนดนโยบายและกำกับดูแลการดำเนินงานของผูบริหารในระดับนโยบาย ขณะที่ผูบริหารทำหนาที่บริหารงานของบริษัทฯ ในดานตางๆ ใหเปนไปตามนโยบายที่กำหนด ดังนั้นบริษัทฯ จึงไดแยก ตำแหนงประธานกรรมการ และกรรมการผูจัดการเปน 2 ตำแหนงและไมเปนบุคคลเดียวกัน เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานได อยางโปรงใส มีการถวงดุลอำนาจอยางเพียงพอ ทั้งนี้ในมติการอนุมัติการทำรายการที่สำคัญยังคงตองไดรับการอนุมัติจาก ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผูถือหุนตามแตกรณี นอกจากนี้ อำนาจที่มอบใหคณะกรรมการบริษัทฯ และ กรรมการผูจัดการ เปนการมอบอำนาจที่ไมทำใหบุคคลที่มีสวนไดเสียสามารถอนุมัติรายการใดๆ ที่ตนเอง หรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนของตนเองทำรวมกับบริษัทฯ หรือบริษัทฯ ยอยได ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีเลขานุการบริษทั ฯ ซึง่ มีหนาที่ และความรับผิดชอบเปนไปตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย เชน คำแนะนำดานกฎเกณฑตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรม ของคณะกรรมการ รวมทั้งประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ 2. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบดวยบุคคลทีม่ คี วามรู มีทกั ษะและความเชีย่ วชาญและมีภาวะผูน ำซึง่ เปน ที่ยอมรับ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ จะมีสวนรวมในการกำหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ นโยบายแนวทางในการประกอบ ธุรกิจ และกำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติของที่ประชุมผูถือหุน และเพื่อประโยชนในการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ อยางใกลชิด คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดจัดตั้ง คณะกรรมการชุดตางๆ เพื่อติดตามและดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ 2.1 นโยบายการกำกับดูแลกิจการ บริษัทฯ ไดจัดใหมีนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ เปนลายลักษณอักษรโดยคณะกรรมการ บริษัทฯ จะใหมีการทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจำ นอกจากนี้ บริษัทฯ จะถือปฏิบัติตามกฎ และขอบังคับตางๆ ตามทีส่ ำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กำหนด โดยจะเปดเผยรายงานการกำกับดูแลกิจการไวในรายงานประจำปและแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1) 2.2 จริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ ไดแจงใหกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน (Code of Conduct) ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยนอกจากนี้ ผูบริหารของบริษัทฯ ขอรับรองวา มีจริยธรรม มีความสามารถ มีประสบการณในธุรกิจ มีการบริหารงานดวยความซือ่ สัตยสจุ ริตและระมัดระวัง เพือ่ ผลประโยชนของบริษทั ฯ มีความตั้งใจที่จะดำเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง มีความเขาใจและรับผิดชอบตอสาธารณชน และไมมีลักษณะตองหามตามขอ 17 ของประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ กจ.12/2543 เรือ่ ง การขออนุญาตและการอนุญาตให เสนอขายหุนที่ออกใหม 2.3 ความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทฯ ดำเนินการเพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยไดมีการปรับ โครงสรางธุรกิจในกลุมบริษัทฯ และแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อเขารวมพิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับความจำเปน และความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน ซึ่งหากมีรายการที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนเกิดขึ้น ขัน้ ตอนการทำรายการระหวางกันของบริษทั ฯ และ/หรือ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงทีม่ ใิ ชการดำเนินการคาตามปกติหรือเปน ไปตามเงื่อนไขการคาทั่วไป จะตองนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยกรรมการ และ/หรือ บุคคลทีม่ สี ว นไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในรายการระหวางกันจะไมสามารถมีสทิ ธิออกเสียงในการอนุมตั ิ รายการระหวางกันนัน้ ได และหากรายการระหวางกันเขาขายตามขอบังคับ ประกาศ คำสัง่ ขอกำหนด หรือกฎเกณฑของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย บริษัทฯ จะปฏิบัติตามขอกำหนดดังกลาวอยางเครงครัด
[ 58 ]
Annual Report ‘ 2008
2.4 ระบบการควบคุมภายใน บริษัทฯ ใหความสำคัญตอระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน เพื่อใหเกิด ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน โดยบริษทั ฯ มีการกำหนดภาระหนาทีแ่ ละอำนาจในการดำเนินการของผูบ ริหารและผูป ฏิบตั งิ าน ไวเปนลายลักษณอกั ษรอยางชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสนิ ของบริษทั ฯ ใหเกิดประโยชน และมีการแบงแยกหนาที่ ผูป ฏิบตั งิ าน และผูต ดิ ตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน เพือ่ ใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม บริษัทฯ กำหนดใหมีฝายตรวจสอบภายในเพื่อทำหนาที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมทาง การเงินที่สำคัญของบริษทั ฯ ใหดำเนินไปในแนวทางทีก่ ำหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ และเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดที่ เกีย่ วของกับบริษทั ฯ ควบคุมระบบภายในและตรวจสอบรายการทีส่ ำคัญอยางสม่ำเสมอ และจะรายงานผลการตรวจสอบโดย ตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ทำใหฝายตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ สามารถตรวจสอบและถวงดุลไดอยางเต็มที่ 2.5 การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ มีการกำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจนและสามารถวัดผลการ ดำเนินงานไดโดยฝายบริหาร จะมีการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานจริงกับเปาหมายที่กำหนดไวเปนประจำ โดยมีการประเมินปจจัยความเสี่ยงทั้งที่มา จากภายนอกและภายใน วิเคราะหปจจัยที่เปนสาเหตุและมีการกำหนดมาตรการในการติดตามเหตุการณที่เปนสาเหตุของ ปจจัยความเสีย่ ง มาตรการในการลดความเสีย่ ง รวมทัง้ มอบหมายใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของติดตามความเสีย่ งนัน้ อยางตอเนือ่ ง และรายงานความคืบหนาตอผูบังคับบัญชา 2.6 รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูรับผิดชอบตอการดำเนินธุรกิจที่สำคัญและการกำกับดูแลกิจการงบการเงิน รวมของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย และสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏตอสาธารณชนในแบบแสดงรายการขอมูลประจำปและ รายงานประจำป โดยการจัดทำงบการเงินดังกลาวจะเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย และตรวจสอบ โดยผูสอบบัญชีรับอนุญาตที่ไดรับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยเลือก นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ และใชดลุ ยพินจิ อยางระมัดระวัง และประมาณการทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจัดทำ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ ไดจัดใหมีการ ดำรงรักษาไวซง่ึ ระบบควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล เพือ่ ใหมน่ั ใจไดอยางมีเหตุผลวาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมคี วามถูกตอง ครบถวน และเพื่อปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่ไมเปนผู บริหารและเปนอิสระอยางเพียงพอ เปนผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน รวมทัง้ ไดแตงตัง้ คณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบดวยกรรมการอิสระ และผูบ ริหารระดับสูง เปนผูด แู ลรับผิดชอบ พิจารณาความเสี่ยงในระบบงานตางๆ ของบริษัทฯ 3. การประชุมคณะกรรมการ ตามขอบังคับของบริษทั ฯ คณะกรรมการมีกำหนดประชุมอยางนอย 3 เดือนตอครัง้ และอาจมีการประชุม พิเศษเพิ่มเติมตามความจำเปน มีการจัดสงหนังสือนัดประชุมไปยังกรรมการลวงหนาไมนอยกวา 7 วันกอนวันประชุม เวนแต ในกรณีจำเปนรีบดวนเพือ่ รักษาสิทธิหรือประโยชนของบริษทั ฯ ซึง่ ในการประชุมทุกคราวจะมีการกำหนดวาระการประชุมทีช่ ดั เจน มีเอกสารประกอบการประชุมทีค่ รบถวนเพียงพอ โดยจัดสงใหกบั คณะกรรมการลวงหนา เพือ่ ใหคณะกรรมการไดมเี วลาศึกษา ขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม โดยที่กรรมการทุกทานสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นไดอยางเปดเผย และมีประธานที่ประชุมเปนผูประมวลความเห็นและขอสรุปที่ไดจากการประชุม รายงานการประชุมจะถูกจัดทำเปน ลายลักษณอักษรภายหลังมีการประชุมเสร็จ และหลังจากที่ผานการรับรองจากที่ประชุมก็จะถูกเก็บไวเพื่อใหกรรมการและ
Annual Report ‘ 2008
[ 59 ]
ผูมีสวนเกี่ยวของสามารถตรวจสอบได ในการประชุม ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการเปนผูรวมกันกำหนดวาระการ ประชุมและพิจารณาเรือ่ งเขาวาระการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยเปดโอกาสใหกรรมการแตละทานสามารถเสนอเรือ่ ง ตางๆ เพื่อเขารับการพิจารณาเปนวาระการประชุมได ในการพิจารณาเรือ่ งตางๆ ประธานกรรมการ ซึง่ ทำหนาทีเ่ ปนประธานในทีป่ ระชุมจะเปดโอกาสใหกรรมการ ทุกทานสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ โดยในบางวาระอาจมีผบู ริหารระดับสูงเขารวมประชุมดวยเพือ่ ใหรายละเอียด ขอมูลที่เปนประโยชนเพิ่มเติมในฐานะผูที่เกี่ยวของ รวมทั้งจะไดรับทราบนโยบายโดยตรงเพื่อใหสามารถนำไปปฏิบัติได อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ในการลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ใหถือมติของเสียงขางมาก โดยใหกรรมการคน หนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง โดยกรรมการที่มีสวนไดเสียจะไมเขารวมประชุมและ /หรือไมใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น และถาคะแนนเสียงเทากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด ในป 2551 บริษัทฯ ไดจัดประชุมคณะกรรมการทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยมีรายละเอียดการเขารวมประชุมของ กรรมการแตละทาน ดังนี้ รายชื่อ 1. นพ.ดร.วิชาญ 2. ดร.ธรรมนูญ 3. นายบุญญาบารมี 4. นางนารถฤดี 5. นายสุวัฒน 6. นายอัครวิทย 7. นายวรดิศ 8. นายสุทัศน 9. นางสาวพชรพร 10.นางทัศนีย
วิทยาศัย อานันโทไทย สวางวงศ ธรรมวัน เหลืองวิริยะ ขันธแกว ธนภัทร บุณยอุดมศาสตร อุนศรี 1/ ทองดี 2/
ตำแหนง
การเขารวมประชุม (ครั้ง)
ประธานกรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการบริษัท กรรมการและเลขานุการบริษัท
5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 4/5 1/5
หมายเหตุ : 1/ นางสาวพชรพร อุนศรี พนจากตำแหนงกรรมการ และเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2551 2/ นางทัศนีย ทองดี เขารับตำแหนงกรรมการและเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551
ทั้งนี้ ในการประชุมแตละครั้ง บริษัทฯ ไดจัดสงเอกสารประกอบวาระการประชุมลวงหนาเพื่อใหกรรมการ บริษัทฯ มีเวลาที่จะศึกษาขอมูลในเรื่องตางๆ อยางเพียงพอ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ แตละครั้ง เลขานุการ คณะกรรมการไดเขารวมการประชุมดวย โดยเปนผูบ นั ทึกรายงานการประชุม และจัดสงใหประธานกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา ลงลายมือชื่อรับรองความถูกตอง โดยเสนอใหที่ประชุมรับรองในวาระแรกของการประชุมครั้งถัดไป รวมทั้งเปนผูจัดเก็บขอมูล หรือเอกสารเกี่ยวกับการประชุมตางๆ เพื่อสะดวกในการสืบคนอางอิง
[ 60 ]
Annual Report ‘ 2008
4. คาตอบแทน บริษทั ฯ ไดมกี ารแตงตัง้ คณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน เพือ่ ทำหนาทีพ่ จิ ารณาโครงสราง คาตอบแทนกรรมการ ไดแก คาตอบแทน คาเบี้ยประชุม บำเหน็จ โบนัส สวัสดิการ และผลประโยชนตอบแทนอื่นๆ ที่มีความ ชัดเจนและโปรงใส และนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และที่ประชุมผูถือหุน โดยใหคาตอบแทนที่เหมาะสมกับ หนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการแตละทาน และจูงใจพอที่จะสามารถรักษากรรมการที่มีความรูความสามารถไวได สำหรับการจายคาตอบแทนใหแกฝา ยบริหาร คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดมกี ารกำหนดใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม และใหสอดคลอง กับการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทานทั้งนี้ บริษัทฯ กำหนดใหมีการเปดเผยคาตอบแทนที่จายใหแกกรรมการและผูบริหาร ตามแบบที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกำหนด 5. การพัฒนากรรมการและผูบ ริหาร คณะกรรมการมีนโยบายสงเสริมและอำนวยความสะดวกใหมกี ารฝกอบรมและการใหความรูแ กกรรมการ ผูเกี่ยวของในระบบการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เปนตน เพื่อใหมีการ ปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง และในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการหรือแตงตั้งกรรมการใหม ฝายจัดการ จะจัดใหมเี อกสารและขอมูลทีเ่ ปนประโยชนตอ การปฏิบตั หิ นาทีข่ องกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมกี ารแนะนำลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหแกกรรมการใหม 6. การปองกันการนำขอมูลภายในไปใชประโยชนของผูบ ริหาร บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการและผูบริหารในการนำขอมูลภายในของบริษัทฯ ซึ่งยังไมเปด เผยตอสาธารณชนไปใชเพื่อแสวงหาประโยชนสวนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย ดังนี้ - ใหความรูแกกรรมการรวมทั้งผูบริหารฝายตางๆ เกี่ยวกับหนาที่ที่ตองรายงานการถือครองหลักทรัพย ของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตอ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย ตาม มาตรา 59 และบทกำหนดโทษ ตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย พ.ศ. 2535 - บริษทั ฯ กำหนดใหกรรมการและผูบ ริหารรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพยตอ สำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ภายในวันทำการถัดไปจากวันที่เกิดรายการเปลี่ยนแปลง และจัดสงสำเนารายงานนี้ใหแกบริษัทในวันเดียวกับวัน ที่สงรายงานตอสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย - บริษทั ฯ จะกำหนดใหกรรมการ ผูบ ริหาร และผูป ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของทีไ่ ดรบั ทราบขอมูลภายในทีเ่ ปนสาระ สำคัญ ซึง่ มีผลตอการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย จะตองระงับการซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษทั ฯ กอนทีง่ บการเงินหรือขอมูล ภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน และควรรอคอยอยางนอย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปดเผยขอมูลใหแกสาธารณชนแลว รวมทั้งหามไมใหเปดเผยขอมูลที่เปนสาระสำคัญนั้นตอบุคคลอื่น บริษัทฯ กำหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝาฝนนำขอมูลภายในไปใชหาประโยชนสวนตนซึ่งเริ่มตั้งแต การตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรือใหออกจากงาน ทั้งนี้ การลงโทษจะพิจารณาจาก เจตนาของการกระทำและความรายแรงของความผิดนั้นๆ
Annual Report ‘ 2008
[ 61 ]
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัทของ บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) รวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำป งบการเงินดังกลาวจัด ทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ำเสมอ และใช ดุลยพินจิ อยางระมัดระวังและประมาณการทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจัดทำ รวมทัง้ ใหมกี ารเปดเผยขอมูลทีส่ ำคัญอยางเพียงพอในหมาย เหตุประกอบงบการเงิน เพื่อใหเปนประโยชนตอผูถือหุน และนักลงทุนทั่วไปอยางโปรงใส คณะกรรมการบริษัทฯ ไดจัดใหมี และดำรงรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช เชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา การบันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน ของบริษัทฯ ปองกันมิใหเกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติ คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดจดั ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวย กรรมการอิสระ และเปนกรรมการ ที่ไมเปนผูบริหาร เพื่อชวยกำกับดูแลเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน โดยติดตาม ประเมินผล รวมใหความเห็นเพิ่มเติม และรายงานตอคณะกรรมการเกี่ยวกับผลการตรวจสอบของบริษัทฯ ซึ่งความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ ไดปรากฏอยูใ นรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ไดแสดงไวในรายงานประจำป ฉบับนี้แลว งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท ไดรับการตรวจสอบโดยบริษัท กรินทร ออดิท จำกัด ซึ่งเปน ผูส อบบัญชีอสิ ระ ในการตรวจสอบนัน้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดสนับสนุนขอมูลและเอกสารตางๆ เพือ่ ใหผสู อบบัญชีสามารถ ตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นไดตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผูส อบบัญชีไดปรากฏอยูใ นรายงานผูส อบบัญชี ซึ่งไดแสดงไวในรายงานประจำปฉบับนี้แลว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นรวมกันวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ อยูในระดับที่นาพอใจ สามารถสรางความเชือ่ มัน่ ไดวา งบการเงินประจำป 2551 ของ บมจ. เบตเตอร เวิลด กรีน มีความเชือ่ ถือได โดยไดปฏิบตั ติ าม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปและปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายและกฎระเบียบอื่นที่เกี่ยวของ
[ 62 ]
(นพ.ดร.วิชาญ วิทยาศัย) ประธานกรรมการ
Annual Report ‘ 2008
(นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ) กรรมการผูจัดการ
รายการระหวางกัน 1. ลักษณะความสัมพันธ
บริษัทมีการทำรายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตางๆ โดยรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นนั้น เปนการ ทำรายการกับผูถือหุนและ/หรือผูบริหารของบริษัท รวมถึงการทำรายการกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยงเปนผูถือหุนและ/หรือผูบริหาร ซึ่งสามารถสรุปลักษณะความสัมพันธไดดังนี้ บุคคลที่อาจมีความขัดแยง
ลักษณะความสัมพันธ
นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ
เปนกรรมการ และเปนผูถือหุนใหญของบริษัท
นายวันชัย เหลืองวิริยะ
เปนอดีตกรรมการ และเปนผูถือหุนใหญของบริษัท
คณะบุคคล KA. Consultion (“K.A.”)
นางสาวกมลา เหลืองวิริยะ ซึ่งเปนนองสาวของ นายเอกรินทร เหลืองวิริยะ นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ และนายวันชัย เหลืองวิริยะ เปนหนึ่ง ในผูรวมคณะบุคคล
2. ลักษณะของรายการระหวางกัน บริษัทและบริษัทยอยมีการทำรายการระหวางกันอันเนื่องมาจากการดำเนินธุรกิจกับบุคคล ที่อาจมีความ ขัดแยง ซึ่งสามารถสรุปลักษณะและมูลคาของการทำรายการระหวางกัน ไดดังนี้ • รายการค้ำประกันเงินกูยืมธนาคาร
บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง
ลักษณะรายการ
นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ และนายสุทัศน บุณยอุดมศาสตร
ค้ำประกันเงินกูยืมเบิก เกินบัญชีและตัว๋ สัญญา ใชเงินธนาคารพาณิชย ใหแกบริษัท
นายสุวัฒน เหลืองวิริยะ และนายวันชัย เหลืองวิริยะ
ค้ำประกันเงินกูย มื ระยะ ยาวธนาคารพาณิชยให แกบริษัท
มูลคาของเงิน กูยืมคงคาง (ลานบาท) ณ 31 ธ.ค.2551
ความจำเปน และความสมเหตุสมผลของ รายการ และ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
65.00
เปนการค้ำประกันรวมกับโฉนดที่ดินและสิ่งปลูกสราง และเครือ่ งจักรของบริษทั วงเงินกูย มื รวม 180 ลานบาท เพือ่ ใชสำหรับเปนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท
120
เป น การค้ ำ ประกั น ร ว มกั บ โฉนดที ่ ด ิ น ของบริ ษ ั ท วงเงินกูยืมรวม 37 ลานบาท เพื่อใชสำหรับโครงการปรับ คุณภาพสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวเพื่อเปนวัตถุดิบและ เชื้อเพลิงทดแทน ทั้งนี้ในเดือนมิถุนายน 2551 บริษัทฯ ได ชำระคืนเงินตนคงคางของวงเงินกูยืมดังกลาวทั้งจำนวน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว า รายการดั ง กลาวมีความจำเปนและสมเหตุสมผล เนื่องจากเปนเงื่อน ไขของการกูยืมเงินของธนาคารพาณิชย ซึ่งการค้ำประกัน เงินกูย มื ดังกลาวกอใหเกิดผลประโยชนตอ บริษทั และบุคคล ทั้งสามมีนโยบายใหการสนับสนุนการกูยืมเงินของบริษัท โดยไมคดิ คาธรรมเนียม ค้ำประกันเงินกูยืม Annual Report ‘ 2008
[ 63 ]
บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง
ลักษณะรายการ
มูลคาของเงิน กูยืมคงคาง (ลานบาท) ณ 31 ธ.ค.2551
ความจำเปน และความสมเหตุสมผลของ รายการ และ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั ้ ง นี ้ ในอนาคตหากบริ ษ ั ท มี ค วามจำเป น ในการ ทำรายการเพิ่มเติมคณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณา ความเหมาะสมเปนกรณีๆ ไป โดยในปจจุบันนายสุวัฒน เหลืองวิริยะ และนายวันชัย เหลืองวิริยะ และนายสุทัศน บุณยอุดมศาสตร ซึง่ เปนผูถ อื หุน ใหญ และหรือกรรมการบริษทั มีนโยบายใหการสนับสนุนการกูยืมเงินของบริษัทโดยไม คิดคาธรรมเนียม ค้ำประกันเงินกูยืม
• รายการจัดจางที่ปรึกษา
บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง คณะบุคคล KA. Consultion (“K.A.”)
[ 64 ]
Annual Report ‘ 2008
ลักษณะรายการ
มูลคา รายการ (ลานบาท) ปี 2551
คาจางที่ปรึกษา
0.36
ความจำเปน และความสมเหตุสมผลของราย การ และ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ในเดือน มิถุนายน 2549 บริษัทวาจางให K.A. เปน ที ่ ป รึ ก ษางานด า นการพั ฒ นาระบบงาน โดยมี ข อบเขต การใหบริการ ไดแก การใหขอ คิดเห็นและคำแนะนำเกีย่ วกับ ขอปฏิบัติทาง ระบบคอมพิวเตอร รวมถึงการใหบริการ ดานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ โดยสัญญามีกำหนด 1 ป อัตราคาจาง เดือนละ 30,000 บาท และใน เดือนมิถนุ ายน 2550 บริษัท ทำสัญญาวาจางตอไปอีก 1 ป ในอัตราคาจางเดิม และใน เดือนมิถุนายน 2551 บริษัทฯ ทำสัญญาวาจางตอไปจนถึง 31 ธันวาคม 2551 ในอัตราคาจางเดิม ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา รายการ ดังกลาวมีความจำเปนและสมเหตุสมผล เนือ่ งจากทีป่ รึกษา เปนผูที่มีประสบการณ ความรู และความชำนาญในดาน คอมพิวเตอร โดยเปนผูดำเนินการนำโครงการสารสนเทศ เกีย่ วกับโปรแกรมสารสนเทศมาใชกบั บริษทั รวมทัง้ คัดเลือก ผูด ำเนินงาน ทีมงานในการเขียนโปรแกรมและใหคำปรึกษา ตลอดจนเปน ผูค วบคุมและดูแลระบบสารสนเทศของบริษทั
3. ความจำเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันที่เกิดขึ้น มีความจำเปนและความสมเหตุสมผลของการทำรายการเพื่อกอใหเกิดผล ประโยชนสูงสุดตอบริษัท โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดรวมกันพิจารณารายการระหวางกันที่เกิดขึ้น โดยพิจารณาถึงความ จำเปนของการเขาทำรายการและความสมเหตุสมผลของอัตราทีค่ ดิ ระหวางกัน พรอมทัง้ เปดเผยประเภทและมูลคาของรายการ ระหวางกันของบริษทั และ/หรือบริษทั ยอย กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงภายใตประกาศและขอบังคับของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
4. มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน
กรณีทม่ี รี ายการระหวางกันของบริษทั และ/หรือบริษทั ยอย กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจำเปนในการเขาทำรายการและความเหมาะสมทางดานราคา ของรายการนัน้ ๆ โดยพิจารณาเงือ่ นไขตางๆ ใหเปนไปตามลักษณะการดำเนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบ กับราคาของบุคคลภายนอกหรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชำนาญในการพิจารณารายการระหวาง กันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทและ/หรือบริษัทยอยจะจัดใหผูเชี่ยวชาญอิสระเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพือ่ นำไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือผูถ อื หุน ตามแตกรณี โดยกรรมการผูม สี ว น ไดเสียจะไมมสี ทิ ธิออกเสียงในรายการดังกลาว อีกทัง้ จะมีการเปดเผยรายการระหวางกันในหมายเหตุประกอบงบการเงินของ บริษัทและ/หรือบริษัทยอย
5. นโยบายและแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต รายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น กรรมการจะตองปฏิบัติตามระเบียบตางๆ ที่ไดกำหนดขึ้น และกรรมการจะตองไมอนุมัติรายการใดๆ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัท และ/หรือบริษัทยอย รวมทั้งไมมีการมอบอำนาจใหบุคคลอื่นกระทำการแทนในรายการที่มีความขัดแยงดังกลาว และจะตอง เปดเผยรายการดังกลาวตอคณะกรรมการบริษทั และ/หรือบริษทั ยอยเพือ่ พิจารณา ซึง่ บริษทั และ/หรือบริษทั ยอยจะตองปฏิบตั ิ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ขอกำหนดเกีย่ วกับการเปดเผยขอมูลการทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการไดมาหรือจำหนายไปซึง่ ทรัพยสนิ ของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย รวมทั้งเปนไปตามมาตรฐานบัญชี เรื่องการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข องกันซึ่งกำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ ในกรณีที่เปนรายการที่เกิดขึ้นเปนปกติ บริษัทและ/หรือบริษัทยอยไดกำหนดหลักเกณฑ และแนวทาง ในการปฏิบัติใหเปนไปตามลักษณะการคาโดยทั่วไป โดยอางอิงกับราคาและเงื่อนไขที่เหมาะสมและยุติธรรม สมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได และนำเสนอใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูพิจารณาอนุมัติในหลักเกณฑ และแนวทางในการปฏิบัติ ดังกลาว ในอนาคต บริษัทและบริษัทยอยไมมีนโยบายในการใหเงินกูยืมหรือเงินทดรองจายแกบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนและหรือบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ยกเวนแตเปนไปตามระเบียบของบริษัทหรือบริษัทยอย ที่เกี่ยวกับการใหสวัสดิการพนักงานหรือตามระเบียบอำนาจอนุมัติในการบริหารงาน หรือการใหความชวยเหลือทางการเงิน แกนติ บิ คุ คลทีบ่ ริษทั หรือบริษทั ยอยถือหุน อยูต ามสัดสวนการถือหุน ทัง้ นี้ ในกรณีทม่ี เี หตุจำเปนทีเ่ กีย่ วของกับการดำเนินธุรกิจ ของบริษทั หรือบริษทั ยอย อันอาจทำใหบริษทั หรือบริษทั ยอยพิจารณาการใหเงินกูย มื หรือเงินทดรองจาย บริษทั และบริษทั ยอย จะปฏิบัติใหเปนไปตามขอกำหนดที่เกี่ยวของของสำนักงาน ก.ล.ต. และหรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
Annual Report ‘ 2008
[ 65 ]
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน โดยเปนผูทรงคุณวุฒิ และมีความเชี่ยวชาญในสายการบริหารองคกร กฎหมาย บัญชีและการเงิน ซึ่งกรรมการตรวจสอบทุก ทานมิไดเปนผูบริหาร พนักงาน หรือที่ปรึกษาใดๆ ทั้งในบริษัทฯ และในกลุมบริษัทดังนี้ 1. นายธรรมนูญ อานันโทไทย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายบุญญาบารมี สวางวงศ กรรมการตรวจสอบ 3. นางนารถฤดี ธรรมวัน กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบตั ติ ามหนาที่ และความรับผิดชอบตามทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ตามที่ระบุในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ อันสอดคลองกับขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในรอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวม 6 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกทานเขารวมครบทุกครั้ง โดยไดเชิญผูบริหารที่เกี่ยวของ และผูสอบบัญชีเขารวมประชุมตามวาระอันควร ผลการ สอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสำคัญ สรุปไดดังนี้ 1. พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำป ที่ผานการสอบทานและตรวจสอบ จากผูสอบบัญชี และใหความเห็นวางบการเงินของบริษัทฯ มีความเชื่อถือไดโดยปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป พรอมการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ 2. พิจารณาเสนอชือ่ ผูส อบบัญชีฯ และคาตอบแทน กอนนำเสนอกรรมการบริษทั ฯ และผูถ อื หุน เพือ่ อนุมตั ิ โดยการพิจารณาไดคำนึงถึงความเปนอิสระ ความรอบรูทางธุรกิจ คุณภาพงาน และคาตอบแทน รวมทั้งเชิญผูสอบบัญชี เขารวมประชุม โดยไมมฝี า่ ยจัดการเขารวมประชุม สำหรับงบการเงินในรอบระยะเวลาบัญชีป 2551 และ 2552 คณะกรรมการ ตรวจสอบได พ ิ จ ารณาแต ง ตั ้ ง ให น ายชนั น ท ก รณ สถิ ร ประภากุ ล ผู ส อบบั ญ ชี ร ั บ อนุ ญ าตเลขที ่ 6554 และ/หรื อ นายเจษฎา หังสพฤกษ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3759 สังกัด บริษัท กรินทร ออดิท จำกัด เปนผูสอบบัญชีบริษัทฯ 3. พิจารณาสอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยสอบถามขอมูลจากฝายตรวจสอบภายใน เกี่ยวกับการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ดวยการสอบทานความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุม ภายใน 5 ดาน ตามแนว COSO อันไดแก องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมปฏิบัติงานของ ฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล และระบบการติดตาม พบวาระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสมกับสภาพธุรกิจ 4. พิจารณาการทำรายการระหวางกันของบริษัทฯ ใหเปนไปตามระเบียบปฏิบัติ ซึ่งรายการที่เกิดขึ้นใน การทำรายการระหวางกันเปนไปอยางปกติ 5. สอบทานในเรื่องตางๆ ใหเปนไปตามขอกำหนดและระเบียบ เพื่อการเสริมสรางระบบการกำกับดูแล กิจการทีด่ ี (Corporate Governance) ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบในป 2551 ไดรับความรวมมือดวยดีจากทุกฝายที่เกี่ยวของ ซึ่งทางคณะกรรมการตรวจสอบ ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
[ 66 ]
Annual Report ‘ 2008
( ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 20 กุมภาพันธ 2552
รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอ ผูถือหุนบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน)
ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดง การเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม และงบกระแสเงินสดรวม สำหรับแตละปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และงบกระแสเงินสด สำหรับแตละปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) ซึง่ ผูบ ริหารของกิจการเปนผูร บั ผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปน ผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวาง แผนและปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือ ไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบ การเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปน สาระสำคัญ ซึง่ ผูบ ริหารเปน ผูจ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงิน โดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานรวม และกระแสเงินสดรวม สำหรับแตละปสน้ิ สุดวันเดียวกันของบริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสด สำหรับ แตละปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไป
(นายเจษฎา หังสพฤกษ) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3759 บริษัท กรินทร ออดิท จำกัด กรุงเทพมหานคร วันที่ 20 กุมภาพันธ 2551
Annual Report ‘ 2008
[ 67 ]
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หนวย :บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ - สุทธิ - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัทอื่น คาธรรมเนียมการใชสิทธิจายลวงหนา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอยตามวิธีทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ-สุทธิ เงินฝากติดภาระค้ำประกัน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย
[ 68 ]
Annual Report ‘ 2008
5
105,490,822
285,503,024
57,682,472
276,192,530
4.2 6 20
161,554,722 707,978 11,853,677 279,607,199
118,277,615 10,062,275 413,842,914
8,547,525 140,227,216 4,339,678 210,796,891
11,602,181 98,189,417 7,252,321 393,236,449
7 8 22
647,322,518 30,056,771 65,000 677,444,289
500,752,266 1,139,465 421,094 502,312,825
173,391,200 584,193,660 1,570,490 65,000 752,788,319
2,998,200 487,186,083 1,139,465 421,094 491,744,842
957,051,488
916,155,739
970,017,241
884,981,291
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย :บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืม ระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัทอื่น เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยจากบริษัทที่เกี่ยว ของกัน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภา ยในหนึ่งป หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ - สุทธิ ประมาณการหนี้สินคาปดหลุมฝงกลบ รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน
9
126,406,451
65,000,000
126,406,451
65,000,000
4.2
47,256,185
600,000 52,840,294
17,449,923 37,604,636
3,419,368 46,850,755
4.2
-
2,171,600
-
-
10
-
4,626,000
-
4,626,000
11
7,068,150
2,185,292
3,358,602
746,122
32,548,097 213,278,883
36,000,502 163,423,688
23,629,405 208,449,017
32,682,597 153,324,842
11,208,990 964,322
30,674,000 4,027,385 8,996,832
12,173,312 225,452,195
43,698,217 207,121,905
7,815,583 964,322 8,779,905 217,228,922
30,674,000 1,735,785 8,996,832 41,406,617 194,731,459
10 11 8
Annual Report ‘ 2008
[ 69 ]
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย :บาท)
หมายเหตุ
สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 377,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 320,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนที่ออกและชำระแลว หุนสามัญ 320,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุน สวนของเงินลงทุนที่ต่ำกวามูลคาตามบั ญชีสุทธิ ของบริษัทยอย ณ วันซื้อหุน กำไรสะสม - จัดสรรสำรองตามกฎหมาย - ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน
[ 70 ]
Annual Report ‘ 2008
งบการเงินรวม 2551 2550
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
12 377,000,000
377,000,000 320,000,000
320,000,000
320,000,000
320,000,000
320,000,000
320,000,000
153,400,000
153,400,000
153,400,000
153,400,000
2.2
5,147,753
5,147,753
-
-
13
16,964,907 232,759,210 728,271,870 3,327,423 731,599,293
11,117,982 219,355,031 709,020,766 13,068 709,033,834
957,051,488
916,155,739
16,964,907 262,423,412 752,788,319 752,788,319 970,017,241
11,117,982 205,731,850 690,249,832 690,249,832 884,981,291
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หนวย :บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
รายได รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย
4.1 4.1
607,830,257 3,236,650 611,066,907
579,325,993 1,258,031 580,584,024
554,089,581 26,224,228 580,313,809
535,887,691 23,054,035 558,941,726
ตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนดอกเบีย้ จายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรสุทธิ
4.1 4.1
362,443,992 163,597,306 526,041,298 85,025,609 (7,654,374) (7,012,776) 70,358,459
352,821,264 106,774,610 459,595,874 120,988,150 (8,041,267) (6,085,885) 106,860,998
367,896,512 85,779,100 453,675,612 126,638,197 (7,424,769) (2,274,941) 116,938,487
353,506,949 91,924,738 445,431,687 113,510,039 (7,931,571) (4,429,304) 101,149,164
73,651,104 (3,292,645)
106,857,571 3,427
116,938,487
101,149,164
70,358,459
106,860,998
0.22
0.43
0.37
0.41
320,000,000
247,386,301
320,000,000
247,386,301
การแบงปนกำไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย อหุน กำไรต ) กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) จำนวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ำ หนัก (หุน )
Annual Report ‘ 2008
[ 71 ]
[ 72 ]
Annual Report ‘ 2008
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
320,000,000
-
13
จัดสรรสำรองตามกฎหมาย
-
14
320,000,000
กำไรสุทธิ
เงินปนผลจาย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
-
13
จัดสรรสำรองตามกฎหมาย
112,000,000 -
12
กำไรสุทธิ
หุนสามัญเพิ่มระหวางงวด
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550
153,400,000
-
-
-
153,400,000
-
-
153,400,000
16,964,907
5,846,925
-
-
11,117,982
5,057,458
-
-
262,423,412
(5,846,925)
116,938,487
(54,400,000)
205,731,850
(5,057,458)
101,149,164
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม หมายเหตุ ทุนเรือนหุนที่ออก สวนเกินมูลคาหุน จัดสรรสำรอง และชำระแลว ยังไมไดจัดสรร ตามกฎหมาย 208,000,000 6,060,524 109,640,144
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
752,788,319
-
116,938,487
(54,400,000)
690,249,832
-
101,149,164
265,400,000
323,700,668
รวม
(หนวย :บาท)
Annual Report ‘ 2008
[ 73 ]
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
-
-
-
320,000,000 153,400,000
-
จัดสรรสำรองตามกฎหมาย
13
-
กำไรสุทธิ
-
เงินปนผลจาย
14
-
สวนของผูถ อื หุน สวนนอยของบริษทั ยอยตัง้ ใหม
-
320,000,000 153,400,000
-
-
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
-
จัดสรรสำรองตามกฎหมาย
13
-
กำไรสุทธิ
112,000,000 153,400,000
12
หุนสามัญเพิ่มระหวางงวด
-
208,000,000
สวนเกิน มูลคาหุน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550
ชำระแลว
หมาย ทุนเรือนหุนที่ เหตุ ออกและ
- 265,400,000
5,057,458 (5,057,458)
-
- 106,857,571 106,857,571
-
6,060,524 117,554,918 336,763,195
-
73,651,104 5,846,925 (5,846,925)
-
-
6,607,000
3,327,423 731,599,293
-
70,358,459
- (54,400,000)
6,607,000
13,068 709,033,834
-
3,427 106,860,998
- 265,400,000
9,641 336,772,836
73,651,104 (3,292,645)
- (54,400,000) (54,400,000)
-
5,147,753 16,964,907 232,759,210 728,271,870
-
-
-
-
5,147,753 11,117,982 219,355,031 709,020,766
-
-
-
5,147,753
รวม
(หนวย :บาท)
สวนของเงิน ลงทุนที่ต่ำก รวมสวนของ วามูลคาตาม สวนของผูถือ ผูถือหุนบริษัท จั ด สรรสำรอง บัญชีของบ หุน สวนนอย ยังไมไดจัดสรร ใหญ ตามกฎหมาย ริษัทยอย ณ วันซื้อหุน
งบการเงินรวม กำไรสะสม
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม 2551 2550 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ
(หนวย :บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
73,651,104
106,857,571
116,938,487
101,149,164
82,244,073 (123,000) (422,975) (1,443,125) 7,654,374 7,012,776 (3,292,645)
74,332,984 2,243,716 (100,000) (859,837) (215,925) 8,041,267 6,085,885 3,427
65,815,434 (2,796,733) (208,107) 7,424,768 2,274,941 -
71,072,184 2,243,716 (859,837) (208,389) 7,931,571 4,429,304 -
165,280,582
196,389,088
189,448,790
185,757,713
3,054,656 (43,154,107) (17,865,742) (42,037,800) - 15,210,000 (6,320,000) (1,399,119) (4,348,629) 2,995,038 356,094 (415,094) 356,094
(7,481,511) (14,421,922) 15,210,000 (3,552,944) (415,094)
รายการปรับปรุงกระทบกำไรสุทธิเปน เงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดำเนินงาน
คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโอนกลับ กำไรจากการจำหนายสินทรัพยถาวร ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไร (ขาดทุน) สวนของผูถ อื หุน สวนนอย กำไรจากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพยดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัทอื่น เงินจายลวงหนาคากอสราง ) คาธรรมเนียมการใชสิทธิจายลวงหนา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง)
เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย
- บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัทอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดจายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน
[ 74 ]
Annual Report ‘ 2008
(600,000) (5,584,109) (2,290,259) (8,567,205) 97,721,877
400,000 (4,785,863) 10,076,956 (7,334,220) 187,326,496
14,030,555 (9,246,119) (6,023,470) (5,387,056) 147,190,688
(2,828,669) (3,915,688) 9,688,352 (4,529,556) 173,510,681
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม 2551 2550
(หนวย :บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับดอกเบี้ยรับ เงินฝากที่มีภาระค้ำประกันเพิ่มขึ้น เงินสดจายซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยจากกิจการที่เกี่ยวของ เงินจายเพื่อซื้อสินทรัพยถาวร เงินรับจากการจำหนายสินทรัพยถาวร ประมาณการหนี้สินคาปดหลุมฝงกลบลดลง เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน
1,443,125 215,925 208,107 208,389 (28,917,306) (574,315) (431,025) (574,315) - (170,393,000) (2,171,600) (4,800,000) (207,441,679) (131,882,928) (152,504,224) (129,050,370) 1,341,121 985,530 3,277,196 985,530 (8,032,510) (10,828,324) (8,032,510) (10,828,324) (243,778,849) (146,884,112) (327,875,456) (139,259,090)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจายดอกเบี้ยจาย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย มื ระยะสัน้ เพิม่ ขึน้ เงินสดรับคาหุนเพิ่มทุน เงินสดรับคาหุนในบริษัทยอยจากผูถือหุนสวนนอย คาใชจายในการออกหุนทุน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว เงิ นสดจายชำระเงินกูยืมระยะยาว ) จายชำระหนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ เงินปนผลจาย
(6,923,327) (7,758,434) (6,923,327) (7,758,515) 61,406,451 56,004,324 61,406,451 56,004,324 - 272,000,000 - 272,000,000 6,607,000 - (6,600,000) (6,600,000) 1,700,000 35,300,000 1,700,000 35,300,000 (37,000,000) (117,388,647) (37,000,000) (117,388,647) (5,345,354) (1,397,451) (2,608,414) (880,029) (54,400,000) - (54,400,000) เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน (33,955,230) 230,159,792 (37,825,290) 230,677,133 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) (180,012,202) 270,602,176 (218,510,058) 264,928,724 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด 285,503,024 14,900,848 276,192,530 11,263,806 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิน้ งวด 105,490,822 285,503,024 57,682,472 276,192,530
การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดเพิ่มเติม รายการที่ไมกระทบกระแสเงินสด - ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทและบริษัทยอยไดซื้อยานพาหนะมูลคา 16.68 ลานบาท และ 7.1 ลานบาท ตามลำดับ (เฉพาะบริษัท : 10.80 ลานบาท และ 3.01 ลานบาท ตามลำดับ) โดยการทำสัญญาเชาซื้อ Annual Report ‘ 2008
[ 75 ]
บริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 1. ขอมูลทั่วไป บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ”) จดทะเบียนเปนนิตบิ คุ คลเมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม 2540 และ จดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2548 สำนักงานใหญตั้งอยูเลขที่ 2674/1 ซอยไดรฟอิน 2 หมูที่ 2 ถนนลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร บริษัทประกอบธุรกิจเกี่ยวกับ การฝงกลบ บำบัด และกำจัดกากอุตสาหกรรม 2. หลักเกณฑการจัดทำงบการเงินรวม 2.1 งบการเงินรวมไดรวมงบการเงินของบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งบริษัทมีอำนาจควบคุมอยางเปนสาระสำคัญในบริษัทนั้น ถึงแมวาจะไมมีการถือเงินลงทุนในบริษัทนั้นดังกลาว ดังตอไปนี้ อัตราสวนของการถือหุน
บริษัทยอย
ประเภทกิจการ
บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด
เปนนายหนาตัวแทนเกี่ยวกับ การกำจัดกากอุตสาหกรรม เปนนายหนารับจัดการขนสงสินคาทุกชนิด
บริษัท อัคคีปราการ จำกัด
ทีต่ ง้ั (รอยละของจำนวนหุนจดทะเบียน) สำนักงานใหญ 2551 2550 กรุงเทพฯ
99.94
99.94
กรุงเทพฯ
99.99
99.94
99.94
99.94
93.99
-
รับปรับคุณภาพของเสีย รับเปนที่ปรึกษา และจัดการเกีย่ วกับการขออนุญาตประกอบ กรุงเทพฯ การของโรงงานทุกประเภท ใหบริการรับเผากากอุตสาหกรรม สมุทรปราการ และปรับคุณภาพของเสีย
2.2 ในระหวางเดือนมีนาคม 2548 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัทจำนวนสามแหงจาก ผูถ อื หุน เดิม ซึง่ มีกรรมการและกลุม ผูถ อื หุน เดิมรวมกัน การลงทุนดังกลาวเปนไปเพือ่ การจัดโครงสรางการลงทุนของกลุม บริษทั ดังนั้น บริษัทจึงบันทึกมูลคาสินทรัพยสุทธิของบริษัทเหลานี้ ซึ่งสูงกวาราคาทุนที่ซื้อจำนวนประมาณ 5.15 ลานบาทไวภายใต สวนของผูถ อื หุน บริษทั ภายใตหวั ขอ “สวนของเงินลงทุนทีต่ ำ่ กวามูลคาตามบัญชีสทุ ธิของบริษทั ยอย ณ วันซือ้ หุน ” ในงบการเงินรวม บริษัทยอยดังกลาวไดแก • บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด จำนวน 9,994 หุน ในราคาหุนละ 100 บาท รวมเปนเงินประมาณ 0.99 ลานบาท • บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด จำนวน 9,994 หุน ในราคาหุนละ 100 บาท รวมเปนเงิน ประมาณ 0.99 ลานบาท • บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด จำนวน 9,994 หุน ในราคาหุนละ 100 บาท รวมเปนเงิน ประมาณ 0.99 ลานบาท
[ 76 ]
Annual Report ‘ 2008
ในงบการเงินรวม ไดรวมผลการดำเนินงานของทั้ง 3 บริษัทยอยดังกลาวตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2548 เปนตนไป (วันที่ที่บริษัทลงทุนในบริษัทยอยดังกลาว) สินทรัพยสุทธิของบริษัทยอย ณ วันที่บริษัทลงทุนในบริษัทยอยดังกลาว มีรายละเอียดดังนี้
สินทรัพยสุทธิ สวนของเงินลงทุนที่ต่ำ กวามูลคาตามบัญชีสุทธิ ของ บริษัทยอย เงินสดจายสุทธิเพือ่ การ ลงทุนในบริษัทยอย
บริษัท บริษัท บริษัท เอิรธเท็ค เบตเตอรเวิลด เบตเตอร เวสท เอนไวรอนเมนท ทรานสปอรต แคร จำกัด จำกัด จำกัด 4,914 2,235 996
รวม 8,145
(3,915)
(1,236)
3
(5,148)
999
999
999
2,997
รายการระหวางกันที่มีสาระสำคัญไดถูกตัดบัญชีในการจัดทำงบการเงินรวมแลว
3. หลักเกณฑในการจัดทำงบการเงินและนโยบายการบัญชีที่สำคัญ 3.1 หลักเกณฑในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในประเทศไทย ภายใตพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 ซึง่ หมายความถึงมาตรฐานการบัญชีทอ่ี อกภายใตพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพ พ.ศ. 2547 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทไดจัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาของ องคประกอบ ของงบการเงิน ยกเวนตามที่อธิบายไวในนโยบายการบัญชี เพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงิน บริษัทได แปลงงบการเงินฉบับภาษาอังกฤษจากงบการเงินฉบับภาษาไทยที่มีวัตถุประสงคของการรายงานภายในประเทศ 3.2 การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม 3.2.1 มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบันในป 2551 บริษัทและบริษัทยอยไดใช มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม ซึง่ สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชและใหถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 ตอไปนี้ ซึ่งเกี่ยวของกับการดำเนินธุรกิจของกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินคาคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ตนทุนการกูยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการ ทางบัญชี และขอผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ
Annual Report ‘ 2008
[ 77 ]
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญากอสราง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51 เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน การใชมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมเหลานี้ ไมมผี ลกระทบทีเ่ ปนสาระสำคัญกับงบการเงินของบริษทั
3.2.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 เกีย่ วกับมาตรฐานการบัญชี โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีใหมดังตอไปนี้ ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การดอยคาของสินทรัพย ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวจะไม มีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินสำหรับปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว 3.3 นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 3.3.1 การใชประมาณการทางบัญชี ฝายบริหารมีความจำเปนตองใชประมาณการและขอสมมติฐานทีก่ ระทบตอรายได รายจาย สินทรัพย และหนี้สิน เพื่อประโยชนในการกำหนดมูลคาของสินทรัพย หนี้สิน ตลอดจนหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นดวยเหตุดังกลาว ผลของ รายการเมื่อเกิดขึ้นจริง จึงอาจแตกตางไปจากที่ไดประมาณการไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทำงบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางสม่ำเสมอ การปรับประมาณการจะบันทึกในงวดบัญชีทก่ี ารประมาณดังกลาวไดรบั การทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะ งวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับ หรืองวดในอนาคตหากการปรับประมาณการกระทบงวดปจจุบันและอนาคต 3.3.2 รายการที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิด รายการ สินทรัพย และหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศที่คงเหลืออยู ณ วันที่ในงบดุลแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเ ปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในงบกำไรขาดทุน 3.3.3 การรับรูรายไดและตนทุน รายไดจากการใหบริการเมื่อใหบริการเสร็จสิ้น รายไดจากคาเชารับรูตามระยะเวลาการเชา ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง ตนทุนในการทำบออุตสาหกรรมทีท่ ำขึน้ ในงวด คำนวณตามปริมาตรทีใ่ หบริการแกลกู คาในงวด ที่เกิดขึ้นจริง คำนวณโดยตนทุนที่เกิดขึ้นจริงเกี่ยวกับการปรับสภาพบอที่พรอมจะใชงานตามประมาณการปริมาตรความจุ ของบอที่ประมาณการโดยบุคคลผูเชี่ยวชาญภายนอก 3.3.4 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสด เงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินทีป่ ลอด ภาระค้ำประกันและถึงกำหนดชำระภายใน 3 เดือน 3.3.5 ลูกหนี้การคา บริษัทและบริษัทยอยแสดงลูกหนี้ดวยมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ บริษัทและบริษัทยอยตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยประมาณจากหนี้ที่คาดวาจะเก็บไมได โดยอาศัยประสบการณการไดรับชำระเงินในอดีต และการสอบทานสถานะลูกหนี้ที่คางอยู ณ วันสิ้นงวด หนี้สูญที่เกิดขึ้น ระหวางงวดตัดเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นทันทีที่เกิดขึ้น
[ 78 ]
Annual Report ‘ 2008
3.3.6 เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษทั ยอยบันทึกตามวิธรี าคาทุนสุทธิจากคาเผือ่ การลดมูลคาของเงินลงทุน (ถามี) 3.3.7 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ทีด่ นิ ไมรวมทีด่ นิ ทีเ่ ปนทีต่ ง้ั ของหลุมฝงกลบกากอุตสาหกรรมอันตราย แสดงในราคาทุน ทีด่ นิ ทีเ่ ปนทีต่ ง้ั ของหลุมฝงกลบกากอุตสาหกรรมอันตราย อาคารและอุปกรณแสดงราคาทุนหัก ดวยคาเสื่อมราคาสะสม บริษทั ตัดคาเสือ่ มราคาของทีด่ นิ ทีต่ ง้ั หลุมฝงกลบสำหรับกากอุตสาหกรรมอันตรายและหลุมฝงกลบ ตามปริมาตรของกากอุตสาหกรรม บริษัทและบริษัทยอยตัดคาเสื่อมราคาอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน และยานพาหนะ คำนวณโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพย ดังนี้ อายุการใชงาน (ป) อาคาร 20 เครื่องจักรและอุปกรณ 5 เครื่องใชสำนักงาน 5 ยานพาหนะ 5-10 3.3.8 การดอยคาของสินทรัพย บริษัทและบริษัทยอยจะพิจารณาดอยคาของสินทรัพย เมื่อมีขอบงชี้วาราคาตามบัญชีของ สินทรัพยดังกลาวสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ในกรณีที่ราคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวามูลคาตามบัญชีที่คาดวาจะไดรับคืน บริษัทและบ ริษัทยอยจะรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาในงบกำไรขาดทุน และบริษัทและบริษัทยอยจะบันทึกกลับรายการขาดทุนจากกา รดอยคาตอเมื่อมีขอบงชี้วาการดอยคาดังกลาวไมมีอยูอีกตอไป หรือยังคงมีอยูแตเปนไปในทางที่ลดลง 3.3.9 การบันทึกดอกเบี้ยเปนตนทุนของสินทรัพย ตนทุนการกูย มื จะตัง้ เปนราคาทุนของสินทรัพย เมือ่ บริษทั มีตน ทุนการกูย มื ทีเ่ กิดขึน้ จริงเกีย่ วกับ สินทรัพยทจ่ี ะตองอาศัยระยะเวลาชวงหนึง่ กอนทีส่ นิ ทรัพยนน้ั พรอมทีจ่ ะใชงาน การตัง้ ตนทุนการกูย มื เปนราคาทุนของสินทรัพย จะหยุดเมื่อสินทรัพยนั้น พรอมที่จะมาใชตามวัตถุประสงค 3.3.10 สัญญาเชา สัญญาเชาทรัพยสินที่ไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนในความเปนเจาของในทรัพยสินใหกับ บริษัท และบริษัทมีความตั้งใจที่จะใชสิทธิในการซื้อทรัพยสินเมื่อถึงวันที่ครบกำหนดของสัญญาเชาถูกบันทึกเปนสัญญาเชา การเงิน ณ วันเริ่มตนสัญญาเชาทางการเงิน ตนทุนของทรัพยสินถูกบันทึกไวพรอมกับภาระผูกพันสำหรับการจายคาเชาใน อนาคตโดยไมรวมจำนวนดอกเบี้ย คาใชจายทางการเงินบันทึกเปนคาใชจายในงวดปปจจุบันตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง 3.3.11 ภาษีเงินได บริษัทและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินได (ถามี) ตามจำนวนที่จะตองจายตามประมวลรัษฎากร 3.3.12 กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปดวยจำนวนหุนสามัญที่จำหนาย และเรียกชำระแลวถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักตามสวนที่เรียกชำระ ในกรณีที่มีการรวมหุน / แตกหุน จะปรับปรุงจำนวนหุนสามัญ เสมือนวาการรวมหุน / แตกหุนนั้นเกิดขึ้นตั้งแตวันที่เริ่มตนของงบการเงิน
Annual Report ‘ 2008
[ 79 ]
4. รายการระหวางบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษทั มีรายการทางบัญชีจำนวนหนึง่ ซึง่ เกิดกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกันโดยมีผถู อื หุน กลุม เดียวกันหรือ มีกรรมการ รวมกันสินทรัพย และรายไดสวนหนึ่งเกิดจากรายการที่มีกับบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาว ชื่อบริษัท บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด บริษัท อัคคีปราการ จำกัด บริษัท นิวเครน เซอรวิส จำกัด
[ 80 ]
Annual Report ‘ 2008
ลักษณะความสัมพันธ บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย ผูถ อื หุน รายหนึง่ ของบริษทั (สัดสวนการถือหุน รอยละ 5.7 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท) ถือหุนในบริษัทดังกลาว ในอัตรา รอยละ 99.34 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั นัน้
4.1 รายไดและคาใชจายระหวางกัน สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ (หนวย :พันบาท) ประเภทรายการ/ชื่อบริษัท
นโยบายราคา
รายไดจากการบริการ รายไดจากการกำจัดกากอุตสาหกรรม บริษัทยอย
ราคาตลาด
บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด
งบการเงินรวม 2551 2550
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
-
-
19,744 3,604 1,574
20,978 3,339 -
-
-
13,233 1,636
12,628 1,673
บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด
-
-
บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด
-
-
240 120 -
240 120 90
-
-
120 120 120
120 120 120
บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด บริษัท อัคคีปราการ จำกัด รายไดคาจางขนสงกากอุตสาหกรรม บริษัทยอย
ราคาตลาด
บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด รายไดอื่น รายไดคาเชา ตามที่ระบุไวใน สัญญา 120,000บาท/ปี 240,000 บาท/ปี
บริษัทยอย
รายไดงานดานเอกสาร
ตามที่ระบุไวใน สัญญา 120,000 บาท/ป
บริษทั ยอย บริษทั เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษทั เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด บริษทั เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด รายไดดานบริหารการตลาด
ตามที่ระบุไวใน สัญญา 10% ของรายได Annual Report ‘ 2008
[ 81 ]
ประเภทรายการ/ชื่อบริษัท
นโยบายราคา
(หนวย :พันบาท)
งบการเงินรวม 2551 2550
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
บริษัทยอย บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด รายไดเบ็ดเตล็ด บริษัทยอย
-
-
6,411 1,045
5,909 892
บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด
-
-
-
29
-
-
31,562
14,812
-
-
9,963 8,524
11,013 -
-
-
7,760
-
-
-
120
30
คาใชจาย ตนทุนคาขนสงจากการขนกากอุตสาหกรรม บริษัทยอย บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด ตนทุนคาบริการกำจัดกากอุตสาหกรรม บริษัทยอย บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท อัคคีปราการ จำกัด คาเชาอุปกรณ บริษัทยอย บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด คาเชาสำนักงาน
บริษัทยอย บริษทั เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด
[ 82 ]
Annual Report ‘ 2008
ราคาตลาด
ราคาตลาด
ราคาตลาด
ตามที่ระบุ ในสัญญา 120,000 บาท/ป
4.2 ยอดคงเหลือในงบดุล
งบการเงินรวม 2551 2550
(หนวย :พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ บริษัทยอย บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท อัคคีปราการ จำกัด บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด รวม
-
-
6,299 1,193 1,055 8,547
8,814 2,770 18 11,602
บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด บริษัท อัคคีปราการ จำกัด บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัทที่เกี่ยวของกัน
-
-
12,547 4,903 -
1,231 2,188
บริษัท นิวเครน เซอรวิส จำกัด รวม
-
600 600
17,450
3,419
-
2,172 (2,172) -
-
-
เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย บริษัทยอย
เจาหนี้คาซื้อทรัพยสิน บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท นิวเครน เซอรวิส จำกัด (ไมมีการคิดดอกเบี้ย) หัก สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สุทธิ
เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2548 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญาซื้อทรัพยสินจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน จำนวนเงิน 9.88 ลานบาท ซึ่งยึดตามราคาที่ประเมินตามวิธีมูลคาทดแทนคงเหลือ (Depreciated Replacement Cost) โดยผูประเมินราคาอิสระ ตามรายงานลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2548 โดยมีเงื่อนไขการผอนชำระเปนงวด จำนวน 9 งวด ใหเสร็จสิน้ ภายในเดือน พฤษภาคม 2549 ทัง้ นีภ้ ายใตสญ ั ญาซือ้ ขายทรัพยสนิ ดังกลาว มีเงือ่ นไขทีส่ ำคัญเกีย่ วกับการทีผ่ ขู าย
Annual Report ‘ 2008
[ 83 ]
มีสิทธิซื้อคืนทรัพยสินหากบริษัทไมสามารถดำเนินการเสนอขายหลักทรัพยที่ออกใหมใหกับประชาชน หรือตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทยพิ จ ารณาไม ร ั บ จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย หรื อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย เอ็ ม เอ ไอ (Market for Alternative Investment) ทั้งนี้การทำรายการดังกลาวไดรับอนุมัติจากผูถือหุนตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1 / 2548 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2548 ตอมาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2550 ไดมีการแกไขสัญญาโดยตกลงยกเลิกเงื่อนไขที่ ใหผูขายมีสิทธิซื้อคืนทรัพยสินดังกลาว เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549 ไดมีการแกไขเงื่อนไขในการผอนชำระเปน 16 งวด ใหเสร็จสิ้นภายใน เดือนธันวาคม 2549 และในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2549 แกไขเพิ่มเติมสัญญาการชำระเงินงวดที่ 16 (งวดสุดทาย) ใหแบงการชำระออกเปน 19 งวดยอย ใหเสร็จสิ้นภายในเดือนมิถุนายน 2551 และเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2551 บริษัท ยอยไดผอนชำระเสร็จสิ้นแลว 5. เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
เงินสด เงินฝากธนาคาร - ออมทรัพย - กระแสรายวัน รวม
[ 84 ]
Annual Report ‘ 2008
งบการเงินรวม 2551 2550 235 187 71,062 34,194 105,491
179,071 106,245 285,503
(หนวย :พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 133 124 56,443 1,106 57,682
177,266 98,803 276,193
6. ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ - สุทธิ
ลูกหนี้การคา เช็ครับลงวันที่ลวงหนา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ ลูกหนี้การคาแยกอายุหนี้ไดดังนี้ ลูกหนี้การคาที่อยูในกำหนดชำระ ลูกหนี้การคาที่เกินกำหนดชำระดังนี้ ไมเกินกวา 3 เดือน เกินกวา 3 เดือน ถึง 6 เดือน เกินกวา 6 เดือน ถึง 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน รวม
งบการเงินรวม 2551 2550 160,701 116,153 3,995 5,389 (3,141) (3,264) 161,555 118,278
(หนวย :พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 139,918 97,020 2,553 3,413 (2,244) (2,244) 140,227 98,189
155,066
93,495
136,416
78,594
2,410 809 116 2,300 160,701
19,062 1,246 1,629 721 116,153
794 292 116 2,300 139,918
15,031 1,083 1,591 721 97,020
7. เงินลงทุนในบริษัทยอย
(หนวย :พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ชื่อบริษัท บริษัท เบตเตอร เวสท แคร จำกัด บริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด บริษัท เอิรธ เท็ค เอนไวรอนเมนท จำกัด บริษัท อัคคีปราการ จำกัด รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย
ทุนชำระแลว 1,000 68,000 1,000 110,000
สัดสวนเงิน ลงทุน(รอยละ)
99.94 99.99 99.94 93.99
ราคาทุน 2551
2550
999 67,999 999 103,394 173,391
Annual Report ‘ 2008
999 999 999 2,997
[ 85 ]
เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการมีมติดังตอไปนี้ 1) ใหบริษัทลงทุนในบริษัทจัดตั้งใหมภายใตชื่อ “บริษัท อัคคีปราการ จำกัด” ในอัตรารอยละ 93.99 ของทุนจดทะเบียน รวมเปนเงิน 103 ลานบาท บริษัทดังกลาวจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 2 ) ใหบริษัทลงทุนในหุนเพิ่มทุนของบริษัท เบตเตอร เวิลด ทรานสปอรต จำกัด ในอัตรารอยละ 100 ของทุนจดทะเบียน เปนจำนวนเงิน 67 ลานบาท บริษัทยอยดังกลาวไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2551 8. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ-สุทธิ
(หนวย :พันบาท)
งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
ซื้อเพิ่ม / รับโอน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
จำหนาย / โอนออก
ราคาทุน ที่ดิน ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ งานระหวางกอสราง รวม หัก คาเสื่อมราคาสะสม ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ รวม สุทธิ [ 86 ]
Annual Report ‘ 2008
15,218
-
-
15,218
17,630 207,753 325,754 69,886 11,341 47,059 29,992 724,633
10,601 137,094 40,900 2,967 43,997 125,067 360,626
3,652 136,506 140,158
17,630 218,354 462,848 110,786 14,308 87,404 18,553 945,101
(1,702) (110,305) (38,627) (39,008) (6,315) (27,924) (223,881) 500,752
(894) (27,277) (19,443) (16,014) (1,914) (11,090) (76,632)
(2,734) (2,734)
(2,596) (137,582) (58,070) (55,022) (8,229) (36,280) (297,779) 647,322
(หนวย :พันบาท)
งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
ซื้อเพิ่ม / รับโอน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
จำหนาย / โอนออก
ราคาทุน ที่ดิน ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ งานระหวางกอสราง รวม
15,148
70
-
15,218
17,630 170,393 266,053 65,845 8,827 37,093 6,760 587,749
37,360 59,701 4,227 2,676 11,766 78,562 194,362
186 162 1,800 55,330 57,478
17,630 207,753 325,754 69,886 11,341 47,059 29,992 724,633
หัก คาเสื่อมราคาสะสม ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ รวม สุทธิ
(564) (72,530) (24,162) (26,809) (5,025) (22,479) (151,569) 436,180
(1,138) (37,775) (14,465) (12,280) (1,431) (7,245) (74,334)
(81) (141) (1,800) (2,022)
(1,702) (110,305) (38,627) (39,008) (6,315) (27,924) (223,881) 500,752
Annual Report ‘ 2008
[ 87 ]
(หนวย :พันบาท)
งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ราคาทุน
ซื้อเพิ่ม / รับโอน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551
จำหนาย / โอนออก
ที่ดิน ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ งานระหวางกอสราง รวม
15,218
-
-
15,218
17,630 207,753 325,753 69,359 10,007 27,886 29,992 703,598
10,602 137,094 9,445 2,242 15,360 125,067 299,810
7,016 136,506 143,522
17,630 218,355 462,847 78,804 12,249 36,230 18,553 859,886
หัก คาเสื่อมราคาสะสม ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ รวม สุทธิ
(1,702) (110,305) (38,627) (38,869) (5,815) (21,094) (216,412) 487,186
(894) (27,277) (19,443) (12,599) (1,582) (4,020) (65,815)
[ 88 ]
Annual Report ‘ 2008
(6,535) (6,535)
(2,596) (137,582) (58,070) (51,468) (7,397) (18,579) (275,692) 584,194
(หนวย :พันบาท)
งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
ซื้อเพิ่ม / รับโอน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
จำหนาย / โอนออก
ราคาทุน ที่ดิน ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ งานระหวางกอสราง รวม
15,148
70
-
15,218
17,630 170,393 266,053 65,639 7,920 24,142 6,760 573,685
37,360 59,700 3,906 2,249 5,544 78,562 187,391
186 162 1,800 55,330 57,478
17,630 207,753 325,753 69,359 10,007 27,886 29,992 703,598
หัก คาเสื่อมราคาสะสม ที่ดินที่ตั้งหลุมฝงกลบกาก อุตสาหกรรมอันตราย หลุมฝงกลบ อาคารสำนักงาน เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ รวม สุทธิ
(564) (72,530) (24,162) (26,766) (4,748) (18,592) (147,362) 426,323
(1,138) (37,775) (14,465) (12,184) (1,208) (4,302) (71,072)
(81) (141) (1,800) (2,022)
(1,702) (110,305) (38,627) (38,869) (5,815) (21,094) (216,412) 487,186
คาเสื่อมราคาที่รวมอยูในงบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีจำนวน 48.46 ลานบาท 35.42 ลานบาท ตามลำดับ (เฉพาะบริษัท มีจำนวน 37.65 ลานบาท และ 32.16 ลานบาท ตามลำดับ) มูลคาของหลุมฝงกลบไดรวมประมาณการหนีส้ นิ สำหรับคาปดหลุมทีม่ กี ารเปดใหบริการแลว ซึง่ จะเกิดขึน้ จริงเมือ่ หลุมฝงกลบไดใชงานเสร็จสิน้ แลว โดยประมาณจากราคาประเมินของผูป ระเมินราคาอิสระ (บริษทั อเมริกนั แอ็พเพรซัล (ประเทศไทย) จำกัด) ในเดือน พฤศจิกายน 2551 Annual Report ‘ 2008
[ 89 ]
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประมาณการหนี้สินสำหรับคาปดหลุมสุทธิจากคาตัดจำหนาย สะสมมีจำนวน 0.96 ลานบาท และ 8.97 ลานบาทตามลำดับ ในเดือนมิถุนายน 2548 บริษัทไดทำการวาจางบริษัท เอ็น แอนด เอ แอพไพรซัล จำกัด ผูประเมินราคาอิสระ ทำการประเมินราคาที่ดินโดยใชราคาตลาด (Market Price) จากผลการประเมินดังกลาวกิจการไมจำเปนตองบันทึกคาเผื่อ การดอยคาของที่ดิน เนื่องจากราคายุติธรรมจากการประเมินดังกลาวมีมูลคาสูงกวาราคาทุนของที่ดิน การพิจารณาเปรียบ เทียบดังกลาวไมนับรวมถึงที่ดินที่เปนที่ตั้งหลุมฝงกลบกากอุตสาหกรรมอันตราย เนื่องจากฝายบริหารไดพิจารณาวาการใช ประมาณการกระแสเงินสดสุทธิในอนาคตจะเปนการเหมาะสมกวาเนื่องจาก ที่ดินผืนดังกลาวอาจไมสามารถนำไปใชเพื่อ วัตถุประสงคอื่นอีก หลังจากปดหลุมฝงกลบ โดยฝายบริหารไดพิจารณาวาประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตสูงกวาราคา ตามบัญชี มูลคาที่ดินสวนหนึ่งในราคาทุนจำนวน 17.63 ลานบาท เปนที่ดินที่เปนที่ตั้งของหลุมฝงกลบ ประเภทกาก อุตสาหกรรมอันตราย ซึ่งบริษัทไมสามารถใชประโยชนอื่นไดในอนาคต ดังนั้นบริษัทจึงมีนโยบายที่จะตัดจายเปนตนทุน บริการตามวิธีปริมาณกากของเสียอันตราย เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2549 บริษัทซื้อที่ดินโดยการทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินในราคา 1.5 ลานบาท โดยมีการ จดทะเบียนสิทธิเก็บกินมีกำหนด 30 ป ตอมาเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2550 บริษัทไดจดทะเบียนเลิกสิทธิเก็บกินและ ได จดทะเบียนสิทธิเหนือพื้นดินมีกำหนด 30 ป และจะโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เมื่อพนกำหนดการหามโอนที่ดินดังกลาวในป 2553 (ดูหมายเหตุ 10) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ยานพาหนะสวนหนึง่ ของบริษทั และบริษทั ยอยราคาทุน 23.84 ลานบาท และ 9.9 ลานบาท ตามลำดับ เกิดจากการทำสัญญาเชาซื้อ (เฉพาะบริษัท 13.89 ลานบาท และ 3.9 ลานบาท ตามลำดับ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ยานพาหนะสวนหนึ่งจำนวนเงินตามราคาทุน 9.88 ลานบาท เกิดจากบริษัทยอยแหงหนึ่งทำสัญญาซื้อขายกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน ตามหมายเหตุ 4.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทและบริษัทยอยทรัพยสินที่คำนวณคาเสื่อมราคาหมดแลว แตยังใชงานอยู โดยมีราคาทุน 32.09 ลานบาท และ 20.71 ลานบาท ตามลำดับ (เฉพาะบริษัท 31.98 ลานบาท และ 20.61 ลานบาท ตามลำดับ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ทีด่ นิ ราคาทุนจำนวน 29.57 ลานบาท และสวนหนึง่ ของเครือ่ งจักร ของบริษัทไดถูกนำไปค้ำประกันวงเงินกูยืมระยะสั้นและระยะยาวจากธนาคารพาณิชย ตามหมายเหตุ 9 และ 10
[ 90 ]
Annual Report ‘ 2008
9. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ตั๋วสัญญาใชเงิน รวม
งบการเงินรวม 2551 2550 6,406 120,000 65,000 126,406 65,000
(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 6,406 120,000 65,000 126,406 65,000
- วงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร จำนวนรวม 30 ลานบาท อัตราดอกเบี้ย MOR-0.5 ตอป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.00 ตอป - วงเงินตั๋วสัญญาใชเงิน จำนวน 165 ลานบาท อัตราดอกเบี้ย MLR-0.5 ตอป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีอัตราดอกเบี้ย รอยละ 7.00 ตอป - เงินเบิกเกินบัญชีและตั๋วสัญญาใชเงินค้ำประกันโดยจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสรางและจำนำเครื่องจักร ของบริษัท และกรรมการของบริษัท (หมายเหตุ 8)
10. เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ประกอบดวย (หนวย : พันบาท)
เงินกูยืมระยะยาว หัก สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งป สุทธิ
งบการเงินรวม 2551 2550 35,300
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 35,300
-
(4,626)
(4,626)
-
30,674
30,674
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เงินกูระยะยาวขางตน เปนเงินกูยืมจากธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งโดยมี วงเงิน 37 ลานบาท อัตราดอกเบี้ย MLR บวกรอยละ 0.75 ตอป ณ วันทำสัญญาคืออัตรารอยละ 7.75 ตอป มีกำหนดจาย คืนเงินตนอยางนอยเดือนละ 514,000 บาท เปนเวลา 6 ป นับตั้งแตวันที่ 30 เมษายน 2551 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2557 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 บริษัทไดชำระคืนเงินตนคงคางของเงินกูทั้งจำนวนแลว เงินกูย มื ดังกลาวค้ำประกันโดยการจดจำนองทีด่ นิ พรอมสิง่ ปลูกสรางสวนใหญของกิจการและกรรมการของ บริษัท (หมายเหตุ 8)
Annual Report ‘ 2008
[ 91 ]
11. หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทมีรายการหนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ ดังนี้ (หนวย:พันบาท)
หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ หัก ดอกเบี้ยเชาซื้อรอตัดบัญชี สุทธิ หัก สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งป สุทธิ
งบการเงินรวม 2551 2550 19,885 6,753 (1,608) (541) 18,277 6,212
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 12,319 2,797 (1,144) (315) 11,175 2,482
(7,068)
(2,185)
(3,359)
(746)
11,209
4,027
7,816
1,736
12. ทุนเรือนหุน เมือ่ วันที่ 19 มีนาคม 2550 บริษทั ไดจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงทุนจดทะเบียนทีเ่ รียกชำระแลวกับกระทรวงพาณิชย เปน 240,000,000 บาท จากเดิม 208,000,000 บาท เนื่องจากไดรับชำระคาหุนเพิ่มเติม จำนวน 32,000,000 บาท ซึ่งเปนไป ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2549 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2550 บริษัทเสนอขายหุนสามัญจำนวน 80 ลานหุนแก ประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรก หุนสามัญดังกลาวมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท โดยเสนอขาย ในราคาหุนละ 3 บาท ในการนี้บริษัทไดบันทึกคาใชจายเกี่ยว กับการจัดจำหนายหุน จำนวน 6.6 ลานบาท เปนรายการหักในบัญชีสว นเกินมูลคาหุน สามัญจดทะเบียนเพิม่ ทุนชำระแลวของ บริษัทจาก 240 ลานบาทเปน 320 ลานบาท กับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ตามที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2551 ที่ประชุมมีมติดังนี้ 1. อนุมตั ใิ หเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั จำนวน 57,000,000 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิม จำนวน 320,000,000 บาท เปน 377,000,000 บาท โดยการออกหุน สามัญเพิม่ ทุนใหมจำนวน 57,000,000 หุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท 2. อนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนใหมของบริษัท จำนวน 57,000,000 หุน โดยเฉพาะเจาะจงใหแกผู ถือหุนของ GETCO เพื่อเปนการชำระคาหุนสามัญของ GETCO ในราคาหุนละ 7 บาทหรือจัดสรรใหแกบุคคลตามที่ผูถือหุนข อง GETCO จะกำหนด (ดูหมายเหตุ 23) บริษทั ไดจดทะเบียนเพิม่ ทุนสำหรับทุนจดทะเบียนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยแลวเมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม 2551 13. สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชน จำกัด บริษัทจะตองจัดสรรกำไรสุทธิประจำปสวนหนึ่งไวเปนทุน สำรองไมนอยกวารอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำป หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา(ถามี)จนกวาทุนสำรองนี้จะมีจำนวน ไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกลาว ไมสามารถนำมาจายเงินปนผลได
[ 92 ]
Annual Report ‘ 2008
14. เงินปนผล ตามรายงานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2551 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2551 ผูถือหุนมีมติอนุมัติ การจายเงินปนผลสำหรับผลการดำเนินงานประจำป 2550 แกผูถือหุนจำนวน 320,000,000 หุน ในอัตราหุนละ 0.17 บาท เปนจำนวนเงินรวม 54.40 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนแลวในเดือนเมษายน 2551 15. เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทไดจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 และเขาเปนกองทุนจดทะเบียนโดยไดรับอนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตาม ระเบียบกองทุน บริษัทจายสมทบเขากองทุนนี้เทากับสวนที่พนักงานจายสมทบ ซึ่งคำนวณตามอัตรารอยละของเงินเดือน พนักงาน บริษทั ไดแตงตัง้ ผูจ ดั การกองทุนเพือ่ บริหารกองทุนใหเปนไปตามวิธกี ารและเงือ่ นไขทีก่ ำหนดโดยกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2532) ออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษัทจายสมทบเขากองทุนดังกลาวขางตนสำหรับแตละงวดสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เปนจำนวนเงิน 1.25 ลานบาท และ 0.90 ลานบาท ตามลำดับ (เฉพาะบริษัทเปนจำนวนเงิน 1.14 ลานบาท และ 0.54 ลานบาท ตามลำดับ) 16. คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายตามลักษณะที่สำคัญไดแก (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชน 82,177 54,925 58,035 48,012 อื่นของพนักงาน คาเสื่อมราคา 48,461 35,421 37,645 32,160 คาตัดจำหนาย 33,783 38,912 28,170 38,912 คาขนสง 113,801 121,226 142,857 135,567 คาน้ำมัน วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป คาใชจายในการบริการ คาเชา คาจางดำเนินการ
46,263 45,616 22,546 19,550 33,581
58,813 10,859 31,218 17,948 26,734
34,333 25,339 19,085 17,613 30,153
53,919 10,859 28,287 16,518 25,294
Annual Report ‘ 2008
[ 93 ]
17. ขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน บริษทั และบริษทั ยอยดำเนินธุรกิจในสวนงานทางธุรกิจหลักคือ การฝงกลบ บำบัดและกำจัดกากอุตสาหกรรม การเปนนายหนาตัวแทนเกี่ยวกับการกำจัดกากอุตสาหกรรม และเปนนายหนารับจัดการขนสงสินคาทุกชนิด ซึ่งมีลักษณะ การดำเนินงานที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน สวนธุรกิจบำบัดน้ำเสีย บริษัทยังมีรายไดจากธุรกิจดังกลาวไมเกิน รอยละ 10 ของ รายไดรวม ดังนั้น จึงไมไดแยกเปดเผยขอมูลตามสวนงานดังกลาว
(หนวย:พันบาท)
งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ตัดรายการ ยอดรวม สุทธิ ระหวางกัน รายได รายไดจากการบริการ รายไดจากการขนสง รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย
651,699 42,758 29,841 724,298
(43,869) (42,758) (26,604)
607,830 3,237 611,067
ตนทุนการบริการ ตนทุนคาขนสง คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได
436,555 27,831 172,909 637,295 87,003 (7,654) (7,013) 72,336 3,293 75,629
(74,111) (27,831) (9,311)
362,444 163,598 526,042 85,025 (7,654) (7,013) 70,358 3,293 73,651
ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรกอนสวนของผูถือหุนสวนนอย ขาดทุนสวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย กำไรสุทธิ
[ 94 ]
Annual Report ‘ 2008
(หนวย:พันบาท)
งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ตัดรายการ ยอดรวม สุทธิ ระหวางกัน รายได รายไดจากการบริการ รายไดจากการขนสง รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย
614,675 15,586 23,260 653,521
(35,349) (15,586) (22,002)
579,326 1,258 580,584
ตนทุนการบริการ ตนทุนคาขนสง คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได
407,028 11,030 114,475 532,533 120,988 (8,041) (6,086) 106,861 (3) 106,858
(54,207) (11,030) (7,700)
352,821 106,775 459,596 120,988 (8,041) (6,086) 106,861 (3) 106,858
ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรกอนสวนของผูถือหุนสวนนอย กำไรสวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย กำไรสุทธิ
สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนี้
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอื่น ๆ รวมสินทรัพย
-
(หนวย:พันบาท)
งบการเงินรวม ตัดรายการ ยอดรวม ระหวางกัน 649,301 (1,978) 510,152 (200,424) 1,159,453
สุทธิ 647,323 309,728 957,051
Annual Report ‘ 2008
[ 95 ]
สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ดังนี้
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอื่น ๆ รวมสินทรัพย
(หนวย:พันบาท)
งบการเงินรวม ตัดรายการ ยอดรวม ระหวางกัน 500,752 433,501 (18,097) 934,253
สุทธิ 500,752 415,404 916,156
18. สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน บริษทั ไดรบั การสงเสริมการลงทุน ตามบัตรสงเสริมการลงทุน เลขที่ 2092(2)/2547 ลงวันที1่ 0 พฤศจิกายน 2547 และ เลขที่ 1066(2)/2551 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 ในกิจการฝงกลบกากอุตสาหกรรมไมอันตราย อันตราย บำบัดน้ำเสียเคมี และในการนำวัสดุทไ่ี มตอ งการใชแลวแปรรูปเพือ่ ใชใหม จากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน โดยไดรบั สิทธิ ประโยชนตามพระราชบัญญัตสิ ง เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ตามมาตรา 25, 26, 28, 31, 34 และ 37 สิทธิประโยชนทไ่ี ดรบั รวม ถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับสงเสริมการลงทุนมีกำหนด 8 ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับสงเสริมการลงทุน บริษัทเริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ กำจัดกากอุตสาหกรรมที่ไดรับสิทธิประโยชนจากการสงเสริม การลงทุน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2548 และ 13 พฤศจิกายน 2550 ตามลำดับ รายไดแยกตามประเภทกิจการที่ไดรับสงเสริมการลงทุนและกิจการที่ไมไดรับสงเสริมการลงทุน
(หนวย:พันบาท)
งบการเงินเฉพาะบริษัท สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 กิจการที่ไดรับ กิจการที่ไมได สงเสริมการ รับสงเสริมการ รวม ลงทุน ลงทุน รายไดจากการดำเนินงาน รายไดจากการบริการ รายไดอื่น รวมรายได
[ 96 ]
Annual Report ‘ 2008
554,089 160 554,249
26,065 26,065
554,089 26,225 580,314
(หนวย:พันบาท)
งบการเงินเฉพาะบริษัท สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 กิจการที่ไดรับ กิจการที่ไมได สงเสริมการ รับสงเสริมการ รวม ลงทุน ลงทุน รายไดจากการดำเนินงาน รายไดจากการบริการ รายไดอื่น รวมรายได
516,647 516,647
19,241 23,054 42,295
535,888 23,054 558,942
19. เครื่องมือทางการเงิน 19.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน บริษทั มีความเสีย่ งอันเกีย่ วเนือ่ งกับการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ และความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น ซึ่งบริษัทจะพิจารณาใชเครื่องมือทางการเงินที่เหมาะสม เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ อยางไรก็ตาม บริษัทไมมีนโยบายที่จะถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินเพื่อการเก็งกำไรหรือเพื่อการคา 19.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในอนาคต ซึ่งจะมีผลกระทบ ตอผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัท ความเสี่ยงของบริษัทเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยซึ่งเกี่ยว เนื่องกับเงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูยืมระยะยาว ที่มีอัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด อยางไรก็ดี บริษัทไมไดใชเครื่องมือทางการเงินใด ๆ เพื่อปองกันความเสี่ยงดังกลาว 19.3 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานสินเชื่อเกี่ยวกับการที่ลูกหนี้การคาจะไมปฏิบัติตามสัญญาอยางไร ก็ตาม เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอยมีนโยบายในการเขาทำรายการกับคูสัญญาที่มีฐานะการเงินที่มั่นคงดวยเหตุนี้ บริษัท และบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสำคัญเนื่องจากการเก็บหนี้ สำหรับลูกหนี้การคาที่คาดวาจะไม ไดรับชำระหนี้ บริษัทและบริษัทยอยไดพิจารณาตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวอยางเพียงพอแลว 19.4 มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืม ระยะยาวทีบ่ ริษทั ตองเสียดอกเบีย้ ในอัตรา MLR บริษทั จึงเชือ่ วามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินดังกลาว แสดงมูลคาไมแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสำคัญ
Annual Report ‘ 2008
[ 97 ]
20. สัญญา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2551 บริษัทยอยไดทำสัญญาใหใชสิทธิการดำเนินการบริหารและประกอบการ ศูนยบริหารจัดการวัสดุเหลือใชอุตสาหกรรม (เตาเผาขยะอุตสาหกรรม) จังหวัดสมุทรปราการ กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายใตเงื่อนไขของสัญญาดังกลาว บริษัทตองจายคาธรรมเนียมรายป ปละ 6.32-14.07 ลานบาท และคาธรรมเนียมการใช สิทธิตามอัตราของกากที่ใหบริการ สัญญานี้มีระยะเวลา 20 ป 21. ขอพิพาททางกฎหมาย 21.1 เมือ่ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ศาลปกครองกลางไดรบั คำฟองของผูฟ อ งคดี และศาลปกครองกลาง ไดพิจารณาใหบริษัท เบตเตอร เวิลด กรีน จำกัด (มหาชน) เปนผูรองสอดในฐานะคูกรณีฝายที่ 3 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2550 ศาลปกครองกลางไดมีคำพิพากษาใหยกฟอง ที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทแจงวาผูฟองคดีไดยื่นอุทธรณ ตอศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2550 ซึ่งบริษัทไดใชสิทธิในการยื่นคำแกอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด ในวันที่ 3 สิงหาคม 2550 นอกจากนีท้ ป่ี รึกษากฎหมายของบริษทั มีความเห็นวา แมผฟู อ งคดีจะใชสทิ ธิอทุ ธรณเพือ่ คัดคานคำวินจิ ฉัย ของศาลปกครองกลางก็ตาม แตศาลปกครองกลางไดมคี ำวินจิ ฉัยในเนือ้ หาของคดีครอบคลุมครบถวน ทัง้ ในปญหาขอเท็จจริง และปญหาขอกฎหมาย จึงนาเชื่อไดวา ผลของคำพิพากษานาจะเปนไปในแนวทางเดียวกัน 21.2 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2551 ศาลจังหวัดสระบุรีไดรับคำฟองของผูฟองคดีที่ไดยื่นฟองบริษัทและ กรรมการผูมีอำนาจ ในขอหารวมกันไมปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่ โดยศาลจังหวัดสระบุรีไดมีคำสั่งใหกำหนด วันนัดสืบพยานโจทกครั้งแรกในวันอังคารที่ 1 กันยายน 2552 ในการนี้ ที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทมีความเห็นวา ขอกลาวหาของโจทกที่กลาวหาบริษัทวาไมปฏิบัติ ตามคำสั่งพนักงานเจาหนาที่นั้น ไมนาจะรับฟงได ทั้งนี้เนื่องจากตลอดระยะเวลาในการประกอบกิจการของบริษัทที่ผานมาจนถึงปจจุบันนั้น ไมปรากฏวา พนักงานเจาหนาที่ของหนวยราชการ ที่มีอำนาจหนาที่ในการกำกับดูแลกิจการของบริษัท จะไดออกคำสั่งทางวาจาหรือลาย ลักษณอักษรวา บริษัทไมปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจาหนาที่แตอยางใดเลย ดังนั้น จึงนาเชื่อไดวา เมื่อบริษัทไดนำพยา นหลักฐานตาง ๆ ประกอบการพิจารณาและนำเสนอตอศาลแลว ศาลนาจะพิจารณาและมีคำพิพากษา ยกฟองคดีดังกลาว 22. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้ 22.1 ภาระผูกพันตามสัญญากอสรางอาคารและหลุมฝงกลบเปนจำนวนเงินรวม 3.69 ลานบาท 22.2 หนี้สินอาจจะเกิดขึ้นจากการที่บริษัทและบริษัทยอยใหธนาคารออกหนังสือค้ำประกันแกหนวยงาน ราชการและลูกคาของบริษทั เปนจำนวนเงินรวม 98.69 ลานบาท (เฉพาะบริษทั : 23.14 ลานบาท) หนังสือค้ำประกันดังกลาว ค้ำประกันโดยเงินฝากธนาคารของบริษัทและบริษัทยอย และกรรมการของบริษัท 23. การซื้อหุนสามัญของบริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยี จำกัด ตามที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2551 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการเขาซื้อหุน สามัญของบริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยี จำกัด (GETCO) จำนวน 1,600,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนในราคาหุนละ 249.375 บาท โดยการออกหุนสามัญใหม ของบริษัทฯ จำนวน 57,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ตอบแทนใหกับผูถือหุนของ GETCO แทนการชำระเปนเงิน ในราคาหุนละ 7 บาท หรือคิดเปนอัตราสวน 35.625 หุนของบริษัทจะไดหุนของ GETCO จำนวน 1 หุน บริษทั ยังไมไดเขาซือ้ หุน สามัญของบริษทั ดังกลาวในปจจุบนั เนือ่ งจากอยูร ะหวางการเจรจารวมกันทัง้ สองฝาย จากผลของราคาหุนที่ตกต่ำลงจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลก [ 98 ]
Annual Report ‘ 2008
24. การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารอาจตองใชดุลยพินิจและการ ประมาณการผลกระทบของเหตุการณทไ่ี มแนนอนในอนาคตทีอ่ าจมีผลกระทบตอจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและการเปด เผยขอมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดวยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางไปจากจำนวนที่ประมาณการไว การใช ดุลยพินิจและการประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ไดแก สัญญาเชาการเงิน/สัญญาเชาดำเนินงาน บริษัทและบริษัทยอยไดเขาทำสัญญาเชายานพาหนะ ซึ่งบริษัทและบริษัทยอยไดพิจารณาและประเมิน ขอบเขตของความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชาตามสัญญาแลวพบวา ความเสี่ยงและผล ตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดเปนของผูใหเชา สัญญาเชาดังกลาวจัดเปนสัญญาเชาดำเนินงาน คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้เกิดจากการปรับมูลคาของลูกหนี้จากความเสี่ยงดานเครดิตที่อาจเกิดขึน้ ฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แตละราย โดยใชการวิเคราะหสถานะ ของลูกหนีร้ ายตัว ประสบการณการเก็บเงินในอดีต การวิเคราะหอายุลกู หนีแ้ ละการเปลีย่ นแปลงของสภาวะเศรษฐกิจในปจจุบนั อยางไรก็ตาม การใชประมาณการและขอสมมติฐานที่แตกตางกัน อาจมีผลตอจำนวนคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ดังนั้นการ ปรับปรุงคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอาจมีขึ้นไดในอนาคต คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน บริษทั และบริษทั ยอยพิจารณาคาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุน เมือ่ พบวามูลคายุตธิ รรมของ เงินลงทุนดัง กลาวลดลงอยางมีสาระสำคัญและเปนระยะเวลานาน ซึง่ ความมีสาระสำคัญและระยะเวลานัน้ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของฝายบริหาร คาเสื่อมราคา ในการคำนวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารใชประมาณอายุการใชงานและมูลคา ซากเมื่อเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และไดมีการทบทวนอายุการใชงานและมูลคาซากหากมีการเปลี่ยนแปลง 25. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคของบริษัทและบริษัทยอยในการบริหารทางการเงิน คือ การดำรงไวซึ่งความสามารถในการ ดำเนินงานอยางตอเนื่อง และการดำรงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่เหมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบการเงินรวมแสดงอัตราสวนหนี้สินตอทุนเปน 0.31:1.0 (งบการเงินเฉพาะ กิจการ: อัตราสวนหนี้สินตอทุนเปน 0.29:1.0) 26. เหตุการณภายหลังวันที่ในงบการเงิน 26.1 เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2552 บริษัทไดทำสัญญารับจางกอสรางระบบกำจัดขยะมูลฝอย กับเทศ บาลนคราชสีมา มูลคาสัญญา 412 ลานบาท สัญญานี้มีระยะเวลา 2 ป 4 เดือน 26.2 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2552 บริษัททำสัญญาขายลดตั๋วเงินกับธนาคารแหงหนึ่ง วงเงิน 129.37 ลานบาท โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ย MLR ลบรอยละ 0.25 ตอป โดยบริษัทเบิกใชไดไมเกินรอยละ 70 ของมูลคางาน ตามสัญญาจางรับจางกอสรางระบบกำจัดขยะมูลฝอย 27. การจัดประเภทรายการใหม บริษัทไดมีการจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับป 2550 ใหมเพื่อใหสอดคลองกับ การแสดงรายการในงบการเงินสำหรับป 2551 28. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติจากผูบริหารของบริษัทแลว
Annual Report ‘ 2008
[ 99 ]
[ 100 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 101 ]
Important Financial Information
(Unit : Million baht)
Financial Status
2551 2550
Total Circulatory Assets
279.61 Total Non-Circulatory Assets 677.44 Total Assets 957.05 Total Circulating Debts 213.28 Total Non-circulating Debts 12.17 Total Debts 225.45 Shareholders’ Holdings 731.60
413.84 502.31 916.15 163.42 43.70 207.12 709.03
Financial Status Graph
2549 137.11 436.75 573.86 155.25 81.84 237.09 336.77
(Unit : Million baht)
Performance Outcome Revenue from Service Provision Total Revenue Capital from the Provision of Services Sales & Administrative Expenses Total Expenses Profit before Paid Interest & Income Taxes Paid Interest Income Taxes Net Profit (Loss) profit (loss) per share (baht) Weighted Average Number of Shares (Shares) [ 102 ]
2008
2007
2006
607.83
579.32
466.85
611.07
580.58
467.62
362.44
352.82
300.39
163.60
106.77
78.62
526.04
459.59
379.01
85.03
120.99
88.61
7.65
8.04
11.40
7.01 70.36
6.08 106.85
7.06 70.15
0.22
0.43
0.40
320,000,000 247,386,301 175,904,110
Annual Report ‘ 2008
Performance Outcome Graph
Unit of Measure times times times % % % %
Important Financial Rates Current Ratio Debt to Equity Ratio Debt to Asset Ratio Gross Profit Margin Ratio Net Profit on Sales (NP) Return on Equity (ROE) Return on Assets (ROA)
Growth Rate
Unit of Measure
Assets Debts Shareholders’ Holding Income
% % % %
2551
2550
1.31 0.31 0.24 40.00 12.00 0.10 0.09
2551
2.53 0.29 0.23 39.00 18.00 0.15 0.12
2550 4.46 8.85 3.18 5.25
2549 0.88 0.70 0.41 36.00 15.00 0.21 0.12
2549
59.65 (12.64) 110.54 24.15
18.91 (4.78) 44.15 69.40
Growth Rate Graph
Annual Report ‘ 2008
[ 103 ]
Management On the 31st of December 2008, the management structure of Better World Green Public Company Limited comprised boards of directors with the duty of establishing company policy in various areas : the company’s board of directors, the Audit Committee, the Risk Management Sub-committee, the Procurement Sub-committee, the Recruitment & Wage Sub-committee and the Executive Board of Directors. These Boards of Directors and Sub-committees are made up of qualified personnel possessing qualifications according to Section 68 of the Public Company Limited Act of 1992 on every issue as follows :
Organization Chart
1. The Company’s board of directors
According to the Ministry of Commerce certificate dated 24 November 2008, there are 9 members of the company’s board of directors as in the following list:
First-Last Name 1. Dr. Vichan Witayasai 2. Dr. Thammanoon Ananthothai 3. Mr. Boonyabaramee Sawangwong 4. Mrs. Nardruedee Thammawan 5. Mr. Suwat Luengviriya 6. Mr. Akarawit Kankeaw 7. Mr. Woradit Tanapat 8. Mr. Suthat Boonya-Udomsart 9. Mrs. Tasanee Thongdee [ 104 ]
Annual Report ‘ 2008
Position Chairman of the Board Director/Chairman of the Audit Committee Director/Auditing Director Director/Auditing Director Director Director Director Director Director and Company Secretary
Directors authorized to sign on behalf of the company
The directors authorized to sign on behalf of the company are Mr. Suwat Luengviriya who can sign together with Mr. Suthat Boonya -Udomsart or Mrs. Tasanee Thongdee and the official company seal.
Appointment and Dismissal of Company Directors
The company regulations designating the elements, appointments, dismissals or release from the position of company director, which can be summarized in terms of relevant information as follows: 1) The shareholders meeting shall elect no more than five directors and no less than half of the total number of directors must reside in the Kingdom and the company directors must be individuals with the qualifications as specified by the law. 2) The shareholders meeting shall appoint directors by majority vote according to the following criteria: • The directors shall be elected individually. • Each share holder shall have voting power equal to one vote per share. • Each share holder shall have voting power equal to the number of shares held wherein one share is equal to one vote. • Each share holder shall exercise the votes of every existing individual electing directors. • Each respective person who receives a majority vote of approval in descending order, but no more than the number of positions up for election at that time that particular person is chosen as a director. • In the event that the votes are tied for the individuals up for election for the last position, the Chairman of the Meeting shall cast the deciding vote. 3) One-third of the directors shall resign from their positions at every annual common meeting of the company. If the number of the resigning directors cannot be divided into three parts, the directors shall resign by the number closest to one-third, but no more than one-third of the number of all directors. 4) The directors to be released from office during the first and second year after the registration of the company are to draw lots to determine who will be released in subsequent years. The director in office longest will leave that office and the directors already released from office may be reelected. 5) Directors shall be released from office upon death, resignation prior to their term expiration, upon court order to resign, or when the meeting agrees to release the director from office, or when the director lacks qualifications as set forth in the regulations. 6) In the event that a director’s seat is available due to causes other than release due to expiration of the director’s term , the remaining directors shall choose qualified individuals without forbidden characteristics as specified to replace the director in the next meeting of the board of directors, unless the remainder of the director’s term is less than two months and with the votes of no less than three quarters of the remaining directors wherein the individual to replace said director shall remain in office for the length of the term of the director being replaced.
Annual Report ‘ 2008
[ 105 ]
The scope of the authorities, duties and responsibilities of the company’s board of directors is as follows: 1. The Company’s board of directors has the authority to manage the company in accordance with the law, the objectives and regulations of the company and the decision of the shareholders’ meeting with integrity and the duty of upholding the company’s best interests. 2. The Company’s board of directors has the duty of setting goals, guidelines, policies, operational plans and budgets for the company while controlling and directing the administration and management of the Administrative Department, or any individuals assigned to perform the aforementioned duties in order to ensure that the Administrative Department or those individual have acted according to the policies set forth by the board of directors. 3. The Company’s board of directors has the authority to inspect and consider approval of policies, guidelines and procedural plans for the company’s large investment projects according to the presentations received from the Sub-committees and/or the Administrative Department. 4. The company’s board of directors has the authority to appoint, assign or recommend a Sub-committee director or task force to make consideration or take action in certain areas as the company’s board of directors sees fit. 5. The Company’s board of directors has the authority to follow up on performance results in compliance with the company’s procedural plans and budgets. 6. The company’s board of directors has the duty to direct the company to have internal controlling systems and effective internal inspections by organizing work units to follow-up on internal inspections and work together in coordination with the Audit Committee. 7. The company’s board of directors has the authority to consider and approve any issue as necessary and associated with the company or as the Board of Directors views appropriate and in the company’s best interests. The following action may be performed by the company’s board of directors only upon approval from the shareholders’ meeting: a) Any issue designated by law as requiring the decision of the shareholders’ meeting and b) Any issue concerning the directors’ gains or losses and within the precepts of the law or announcements by the Stock Exchange Bureau and Stock Market, or the Stock Exchange of Thailand by the express approval of the shareholders meeting. The decision of the company’s board of directors to take action regarding the following issues must be performed only with the approval from the shareholders’ meeting and the votes of no less than three quarters of all the votes of the shareholders attending the meeting and entitled to vote. a) The sale or transfer of all or part of the company’s major businesses to other individuals. b) The purchase, receipt or transfer of the businesses of other companies for ownership by the company.
[ 106 ]
Annual Report ‘ 2008
c) The drafting, revision or termination of contracts concerning loans for all or part of the company’s major businesses; the assignment of other individuals to manage the company’s businesses or merges with other individuals with the objective of sharing profits or losses. d) The revision or amendment of the Memorandum of Association, or company regulations. e) The increase, decrease of funds or the issuance of the company’s debentures f) Merger control or termination of the company’s activities. g) Any other actions as set forth under acts of legislation governing stocks, stock exchanges and/or announcements by the Stock Exchange of Thailand that require the approval from the meeting of the company’s board of directors and the shareholders meeting by the aforementioned votes above. Thus, with regard to any issue in which a director is a stakeholder standing to gain or lose, or when there is any conflict of interest with the company or any of the company’s subsidiaries, the director/stakeholder in potential gains, losses or conflict of interest shall not be entitled to cast a vote upon that particular issue. Moreover, the board of directors also has a scope of duties in directing the company to act according to laws governing stocks and stock exchanges, stock exchange regulations e.g. preparation of related reports, acquisition or sale of properties by the criteria of the Stock Exchange of Thailand or according to announcements issued by the Stock Exchange of Thailand or in compliance with the board of stock and stock exchange directors, or laws associated with the businesses of the company.
2. The Secretary to the Company The company has appointed a company secretary in order to comply with the Stock and Stock Exchange Act which sets forth the roles, duties and responsibilities of the company secretary by the decision of the fifth meeting of the company’s board of directors in 2008 on the 12th of November, 2008 and the decision of the meeting of the Recruitment & Wage Sub-committee (No. 2/2551) wherein the decision was made to appoint Mrs. Tasanee Thongdee as the company secretary with the following duties and responsibilities:
The scope, authority, duties and responsibilities of the company secretary are as follows:
1 Provision of fundamental suggestions to directors on various laws, rules and regulations the board of directors must be made aware of and follow-up on correct and continual practices with reports on changes in the law as relevant to directors. 2 Organize the shareholders’ meetings and the meetings of the board of directors in compliance with various laws, regulations and codes of conduct. 3 Record the minutes to the shareholders meetings and the meetings of the board of directors, as well as follow up on the measures of the stockholders meetings and the meetings of the board of directors. 4 Disclosure of information and information reports as relevant to the responsibilities of to directing work units and according to the regulations and specifications of government agencies. 5 Contact and communicate with shareholders in general to inform them of shareholders’ rights in addition to company news and information. 6 Handle the activities of the board of directors. Annual Report ‘ 2008
[ 107 ]
3. The Audit Committee The Audit Committee of the company consists of a panel of 3 directors with independence and appropriate qualifications according to the regulations of the Stock Exchange of Thailand with the following names:
First-Last Name
Position
1. Dr. Thammanoon Ananthothai Chairman of the Audit Committee 2. Mr. Boonyabaramee Sawangwong Auditing Director 3. Mrs. Nardruedee Tammawan Auditing Director With Ms. Siriphorn Suasagoon as the Secretary of the Audit Committee
The scope, authority, duties and responsibilities of the Audit Committee are as follows:
1. Audit for the company for sufficient accuracy and disclosure in financial reports by coordinating with external auditors and executives responsible for arranging both quarterly and annual financial reports. The Audit Committee may suggest that auditors examine or inspect any lists necessary and relevant during the company’s audit. 2. Audit the company for appropriate and effective internal control and inspection systems by auditing with internal auditors and inspectors. 3. Consider the independence of internal auditing work units as well as providing approval in the consideration to appoint, release or dismiss of the leader of the internal inspection work unit or any other work units responsible for internal inspections. 4. Audit the actions of the company to assure compliance with the laws governing stocks and stock exchanges as well as laws associated with the businesses of the company. 5. Consider, select and propose the appointment of the company’s auditors including consideration of proposed payments to the auditor by considering the independence, credibility, sufficiency of resources, the audit workload of the Audit Office and the experience of the personnel assigned to audit the accounts of the company including attendance at auditors’ meeting without the attendance of Administrative Department at least once a year. 6. Consider the disclosure of company information in cases of the occurrence of linking lists or lists with potential conflicts of interest to ensure accuracy, accountability and compliance with the laws and specifications of the Stock Exchange including providing opinions about the necessity and reasons for preparing the aforementioned lists in consideration of maximal benefit to the company. 7. Performance of any tasks assigned by the company’s board of directors and with the approval of the Audit Committee. 8. Prepare reports on the activities of the Audit Committee by disclosing them in the company’s annual reports signed by the Chairman of the Audit Committee. 9. Report on the performance of the Audit Committee for the acknowledgement of the board of directors at least once a year. 10. With authority to conduct inspections and investigations as necessary on topics and expressing opinions independently from other professional opinions as seen fit with the expenses of the company to perform successfully under their duties and responsibilities. [ 108 ]
Annual Report ‘ 2008
4. The Risk Management Sub-committee
The Risk Management Sub-committee comprises five members as follows:
First-Last Name 1. Dr. Vichan 2. Dr. Thammanoon 3. Mr. Boonyabaramee 4. Mr. Suwat 5. Mr. Suthat
Position
Withayasai Ananthothai Sawangwong Luengviriya Boonya-Udomsart
Chairman of the Risk Management Sub-committee Risk Management Sub-committee Director Risk Management Sub-committee Director Risk Management Sub-committee Director Risk Management Sub-committee Director
With Mr. Suthat Boonya -Udomsart as the Secretary of the Risk Management Sub-committee
The scope, authority, duties and responsibilities of the Risk Management Sub-committee are as follows:
1. Verify and present risk management policies and acceptable risks to the company’s board of directors for consideration and approval. 2. Supervise development and practice according to the risk management framework for the entire organization. 3. Examination of reports on risk management follow-up on major risks and actions taken to ensure that the organization has sufficient and appropriate risk management. 4. Presentation of overall company risks including the sufficiency of internal control systems for management of major risks in various areas for the company’s board of directors. 5. Provision of suggestions to the company regarding risk management and consideration of revisions for information about the development of the risk management system. 6. With authority to appoint a committee for evaluation and follow-up on company risks. 7. Other issues assigned by the company’s board of directors regarding risk management.
5. Recruitment & Wage Sub-committee
The Recruitment & Wage Sub-committee comprises four members
First-Last Name 1. Dr. Thammanoon 2. Mr. Boonyabaramee 3. Mr. Akarawit 4. Mr. Suthat
Ananthothai Sawangwong Kankeaw Boonya-Udomsart
Position Recruitment & Wage Sub-committee, Chairman Recruitment & Wage Sub-committee, Director Recruitment & Wage Sub-committee, Director Recruitment & Wage Sub-committee, Director
With Mr. Suthat Boonya-Udomsart as the Secretary of Recruitment & Wage Sub-committee Annual Report ‘ 2008
[ 109 ]
The scope, authority, duties and responsibilities of the Recruitment Sub-committee and consideration of wages shall be as follows: 1. Consider the structures, elements and qualifications of company directors. 2. Select and procure individuals with knowledge and abilities suitable with the company’s business wherein names of potential directors should be proposed for the consideration of the company’s board of directors, or the shareholders’ meeting, in the event that a position becomes available. 3. Consider proposals regarding payment structure for directors e.g. wages, pensions, bonuses, privileges, meeting gratuities and other benefits of financial and other nature by agreement. 4. Evaluation of the results of the operations of the Recruitment Sub-committee, consideration of wages and annual reports to the Company’s board of directors. 5. Perform any other recruitment work assigned by the Company’s board of directors Consideration of wages.
6. Executive Board of Directors
There are 5 members in the Executive Board of Directors as follows:
First-Last Name 1. 2. 3. 4. 5.
Mr. Suwat Mr. Wanchai Mr. Ekarin Ms. Jaruwan Mrs. Pornpen
Luengviriya Luengviriya Luengviriya Phojang Paoratchatapiboon
Position Chairman of the Board Director Director Director Director
With Mrs. Pornpen Paoratchatapiboon is the secretary of the board.
Scope, authority and responsibilities of the Executive Board of Directors 1. Prepare and present business policies, goals, operational plans, business strategies and the company’s annual budget for the approval of the company’s board of directors. 2. Oversee the company’s business operations to ensure compliance with business policies, goals, operational plans, business strategies and the company’s annual budget as approved by the company’s board of directors. 3. Establish organizational structure and jurisdiction covering details for the recruitment, hiring, establishment of wages and benefits, transfers, and termination of company employees. 4. May appoint or authorize one or many individuals to perform any act on behalf of the Executive Board of Directors as deemed appropriate and terminate, change or amend the aforementioned authorization.
[ 110 ]
Annual Report ‘ 2008
5. Maintain the authority to consider the approval of expenditures for the company’s normal operations such as the purchase of assets and significant investments in the interest of the company 6. Perform any other function as designated by the company’s board of directors. Thus, the approval of the executive board of directors shall not include the approval of items wherein the executive board of directors or other individuals with any potential disputes, stakeholders or conflict of interest with the company and/or the company’s subsidiaries or the authorization of any other individual to act as proxy in the aforementioned case including items designated as requiring approval from the shareholders in performing associated and acquired or sold items which are significant assets belonging to the company or the company’s subsidiaries in order to correspond with the specifications of the Stock Exchange of Thailand, the board of directors over stocks and stock exchanges or laws associated with the company’s business.
7. Executives The executive board of directors shall consider the selection of individuals with knowledge, skills and experience in the field of industrial waste management to propose to the board of directors for approval wherein the board of executives shall consist of the following 10 executives according to the following list o name of individuals holding first four executive positions counted from the Managing Director downward:
First-Last Name 1. Mr.Suwat 2. Mr.Wanchai 3. Mr.Ekarin 4. Mr.Suthat
Luengviriya Luengviriya Luengviriya Boonya-Udomsart
5. Mr.Supawat 6. Mr.Anuwat
Khunworavinij Hachawanit
7. Ms.Patchara 8. Mrs.Pornpen 9. Mrs.Tasanee 10. Ms.Siriphorn
Siriwat Paoratchatapiboon Thongdee Suasagoon
Position Managing Director Deputy Managing Director of Management Deputy Managing Director of Operations Deputy Managing Director of Accounting and Finance, and Acting Managing Director of Accounting and Finance Director of Marketing Management Manager of Industrial Waste Administration and Management, Saraburi Manager of Human Resource Administration Manager of Environmental and Academic Engineering Manager of Sales Promotion and Information Technology Manager of Internal Audit
Annual Report ‘ 2008
[ 111 ]
Executive Qualifications The company’s executives must be individuals with ethics, ability, business experience, manage with honesty and caution in the interests of the company, intention to perform sustainable business with understanding and responsibility toward the public. Executives must also be people with their names listed the database system for names of executives according to the announcement of the board of directors over stocks and stock exchanges (No. 5.2548) on specifications regarding the company’s executives who issued stocks.
Scope, authority and responsibilities of the Managing Director 1. Supervision and provision of various recommendations for the operational procedures and daily management of the company. 2. Perform or practice duties to ensure compliance with operational procedures, planning policy and budgets according as approved by the company’s board of directors. 3. Authorized to perform any business procedures to ensure compliance with the objectives, policies, regulations, agreements, orders and decisions of the meeting of the company’s board of directors and/ or the decision of the meeting of the company’s shareholders. 4. Holds authority to order, regulate, announce and record to ensure that work performance complies with the policies and benefits of the company and in order to maintain working discipline within the organization. 5. Perform daily follow-up and evaluation of the outcomes of the company’s operational procedures to remain prepared and prevent potential risks due to both external and internal factors. 6. Holds the authority to approve legal actions regarding the company’s ordinary business transactions such as trading, procurement of raw materials for production, expenses in performing ordinary business transactions, investments, provision or sales of equipment, property and services in the company’s interests including the authorization in the aforementioned procedures for flexibility in the company’s operational procedures. 7. Holds the authority to act and appear as the representative of the company to third parties as necessarily involved the business and for the performance of ordinary business transactions in the interests of the company. 8. Occasional performance of any other duties as assigned by the company’s board of directors. With authority to perform any legal procedures with potential conflicts of interest between the Managing Director or stakeholders in the company or the company’s subsidiaries as specified by law and the announcement of the Board of Directors over Stocks and the Stock Exchange or over the Stock Exchange of Thailand, which shall not be considered under the authority of the Managing Director in considering the right to vote in the aforementioned legal procedure regardless of whether the issue is left to the Managing Director’s own discretion, or assignment for other individuals to act on his/her behalf In the aforementioned case, that legal procedure must be presented for approval of the Audit Committee for presentation to the company’s board of [ 112 ]
Annual Report ‘ 2008
directors and/or the meeting of shareholders (depending upon the case) as specified in the company regulations and according to the law.
Recruitment for Directors and Executives 1. Director Recruitment The company has a Recruitment and Wage Sub-committee to perform duties in the area of Recruitment and Wage consideration for specific company directors by considering the basic qualifications of the directors according to the criteria specified by associated laws including consideration of factors in other areas such as knowledge, capability, business-related experience and in the business interests of the company, etc, for proposal to the company’s board of directors or the meeting of shareholders in order to consider the appointment (depending upon the case) with the following criteria and procedures: 1. The company directors must perform their duties in compliance with the law, objectives and regulations of the company as well as the decisions of the meeting of shareholders. 2. The company’s board of directors shall consist of at least five directors wherein no less than half of all of the directors must reside in Thailand and the directors must possess qualifications as specified by related laws. 3. One-third of the directors shall resign from their positions at every annual common meeting of the company. If the number of the resigning directors cannot be divided into three parts, the directors shall resign by the number closest to one-third, but no more than one-third of the number of all directors. The directors to be released from office during the first and second year after the registration of the company are to draw lots to determine who will be released in subsequent years. The director in office longest will leave that office and the directors already released from office may be reelected. 4. The Recruitment and Wage Sub-committee shall select and recruit individuals with knowledge and capabilities as suitable for the company’s businesses including consideration of wages for the directors for proposal to the meeting of shareholders for consideration of approval. 5. The meeting of shareholders shall appoint directors by means of a majority vote according to the following criteria: 5.1 Each shareholder shall have voting power equal to one vote per share. 5.2 Each shareholder must use all of the remaining votes to elect one or several individuals to be a director(s). 5.3 The individual receiving the highest respective amount of votes will be elected as a director according to the appropriate number of directors or the number of directors that should be elected at that time. In the event that the individuals elected in the next rank have equal numbers of votes but exceed the number of director seats up for election at that time, the Chairman of the meeting shall cast the deciding vote. 6. In the event that a director’s seat is available due to causes other than release due to expiration of the director’s term , the Recruitment & Wage Sub-committee shall choose qualified individuals without forbidden characteristics as specified to replace the director in the next meeting of the board of directors, Annual Report ‘ 2008
[ 113 ]
unless the remainder of the director’s term is less than two months and with the votes of no less than three quarters of the remaining directors wherein the individual to replace said director shall remain in office for the length of the term of the director being replaced. The decision of the board of directors must be the result of no less than three-quarters of the remaining directors. 7. The shareholders meeting may decide upon the release of any director from office before the expiration of his/her term by a vote of no less than three quarters of the number of shareholders present at the meeting with the right to vote and a total number of shares less than half of the number of shares held by the shareholders in attendance at the meeting with the right to vote.
2. Recruitment of Inspection/Independent Directors The Audit Committee shall consist of at least three independent directors serving terms of three years each. The Recruitment & Wage Sub-committee shall have recruitment policy for audit directors/independent directors in agreement with the announcement of the Board of Directors over Stocks and Stock Exchanges (No. Kor. Jor. 12/2543) on Requesting & Granting Permission to Propose the Sale of Newly Issued Shares and with the following qualifications: 1. Holds no less than 5% of the company’s registered shares issued and payable shares and also including the shares held by related individuals 2. Is not an employee, staff member, advisor with monthly salary, or a person authorized to control the company or a legal entity with potential conflicts of interest. 3. Is not an individual related by blood or legal registration as father, mother, spouse, sibling or child including the spouse of the child of an executive, a major shareholder, an, or an individual recommended to be an executive or individual with controlling power for the company. 4. Has no business relationship with companies or legal entities with potential obstructive conflicts to the independent exercise of discretion with no other characteristics potentially causing the individual to be unable to independently express opinions about the company’s operational procedures. Moreover, at least one of the independent Audit directors must be an individual with sufficient knowledge and experience in accounting or finance to be able to perform the duty of auditing the credibility of the financial budget wherein the Recruitment & Wage Sub-committee shall consider qualifications in other areas such as business experience, special expertise related to business, ethics, etc. The criteria and methods for appointing the Audit Committee Directors shall be in compliance with the criteria and methods for appointing company directors. An Audit Committee Director who is released from office upon the expiration of his/her term may be reappointed to the position. In the event a directors position becomes available due to causes other than the expiration of a term, the Recruitment & Wage Sub-committee shall select and propose individuals to the board of directors in order to consider the appointment of individuals with the qualifications to be an Audit Committee Director so that the Audit Committee Directors will meet the number specified by the company’s board of directors. Furthermore, replacement directors shall remain in office to the end of the term of the director they are replacing.
[ 114 ]
Annual Report ‘ 2008
3. Recruitment for the Risk Management &Sub-committee The company’s board of directors will appoint a Risk Management Sub-Committee consisting of no more than five directors or senior executives from various fields of work by designating the Chairman of the Risk Management Sub-Committee as an independent director. The Risk Management Sub-Committee members shall serve for terms of two years and schedule at least one meeting per year wherein the elements of the meeting of the Risk Management Sub-Committee must be no less than three members.
4. Recruiting recruitment & wage sub-committee members The company’s board of directors shall appoint a Recruitment & Wage Sub-committee consisting of no more than 4 directors by designating the Chairman of the Recruitment & Wage Sub-committee to as an independent director. The Recruitment & Wage Sub-committee will remain in office for terms of three years each, and the Recruitment & Wage Sub-committee members who are released from office may be reelected, but for no more than 2 consecutive terms. Furthermore, meetings shall be scheduled at least once per year and the elements of the meeting of the Recruitment & Wage Sub-committee must be no less than 3 members.
5. Recruitment Managing Director
The company’s board of directors will appoint the Managing Director by selecting from the directors or senior executives of the company’s senior executives and subsidiaries who are capable of managing operations in terms of ordinary business transactions, operational procedures and management operations for the company and with ability to establish policies, business plans, budgets, administrative structures as well as inspections and follow-up on the outcomes of the company’s operational procedures in compliance with the policies set forth by the company’s board of directors.
6. Recruitment Directors The company’s board of directors and/or individuals assigned by the company’s board of directors will consider the appointment of executives from experienced personnel with knowledge and capabilities in managing operations in related fields of work.
Executive Wages 1. Monetary Compensation
Meeting Gratuities for Directors and Audit Committee Directors The company offers the following monetary compensation:
Annual Report ‘ 2008
[ 115 ]
• Meeting gratuities for the company directors shall be paid at the following rates: • The company’s Chairman of the Board: 20,000 Baht/time • Each company director: 10,000 baht/time • Meeting gratuities for the Audit Committee Directors shall be paid at the following rates: • Company Chairman of the Board: 20,000 Baht/time • Each company director: 10,000 Baht/time Meeting agendas and consideration for payment of directors’ remuneration of the meeting as following; Number of Meeting Attendances Meeting Gratuities Directors Auditing The Risk Manage- Recruitment & ment Sub-comWage Sub-com(million baht) Directors mittee mittee
Name 1..Dr. Vichan Witayasai 2. Dr. Thammanoon Ananthothai 3. Mr. Boonyabaramee Sawangwong 4. Mrs. Nardruedee Tammawan 5. Mr. Suwat Luengviriya 6.. Mr. Akarawit Kankeaw 7. Mr. Woradit Tanapat 8. Mr. Suthat Boonya-Udomsart 9.. Miss Patcharaporn Oonsri 10.. Mrs. Tasanee Thongdee
5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 4/5 1/5
5/5 5/5 5/5 -
2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 -
2/2 2/2 2/2 2/2 -
100,000 150,000 100,000 100,000 50,000 40,000 50,000 50,000 40,000 10,000
Remarks: 1/ Ms. Patcharaporn Oonsri was released from the position of director in November, 2008. 2/ Ms. Tasanee Thongdee was appointed the position of director in November, 2008. The sum total of management’s remuneration was given to Managing Director, Deputy Managing Director and Senior Manager in the year of 2008 is for 12 people, totaling amount of 19,416,680.79 Bath . 2008 Description Salary Retirement Fund Total [ 116 ]
Annual Report ‘ 2008
Number of People 12 11
Amount (million baht) 17,937,900.00 1,478,780.79 19,416,680.79
Policy for Paying Dividends
Better World Green Public Company Limited and its subsidiaries have policy for paying dividends to shareholders at the rate of 50% of the net profit from the Consolidated Financial Statement after income tax deductions and deductions for reserves according to the law and other savings according to the company’s requirements as long as there is no necessity for items such as future expansion of the company in various projects and as long as the payment of the dividends does not significantly affect the company’s normal operations.
Annual Report ‘ 2008
[ 117 ]
[ 118 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 119 ]
[ 120 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 121 ]
[ 122 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 123 ]
[ 124 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 125 ]
[ 126 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 127 ]
[ 128 ]
Annual Report ‘ 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 129 ]
General Company Information Company Name : Type of Business Operations : Main Office Location : Location of the Saraburi Center : for of Industrial Waste Company Registration No : Registered Shares : Telephone : Fax : Website :
Better World Green Public Company Limited Provision of administrative and management services for waste or materials no longer in use. 2674/1 Drive In 2, Village No. 2, Ladprao Rd., Klongchan Sub-district, Bangkapi District, Bangkok 10240 140, Village 8, Huaeyhang Sub-district, Kaengkoy District, Saraburi Province 18110 Bor. Mor. Jor. 01075748000161 Registered Shares: 377 million baht Paid Registered Shares: 320 million baht Value per share: 1 baht Main Office: 02-731-0080, 02-731-1815 Administrative and Management Center: 03-623-7540-6 Main Office: 02-731-2574, 02-731-1125 Administrative and Management Center: 03-623-7540 www.betterworldgreen.com
Other Referees securities registration : Audit : Legal Advisor : Financial Advisor :
[ 130 ]
Annual Report ‘ 2008
Thailand Securities Depository Co., Ltd. 62 The Stock Exchange of Thailand Building, Rachadapisek Road, Klongtoey, Bangkok 10110, Thailand Tel: 02- 229 2800 Fax: (66 2) 359 1259 Mr. Chessada Hangsapruk Certified Public Account (Thailand) No. 3579 Garin Audit Co., Ltd., Boonmitra Building, 6th Floor Room B. 138 Silom Rd. Bangrak Bangkok 10500, Thailand Tel. 0-26342484-6 Fax.0-26342668 Anurak Business Law Co.,Ltd. R.S. Tower Building, Room No.121/106, No.121, Floor 40th , Rajadapisek Road, Dindang, Dindang, Bangkok 10400, Thailand Tel. 02-6423333 Fax. 02-642 3773 KTB Securities Co.,Ltd. 999/9 The offices at Centralworld, 16th Floor, Rama1 Rd., Patumwan, Banglok. 10330 ,Thailand. Tel 02-2645888 or 02-2645888 Ext. 6003 Fax. 02-2645880
Brief Information on the Company and the Companies in the Network Better World Green Public Company Limited registered as a legal entity in compliance with civil and commercial laws under registration no. Bor. Or. Jor. 763, on 23 July 1997 with the initial registration capital of one million baht to conduct the business of administration and management of waste or unused materials at “Saraburi Industrial Waste Administration and Management Center” located in the Huaihang Sub-district, Kaengkhoi District, Saraburi Province on an area of approximately 271 rai for conducting the following businesses: 1. Class 101 Business Operator’s License for the activity of “Improving Overall Waste Quality and Burial of Hazardous and Non-hazardous Waste or Unused Materials”. 2. Class 105 Factory Operator’s License for the activity of “Improving Overall Waste Quality and Burial of Non-hazardous Pollutants and Unused Materials”. 3. Class 106 Factory Operator’s License for the activity of “Improving Overall Quality of Unused Materials for Synthetic Fuel Blending and Alternative Raw Material”. Used to industrial furnaces and special furnaces The company’s main office is located at 2674/1, Drive-in Soi 2, Mu 2, Ladprao Rd., Klongchan Sub-district, Bangkapi District, Bangkok, with 377,000,000 baht (three hundred and seventy-seven million baht only) in registered capital and 320,000,000 baht (three hundred and twenty million baht only) in paid-up capital with the Saraburi Industrial Waste Administration and Management Center located at 140, Mu 8, Huaihang Huaihang Sub-district, Kaengkhoi District, Saraburi Province. Moreover, there are four other companies in the network: Better Waste Care Company Limited, Earth Tech Environment Company Limited, Better World Transport Limited and Akkhie Prakarn Company Limited. The administration and operation of the Saraburi Industrial Waste Administration and Management Center has received support from related agencies, which shows its determination, attention, concern and conscientiousness in providing services for the treatment/disposal of wastes or unused materials with quality and with no impact on the environment in compliance with legal specifications with the following details:
In 2003
The company received the approval of the Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Ministry of Natural Resources and Environment in the Environment Impact Assessment (EIA) of the Saraburi Industrial Waste Administration and Management Center, both for operations in compliance with measures to reduce environmental impacts and follow-up/inspection of environmental quality.
In 2004
The company received the rights and interests from the Board of Investment in the business of the burial of hazardous and non-hazardous industrial waste and waste water treatment for a total period of eight years from the date the business operations had earnings in 2005 and with special rights from the receipt of investment support according to the Investment Support Act of 1977 as follows in brief: (a) Received exemption from import tariffs for machinery under the consideration and approval of the Board.
Annual Report ‘ 2008
[ 131 ]
(b) Received exemption from legal entity income taxes for net profits acquired from the operations of the supported business for eight years from the date the business operations earned income. (c) Received exception from legal entity income taxes for net profits acquired from investments at the rate of 50% in usual rates for 5 years.
In 2005
The company supported measures for management in the area of quality and the environment (ISO 9001: 2000 and ISO 14001: 2001) from SGS Company Limited for Non Hazardous Waste, which indicates the company’s determination and intent in developing the administration and management of waste consisting through various activities such as marketing, storage, categorization, transportation, disposal, prevention and solutions for emergency situations, monitoring of environmental impacts, public relations and social responsibility, etc. The company received permission to conduct the business of hazardous wastes or unused material disposal by using the methods of adjustment to stabilize and burial. The company transformed into a public limited company and also changed the marked value from 100-baht shares to one-baht shares.
In 2006
The company extended services from the business of burial, which is the provision of services for utilizing waste materials as alternative energy, and received permission from the Department of Industrial Factories to conduct the business of improving the quality of waste or unused materials for use as alternative raw materials or synthetic fuel blending for cement furnaces and various industrial furnaces. The company emphasize on providing knowledge of Industrial Waste Law to all industrial factories through out Thailand. The cooperation involve with Department of Industrial Works and Industrial Estate Authority of Thailand which control and administrate all industrial factories.
In 2007
The company received investment support for business of improving the quality of waste or unused materials to become alternative materials or synthetic fuel blending for cement furnaces and various industrial furnaces for a period of eight years from the date the business operations realized income and obtained special rights as a result of receiving investment support in compliance with the Investment Support Act of 1977. The company proposed the sale of value-added common shares at the amount of 76 million shares and proposed sales to company directors and employees in the amount of 4 million shares, thus resulting 320 million baht in paid-up registered capital. On the 14 November 2007, the company registered with the Stock Exchange of Thailand.
In 2008
The company received ISO 9001: 2000 and ISO 14001: 2001 accreditation from SGS Company Limited for the quality and environmental management system for hazardous waste or unused materials
[ 132 ]
Annual Report ‘ 2008
Better World Green Public Company Limited held shares in Akkhie Prakarn Company Limited to participate in the bidding held by the Department of Industrial Factories to perform the administration and operation of project centers to administrate and manage unused industrial materials for industrial furnaces. * (Akkhie Prakarn Company Limited was formerly known as BYSC Trading comprising Better World Green Public Company Limited (93.99% of the shares), Yamazen Holdings Company Limited (holding 5% of the shares) and CUB Company Limited (holding 1% of the shares)). The Cabinet ruled to approve Akkhie Prakarn Company Limited (the company holds 93.99% of the stares) to win the bidding held by the Department of Industrial Factories, Ministry of Industry and obtain rights for the management and operation of project centers for the administration and management of unused industrial materials (industrial furnaces) for 20 years from the date of the execution of the contract (11 February 2008) with the right to request an extension of the contract term. The ceremony of Contract Signing Agreement was help in February 2008 in regard with the authority in management of the Industrial Waste Incinerator, at the Waste Management Center, Bang Poo Industrial Estate, Samutprakarn province between Akkei Prakarn Co., Ltd. and Department of Industrial Works – Ministry of Industry by Minister joining as the witness of this event. Currently, the company provides a one stop service on waste treatment and management of industrial hazardous and non-hazardous waste from all over the country. Our services include treatment for recycling, secure landfill by standard methods certified by various domestic and foreign agencies, treatment for using as raw material and fuel which will maximize the benefit of natural resources, and incineration with a high temperature incinerator which is the first place in Thailand to have an advanced technology and high efficiency emission control system. All the services are operated under the philosophy of “We care Concerned…for all Beings and Environment”.
Annual Report ‘ 2008
[ 133 ]
Nature of Business Operations In response to an increase volume of waste and unusable materials from an industrial sectors resulting from a continuous increase in the economic growth during the past years along with the government policy on standard waste disposal, it is essential that the company must sufficiently operate to support waste and unusable materials as a one stop service in order for our customers in industrial sectors to achieve highest satisfaction. Additionally, the company must response to the government policy on social responsibility. Therefore, on 31 December 2008, the company identified a structure of the group as follows.
Structure of Better World Green Public Company Limited and Subsidiaries
Better World Green Public Company Limited Better World Green Public Company limited conducts the business of providing administration and management services for hazardous and non-hazardous wastes with the Saraburi Center for Industrial Waste (the Administration and Management Center) at 140, Moo 8, Huayhaeng Sub-district in the province of Saraburi on approximately 271 rai of land with the following service systems within the center:
1. The System for the Burial of Non-hazardous waste or unused materials
This system performs standardized burial according to standards certified by the Department of Industrial Factories, Ministry of Industry, to conduct the business of burying non-hazardous wastes at the Saraburi Center for Industrial Waste. The holes for burying non-hazardous wastes consist of a lining system that meets international standards, leakage testing systems for materials on the floor of the hole during the lining procedures of the bottom of the hole, systems for testing the pressure of hole lining materials prepared to support wastes, Leachate systems, systems for collecting gases occurring from the burial, including systems for covering the burial holes and follow-up inspections during the holes’ usage life.
[ 134 ]
Annual Report ‘ 2008
2. System for Stabilization and Burial of Hazardous Wastes The stabilization system is a system for reducing the toxicity of each type of toxic component in order to prevent long-term health and environmental impacts. After reducing the toxicity according to internationally accepted standards, the waste is transported to a secured landfill by the Area & Trench Method, which is convenient the control and designation of areas for secure landfills with a double lining system along with systems for the strict prevention, control and handling of buried waste and secure operations providing the highest degree of environmental safety.
3. Waste Water Treatment The Company has set up a waste water treatment system at the Saraburi Center for the Administration and Management of Industrial Waste where the operations for non-hazardous and hazardous waste water are clearly categorized by biological treatment and chemical treatment of waste water. The waste water treatment processes are operated in a batch system with capacity for treating 450 cubic meters of waste water per day. More over in 2008 The Company has invested Reverse Osmosis (RO) system to enhance treatment process.
Annual Report ‘ 2008
[ 135 ]
4. System for Improving the Quality of Waste or Unused Materials for Synthetic Fuel Blending and Alternative Raw Materials One part of our policy for recycling waste or unused materials in the form of synthetic fuel blending and alternative raw materials by improving the quality of waste/components that are suitable for use in synthetic fuel blending and alternative raw materials such as high temperature furnaces, industrial furnaces and special furnaces for waste by primary consideration of the components in terms of energy. While the company initiates fuel blending and using waste as substitute raw material in industrial waste incinerator for Akkhei Prakarn Company. which is our subsidiary.
5. Subsidiaries Business Furthermore, the company has various subsidiaries operating businesses in support of various aspects of waste management as follows: 1. For the businesses of brokers to receive waste or pollutants for administration and management by various methods we have Better West Care Company Limited (BWC), a subsidiary, acts as the aforementioned broker wherein BWC performs the duty of marketing in proposing services to factories and providing advice for appropriate waste management in terms of treatment, recycling and disposal, etc. 2. For the business of administration and management for waste or unused materials by the method of recycling, we have Earth Tech Environment Company Limited (E-tech), a subsidiary providing services wherein E-tech collects waste to be put through the recycling process and consultation services for the disposal of waste within factories and recyclable wastes while also providing consultation for waste water treatment, etc. 3. For the business of waste transportation management, we have Better World Transport Company Limited (BWT), a service provider, wherein BWT provides its own vehicles in addition to procuring and out-sourcing additional transportation providers as necessary. BWT does the planning and designating all transportation routes for maximal efficiency for zero accidents with measures for handling emergency cases in the event of an accident by adhering to communication, coordination and speed between drivers and emergency teams who are a BWT work unit and other outside agencies involved the management and control of the situation such as various provincial rescue units, civilian disaster prevention volunteers, etc. 4. For the business of waste disposal at the First Industrial Incinerator Plant, we have Akkhie Prakarn Company Limited (AP) as the recipient of the right to manage and operate the manage the center for industrial waste management (industrial incinerators) for a period of 20 years with an option to extend the duration in cooperation with the Department of Industrial Works, the agency overseeing the project with 110,000,000 baht (one-hundred and ten million baht only) in registered capital and offices located at 792 Moo 2 Soi 1C/1 Bangbu Industrial Estate, Sukhumvit Rd., Bangbu Mai Sub-district, Samutprakarn Muang District, Samutprakarn Province, on a total land area of 18 rai and 100 square wah. This industrial incinerator is the first and only industrial incinerator in Thailand that incinerates sludge, liquids, solvents, oils, gases and infectious waste according to the laws governing public sanitation and at high temperatures of no less than 1,100 degrees Celsius with capacity for providing hazardous waste disposal services for up to 48 tons per day, or 15,000 tons per year (or more, depending upon the waste management. The incinerator is a rotary kiln with modern air filtering equipment, Programmable Logic Controller and Fly Ash and Bottom Ash treatment systems by stabilizing the materials for solidification and burial in the landfill at Better World Green Public Company Limited. [ 136 ]
Annual Report ‘ 2008
Summary of the Financial Status and Performance Outcome for the Company and Its Subsidiaries Total Revenue Gross Profit Net Profit Gross Profit Rate Net Profit Rate Total Assets Total Liabilities Shareholder Holdings
2549 467.62 166.46 70.15 35.66% 15.00% 573.87 237.09 336.77
2550 580.58 226.50 106.86 39.10% 18.41% 916.16 207.12 709.03
2551 611.07 245.39 70.36 40.16% 11.51% 957.05 225.45 731.60
Revenue Structure for the Company and Its Subsidiaries 2006 Value
(Unit : Million baht)
2007
Percentage
Value
2008
Percentage
Value
Percentage
Revenue From Services Revenue from Company Services - Non-hazardous Waste Management - Hazardous Waste Management - Quality Improvement of Waste For Use As Alternative Raw Materials And Synthetic Fuel Blending - Waste Water Management Total Revenue from Company Services Total Revenues from the Services of Subsidiaries Total Revenue from Services Other revenue * Total Revenue
224.96 167.80 -
48.11% 35.88% -
171.74 288.24 29.22
29.58% 49.65% 5.03%
124.61 244.05 130.40
20.39% 39.94% 21.34%
392.76 74.09
83.99% 15.85%
22.29 511.49 67.83
3.84% 88.10% 11.68%
30.43 529.49 78.34
4.98% 86.65% 12.82%
466.85 0.77 467.62
99.84% 0.16% 100.00%
579.32 1.26 580.58
99.78% 0.22% 100.00%
607.83 3.24 611.07
99.47% 0.53% 100%
Remarks: * Other revenue such as waste analysis fees, profits from the sale of properties, interest earned, miscellaneous income, etc.
Company Income Structure 2008 Value Amount (Tons) (Million baht)
2006 2007 Value Value Amount Amount (Tons) (Million baht) (Tons) (Million baht)
Income from company services* - Non-hazardous Waste Administration and Management
88,219
124.61
141,367
171.74 190,218
224.96
- Hazardous Waste Administration and Management
89,014
244.05
116,257
228.24
46,629
167,80
- Blending Administration and Management
32,648 8,874 218,755
130.40 30.43 529.49
8,934 10,938 277,496
29.22 22.29 511.49 236,847
329.76
29,700
78.34
29,536
39,426
74.09
248,445
607.83
307,032
579.32 276,273
466.85
- Waste Water Administration and Management Total income from the provision of company services Total income from the provision of subsidiary services Total income from services
67.83
1. Company Performance (Company and Subsidiaries) Annual Report ‘ 2008
[ 137 ]
Business Operation in 2008 1. Company Performance (Company and Subsidiaries) Income
In 2008, the company earned total income of 611.07 million Baht. When compared to the year 2007, the company had total income of 580.58 million Baht, an increase from the previous year of 30.49 million Baht or 5.25% due to the fact that the company expanded types of businesses, namely, the income from the project of the improvement of industrial wastes in order to be the raw materials and alternative fuels and the additional income from the new subsidiary, Akkhie Prakarn Company Limited.
Net Income
In 2008, the company earned net profit of 70.39 million Baht, and when compared to the year 2007, the company had net profit of 106.86 million Baht or a decrease of 11.51% and 18.41% from the previous year due to the fact that Akkhie Prakarn Company Limited, a subsidiary of the company, had losses of 54.82 million Baht since the company just started the businesses and there were some expenses regarding the preparation of company’s operations.
Cost and Expense
In 2008, the company had total expenses of 526.04 million Baht, and when compared to the year 2007, the company had total expenses of 459.60 million Baht or 86.09% and 79.16% of total incomes. Such increase was due to the expenses of the subsidiary, Akkhie Prakarn Company Limited.
2. Financial Status (Company and Subsidiaries) Asset
The company had total assets as of 31 December 2008 of 957.05 million Baht, an increase from
the previous of 40.89 million Baht. Such increase is due to investment in the waste water treatment system, stabilization and industrial hazardous waste landfill system.
Liabilities
As of the year 2008, the company had total liabilities of 225.45 million Baht, an increase from the previous year of 18.33 million Baht or 8.85% due to the fact that the company expanded its businesses so the short-term working capital was needed.
Shareholders’ Equity
The company had total shareholders’ equity as of 31 December 2008 of 731.60 million Baht, and when compared to as of 31 December 2007, it had total shareholders’ equity of 709.03 million Baht, an increase of 22.56 million Baht due to better performance of the company and its subsidiaries.
[ 138 ]
Annual Report ‘ 2008
Performance on the Management in 2008 Marketing and Sales Promotion
In 2008, the company provided industrial waste disposal service of hazardous and non-hazardous waste for the total of 248,825 tons including 152,828 tons of hazardous industrial waste and 95,997 tons non-hazardous industrial waste, accounted for the revenue of 554.09 million Baht.
A graph shows the disposed volume of industrial waste and unusable materials
In 2008, the company was trusted to provide services to numbers of industrial factories in various groups as follows.
• Steel industry • Automotive industry • Petrochemical industry • Chemical industry • Electronics industry
• Textile Dyeing industry • Paper industry • Food industry • Other industrial groups
A graph shows the services provided to industrial factories divided by regions
3% 1%
Central Region Northern Region Eastern Regior North-eastern Region southern Region
24%
2%
70%
Annual Report ‘ 2008
[ 139 ]
Marketing and sales promotion strategies were determined to enhance the company’s competitiveness as follows. 1. Create the image of a company to be the one that provides one stop service with technical knowledge and environmentally friendly concern. 2. Retain existing customers by allowing customers to visit company’s sites, disseminating information regarding waste management and disposal to safeguard the sanitation and environment, and arranging activities about the safety in the factory. 3. Develop relationship to acquire new customers by providing information regarding waste disposal practices complying with the legislations. 4. Use the information technology in order to communicate with target groups as well as government sectors and academic institutions. 5. Provide documentation and coordination services such as coordination for business dealing with the permission for waste transportation as well as coordination for government official and customer enquiries. 6. Maintain the standards in quality and environmental management in order to meet customers’ highest expectation and satisfaction. 7. Provide trainings to sale managing staffs in order for them to have necessary skills to provide an assistant and convenience to customers.
Operation Management
From the company’s policy to provide one stop service covering every region in Thailand, in 2008 the company constructed more facilities and increased numbers of equipment and machines to support an ever increasing demand of our services for waste management and disposal as well as to increase our production capacity for all services. The construction and expansion projects are as follows. • Expansion of landfill sites/areas • Construction of the solid waste quality improvement system • Alternative fuel and raw materials for cement and industrial incinerators • Expanding the construction of wastewater treatment system • Expanding the construction of stabilization system • Expanding the construction of waste weighing system The construction of those facilities allows us to operate the waste management and disposal in accordance with academic principles as shown in the following table. Hazardous waste 2007
Secure Landfill System Secure Landfill and Stabilization System Wastewater Treatment System Quality Improvement System
126,404 13,937 11,289
2008
99,307 12,963 40,558
Non-hazardous waste 2007
150,015 -
2008
95,997 -
Note: Production capacity is based upon the man power of 8 hours per day for 300 working days per year. [ 140 ]
Annual Report ‘ 2008
Quality Management of Environmental Engineering and Technical Knowledge One important reason for the allocation of wastes to Center of Industrial Waste Management, Saraburi Province, is to allow the company to analyze waste components which will lead to the development of the best practice for waste treatment and disposal as in accordance with academic principles. Methodologies of waste component analysis must meet the criteria specified by the Notification of the Ministry of Industry Re: Disposal of Waste and Unusable Material B.E. 2550 (2008). Technicians and staffs of the company’s laboratory are registered and certified by the Department of Industrial Works, Ministry of Industry, and thus are qualified to conduct an analysis of waste components of both solid and liquid wastes including hazardous and non-hazardous wastes. Wastes can be categorized as following: ปรั บเสถี ยร (073) Stabilized & Secured Landfill (073)
0% 47%
33%
Sanitary (071) ฝั งกลบแบบถูlandfill กหลั กสุ ขาภ ิ บาล (071)
บำบัดน้ ำเสี ยทางเคม ี กายภาพ (065) Wastewater Treatment (065)
ผสมกากเช ื ้ อเพลิ ง (042) Solid Blending 5% 15%
Alternative เชื้อเพลิ งทดแทนfuel (041)Blending
Throughout the company’s operational performance, we have conducted the research and development for the specific recipe to save costs in analyzing waste component and thus could apply to be used in waste management practice for the maximum benefits in various aspects including alternative fuel and accelerated treatment and disposal, in the most environmentally friendly manner.
Marketing Trends and Targets for 2009 Better World Green Public Company Limited and the Group have the performance targets under the one stop service policy for the management of industrial waste and unusable materials by the following means. • Secure Landfill • Wastewater Treatment • Recycling • Quality improvement of unusable materials to be used as raw materials and alternative fuel • Incineration The company has focused on providing high quality services in order for customers to achieve highest satisfaction as well as on managing wastes in accordance with academic principles as such posing no adverse impact to the sanitation and environment.
Annual Report ‘ 2008
[ 141 ]
In the second half of 2008, many countries had faced with financial challenges due to the US and Europe financial crises. In addition, political crisis in Thailand exacerbated financial situation resulted in low consumer spending and business investment as well as low growth rate in an import business and tourism sectors. In order to prevent the risks in case that the financial situation has not yet recovered in 2009, the company thus estimated the target for the business growth rate of 2009 to be approximately the same as that of 2008. However, in case that the investment projects were planned prior to the financial circumstance, the projects will be proposed to the board of directors to approve for the projects of which the business opportunity is greater than the cost of operation, and the negative impacts are not foreseen. In order to deliver the high capacity full services and to tackle with the challenges due to global economic situation, in 2009, the company has developed an operational plan as follows. • Focus on the proactive strategy in business expansion by extending the services from industrial waste management to municipal waste management with the participation of local communities in each region. • Focus on acquiring new customers by enhancing customers’ confidences of our services by arranging site visits to allow customers to observe the company’s operation at our facilities including: - Center of Industrial Waste Management, Saraburi Province (Landfill, wastewater treatement, and quality improvement for alternative fuel development) - Center of Industrial Unusable Material Management (Industrial waste incinerator), Samutprakarn Province (High temperature incineration) • Retain maximum numbers of existing customers. • Focus on activities participating with the Department of Industrial Works, Ministry of Industry, in order to disseminate information to industrial factories entrepreneurs in every region regarding important principles of waste management. • Focus on the operations to be in accordance with the international standards such as standard for quality management system (ISO 9001), environmental management standard (ISO 14001), testing and calibration laboratory standard (ISO 17025), as well as social responsibility standard (ISO 26000), in order for customers to receive highest satisfaction and confidence in our services. Develop the information technology system to communicate with the target groups as well as government sectors and academic institutions. • Promote and develop capacity building for technical sale representatives in order for them to have necessary skills to provide assistant and convenience to customers. • The company’s performance is based upon the principles of the honesty, service-minded attitude, promptness, and punctuality. We always keep in mind that all staffs in the company are service providers. Thus, these have been the principles of our performances and the success.
[ 142 ]
Annual Report ‘ 2008
Personnel As of 31 December 2008, company personnel (executives not included) comprised 240 employees in the following lines of work: Department 1. Saraburi Industrial Waste Administration and Management Center 2. Marketing Administration and Customer Relations Department 3. Sales Promotion & Information Department 4. Environmental Engineering & Technical Department Human Resources &Transportation Control Department 6. Accounting and Finance Department 7. Internal Audit Department Total
Number of Employees (Persons) 140 40 13 12 19 13 3 240
As of 31 December 2008, the company’s subsidiaries employed at total of 135 employees categorized by company as follows: Subsidiary Companies
Number of Employees (Persons)
Better Waste Care Company Limited Administrative Division
1
Environmental Engineering Department
2
Customer Relations and Sales Promotion Department
4
Accounting and Finance Department
4
Transportation Control Department
4
Service Department
1 Total
13
Better World Transport Company Limited Administrative Division
3
Administrative Department
7
Transportation Department
30
Total
40
Earth Tech Environment Company Limited Marketing Administrative Division Total
1 1
Akkhie Prakarn Company Limited Administrative Division
17
Environmental Engineering Department
6
Marketing Department
7
Maintenance Department
13
Transportation Control Department
5
Operations Department
28
Laboratory Department Grand Total
5 81
Annual Report ‘ 2008
[ 143 ]
Employee Remuneration The company has policy for remunerating employees in the form of monthly payments such as salary, overtime, Provident Fund and other privileges such as diligence gratuities, outstanding employee awards and annual health examinations. The company has also established a Company Employee Welfare Committee in compliance with the regulations of the Ministry of Labor and Social Welfare and comprising both employer and employees to consider the issue of the aforementioned employee welfare The company’s employee remuneration expenses amounted to 58.04 million baht in 2008, The subsidiary companies’ employee remuneration expenses amounted to 24.13 million baht in 2008, as follows: • Salary • Provident Fund • Social insurance • Medical Fees • Employee Life Insurance Fees
Personnel Development Policy
Both the company and its subsidiaries companies have placed great importance on the issue of developing employee knowledge and capability in order to increase operational efficiency and service quality by holding continual training and seminars with both in-house and outsourced lecturers as necessary for employees as a whole and individually for increased working efficiency and to enable employees to implement the knowledge they have obtained to their work, including policies for providing employee remuneration at appropriate rates in order to motivate employees to maintain long-term employment with the company and its subsidiaries. Furthermore, the company and its subsidiaries have held continual activities to build employee relationships for corporate unity.
[ 144 ]
Annual Report ‘ 2008
Social and Environmental Roles
Mobile Physician for Benefit Activity
Visit a Better House
cleaning temple
Environment Composition
Giving Money for Education
In 2008, the company conducted activities in cooperation with the community and society. The company realizes that sharing opportunities with society and the community begins with the support of knowledge and educational opportunities, because these are the beginning improved lifestyles and sustainable existence for the community with possibility for development to build community strength. Therefore, the company held the following projects for social benefit and a sustainable environment: 1. Learning Source Project…Development for the Community: In order to support and improve educational quality for youths and people interested in correct principles for the administration and management of industrial wastes other than those provided in text books while also creating accurate knowledge and understanding about company procedures for the public until acceptance has been attained at national and international levels. In addition, the company will provide opportunities for youth and the public to enroll in studies about operational procedures at the Saraburi Administration and Management of Industrial Waste Center such as field trip activities, contests for scientific findings, “My Good Environment” essay contests, etc. 2. Public Service Contribution Project: providing public assistance in areas with difficulties due to problems in various aspects such as canal excavations, water services, organization of mobile medical units, vision examinations and glasses for senior adults and cleaning up temples, which will not only supports the life quality of the people in the community, but also creates community unity in accordance with the objectives of projects seeking to provide assistance and relief for the difficulties faced by people in the vicinity to generate social benefits while returning the profit to local areas. Another great project the company provides to communities and society in accordance with the objectives of mutual responsibility toward society and the common interest is participation of activities in every area to maintain good relationships while building trust and faith brought about by good understanding of the community aimed at co-existence. We might say, “The more communities, society and people use our services, the better they understand every step of the company’s operational process. Scrutiny can be effectively transformed into suggestions leading to development and the creation of community and social benefit while also leading to understanding and assistance to assure that operational procedures to run efficiently with maximal success due to the charity, cooperation and understanding of operational procedures for more than 10 years. Thus more people visit the company for a total of no less than 1,000 annual visitors at every level from elementary, high school, university and graduate students including various organizations from both state and private sectors (in each country), all interested in learning and observation of the operational process of the industrial waste administration and management, which is considered one of the proud accomplishments resulting from the standards upheld and maintained by the company in the area of environmental and quality management systems, including public and environmental healthcare under our management philosophy, “We are Concerned...for all being and Environment”. Annual Report ‘ 2008
[ 145 ]
Industrial Analysis and Trends for 2009 In the second half of 2008, Thailand faced with numbers of challenges including financial situation due to the financial crisis in the US and Europe, the volatility of oil price, political turmoil, as well as inflation resulted from an increase in goods price. These posed the negative impacts on the consumers’ cost of living and on the manufacturing sectors. However, if the situation is recovered and the government accelerates the investment in megaprojects, combined with a constant decline in oil prices, these will allow industrial sectors to invest in purchasing more goods and equipment, which in turn will fuel up the economic recovery. In 2006 – 2008, numbers of industrial factories increased at the average rate of 5 percent each year. Meanwhile, during 2005 – 2008, industrial waste and unusable materials from industrial factories had increased at the average rate of 47.09 percent for hazardous waste, and 27.64 percent for non-hazardous waste as shown in the following table. A table of the volume of wastes generated in 2005 - 2008 Types of Wastes Hazardous Waste Non-hazardous Waste Total
2005 1.03 10.03 11.06
2006 1.78 10.43 12.21
Unit : Million Tons
2007 2.16 15.78 17.94
2008 2.45 14.63* 17.08
Source: Industrial Factory Bureau, Cluster 6, Department of Industrial Works Note: *There was a change in the legislation regarding the disposal of wastes and unusable materials. In order to prevent the current pollution situation such as water, air, and waste pollutions, the Department of Industrial Works, which is responsible for overseeing industrial sectors throughout the country, has imposed the specific legislations to regulate waste disposal to be in accordance with the academic principles and legislations. The examples are as follows. • A ratification of the regulation on the disposal of waste and unusable materials B.E. 2548 (2005) which categorizes various groups including by industrial groups and by the methods of waste disposal. Additionally, the regulation is strictly enforced on the responsibility of polluters whether they are industrial factory entrepreneurs, waste transportation companies, or waste disposal service providers • Requesting for the cooperation from government sectors including Office of Transport and Traffic Policy and Planning, Department of Land Transport, The Federation of Thai Industries, Industrial Estate Authority of Thailand, and the Ministry of Natural Resources and Environment, to legislate the monitoring measures of Environmental Impact Assessment (EIA). The company was kept monitoring almost all industrial factories to ensure that waste categorize in proper type i.e. hazardous or non-hazardous and require correct disposal, this for proven any harm of environment. • Developing the electronic information notification system to investigate such information as waste transportation to off-site disposal facilities.
[ 146 ]
Annual Report ‘ 2008
As seen from the following table that numbers of factories applying for the permission to participate in a legalized waste disposal system has increased at the rate of 11.63, 12.67, and 13.63 percent in 2006, 2007, and 2008 respectively. A Table shows numbers of factories participating in a legalized waste disposal system
Year 2006 2007 2008
No. of Factories (Type 2 and 3) 75,938 80,297 84,637
No. of Participated Factories 8,830 10,166 11,538
Percentage 11.63 12.67 13.63
Source: Industrial Factory Bureau, Cluster 6, Department of Industrial Works
The company is operating under government regulations and management as profession to meet standard and inline with quality management of environmental engineering and technique. Better World Green and subsidiaries are focused on customer satisfaction with the philosophy of “We are Concerned...for all being and Environment”. In 2009 our company policy and strategy in regarding with providing knowledge, appropriate way of waste management and efficiency of customer services for our existing clients as well as enlargement relationship to new clients through out the region. Corporate social responsibility is the main activities that go along with company accomplishment.
Annual Report ‘ 2008
[ 147 ]
Shareholder & Management Structure The first ten major share holders as of 22 September 2008
List of Shareholders 1.Luengviriya Group 1.1 Mr.Suwat Luengviriya 1.2 Ms.Kamala Luengviriya 1.3 Mr.Wanchai Luengviriya 1.4 Mr.Ekarin Luengviriya 2.Virathepsuporn Group 2.1 Mrs.Nipa Virathepsuporn 2.2 Mr.Yeamyod Virathepsuporn 3.Jungrungruangkit Group 3.1 Mr.Komol Jungrungruangkit 3.2 Urmporn Common Partnership 3.3 Thongaram Common Partnership 4.Eiamsakul Group 4.1 Miss Raveewan Eiamsakul 4.2 Miss Suchada Eiamsakul 4.3 Mr. Chatchai Eiamsakul 5. Techaintharawong Group 5.1. Mr.Somwang Techaintharawong 5.2. Mr.Banjerd Techaintharawong 6.กลุมเนตรจารุ 6.1 Mr.Sirima Netjaru 6.2 Miss Watchiraporn Netjaru 7.Mr.Suchart Meksap 8.Yamazen Holdings Company Limited 9.Mr.Cherdchai Leelanapapan 10. Mr.Attaporn Sathienwaree 10.1 Miss Vipavee Pummanatachai 11.Mr.Saksit Kanakasai TOTAL
[ 148 ]
Annual Report ‘ 2008
Number of Shares
Percentage of Paid Shares
64,700,000 12,100,000 10,470,000 100,000
20.22 3.78 3.27 0.03
15,000,000 20,000
4.69 0.01
6,649,800 3,860,000 6,290,000
2.08 1.21 1.96
3,750,000 3,846,500 3,750,000
1.17 1.20 1.17
4,022,800 3,899,800
1.26 1.22
3,000,000 300,000 6,150,000 7,200,000 6,100,000 4,130,000 4,250,000 3,375,000 172,963,900
0.94 0.09
54.05
Risk Factors and Risk Management 1. Risks from Legal Disputes Disputes Where the Company in the Defendant In 2003, a group of individuals jointly filed charges with the Central Administrative Court wherein government agencies and officials were accused of illegal activities, negligence toward their duties and wrongdoing in the process of the issuing factory business licenses to the company, requesting the Central Administrative Court to render a court decision or issue a court order to revoke factory licenses for burying non-hazardous or hazardous wastes or unused materials as well as licenses for business operations posing health risks wherein the company would be required to pay compensation for damages to all of the people who suffered. The Central Administrative Court accepted the case of the complainant on 13 February 2004 and deemed for the company to be a defendant as Party 3. The Central Administrative Court dropped the aforementioned case on 15 March 2007. The complainant appealed to the Supreme Administrative Court wherein the company countered the appeal to the Supreme Administrative Court on 3 August 2007 and requested the Supreme Administrative Court to uphold the ruling of the Central Administrative Court and rescind the complainant’s appeal. The Supreme Administrative Court has already accepted the company’s counter appeal for consideration. The company’s legal advisors have offered the opinion that, even though the complainant exercised the right to appeal in order to challenge the Central Administrative Court’s ruling, but the Central Administrative Court had rendered a decision completely covering the contents of the case, both in terms of facts and legal issues. Therefore, it is plausible that the resulting judgment will be in the same direction. However, if the Supreme Administrative Court issues a decision, the results of the case may have the following impacts on the business operations and legal responsibilities of the company: a) Impacts on the company’s business operations If the Supreme Administrative Court issues a decision stating that the defendants acted illegally and neglected legal duties required by the law, the company’s factory business license or license to operate a business that represents a health risk may be revoked and the business operations of burying wastes or unused materials may be suspended until the license is re-issued. The company is confident that the state agency can issue a valid and legal license for the company to proceed with its business operations as quickly as possible. b) In the aforementioned case, the complainant requested the Central Administrative Court to issue a court ruling or order for the company to pay compensation for damages to people who suffered difficulty. The Central Administrative Court dismissed the case and judged in this issue that the request was only an overall statement that did not specify the damages occurred to any complainant or in what amount. Therefore, this case had no grounds for consideration by the court. Disputes from Criminal Cases against the Company and Company Executives for Failure to Follow the Orders of Officials In 2007, a group of individuals filed a criminal suit at the Provincial Court of Saraburi in a case where the company and three directors with the authority to sign on behalf of the company failed follow the orders of officials, thus resulting in stench and waste water that resulted in hazard, loss and suffering on the part of the plaintiffs living nearby or in the vicinity where the defendant buried industrial wastes. The court ordered an arraignment on 4 December 2007. The company explained that the company strictly adhered to the orders
Annual Report ‘ 2008
[ 149 ]
of the officials in compliance with the Factory Act of 1992 with constant and continual reports on the company’s performance outcome within the period of time specified by the law and it had never appeared that the company had received notification from the officials that the company had failed to comply with official as claimed by the plaintiff in any way. On the 19 February 2008, the Provincial Court of Saraburi accepted the case the complainant had filed against the company and authorized the directors responsible for the failure to comply with the orders of the officials and the Provincial Court of Saraburi issued an order for the initial arraignment on Tuesday, 1 February 2009. With regard to this matter, the company’s legal advisors have offered the opinion in the aforementioned case that the accusations of the plaintiff should not be heard, because it had never appeared that the officials of the state agency with authority to direct the company’s business had issued either verbal or written orders stating that the company had failed to comply with the orders of the officials during the time of the company’s business operations from the past to the present date. Therefore, it is plausible that when the company submits witnesses and evidence to accompany the consideration and presents to the court, the court is likely consider the evidence and issue an order to dismiss the aforementioned case. However, if the final judgment of this case goes in a direction indicating that the company or the company directors acted wrongly according to the suit, the initials outcome will involve the company’s payment of a fine within 30 days from the date the fine is applied and the case will be dismissed according to related laws. 2. Risks from Environmental Impacts In conducting the business of the administration of and management of both hazardous and non-hazardous wastes, there are risks for creating impacts to the environments of communities in the vicinity surrounding the company. Therefore, the company has established guidelines for various procedures with control of environmental standards according to the requirements of state agencies in order to avoid creating pollutant impacts on the community while controlling problems and reducing potential risks as follows: 1) Organization of a project area meeting the specifications of the Department of Pollution Control, Ministry of Natural Resources and Environment and the requirements of Department of Industrial Factories, Ministry of Industry while also meeting the United States’ Resource Conservation and Recovery Act: EPA requirements. 2) Specification of clear policies and operational manuals for employees to use as practice guidelines to assure agreement with measures for reducing environmental impacts as specified in the report of the studies on impacts to the environment. 3) Supervision of operational procedures in compliance to the law and company policy by organizing an with out-sourced independent work units to perform inspections every 6 months. The company has received ISO 9001:2000 and ISO 14001:2004 accreditation from SGS (Thailand) Limited. 4) Continual development of the knowledge and capability of personnel through training and attendance at seminars on related issues, etc.
[ 150 ]
Annual Report ‘ 2008
3. Risks Associated with Limitations in Procuring Additional Land. The land under the company’s administration and management center is capable of receiving 2.34 million tons in non-toxic waste and 1.63 million tons in toxic waste. The company may incur risks from the procurement of land to provide additional services when all of the company’s existing land has been utilized for burying wastes. However, since the beginning of 2009, the company has remaining land which is a sufficient area for searching for further business expansion. 4. Transportation Risks In the step of receiving waste from the customer’s factory for treating and burial, the company has authorized Better World Transport Company Limited, a subsidiary, to manage transportation services as well as procurement and the out-sourcing of a transportation service vendor wherein methods have been set forth to minimize risks by stringent procedures for selecting drivers or contracting vendors and conducting follow-up evaluations with operational manuals and training to instill conscientious attitudes toward the importance of transportation procedures for industrial waste in order to ensure consideration of the potential impacts, while also establishing various motivating factors to maintain operational quality. In addition, the agreements in the contract between the company and its vendor clearly impose fines on violators and offenders and requires that the vendors comply with all of the existing laws and regulations of government agencies and those to be issued in the future. Thus, in the aforementioned cases involving the occurrence of hazardous incidents during transportation, the company has an emergency unit to provide suggestions and assistance to the driver to minimize the potential impact. However, the services concerned with the company’s industrial wastes comply with the license issued by the government. Therefore, the company will not provide services for industrial wastes that are extremely hazardous or flammable with impact to the environment, which reduces the risk the aforementioned situations. 5. Marketing Risks In the management of marketing risks, the company has stipulated that the Marketing Management Department arrange marketing performance plans in agreement with the policies of the company and as specified for each work unit to organize performance plans in support of the marketing administration of the company for action according to the specified goals with continual monitoring of the operational results for knowledge of the movements of the market and competitors in order to set strategies as suitable for specific situations. Moreover, from the past operations of the business, the company has a total number of 1,000 service customers per year. The company has guidelines for reducing these risks by emphasizing a one-step service system that meets international quality standard in an appropriate and competitive manner in order to
Annual Report ‘ 2008
[ 151 ]
create customer satisfaction, leading to customers’ continued use of service, including the company’s Marketing Administration Department which selects the names of customers or industrial factories according to goals or contact through governmental agencies to directly introduce the services of the company to customers or arranging on site public relations to expand the customer base. 6. Financial and Liquidity Risk In the area of the company’s financial and liquidity conditions from the evaluations of the Risk Management Sub-Committee, the Executive Division and the Manager of the Accounting and Finance Department/CFO found that the company has maintained financial and liquidity status in a good level and have a value close to the average industrial value. 7. Operational Risks In the consideration of operational risks, the company has taking the following measures to control and prevent operational risks: 1) Stipulate that operators or related individuals operate in strict compliance with manuals and operational procedures wherein the manual and work procedures announced were prepared in compliance with ISO 9001 and ISO 14001, receive regular inspections and observation. Furthermore, any changes will be immediately notified to related individuals. 2) In the event that errors occurring as a result of not operating according to customer specifications, or if there are internal or external complaints, the company has established protocol for close and urgent monitoring in order to provide customers with the highest satisfaction. 3) In the area of operational risk managements, the company take follow-up and preventive measures by systematically solving the problems or issues likely to occur frequently to provide systematic solutions by adding the issue as an item on the meeting agenda to present to the meeting of the Operational System Development Committee. 4) In terms of operational procedure evaluations, the company has stipulated that related work units evaluate and make inquiry to measure the satisfaction and evaluations of contractors/service providers to take action toward solving and modifying according to opinions. 5) The company established an internal audit work unit to perform the duties of inspecting and evaluating the adequacy of the internal control systems.
[ 152 ]
Annual Report ‘ 2008
Corporate Governance Report In order to comply with the policy of the Code of Best Practices, the company has utilized the aforementioned principles as a guideline in the company’s performance in the best interests of the company’s business and create transparency in the efficiency of the Administrative and Management Department, which will build trust among groups of shareholders, investors and all related parties. Therefore, the company’s board of directors has set forth business care principles in accordance with good guidelines for directing businesses as established by the Stock Exchange of Thailand. The company’s business care principles cover the following five sections:
Section 1
The Rights of Shareholders
The company realizes and gives importance to the basic rights of shareholders such as purchase rights and sales or transfer of the stocks they hold, the right to be sufficiently informed of the company’s information, the right to receive profit shares from the company, various rights in shareholders’ meetings, the right to express opinions, the right to make joint decisions on the significant company issues, such as dividend allocation, the appointment of dismissal of directors, the appointment of auditors, the approval of significant business transactions affecting the direction of the company’s business operations, etc. In addition to the aforementioned various essential rights, the company also proceeded in various areas to facilitate the exercise of the rights of shareholders as follows: • The company will arrange for annual general meetings within four months from the date of the last day of the accounting cycle each year. Moreover, the company realizes the importance of shareholders’ meetings and stipulates that the entire board of directs attend every meeting. In 2008, all members of the board of directors attended these meetings, except for some directors who were unable to attend due to other obligations. During the meetings, the chairman of the meeting provided equal opportunities for shareholders to express their opinions and raise questions wherein the chairman of the meeting or the directors replied to every question in order the clarify the shareholders’ understanding. The company made accurate records of the issues regarding the questions, opinions or suggestions of shareholders n the meeting report and disclosed this information at company’s website within 14 days from the date of the shareholders’ meetings both in Thai and English. In 2008, the company provided opportunities for shareholders to suggest the agenda items for shareholders’ meetings and recommendations for the appointment of new directors prior to the meeting while also providing opportunities for shareholders to send inquiries about the agenda of the meeting in advance via www.betterworldgreen.com. • The company sent letters of invitation with the scheduled the dates, times, place of the meetings along with maps showing the meeting sites, prioritized lists of meeting agendas with relevant background information, the necessary causes and main issues on each topic to be presented for consideration or acknowledgement in shareholders’ meetings, while clearly setting for the opinions of the company’s board of directors on every agenda item in order for the shareholders to use in considering their decisions for each item. The company also sent the following related data along with these letters of invitation to the meetings: - The company regulations associated with shareholders’ meetings to inform those in attendance at the meeting.
Annual Report ‘ 2008
[ 153 ]
- Specifications about the elements of the meeting, appointing proxies to attend shareholders’ meetings, voting rights, the qualifications of the directors and the release from office, directors’ remuneration, payment of dividends and profit management, appoints of auditors and designating auditors’ fees. - Documents reporting the details and evidence required for shareholders to identify themselves for attendance at meetings, methods of authorization, registration for meeting attendance and casting votes at the meeting. - The minutes of the previous meeting proposed for the consideration and approval of the shareholders’ meeting. - The annual report of the company’s board of directors containing important information about the company’s performance during the past year, including budgets with remarks attached to the budgets and certified auditor reports. - Backgrounds and related information on the individuals nominated for directorships e.g. the company’s shareholding information, information on the positions of directors or executives in registered companies, companies and other business, the characteristics of the relationships of the candidates, including the qualifications of independent directors with proposals for the appointment of independent directors to replace directors released from office upon the expiration of their terms. - Letters of Proxy as set forth by the Department of Business Development, Ministry of Commerce, which is Type B, a Letter of Proxy that specifies various items authorizing proxy [votes] in clear specific details. The company appointed Thailand Securities Depository Company Limited, a Share Registrar, as the party sending letters of invitation for meetings, letters of proxy and documents accompanying the meeting agendas for the consideration of the shareholders 14 days prior to the meeting (or according to the specifications of the SEC and the Stock Exchange of Thailand). • The company arranged protection for the rights of shareholders and promotion for shareholders to exercise their basic rights such as the profit sharing of the business, the purchase, sale or transfer of shares, sufficient access to company news and information, attendance at shareholders’ meetings in order to exercise the right to vote in shareholders’ meetings for the appointment or dismissal/release of directors, to establish directors’ remuneration, appoint auditors and set the auditing fees and other issues affecting the company as designated by law • The company arranged for websites to present important news and information such as financial, quarterly and annual performance reports. As for letters of invitation to attend shareholders’ meetings, information shall be disclosed in the form of documents that must be sent to shareholders at least 30 days prior to the meeting. • In the event that shareholders are unable to attend meetings in person, the company provides the opportunity for shareholders to grant proxy votes to other individuals and the company also increases options for shareholders by recommending independent directors as the person to receive shareholder proxies by specifying the name of the authorized director in the letter of proxy attached to the letters of invitation to the meeting.
[ 154 ]
Annual Report ‘ 2008
• Prior to the meeting, the company shall explain voting and vote counting methods. • During the meeting, the company will provide opportunities for shareholders to independently and equally make inquiries, suggestions or expressions of opinions on various issues to the meeting. Shareholders’ meetings will also include the attendance of associated directors and executives to answer questions and provide detailed information for the meeting. • The company will act openly and quickly in the voting and counting of votes wherein the company will count 1 share as 1 vote and consider the majority vote to be the final decision, except for the case of special decisions that specify a vote of no less than three quarters of all the votes of the shareholders in attendance at the meeting and with the right to vote. The company will record the decision of the meeting by categorizing the votes by approval and non-approval and abstention on each item on the agenda in writing in the meeting report and with a record of the questions, explanations and opinions of the meeting. • After the close of the meeting, the company will prepare reports on the minutes to the meeting in both Thai and English versions and send forward these reports to the stock exchange without delay, also disclosing the reports on the website of the Stock Exchange of Thailand and the company’s website by showing accurate data for the inspection of shareholders. following:
The relevant items on the agenda for the General Shareholders’ Meeting of 2008 included the
Section 2
The Equitable Treatment of Shareholders
• • • • • •
Approval of the Financial Statement, Profit-Loss Statement and Cash Flow Statement. Approval of the Appropriation of Net Income for dividend payments and reserves by law. Approval of bonuses for the board of directors. Approval of the remuneration for directors. Approval of directorship appointments. Approval and appointment of auditors and designation of auditors’ remuneration.
1. The company has established policy for equitable treatment and facilitation for shareholders, both on the day of the meeting, the receipt of information and the exercising of the right to vote at shareholders’ meetings. In calling for each shareholders’ meeting, the company will arrange for letters of invitation to the meeting with specific information on the opinions of the directors and the information for the meeting in each agenda at least 7 days prior to the meeting (or according to specifications set forth by the SEC or the Stock Exchange of Thailand, including newspaper advertisement-invitations to the meeting no less than three days prior to the meeting without the addition of the meeting agenda items not notified in to the shareholders in advance and granting opportunities for shareholders to send advance questions about the agenda to the meeting via www.betterworldgreen.com, so shareholders will have a sufficient amount of time for consideration and study of the information for the meeting attendance and decision-making of shareholders.
Annual Report ‘ 2008
[ 155 ]
2. The company has established policy to create equity for every shareholder, providing equal opportunities at each meeting for each shareholder by designating the right to vote in the meeting according to number of shares held by the shareholder, which means that one share is equal to one vote. Furthermore, in the event that a shareholder is unable to attend a meeting, the company allows shareholders grant proxy votes to other individuals, and the company also increases the options for shareholders by suggesting that independent directors be the individuals to receive shareholder proxies by designating the name of the proxy director in the letters of proxy attached with the letters of invitation to the meetings. 3. The company provided information for the directors and executives about duties wherein executives must report their holdings in company assets and the disciplinary action shall apply in compliance with the Stock and Stock Exchange Act of 1992 and according to the specifications of the Stock Exchange of Thailand. Furthermore, in the event that the directors or executives have purchases or sales of company assets, the holdings of company assets by that individual, spouse or children not yet legally mature according to Section 59 of the Stock and Stock Exchange Act of 1992 must be reported within three business days for the board of directors over stocks and stock exchanges for further public distribution. 4. The company has established an Insider Trading standard for associated individuals, which refers to the directors, executives and individuals who perform related tasks who receive knowledge of significant inside information (including the individuals’ spouses and children who are not legally mature. The associated individuals shall be forbidden from purchasing or selling company assets before the budgets or said inside information is revealed to the public and should wait for at least 24 hours after the information has been revealed to the public, while also being forbidden from disclosing the relevant content of the information to other individuals. Furthermore, the company has establish disciplinary actions for violations of using inside information for personal gain, beginning with written warnings, wage deductions, temporary suspension without pay or termination of employment, wherein disciplinary action will be considered in terms of the intention behind the action and the severity of the wrongdoing.
Section 3
The Role of Stakeholders
The company places importance on the rights of every group of stakeholders, regardless of whether they are inside stakeholders such as company executives and employees, or outside stakeholders such as creditors, customers, competitors, society, etc. The company realizes that the support and receipt of opinions from every group of stakeholders will be of benefit to the operations and development of the company’s business activities. Therefore, the company will practice in compliance with the law and associated specifications to ensure that the rights of the aforementioned stakeholders are well cared for. Moreover, the company also supports cooperation between the company and each group of stakeholders in order to generate alliances under the following guidelines:
[ 156 ]
Annual Report ‘ 2008
1) Ethical Practice Regarding Conflicts of Interest. The company established policy to prevent company directors, executive personnel and company employees in general from seeking personal gain from the company as follows: • No company director, executive personnel or company employee is permitted to operate a business with the same characteristics as the businesses of the company or a business in competition with the company. • All company directors, executive personnel and company employees shall avoid the preparation of linked reports which may cause conflicts of interests with the company • In the event that items result in benefits to the company or when linked reports cannot be avoided, the company’s directors, executive personnel and company employees and stakeholders on the list must prepare a record for presentation to the company’s board of directors according to the chain of command and those company directors, executive personnel and company employees “must not have a part in the consideration of said approval” wherein that item shall be performed by outside individuals. • Inside information shall not used for personal gain in the purchase or sale of company shares, or the disclosure of inside information to other individuals for gain in the purchase and sale of company shares while also being forbidden to use the opportunities or inside information in the company in seeking personal gain or gain for businesses in competition with the company or related businesses. 2) Ethical Practice toward Shareholders The company has established policy for conducting business honestly, accurate and with integrity and must continually exercise maximal effort in the development of business growth and creation of good returns for shareholders with sustainability by upholding the principles of ethical practice toward shareholders. 3) Ethical Practice toward Customers The company realizes the importance of customer satisfaction toward the success of the company’s business. Therefore, the company wishes to perform business effectively and with greater efficiency for maximal benefits for the company’s customers while providing quality services for customers at suitable prices, concern and responsibility to customers and developing service forms, maintaining the confidentiality of customer secrets and maintaining systems for receiving customers complaints in order to proceed to find a solution as quickly as possible. 4) Ethical Practice toward Trade Partners The company has established policy to treat competitors equally and fairly in consideration of maximal benefit for the company based upon the principles of mutual and fair gain for both parties while avoiding situations causing potential conflicts of interest including practicing according to treaties for disclosure of authentic information, accurate reports, negotiations for solving problems and solutions based on the foundation of business alliances. Annual Report ‘ 2008
[ 157 ]
5) Ethical Practice toward Commercial Competitors The company has established policy to treat commercial competitors in accordance with international principles under the framework of the laws governing the principles of commercial competitions by not violating trade secrets or discovering the trade secrets of competitors by corrupt methods. The company acts according to the framework of the rules of good business competitions and does not operate businesses that would harm its competitors. 6) Ethical Practice toward Creditors Practice in compliance with the terms and agreements specified in contracts. 7) Ethical Practice toward Employees The company realizes that employees are a valuable factor for success in achieving the goals of the company. Therefore, it is the policy of the company to provide fair treatment, both in terms of opportunities, returns, appointments, dismissals including the development of capabilities, equal treatment for employees without discernment of race, religion or gender. The company will deal in fairness and suitable returns consisting of salaries, a provident fund, social insurance, medical expenses, life insurance, etc. 8) Ethical Practice toward Society and the General Public The company acts with social responsibility by conducting business with ethical practice toward technical professionals and providing support for various activities in promotion of social and community creativity. The company has established policy for generating awareness and conscientiousness in caring for and maintaining the environment for the benefit of future generations, which is something employees at every level have upheld and practiced, especially with regard to the coexistence and dependence among the company, community and society. As an initial starting point for sharing opportunities with society, the company has considered promotion of knowledge and the provision of educational opportunities because these are the beginning of the development of lifestyles for community sustainability and potential for development of strength in the community.
Section 4
Disclosure and Transparency
The company realizes the importance of disclosure of information that is accurate, complete and transparent, both in terms of financial and general data reports according to the criteria of the board of directors over stocks and stock exchanges and the Stock Exchange of Thailand, including other important information affecting the company’s stock prices, which also affects the process of decision-making of the company’s investors and stakeholders wherein the company disclosed the company’s information to the shareholders, investors and
[ 158 ]
Annual Report ‘ 2008
the public through the various channels and information disclosure medias of board of directors over stocks and stock exchanges and the Stock Exchange of Thailand including the company’s website at www.betterworldgreen.com. With regard to the operations associated with investor relationships, the company did not organize a specific work unit, but assigned the Accounting and Finance Department the responsibility of the disclosure of the company’s important information to investors, analysts and interested individuals in general. Tel: 02-731-0080 or e-mail address at bwg@betterworldgreen.com. The company’s board of directors is responsible for the significant business operations and the supervision of the business, the general financial statements for the company and subsidiary companies and financial information appearing to the public in the form of disclosure of annual information and annual reports. Furthermore, the preparation of the aforementioned financial statement must be according to generally accepted accounting standards in Thailand and was audited by a licensed auditor with permission from the board of directors over stocks and stock exchanges by the application of suitable accounting policy and continual practice with cautious judgment and best estimations for sufficient disclosure of important information in the remarks attached to the financial statements.
Section 5
Responsibilities of the Board of Directors
1. The Structure of the Board of Directors The company’s board of directors comprises individuals with knowledge and capability who have an important role in establishing the policies and general perspective of the corporation with a significant role in the direction, inspection and evaluation of the company’s performance outcome in accordance with independently laid plans. The company has appointed no less than five directors as suitable for the size of the business. At present, there are nine directors on the company’s board of directors comprising three executive company directors, which is 33.33% of all directors and six directors who not executives, which is 66.67% of all directors and the three directors who are not executives shall serve as the Audit Committee Directors to be considered as representative of the shareholders in performing of the duty of supervising the company’s operations for accuracy and transparency. According to company regulations, one of three of the directors shall be released from directorship at every annual general meeting. If the number of directors to be released from office cannot be divided into three equal parts, the number that is closest to one-third, but not exceeding the amount of one-third of all the directors shall be used. The directors leaving office at the first and second year after the registration of the company shall draw lots determine who will leave. For subsequent years, the director who has served in the position longest will leave office and directors who have been release from office may be reelected. Moreover, the company’s board of directors also appointed various sub-committees such as the Audit Sub-committee, the Risk Management Sub-Committee, the Recruitment and Wage Sub-committee and the Executive Board of Directors to perform specific duties and present the issues for the consideration and acknowledgement of the company’s board of directors wherein each sub-committee will have scope and duties according to the specifications of the scope and duties of each sub-committee.
Annual Report ‘ 2008
[ 159 ]
The company has clearly divided duties and responsibilities between the company’s board of directors and the executives. The company’s board of directors has the duty of establishing policies and directing the operations of executives at the policy level while the executives perform the administrative work of the company in various areas in accordance with specified policies. Therefore, the company has divided the position of Chairman of the Board and Managing Director into two positions not filled by the same individual for the purpose of transparent performance and sufficient balance of authority. In decisions regarding approval of significant items, the decisions still must receive approval from the meeting of the company’s board of directors or the meeting of the shareholders, depending upon the case. Moreover, the authority granted to the company’s board of directors and the Managing Director does not allow for stakeholders to be able to approve any items in which they or other individuals may have conflicts of interest with the company or subsidiary companies. Also, the company has a company secretary to fulfill duties and responsibilities according to the Stock and Exchange Act such as suggestions in the areas of various requiring acknowledgement by the board of directors and performance of the duty of caring for the activities of the board of directors including coordinating actions according to the decision of the board of directors. 2. The Roles, Duties and Responsibilities of the Board of Directors The company’s Board of directors consists of individuals with accepted knowledge, skills, expertise and leadership. The Company’s board of directors will take part in establishing opinions, missions, strategies, policies, guidelines in conducting business and direction for the operations of the company in accordance with the law, objectives, regulations, and decisions of shareholders’ meetings and for the benefit of closely monitoring company performance. Therefore, the company’s board of directors has organized various sub-committees to monitor and oversee company performance. 2.1 Business Care Policy The company has established written policy for directing the businesses of the company and the company’s board of directors holds regular reviews of these policies and adherence to the aforementioned policies. Moreover, the company will act according to the rules and various regulations set forth by the board of directors overseeing stocks and stock exchanges and the Stock Exchange of Thailand and will disclose the reports on the direction of the businesses in the annual reports and in form showing the list of annual information (form 56-1). 2.2 Business Ethics The company has notified the company’s board of directors to practice according to the Code of Conduct for directors of a registered company according to the guidelines of the Stock Exchange of Thailand. Moreover, the executives of the company have guaranteed that they possess business integrity, capability and experience with open and cautious work administration in the interests of the company, determination to continually perform the business, understanding and responsibility to the public and no forbidden characteristics according to Clause 17 of the announcement of the board over stocks and stock exchanges (No. Kor. Jor. 12/2543 on the issue of “Requesting and Granting Permission for the Sales of Newly Issued Stocks”.
[ 160 ]
Annual Report ‘ 2008
2.3 Conflicts of interest The company proceeded to prevent future potential conflicts of interests by improving the business structure of the company group and appointing the Audit Committee to participate in the consideration and offer opinions about the necessity and reasoning of the various items, which may represent conflicts of interest, the process of joint preparation of items among one another and/or individuals wherein potential conflicts that do no fall under regular trading procedures or concur with regular trading terms must be presented to the meeting of the company’s board of directors in order to consider the approval thereof wherein the directors and/or stakeholders or individuals with potential conflicts of interest in regarding the items will not have the right to vote on the approval of that item. Furthermore, should the list fit the criteria according to the regulations, announcements, orders, specifications or criteria of criteria for the Stock Exchange of Thailand, the company will strictly adhere to the aforementioned specifications. 2.4 Internal control systems The company places importance on the internal control systems both at the executive level and the operational level in order to ensure efficient operations. Furthermore, the company has clearly set forth the duties and authority for the performance of the executives and operators in writing, with control over the use of the company’s assets to generate gain and division of the duties of operators and controllers with separate audits in order to create balance and appropriate inspections between one another. The company has established an Internal Audit Department in order to perform the duty of inspecting the primary operations and significant financial activities of the company to assure performance in the specified direction that is effective and in compliance with the laws and specifications related to the company to control the internal systems and examine significant items continually with direct reports on the inspection findings to the Audit Committee, which allows the Internal Audit Department to fully inspect and balance. 2.5 Risk management The company has clear specifications of goals in business procedures and can measure the results of these procedures while the Executive Division performs comparisons of actual performance outcomes and the goals as specified by internal and external evaluations of risk factors, analysis of the causal factors and specifications of measures for monitoring events cause risk factors, measures for reducing risks and assigning associated work units to monitor those risks continually and report their progress to the supervisors. 2.6 Reports of the Board of Directors The company’s board of directors is responsible for important business operations and the direction of the businesses, general financial statements for the company and subsidiary companies and financial information appearing to the public in the form of annual lists of information and annual reports. In addition, the aforementioned organization of the financial statements will be according to generally accepted accounting standards in Thailand and will be inspected by a licensed auditor with permission from the board of directors over stocks and stock exchanges by selecting appropriate accounting policy and continual practice thereof with cautious judgment and best organizational estimation and sufficient disclosure of significant information in the remarks attached to the financial statement. The company’s board of directors has arranged for maintaining effective internal control systems in order to be reasonably sure that the recorded accounting information is accurate and complete in order to prevent corruption or irregular procedures with significant contents.
Annual Report ‘ 2008
[ 161 ]
Thus, the company’s board of directors has appointed the Audit Committee comprising directors who are not executives and have sufficient independence to be responsible for the quality of financial reports and internal control systems including the appointment of a Risk Management Sub-Committee consisting of independent directors and senior executives who are responsible for considering the risks in the company’s various operating systems. 3. Meetings of the Board of Directors. According to company regulations, the board of directors holds meetings at intervals of at least three months and may hold additional meetings as necessary, having sent letters of invitation to directors no less than seven days prior to the meeting, except in necessary cases to maintain the rights or interests of the company. Each meeting with include clear specifications of meeting agendas, sufficient documents for the meeting sent to the board of directors in advance, so director will have adequate time to study the information before attending the meeting wherein every director can discuss and express opinions openly with the Chairman of the Meeting as the person to compile opinions and summaries from the meeting. The minutes of the meeting will be prepared in writing following the close of the meeting. After receiving the approval of the meeting, the minutes will be kept for examination by directors and related individuals. During the meeting the Chairman of the Board and the Managing Director will jointly set forth the meeting agenda and consider the entrance of the item on the meeting agenda to the company’s board of directors by providing opportunities for each director to present various issues for consideration as an item on the meeting agenda. In considering various topics, the Chairman of the Board, who also performs the duty of Chairman of the Meeting, will provide opportunities for every director to independently express their opinions and in some items on the agenda. Senior executives may also attend the meeting to provide detailed information for additional benefit as a related person who will also directly acknowledge policies for effective implementation. In the rulings of the meeting, the company’s board of directors will consider the decision of the majority vote wherein each director has one vote. Stakeholder directors will not attend meetings and/or not use the right to vote on topics. Furthermore, in the event of a deadlock, the Chairman of the Meeting will cast the final vote. In 2008, the company held a total of five meetings of the board of directors with the following details and meeting attendance for meeting of each director: Name
Position
1. Dr. Vichan
Witayasai
2. Dr. Thammanoon
Anantothai
3. Mr. Boonyabaramee Sawangwong 4. Mrs. Nadruedee Thammawan [ 162 ]
Annual Report ‘ 2008
Chairman of the Board Director and Chairman of the Audit Committee Director and Audit Committee Director Director and Audit Committee Director
Meeting Attendance (times) 5/5 5/5 5/5 5/5
Name 5. Mr. Suwat Luengviriya 6. Mr. Akarawit Kankaew 7. Mr. Woradit Tanapat 8. Mr. Suthat Boonya-Udomsart 9. Ms. Pacharaporn Unsri 1/ 10. Mrs. Thassanee Thongdee 2/ Remarks :
Position Director Director Director Director Director and Company Secretary Director and Company Secretary
Meeting Attendance (times) 5/5 4/5 5/5 5/5 4/5 1/5
1/ Ms. Pacharaporn Unsri was released from the positions of Director and Company Secretary on 1 November 2008. 2/ Mrs. Thassanee Thongdee accepted the position of Director and Company Secretary on 12 November 2008.
At each meeting, the company sent the documents attached to the meeting agendas in advance for the company directors to have sufficient time in studying the information on various topics. Each meeting of the company’s board of directors with also include the attendance of the secretary of the board of directors to record the minutes of the meeting and to be sent for the consideration of the chairman of the company’s board of directors to certify the validity thereof and present the minutes for the approval of for the meeting as the first item on the agenda of the next meeting. The secretary will all be the keeper of various information or documents regarding the meeting for convenience in searching for references. 4. Remuneration The company appointed the a Recruitment and Wage Committee to perform the duty of considering the structure of the remuneration for directors such as wages, meeting gratuities, pensions, bonuses, benefits and other return interests with clarity and transparency for presentation to the meeting of the company’s board of directors and shareholders’ meetings by granting remuneration where as appropriate for the duties and responsibilities of each director and sufficient motivation to maintain directors with knowledge and capability. As for the payment of remuneration to the Executive Division, the company’s board of directors has set the payment as commensurate with the work performance of each executive. The company has designated the disclosure of the remuneration to be paid to the directors and executives according to the form specified by the board of directors over stocks and stock exchanges.
Annual Report ‘ 2008
[ 163 ]
5. The Development of Directors and Executives The board of directors has established policy to promote and facilitate training and education for directors associated with the operational system for conducting the company’s business such as directors, Audit Committee Directors, executives, etc. for continual improvement of work performance. Furthermore, in the event that there are changes in directors or appointments of new directors, the Executive Division will arrange for documents and information as beneficial toward the performance of the duties of new directors including arrangements for introductions to the characteristics of the business and guidelines for the business procedures of the company for the new directors. 6. Prevention of the Executive Use of Inside Information for Personal Gain The company has established the following policies and methods for preventing directors and executives from using the company’s inside information that is not disclosed to the public for personal gain, including the purchase and sale of assets: - Education for directors, including the executives of various departments, regarding requirements for reporting the asset holdings of the directors, their spouses or children who are not legally mature to the board of directors over stocks and stock exchanges and the Stock Market of Thailand according to Section 59 and disciplinary actions according to Section 275 of the Stock and Stock Exchange Act of 1992. - The company has stipulated that directors and executives shall report changes in their asset holdings to board of directors over stocks and stock exchanges according to Section 59 of the Stock and Stock Exchange Act of 1992 within the next business day from the date of the occurrence of the changes in the list, sending copies of this report to the company on the same day as the day the report was sent to board of directors over stocks and stock exchanges. - The company shall stipulate that directors, executives and associated operators who have knowledge of significant inside information affecting changes in stock prices to cease from the purchase or sale of company stocks before the financial statement or before the inside information is revealed to the public wherein said directors should wait at least 24 hours following the disclosure of the information to the public and wherein the directors are forbidden from disclosing the important information to other individuals The company has established disciplinary actions for violations and use of inside information for personal gain, beginning with written letters of warning, wage deductions, temporary suspension without pay or termination of employment. These disciplinary actions will be considered in terms of the intentions behind the action and severity of the wrongdoing.
[ 164 ]
Annual Report ‘ 2008
Report on the Responsibilities of the Board of Directors for Financial Reports The company’s board of directors shall be responsible for the General Financial Statement and Company-specific Financial Statements for Better World Green Public Company Limited, including financial information as appearing in the Annual Report. The aforementioned Financial Statement was prepared according to generally accepted accounting standards by selecting suitable and regularly accepted accounting policies as suitable for use and regular practice. Furthermore, the best prudence and judgment were exercised in the preparation thereof, and the relevant information was sufficiently disclosed in the remarks accompanying the Financial Statement for the transparent benefit of the shareholders and investors in general. The company’s board of directors has arranged for and maintained an efficient internal control system in order to reasonably believe that the accounting information was accurately recorded, complete and sufficient for maintaining the company’s assets to prevent corruption and irregular performance. The company’s board of directors established an Audit Committee comprising independent directors and director who are not executives in order to help supervise the quality of financial and internal control system reports by monitoring outcome evaluations, providing additional views and reporting to the board of directors about the findings of the company’s audit. The opinions of the Audit Committee concerned with this issue appear in the list of names of Audit Committee directors as already shown in this Annual Report. The General Financial Statement and Company-specific Financial Statements were audited by Green Audit Company Limited, an independent auditor. The aforementioned audit received the support of the company’s board of directors in terms of supporting various documents, so the accounting auditor could inspect and express opinions according to generally accepted accounting standards. The views of the accounting auditor appear in last year’s Annual Report. The company’s board of directors holds the joint opinion that the company’s internal control system is satisfactory and capable of instilling trust that the 2007 Financial Statement for Better World Green Public Company Limited is credible as generally-accepted and regularly practiced accounting standards in addition to related rules and regulations.
Dr. vichan Witayasai Chairman of the Board
Mr. Suwat Luengviriya Managing Director
Annual Report ‘ 2008
[ 165 ]
Related Party transactions 1. Nature of Relationship
The company had some related transactions with persons who may have conflicts of interests. Such related transactions were the transactions with shareholders and / or executives of the company, including the transactions with related companies the related persons acted as shareholders and / or executives. The nature of relationship can be summarized as follows. Persons who may have Conflicts of Interests
Nature of Relationship
Mr. Suwat Luengviriya
Director and Major Shareholder of the Company
Mr. Wanchai Ruangviriya
Ex-Director and Major Shareholder of the Company
KA. Consultion (“K.A.”) Group of Person
Miss Kamala Luengviriya, the younger sister of Mr. Ekarin Luengviriya, Mr. Suwat Luengviriya and Mr. Wanchai Luengviriya was one of the group of person
2.
Nature of Related Transactions
The company and its subsidiaries had the related transactions due to the fact that the company conducted the businesses with the persons who may have conflict of interests. The nature and value of related transactions can be summarized as follows. • Guarantee of Borrowings from Commercial Banks
Persons who may have Conflicts of Interests
Mr.Suwat Luengviriya and Mr.Sutat Boonya-Udomsart
Mr. Suwat Luengviriya and Mr. Wanchai Luengviriya
[ 166 ]
Annual Report ‘ 2008
Nature of Transactions
Guarantee of Overdrafts and Commercial Bank Promissory Note for the company Guarantee of Commercial Bank LongTerm Loan for the company
Outstanding Balance of Borrowings (Million Baht) As of 31 December 2008
Needs and Reasonableness of Transactions and Opinions of Audit Committee
65.00
It was the guarantee with the title deed and construction, and the machinery of the company for the financial limit of 180 million Baht in order to be used as the company’s working capital.
120
It was the guarantee with the company’s title deed for the financial limit of 37 million Baht in order to be sued for the project for the improvement of waste or unused material to be the raw materials and alternative fuels. In June 2008, the company has already paid back all the outstanding balance of the loan.
Persons who may have Conflicts of Interests
Nature of Transactions
Outstanding Balance of Borrowings (Million Baht) As of 31 December 2008
Needs and Reasonableness of Transactions and Opinions of Audit Committee
Opinions of Audit Committee The Audit Committee believed that such transactions were necessary and reasonable since they were the conditions of the borrowings from commercial banks. The guarantee of such borrowing benefited the company and the third party had the policy to support the borrowing of the company without the fee of the guarantee. In the future, if the company believes that it is necessary to guarantee the loan from commercial banks, the Audit Committee shall consider the suitability on a case-by-case basis. Currently, Mr. Suwat Luengviriya and Mr. Wanchai Luengviriya and Mr.Sutat Boonya-Udomsart who acted as major shareholders and / or company’s executives had the policy to support the borrowing of the company without the fee of the guarantee
• Selection of Consultants
Persons who may have Conflicts of Interests
Nature of Transactions
KA. Consultion (“K.A.”) Group of Consultant Fee Person
Outstanding Balance of Transactions (Million Baht) For the Year 2008 0.36
Needs and Reasonableness of Transactions and Opinions of Audit Committee In June 2006, the company selected K.A. to be the system development consultant with the scope of services as follows : providing opinions and recommendations regarding the computer system practices, and other relevant services. The contract period was 1 year at the salary of 30,000 Baht per month, and in June 2007, the company extended the contract for 1 year at the same salary rate, and In June 2008, the company extended the contract to 31 December 2008 at the same salary rate. Annual Report ‘ 2008
[ 167 ]
Persons who may have Conflicts of Interests
Nature of Transactions
Outstanding Balance of Transactions (Million Baht) For the Year 2008
Needs and Reasonableness of Transactions and Opinions of Audit Committee Opinions of Audit Committee The Audit Committee believed that such transactions were necessary and reasonable since the consultants were experienced, knowledgeable, and proficient in computer, and the consultants also applied the information system project to the company, selected the team for writing programs and providing recommendation, and acted as the supervisor of the company’s information system.
3. Needs and Reasonableness of Related Transactions The related transactions incurred were necessary and reasonable in order to maximize the benefits towards the company, and the Audit Committee considered the related transactions incurred regarding the needs of such transactions and the reasonable of the rate of the related transactions, and disclosed types and values of related transactions of the company and / or subsidiaries with the persons who may have conflicts of interests under the notification and regulation of the Securities Exchange Commission and Stock Exchange of Thailand.
4. Measures or Procedures of Approval of Related Transactions
In case of the related transactions of the company and its subsidiaries with the persons who may have conflicts of interests, the Audit Committee shall provide the opinions regarding the needs of related transactions and the suitability of prices of such transactions by considering from the conditions in order to comply with the ordinary business operations in the industry, and comparing with the prices of outsiders or market price. If the Audit Committee is not proficient in considering the related transactions incurred, the Audit Committee shall provide independent experts to give the opinions regarding such transactions in order to be used for the decision of the Committee, Audit Committee or shareholders. The directors who have conflicts of interests shall have no right to vote for such transactions, and shall disclose such transactions on Notes to Financial Statements of the company and / or subsidiaries.
[ 168 ]
Annual Report ‘ 2008
5.Policies and Trends of Future Related Transactions Regarding the related transactions incurred in the future, the directors shall follow the rules and regulations stipulated, and the directors shall not approve any transactions that such directors or persons who may have other conflicts of interests with the company and its subsidiaries, and shall not grant the power of attorney to others to act on behalf of themselves regarding such related transactions, and shall disclose such transactions to the Board of Directors and / or subsidiaries for consideration. The company and / or its subsidiaries shall follow the laws regarding the securities and tock market, regulations, notifications, order, or requirements of the Stock Exchange of Thailand, requirements for the disclosure of related transactions, and the receipt or sale of the company and its subsidiaries’ properties, and the accounting standard regarding the disclosure of related persons or activities stipulated by Federation of Accounting Professions under the Royal Patronage of His Majesty the King. In case of the ordinary transactions, the company and / or its subsidiaries shall identify the rules and guideline according to the ordinary trading characteristics by referring from the proper, fair, reasonable, and transparent prices and conditions, and propose to the Audit Committee for approval of such criteria and guidelines. In the future, the company and its subsidiaries have no policies to lend the money or petty cash to persons who may have conflicts of interests and / or such related persons, except it complies with the rules of the company or its subsidiaries regarding employee’s welfare or with the rules regarding the power of approval or provision of financial assistance to the juristic persons that the company and its subsidiaries hold the shares according to the proportion of shareholding. In case that there are some necessary cases related to the business operations of the company or its subsidiaries and such cases may cause the company or subsidiaries to lend the money or petty cash, the company and its subsidiaries shall follow the relevant requirements of the Securities Exchange Commission and / or Stock Exchange of Thailand.
Annual Report ‘ 2008
[ 169 ]
2008 Audit Committee Report The Better World Green Public Company Limited Audit Committee consists of three independent directors who are qualified experts with expertise in the field of organization, administration, law, accounting and finance. Furthermore, none of the Audit Committee members are executives, employees or consultants of the company and the company group as follows: 1. Mr. Thammanoon Ananthothai Chairman of the Audit Committee 2. Mr. Boonyabaramee Sawangwong Audit Committee Director 3. Ms. Nadruedee Thammawan Audit Committee Director The Audit Committee has performed its duties and responsibilities as assigned by the company’s board of directors according as specified in the charter of the Audit Committee, which is in agreement with the stipulations of the Stock Exchange of Thailand for the accounting period ending on the 31 December 2008. The Audit Committee held a total of six meetings and every member of the Audit Committee attended each meeting while invitations were extending to associated executives on appropriate occasions. The findings of the audit conducted by the Audit Committee contain the following relevant information: 1. Consideration of the verification of financial statements for both quarterly and annual financial budgets having passed inspection and audit by an auditor who provided the opinion that the company’s financial statements have credibility according to generally certified accounting standards with sufficient information disclosure. 2. Consideration to propose company’s auditor and auditor’s fee for financial year 2008 – 2009 to directors and shareholders for approval. The criteria of consideration need to be independent, business knowledge, work quality, suitable audit fee and be invited to attend the general meeting. The audit committee purpose to appoint Mr.Chanunkorn Satiraprapakul CPA License No. 6554 and/or Mr. Jadesada Hangsapruek, CPA License No. 3759 of Karin Audit Co., Ltd to be the company’s auditor. 3. Consideration of internal control system by questioning to Internal Audit Department regarding to sufficient Internal Control System by following COSO methodology which focus on five interrelated components i.e. The Control Environment, Risk Assessment, Control Activities, Information & Communication and Monitoring. After due consideration, the meeting agreed the present Internal Control System is appropriated for business. 4. Consideration of the preparation of inter-company reports in accordance with the operational regulations wherein the reports occurring in preparation inter-company reports were normal. 5. Verification of various topics in accordance with rules and regulations to promote an effective system for supervision over business activities according to the guidelines of the Bureau for the Stock and Stock Exchange Regulation Board and the Stock Exchange of Thailand. The Audit Committee received excellent cooperation from all related departments in the performance of it job in 2008 and would like to take this opportunity to thank everyone.
[ 170 ]
Annual Report ‘ 2008
(Dr. Thammanoon Ananthothai) Audit Committee Chairman
AUDITOR’S REPORT To the Shareholders of Better World Green Public Company Limited I have audited the accompanying consolidated balance sheets of Better World Green Public Company Limited and its subsidiaries as at December 31, 2008 and 2007, and the related consolidated statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended and the balance sheets of Better World Green Public Company Limited as at December 31, 2008 and 2007, and the related statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended. These financial statements are the responsibility of the Company’s management as to their correctness and completeness of information presented in these financial statements. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about to whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as- evaluating the overall financial statements presentation. I believe that my audits provide a reasonable basis for- my opinion. In my opinion, the financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the consolidated financial positions of Better World Green Public Company Limited and subsidiaries as at December 31, 2008 and 2007, the results of operations and cash flows and the company financial positions of Better World Green Public Company Limited as at December 31, 2008 and 2007, the results of operations and cash flows for the years then ended in conformity with generally accepted accounting principles.
(Mr. Jadesada Hungsapruek) Certified Public Accountant Registration No. 3759
Karin Audit Company Limited Bangkok, Thailand February 20, 2008
Annual Report ‘ 2008
[ 171 ]
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES BALANCE SHEETS AS AT DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht) Note
Consolidated 2008 2007
Separate 2008
2007
ASSETS Current assets Cash and cash equivalents Trade accounts and notes receivable, net - Subsidiaries and related parties - Others Prepaid royalty fee Other current assetes Total current assets Non-current assets Investments in subsidiaries, at cost Property, plants and equipment, net Restricted deposits Other non-current assets Total non-current assets Total assets
[ 172 ]
Annual Report ‘ 2008
5
105,490,822
285,503,024
57,682,472
276,192,530
4.2 6 20
161,554,722 707,978 11,853,677 279,607,199
118,277,615 10,062,275 413,842,914
8,547,525 140,227,216 4,339,678 210,796,891
11,602,181 98,189,417 7,252,321 393,236,449
7 8 22
647,322,518 30,056,771 65,000 677,444,289
500,752,266 1,139,465 421,094 502,312,825
173,391,200 584,193,660 1,570,490 65,000 752,788,319
2,998,200 487,186,083 1,139,465 421,094 491,744,842
957,051,488
916,155,739
970,017,241
884,981,291
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES BALANCE SHEETS (Continued) AS AT DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht) Note
Consolidated 2008 2007
Separate 2008
2007
LIABILITIES AND SHAREHOLDERS’ EQUITY Current liabilities Financial institutions Accounts payable and notes payable - Subsidiaries and related parties - Others Current portion of payable for purchase assets from a related party Current portion of long-term loans Current portion of hire purchase payables Other current liabilities Total current liabilities Non-current liabilities Long-term loans, net Hire purchase payables, net Provision for completed landfills Total non-current liabilities Total liabilities
9
126,406,451
65,000,000
126,406,451
65,000,000
4.2
47,256,185
600,000 52,840,294
17,449,923 37,604,636
3,419,368 46,850,755
4.2
-
2,171,600
-
-
10
-
4,626,000
-
4,626,000
11
7,068,150
2,185,292
3,358,602
746,122
32,548,097 213,278,883
36,000,502 163,423,688
23,629,405 208,449,017
32,682,597 153,324,842
11,208,990 964,322
30,674,000 4,027,385 8,996,832
7,815,583
30,674,000 1,735,785
964,322
8,996,832
12,173,312
43,698,217
8,779,905
41,406,617
225,452,195
207,121,905
217,228,922
194,731,459
10 11 8
Annual Report ‘ 2008
[ 173 ]
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES BALANCE SHEETS (Continued) AS AT DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht) Note
Consolidated 2008 2007
Separate 2008
2007
Shareholders’ equity Share capital Authorized share capital 377,000,000 ordinary shares of Baht 1 par value 320,000,000 ordinary shares of Baht 1 par value Issued and paid-up share capital 320,000,000 ordinary shares of Baht 1 par value Premium on ordinary shares Investments lower net book values of the subsidiaries at the investment date Retained earnings - Appropriated for legal reserve - Unappropriated Total shareholders’ equity of the Company Minority interests Total shareholders’ equity Total liabilities and shareholders’ equity
[ 174 ]
Annual Report ‘ 2008
12 377,000,000
377,000,000 320,000,000
320,000,000
320,000,000
320,000,000
320,000,000
320,000,000
153,400,000
153,400,000
153,400,000
153,400,000
2.2
5,147,753
5,147,753
-
-
13
16,964,907 232,759,210 728,271,870
11,117,982 219,355,031 709,020,766
16,964,907 262,423,412
11,117,982 205,731,850
752,788,319
690,249,832
3,327,423 731,599,293
13,068 709,033,834
752,788,319
690,249,832
957,051,488
916,155,739
970,017,241
884,981,291
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF INCOME FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht)
Note
Revenues Services income Other income Total revenues Expenses Cost of services Selling and administrative expenses Total expenses Profit before interest expense and income tax Interest expense Income tax Net profit Net profit attributable to: Equity holders of the parent Minority interest ) Net profit Basic earnings per share (Baht) Weighted average number of ordinary shares ( shares )
Consolidated 2008 2007
Separate 2008
2007
4.1 4.1
607,830,257 3,236,650 611,066,907
579,325,993 1,258,031 580,584,024
554,089,581 26,224,228 580,313,809
535,887,691 23,054,035 558,941,726
4.1 4.1
362,443,992 163,597,306 526,041,298
352,821,264 106,774,610 459,595,874
367,896,512 85,779,100 453,675,612
353,506,949 91,924,738 445,431,687
85,025,609
120,988,150
126,638,197
113,510,039
(7,654,374) (7,012,776) 70,358,459
(8,041,267) (6,085,885) 106,860,998
(7,424,769) (2,274,941) 116,938,487
(7,931,571) (4,429,304) 101,149,164
73,651,104 (3,292,645)
106,857,571 3,427
116,938,487
101,149,164
70,358,459
106,860,998
0.22
0.43
0.37
0.41
320,000,000
247,386,301
320,000,000
247,386,301
Annual Report ‘ 2008
[ 175 ]
[ 176 ]
Annual Report ‘ 2008
Balance as at December 31, 2008
320,000,000
-
13
Legal reserve
-
14
320,000,000
Net profit
Dividend
Balance as at December 31, 2007
-
Legal reserve
13
-
Net profit
112,000,000
Share captital increased
12
208,000,000
Share capital issued and paid-up
Balance as at January 1, 2007
Note
153,400,000
-
-
-
153,400,000
-
-
153,400,000
Premium on ordinary shares
16,964,907
5,846,925
-
-
11,117,982
5,057,458
-
-
262,423,412
(5,846,925)
116,938,487
(54,400,000)
205,731,850
(5,057,458)
101,149,164
-
Separate Retained earnings Appropriated Unappropriated legal reserve 6,060,524 109,640,144
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY FOR THE YEARS ENDED DECEBER 31, 2008 AND 2007
752,788,319
-
116,938,487
(54,400,000)
690,249,832
-
101,149,164
265,400,000
323,700,668
Total
(Unit : Baht)
Annual Report ‘ 2008
[ 177 ]
-
-
-
320,000,000 153,400,000
-
Legal reserve
Balance as at December 31, 2008
-
Net profit
13
-
Dividend
14
-
Minority interest of a new subsidiary
-
320,000,000 153,400,000
-
-
Balance as at December 31, 2007
-
Legal reserve
13
-
Net profit
112,000,000 153,400,000
12
Share captital increased
-
208,000,000
Premium on ordinary shares
Balance as at January 1, 2007
issued and paid-up
Note Share capital
- 265,400,000
5,057,458 (5,057,458)
-
- 106,857,571 106,857,571
-
6,060,524 117,554,918 336,763,195
Appropriated Unappropriated legal reserve
Total sharehoders’ equity of the Company
-
73,651,104
5,846,925 (5,846,925)
-
-
Total
6,607,000
3,327,423 731,599,293
-
70,358,459
- (54,400,000)
6,607,000
13,068 709,033,834
-
3,427 106,860,998
- 265,400,000
9,641 336,772,836
Minority interests
73,651,104 (3,292,645)
- (54,400,000) (54,400,000)
-
5,147,753 16,964,907 232,759,210 728,271,870
-
-
-
-
5,147,753 11,117,982 219,355,031 709,020,766
-
-
-
5,147,753
Investments lower net book values of the subsidiaries at the investment date
Consolidated Retained earnings
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht)
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF CASH FLOWS FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht) Consolidated 2008 2007 Cash flows from operating activities Net profit
Separate 2008
2007
73,651,104
106,857,571
116,938,487
101,149,164
82,244,073 (123,000) (422,975) (1,443,125) 7,654,374 7,012,776 (3,292,645)
74,332,984 2,243,716 (100,000) (859,837) (215,925) 8,041,267 6,085,885 3,427
65,815,434 (2,796,733) (208,107) 7,424,768 2,274,941 -
71,072,184 2,243,716 (859,837) (208,389) 7,931,571 4,429,304 -
165,280,582
196,389,088
189,448,790
185,757,713
3,054,656 (43,154,107) (17,865,742) (42,037,800) - 15,210,000 (6,320,000) (1,399,119) (4,348,629) 2,995,038 356,094 (415,094) 356,094
(7,481,511) (14,421,922) 15,210,000 (3,552,944) (415,094)
Items to reconcile net profit to cash receipt (disbursement) from operating activities
Depreciation and amortization Provision for doubtful accounts Reversal of provision for doubtful account Gain on fixed assets disposal Interest income Interest expense Income tax Profit (loss) of minority interests Profit from operations before changes in operating assets and liabilities Changes in operating assets (increase) decrease
Accounts and notes receivable - Subsidiaries and related parties - Others Advance payment to subcontractors ) Prepaid royalty fee Other current assets Other non-current assets
Changes in operating liabilities increase (decrease) Accounts payable and notes payable - Subsidiaries and related parties
- Others Other current liabilities Cash paid for income tax Net cash provided by operating activities
[ 178 ]
Annual Report ‘ 2008
(600,000) (5,584,109) (2,290,259) (8,567,205) 97,721,877
400,000 (4,785,863) 10,076,956 (7,334,220) 187,326,496
14,030,555 (9,246,119) (6,023,470) (5,387,056) 147,190,688
(2,828,669) (3,915,688) 9,688,352 (4,529,556) 173,510,681
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF CASH FLOWS FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (Unit : Baht) Consolidated 2008 2007
Cash flows from investing activities Cash received form interest income Increase in restricted deposits Cash paid for investment in subsidiaries Cash paid for purchase of assets from a related party Cash paid for purchase of fixed assets Proceeds from sale of fixed assets Provision for completed landfills Net cash used in investing activities Cash flows from financing activities Cash paid for interest expense Increase in bank overdrafts and short-term loans from financial institutions Increase in share capital Proceeds from minority interest of a new subsidiary Share issuance cost Increase in long-term loans Payment of long-term loans Payment of hire-purchase payables Dividend paid
1,443,125 (28,917,306) (2,171,600)
Separate
2008
2007
215,925 208,107 (574,315) (431,025) - (170,393,000) (4,800,000)
208,389 (574,315) -
-
-
(207,441,679) (131,882,928) (152,504,224) (129,050,370) 1,341,121 985,530 3,277,196 985,530 (8,032,510) (10,828,324) (8,032,510) (10,828,324) (243,778,849) (146,884,112) (327,875,456) (139,259,090)
(6,923,327)
(7,758,434)
(6,923,327)
(7,758,515)
61,406,451
56,004,324
61,406,451
56,004,324
-
272,000,000
-
272,000,000
6,607,000
-
-
-
- (6,600,000) (6,600,000) 1,700,000 35,300,000 1,700,000 35,300,000 (37,000,000) (117,388,647) (37,000,000) (117,388,647) (5,345,354) (1,397,451) (2,608,414) (880,029) (54,400,000) - (54,400,000) Net cash provided by (used in) financing activities (33,955,230) 230,159,792 (37,825,290) 230,677,133 Net increase (decrease) in cash and cash equivalents (180,012,202) 270,602,176 (218,510,058) 264,928,724 Cash and cash equivalents, at beginning of periods 285,503,024 14,900,848 276,192,530 11,263,806 Cash and cash equivalents, at ending of periods 105,490,822 285,503,024 57,682,472 276,192,530 Supplemental disclosures of cash flows information : Non-cash transactions For the years ended December 31, 2008 and 2007, the Company and subsidiaries have entered into hire purchase agreements to purchase of vehicles totalling of Baht 16.68 million and 7.1 million, respectively ( Separate : Baht 10.80 million and Baht 3.01 million, respectively). Annual Report ‘ 2008
[ 179 ]
BETTER WORLD GREEN PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS DECEMBER 31, 2008 AND 2007 1. General information The Company has been registered to be a limited company on July 23, 1997 and to convert to be a public company limited with Ministry of Commerce on March 21, 2005. Its head office is located on 2674/1 Soi Drive-in 2, Moo 2, Ladprao Road, Khongjan Subdistrict, Bangkok. The Company principal business is the integrated waste treatment and disposal of the industrial waste. 2. Basis for preparation of the consolidated financial statements 2.1 Consolidated financial statements comprise the Company and its subsidiaries, whose financial and operating policies are controlled by the Company, regardless of equity investment. Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Better World Transport Company Limited Earth Tech Environment Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited
Type of business Agency of integrated waste treatment and disposal of the industrial waste Agency of transportation businesses Improvement of quality of waste, consulting and managing for business operation license Provided services of incinerating and destroying waste and improving quality of waste
Location
(% of registered share capital)
2008
2007
Bangkok
99.94
99.94
Bangkok
99.99
99.94
Bangkok
99.94
99.94
Samutprakarn
93.99
-
2.2 In March 2005, the Company invested in common shares of three companies, which had the same group of directors and shareholders from their former shareholders. The mentioned investments were made for the propose of restructuring the shareholdings within the group. The Company, therefore, presented excesses of attributable net asset values of such subsidiaries over the cost of investment under common control as at the acquisition date of Baht 5.15 million as a part of shareholders equity under the caption “Investment lower net book values of the subsidiaries at the investment date”.
[ 180 ]
Annual Report ‘ 2008
The above subsidiaries comprises of : • Better Waste Care Company Limited, invested in 9,994 common shares at Baht 100 per share, totaling of Baht 0.99 million. • Better World Transport Company Limited, invested in 9,994 common shares at Baht 100 per share, totaling of Baht 0.99 million. • Earth Tech Environment Company Limited, invested in 9,994 common shares at Baht 100 per share, totaling of Baht 0.99 million. The consolidated financial statements include results of the operations of the subsidiaries since March 15, 2005 (the date of investment by the Company). Net assets values of the mentioned subsidiaries at the date of investment by each company are as follows: ( Unit : Thousand Baht ) Better World Earth Tech EnviTransport ronment Co., Ltd Co., Ltd 4,914 2,235 996
Better Waste Care Co., Ltd Net assets Investment lower net book values of the subsidiaries at the investment date Cash paid for the investment
Total 8,145
(3,915)
(1,236)
3
(5,148)
999
999
999
2,997
Significant intra-group transactions and balances have been eliminated on consolidation.
3. Basis of preparation of the financial statements and significant accounting policies 3.1 Basis of preparation of the financial statements These consolidated and company financial statements are prepared in accordance with Thai generally accepted accounting principles under the Accounting Act B.E. 2543, being those Thai Accounting Standards issued under the Accounting Profession Act B.E. 2547. The consolidated and company financial statements have been prepared under the historical cost convention except as disclosed in the accounting policies.For the convenience of the readers, an English language translation of financial statements have been prepared from the Thai language financial statements which are issued for domestic reporting purpose.
Annual Report ‘ 2008
[ 181 ]
3.2 Adoption of new accounting standards 3.2.1 Accounting standards which are effective for the current year In 2008, the Company adopted the following revised Thai Accounting Standards (TAS) which the Federation of Accounting Profession has issued and effective for financial statements beginning on or after January 1, 2008 which are relevant to its operations: TAS 25 (revised 2007) Cash Flow Statements TAS 29 (revised 2007) Leases TAS 31 (revised 2007) Inventories TAS 33 (revised 2007) Borrowing Costs TAS 35 (revised 2007) Presentation of Financial Statements TAS 39 (revised 2007) Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors TAS 41 (revised 2007) Interim Financial Reporting TAS 43 (revised 2007) Business Combination TAS 49 (revised 2007) Construction Contracts TAS 51 Intangible Assets The adoption of these new and revised TAS does not have any material impact on the Company’s financial statements. 3.2.2 Accounting standards which are not effective for the current year The Federation of Accounting Professions (FAP) has issued Notification No. 86/2550 regarding Accounting Standards. The notification mandates the use of the following new accounting standards. TAS 36 (revised 2007) Impairment of Assets TAS 54 (revised 2007) Non-current Assets Held for Sale and Discontinued Operations These accounting standards will become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after January 1, 2009. The management has assessed the effect of these accounting standards and believes that they will not have any significant impact on the financial statements for the year in which they are initially applied. 3.3 Significant accounting policies 3.3.1 Use of accounting estimations Preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles requires management to make estimates and assumptions for certain accounting transactions, affecting amounts reported in the financial statements and notes related thereto. Subsequent actual results may differ from these estimates. Accounting estimation and assumptions have been regularly reviewed. The effect from such review will be recorded into the period effect occurred.
[ 182 ]
Annual Report ‘ 2008
3.3.2 Foreign currency transactions Transactions in foreign currencies throughout the periods are recorded in Baht at rates prevailing at the dates of transactions. Outstanding assets and liabilities denominated in foreign currencies at the balance sheet date are translated into Baht at the prevailing bank rates as of that date. Gains or losses arising from the translations are credited or charged to current operations. 3.3.3 Revenues and expenses recognition Services are recognized as revenue when the service is completely rendered to customers. Rental income is recognized over the rent period. Interest income is recognized as interest accrues based on the effective rate method. Costs of waste treatment incurred during the period are calculated by actual units of production provided to customers divided by the estimated capacities that are estimated by external expertise. 3.3.4 Cash and cash equivalents Cash and cash equivalents comprise free of collateral cash on hand and at banks and deposits at financial institutions with original maturity within three months. 3.3.5 Accounts receivable Accounts receivable are presented at net realizable value. The Company and subsidiaries provide allowance for doubtful accounts equal to the estimated collection losses that may be incurred in the collection of all receivables. The estimated losses are based on a review of the current status of the existing receivables. 3.3.6 Investments in subsidiaries Investments in subsidiaries are recorded at cost net of allowance for decline in value (if any). 3.3.7 Property, plants and equipment Land , except land located landfill of hazardous , are recorded at cost. Land located landfill of hazardous, building and equipment are stated at cost less accumulated depreciation. The company depreciate their land located buried pit of hazardous and landfills on quantities of buried wastes. The company and subsidiaries depreciate their buildings , machinery and equipment , furniture and fixtures and vehicles on a straight-line method over the estimated useful lives of the assets as follows: Useful lives (Years) Buildings 20 Machinery and equipment 5 Furnitures and fixtures 5 Vehicles 5-10 3.3.8 Impairment of assets The Company has determined the impairment of assets if there is indicator that the carrying amount of asset exceeds its recoverable amount. The Company will consider the impairment for each asset item or each asset unit generating cash flows, whichever is practical.
Annual Report ‘ 2008
[ 183 ]
An impairment loss on the assets carrying at cost is recorded as expense in statements of income, while an impairment loss on revalued asset is recognized against any revaluation surplus for the asset to the extent that the impairment loss does not exceed the amount held in the revaluation surplus for the same asset. 3.3.9 Capitalization of interest Borrowing costs are capitalized as cost of assets that the Company has incurred borrowing cost on assets that required a period of time to get them ready for use. Capitalization of borrowing cost will be stopped when such assets are ready for their intended use. 3.3.10 Financial lease Leases of assets that substantially transfer to the Company all the rewards and risks of ownership of assets and that the Company intends to exercise the option of the leases to purchase the assets at the expiration of the lease term, are accounted for as finance leases. At the inception of a finance lease, the cost of the asset is recorded together with the obligation to pay future rent, excluding the interest element. Finance charges are recorded to the current period operations by the effective interest rate basis. 3.3.11 Income tax The Company and subsidiaries records income tax (if any) expenses based on the amount currently payable under the Revenue Code. 3.3.12 Basic earnings per share Basic earnings per share are determined by dividing the net income by the weighted average number of common shares outstanding during the periods as proportion of paid capital. The decrease or increase in shares as resulted of stock combination or split occurred during the periods, have been given retroactive recognition as an appropriate equivalent charge for all periods presented. 4. Transactions with related parties Portion of accounting transactions arose from transactions with below related parties, which are linked to the Company by common shareholders or directors. Companies Better Waste Care Company Limited Better World Transport Company Limited Earth Tech Environment Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited New Crane Service Company Limited
[ 184 ]
Annual Report ‘ 2008
Relationship Subsidiary Subsidiary Subsidiary Subsidiary The Company’s shareholder (5.7% of share registered) is 99.34% shareholder of this company.
4.1 Significant transactions in statements of income for the year ended December 31, 2008 and 2007 are as follows: (Unit : Thousand Baht ) Type of Transactions/companies Service income Income from industrial waste Subsidiaries Better Waste Care Company Limited
Pricing Policies
Separate 2008 2007
Market Price
Earth Tech Environment Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited Income from transportation industrial waste Market Price Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Earth Tech Environment Company Limited Other Income Rental income 120,000 240,000 Baht per year Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Better World Transport Company Limited Earth Tech Environment Company Limited
Income from management fee
Consolidated 2008 2007
-
-
19,744
20,978
-
3,604
3,339
-
-
1,574
-
-
-
13,233 1,636
12,628 1,673
-
-
-
-
240 120 -
240 120 90
-
-
120 120 120
120 120 120
120,000 Baht per year
Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Better World Transport Company Limited Earth Tech Environment Company Limited
Income from marketing fee Subsidiaries
10% of revenue
Annual Report ‘ 2008
[ 185 ]
Type of Transactions/companies
Pricing Policies
(Unit : Thousand Baht ) Separate 2008 2007
Consolidated
2008
2007
Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Earth Tech Environment Company Limited Miscellaneous revenue Subsidiary
-
-
6,411
5,909
-
-
1,045
892
Better Waste Care Company Limited
-
-
-
29
-
-
31,562
14,812
-
-
9,963 8,524
11,013 -
-
-
7,760
-
-
-
120
30
Expenses Cost of transportation Subsidiary Better World Transport Company Limited Cost of industrial waste Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited Equipment rental
Market Price
Market Price
Market Price
Subsidiary Better World Transport Company Limited Office rental expense Subsidiary Earth Tech Environment Company Limited
[ 186 ]
Annual Report ‘ 2008
120,000 Baht per year
4.2 Significant outstanding balances in balance sheets Consolidated 2008 2007
(Unit:Thousand Baht ) Separate 2008
2007
Accounts receivable and notes receivable Subsidiaries Better Waste Care Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited Earth Tech Environment Company Limited Better World Transport Company Limited รวม
-
-
6,299 1,193 1,055 8,547
8,814 2,770 18 11,602
Accounts payable and notes payable Subsidiaries Better World Transport Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited Better Waste Care Company Limited Related company New Crane Service Company Limited
-
-
12,547 4,903 -
1,231 2,188
-
600 600
17,450
3,419
-
2,172 (2,172) -
-
-
Total Account payable for purchase assets from a related party Related company New Crane Service Company Limited (no interest charged) Less Current portion due within one year Net
On September 12, 2005, a subsidiary has entered into the purchase agreement with a related company amounting to Baht 9.88 million, this amount is in accordance with the value appraised by independent appraiser who determined depreciated replacement cost on report dated July 7, 2005. According to this agreement, the Company will make 9 installments and complete within May 2006. These agreement conditions
Annual Report ‘ 2008
[ 187 ]
are included the right to buyback if the Company is unable to satisfy to perform public offering or denied by The Stock Exchange of Thailand or Market for Alterative Investment. This agreement has been approved by shareholders’ extraordinary meeting 1/ 2005 held on August 27, 2005. On March 1, 2007, both parties agreed to amend the agreement and cancelled buyback option. Consequently, the payment schedule in this agreement were amended on April 24, 2006 to extend the installment period for 16 installments to December 2006 and on November 16, 2006, the 16 th installment (last installment) was splitted into19 installments and the payment terms were extended to June 2008. On February 11, 2008, the subsidiary already settled remaining installment. 5. Cash and cash equivalents
Cash Deposit at banks - Saving accounts - Current accounts Total
[ 188 ]
Annual Report ‘ 2008
( Unit : Thousand Baht)
Consolidated 2008 2550 235 187 71,062 34,194 105,491
179,071 106,245 285,503
Separate 2551
2550 133
124
56,443 1,106 57,682
177,266 98,803 276,193
6. Trade accounts receivable and notes receivable-net As at December 31, 2008 and 2007, trade account receivable and notes receivable are as follows: (Unit : Thousand Baht) Consolidated 2551 2550 160,701 116,153 3,995 5,389 (3,141) (3,264) 161,555 118,278
Accounts receivable Post dated cheques Less Allowance for doubtful Accounts receivable - net The aging of accounts and notes receivable are as follows : Within Due Over due not over 3 months 3 – 6 months 6 – 12 months Over 12 months Total
Separate 2551 139,918 2,553 (2,244) 140,227
2550 97,020 3,413 (2,244) 98,189
155,066
93,495
136,416
78,594
2,410 809 116 2,300 160,701
19,062 1,246 1,629 721 116,153
794 292 116 2,300 139,918
15,031 1,083 1,591 721 97,020
7. Investments in subsidiaries (Unit : Thousand Baht) Separate At cost Paid-up share % of Holdings capital 2008 2007
Companies Better Waste care Company Limited Better World Transport Company Limited Earth Tech Environment Company Limited Akkhie Prakarn Company Limited Total
1,000 68,000 1,000 110,000
99.94 99.99 99.94 93.99
999 67,999 999 103,394 173,391
Annual Report ‘ 2008
999 999 999 2,997
[ 189 ]
On December 22, 2007, the Board of director’s meeting has resolutions as follows: 1) The Company invests in the newly established company named “AKKHIE PRAKARN CO., LTD.” at 93.99% of registered share capital in the amount of Baht 103 million. The new company was registered on January 25, 2008. 2) The Company invests in all newly issued shares of Better World Transport Co., Ltd. in the amount of Baht 67 million. The subsidiary registered the increased share capital with the Ministry of Commerce on January 30, 2008. 8. Property, plants and equipment, net
(Unit: Thousand Baht)
Consolidated Balance December 31, 2007
Balance December 31, 2008
Transfer/ Disposals
Additions
At cost Land Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Construction in progress Total Less Accumulated depreciation Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Total Net
[ 190 ]
Annual Report ‘ 2008
15,218
-
-
15,218
17,630 207,753 325,754 69,886 11,341 47,059 29,992 724,633
10,601 137,094 40,900 2,967 43,997 125,067 360,626
3,652 136,506 140,158
17,630 218,354 462,848 110,786 14,308 87,404 18,553 945,101
(1,702) (110,305) (38,627) (39,008) (6,315) (27,924) (223,881) 500,752
(894) (27,277) (19,443) (16,014) (1,914) (11,090) (76,632)
(2,734) (2,734)
(2,596) (137,582) (58,070) (55,022) (8,229) (36,280) (297,779) 647,322
(Unit: Thousand Baht)
Consolidated Balance December 31, 2006
Balance December 31, 2007
Transfer/ Disposals
Additions
At cost Land Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Construction in progress Total Less Accumulated depreciation Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Total Net
15,148
70
-
15,218
17,630 170,393 266,053 65,845 8,827 37,093 6,760 587,749
37,360 59,701 4,227 2,676 11,766 78,562 194,362
186 162 1,800 55,330 57,478
17,630 207,753 325,754 69,886 11,341 47,059 29,992 724,633
(564) (72,530) (24,162) (26,809) (5,025) (22,479) (151,569) 436,180
(1,138) (37,775) (14,465) (12,280) (1,431) (7,245) (74,334)
(81) (141) (1,800) (2,022)
(1,702) (110,305) (38,627) (39,008) (6,315) (27,924) (223,881) 500,752
Annual Report ‘ 2008
[ 191 ]
(Unit : Thousand Baht)
Separate Balance December 31, 2007 At cost Land Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Construction in progress Total Less Accumulated depreciation Land located of hazar industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Total Net
[ 192 ]
Annual Report ‘ 2008
Balance December 30, 2008
Transfer/ Disposals
Additions
15,218
-
-
15,218
17,630 207,753 325,753 69,359 10,007 27,886 29,992 703,598
10,602 137,094 9,445 2,242 15,360 125,067 299,810
7,016 136,506 143,522
17,630 218,355 462,847 78,804 12,249 36,230 18,553 859,886
(1,702) (110,305) (38,627) (38,869) (5,815) (21,094) (216,412) 487,186
(894) (27,277) (19,443) (12,599) (1,582) (4,020) (65,815)
(6,535) (6,535)
(2,596) (137,582) (58,070) (51,468) (7,397) (18,579) (275,692) 584,194
(Unit : Thousand Baht) Separate
Balance December 31, 2006
Balance December 31, 2007
Transfer/ Disposals
Additions
At cost Land Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Construction in progress Total Less Accumulated depreciation Land located of hazardous industrial waste Landfills Building Machinery and equipment Office equipment Vehicles Total Net
15,148
70
-
15,218
17,630 170,393 266,053 65,639 7,920 24,142 6,760 573,685
37,360 59,700 3,906 2,249 5,544 78,562 187,391
186 162 1,800 55,330 57,478
17,630 207,753 325,753 69,359 10,007 27,886 29,992 703,598
(564) (72,530) (24,162) (26,766) (4,748) (18,592) (147,362) 426,323
(1,138) (37,775) (14,465) (12,184) (1,208) (4,302) (71,072)
(81) (141) (1,800) (2,022)
(1,702) (110,305) (38,627) (38,869) (5,815) (21,094) (216,412) 487,186
Depreciation included in consolidated financial statements for the years ended December 31, 2008 and 2007 amounted to Baht 48.46 million and Baht 35.42 million, respectively. (Separate of Baht 37.65 million and Baht 32.16 million, respectively).
Annual Report ‘ 2008
[ 193 ]
The value of landfills included provision costs to wrap the completed landfills, which will be occurred when each individual landfill is fully used. This provision was estimated by an independent appraiser (American Appraisal (Thailand) Co., Ltd.) in November 2008. As of December 31, 2008 and 2007, such provision costs to complete landfills were Baht 0.96 million and Baht 8.97 million, respectively. In June 2005, the Company appointed an independent value, N and A Appraisal Co., to perform a valuation of land by using market price method, arising a result of that the fair value of land is not lower than its historical costs. However , as land located landfill of hazardous industrial waste can not be used after landfill are fully buried, the management assesses that it would be more appropriate to use discounted cash flow approach for such parcels of land instead of market approach. According to the management assessment, discounted cash flow for such land is not lower than historical costs. Accordingly, the Company recorded its whole land at its historical costs. Certain parcels of land where located at the landfills of hazardous waste, with historical cost of Baht 17.63 million,are unable to be used for other purpose after such landfills are fully buried. The Company, therefore, amortizes the whole cost of the mentioned land by using unit of productions. On November 16, 2006, the Company made sale agreement to purchase land with the amount of Baht 1.5 million. The Company registered usufruct for a period of 30 years. Subsequently, on April 3, 2007, the Company registered the termination of usufruct and creation of superficies right for the period of 30 years and the right of ownership will be transferred to the Company when it will be transferable in 2010. (Note 10) As of December 31, 2008 and 2007, the Company and subsidiaries have a portion of vehicles totaling Baht 23.84 million and Baht 9.9 million, respectively, under hire purchase agreements. (Separate of Baht 13.89 million and Baht 3.9 million, respectively). As of December 31, 2008 and 2007, a portion of vehicles amounted to Baht 9.88 million from a subsidiary who has entered into purchase agreement with a related company. (Note 4.2) As of December 31, 2008 and 2007, a portion of property with historical costs of Baht 32.09 million and Baht 20.71 million, respectively, are in use but fully depreciated. (Separate of Baht 31.98 Million and Baht 20.61 million, respectively) As of December 31, 2008 and 2007, certain parcels of land with amount of Baht 29.57 million and a part of machineries have been mortgaged as collateral for loan facilities from local banks. (Notes 9 and 10)
[ 194 ]
Annual Report ‘ 2008
9. Bank overdrafts and short-term loans from financial institutions
Bank overdrafts Promissory notes Total
Consolidated 2008 2007 6,406 120,000 65,000 126,406 65,000
(Unit : Thousand Baht) Separateการ 2008 2007 6,406 120,000 65,000 126,406 65,000
- The Company has overdraft lines totaling of Baht 30 million bearing interest rate at MOR-0.5 p.a. As at December 31, 2008, the interest rate is 7 % p.a. - The Company has promissory note line of Baht 165 million bearing interest rate at MLR-0.5 p.a. As at Dece,ber 31, 2008, the interest rate was 7.00 % p.a. - Above bank overdrafts and promissory notes were secured by the mortgage of the Company’s land and the pledge of machineries and guaranteed by the Company’s directors. (Note 8)
10.Long-term loans As of December 31, 2008 and 2007, long-term loans are as follows: ( Unit : Thousand Baht)
Long - term loans Less Current portion due within one year NET
Consolidated 2008 2007 35,300
Separate 2008
2007 35,300
-
(4,626)
(4,626)
-
30,674
30,674
As of December 31, 2007, the Company has long-term loans above with a local bank credit facility of Baht 37 million, bearing interest at MLR +0.75% (7.75% p.a. at contract date), monthly installment not less than Baht 0.51 million per installment, commencing on April 30, 2008 to April 30, 2014. As of June 30, 2008, the Company already repaid outstanding principal. The above long-term loans are secured by the mortgage of substantial of the Company’s land and the pledge of machineries and guaranteed by the Company’s directors. (Note 8)
Annual Report ‘ 2008
[ 195 ]
11. Long-term loans under hire purchase agreements As of December 31, 2008 and 2007, the Company has long-term loans under hire purchase agreements as follows: (Unit :Thousand Baht)
Hire purchase payables Less Deferred interest expense Net Less Current portion due within one year Net
Consolidated 2008 2007 19,885 6,753 (1,608) (541) 18,277 6,212
Separate 2008 12,319 (1,144) 11,175
2007 2,797 (315) 2,482
(7,068)
(2,185)
(3,359)
(746)
11,209
4,027
7,816
1,736
12. Share capital On March 19, 2007, the Company registered the increased paid-up share capital with the Ministry of Commerce from Baht 208,000,000 to Baht 240,000,000. The company received the payment of paid-up share capital of Baht 32,000,000 in accordance with the resolution of the extraordinary shareholders’ meeting held on February 16, 2006. On October 31, 2007, the Company issued common shares (Initial public offering (IPO) totaling 80 million shares, Baht 1 par value, with offering price at Baht 3 per share. The Company registered the increased paid-up share capital from Baht 240 million to Baht 320 million with the Ministry of Commerce on November 8, 2007. In this regard, the Company recorded the share issuance cost of Baht 6.6 million as deduction in premium ordinary shares. At the extraordinary shareholders’ meeting held on October 10, 2008, the shareholders resolved as follows: 1. Ratify the increasing of share capital amounting Baht 57,000,000 million from Baht 320,000,000 to Baht 377,000,000 by issuance of the new common shares totaling 57,000,000 shares with Baht 1 par value. 2. Ratify of the Company allocates new share capital totaling 57,000,000 shares with offering price Baht 7 per share for GETCO shareholders or other persons defined by GETCO (Note 23). The Company was registered for the increasing of share capital on October 22, 2008. 13. Legal reserve According to the Public Companies Act, the Company has appropriated its reserve as a legal reserve not less than 5% of the annual net profit deducted by the total accumulated deficit brought forward (if any) until the reserve reaches an amount not less than 10% of the authorized share capital. The legal reserve may not be distributed as dividends. [ 196 ]
Annual Report ‘ 2008
14. Dividend According to the annual shareholders’ meeting held on April 2, 2008, the shareholders approved the appropriation of dividend to 320,000,000 shares at Baht 0.17 per share amounting to Baht 54.40 million. The Company has paid the dividend in April 2008. 15. Provident fund The Company established a contributory registered provident fund covering all permanent employees in accordance with the Provident Fund Act B.E. 2530. Under the provident fund plan, employees’ and Company’s contributions are equivalent pay to certain percentages of employees’ basic salaries. The employees are entitled to the Company’s contributions in accordance with the rules and regulations of the fund and on the length of service with the Company. The Company appointed a fund manager to manage the fund in accordance with the terms and conditions prescribed in the Provident Fund Act. B.E. 2530. The Company has contributed to provident fund for years ended December 31, 2008 and 2007 amounting to Baht 1.25 million and Baht 0.90 million, respectively (Separate : Baht 1.14 million and Baht 0.54 million, respectively). 16. Expenses by nature Significant expenses by nature are as follows: Consolidated 2551 2550 Salary and wages and other employee benefits Depreciation Amortization Transport expenses Fuel expenses Raw materials and consumables used Services expenses Rental expenses Management Fee
(Unit : Thousand Baht) Separate 2551
2550
82,177
54,925
58,035
48,012
48,461 33,783
35,421 38,912
37,645 28,170
32,160 38,912
113,801 46,263
121,226 58,813
142,857 34,333
135,567 53,919
45,616
10,859
25,339
10,859
22,546 19,550 33,581
31,218 17,948 26,734
19,085 17,613 30,153
28,287 16,518 25,294
Annual Report ‘ 2008
[ 197 ]
17. Financial information classified by segment The principal business operations are industrial waste management. Other business activities are involving and supporting the principal business operations include the agency of industrial waste management, the agency of transportation business in which separated as follows: (Unit : Thousand Baht) Consolidated For the year ended December 31, 2008 Total Eliminate Net Revenues Service income Transport income Other income Total revenues Expenses
651,699 42,758 29,841 724,298
(43,869) (42,758) (26,604)
607,830 3,237 611,067
Cost of service Cost of transport Selling and administrative expenses Total expenses Profit before interest expense and income tax
436,555 27,831 172,909 637,295 87,003
(74,111) (27,831) (9,311)
362,444 163,598 526,042 85,025
Interest expense Income tax Profit before profit of minority interest
(7,654) (7,013) 72,336 3,293 75,629
Loss of minority interest Net profit
[ 198 ]
Annual Report ‘ 2008
(7,654) (7,013) 70,358 3,293 73,651
(Unit : Thousand Baht)
Consolidated For the year ended December 31, 2007 Total Eliminate Net Revenues Service income Transport income Other income Total revenues Expenses
614,675 15,586 23,260 653,521
(35,349) (15,586) (22,002)
579,326 1,258 580,584
Cost of service Cost of transport Selling and administrative expenses Total expenses Profit before interest expense and income tax
407,028 11,030 114,475 532,533 120,988 (8,041) (6,086) 106,861 (3) 106,858
(54,207) (11,030) (7,700)
352,821 106,775 459,596 120,988 (8,041) (6,086) 106,861 (3) 106,858
Interest expense Income tax Profit before profit of minority interests Profit of minority interests Net profit for the period
Assets as at December 31, 2008 are as follows:
Property, plants and equipment – net Other assets Total assets
-
(Unit : Thousand Baht)
Consolidated Total Eliminate 649,301 (1,978) 510,152 (200,424) 1,159,453
Net 647,323 309,728 957,051
Annual Report ‘ 2008
[ 199 ]
Assets as at December 31, 2007 are as follows:
Property, plants and equipment – net Other assets Total assets
Total 500,752 433,501 934,253
(Unit : Thousand Baht) Consolidated Eliminate (18,097)
Net 500,752 415,404 916,156
18. Promotional privileges The Board of Investment has approved the granting of promotional privileges to the Company by issuing certificates for the manufacturing number 2092(2)/2004 dated November 10, 2004 and 1066(2)/2008 dated November 13,2007, in accordance with Promotional Privilege Act B.E. 2520 types 25, 26, 28, 31 34 and 37. The promotional privileges include exemption for corporate income tax arising from the promoted activities for eight years from the date when revenue is firstly recognized from the promoted business. The promoted activity is industrial waste management commencing on January 1, 2005, and November 13, 2007, respectively. Statements of income divided by the promoted and non-promoted activities are as follows: (Unit : Thousand Baht) Separate For the year end December 31, 2008 The nonThe promoted promoted Total privileges privileges Revenues Service income Other income Total revenues
[ 200 ]
Annual Report ‘ 2008
554,089 160 554,249
26,065 26,065
554,089 26,225 580,314
(Unit : Thousand Baht)
Separate For the year end December 31, 2007 The nonThe promoted promoted Total privileges privileges Revenues Service income Other income Total revenues
516,647 516,647
19,241 23,054 42,295
535,888 23,054 558,942
19. Financial instruments 19.1 Financial risk management and policies The Company is exposed to risks from changes in market interest rates and in currency exchange rates, and from nonperformance of contractual obligations. The Company has not used derivative instruments to manage such risk. However, management believes that all mentioned risks would not impact significantly to the Company performance. 19.2 Interest rate risk The interest rate risk is the risk that future movements in market interest rates will affect the results of the operations of the Company and its cash flows. The Company exposures to interest rate risk relate primarily to its deposits with financial institutions, bank overdrafts and loans. However, the company does not use financial instruments to hedge such risk. 19.3 Credit risk The Company and its subsidiary companies are exposed to credit risk primarily with respect to trade accounts receivable. However, the Company and subsidiary companies have a policy to enter into financial instruments with credit worthy counterparties, therefore the Company and its subsidiary companies do not anticipate material losses from their debt collection. The Company and subsidiaries adequately provided allowance for doubtful account. 19.4 Fair value Since the majority of the financial assets/liabilities are short-term and that the loans carry interest at rates close to current market rates, the management believes that the fair value of the Company financial assets and liabilities do not materially differ from their carrying value.
Annual Report ‘ 2008
[ 201 ]
20. Agreement On February 25, 2008, Akkhie Prakarn Co., Ltd., a subsidiary entered into the exclusive right agreement with the Department of Industrial Works whereby the subsidiary is granted the right to operate in the Industrial Waste Management Center Project (Industrial Waste Incinerator) at Samutprakarn Province. Under the terms of the agreement, the subsidiary has to pay annual fee amounting to approximately Baht 6.32-14.07 million and royalty fee at a certain percentage of waste served. The agreement covered a period of 20 years. 21.Pending litigations 21.1 On February 13, 2004, the Central Administrative Court accepted the accusation of the plaintiff and the Administrative Court designated the Company to be the interpleader as the 3rd party to the case. On March 15, 2007, the Central Administrative Court issued judgement to dismiss. The Company’s legal advisor informed that the plaintiff has appealed to the Supreme Administrative Court on April 18, 2007 and the Company has already filed the execution of the appeal to the Court on August 3, 2007. In addition, the legal advisor also informed that eventhough the plaintiff applied for appeal the judgement of the Central Administrative Court, but the judgement covered entire facts and legal issues and, in addition, therefore, the assumption can be made that the judgement should result in the same way. 21.2 On February 19, 2008, Saraburi Province Court accepted the accusation of the plaintiff to charge the Company and authorized directors concerning the fault of performance according to the orders from the officer in charge. The Court has a first appointment to prove the evidence of the plaintiff on September 1, 2009. The legal advisor informed that the accusation of the plaintiff will be dismissed because until now no authorized government officers who supervise the operation of the Company has issued the verbal or written order that the Company has not complied with any order of the officers. The management believes that if the Company takes all evidences to the Court, this case will be dismissed. 22. Commitments and contingent liabilities As at December 31, 2008, the Company had commitments and contingent liabilities as follows : 22.1 The Company had commitment to the principal building contractor for the construction of buildings amounting to approximately Baht 3.69 million. 22.2 The Company and subsidiaries had contingent liabilities to the letter of guarantee of Baht 98.69 million as a security with the government agency and customers (Separate : Baht 23.14 million). The letter of guarantee was guaranteed by deposits at financial institutions of the Company and subsidiaries and the company director. 23. Purchase shares of Global Environmental Technology Company Limited At the extraordinary shareholders’ meeting held on October 10, 2008, the shareholders resolved to ratify of the purchase shares of Global Environmental Technology Company Limited “GETCO” amounting 1,600,000 shares , par Baht 100 per share or equal 100% of issued and paid up common shares. The Company
[ 202 ]
Annual Report ‘ 2008
issues the new totaling 57,000,000 shares at par Baht 1 to pay to the shareholders of GETCO in stead of cash payment per share at Baht 7 or this share swap with GETCO in proportion of new company’s common shares 35.625 per 1 share of GETCO. The Company has not yet purchased such company because the parties is negotiating relating to the decreasing in share value from global economic crisis. 24. Significant accounting judgments and estimates The preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles at times requires management to make subjective judgments and estimates regarding matters that are inherently uncertain. These judgments and estimates affect reported amounts and disclosures and actual results could differ. The significant accounting judgments and estimates are as follows: Finance leases/ Operating leases The Company and subsidiaries have entered into lease agreements for the rental of motor vehicles. The Company and subsidiaries have determined, based on an evaluation of the terms and conditions of the arrangements, that the lessor retains all the significant risk and rewards of ownership of these properties, and so accounts for the contracts as operating leases. Allowance for doubtful accounts Allowances for doubtful accounts are intended to adjust the value of receivables for probable credit losses. The management uses judgment to establish reserves for estimated losses for each outstanding debtor. The allowances for doubtful accounts are determined through a combination of specific reviews, collection experience, and analysis of debtor aging, taking into account changes in the current economic conditions. However, the use of different estimates and assumptions could affect the amounts of allowances for receivable losses and adjustments to the allowances may therefore be required in the future. Impairment of investments The Company and subsidiaries treat investments as impaired when there has been a significant or prolonged decline in the fair value below their cost or where other objective evidence of impairment exists. The determination of what is “significant” or “prolonged” requires judgment. Depreciation In calculating depreciation of plant and equipment, the management estimates useful lives and salvage values of the plant and equipment and reviews estimated useful lives and salvage values if there are any changes. 25. Capital management The primary objectives of the Company’s and its subsidiaries’ capital management are to maintain their abilities to continue as a going concern and to maintain an appropriate capital structure. As at 31 December 2008, debt to equity ratio in the consolidated financial statements is 0.31:1.0 (Separate: debt to equity ratio is 0.29:1.0).
Annual Report ‘ 2008
[ 203 ]
26. Subsequent events 26.1 On January 15, 2009, the Company has entered into the agreement for construction of Nakhon Rathasima Municipal Waste Disposal System with a government agency at a project value of Baht 412 million. The agreement is for a period of 2 years and 4 months. 26.2 On January 23, 2009, the Company has entered into an assignment agreement with a bank at the line of Baht 129.37 million and bear interest at MLR less 0.25% per annum. The Company withdraw at the maximum rate of 70% of the project value of construction of the Waste Disposal System. 27. Reclassification of account Certain accounts of 2007 financial statements have been reclassified to confirm to the 2008 financial statement presentation. 28. Approval of the financial statements These financial statements have been approved by the Company’s management.
[ 204 ]
Annual Report ‘ 2008