ºÃÔÉÑ· ªØÁ¾ÃÍصÊÒË¡ÃÃÁ¹éÓÁѹ»ÒÅ Á ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
CHUMPORN PALM OIL INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED
Êӹѡ§Ò¹ãËÞ‹ : µÑé§ÍÂÙ‹·Õè 296 ËÁÙ‹ 2 µÓºÅÊÅØ ÍÓàÀÍ·‹Òá«Ð ¨Ñ§ËÇÑ´ªØÁ¾Ã 86140 â·ÃÈѾ· (077) 611-000-10 â·ÃÊÒà (077) 611-011 Êӹѡ§Ò¹ÊÒ¢Ò : µÑé§ÍÂÙ‹·Õè 1168/91 ªÑé¹ 30 ÅØÁ¾Ô¹Õ·ÒÇàÇÍà ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 4 ࢵÊÒ·Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10120 â·ÃÈѾ· (662) 679-9166-72 â·ÃÊÒà (662) 285-6369 Head Office : 296, Moo 2, Salui Sub District, Thasae District, Chumporn 86140 Tel. (077) 611-000-10 Fax (077) 611-011 Branch Office : 1168/91 30th Floor, Lumpini Tower, Rama IV Rd., Sathorn, Bangkok 10120 Tel. (662) 679-9166-72 Fax (662) 285-6369 e-mail : info@cpi-th.com
www.cpi-th.com
CHUMPORN PALM OIL INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาลม จำกัด (มหาชน)
SUSTAINABLE
GROWTH ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2553 / Annual Report 2010
สารบัญ
CONTENTS
2 3 4 6 7 8 9 10 11 26 27 28 35
สารจากประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการและผู้บริหาร BOARD OF DIRECTORS AND MANAGEMENT ข้อมูลทั่วไป ปัจจัยความเสี่ยง ข้อมูลสำคัญทางการเงิน ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาวะการแข่งขันและการลงทุน โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม
52 53 54 55 56 57 58 59 74 75 76 83
MESSAGE FROM CHAIRMAN AND CHIEF EXECUTIVE OFFICER REPORT FROM AUDIT COMMITTEE BACKGROUND RISK FACTORS FINANCIAL HIGHLIGHTS BUSINESS CHARACTERISTICS COMPETITION AND INVESTMENT SHAREHOLDING AND MANAGEMENT MANAGEMENT DISCUSSION AND ANALYSIS REPORT OF INDEPENDENT AUDITOR FINANCIAL STATEMENTS NOTES TO CONSOLIDATED FINANCIAL STATEMENTS
รายงานประจำปี 2553
สารจากประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
ในท่ามกลางปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัวและปัญหาที่ เกิดขึ้นจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและภัยธรรมชาติโดยเฉพาะ อย่างยิ่งอุทกภัยซึ่งเกิดขึ้นในหลายภูมิภาคของประเทศไทยในปี 2553 ที่ผ่านมา บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) ได้ ฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการมาได้ด้วยดี จนสามารถ ดำเนินการให้ก้าวหน้าและเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยเป็นฐานให้ บริษัทฯก้าวหน้าต่อไปอย่างมั่นคงในปี 2554 ในฐานะประธานกรรมการบริษัทฯ ผมขอสรุปภาพรวมของ ภาวะเศรษฐกิจของไทยและรายงานผลประกอบการของบริษัทฯใน รอบปีทผ่ี า่ นมา และใคร่ถอื โอกาสเรียนให้ทา่ นผูถ้ อื หุน้ ทราบถึงแนวโน้ม การดำเนินการในปี 2554
สภาวะเศรษฐกิจไทยในปี 2553
ในรอบปี 2553 เศรษฐกิจไทยเติบโตขึ้นประมาณร้อยละ 7.5 เปรียบเทียบกับอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในรอบปี 2552 ซึ่งติดลบอยู่ร้อยละ 2.2 ถือว่าเศรษฐกิจของประเทศ เริ่มฟื้นตัวขึ้น อย่างมีนัยสำคัญ ปัจจัยหลักที่ทำให้เศรษฐกิจไทยเติบโตเพิ่มขึ้นในปี ที่ผ่านมาเกิดจากการขยายตัวของการบริโภคในภาคเอกชนและการ ลงทุนจากต่างประเทศ ส่วนอัตราเงินเฟ้อของประเทศได้เพิ่มสูงขึ้น จากติดลบร้อยละ 0.8 เป็นร้อยละ 3 ซึ่งยังอยู่ในกรอบเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยกำหนด อย่างไรก็ตามธนาคาร แห่งประเทศไทยได้ปรับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.25 เป็นร้อยละ 2 และร้อยละ 2.5 ในปัจจุบัน
สภาวะอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม
ปริมาณผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบของไทยในปี 2553 ได้ลดลง จากระยะเวลาเดียวกันของปีกอ่ น ร้อยละ 4.4 หรือประมาณ 1,286,000 เมตริกตัน เนื่องจากปริมาณผลผลิตผลปาล์มสดและ yield ลดลง ใน ขณะที่ปริมาณการบริโภคน้ำมันปาล์มดิบได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 หรือ ประมาณ 1,206,500 เมตริกตัน เนื่องจากความต้องการน้ำมันปาล์ม ดิบเพื่อการผลิตไบโอดีเซลในภาคพลังงานเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น ยังมี การส่งน้ำมันปาล์มดิบออกไปจำหน่ายในต่างประเทศสูงถึงประมาณ 158,000 เมตริกตัน ผลกระทบจากความต้องการบริโภคทีเ่ พิม่ ขึน้ ในขณะทีป่ ริมาณ ผลผลิตลดลง ทำให้ปริมาณน้ำมันปาล์มดิบของประเทศลดลงร้อยละ 50 จากระดับปกติท่ี 120,000 เมตริกตัน เหลือเพียง 68,000 เมตริกตัน ราคาน้ำมันปาล์มดิบจึงปรับตัวเพิ่มขึ้นจากประมาณ 29 บาทต่อ กิโลกรัม เป็น 44 บาทต่อกิโลกรัม
ผลประกอบการของบริษัทฯ ในปี 2553
บริษัทฯ มีรายได้ในปี 2553 รวม 4,078 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2552 จำนวน 216 ล้านบาท หรือลดลงประมาณร้อยละ 5 ทั้งนี้ เนื่องจากราคาต้นทุนวัตถุดิบเพิ่มสูงขึ้นในช่วงหลังของปี ประกอบกับ การแข่งขันในตลาดเพิ่มขึ้นค่อนข้างสูง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าต้นทุน การผลิตและการแข่งขันจะสูงขึ้น บริษัทฯยังสามารถทำกำไรสุทธิจาก การดำเนินงานประมาณ 70.3 ล้านบาท ลดลงจากปี 2552 ประมาณ ร้อยละ 39 บริษทั ฯ มีทรัพย์สนิ รวม ณ วันสิน้ ปี ประมาณ 2,452 ล้านบาท มีหนี้สินรวม 963 ล้านบาท ทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ประมาณ 14.87 ล้านบาท รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,490 ล้านบาท หรือประมาณ 5.32 บาทต่อหุ้น
นวัตกรรมและพัฒนาการใหม่ของบริษัทฯ
บริษัทฯ ได้ลงทุนปรับปรุงระบบการนึ่งผลปาล์มสดให้ทันสมัย ยิ่งขึ้นรวมทั้งได้ลงทุนติดตั้งระบบลำเลียงเชื้อเพลิงให้มีประสิทธิภาพ กว่าเดิม ทั้งนี้ เพื่อเพิ่ม yield จากผลผลิตปาล์มสดและลดต้นทุนการ ผลิตลง
แนวโน้มปี 2554
ตลาดน้ำมันปาล์มในปี 2554 คาดว่ายังคงขาดเสถียรภาพ เนื่องจากความขัดแย้งทางการเมือง ก่อให้เกิดปัญหาความผันผวน (Volatility) ของราคาและผลผลิตของน้ำมันปาล์มทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ รวมทัง้ การเปลีย่ นแปลงด้านดินฟ้าอากาศทีส่ ง่ ผลกระทบ ถึงผลผลิตของผลปาล์มสด อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ มีความพร้อมทุกด้านทีจ่ ะฟันฝ่าปัญหา และอุปสรรคต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจโดยการเพิ่มประสิทธิภาพใน การผลิต ลดต้นทุนการขนส่งหรือโลจิสติค เพื่อสนองความต้องการ ลูกค้า และขยายสัดส่วนการตลาดของบริษทั ฯ ในอนาคต โดยตัง้ เป้าว่า บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) จะต้องเป็น ผู้นำในอุตสาหกรรมในอนาคต ในนามของคณะกรรมการ คณะผู้บริหาร ตลอดจนพนักงาน ของบริษัทฯทุกท่าน ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า และผู้ที่มี ส่วนได้เสียของบริษัทฯ ที่ได้ให้ความสนับสนุนกิจการของบริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา
นายสมชาย สกุลสุรรัตน์
นายเตียว เซ็ง เหลียง
ประธานกรรมการ
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) ได้รบั การแต่งตัง้ โดยมติคณะกรรมการ ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2552 ในปี 2553 คณะ กรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังนี้ นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ รศ.ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ กรรมการตรวจสอบ นายสาธิต ชาญเชาว์นกุล กรรมการตรวจสอบ และมีผู้จัดการสำนักตรวจสอบภายในอาวุโสทำหน้าที่ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2553 คณะกรรมการได้มีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมครบทุกครัง้ และได้เสนอ ผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบทุกครั้ง โดย สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงิน : คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบ ทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2553 ร่วมกับ
ผู้อำนวยการสายงานการเงินและบัญชีและผู้จัดการสำนักตรวจ สอบภายในอาวุโส โดยได้สอบถามและชี้แจงข้อมูลที่เกี่ยวกับ การจัดทำงบการเงินตามข้อกำหนดของกฎหมายและมาตรฐาน บัญชี รวมทั้งส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างปี และการเปิด เผยหมายเหตุในงบการเงินอย่างเพียงพอ และสอดคล้องกับ มาตรฐานการบัญชีที่กำหนดไว้จนได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ก่อนที่จะ ให้ความเห็นชอบในงบการเงินดังกล่าวและนำเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ และส่งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายในระยะเวลาที่กำหนด 2. กำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน : คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานการปฎิบัติงานของสำนักตรวจสอบภายใน ให้เป็นไปตามแผนงานประจำปี การสรุปผลการตรวจสอบเป็น
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
รายไตรมาส รวมทั้งติดตามการปรับปรุงแก้ไขตามข้อสังเกตหรือ ข้อเสนอแนะของสำนักตรวจสอบภายในและของคณะกรรมการ ตรวจสอบ อีกทัง้ สอบทานผังการบริหารและอัตรากำลังพนักงาน ซึ่งเป็นผลให้งานตรวจสอบมีการพัฒนาการตรวจสอบในเชิง ป้องกันอย่างต่อเนื่องและเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานต่างๆ ให้ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 3. สอบทานการประเมินระบบควบคุมภายใน : คณะ กรรมการตรวจสอบได้สอบทานโดยใช้แบบประเมินความเพียง พอของระบบการควบคุมภายในของตลาดทรัพย์แห่งประเทศ ไทย ก่อนนำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา ซึ่งผู้สอบ บัญชีของบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นสอดคล้องกันว่า ระบบการ ควบคุมภายในมีความเหมาะสมเพียงพอโดยไม่พบจุดอ่อนที่เป็น สาระสำคัญ และมีการปฎิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. ดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง บริษัทฯ และบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อให้เกิดความโปร่งใส พร้อมทั้งดูแลความเสมอภาคของผู้ถือหุ้น 5. พิจารณาเลือกผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและค่าสอบ บัญชีของบริษัทฯ ก่อนนำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขอ อนุมตั ทิ ป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง้ นายโสภณ เพิม่ ศิรวิ ลั ลภและ/หรือ
นางสาววิสสุตา จริยธนากร และ/หรือนางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผู้สอบบัญชี สำหรับปีบญ ั ชี 2553 ในกรณีทผ่ี สู้ อบบัญชีดงั กล่าวข้างต้นไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บริษัทสำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด จัดหาผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตอืน่ ของสำนักงานทำหน้าทีต่ รวจสอบ บัญชีและแสดงความเห็นชอบต่องบการเงินของบริษทั ฯ แทนผูส้ อบ บัญชีดังกล่าวได้ 6. พิจารณารับทราบรายงานการศึกษาแนวทางการลด ต้นทุนการขนส่งน้ำมันปาล์มโดยใช้รถบรรทุก NGV และปัญหา อุปสรรค
(นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ) ประธานกรรมการตรวจสอบ 14 กุมภาพันธ์ 2554
รายงานประจำปี 2553
คณะกรรมการและผู้บริหาร
Board of Directors and Management
คณะกรรมการ / Board of Directors
นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร Mr. Somchai Sakulsurarat Chairman & Chairman of Executive Director
นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ Mr. Suthep Wongvorazathe Chairman of Audit Committee & Independent Director
รศ. ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ Assoc. Prof. Dr. Ninnat Olanvoravuth Audit Committee & Independent Director
นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ Mr. Satit Chanjavanakul Audit Committee & Independent Director
นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา กรรมการและกรรมการบริหาร Mr. Chusak Prachayangprecha Director & Executive Director
นายถกล ถวิลเติมทรัพย์ กรรมการ กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการ Mr. Takon Tawintermsup Director, Executive Director & Deputy Managing Director
นายการุญ นันทิลีพงศ์ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ Mr. Karoon Nuntileepong Director & Managing Director
นายกรีธา มติธนวิรุฬห์ กรรมการอิสระ Mr. Kreetha Matitanaviroon Independent Director
นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช กรรมการ Mr. Kitti Chatlekhavanich Director
นายทรงฤทธิ์ นิวัติศัยวงศ์ กรรมการและผู้อำนวยการงาน โครงการศึกษาการลงทุน Mr. Songridth Niwattisaiwong Director & Project Director
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
นายพิเชษฐ นิธิวาสิน กรรมการ Mr. Pichet Nithivasin Director
นายวรวิทย์ โรจน์รพีธาดา กรรมการ Mr. Voravit Rojrapitada Director
ศ. ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ กรรมการ Prof. Dr. Suntaree Yingjajaval Director
พล. ร.อ. สถิรพันธุ์ เกยานนท์ กรรมการอิสระ Admiral Satirapan Keyanon Independent Director
นายเตียว เซ็ง เหลียง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Mr. Teoh Seng Leong Chief Executive Officer
นายการุญ นันทิลีพงศ์ กรรมการผู้จัดการ Mr. Karoon Nuntileepong Managing Director
นายถกล ถวิลเติมทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการ Mr. Takon Tawintermsup Deputy Managing Director
นายสุภิสิทธิ์ ช่อเรืองศักดิ์ รองกรรมการผู้จัดการ Mr. Supisith Chorruangsak Deputy Managing Director
ผู้บริหาร / Management
รายงานประจำปี 2553
ข้อมูล ทั่วไป
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันปาล์มสำหรับ สินค้าในตลาดอุตสาหกรรม เช่น น้ำมันปาล์มดิบ น้ำมันเมล็ด ในปาล์ม น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ น้ำมันปาล์มโอเลอิน รวมทั้ง สำหรับตลาดผู้บริโภค ในรูปขวด ปี๊บ ถุง ภายใต้ตรา “ลีลา” และผลพลอยได้อื่นๆ เช่น ไขปาล์มบริสุทธิ์ กรดไขมันปาล์ม และกากเมล็ดในปาล์ม รวมถึงการเพาะกล้าปาล์มเพื่อจำหน่าย ให้แก่เกษตรกร โดยมีทุนจดทะเบียน 280,289,521 บาท แบ่ง เป็นหุ้นสามัญ จำนวน 280,289,521 หุ้น และเป็นทุนชำระแล้ว 280,289,020 บาท เป็นหุน้ สามัญทัง้ หมดจำนวน 280,289,020 หุน้ นอกจากนั้นได้ดำเนินการปิดบริษัท ซีพีไอ ไบโอดีเซล จำกัด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2553
ที่ตั้งสวนปาล์ม
โทรศัพท์ (077) 611-000-10 โทรสาร (077) 611-011 สำนักงานสาขา : ตั้งอยู่ที่ 1168/91 ชั้น 30 ลุมพินีทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ (662) 679-9166-72 โทรสาร (662) 285-6369 Web Site : www.cpi-th.com E-MAIL : info@cpi-th.com
สวนปาล์มของบริษทั ฯ มีพน้ื ทีท่ ง้ั หมด 20,916 ไร่ (3,346.56 เฮกเตอร์) แบ่งเป็น 1) สวนปะทิว 10,788 ไร่ (1,726.08 เฮกเตอร์) ตั้งอยู่ที่ : ตำบลดอนยาง และตำบลเขาไชยราช อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 2) สวนห้วยสัก 3,899 ไร่ (623.84 เฮกเตอร์) ตั้งอยู่ที่ : หมู่ที่ 7 ตำบลทรายทอง อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3) สวนเขาไชยราช 2,401 ไร่ (384.16 เฮกเตอร์) ตั้งอยู่ที่ : หมู่ที่ 3 ตำบลดอนยาง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 4) สวนบางสน 2,626 ไร่ (420.16 เฮกเตอร์) ตั้งอยู่ที่ : หมู่ที่ 4 ตำบลบางสนและหมู่ที่ 1 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 5) สวนคลองวังช้าง 1,202 ไร่ (192.32 เฮกเตอร์) สำนักงานใหญ่ : ตั้งอยู่ที่ 296 หมู่ 2 ตำบลสลุย ตั้งอยู่ที่ : หมู่ที่ 4 ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร 86140 จังหวัดชุมพร
บุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียน
บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ส่วนบริการผู้ลงทุน ฝ่ายนายทะเบียนหลักทรัพย์ อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ชัน้ 2 (โครงการนอร์ธปาร์ค) เลขที่ 2/7 หมู่ที่ 4 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2596-9310 โทรสาร 0-2832-4994-5
ผูต้ รวจสอบบัญชี
นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ เลขทะเบียน 3182 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เลค รัชดา ออฟฟิศ คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 เลขที่ 193/136-137 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777
ทีป่ รึกษากฎหมาย
รศ.สหธน รัตนไพจิตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2221-6111 ต่อ 2121
ปัจจัย ความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคา
ในปี 2553 ต้นทุนน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวสูงขึน้ มาก จนทำให้ผผู้ ลิต น้ำมันปาล์มบริสทุ ธิ์ (หรือน้ำมันปาล์มโอเลอิน ทีใ่ ช้บริโภคในครัวเรือน) หลายราย ปัจจัยเสี่ยงภายนอกอุตสาหกรรม หรือความเสี่ยงที่เป็นระบบ เป็นปัจจัยที่กระทบต่อทุกอุตสาหกรรม ไม่สามารถผลิตสินค้าออกสู่ตลาดได้ในบางช่วง เนื่องจากต้นทุนผลิตปรับตัว สูงกว่าราคาเพดาน ซึ่งการคลี่คลายของสภาวะตึงตัวดังกล่าวต้องอาศัยปัจจัย การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย มีการคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจไทยปี 2554 จะเติบโตประมาณ ภายนอกหลายอย่าง อาทิ นโยบายภาครัฐ ปริมาณผลปาล์มสดออกสู่ตลาด 3.5-4.5% ลดลงจากปีก่อน โดยปี 2553 ที่ผ่านมาอัตราการเจริญเติบโตทาง ในปีนี้ สภาพดินฟ้าอากาศ ระดับราคาน้ำมันปาล์มดิบมาเลเซีย เป็นต้น ความผันผวนของปริมาณผลปาล์มสดออกสู่ตลาด เศรษฐกิจอยู่ที่ 7.5% นั่นหมายถึง กำลังซื้อซึ่งเกิดจากการบริโภค การลงทุน Ÿ ปาล์มน้ำมันเป็นพืชยืนต้น ที่ไม่มีฤดูกาลเก็บเกี่ยวที่แน่นอน การใช้จ่ายภาครัฐ รวมถึงคำสั่งซื้อจากต่างประเทศต่อผลผลิตภายในประเทศ นอกจากนี้ปริมาณผลผลิตยังแปรไปตามสภาพภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ นั้น มีแนวโน้มลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน ของแร่ธาตุในดิน ทำให้การคาดคะเนปริมาณผลปาล์มสดที่ออกสู่ตลาดมี ความชัดเจนของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจโลกในขณะนี้ยังถือว่าอยู่ในภาวะเสี่ยง ไม่ว่าจะเป็น ความเสี่ยงที่จะคลาดเคลื่อนได้ โดยปี 2553 ปริมาณผลปาล์มสดรวมที่เก็บ ความกังวลต่อ Double-dip recession ของสหรัฐฯ Debt crisis ในกลุ่ม EU การ เกี่ยวนั้น ต่ำกว่าที่คาดการณ์โดยสำนักงานเศรษฐกิจอยู่ประมาณ 15-25% มาตรฐานการปลูกปาล์มอย่างยั่งยืน (RSPO) ใช้นโยบายการเงินแบบหดตัว (Monetary Contraction) ของจีนเพื่อควบคุม อัตราเงินเฟ้อ ล้วนพิจารณาได้ว่าเป็นปัจจัยลบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งส่งผลต่อ ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะยุโรปเริ่มให้ความสำคัญต่อน้ำมัน ปาล์มที่ได้รับการรับรอง RSPO มากขึ้น ตรงจุดนี้ อีกด้านหนึ่งอาจกลายเป็น อุปสงค์ต่อสินค้าเกือบทุกชนิด ข้อกีดกัน และจำกัดการส่งออกน้ำมันปาล์มจากประเทศไทยได้ ซึ่งขณะนี้ร่าง ความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ การเคลื่อนไหวของกลุ่มการเมืองต่างๆ มีลักษณะสุ่มเสี่ยงต่อ เกณฑ์กำหนดและตัวชี้วัด RSPO สำหรับประเทศไทยนั้นอยู่ในขั้นตอนการ เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์ ซึง่ อาจบัน่ ทอนความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภคและธุรกิจภายใน ปรับปรุงแก้ไข ทั้งนี้ คาดการณ์ว่าจะเสร็จสมบูรณ์เป็นฉบับที่พร้อมนำไปใช้ ประเทศ รวมถึงนักท่องเทีย่ ว และนักลงทุนต่างประเทศต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจไทย สำหรับการตรวจประเมินได้ (Audit) ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 การเปิดเขตการค้าเสรี AFTA ภาวะเงินเฟ้อ เป็นการมองในระยะกลางถึงระยะยาวว่าหากการนำเข้าเสรีของ การปรับตัวของราคาสินค้าเกษตรหลายชนิด รวมถึงเชื้อเพลิง เป็นผลให้เกิดภาวะเงินเฟ้อจากแรงขับดันของต้นทุน (Cost-push inflation) ซึ่ง ผลิตภัณฑ์น้ำมันปาล์มเกิดขึ้นจริงในอนาคต โรงกลั่นน้ำมันปาล์มอาจจะได้รับ ประโยชน์ เพราะจะทำให้ได้วัตถุดิบ CPO ที่ราคาถูกป้อนโรงงาน อย่างไร จะส่งผลโดยตรงต่อระดับอุปสงค์รวมของประเทศ ก็ตามการเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต การตลาด การเงิน และการ จัดการ ยังเป็นสิ่งที่ต้องดำเนินควบคู่กันไปอย่างเข้มข้นด้วย เพราะความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงภายในอุตสาหกรรม หรือความเสีย่ งทีไ่ ม่เป็นระบบ เป็นความเสีย่ งเฉพาะตัว ซึง่ จะแตกต่าง อีกด้านหนึ่งของ AFTA คือ คู่แข่งขนาดใหญ่จากประเทศมาเลเซียและ อินโดนีเซีย อาจเข้ามาทำตลาดแข่งขันกับผูป้ ระกอบการในประเทศได้ดว้ ยเช่นกัน กันไปในแต่ละอุตสาหกรรม การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของกำลังการผลิต เกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว ทางบริษัทฯ โรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบ ในปี 2553 พบว่า มีการเกิดขึ้นใหม่ของกำลังการผลิตโรงสกัด มีการประชุมและติดตามข่าวสารต่างๆ รวมถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมทั้งในฐานะ น้ำมันปาล์มดิบเป็นจำนวนมาก ในขณะทีป่ ริมาณผลปาล์มสด แม้วา่ จะเพิม่ ขึน้ ของผู้ผลิตและสมาชิกของสมาคมโรงกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์อย่างต่อเนื่อง แต่ก็เพิ่มขึ้นในอัตราที่ช้ากว่า ทั้งนี้กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น มาทั้งจากโรงสกัด เพื่อการปรับตัว และลดผลกระทบจากปัจจัยลบที่อาจส่งผลต่อผลการดำเนิน เดิมที่ต้องการขยายกำลังการผลิตเดิมให้สูงขึ้น กลุ่มเกษตรกรที่ต้องการเพิ่ม งานของบริษทั ฯ ในส่วนของปริมาณผลปาล์มสดออกสูต่ ลาด บริษทั ฯ ได้ทำการ มูลค่าให้กับผลผลิตด้วยการแปรรูป และผู้ประกอบการรายใหม่ จึงคาดการณ์ สำรวจภาคสนามเป็นระยะ ควบคู่กับการทวนสอบข้อมูลที่ได้กับข้อมูลจาก ได้ว่า ภาวะการแย่งซื้อผลปาล์มสดอาจรุนแรงขึ้นในปีนี้ อำนาจต่อรองของ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกรมการค้าภายใน เพื่อให้การคาดการณ์ มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ในส่วนของการนำเข้าภายใต้กรอบ AFTA นั้น ผู้ปลูกปาล์มจึงสูง Ÿ การแข่ ง ขั น ระหว่ า งผู้ ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรม อ้างถึงมติคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติ ยังคงให้การนำเข้า น้ำมันปาล์มอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะอนุกรรมการซึ่งจะพิจารณาทั้ง โรงกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ ในปี 2552-2553 มีผู้ประกอบการโรงกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ ปริมาณและช่วงเวลาที่จะนำเข้า โดยให้ส่งผลกระทบต่อราคาผลปาล์มสด รายใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น และเนื่องจากอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มนั้น ภายในประเทศน้อยที่สุด ทั้งนี้ การนำเข้าจะกระทำผ่าน อคส. และสมาคม มีต้นทุนคงที่สูง จึงทำให้ผู้ที่เข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ ไม่สามารถออกจาก โรงกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ อุตสาหกรรมได้โดยง่าย ผลิตภัณฑ์นำ้ มันปาล์มกึง่ บริสทุ ธิ์ น้ำมันปาล์มโอเลอิน และ By-product ต่างทยอยเข้าสูต่ ลาดมากขึน้ ทำให้เกิดการแข่งขันด้านราคาสูง ปัจจัยความเสี่ยงด้านการผลิต ปัจจัยความเสี่ยงด้านการผลิต เช่น เครื่องจักรเสีย (Breakdown) อำนาจต่อรองของโรงสกัดและผู้จำหน่าย CPO สูง กำลังการผลิตโรงกลัน่ มีการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีป่ ริมาณ ทำให้ขบวนการผลิตต้องหยุดชะงัก ซึ่งบริษัทฯ ได้จัดให้มีการซ่อมบำรุงป้องกัน CPO ที่ผลิตได้ แม้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (Trend ระยะยาว) แต่ก็เพิ่มในอัตราที่ (Preventive Maintenance) ไว้แล้ว รวมไปถึงการที่โรงงานของบริษัทฯ ได้มีการ ช้ากว่า ประกอบกับการนำเข้า CPO ในกรอบ AFTA ยังคงต้องผ่านการเห็นชอบ วางแผนการเดินเครื่องจักรและการซ่อมบำรุงที่มีประสิทธิภาพตามแผนประจำ จากคณะอนุกรรมการกำหนดการนำเข้าน้ำมันปาล์ม ซึ่งทำหน้าที่พิจารณา ปีอย่างต่อเนื่อง ทำให้โอกาสของความเสี่ยงด้านการผลิตลดลง กำหนดปริมาณ และช่วงเวลาในการนำเข้า ภายใต้สภาวะการณ์เช่นนี้ ทำให้ ปัจจัยความเสี่ยงด้านการตลาด อำนาจต่อรองของโรงกลัน่ ถูกบัน่ ทอนลงได้ โปรดดูจากหัวข้อ ภาวะการแข่งขันและการลงทุน
รายงานประจำปี 2553
ข้อมูลสำคัญ ทางการเงิน (หน่วย : พันบาท)
2551 2552
2553
สินทรัพย์รวม
2,672,160
2,652,426
2,452,854
หนี้สินรวม
1,211,628
1,177,042
962,602
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
1,460,532
1,475,384
1,490,252
รายได้จากการขายและบริการ
5,394,300
4,272,358
4,072,257
รายได้รวม
5,409,243
4,294,494
4,077,513
กำไรขั้นต้น
665,343
376,746
347,163
กำไรสุทธิ
297,275
115,757
70,279
5.50
2.70
1.72
อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (%)
20.35
7.85
4.72
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%)
11.12
4.36
2.87
กำไรต่อหุ้น (บาท)
1.06
0.41
0.25
เงินปันผลต่อหุ้น (บาท)
0.54
0.20
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)
5.21
5.26
อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)
50.94
48.78
อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้รวม (%)
5.32
ลักษณะการ ประกอบธุรกิจ
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์น้ำมันดิบ
น้ำมันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil : CPO) น้ำมันเมล็ดในปาล์ม (Crude Palm Kernel Oil : KO)
น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ (RBD Palm Oil : RPO) น้ำมันเมล็ดในปาล์มบริสุทธิ์ (RBD Palm Kernel Oil : RKO) น้ำมันปาล์มโอเลอิน (RBD Palm Olein : ROL) น้ำมันปาล์มโอเลอินผ่านกรรมวิธีบรรจุขวดตรา “ลีลา” และ “รีโอ” น้ำมันปาล์มโอเลอินผ่านกรรมวิธีบรรจุปี๊บตรา “ลีลา” น้ำมันปาล์มโอเลอินผ่านกรรมวิธีบรรจุถุงตรา “ลีลา”
ไขปาล์มบริสุทธิ์ (RBD Palm Stearin : RHST) กรดไขมันปาล์ม (Palm Fatty Acid Distillate : PFAD) กรดไขมันเมล็ดในปาล์ม (Palm Kernel Fatty Acid Distillate : KFAD) กากเมล็ดในปาล์ม (Kernel Meal : KM)
กล้าปาล์ม (Palm Seedlings)
2. ผลิตภัณฑ์น้ำมันบริสุทธิ์
3. ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้
4. ผลิตภัณฑ์อื่นๆ
สัดส่วนรายได้
(หน่วย : ล้านบาท)
ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ผลิตภัณฑ์ รายได้ % รายได้ % รายได้ % รายได้ในประเทศ น้ำมันดิบ น้ำมันบริสุทธิ์ ผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ รายได้ต่างประเทศ น้ำมันดิบ น้ำมันบริสุทธิ์ ผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ รวมรายได้
467.71 8.65 1,174.88 2,831.02 52.34 1,922.01 800.93 14.81 1,027.35 4,099.66 75.79 4,124.24 706.77 576.63 26.18 1,309.58 5,409.24
27.36 44.76 23.92 96.04
902.99 2,010.12 813.22 3,726.33
22.15 49.30 19.94 91.39
13.07 76.49 1.78 92.92 2.28 10.66 41.23 0.96 135.35 3.32 0.48 52.53 1.22 122.91 3.01 24.21 170.25 3.96 351.18 8.61 100.00 4,294.49 100.00 4,077.51 100.00
10 รายงานประจำปี 2553
ภาวะการแข่งขัน และการลงทุน
บริษทั ฯ มีนโยบายควบคุมขัน้ ตอนการผลิตเพือ่ รักษาระดับ มาตรฐาน นอกจากนี้ ยังมีนโยบายด้านคุณภาพและการบริการ ที่สนองตอบความต้องการของลูกค้าในด้านต่างๆ เพื่อให้มีความ สัมพันธ์อันดีระหว่างกัน เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์ และตรงตามความจริงแก่ลูกค้า การวัดความพึงพอใจของลูกค้า ต่อสินค้าและบริการ รวมไปถึงการศึกษาและนำเครื่องมือทาง การตลาดมาใช้ เพือ่ ช่วยในการวิเคราะห์ และตัดสินใจในทิศทาง ของบริษัทฯในระยะยาว ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ ยังได้มุ่งเน้น งานวิจยั พันธุป์ าล์ม เพือ่ เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ ข้อมูลงานวิจยั และนำมาใช้ในการเพาะเมล็ดพันธุป์ าล์ม เพือ่ ให้ได้มาซึง่ สายพันธุ์ ทีด่ ี กล้าปาล์มทีม่ คี วามเหมาะสม กับสภาพแวดล้อมในการปลูก ปาล์มของเกษตรกรในพื้นที่ที่มีความแตกต่างกัน ตลอดจนการ เผยแพร่ให้ข่าวสารความรู้ต่างๆ แก่เกษตรกรทั่วไป บริษัทฯ มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันประมาณ 20,000 ไร่ การจัดการด้านการดูแลสวนปาล์ม เป็นไปตามหลักวิชาการ ซึ่ง ในช่วงแรกๆ มีการใส่ปุ๋ยเคมี และการใช้สารเคมีในการกำจัด วัชพืชและศัตรูพืช มีมูลค่าหลายล้านบาทต่อปี ต่อมาบริษัทฯ ตระหนักและคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม จึงได้พยายามดำเนินธุรกิจ โดยการนำสิ่งที่เหลือใช้จากโรงงาน กลับมาใช้กับสวนปาล์มเพื่อ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด อาทิเช่น ทะลายปาล์ม กากตะกอน บ่อน้ำเสีย ขี้เถ้า ขี้แป้ง และกากดีแคนเตอร์ มาใช้ในสวนปาล์ม ของบริษัทฯ เพื่อทดแทนปุ๋ยเคมี ส่วนงานด้านการปราบวัชพืช จากที่เคยใช้สารเคมีก็เปลี่ยนมาเป็นการปลูกพืชคลุมดินแทน และเลือกกำจัดวัชพืชบางประเภท สามารถลดค่าใช้จ่ายด้าน สารเคมีลงได้มาก ทั้งนี้บริษัทฯ ได้นำวิธีการทางธรรมชาติโดย การเลีย้ งนกแสกเพือ่ ควบคุม และกำจัดประชากรหนูเข้ามาใช้แทน การกำจัดด้วยสารเคมี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดความเสียหาย ของผลผลิตทะลายปาล์มสด ด้วยการควบคุมประชากรหนูโดย ไม่ใช้สารเคมี ซึง่ จะลดค่าใช้จา่ ยในการซือ้ สารเคมีได้ปลี ะนับล้านบาท ในปี 2553 ทางบริษัทฯ ได้มีการแบ่งกลุ่มธุรกิจออกเป็น 5 กลุ่มหลัก ตามลักษณะของกลุ่มลูกค้า และเพื่อการวางแผน การทำตลาดได้อย่างเหมาะสม โดยแบ่งออกเป็น 1. กลุ่มตลาดอุตสาหกรรม 2. กลุ่มตลาดพลังงาน 3. กลุ่มตลาดแบ่งบรรจุ 4. กลุ่มตลาดคอนซูเมอร์ 5. กลุ่มตลาดส่งออก
ซึ่งยังผลให้การบริหารงานเกิดความสะดวก และมีความ คล่องตัวมากขึ้นตามพฤติกรรมของแต่ละกลุ่มธุรกิจ รวมทั้งในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างผังองค์กรให้มีความ เหมาะสมยิ่งขึ้น และมุ่งเน้นการทำงานเป็นทีม การให้บริการที่ดี และมีประสิทธิภาพแก่ลูกค้าของบริษัทฯ
การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ
การจัดหาวัตถุดิบที่นำมาป้อนเข้าสู่โรงงานมีการจัดหา จาก 2 ช่องทาง ช่องทางแรก จัดหาผลปาล์มสดป้อนเข้าสูก่ ระบวน การผลิต โดยแบ่งเป็นการรับซือ้ ผลปาล์มสดจากเกษตรกรผูป้ ลูก ปาล์มน้ำมันในพืน้ ทีร่ อบบริเวณโรงงานส่วนหนึง่ และอีกส่วนหนึง่ เป็นผลปาล์มสดทีไ่ ด้จากสวนปาล์มของบริษทั ฯ เอง ช่องทางทีส่ อง จัดหาโดยการซื้อน้ำมันปาล์มดิบจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มที่ ตั้งกระจายอยู่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะในเขตภาคใต้ของประเทศ สำหรับสถานการณ์วัตถุดิบทั้งผลปาล์มสดและน้ำมัน ปาล์มดิบในปี 2553 ที่ผ่านมานั้น ได้รับผลกระทบจากความแปร ปรวนของภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปรากฎการณ์ลานีน่า ซึ่งทำให้เกิดภาวะอากาศร้อนและแห้งแล้งมากกว่าปกติในพื้นที่ ประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน ส่งผลให้ผลผลิตปาล์มน้ำมัน ออกสู่ตลาดคลาดเคลื่อนไม่เป็นไปตามฤดูกาล ประกอบกับช่วง ปลายปี ได้รับผลกระทบจากลมมรสุมที่พัดผ่านภาคใต้อันทำให้ เกิดอุทกภัยหลายพืน้ ที่ ทำให้ปริมาณผลผลิตปาล์มทัง้ ปีนอ้ ยกว่า ที่คาดการณ์ไว้ จากที่เคยมีการคาดการณ์ไว้ว่าจะมีปริมาณผล ปาล์มสดออกสู่ตลาดในปี 2553 ราว 8.43 ล้านตัน มีผลผลิต ออกสู่ตลาดจริงเพียง 7.98 ล้านตัน ด้วยเหตุดังกล่าวส่งผลให้ เกิดภาวะขาดแคลนวัตถุดบิ อย่างรุนแรงในช่วงปลายปี ราคาวัตถุดบิ ทั้งผลปาล์มสดและน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว คาดการณ์ปี 2554 สถานการณ์ดา้ นการผลิตและการตลาด ปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มยังคงได้รับผลกระทบต่อเนื่องจาก สภาพความแปรปรวนของภูมิอากาศที่ส่งผลต่อปริมาณผลผลิต ที่จะออกสู่ตลาดล่าช้าหรือน้อยกว่าปกติ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อ ความผันผวนทางด้านราคาสินค้า ทัง้ นีค้ าดการณ์ปริมาณผลผลิต ที่จะออกสู่ตลาดในปี 2554 จะใกล้เคียงกับปริมาณผลผลิตที่ ออกสู่ตลาดในปี 2553 หรือประมาณ 8 ล้านตัน และคาดว่า แนวโน้มราคาสินค้าจะอยู่ในทิศทางที่สูงขึ้น จากปริมาณผลผลิต เพิ่มขึ้นช้ากว่าความต้องการน้ำมันปาล์มที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ทัง้ ในด้านการนำไปบริโภคและการนำไปผลิตเป็นพลังงานทดแทน
โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ
11 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก จำนวนหุ้นที่ถือ % ของหุ้นทั้งหมด 1. บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด 92,097,125 32.86 2. นายสมเกียรติ ถวิลเติมทรัพย์ 19,166,674 6.84 3. บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 14,508,910 5.18 4. นายไพศาล ฉัตรเลขวนิช 8,711,997 3.11 5. นายศุภชล นิธิวาสิน 7,800,000 2.78 6. นายพรชัย เตชวัฒนสุข 6,961,077 2.48 7. นายโกศล นันทิลีพงศ์ 5,957,660 2.13 8. CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-BK 4,591,166 1.64 JULIUS BAER & CO LTD-CLIENT’S A/C 9. นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา 4,488,625 1.60 10. นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช 4,004,166 1.43
นโยบายการจ่ายปันผล
บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังจากชำระภาษีแล้วใน แต่ละปี
การจัดการ (1) โครงสร้างการจัดการ
โครงสร้างกรรมการบริษัทฯ แบ่งเป็น
1. คณะกรรมการและผู้บริหารบริษัทฯ ประกอบด้วย 1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร 2. นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 3. รศ. ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 4. นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 5. นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา กรรมการและกรรมการบริหาร 6. นายถกล ถวิลเติมทรัพย์ กรรมการ กรรมการบริหารและรองกรรมการผู้จัดการ 7. นายการุญ นันทิลีพงศ์ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ 8. นายกรีธา มติธนวิรุฬห์ กรรมการอิสระ 9. นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช กรรมการ 10. นายทรงฤทธิ์ นิวัติศัยวงศ์ กรรมการและผู้อำนวยการงานโครงการศึกษาการลงทุน 11. นายพิเชษฐ นิธิวาสิน กรรมการ 12. นายวรวิทย์ โรจน์รพีธาดา กรรมการ 13. ศ. ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ กรรมการ 14. พล. ร .อ. สถิรพันธุ์ เกยานนท์ กรรมการอิสระ 15. นายเตียว เซ็ง เหลียง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 16. นายสุภิสิทธิ์ ช่อเรืองศักดิ์ รองกรรมการผู้จัดการ 17. นายประสิทธิ์ ไพฑูรย์เจริญลาภ ผู้อำนวยการสายงานการเงินและบัญชี 18. นางรัศมี พงศ์จินดานนท์ ผู้จัดการสำนักตรวจสอบภายในอาวุโส 19. นายธวัชชัย โฉมวรรณ์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดองค์กรและโลจิสติกส์
12 รายงานประจำปี 2553
20. นายมงคล เสียงสุทธิวงศ์ ผู้จัดการฝ่ายสารสนเทศ 21. นางสาวสุทิศา เทียนไชย ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้ออาวุโส 22. นายพัชร์ชศักดิ์ จันทร์เทวี ผู้จัดการฝ่ายขาย 23. นางปราณี จิตต์วรจินดา ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงงาน 24. นายสุภัทรพงศ์ ชาญพานิชย์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงงาน 25. นายจุนฮุย แซ่เล้า ผู้จัดการฝ่ายสวนอาวุโส 26. นายชำนาญ ดวงใส ผู้จัดการฝ่ายผลิต 2 27. นางสาววิรารัตน์ วิวัฒน์ธนาธิกุล เลขานุการบริษัท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ รวมถึงมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วย ความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริต 2. กำหนดนโยบายหลักในการดำเนินธุรกิจ นโยบายด้านการเงินและการบริหารเงินทุนของบริษัทฯ และกำกับดูแล ให้ฝ่ายจัดการดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. พิจารณาอนุมัติรายการที่มีสาระสำคัญที่กฎหมาย ข้อบังคับหรือระเบียบปฏิบัติของบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ดังกล่าวกำหนดให้ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 4. จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงานทางการเงิน และด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับ นโยบายและระเบียบปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ และกำหนดให้สำนักตรวจสอบภายในมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการตรวจสอบการปฏิบตั ิ ตามระบบการควบคุมภายในดังกล่าวและรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ จะประเมินความเพียงพอ และเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในเป็นประจำทุกปี และให้ความเห็นไว้ในรายงานประจำปี 5. แต่งตั้งเลขานุการบริษัท เพื่อรับผิดชอบดำเนินการในเรื่องต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด 6. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อช่วยคณะกรรมการ ในการกำกับดูแลกิจการให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ นอกจากนี้ จากการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 ได้มีมติอนุมัติแต่งตั้ง นายเตียว เซ็ง เหลียง เป็นประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเพือ่ เสริมทีมบริหารให้มคี วามแข็งแกร่งมากยิง่ ขึน้ โดยรับผิดชอบสายงานการขาย การตลาด และจัดหาวัตถุดิบ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย 1. นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ ประธานฯ 2. รศ.ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ 3. นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
13 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
(ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ (ค) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะอนุกรรมการ ประกอบด้วย 1. นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา ประธานฯ 2. นายถกล ถวิลเติมทรัพย์ 3. นายการุญ นันทิลีพงศ์ 4. นายทรงฤทธิ์ นิวัติศัยวงศ์ ขอบเขตและหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมย่อยของบริษัทฯ เพื่อให้กระทำนิติกรรมขอและใช้วงเงินสินเชื่อต่างๆ เปิดบัญชี เงินฝากและบัญชีเดินสะพัด ในนามของบริษัทฯ กับธนาคารหรือสถาบันการเงิน กระทำการยื่นคำขอ ติดต่อ ยื่นคำเสนอ และ ทำนิติกรรมใดกับส่วนราชการ เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิต่างๆ ของบริษัทฯ 4. คณะอนุกรรมการด้านทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย 1. นายวรวิทย์ โรจน์รพีธาดา ประธานฯ 2. นายพิเชษฐ นิธิวาสิน ช่วยกำหนดแนวทางโดยเป็นการสอบทานปัญหาหลักขององค์กรด้านทรัพยากรบุคคล จะนำมาปรึกษาเป็นกรณีๆ ไป 5. คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 1. ศ. ดร.สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ ประธานฯ 2. นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช 3. รศ.สหธน รัตนไพจิตร กำหนดกรอบในการพิจารณาเกีย่ วกับการจัดการความเสีย่ งโดยทัว่ ไปของบริษทั ฯ ส่วนแนวทางในการพิจารณาฝ่ายจัดการ หรือคณะอนุกรรมการอาจหยิบยกประเด็นใดๆ ซึ่งเป็นความเสี่ยงในการจัดการขึ้นมาพิจารณา 6. คณะอนุกรรมการบริหารการเงิน ประกอบด้วย 1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ ประธานฯ 2. นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ 3. รศ.ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ กำหนดกรอบในการหารือเกี่ยวกับงบประมาณประจำปีและงบลงทุน 7. คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย 1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ ประธานฯ 2. นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา 3. นายถกล ถวิลเติมทรัพย์
14 รายงานประจำปี 2553
กำหนดขอบเขต บทบาทอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กำกับดูแลการบริหารงานในระดับนโยบาย 2. กำกับดูแลการบริหารงานของฝ่ายบริหารและคณะจัดการ 3. กำกับดูแลเกี่ยวกับการจ้างงานและผลตอบแทนของฝ่ายบริหารและคณะจัดการตั้งแต่ระดับกรรมการผู้จัดการ ถึงผู้จัดการฝ่าย 4. กำกับดูแลเกี่ยวกับนโยบายการบริหารความเสี่ยง 5. ประสานงานกับคณะกรรมการบริษัทฯ
รายละเอียดคณะกรรมการและผู้บริหาร
ชื่อ : นายสมชาย สกุลสุรรัตน์
ตำแหน่ง : ประธานกรรมการบริษัทฯ และประธานกรรมการบริหาร วันเดือนปีเกิด : 13 พฤศจิกายน 2491 วุฒิการศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันศศินทร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : : : การอบรม :
ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ (ภาคภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน ปรอ. รุ่น 14 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตรการเงินและการธนาคารสถาบันนายธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2552 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายอลงกรณ์ พลบุตร) 2552 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) 2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์) 2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัทฯ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทย แอ๊กโกร เอ็กซเซนจ์ จำกัด 2546 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมอาหาร ส.ขอนแก่น จำกัด (มหาชน) 2545 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เอส ซี เจ แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด อดีต กรรมการผู้จัดการ บริษัท ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ธนาคารศรีนคร จำกัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ชื่อ : นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ
ตำแหน่ง : ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ วันเดือนปีเกิด : 10 ธันวาคม 2491 วุฒิการศึกษา : M.B.A. UNIVERSITY OF WISCONSIN, WISCONSIN, U.S.A. การอบรม : ประกาศนียบัตรหลักสูตร DAP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน: 2553 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร 2546 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
15 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
2550 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2551 - ปัจจุบัน 2553 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2540 - ปัจจุบัน อดีต
ประธานกรรมการ บริษัท แปซิฟิค แอสเซ็ทส์ จำกัด (มหาชน) กรรมการ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ประธานกรรมการบริิษัท บริษัท น้ำตาลครบุรี จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษัท น้ำตาลครบุรี จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไทย แอ๊กโกร เอ็กซเซนจ์ จำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอส จี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด วุฒิสมาชิก วุฒิสภา
ชื่อ : รศ.ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ
ตำแหน่ง : กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ วันเดือนปีเกิด : 15 มิถุนายน 2489 วุฒิการศึกษา : SENIOR EXECUTIVE PROGRAM-BANFF, UNIVERSITY OF CALGARY, CANADA
: : : : : การอบรม :
ITP PROGRAM AT INSEAD IN FONTAINEBLEAU PH.D. U.S. INTERNATIONAL UNIVERSITY M.P.A. SAN DIEGO STATE UNIVERSITY B.A. SAN DIEGO STATE UNIVERSITY A.A., GROSSMONT COLLEGE, CALIFORNIA ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2546 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบและ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ สภาวิทยาลัยชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ 2550 - ปัจจุบัน นายกสภา สภาวิทยาลัยศรีโสภณ 2541 - ปัจจุบัน กรรมการ มหาวิทยาลัยราชธานีอุดร 2537 - ปัจจุบัน กรรมการร่วมก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยเอเชีย-แปซิฟิก 2535 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2528 - ปัจจุบัน กรรมการขอเปิดดำเนินการและมาตรฐานอุดมศึกษา (ทบวง) 2524 - ปัจจุบัน กรรมการ Governing Board, SEAMEO-RIHED 2524 - ปัจจุบัน เลขาธิการสมาคม สถาบันอุดมศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ 2551 - ปัจจุบัน อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการสร้างระบบและมาตรฐานการสรรหาทรัพยากรบุคคล 2553 - ปัจจุบัน อุปนายก สภาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
ชื่อ : นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล
ตำแหน่ง : กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ วันเดือนปีเกิด : 28 เมษายน 2491 วุฒิการศึกษา : วศ.บ. (อุตสาหกรรมโรงงาน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.SC. (TEXTILE TECHNOLOGY) UNIVERSITY OF LEEDS, UK พณ.ม. (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม : ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2552 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบและ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ
16 รายงานประจำปี 2553
2547 - 2551 2546 - 2547 2544 - 2546 2543 - 2544 2541 - 2543 2540 - 2541 2535 - 2539 2514 - 2534
เลขาธิการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รองเลขาธิการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รองปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม ผู้ตรวจราชการ กระทรวงอุตสาหกรรม รองอธิบดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา ผู้อำนวยการกองเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม (ศูนย์เพิ่มผลผลิตแห่งประเทศไทย) ดำรงตำแหน่งวิศวกรระดับต่างๆ ด้านเทคโนโลยีสง่ิ ทอ กองอุตสาหกรรมสิง่ ทอ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ชื่อ : นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา
ตำแหน่ง : กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ วันเดือนปีเกิด : 18 ตุลาคม 2488 วุฒิการศึกษา : BS.BA HUSSON UNIVERSITY, MAINE, U.S.A. การอบรม : ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 1.60% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
2550 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2522 - 2549 กรรมการและ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ 2536 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ สภาธุรกิจไทย-จีน 2549 - 2551 กรรมการ กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย 2551 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา จำกัด 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ กลุม่ อุตสาหกรรมเซรามิค สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2553 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท น้ำตาลครบุรี จำกัด (มหาชน) และกรรมการอิสระ
ชื่อ : นายถกล ถวิลเติมทรัพย์
ตำแหน่ง : กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ วันเดือนปีเกิด : วุฒิการศึกษา : การอบรม :
และรองกรรมการผู้จัดการ 5 มิถุนายน 2497 มัธยมศึกษาปีที่ 3 วัดธาตุทอง ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.89% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : เป็นพี่เขยของนายการุญ นันทิลีพงศ์ ประวัติการทำงาน : 2517 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการบริหาร บริษัท น้ำตาลครบุรี จำกัด (มหาชน) และกรรมการผู้จัดการ 2522 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการบริหาร บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และรองกรรมการผู้จัดการ 2531 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท บำรุงราษฎร์ เอ็ม.ซี. จำกัด 2536 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ครบุรีไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด
17 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
2551 - ปัจจุบัน กรรมการ 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ
บริษัท ผลิตไฟฟ้าครบุรี จำกัด บริษัท จักรกลเกษตรบริการ จำกัด บริษัท ครบุรี แคปิตอล จำกัด
ชื่อ : นายการุญ นันทิลีพงศ์
ตำแหน่ง วันเดือนปีเกิด วุฒิการศึกษา การอบรม
: : : :
กรรมการ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการ 25 กุมภาพันธ์ 2503 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วุฒิบัตรและประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.1% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : เป็นน้องภรรยาของนายถกล ถวิลเติมทรัพย์ ประวัติการทำงาน : 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด 2525 - 2549 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2550 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการผู้จัดการ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ชื่อ : นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช
ตำแหน่ง : กรรมการ และกรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ วันเดือนปีเกิด : 30 พฤษภาคม 2512 วุฒิการศึกษา : SASIN GRADUATE INSTITUTE OF ADMINISTRATION CHULALONGKORN UNIVERSITY การอบรม : วุฒิบัตรและประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 1.43% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
2542 - ปัจจุบัน 2535 - ปัจจุบัน 2549 - ปัจจุบัน 2546 - ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ
บ ริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) บริษัท เลียกเซ้ง เทรดดิ้ง จำกัด บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด บริษัท พลาสแมค เทรดดิ้ง จำกัด
ชื่อ : นายกรีธา มติธนวิรุฬห์
ตำแหน่ง : กรรมการอิสระ วันเดือนปีเกิด : 20 มกราคม 2492 วุฒิการศึกษา : B.A. METHODIST UNIVERSITY, U.S.A การอบรม : ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.01% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2552 - ปัจจุบัน 2551 - ปัจจุบัน 2518 - ปัจจุบัน
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้อำนวยการ
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) NATION INTERNATIONAL EDUTAINMENT PUBLIC COMPANY LIMITED บริษัท ยูนิเวอร์แซลปูนซีเมนต์ขาว จำกัด
18 รายงานประจำปี 2553
ชื่อ : นายทรงฤทธิ์ นิวัติศัยวงศ์
ตำแหน่ง : กรรมการ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ และผู้อำนวยการงานโครงการศึกษาการลงทุน วันเดือนปีเกิด : 6 ตุลาคม 2495 วุฒิการศึกษา : ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต UNSW การอบรม : วุฒิบัตรและประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.22% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
2536 - ปัจจุบัน กรรมการ 2533 - ปัจจุบัน กรรมการและผู้อำนวยการ งานโครงการศึกษาการลงทุน
บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ชื่อ : นายพิเชษฐ นิธิวาสิน
ตำแหน่ง : กรรมการ วันเดือนปีเกิด : 28 มกราคม 2494 วุฒิการศึกษา : DIPLOMA, ECOLE HOTELIERE DE LAUSANNE, SWITZERLAND สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ
บริษัท นารายณ์โฮเต็ล จำกัด บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ชื่อ : นายวรวิทย์ โรจน์รพีธาดา
ตำแหน่ง : กรรมการ วันเดือนปีเกิด : 8 เมษายน 2487 วุฒิการศึกษา : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ บริหารธุรกิจ อัสสัมชัญพาณิชย์ การอบรม
: : : :
Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Advance Course in General (Non-Life) Insurance, Swiss Insurance Training Centre, Switzerland Skandia Insurance Management, Philippines สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2542 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2546 - 2548 ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และกรรมการอิสระ 2542 - 2545 กรรมการตรวจสอบ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และ 2549 - 2551 และกรรมการอิสระ ปัจจุบัน กรรมการและที่ปรึกษาบริษัท บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 2551 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 2524 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 2543 - 2552 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 2535 - 2551 เลขานุการคณะกรรมการ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 2525 - 2542 กรรมการผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน)
19 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ชื่อ : ศ.ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์
ตำแหน่ง : กรรมการ วันเดือนปีเกิด : 2 มีนาคม 2494 วุฒิการศึกษา : PH.D. SOIL PHYSICS, OREGON STATE UNIVERSITY
M.S. SOIL PHYSICS, OREGON STATE UNIVERSITY วทบ.(เกษตรศาสตร์) สาขาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การอบรม : ประกาศนียบัตรหลักสูตร DAP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 0.01% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2543 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มก. 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ชุมพรโฮลดิ้ง จำกัด
ชื่อ : พล. ร.อ. สถิรพันธุ์ เกยานนท์
ตำแหน่ง : กรรมการอิสระ วันเดือนปีเกิด : 23 ธันวาคม 2490 วุฒิการศึกษา : วิทยาลัยการทัพเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง
: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.4419) สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย การอบรม : - สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน : 2553 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2553 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) อดีต ประธานกรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย (ครั้งที่ 1) ประธานกรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย (ครั้งที่ 2) ประธานกรรมการ บจก.อู่กรุงเทพ นายกสมาคมแข่งเรือใบแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ปรึกษาประธานกรรมการ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ มูลนิธิรักเมืองไทย
ชื่อ : นายเตียว เซ็ง เหลียง
ตำแหน่ง : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร วันเดือนปีเกิด : 8 พฤษภาคม 2492 วุฒิการศึกษา : BACHELOR OF SCIENCE, UNIVERSITY OF MALAYA การอบรม : - สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
2553 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2549 - 2553 HEAD, ASIA REGION 2543 - 2549 กรรมการผู้จัดการ 2525 - 2543 SENIOR EXECUTIVE
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) SIME DARBY PLANTATIONS บริษัท มรกต อินดัสตรี้ส์ จำกัด (มหาชน) SIME DARBY PLANTATION
20 รายงานประจำปี 2553
ชื่อ : นายสุภิสิทธิ์ ช่อเรืองศักดิ์
ตำแหน่ง : รองกรรมการผู้จัดการ วันเดือนปีเกิด : 18 มีนาคม 2501 วุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ-สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำแหง การอบรม : ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
2541 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ชื่อ : นายประสิทธิ์ ไพฑูรย์เจริญลาภ
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการสายงานการเงินและบัญชี วันเดือนปีเกิด : 22 มกราคม 2503 วุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ-สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำแหง สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประวัติการทำงาน :
2529 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการสายงานการเงินและบัญชี
(2) การสรรหากรรมการและผู้บริหาร
(3) ค่าตอบแทนผู้บริหาร
(4) การกำกับดูแลกิจการ
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
กรรมการแต่งตัง้ โดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการแต่งตัง้ ดังกล่าว คณะกรรมการทัง้ หมดจะเป็นผูร้ ว่ มสรรหาคัดเลือก โดยถือว่า คณะกรรมการทัง้ หมดเป็นกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ในการสรรหาดังกล่าว ทัง้ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ จะพิจารณาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เมื่อ ได้รายชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสมแล้ว ก็จะนำเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้แต่งตัง้ ต่อไป ในการแต่งตัง้ คณะกรรมการ ถือตามเสียงข้างมาก ในการออกเสียงจะไม่มีระบบ Cumulative Voting อ้างถึง (4) การกำกับดูแลกิจการ ข้อ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
บริษทั ฯ ได้กำหนดนโยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ในปี 2546 ดังต่อไปนี้ นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ฯได้สง่ เสริมสนับสนุนการกำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นทุกระดับขององค์กร และได้มกี ารปรับปรุง ส่งเสริม อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผล ถูกต้องตามกฎหมายด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และมีความโปร่งใส คณะ กรรมการบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นและเชื่อมั่นว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีความโปร่งใส มีประสิทธิผลจะส่งผลให้ผลการปฏิบัติงาน ของบริษัทฯ ดีขึ้นและเป็นประโยชน์สูงสุดกับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในระยะยาวโดยทั่วกัน จึงได้กำหนดนโยบาย เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ 1. ดำเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี (Good Corporate Governance) โปร่งใส ตรวจสอบได้ 2. กำกับดูแลให้คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทและความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ 3. ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย อีกทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 4. จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ ดูแลให้มมี าตรการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมและติดตามอย่างสม่ำเสมอ
21 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
5. กำหนดให้มวี สิ ยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย นโยบาย แผนธุรกิจ งบประมาณของบริษทั ฯ และมีการติดตาม ผลอย่างสม่ำเสมอ 6. จัดให้มีคู่มืออำนาจดำเนินการ เพื่อกระจายความรับผิดชอบ อำนาจในการตัดสินใจและสั่งการตามหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย 7. จัดให้มีคู่มือจรรยาบรรณบริษัท พร้อมทั้งมีการแจ้งให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนถือปฏิบัติ บริษัทฯ มีแผนปฏิบัติและมีการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนงาน และงบประมาณของบริษัทฯ ทุกไตรมาส และ มีการปรับปรุงเป้าหมาย แผนงาน งบประมาณของบริษัทฯ ทุกปี ในปี 2553 บริษัทฯ มีการประชุมผู้ถือหุ้นทั้งหมด 1 ครั้ง เป็นประชุมสามัญประจำปี 2552 โดยการประชุมได้จัดที่ โรงแรมภายนอกบริษัทฯ และบริษัทฯ ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งเอกสารข้อมูลประกอบการประชุม รายงานประจำปี/งบ การเงิน รายการเอกสารทีผ่ เู้ ข้าประชุมต้องนำมาเพือ่ ใช้แสดงตัวและหนังสือมอบฉันทะให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม 7 วันทำการ ทัง้ นีเ้ อกสารประกอบการประชุมทีน่ ำส่งให้กบั ผูถ้ อื หุน้ พร้อมกับหนังสือเชิญประชุมนัน้ จะมีขอ้ มูลครบถ้วนเพียงพอให้ผถู้ อื หุน้ ใช้ประกอบ การตัดสินใจลงคะแนนในวาระต่างๆ และบริษทั ฯ ได้เพิม่ ทางเลือกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดยให้กรรมการอิสระเป็นผูร้ บั มอบอำนาจจากผูถ้ อื หุน้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ในระหว่างการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานที่ประชุมได้ดำเนินการประชุมให้เป็นไปตามลำดับระเบียบวาระที่กำหนดไว้ใน หนังสือเชิญประชุม และคณะกรรมการยังได้เปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมทุกรายแสดงความคิดเห็นและสามารถถามคำถามในแต่ละ วาระการประชุม รวมทั้งให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม และได้บันทึกประเด็นที่สำคัญไว้ในรายงานการประชุมแล้ว
2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน
บริษทั ฯ ได้ดำเนินการจัดการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยมีการอำนวยความสะดวก ในการประชุมอย่างเท่าเทียมกัน ให้โอกาสที่เท่าเทียมกันในการถามคำถามต่อที่ประชุมและแสดงความเห็นในแต่ละวาระการประชุม และประธานที่ประชุมจะให้ความสำคัญและตอบข้อซักถามในทุกประเด็น โดยมีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน และ ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระ และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล บริษัทฯ ได้ดำเนินการประชุมตามขั้นตอนที่ถูกต้องตามกฎหมาย ในการประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2553 บริษัทฯ ได้จัดส่งเอกสารเชิญประชุมพร้อมรายงานประจำปี/งบการเงิน และ หนังสือมอบฉันทะพร้อมเสนอชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คนเป็นทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นทุกรายที่มี รายชือ่ ปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันปิดสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ลงประกาศหนังสือพิมพ์แจ้งกำหนดวัน เวลา และวาระการประชุมก่อนวันประชุม 3 วัน และติดต่อกัน 3 วัน ในการประชุมมีกรรมการเข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น 11 ท่าน
3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย
บริษทั ฯ ได้ดแู ลและคำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ โดยได้กำหนดแนวทางการปฏิบตั ไิ ว้ในคูม่ อื จรรยาบรรณบริษทั และ ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน เพื่อให้คณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงาน ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติในการดำเนินงาน โดย ถือเป็นภาระหน้าที่ที่สำคัญของทุกคน เช่น ผู้ถือหุ้น : บริษทั ฯ จะดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษทั ฯ ในระยะยาว พนักงาน : บริษทั ฯ สนับสนุนพัฒนาความสามารถในการทำงาน โดยนำระบบการพัฒนาบุคลากรบนพืน้ ฐาน ของความสามารถ (Competency - Based Human Resources Development) มาใช้ เน้นการทำงาน อย่างปลอดภัย ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม ให้ผลตอบแทนและ สวัสดิการทีเ่ หมาะสม คูค่ า้ /เจ้าหนี ้ : ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการค้าและปฏิบตั ติ ามสัญญาอย่างเคร่งครัด คูแ่ ข่ง : ปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาของการแข่งขันทีด่ ี ไม่ทำลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าโดยปราศจากมูล ความจริง ลูกค้า : มุ่งมั่นที่จะพัฒนาและรักษาระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เพื่อตอบสนองความพึงพอใจ ของลูกค้า โดยบริษทั ฯ ผ่านการรับรองระบบคุณภาพ ISO9001:2000 GMP และ HACCP พร้อมทัง้ กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อร้องเรียนของลูกค้า และรักษาความลับของลูกค้า
22 รายงานประจำปี 2553
ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม : บริษทั ฯ สนับสนุนให้พนักงานดำเนินกิจกรรมบำบัดและอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม โดย ปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชนโดยรอบโรงงาน และกิจกรรมของท้องถิน่ ทีโ่ รงงานตัง้ อยู ่ บริษัทฯ ได้ริเริ่มดำเนินโครงการ CSR ในปี 2554 ภายใต้การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เคียงคู่กับการพัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อม และมวลชนสัมพันธ์ เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึก และวัฒนธรรมองค์กรที่ดี โดยภาพรวมบริษัทฯ ได้มุ่งเน้นพัฒนาในเรื่อง การจัดการของเสีย การเพาะขยายพันธุ์นกแสก ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาให้กับเยาวชน ตลอดจนการให้ความรู้ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับปาล์มน้ำมันแก่เกษตรกร และผู้สนใจโดยทั่วไป
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส
คณะกรรมการบริษทั ฯตระหนักดีวา่ ข้อมูลของบริษทั ฯ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วกับการเงินและทีไ่ ม่ใช่การเงิน ล้วนมีผลต่อกระบวนการ ตัดสินใจของผูล้ งทุนและผูท้ ม่ี สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ จึงได้กำชับให้ฝา่ ยบริหารดำเนินการในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลทีค่ รบถ้วน ตรงต่อความเป็นจริง เชื่อถือได้ สม่ำเสมอ และทันเวลา ซึ่งฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญและยึดถือปฏิบัติมาโดยตลอด ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทฯ ยังไม่ได้จัดตั้งหน่วยงานขึ้นเฉพาะ แต่ได้มอบหมายให้ผู้อำนวยการสายงานการเงิน และบัญชี ทำหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากกิจกรรมในเรื่องดังกล่าว มีไม่มากนัก ซึ่งผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอทราบข้อมูลบริษัทฯได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2679-9166 หรือที่ website : www.cpi-th.com หรือที่ e-mail address : info@cpi-th.com
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ เป็นไปตามข้อตกลงของผู้ถือหุ้นที่กำหนดให้กรรมการบริษัทฯ เป็นตัวแทนจากผู้ถือหุ้น ตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 14 ท่าน ดังนี้ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 5 ท่าน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน กรรมการที่เป็นอิสระ 5 ท่าน จำนวนกรรมการอิสระของบริษัทฯ มีจำนวน 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ และประธานกรรมการบริษัทฯ ไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการผู้จัดการ เพื่อเป็นการแบ่งแยกหน้าที่ในการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลและการบริหารงานประจำ บริษัทฯ มีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษรตามคู่มืออำนาจ ดำเนินการ บริษัทฯ มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบออกจากกันโดยเด็ดขาดระหว่างการอนุมัติ การบันทึกรายการทางบัญชี และการดูแลทรัพย์สินเพื่อเป็นการตรวจสอบซึ่งกันและกันได้ ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่ากรรมการดังกล่าวได้มีการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มที่ ในฐานะที่เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้น และมีการถ่วงดุลกันอย่างเหมาะสม คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของ บริษทั ฯ ตลอดจนมติของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยกรรมการบริษทั ฯ มีวาระการดำรงตำแหน่งที่แน่นอน ซึ่งตามข้อบังคับของบริษัทฯ กำหนดไว้ว่า ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง กรรมการจะต้อง ออกจากตำแหน่งอย่างน้อยจำนวนหนึ่งในสาม (1/3) โดยอัตรา ถ้าจำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้เป็นสามส่วนไม่ได้ก็ให้ออกโดย จำนวนใกล้เคียงที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม (1/3) โดยให้กรรมการที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำแหน่ง นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ มีเลขานุการบริษทั และทีป่ รึกษาทางกฎหมาย ทำหน้าทีใ่ ห้คำแนะนำด้านกฎหมายและเกณฑ์ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้อง ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ รวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้จัดทำคู่มือจรรยาบรรณบริษัทขึ้น เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและเที่ยงธรรม โดยได้แจกคู่มือจรรยาบรรณบริษัทให้กับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อให้ ปฏิบัติตามโดยทั่วกัน นอกจากนี้บริษัทฯ ได้จัดอบรมชี้แจงให้พนักงานได้รับทราบทั่วกันแล้ว และผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นมีหน้าที่ สอดส่องและส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กำหนดและประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
23 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการมีภาวะผู้นำ มีวิสัยทัศน์ และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และ ผู้ถือหุ้นโดยรวม คณะกรรมการได้มีส่วนร่วมในการกำหนดและให้ความเห็นชอบในเรื่องวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนงานและ งบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการดำเนินการให้เป็นไปตามแผนงานและงบประมาณที่กำหนดไว้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการและฝ่ายจัดการมีความรับผิดชอบตามหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น มีระบบการแบ่งแยกบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ กรรมการผู้จัดการและฝ่ายจัดการ อีกทั้งมีการกำหนดอำนาจดำเนินการอย่างเป็น ลายลักษณ์อักษร กรรมการของบริษัทฯเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีศักยภาพ และได้ผ่านหลักสูตรการอบรมการเป็นกรรมการ ตามหลักสูตร Directors Certification Program (DCP) หรือ Directors Accreditation Program (DAP) ของสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ดังนี้ 1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 2. นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DAP 3. นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 4. รศ.ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 5. นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 6. นายถกล ถวิลเติมทรัพย์ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 7. นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช วุฒิบัตรและประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 8. นายการุญ นันทิลีพงศ์ วุฒิบัตรและประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 9. นายกรีธา มติธนวิรุฬห์ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 10. นายทรงฤทธิ์ นิวัติศัยวงศ์ วุฒิบัตรและประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 11. นายวรวิทย์ โรจน์รพีธาดา ประกาศนียบัตรหลักสูตร DCP 12. ศ.ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ ประกาศนียบัตรหลักสูตร DAP เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ จึงไม่มีการทำธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว อีกทั้งคณะกรรมการได้ดูแลอย่างรอบคอบหากเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบจะได้รับทราบถึงรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อพิจารณาตาม ความเหมาะสมอย่างรอบคอบ เพื่อให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ โดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทำรายการกับ บุคคลภายนอก และจะต้องเปิดเผยรายละเอียด มูลค่ารายการ คูส่ ญ ั ญา เหตุผล/ความจำเป็น ไว้ในรายงานประจำปี และแบบ 56-1 ตลอดจนต้องเปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ในหัวข้อรายการบัญชีกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกันด้วย คณะกรรมการได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมทุกด้านทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติงาน การดำเนินการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการบริหารความเสี่ยง และจัดให้มีกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มี ประสิทธิภาพเพียงพอในการปกป้องรักษาและดูแลเงินทุนของผูถ้ อื หุน้ และสินทรัพย์ของบริษทั ฯ อยูเ่ สมอ จัดให้มกี ารกำหนดลำดับขัน้ ของอำนาจอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษรในคู่มืออำนาจดำเนินการ และความรับผิดชอบของผู้บริหารและพนักงาน กำหนดระเบียบ การปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร มีสำนักตรวจสอบภายในทำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานให้เป็นไป ตามระเบียบที่วางไว้ รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการควบคุมภายใน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบดูแลให้ สำนักตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ สามารถทำหน้าที่ตรวจสอบได้อย่างเต็มที่ และให้รายงานตรงต่อกรรมการตรวจสอบเป็น ประจำทุกไตรมาส บริษัทฯ มีการกำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้อย่างเป็นทางการล่วงหน้าตลอดปี ไตรมาสละ 1 ครั้ง และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจำเป็น โดยมีการกำหนดวาระชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดำเนินงาน เป็นประจำ เลขานุการบริษัทได้จัดทำหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมให้กรรมการ แต่ละท่านล่วงหน้าก่อนการประชุมเป็นเวลา 7 วันเพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ กรรมการสามารถเสนอความคิดเห็นได้อย่างเป็นอิสระ มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์ อักษรและจัดเก็บรายงานการประชุมทีผ่ า่ นการรับรองแล้วจากคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้คณะกรรมการและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องตรวจสอบได้ โดยปกติการประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง
24 รายงานประจำปี 2553
โดยในปี 2553 คณะกรรมการมีการประชุมตามวาระปกติจำนวน 4 ครั้ง และวาระพิเศษจำนวน 1 ครั้ง โดยมีราย ละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ดังนี้
รายชื่อ 1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ 2. นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ 3. รศ.ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ 4. นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล 5. นายชูศักดิ์ ปรัชญางค์ปรีชา 6. นายถกล ถวิลเติมทรัพย์ 7. นายการุญ นันทิลีพงศ์ 8. นายกิตติ ฉัตรเลขวนิช 9. นายทรงฤทธิ์ นิวัติศัยวงศ์ 10. นายวรวิทย์ โรจน์รพีธาดา 11. ศ.ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ 12. นายพิเชษฐ นิธิวาสิน 13. นายกรีธา มติธนวิรุฬห์ 14. พล ร.อ. สถิรพันธุ์ เกยานนท์
การเข้าร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) การประชุม การประชุม รวม วาระปกติ วาระพิเศษ 4/4 4/4 3/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 3/4 4/4 4/4 2/3
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 -
5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 2/3
หมายเหตุ
รับตำแหน่ง 28 เม.ย. 53
ค่าตอบแทนกรรมการ : บริษทั ฯ ได้กำหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส โดยค่าตอบแทน อยู่ในระดับเหมาะสมตามอุตสาหกรรมและสูงเพียงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ต้องการ และได้ขออนุมัติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้นได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายเพิ่มมากขึ้น ค่าตอบแทนผู้บริหาร : ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนด จำนวนค่าตอบแทน : ในปี 2553 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนต่างๆ ให้แก่กรรมการและผู้บริหาร มีรายละเอียดดังนี้ ค่าตอบแทนของกรรมการ (ต่อปี) เบี้ยประชุมคณะกรรมการ จำนวน 14 ราย รวม 1.05 ล้านบาท เบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหาร จำนวน 3 ราย รวม 7.5 แสนบาท เบี้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จำนวน 3 ราย รวม 2.6 แสนบาท ค่าตอบแทนกรรมการ จำนวน 13 ราย รวม 2.89 ล้านบาท ค่าตอบแทนผู้บริหาร (ต่อปี) ผูบ้ ริหาร จำนวน 6 ราย ได้รบั ค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุม เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ รวมกันจำนวน 15.44 ล้านบาท ผู้บริหาร จำนวน 6 รายมีรถยนต์ประจำตำแหน่ง
25 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
คณะอนุกรรมการของบริษทั ฯ มี 6 คณะประกอบด้วยคณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะอนุกรรมการบริหารด้านทรัพยากรบุคคล และคณะอนุกรรมการบริหารด้านการเงิน สำหรับรายละเอียด บทบาท ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบและองค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบได้อธิบายไว้ ภายในหัวข้อเรื่องโครงสร้างผู้ถือหุ้นและการจัดการ
(5)การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน
บริษทั ฯ มีนโยบายและวิธกี ารดูแลผูบ้ ริหารในการนำข้อมูลภายในของบริษทั ฯ ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตัว โดยกำหนดไว้ ในจรรยาบรรณบริษทั ระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการทำงาน นอกจากนีก้ ารซือ้ ขายหลักทรัพย์โดยเฉพาะในช่วง 1 เดือนก่อนทีง่ บการเงิน เผยแพร่ต่อสาธารณชน ได้กำหนดให้ผู้บริหารต้องรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ-ขาย และมิให้เปิดเผยข้อมูล ภายในทีม่ สี าระสำคัญแก่ผอู้ น่ื ส่วนบทลงโทษเป็นไปตามกฎเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ว่าด้วยเรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการเกี่ยวกับการจัดทำและเปิดเผยรายงานการถือหลักทรัพย์ และตามบทลงโทษของ บริษัทฯ บริษัทฯ ได้กำหนดให้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานโดยตรงเท่านั้นที่จะได้รับข้อมูล นอกจากนั้น ในด้านระบบ งานคอมพิวเตอร์ มีการกำหนดสิทธิในการเรียกใช้ข้อมูลภายในของแต่ละบุคคล โดยมีรหัสผ่านเฉพาะบุคคลในการเข้าสู่ระบบ เพื่อป้องกันและรักษาไว้ซึ่งข้อมูลที่เป็นความลับของบริษัทฯ และข้อมูลที่จะมีผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ
(6)การควบคุมภายใน
คณะกรรมการบริษัทฯได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบขึ้น กำหนดให้มีหน้าที่กำกับดูแลรายงานทางการเงินของ บริษัทฯ ให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่เหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง การปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาล การประเมินการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในให้เหมาะสมมีประสิทธิภาพ กำกับดูแลระบบงานตรวจสอบให้ได้มาตรฐานการตรวจสอบที่ดี คัดเลือกและแต่งตั้งผู้สอบบัญชี รวมทั้งงานอื่นๆ ที่คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้มอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่กำกับดูแลงานโดยมอบหมายให้สำนักตรวจสอบภายในซึ่งเป็นหน่วยงาน ในบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบและรายงานผลการปฏิบัติงานโดยตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบัติงานของสำนัก ตรวจสอบภายในจะทำรายงานเสนอคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ พิจารณาและประเมินผลทุกไตรมาส และคณะกรรมการตรวจสอบ จะนำเสนอรายงานต่อไปยังคณะกรรมการบริษัทฯในทุกไตรมาสเช่นกัน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 โดยมีกรรมการตรวจสอบทั้งสามท่าน เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการได้พจิ ารณาประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแบบการประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในที่ฝ่ายจัดการจัดทำ โดยเห็นว่าบริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ ซึ่งครอบคลุมในด้านต่างๆ คือ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม 2. การบริหารความเสี่ยง 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร 4. ข้อมูลสารสนเทศและการติดต่อสื่อสาร 5. ระบบการติดตาม ในปี 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาและให้ความเห็นว่า บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีของ สมาคมนักบัญชีฯ และประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการรายงานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำปี 2553 ของบริษัทฯ อีกทั้งไม่พบสิ่งที่เป็นสาระสำคัญซึ่งไม่สอดคล้องต่อการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมกับ สภาพธุรกิจและไม่พบจุดอ่อนที่เป็นสาระสำคัญ
26 รายงานประจำปี 2553
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน
1. รายงานผลประกอบการที่ผ่านมา
1.1 โครงสร้างของเงินทุน ยังอยู่ในเกณฑ์ดีเนื่องจากสามารถชำระหนี้คืนบางส่วนในปีที่ผ่านมา 1.2 สภาพคล่อง ความเพียงพอของสภาพคล่องถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดี บริษัทฯ มีความสามารถในการจ่ายชำระหนี้ สินค้า สามารถจำหน่ายได้ต่อเนื่องตลอดปี 1.3 คุณภาพของสินทรัพย์ สินทรัพย์ของบริษทั ฯ อยูใ่ นสภาพดีและไม่มสี นิ ทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพอืน่ ลูกหนีบ้ ริษทั ฯ ส่วนใหญ่ ยังไม่ถึงวันครบกำหนดชำระเงิน 1.4 ความสามารถในการทำกำไร และประสิทธิภาพในการดำเนินงานของบริษทั ฯ ในปี 2553 ลดลงจากปี 2552 ซึง่ มีผล กำไรสุทธิ 115.76 ล้านบาท เป็นกำไรสุทธิ 70.28 ล้านบาท สาเหตุหลักเนื่องจากกำไรขั้นต้นลดลงจากอัตราต้นทุนขายลดลงน้อยกว่า ยอดขาย
2. การเปลี่ยนแปลงรายการหรือวิเคราะห์อัตราส่วนที่สำคัญ
2.1 รายได้จากการขายลดลงจากปีก่อนโดยสาเหตุหลักเกิดจากปริมาณขายโดยรวมลดลงร้อยละ 14 2.2 ระยะเวลาการเรียกเก็บหนีเ้ ฉลีย่ ของบริษทั ฯ นานขึน้ จาก 22 วันในปี 2552 เป็น 24 วันในปี 2553 ทัง้ นี้ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ขายสินค้าที่มีการชำระเงินยาวมากกว่าปี 2552 2.3 อัตรากำไรสุทธิตอ่ รายได้รวมลดลงจากร้อยละ 2.70 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 1.72 ในปี 2553 ทัง้ นี้ เนือ่ งจากกำไรขัน้ ต้นลดลง
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
ในปี 2553 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) จำนวน 940,000 บาท ให้แก่ผู้สอบบัญชี นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด โดยไม่มีค่าบริการอื่นใดอีก
รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต
27 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ และงบกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และ ได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบกระแส เงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ของบริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้า เป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึง การใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสม ของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจน การประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวประกอบกับ รายงานของผู้สอบบัญชีอื่นที่กล่าวถึงในวรรคแรกให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด สำหรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกันของ บริษทั ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ของบริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
โสภณ เพิ่มศิริวัลลภ
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3182 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 23 กุมภาพันธ์ 2554
28 รายงานประจำปี 2553
งบดุล บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
หมายเหตุ
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ เงินวางเพื่อการซื้อขายน้ำมันปาล์มล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
6 7 8 9 10
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ต้นทุนปาล์ม - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ เงินมัดจำ
11 12 13 14
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
65,636,403 224,645,757 299,025,809 49,437,240 11,410,998 650,156,207
155,460,264 313,013,487 360,820,218 53,451,590 17,617,973 900,363,532
155,864,732 313,013,487 360,820,218 53,451,590 17,618,006 900,768,033
- 999,930 1,719,644,532 1,698,632,203 81,722,610 52,147,139 1,174,988 698,206 155,801 180,693 1,802,697,931 1,752,658,171 2,452,854,138 2,653,021,703
- 1,698,632,203 52,147,139 698,206 180,693 1,751,658,241 2,652,426,274
งบดุล (ต่อ) บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
หมายเหตุ
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน
29 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน
15 16 17
460,000,000 43,088,062 132,000,000 1,439,743 15,487,228 24,828,816 676,843,849
450,000,000 70,558,542 216,361,226 1,390,000 15,720,158 35,853,933 789,883,859
450,000,000 70,558,542 216,361,226 1,390,000 15,720,158 35,874,003 789,903,929
เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
16 17
285,000,000 758,311 285,758,311 962,602,160
385,000,000 2,137,868 387,137,868 1,177,021,727
385,000,000 2,137,868 387,137,868 1,177,041,797
280,289,521 280,289,020 249,433,731
280,289,521 280,289,020 249,433,731
280,289,521 280,289,020 249,433,731
18
470,696,103
470,696,103
470,696,103
19
28,028,952 461,804,172 1,490,251,978 2,452,854,138
28,028,952 447,552,170 1,475,999,976 2,653,021,703
28,028,952 446,936,671 1,475,384,477 2,652,426,274
หนี้สินไม่หมุนเวียน
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 280,289,521 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 280,289,020 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
30 รายงานประจำปี 2553
งบกำไรขาดทุน บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2553 2552
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม 2553 2552
รายได้ รายได้จากการขายและบริการ กำไรจากการจำหน่ายพื้นที่อาคารสำนักงาน และอุปกรณ์ รายได้อื่น รวมรายได้
ค่าใช้จ่าย
ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่าย
กำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายทางการเงิน
กำไรสุทธิสำหรับปี
21
4,072,257,286 4,272,358,389 4,072,257,286 4,272,358,389 - 15,018,842 - 15,018,842 5,255,532 7,115,221 5,256,073 7,116,528 4,077,512,818 4,294,492,452 4,077,513,359 4,294,493,759 3,725,094,248 67,067,984 165,864,019 15,355,280 5,776,746 3,979,158,277 98,354,541 (28,044,735) 70,309,806
3,895,612,815 3,725,094,248 3,895,612,815 74,732,186 67,067,984 74,732,186 150,181,160 165,895,175 150,201,690 17,219,370 15,355,280 17,219,370 - 5,776,746 - 4,137,745,531 3,979,189,433 4,137,766,061 156,746,921 98,323,926 156,727,698 (40,970,746) (28,044,735) (40,970,746) 115,776,175 70,279,191 115,756,952
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
23 กำไรสุทธิ 0.25 0.41 0.25 0.41 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบกระแสเงินสด บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน
31 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม 2553 2552
70,279,191 115,756,952
กำไรสุทธิก่อนภาษี 70,309,806 115,776,175 รายการปรับกระทบยอดกำไรสุทธิก่อนภาษี เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 136,333,525 134,388,617 136,333,525 134,388,617 ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายพื้นที่ 5,130,451 (15,018,842) 5,130,451 (15,018,842) อาคารสำนักงานและอุปกรณ์ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) 800,000 (500,000) 800,000 (500,000) ค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ (โอนกลับ) 465,352 (7,285,441) 465,352 (7,285,441) ขาดทุนจากการคืนทุนของบริษัทย่อย 646,114 - 646,114 - ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน (241,387) 3,214,926 (241,387) 3,214,926 ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ดอกเบี้ยรับ (254,813) (1,244,458) (255,308) (1,245,765) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 26,394,735 39,670,494 26,394,735 39,670,494 กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน 239,583,783 269,001,471 239,552,673 268,980,941 สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้า 87,567,730 (112,924,026) 87,567,730 (112,924,026) สินค้าคงเหลือ 61,329,057 92,365,053 61,329,057 92,365,053 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 10,545,380 (25,363,090) 10,545,413 (25,363,090) เงินมัดจำ 24,892 (1,200) 24,892 (1,200) หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า (27,470,480) (61,916,234) (27,470,480) (61,916,234) หนี้สินหมุนเวียนอื่น (11,179,712) 6,303,832 (11,199,782) 6,303,832 เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน 360,400,650 167,465,806 360,349,503 167,445,276 จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล (82,668) (3,254,670) (82,668) (3,254,684) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน 360,317,982 164,211,136 360,266,835 164,190,592 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
32 รายงานประจำปี 2553
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม 2553 2552
254,813 1,244,458 353,816 - (157,308,051) (100,954,881)
255,308 1,245,765 - - (157,308,051) (100,954,881)
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคารเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว ชำระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี
2,156,884 21,019,900 (31,945,655) (18,083,020) (746,218) (197,341) (31,299,146) (39,780,074) (218,533,557) (136,750,958)
2,156,884 21,019,900 (31,945,655) (18,083,020) (746,218) (197,341) (31,299,146) (39,780,074) (218,886,878) (136,749,651)
10,000,000 75,000,000 250,000,000 250,000,000 (434,361,226) (304,240,000) (1,329,814) (1,136,256) (55,917,246) (100,904,047) (231,608,286) (81,280,303) (89,823,861) (53,820,125) 155,460,264 209,280,389 65,636,403 155,460,264 - -
10,000,000 75,000,000 250,000,000 250,000,000 (434,361,226) (304,240,000) (1,329,814) (1,136,256) (55,917,246) (100,904,047) (231,608,286) (81,280,303) (90,228,329) (53,839,362) 155,864,732 209,704,094 65,636,403 155,864,732 -
ดอกเบี้ยรับ เงินสดรับจากการคืนทุนของบริษัทย่อย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจำหน่ายพื้นที่ อาคารสำนักงานและอุปกรณ์ ต้นทุนปาล์มเพิ่มขึ้น ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน จ่ายดอกเบี้ย
ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม
รายการที่ไม่ใช่เงินสด ซื้อยานพาหนะโดยวิธีสัญญาเช่าการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
-
4,664,124
-
4,664,124
26
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
เงินปันผลจ่าย
-
- -
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103
-
-
กำไรสุทธิสำหรับปี
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103
-
-
-
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103
26
เงินปันผลจ่าย
-
กำไรสุทธิสำหรับปี
280,289,020 249,433,731 470,696,103
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
70,309,806
28,028,952 461,804,172 1,490,251,978
- (56,057,804) (56,057,804)
- 70,309,806
28,028,952 447,552,170 1,475,999,976
28,028,952 447,552,170 1,475,999,976
- (100,904,047) (100,904,047)
- 115,776,175 115,776,175
28,028,952 432,680,042 1,461,127,848
ทุนเรือนหุน้ ส่วนเกิน ส่วนเกินทุน จัดสรรแล้ว ทีอ่ อก มูลค่า จากการตีราคา สำรอง ยังไม่ได้ หมายเหตุ และชำระแล้ว หุน้ สามัญ สินทรัพย์ ตามกฎหมาย จัดสรร รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม
(หน่วย : บาท)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
33
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
26
เงินปันผลจ่าย
26
เงินปันผลจ่าย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
กำไรสุทธิสำหรับปี
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
กำไรสุทธิสำหรับปี
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
-
- -
-
-
- -
-
- (56,057,804) (56,057,804)
- 70,279,191 70,279,191
28,028,952 446,936,671 1,475,384,477
28,028,952 446,936,671 1,475,384,477
- (100,904,047) (100,904,047)
- 115,756,952 115,756,952
28,028,952 432,083,766 1,460,531,572
280,289,020 249,433,731 470,696,103 28,028,952 461,158,058 1,489,605,864
-
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103
280,289,020 249,433,731 470,696,103
-
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103
34
ทุนเรือนหุน้ ส่วนเกิน ส่วนเกินทุน จัดสรรแล้ว ทีอ่ อก มูลค่า จากการตีราคา สำรอง ยังไม่ได้ หมายเหตุ และชำระแล้ว หุน้ สามัญ สินทรัพย์ ตามกฎหมาย จัดสรร รวม
งบการเงินเรวม กำไรสะสม
(หน่วย : บาท) รายงานประจำปี 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวม
35 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
1. ข้อมูลทั่วไป
บริษทั ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เป็นบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ และมีภมู ลิ ำเนาในประเทศไทย โดยมีบริษทั ชุมพรโฮลดิง้ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ในประเทศไทยเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ คือการผลิต และจำหน่ายผลิตภัณฑ์นำ้ มันปาล์ม ทีอ่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียนของบริษทั ฯ ซึง่ เป็นสำนักงานใหญ่อยูท่ เ่ี ลขที่ 296 หมูท่ ่ี 2 ถนนเพชรเกษม ตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร สาขาตัง้ อยูท่ เ่ี ลขที่ 1168/91 อาคารลุมพินที าวเวอร์ ชัน้ 30 ถนนพระราม 4 แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร
2. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน
2.1 งบการเงินนีจ้ ดั ทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทก่ี ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิน ตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินนีจ้ ดั ทำขึน้ โดยไม่มกี ารจัดทำงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ของบริษทั ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย เนือ่ งจากเมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2553 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ซีพไี อ ไบโอดีเซล จำกัด (บริษทั ย่อย) ได้มมี ติพเิ ศษอนุมตั ใิ ห้เลิกบริษทั โดยบริษทั ย่อยได้จดทะเบียนเลิกบริษทั กับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2553 แต่ยงั คงมีการจัดทำงบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสน้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยรวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 จนถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ยอดสินทรัพย์รวมและรายได้รวมของบริษัทย่อยซึ่งรวมอยู่ในงบการเงินรวม คิดเป็นอัตราร้อยละดังนี้
ร้อยละของ ร้อยละของ รายได้ที่รวมอยู่ใน สินทรัพย์ที่รวมอยู่ รายได้รวมสำหรับปี บริษัท ลักษณะธุรกิจ จัดตั้งขึ้น อัตราร้อยละ ในสินทรัพย์รวม สิ้นสุดวันที่ ในประเทศ ของการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2552 2552 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ บริษัท ซีพีไอ ไบโอดีเซล ผลิตและจำหน่าย จำกัด ไบโอดีเซล
ไทย
100
0.02
-
-
36 รายงานประจำปี 2553
ข) บริษทั ฯ นำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้มา (วันทีบ่ ริษทั ฯ มีอำนาจในการควบคุม บริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว 2.3 บริษัทฯ ได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุน
3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่
ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ตามรายละเอียด ข้างล่างนี้ ก) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 (เว้นแต่แม่บทการ บัญชีซึ่งมีผลบังคับใช้ทันที) แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) รายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) กำไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ประมาณการหนีส้ นิ หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ และสินทรัพย์ทอ่ี าจเกิดขึน้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 การรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ่ อื ไว้เพือ่ ขายและการดำเนินงานทีย่ กเลิก (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 การสำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ ฉบับที่ 15
37 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ข) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯเชือ่ ว่ามาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีทเ่ี ริม่ ใช้ มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าว ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดงั ต่อไปนีท้ ฝ่ี า่ ยบริหารคาดว่าจะมีผลกระทบต่องบการเงินในปีทน่ี ำมาตรฐาน การบัญชีดังกล่าวมาถือปฏิบัติ
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้
มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดให้กิจการรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับบริการจ้างงาน จากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ กิจการจะต้องประเมินและบันทึกหนีส้ นิ เกีย่ วกับผลประโยชน์ของพนักงานเนือ่ งจากเกษียณอายุ โดยใช้การคำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งในปัจจุบันบริษัทฯ รับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานดังกล่าวเมื่อเกิดรายการ ปัจจุบนั ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการประเมินผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ งบการเงินในปีทเ่ี ริม่ นำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี ้ มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สิน ระหว่างเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร เพือ่ รับรูผ้ ลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนด ปัจจุบนั ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการประเมินผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ งบการเงินในปีทเ่ี ริม่ นำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มาถือปฏิบัติ
4. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 4.1 การรับรู้รายได้
ขายสินค้า
รายได้ค่าบริการ
รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อบริษัทฯ ได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้า ให้กบั ผูซ้ อ้ื แล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ สำหรับสินค้าทีไ่ ด้สง่ มอบหลังจาก หักส่วนลดแล้ว
รายได้ค่าบริการรับรู้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความสำเร็จของงาน
4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงกำหนด จ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำกัดในการเบิกใช้
4.3 ลูกหนี้การค้า
ลูกหนีก้ ารค้าแสดงมูลค่าตามจำนวนมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั บริษทั ฯ บันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดยประมาณ ที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้
38 รายงานประจำปี 2553
4.4 สินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่าราคาทุนดังกล่าว หมายถึง ต้นทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งค่าโสหุ้ยโรงงานด้วย วัตถุดิบ อะไหล่ และวัสดุโรงงานจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมี การเบิกใช้
4.5 เงินลงทุน
เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน
4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา
ทีด่ นิ แสดงมูลค่าตามราคาทีต่ ใี หม่ อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่า ของสินทรัพย์ (ถ้ามี) บริษัทฯ บันทึกมูลค่าเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ได้สินทรัพย์มา หลังจากนั้นบริษัทฯ จัดให้มีการประเมินราคาที่ดิน โดยผู้ประเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพย์ดังกล่าวในราคาที่ตีใหม่ ทั้งนี้บริษัทฯ จัดให้มีการประเมินราคาสินทรัพย์ดังกล่าวเป็น ครั้งคราวเพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบดุลแตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสำคัญ บริษัทฯ บันทึกส่วนต่างซึ่งเกิดจากการตีราคาสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ บริษัทฯ บันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาลดลงและบริษัทฯ ได้รับรู้ราคาที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายใน งบกำไรขาดทุนแล้ว ส่วนที่เพิ่มจากการตีราคาใหม่นี้จะถูกรับรู้เป็นรายได้ไม่เกินจำนวนที่เคยลดลง ซึ่งรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไร ขาดทุนปีก่อนแล้ว บริษัทฯ รับรู้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ลดลงจากการตีราคาใหม่เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นน้ั เคยมีการตีราคาเพิม่ ขึน้ และยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” อยูใ่ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่จะถูกนำไปหักออกจาก “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ไม่เกินจำนวนซึ่งเคยตีราคาเพิ่มขึ้น ของสินทรัพย์ชนิดเดียวกัน และส่วนที่เกินจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณดังนี้ สิ่งปรับปรุงที่ดิน - 5 และ 10 ปี อาคาร - 10 และ 20 ปี ส่วนปรับปรุงอาคาร - 10 ปี เครื่องจักรและอุปกรณ์ - 5, 10 และ 20 ปี เครื่องมือและเครื่องใช้โรงงาน - 5, 10 และ 20 ปี ยานพาหนะ - 5 ปี เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สำนักงาน - 5 และ 10 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพย์ระหว่างติดตั้งและก่อสร้าง บริษทั ฯ ตัดรายการทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมือ่ จำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ในอนาคตจากการใช้หรือการจำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลกำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์ (ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทน สุทธิที่ได้รับจากการจำหน่ายสินทรัพย์กับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น) จะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนเมื่อบริษัทฯ ตัดรายการ สินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี
39 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
4.7 ต้นทุนปาล์มและค่าตัดจำหน่าย
ต้นทุนปาล์มประกอบด้วยค่าต้นปาล์มและค่าใช้จ่ายในการปลูกปาล์มซึ่งเกิดขึ้นก่อนที่ต้นปาล์มจะให้ผลผลิต ต้นทุนปาล์ม แสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าตัดจำหน่ายของต้นทุนปาล์มคำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุ การให้ประโยชน์โดยประมาณ 20 ปี ค่าตัดจำหน่ายรวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มีการตัดจำหน่ายสำหรับต้นทุนปาล์มที่ยังไม่พร้อมเก็บเกี่ยว
4.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนและค่าตัดจำหน่าย
บริษัทฯ บันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู้รายการเริ่มแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตน แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษทั ฯ ตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์จำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์นน้ั และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัด จำหน่ายและวิธกี ารตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนดังกล่าวทุกสิน้ ปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่ายรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน ซอฟท์แวร์มีอายุการให้ประโยชน์ 5 ปี
4.9 ต้นทุนการกู้ยืม
ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ใ่ี ช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ทต่ี อ้ งใช้ระยะเวลานานในการทำให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกนำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นั้นจะอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามที่มุ่งประสงค์ ส่วนต้นทุนการกู้ยืม อื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น
4.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกบริษัทฯ ควบคุม ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อม ซึ่งทำให้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญต่อบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผน และควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ
4.11 สัญญาเช่าระยะยาว
สัญญาเช่าอุปกรณ์ทค่ี วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเ่ี ช่าหรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของจำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่าย ตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วน ดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคา ตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า หรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะต่ำกว่า จำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า
4.12 เงินตราต่างประเทศ
รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สิน ที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล
40 รายงานประจำปี 2553
กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน
4.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์
ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯ จะทำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนของบริษัทฯ หากมีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯ รับรูข้ าดทุนจากการด้อยค่าเมือ่ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์มมี ลู ค่า ต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ บริษทั ฯ ประมาณการกระแสเงินสด ในอนาคตทีก่ จิ การคาดว่าจะได้รบั จากสินทรัพย์และคำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนภาษีทส่ี ะท้อนถึงการประเมิน ความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯ ใช้แบบจำลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำหน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนั้นผู้ซื้อ กับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความ เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯ จะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน ยกเว้นในกรณีที่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ซึ่งใช้วิธีการ ตีราคาใหม่และได้บันทึกส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่ไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นไม่ เกินไปกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว้
4.14 ผลประโยชน์พนักงาน
บริษทั ฯ รับรูเ้ งินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลีย้ งชีพเป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดรายการ
4.15 ประมาณการหนี้สิน
บริษทั ฯ จะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไว้ในบัญชีเมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึน้ แล้ว และมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯ จะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯ สามารถประมาณ มูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ
4.16 ภาษีเงินได้
บริษัทฯ บันทึกภาษีเงินได้ตามจำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคำนวณจากกำไรทางภาษีตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายภาษีอากร
5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ
ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่ มีความไม่แน่นอนซึง่ อาจมีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและข้อมูลทีเ่ ปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุน้ี ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ได้แก่
สัญญาเช่า
ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมิน เงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯ ได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าว แล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากลูกหนีแ้ ต่ละราย โดยพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ ค่ี งค้างและสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ป็นอยูใ่ นขณะนัน้ เป็นต้น
41 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา
ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินทีไ่ ม่มกี ารซือ้ ขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซือ้ ขายคล่อง ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้หลักเกณฑ์และแบบจำลองการประเมิน มูลค่าทีเ่ ป็นทีย่ อมรับกันโดยทัว่ ไป ซึง่ ตัวแปรทีใ่ ช้ในการคำนวณมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรทีม่ อี ยูใ่ นตลาด โดยคำนึงถึงสภาพคล่อง และข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารต้องประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมื่อเลิกใช้งาน ของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทำการทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น บริษัทฯ แสดงที่ดินด้วยราคาที่ตีใหม่ มูลค่ายุติธรรมจากการตีราคาใหม่ได้ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้วิธีเปรียบ เทียบราคาตลาด ซึ่งการประเมินมูลค่าดังกล่าวต้องมีการใช้ข้อสมมติและประมาณการ
6. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
เงินสด 353,000 153,000 155,000 เงินฝากธนาคาร 65,283,403 155,307,264 155,709,732 รวม 65,636,403 155,460,264 155,864,732 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินฝากออมทรัพย์มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.13 - 0.25 ต่อปี (2552: ร้อยละ 0.15 ถึง 1.00 ต่อปี)
7. ลูกหนี้การค้า
ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระ ได้ดังนี้ (หน่วย : บาท)
อายุหนี้ค้างชำระ
ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ค้างชำระ ไม่เกิน 1 เดือน 2 - 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
177,457,396
223,873,098
223,873,098
43,542,682 487,875 - 3,731,998 10,591,063 235,811,014 (11,165,257) 224,645,757
85,745,830 200 14,269 3,379,985 10,365,362 323,378,744 (10,365,257) 313,013,487
85,745,830 200 14,269 3,379,985 10,365,362 323,378,744 (10,365,257) 313,013,487
42 รายงานประจำปี 2553
8. สินค้าคงเหลือ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ราคาทุน
ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า สินค้าคงเหลือ
สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบ งานระหว่างทำ อะไหล่และวัสดุโรงงาน รวม
2553
2552
130,716,975 173,396,956 124,804,824 138,808,172 4,578,108 10,074,998 41,219,813 40,368,651 301,319,720 362,648,777
2553 (365,969) - - (1,927,942) (2,293,911)
2552
(หน่วย : บาท)
สินค้าคงเหลือ-สุทธิ
2553
2552
(1,828,559) 130,351,006 171,568,397 - 124,804,824 138,808,172 - 4,578,108 10,074,998 - 39,291,871 40,368,651 (1,828,559) 299,025,809 360,820,218 (หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม 2552
ราคาทุน
ค่าเผื่อการลดลง สินค้า ของมูลค่า คงเหลือ-สุทธิ สินค้าคงเหลือ
สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบ งานระหว่างทำ อะไหล่และวัสดุโรงงาน รวม
173,396,956 138,808,172 10,074,998 40,368,651 362,648,777
(1,828,559) - - - (1,828,559)
171,568,397 138,808,172 10,074,998 40,368,651 360,820,218
9. เงินวางเพื่อการซื้อขายน้ำมันปาล์มล่วงหน้า
เงินวางเพื่อการซื้อขายน้ำมันปาล์มล่วงหน้าประกอบด้วยเงินประกันตามสัญญาซื้อขายน้ำมันปาล์มล่วงหน้า และผลกำไร หรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจริงจากสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
10. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
(หน่วย : บาท)
เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน อื่นๆ รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
2,988,427 7,117,428 755,198 1,230,639 12,091,692 (680,694) 11,410,998
4,256,500 9,836,223 1,580,337 2,625,607 18,298,667 (680,694) 17,617,973
4,256,500 9,836,223 1,580,337 2,625,640 18,298,700 (680,694) 17,618,006
43 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย
เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
(หน่วย : บาท)
บริษัท ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน
เงินปันผลที่บริษัทฯ รับระหว่างปี
2553
2553 2552
บริษัท ซีพีไอ ไบโอดีเซล จำกัด รวม
2553
- 1,000,000
2552
2553 2552
2552
ร้อยละ -
ร้อยละ 100
-
999,930
-
-
-
999,930
-
-
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยได้มีมติพิเศษอนุมัติให้เลิกบริษัท และได้จดทะเบียน เลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต่อมาเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของ บริษัทย่อยได้มีมติพิเศษอนุมัติเสร็จการชำระบัญชี และบริษัทย่อยดังกล่าวได้จดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีกับกระทรวงพาณิชย์ แล้วเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2553
12. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ซึ่ง สินทรัพย์ซึ่งแสดงมูลค่าตามราคาทุน แสดงมูลค่าตาม ราคาที่ตีใหม่
อาคารและ เครื่องมือและ เครื่องตกแต่ง สินทรัพย์ สิ่งปรับปรุง ส่วนปรับปรุง เครื่องจักร เครื่องใช้ และเครื่องใช้ ระหว่างติดตั้ง ที่ดิน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โรงงาน ยานพาหนะ สำนักงาน และก่อสร้าง
ราคาทุน / ราคาทีต่ ใี หม่ 31 ธันวาคม 2552 543,349,293 152,409,272 352,987,507 1,341,851,123 22,985,618 93,085,559 ซือ้ เพิม่ - - - 17,127,448 1,745,396 5,083,013 จำหน่าย - (393,000) (3,623,425) (29,933,265) (887,486) (258,430) โอน - 8,735,246 12,412,881 54,321,157 1,219,793 2,484,000 31 ธันวาคม 2553 543,349,293 160,751,518 361,776,963 1,383,366,463 25,063,321 100,394,142 ค่าเสือ่ มราคาสะสม - 62,249,338 148,871,226 618,763,413 14,197,417 68,810,505 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี - 7,464,537 18,586,974 91,533,360 2,681,002 6,758,380 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับ ส่วนทีจ่ ำหน่าย - (149,448) (3,156,074) (23,730,463) (711,541) (254,295) 31 ธันวาคม 2553 - 69,564,427 164,302,126 686,566,310 16,166,878 75,314,590 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 543,349,293 90,159,934 204,116,281 723,087,710 8,788,201 24,275,054 31 ธันวาคม 2553 543,349,293 91,187,091 197,474,837 696,800,153 8,896,443 25,079,552 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2552 (105.9 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2553 (110.2 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)
รวม
82,854,031 72,108,917 2,661,631,320 4,446,964 133,590,748 161,993,569 (2,719,579) - (37,815,185) 776,702 (79,949,779) - 85,358,118 125,749,886 2,785,809,704 50,107,218 6,721,790
- 962,999,117 - 133,746,043
(2,578,167) 54,250,841
- (30,579,988) - 1,066,165,172
32,746,813 72,108,917 1,698,632,203 31,107,277 125,749,886 1,719,644,532
130,738,050 133,746,043
44 รายงานประจำปี 2553
รายละเอียดของที่ดินที่แสดงตามราคาที่ตีใหม่มีดังนี้
(หน่วย : บาท)
ที่ดิน
ราคาทุนเดิม ส่วนเพิ่มจากการตีราคา ราคาที่ตีใหม่
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
72,653,190 470,696,103 543,349,293
72,653,190 470,696,103 543,349,293
72,653,190 470,696,103 543,349,293
ในปี 2551 บริษัทฯ จัดให้มีการประเมินราคาที่ดินอีกครั้งหนึ่งโดยผู้ประเมินราคาอิสระ โดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) ซึ่งผลของการประเมินราคาใหม่แสดงมูลค่าที่ดินเพิ่มขึ้นจากมูลค่าตามบัญชีของการประเมินครั้งก่อนซึ่งประเมิน ในปี 2546 จำนวนประมาณ 38.5 ล้านบาท บริษัทฯ บันทึกส่วนที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าที่ดินดังกล่าวไว้ในส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ในส่วนของผู้ถือหุ้น ในระหว่างปี 2553 บริษัทฯ ได้รวมต้นทุนการกู้ยืมเข้าเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จำนวน 4.69 ล้านบาท (2552: 0.31 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของยานพาหนะซึง่ ได้มาภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน โดยมีมลู ค่าสุทธิตามบัญชี เป็นจำนวนเงิน 3.98 ล้านบาท (2552: 5.09 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีอาคารและอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่า ตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงิน 289.9 ล้านบาท (2552: 259.7 ล้านบาท)
13. ต้นทุนปาล์ม
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ราคาทุน
ต้นทุนปาล์มที่ ต้นทุนปาล์มที่ยัง พร้อมเก็บเกี่ยว ไม่พร้อมเก็บเกี่ยว
รวม
31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม จำหน่าย 31 ธันวาคม 2553
32,901,276 7,992,056 (1,709,832) 39,183,500
35,345,366 23,953,599 - 59,298,965
68,246,642 31,945,655 (1,709,832) 98,482,465
31 ธันวาคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ค่าตัดจำหน่ายสำหรับส่วนที่จำหน่าย 31 ธันวาคม 2553
16,099,503 2,318,046 (1,657,694) 16,759,855
- - - -
16,099,503 2,318,046 (1,657,694) 16,759,855
31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553
16,801,773 22,423,645
35,345,366 59,298,965
52,147,139 81,722,610
2552 2553
2,294,076 2,318,046
ค่าตัดจำหน่ายสะสม
มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี (รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต)
45 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ต้นทุนปาล์มจำนวน 9.97 ล้านบาท (2552: 7.84 ล้านบาท) อยู่บนที่ดินที่บริษัทฯ มีเพียงสิทธิ ครอบครอง
14. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เป็นซอฟท์แวร์มีรายละเอียดดังนี้
(หน่วย : บาท)
ราคาทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
1 มกราคม 2552 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2553
10,759,685 197,341 10,957,026 746,218 11,703,244
1 มกราคม 2552 ค่าตัดจำหน่าย 31 ธันวาคม 2552 ค่าตัดจำหน่าย 31 ธันวาคม 2553
8,902,329 1,356,491 10,258,820 269,436 10,528,256
31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553
698,206 1,174,988
การตัดจำหน่าย
มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่
15. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคารเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ไม่มีหลักประกันอายุ 1 - 2 เดือน และตั๋วเงินประเภทเผื่อเรียกจำนวน 420 ล้านบาท และ 40 ล้านบาท ตามลำดับ (2552: ตัว๋ สัญญาใช้เงินอายุ 1 - 3 เดือนและตัว๋ เงินประเภทเผือ่ เรียกจำนวน 360 ล้านบาท และ 90 ล้านบาท ตามลำดับ) โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.79 - 2.15 ต่อปี (2552: ร้อยละ 1.80 - 1.85 ต่อปี)
16. เงินกู้ยืมระยะยาว
เงื่อนไขการชำระคืนเงินต้น 1) วงเงิน 350 ล้านบาท 2) วงเงิน 50 ล้านบาท
ชำระคืนเป็นรายงวด 6 เดือนงวดละ 35 ล้านบาท ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 ชำระคืนเป็นรายงวด 3 เดือนโดยกำหนด ชำระสองงวดแรกงวดละ 1 ล้านบาท งวดต่อไปงวดละ 2.4 ล้านบาท ระยะเวลา การชำระคืนตั้งแต่เดือนกันยายน 2548 ถึงเดือนธันวาคม 2553
(หน่วย : ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552 -
70.00
70.00
-
9.60
9.60
46 รายงานประจำปี 2553
เงื่อนไขการชำระคืนเงินต้น
(หน่วย : ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
3) วงเงิน 80 ล้านบาท ชำระคืนเป็นรายงวด 3 เดือน สิบสองงวดแรก - 16.76 16.76 งวดละ 4.20 ล้านบาท งวดสุดท้าย 4.16 ล้านบาทระยะ เวลา การชำระคืนตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2550 ถึง 2553 4) วงเงิน 150 ล้านบาท ชำระคืนเป็นรายงวด 3 เดือน จำนวน 20 งวด - 105.00 105.00 งวดละ 7.5 ล้านบาท ระยะเวลาการชำระคืน ตั้งแต่เดือนกันยายน 2551 ถึงเดือนมิถุนายน 2556 5) วงเงิน 200 ล้านบาท ชำระคืนเป็นรายไตรมาสจำนวน 4 งวด - 150.00 150.00 โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนตุลาคม 2552 และต้องจ่ายชำระคืนเงินต้นทั้งหมดภายใน เดือนกรกฎาคม 2553 6) วงเงิน 50 ล้านบาท ชำระคืนภายในเดือนสิงหาคม 2554 - 50.00 50.00 7) วงเงิน 200 ล้านบาท ชำระคืนเป็นรายงวด 3 เดือน 190.00 200.00 200.00 งวดละ 10 ล้านบาท ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือน สิงหาคม 2558 8) วงเงิน 650 ล้านบาท ชำระคืนเป็นรายงวด 3 เดือน โดยกำหนดชำระ 227.00 - - 27 งวดแรก งวดละ 23 ล้านบาท งวดสุดท้าย งวดละ 29 ล้านบาท ระยะเวลาการชำระคืน ภายในเดือน พฤศจิกายน 2560 รวม 417.00 601.36 601.36 หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี (132.00) (216.36) (216.36) ส่วนที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหนึ่งปี 285.00 385.00 385.00 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.87 - 4.12 ต่อปี (2552: ร้อยละ 2.75 - 5.00 ต่อปี) ภายใต้ สัญญาเงินกู้ บริษัทฯต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น การก่อภาระผูกพันในทรัพย์สิน การ ดำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้ให้เป็นไปตามสัญญา เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีวงเงินกู้ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้คงเหลือจำนวนเงิน 400 ล้านบาท (2552: ไม่มี)
17. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน
(หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2553 2552 2552
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจำหน่าย รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี
2,332,062 (134,008) 2,198,054 (1,439,743) 758,311
3,886,770 (358,902) 3,527,868 (1,390,000) 2,137,868
3,886,770 (358,902) 3,527,868 (1,390,000) 2,137,868
47 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาเช่าการเงินกับบริษทั ลีสซิง่ เพือ่ เช่ายานพาหนะใช้ในการดำเนินงานของกิจการโดยมีกำหนดการชำระค่าเช่า เป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลา 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่ำตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้ (หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไม่เกิน 1 ปี
ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า
1,554,708 (114,965) 1,439,743
1 - 2 ปี 777,354 (19,043) 758,311
รวม 2,332,062 (134,008) 2,198,054
18. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์
ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ คือ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ดังกล่าว ไม่สามารถนำมาหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถจ่ายเป็นเงินปันผลได้
19. สำรองตามกฎหมาย
ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมี จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้
20. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำคัญดังต่อไปนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่อมราคา วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสำเร็จรูป
183,365,468 133,746,043 3,132,535,106 42,679,981
184,148,867 130,738,050 3,238,177,650 83,142,550
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม 2553 2552 183,365,468 133,746,043 3,132,535,106 42,679,981
184,148,867 130,738,050 3,238,177,650 83,142,550
21. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทฯ คำนวณขึ้นสำหรับกำไรจากกิจกรรมที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนหลังจากบวกกลับด้วย รายการสำรองและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ไม่อนุญาตให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณภาษี บริษัทฯ ไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับปี 2553 และ 2552 เนื่องจากบริษัทฯ มีผลขาดทุนทางภาษีจากกิจกรรมที่ ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนยกมาจากปีก่อน
22. การส่งเสริมการลงทุน
บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงือ่ นไขทีก่ ำหนดบางประการ สิทธิพเิ ศษดังกล่าว รวมถึงการได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับกำไรสุทธิทไ่ี ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมเป็นระยะเวลา 8 ปี นับแต่ วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น รายละเอียดของบัตรส่งเสริมการลงทุนมีดังนี้
48 รายงานประจำปี 2553
รายละเอียด
1. บัตรส่งเสริมเลขที่ 1025(2)/2548 1076(9)/2551 2. เพื่อส่งเสริมการลงทุนในกิจการ ผลิตน้ำมันพืชบริสุทธิ์ ผลิตก๊าซชีวภาพ 3. วันที่เริ่มใช้สิทธิตามบัตรส่งเสริม 3 พฤศจิกายน 2548 - รายได้ของบริษัทฯสำหรับปีจำแนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสามารถสรุปได้ ดังต่อไปนี้ (หน่วย : พันบาท)
กิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน
กิจการที่ไม่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุน
2553
2552
2553
2552
2553
2552
รายได้จากการขายและบริการ ขายและบริการในประเทศ ขายส่งออก รวม
2,164,638 193,415 2,358,053
1,983,876 38,634 2,022,510
1,556,443 157,761 1,714,204
2,118,233 131,615 2,249,848
3,721,081 351,176 4,072,257
4,102,109 170,249 4,272,358
รวม
23. กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี
24. ข้อมูลทางการเงินจำแนกส่วนงาน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียวคือ ธุรกิจผลิตและจำหน่ายน้ำมันปาล์ม และดำเนินธุรกิจ ในส่วนงานทางภูมศิ าสตร์หลักในประเทศ ดังนัน้ รายได้ กำไร และสินทรัพย์ทง้ั หมดทีแ่ สดงในงบการเงินจึงเกีย่ วข้องกับส่วนงานธุรกิจ และส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้ ในระหว่างปี 2553 รายได้จากการขายจำนวน 351.18 ล้านบาท (2552: 170.25 ล้านบาท) เป็นการขายโดยส่งออกต่างประเทศ
25. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
บริษทั ฯ และพนักงานบริษทั ฯ ได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนสำรองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 - 5 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทิสโก้ จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วย กองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปี 2553 บริษัทฯ ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจำนวนเงิน 4,655,281 บาท (2552: 4,640,559 บาท)
26. เงินปันผล
(หน่วย : บาท)
เงินปันผล
อนุมัติโดย
เงินปันผลประจำปีสำหรับปี 2551
ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552
รวมเงินปันผลสำหรับปี 2552
เงินปันผลประจำปีสำหรับปี 2552
รวมเงินปันผลสำหรับปี
ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2553 2553
เงินปันผลจ่าย
เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น
100,904,047 100,904,047
0.36 0.36
56,057,804 56,057,804
0.20 0.20
49 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
27. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 27.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีรายจ่ายฝ่ายทุนจำนวนเงิน 5.25 ล้านบาท (2552: 33.33 ล้านบาท 0.03 ล้านยูโร และ 1.01 ล้านริงกิตมาเลเซีย) ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์
27.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาบริการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีภาระผูกพันในการจ่ายค่าบริการตามสัญญาซึ่งต้องจ่ายชำระภายในหนึ่งปีเป็นจำนวน เงิน 4.80 ล้านบาท
27.3 หนังสือค้ำประกันธนาคาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯ มีหนังสือค้ำประกันซึง่ ออกโดยธนาคารในนามบริษทั ฯ เหลืออยูเ่ ป็นจำนวน 4.37 ล้านบาท ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งประกอบด้วย หนังสือค้ำประกันเพื่อค้ำประกันใน การเป็นผู้นำของเข้า ผู้ส่งของออกระดับบัตรทองกับกรมศุลกากรจำนวน 2.00 ล้านบาท และเพื่อค้ำประกันการใช้ไฟฟ้าและอื่นๆ จำนวน 2.37 ล้านบาท
27.4 สัญญาขายน้ำมันปาล์ม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯ มีภาระในการขายน้ำมันปาล์มให้บริษทั ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันในประเทศหนึง่ แห่ง โดยปริมาณ การขายและราคาเป็นไปตามที่ระบุไว้ในสัญญาดังกล่าว
27.5 คดีฟ้องร้อง
ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกับบุคคลธรรมดารวมสามรายเป็นจำนวนเงินประมาณ 0.63 ล้านบาทในคดี ฉ้อโกงและรับของโจร โดยศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับฟ้องและบริษัทฯไม่ได้ยื่นอุทธรณ์คำสั่งศาล ต่อมาบริษัทฯ ได้ถูกบุคคลธรรมดา รายหนึ่งซึ่งเป็นจำเลยร่วมในคดีดังกล่าวฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นจำนวนเงิน 20 ล้านบาทในคดีหมิ่นประมาท ซึ่งศาลได้มีคำสั่ง ยกฟ้องคดีดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 ต่อมา บุคคลธรรมดารายดังกล่าวได้ยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาศาลชั้นต้นต่อ ศาลอุทธรณ์ ซึ่งเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2553 ศาลได้มีคำพิพากษายืนตามคำพิพากษาของศาลชั้นต้น
28. เครื่องมือทางการเงิน 28.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง
เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯ ตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิด เผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินวางเพื่อการซื้อขาย น้ำมันปาล์มล่วงหน้า เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว เจ้าหนี้การค้า และหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน บริษัทฯ มีความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้
ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ
ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย
บริษทั ฯ มีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนีโ้ ดยการกำหนดให้มนี โยบาย และวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯ จึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯ ไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ มีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯ อาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้าที่แสดงอยู่ในงบดุล บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาว ที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมี อัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ จึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำหรับ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำหนด หรือ วันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้
50 รายงานประจำปี 2553
(หน่วย : ล้านบาท)
อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบีย้ ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึน้ ลงตาม ไม่มีอัตรา 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี อัตราตลาด ดอกเบี้ย รวม
สินทรัพย์ทางการเงิน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ เงินวางเพื่อการซื้อขาย น้ำมันปาล์มล่วงหน้า
หนี้สินทางการเงิน
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน
อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
- -
- -
- -
65.29 -
0.35 224.65
65.64 0.13-0.25 224.65 -
- -
- -
- -
- 65.29
49.44 274.44
49.44 339.73
460.00 - - 1.44 461.44
- - - 0.76 0.76
- - - - -
- - 417.00 - 417.00
- 43.09 - - 43.09
-
460.00 1.79 - 2.15 43.09 - 417.00 3.87 - 4.12 2.20 3.95 922.29
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการขายสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯ ได้ตกลง ทำสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้
สกุลเงิน
สินทรัพย์ ทางการเงิน
หนี้สิน ทางการเงิน
อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
(พัน) (พัน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) เหรียญสหรัฐอเมริกา 1,648 - 30.01 ริงกิตมาเลเซีย - 450 9.89 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้
สกุลเงิน จำนวนที่ขาย เหรียญสหรัฐอเมริกา
ความเสี่ยงจากตลาด
(พัน) 1,550
อัตราแลกเปลี่ยน ตามสัญญาของจำนวนที่ขาย (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 29.75 - 30.82
เพือ่ ช่วยในการบริหารความเสีย่ งจากราคาตลาดของน้ำมันปาล์มทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวค่อนข้างมาก บริษทั ฯ จึงได้ทำสัญญาขาย และสัญญาซือ้ ล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งทีม่ ลู ค่าของสัญญาขายและสัญญาซือ้ น้ำมันปาล์มดิบล่วงหน้า จะเปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของราคาซื้อขายน้ำมันปาล์มในตลาดมาเลเซีย (BMD) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาขายน้ำมันปาล์มดิบล่วงหน้าคงเหลือ ซึ่งมีมูลค่าตามสัญญารวมจำนวน 7.65 ล้านริงกิตมาเลเซีย และมูลค่ายุติธรรมรวม 8.30 ล้านริงกิตมาเลเซีย
51 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
28.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
เนือ่ งจากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ จัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ เงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบีย้ ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯ จึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตาม บัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และ เต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะทีไ่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน วิธกี ารกำหนดมูลค่ายุตธิ รรม ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่า ที่เหมาะสม
28.3 การบริหารจัดการทุน
วัตถุประสงค์หลักของบริษัทฯ ในการบริหารจัดการทุน คือ การจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดำรงไว้ ซึ่งความสามารถในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ บริหารจัดการสถานะของทุนโดยใช้อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt-to-Equity Ratio) เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขใน สัญญาเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร ซึ่งต้องรักษาระดับของอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนนี้ให้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.65:1 (2552: 0.80:1) ทุนของบริษทั ฯ เพือ่ ใช้ในการคำนวณอัตราส่วนทางการเงินดังกล่าว ประกอบด้วย หุน้ สามัญ และกำไรสะสมหักด้วยสำรองกำไร ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงสุทธิ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ นโยบาย หรือกระบวนการ ในการบริหารจัดการทุน
29. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน
เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2553 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯได้มมี ติเสนอขออนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2554 เพือ่ จ่ายเงินปันผลจากกำไรของปี 2553 ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.125 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 35.04 ล้านบาท โดยได้รบั ยกเว้น ภาษีเงินได้ทั้งจำนวน
30. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน
บริษัทฯ ได้จัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ใหม่เพื่อให้สอดคล้อง กับการจัดประเภทรายการบัญชีในปีปจั จุบนั ซึง่ ไม่มผี ลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผูถ้ อื หุน้ การจัดประเภทรายการใหม่มดี งั ต่อไปนี ้ (หน่วย : บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ต้นทุนปาล์ม เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น กำไรจากการขายพื้นที่ อาคารสำนักงานและอุปกรณ์ รายได้อื่น
31. การอนุมัติงบการเงิน
งบการเงินรวม
ตามที่จัด ประเภทใหม่
ตามที่เคย รายงานไว้
ตามที่จัด ประเภทใหม่
ตามที่เคย รายงานไว้
1,698,632,203 52,147,139 - 35,853,933
1,703,596,033 47,183,309 4,809,552 31,044,381
1,698,632,203 52,147,139 - 35,874,003
1,703,596,033 47,183,309 4,809,552 31,064,451
15,018,842 7,115,221
- 22,134,063
15,018,842 7,116,528
- 22,135,370
งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554
52 Annual Report 2010
Message from Chairman and Chief Executive Officer
Dear shareholders:
Amidst sluggish global economy and waves of calamities which beset Thailand in 2010, including the “Red May” protest and the heavy flood which hit many parts of Thailand, CPI have managed to avoid any material subsequent effect and continued to carry out a smooth and sustainable business operation. This gives CPI a good platform to develop and grow with confidence in 2011. Below, I give you the summary of the overall economic picture and CPI’s key performances and developments in 2010, and an outlook into the future in 2011.
Thailand’s economy in 2010
For 2010, Thailand saw a GDP growth of approximately 7.5%, a massive improvement from 2009 which saw -2.2% in GDP growth, resulting from higher foreign investment and consumer confidence. Due to rising oil and food prices, the annual inflation rate rise to approximately 3% from -0.8% in 2009, a rate which is still very much under control by the government. Meanwhile, the interest rate was gradually raised by the Bank of Thailand to curb the inflation rate over the course of the previous year from 1.25% to 2.0%, and continued in early 2011 to its current level of 2.5%.
Thailand’s palm oil industry in 2010
Thailand’s production of CPO for the year 2010 dropped by 4.4% to 1,286,000 Metric Tons (MT) due to lower production of FFB volume and lower yield. However, consumption rose by 4.5% to 1,206,500 MT mainly due to increased demand for biodiesel from the energy sector. In addition, another 158,000 MT was exported from the country. As a result, the stock balance at the end of the year dropped by 50% to 68,000 MT from the normal stock level of 120,000 MT, thus causing the local CPO price to escalate towards the year-end to Baht 44 per kg. (compared to the average for the year of Baht 29 per kg.).
CPI’s key performances in 2010
CPI’s revenue from the energy sector rose by 23%, however, there was a decline in revenue from the consumer
sector due to increased competition from other refineries and other newcomers, and higher CPO prices (towards the end of the year) as mentioned above. In light of this, CPI’s 2010 total revenues were Baht 4,078 million, with the net income of Baht 70.3 million. The total assets amounted to Baht 2,452 million.
CPI’s new developments/innovations
Key developments/innovations in 2010 include the upgrade to our crushing mill’s sterilizer system by utilizing the “Tilting Sterilizer” which replaced the previous system and the installation of the “Moving Floor” system to improve on the efficiency of the raw material transportation system. These two combined development enabled us to increase the production capacity, as well as improving the efficiency and savings on production cost.
Outlook for 2011
The market is set for another turbulent year following continued political conflicts, uncertain domestic palm oil pricing and supply issues which create a volatile market, as well as effects from global factors and situations, primarily the aftermath of the Tsunami which hit Japan in early March. Nonetheless, CPI is well equipped to brave the storm and continue to grow with steadiness and sustainability. To achieve our objective, the key strategic targets which CPI will undertake this year are the enhancement of the production efficiency and minimization of production and logistic cost. Both of which collectively are aimed to enhance CPI’s competitive edge in our ultimate goal to advance our business toward the consumer market through establishing our presence and enhancing our market share. We will continue to tirelessly develop and improve our organization to reach all our strategic targets, and most importantly, our objective of driving CPI toward leadership in the palm oil industry. On behalf of our CPI board of directors and employees, I would like to express our thanks and gratitude to our valued shareholders, customers and trade partners for your continuous and unswerving supports.
Somchai Sakulsurarat
Teoh Seng Leong
Chairman
Chief Executive Officer
Report from Audit Committee Audit Committee of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited have been appointed according to resolution of the Company’s Board of Director on February 25, 2009. The Audit Committee in 2010 comprises of 3 independent directors as follows: Mr. Suthep Wongvorazathe Chairman of Audit Committee Assoc. Prof. Dr. Ninnat Olanvoravuth Audit Committee Mr. Satit Chanjavanakul Audit Committee With Senior Internal Audit Department Manager as the secretary to the Committee In 2010, there had been 4 Audit Committee meetings with complete participation from all Committee members whose meetings reports have been submitted to the Board of Directors for their information, with the following subjects:
1. Financial Report Review: Audit Committee has reviewed the 2010 Quarterly and Annual Financial Reports in collaboration with Finance and Accounting Director and Senior Internal Audit Department Manager in compliance with the law and accounting standards including annual revision and adequate disclosure of remarks in the financial reports satisfactorily conforming with the accounting standard prior to submission to the Board of Directors, and the Stock Exchange of Thailand, respectively, within deadlines 2. Internal Audit Supervision: Audit Committee has examined the Internal Audit Department activities according to the Annual Audit Plan, quarterly examination reports as well as follow-up remedies according to the suggestions from the
53 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Internal Audit Department and the Audit Committee including verification of organization structure and workforce that would result in continuous preventive audit practice beneficial to the Company in terms of process efficiency. 3. Internal Audit Assessment Verification: Audit Committee has verified the internal auditing processes via the Stock Exchange of Thailand’s assessment tool prior to approval of the Board of Directors whereas the Company’s Internal Auditor agreed that its internal audit process was appropriate and adequate without significant defects under Securities and Exchange Commission Act, the Stock Exchange of Thailand’s regulations, or the Company’s regulations. 4. Verification to prevent conflict of interest between the Company and related personnel in order to maintain transparency and equality among all shareholders. 5. Selection of the Auditor and Auditing fee by Board of Directors, and approval by Shareholder meeting, where Mr. Sophon Permsirivallop and/or Miss Vissuta Jariyathanakorn and/or Miss Sumalee Reewarabandith from Ernst and Young Co., Ltd. were selected as the Company’s Auditors in 2010. However, if such designated auditors cannot perform accordingly, Ernst and Young Co., Ltd. agrees to provide another auditor to perform and approve the Company’s financial report on behalf of the aforementioned auditors. 6. Acknowledgment of a study report on cost reduction in Palm Oil transportation by NGV Trucks including obstacles and difficulties.
Suthep Wongvorazathe Chairman of Audit Committee February 14, 2011
54 Annual Report 2010
BACKGROUND
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited produces and distributes refined palm oil to the related industry and consumer markets. The products include Crude Palm Oil, Palm Kernal Oil, RBD Palm Oil, RBD Palm Olein in bottle, tin and pouch under the “Leela” brand and other byproducts such as RBD Palm Stearin, Palm Fatty Acid Distillate, Palm Kernel Fatty Acid Distillate and Kernel Meal including Palm Seedling distributed to interested planter. The company has a registered capital of Baht 280,289,521 with 280,289,521 ordinary shares. Paid up capital is Baht 280,289,020 with 280,289,020 ordinary shares. In 2010 CPI Biodiesel, the Company’s subsidiary company, closed its business on July 1, 2010.
Head Office : 296, Moo 2, Salui Sub District, Thasae District, Chumporn 86140 Tel. (077) 611-000-10 Fax. (077) 611-011 Branch Office : 1168/91 30th Floor, Lumpini Tower, Rama IV Rd., Sathorn, Bangkok 10120 Tel. (662) 679-9166-72 Fax. (662) 285-6369 Web Site : www.cpi-th.com E-MAIL : info@cpi-th.com
The company plantation covers 20,916 rais of land (3,346.56 hectare) from five different estates:
1. Pathiu estate: 10,788 rais (1,726.08 hectare)
at Don Yang Sub District, and Kao Chairat Sub District, Pathiu District, Chumporn 2. Huaysak estate: 3,899 rais (623.84 hectare) at Moo 7, Saithong Sub District, Bangsapannoi District, Prachuabkirikan. 3. Kao Chai Rat estate: 2,401 rais (384.16 hectare) at Moo 3 Donyang Sub District, Pathiu District, Chumporn 4. Bangson estate: 2,626 rais (420.16 hectare) at Moo 4, Bangson Sub District and Moo 1, Talaysub Sub District, Pathiu District,Chumporn 5. Klong Wang Chang estate: 1,202 rais (192.32 hectare) at Moo 4, Chumko Sub District, Pathiu District, Chumporn.
REFERENCES Registrar :
Thailand Securities Depository Co., Ltd. Equity Institute Building, 2nd Floor (Northpark Project) 2/7 Moo 4, Vibhavadhi Rangsit Road, Tungsonghong Sub-District, Laksi District, Bangkok 10210 Tel. 0-2596-9310 Fax. 0-2832-4994-5
Mr. Sophon Permsirivallop, CPA No.3182 Ernst & Young Office Ltd. Lake Rachada Office Complex, 33rd Floor 193/136-137 Rachadapisek Road, Bangkok 10110 Tel. 0-2264-0777
Faculty of Law, Thamasat University Bangkok 10200 Tel. 0-2221-6111 Ext 2121
Auditor :
Legal Advisor : Assoc. Prof. Sahaton Rattanapijit
Risk Factors
Risk factors in palm oil industry may be categorized as follows.
55 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
situation will ease up depending on many factors, e.g. Government policy, FFB production, climate, Malaysian CPO price. External Risk Factors: Fluctuation in FFB Production It is systematic risk factors which concern every industry. Oil palm is perennial plant with inconsistent crop. Moreover quantity varies according to climate and soil quality causing decreasing Economic Growth Thai economic in 2011 forecasts 3.5 -4.5% growth, decreased errors in FFB estimation. In 2010 FFB production was approx lower 15-25% from last year which 7.5% growth rate. It means the decline trend of forecasted by Office of Agricultural Economic. purchasing power in consumer, investment, government expenses including Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) export. European palm oil market has emphasized more in RSPO Certificate which obstructs palm oil export from Thailand where RSPO’s The sign of world economic recovery It is still worried about Double - dip recession in USA, Debt guidelines and indicators in Thailand are being specified which is expected crisis in EU countries, Monetary Contraction in China to control inflation to complete and are ready to audit in February 2011. rate. All are negative factor for world economic which affected demand. Asean Free Trade Area (AFTA) Domestic Polical Unrest For medium and long term view free trade for palm oil Political mob will cause the undesirable situation that would products in the future would benefit refineries as there would be low exploit confidence among local consumers, tourist and foreign investors to priced CPO raw material. However the more efficiency in production, marketing, finance and management still have to do pararelled intensely. Thai economic. The other risk of AFTA is major suppliers from Malaysia and Indonesia will Inflation The price adjustment of agriculture products and fuel will enter and compete with local suppliers as well. drive cost-push inflation which would affect local demand in general. Regarding risk management measures, the Company has been following the news, market movement and taking part as producer and Internal Risk Factors: It is non systematic risk factors that will be varies to each industry. member of Palm Oil Refinery Association. The Company has to adapt itself Rapid increase in capacity of crushing mills and reduce negative impact which affected performance. Field inspection In 2010 there is a drastic increase in capacity compared to along with government sector in FFB production is conducted periodically fresh fruit bunch production which increase more slowly. Such increase is and also counter check with Office of Agricultural Economic and mainly from existing crushing mills need higher capacity, farmers would like Department of Interior Trade in order to forecast less errors. The import to increase their values and new crushing mills. Farmers get high under AFTA according to Thailand Oil Palm Board’s resolution lets palm oil import controlled by a sub committee on Palm Oil Import Detamination bargaining power due to severe competition in FFB market. which will consider imported quantity and period to less affect the local The competition among refineries In 2009-2010 new refineries are set up. Once they are in the FFB price and imported by Public Warehouse Organization and Palm Oil business they should continue as it is high fixed cost industry. The more Refinery Association. palm oil products will come out, the more competition in pricing will occurs. Bargaining power between crushing mills and Manufacturing Risk Factors CPO suppliers Manufacturing Risk Factors such as machinery breakdown would the capacity of refineries increase continuous which CPO also have brought the whole assembly to halt. Therefore the Company has increase but more slower. CPO imported under AFTA must be approved already prepare necessary preventive maintenance beforehand including by Sub Committee on Palm Oil Import Determination causing a decrease in annual maintenance planning to reduce possible manufacturing risks. bargaining power from refineries. Risk from Fluctuated Pricing Marketing Risk Factors In 2010 cost of CPO increase rapidly till producers (Olein Please see Competition and Investment Palm Oil for household consumer) could not bear the cost sometimes. The
56 Annual Report 2010
FINANCIAL HIGHLIGHTS
(Unit : Thousand Baht)
2008
2009
2010
Total Assets
2,672,160
2,652,426
2,452,854
Total Liabilities
1,211,628
1,177,042
962,602
Total Shareholders’ Equity
1,460,532
1,475,384
1,490,252
Sales and service income
5,394,300
4,272,358
4,072,257
Total Revenue
5,409,243
4,294,494
4,077,513
Gross Profit
665,343 376,746
347,163
Net income
297,275 115,757
70,279
5.50 2.70
1.72
Earning / Revenue (%) Return on Equity (%)
20.35
7.85
4.72
Return on Asset (%)
11.12
4.36
2.87
Earning per Share (Baht)
1.06 0.41
0.25
Dividend / Share (Baht)
0.54
0.20
Book Value / Share (Baht)
5.21
5.26
Pay Out Ratio (%)
50.94 48.78
5.32
BUSINESS CHARACTERISTICS
57 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited produces and distributes the following palm oil products :
1 Crude Oil
Crude Palm Oil (CPO) Crude Palm Kernel Oil (KO)
Refined Bleached Deodorized Palm Oil (RBD PALM OIL-RPO) Refined Bleached Deodorized Palm Kernel Oil (RBD PALM KERNEL OIL-RKO) Refined Bleached Deodorized Palm Olein (RBD PALM OLEIN-ROL) Cooking Oil packed in PET bottle under “LEELA” and “RIO” brands Cooking Oil packed in tin under “LEELA” brand Cooking Oil packed in pouch under “LEELA” brand
RBD Palm Stearin (RHST) Palm Fatty Acid Distillate (PFAD) Palm Kernel Fatty Acid Distillate (KFAD) Kernel Meal (KM)
Palm Seedlings
2. RBD Oil
3. By Products
4. Other Products
REVENUE STRUCTURE
(Unit : Million Baht)
Product
2008 2009 2010 Revenue % Revenue % Revenue % Domestic Revenue Crude Oil 467.71 RBD Oil 2,831.02 Other Products 800.93 4,099.66 Export Revenue Crude Oil 706.77 RBD Oil 576.63 Other Products 26.18 1,309.58 Total Revenue 5,409.24
8.65 1,174.88 52.34 1,922.01 14.81 1,027.35 75.79 4,124.24
27.36 44.76 23.92 96.04
902.99 2,010.12 813.22 3,726.33
22.15 49.30 19.94 91.39
13.07 76.49 1.78 92.92 2.28 10.66 41.23 0.96 135.35 3.32 0.48 52.53 1.22 122.91 3.01 24.21 170.25 3.96 351.18 8.61 100.00 4,294.49 100.00 4,077.51 100.00
58 Annual Report 2010
Competition and Investment
The Company exercises a strict policy of manufacturing process control in order to maintain standard quality. In addition, there is another policy of quality and services to meet with all customers’ needs and to maintain customer relations, i.e. factual information exchange, customer satisfaction towards products and services, as well as applications of marketing tools to analyze and determine long-term business direction. In the mean time, the Company has been researching its palm breeding as a knowledge center for future palm seedling applications and to create a perfect breed proper for various agricultural environments, and also to broadcast public awareness for planter. The Company has planted approx. 20,000 Raise of palms with proper administrative care principles. During the initial stage, several million Baht of chemical fertilizer per year has been used along with herbicide. Subsequently, the Company has been more aware of environmental impact, therefore some waste from production, e.g., empty bunch, sludge cake, ashes, spent earth, and decanter meal has been reused as chemical fertilizer. Similarly, cover crop has been grown to prevent unwanted weed with selected herbicide for some weeds thus reduce the cost of weed killing chemical. In addition, the Company has also bred barn owls to control rat population instead of chemical solution which resulted in less damage in fresh fruit bunch and cost saving of as much as a million Baht each year. In 2010, the Company has restructured its strategic business units (SBU) into 5 areas according to customer groups for proper market planning as follows: 1. Industrial Group 2. Energy Group 3. Repacker Group 4. Consumer Group 5. Export Group
As a result, such change has facilitated its business operation and added flexibility in each business unit. In 2010, the Company has also restructured its organization so that teamwork and effective services are provided for the customers.
Acquisition of Products and Services
Raw materials acquisition for manufacturing can be acquired in 2 ways, e.g. fresh fruit bunch for crushing mill Plant, and crude palm oil for refinery plant. Fresh fruit bunch (FFB) for crushing mill can be acquired from palm planter around the factory and nearby province, and from the Company’s own plant, which can be produce crude palm oil but not enough for refinery plant to supply to consumers and several industries. Therefore, additional crude palm oil is acquired from some domestic crushing mills, especially in Southern region of Thailand. FFB and CPO situation in 2010 affected by climate La Nina caused hot weather and drought in Thailand and IndoChina region. FFB production was inconsistent and also year end there was flood in southern area made less FFB production from around 8.43 million tons to 7.98 million tons, resulted shortage of FFB violently at that time. CPO and FFB prices were rapidly increased. In 2011 production and marketing situation for oil palm and palm oil will be affected by climate which will caused delay peak. However estimate FFB in 2011 may be the same as 2010 or around 8.0 million tons and pricing trend may be higher. Consumption in palm oil trend may increase both consumer market and biofuel market which increase more than the increase of production.
SHAREHOLDING AND MANAGEMENT
59 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Shareholders
The first ten major shareholders : Nos. of Shares Percentage 1. Chumporn Holding Co., Ltd. 92,097,125 32.86 2. Mr. Somkiat Tawintermsup 19,166,674 6.84 3. Bangkok Insurance Public Company Limited 14,508,910 5.18 4. Mr. Paisarn Chatlekhavanich 8,711,997 3.11 5. Mr. Supphachol Nithivasin 7,800,000 2.78 6. Mr. Pornchai Techawatanasuk 6,961,077 2.48 7. Mr. Kosol Nuntileepong 5,957,660 2.13 8. CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-BK 4,591,166 1.64 JULIUS BAER & CO LTD-CLIENT’S A/C 9. Mr. Chusak Prachayangprecha 4,488,625 1.60 10. Mr. Kitti Chatlekhavanich 4,004,166 1.43
Dividend Policy
Dividend payment policy is not less than 40% of the net profit
Management (1) Management Structure Structure of Directors
1. Board of Directors and Management comprise of 1. Mr. Somchai Sakulsurarat Chairman & Chairman of Executive Director 2. Mr. Suthep Wongvorazathe Chairman of Audit Committee & Independent Director 3. Assoc. Prof. Dr. Ninnat Olanvoravuth Audit Committee & Independent Director 4. Mr. Satit Chanjavanakul Audit Committee & Independent Director 5. Mr. Chusak Prachayangprecha Director & Executive Director 6. Mr. Takon Tawintermsup Director, Executive Director & Deputy Managing Director 7. Mr. Karoon Nuntileepong Director and Managing Director 8. Mr. Kreetha Matitanaviroon Independent Director 9. Mr. Kitti Chatlekhavanich Director 10. Mr. Songridth Niwattisaiwong Director and Project Director 11. Mr. Pichet Nithivasin Director 12. Mr. Voravit Rojrapitada Director 13. Prof. Dr. Suntaree Yingjajaval Director 14. Admiral Satirapan Keyanon Independent Director 15. Mr. Teoh Seng Leong Chief Executive Officer 16. Mr. Supisith Chorruangsak Deputy Managing Director 17. Mr. Prasit Pitoonjareonlap Finance & Accounting Director 18. Mrs. Ratsamee Pongjindanon Senior Internal Audit Manager 19. Mr. Thawatchai Chomwan Marketing & Logistics Manager
60 Annual Report 2010
20. Mr. Mongkol Siengsuttivong Management Information System Manager 21. Ms. Sutisa Thainchai Senior Purchasing Manager 22. Mr. Phatchasak Chanthewi Sales Manager 23. Mrs. Pranee Jitworajinda Assistant Factory Director 24. Mr. Supatharapong Chanpanich Assistant Factory Director 25. Mr. Choonhui Saelow Senior Plantation Manager 26. Mr. Chamnan Duangsai Production2 Manager (P2) 27. Ms. Wirarat Wiwattanatikul Company Secretary Duties and responsibilities of the Board of Directors. 1. Perform their duties in accordance with laws, objective, Article of Association including the resolution of the shareholders’ meeting with accountability care and integrity. 2. Set out the main policy with respect to business operation and the policies in finance, fund management and supervise the management to perform its duties efficiently and effectively under such policies. 3. Consider and approve important matters which are required by relevant laws or the Company’s rules and regulations to be granted approval by the Board of Directors of the Company’s Shareholders Meeting. 4. Set up the internal control system for the operation, financial reports and compliance with the laws and the Company’s rules and regulations. The Internal Audit Department is assigned to inspect and monitor compliance with the internal control system and report to the Audit Committee. The Board of Directors will make an annual assessment on the adequacy and appropriateness of the internal control system and include its opinion in the annual report. 5. Appoint the Company Secretary to be responsible for the matters required by the law. 6. Appoint the Audit Committee, the Executive Board and other sub-committees in order to assist the Board of Directors in supervising the Company’s business undertaking to achieve the Company’s objective. In addition, the Board of Directors Meeting No. 5/2010 on November 3, 2010 resolved and approved the appointment of Mr. Teoh Seng Leong as Chief Executive Officer. This is to strengthen the management team more powerful in the business. He will be responsible for Marketing and Sales including Raw Material Procurement Department. 2. Audit Committee reports directly to the Board of Directors. 1. Mr. Suthep Wongvorazathe Chairman 2. Assoc. Prof.Dr. Ninnat Olanvoravuth 3. Mr. Satit Chanjavanakul The audit committee of the company has the scope of duties and responsibilities to the Board of Directors on the following matters: 1. To review the Company’s financial reporting process to ensure that it is accurate and adequate; 2. To review the Company’s internal control system and internal audit system to ensure that they are suitable and efficient, to determine an internal audit unit’s independence, as well as to approve the appointment, transfer and dismissal of the chief of an internal audit unit or any other unit in charge of an internal audit; 3. To review the Company’s compliance with the law on securities and exchange, the Exchange’s regulations, and the laws relating to the Company’s business; 4. To consider, select and nominate an independent person to be the Company’s auditor, and to propose such person’s remuneration, as well as to attend a non-management meeting with an auditor at least once a year; 5. To review the Connected Transactions, or the transactions that may lead to conflicts of interests, to ensure that they are in compliance with the laws and Stock Exchange’s regulations, and are reasonable and for the highest benefit of the Company; 6. To prepare, and to disclose in the Company’s annual report, an audit committee’s report which must be singed by the audit committee’s chairman and consist of at least the following information
61 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
(a) an opinion on the accuracy, completeness and creditability of the Company’s financial report (b) an opinion on the adequacy of the Company’s internal control system, (c) an opinion on the compliance with the law on securities and exchange, the Exchange’s regulations, or the laws relating to the Company’s business, (d) an opinion on the suitability of an auditor, (e) an opinion on the transactions that may lead to conflicts of interests (f) the number of the audit committee meetings, and the attendance of such meetings by each committee member, (g) an opinion or overview comment received by the audit committee from its performances of duties in accordance with the charter, and (h) other transactions which, according to the audit committee’s opinion, should be known to the shareholders and general investors, subject to the scope of duties and responsibilities assigned by the Company’s board of directors; and 7. To perform any other act as assigned by the Company’s board of directors, with the approval of the audit committee. 3. Sub-Committee 1. Mr. Chusak Prachayangprecha Chairman 2. Mr. Takon Tawintermsup 3. Mr. Karoon Nuntileepong 4. Mr. Songridth Niwattisaiwong Scopes of responsibility are to proceed minor activities of the company such as applying for any credit lines, opening saving and current accounts for and on behalf of the company with the banks or financial institutions, submitting any application, to any government sectors in order to gain for any rights of the company. 4. Human Resources Sub Committee 1. Mr. Voravit Rojrapitada Chairman 2. Mr. Pichet Nithivasin The role of the Commiitee is to review the company’s major problems of Human Resources. The Management will discuss any problems case by case. 5. Risk Management Sub Committee 1. Prof.Dr. Suntaree Yingjajaval Chairman 2. Mr. Kitti Chatlekhavanich 3. Assoc. Prof. Sahaton Rattanapijit The Committee will consider general risks of the company. Both the Committee and the Management could raise any risky aspects to jointly consider. 6. Financial Management Sub Committee 1. Mr. Somchai Sakulsurarat Chairman 2. Mr. Suthep Wongvorazathe 3. Assoc. Prof.Dr. Ninnat Olanvoravuth The Management will consult regarding annual budget and asset investment. 7. Executive Board comprises of 1. Mr. Somchai Sakulsurarat Chairman 2. Mr. Chusak Prachayangprecha 3. Mr. Takon Tawintermsup
62 Annual Report 2010
Scopes of duties and responsibilities 1. Set the policy 2. Supervise Executives and Management 3. Supervise the employment and remuneration of Executives and Management 4. Set the risk management policy 5. Co-ordinate with Board of Directors
Board of Directors and Management
Name
: Mr. Somchai Sakulsurarat
Position : Chairman and Chairman of Executive Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD Experience : 2009 - Present Advisor to Deputy Minister of Commerce (Mr. Alongkorn Polabutr) 2009 - Present Vice Chairman Sahaviriya Steel Industries Public Company Limited 2008 - Present Advisor to Deputy Minister of Finance (Mr. Pradit Phataraprasit) 2008 - Present Chairman of Executive Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited 2004 - Present Chairman Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited 2004 - Present Chairman Thai Agro Exchange Company Limited 2003 - Present Chairman S. Khonkaen Food Industry Public Company Limited 2002 - Present Chairman SCJ & Associates Company Limited Past Experience Managing Director Bank of Ayudhya Public Company Limited Managing Director Bangkok Metropolitan Bank Public Company Limited Managing Director Thai Military Bank Public Company Limited Member of the Assembly of Legislative
Name
: Mr. Suthep Wongvorazathe
Position : Chairman of Audit Committee and Independent Director Change of share holding : - Training : DAP Certificate from IOD Experience : 2010 - Present Chairman of Executive Director Export-Import Bank of Thailand 2003 - Present Chairman of the Audit Committee Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and Independent Director 2007 - Present Chairman Pacific Assets Public Company Limited 2009 - Present Director Office of the Board of Investment 2008 - Present Chairman Khonburi Sugar Public Company Limited 2008 - Present Advisor Committee on Nation Dept Solution House of Representative 2004 - Present Director Thai Agro Exchange Company Limited 1999 - Present Managing Director SGE International Company Limited 1996 - Present Senator The Senate
63 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Name
: Assoc. Prof. Dr. Ninnat Olanvoravuth
Position : Audit Committee and Independent Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD Experience : 2003 - Present Audit Committee Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and Independent Director 2002 - Present Member National Council of Community College 2007 - Present Chairman Board of Trustee, Srisopon College 1998 - Present Member Ratchathani University 1994 - Present Founding Member Association of Universities in Asia and the Pacific 1992 - Present Member Personnel Committee Suranaree University of Technology 1985 - Present Member Accreditation Committee, Ministry of University Affairs 1981 - Present Member, Board of Governor Regional Institute of Higher Education and Development (RIHED) 1981 - Present Secretary-General Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning (ASAIHL) 2006 - Present Member Administrative Committee Chulabhorn Graduate Institute 2008 - Present Civil Service Sub-Commission on Standard System of Human Resource Selection 2010 - Present Vice President Chalermkarnchana College
Name
: Mr. Satit Chanjavanakul
Position : Audit Committee and Independent Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD Experience : 2009 - Present Audit Committee Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and Independent Director 2004 - 2008 Secretary General Thailand Board of Investment 2003 - 2004 Deputy Secretary General Thailand Board of Investment 2001 - 2003 Deputy Permanent Secretary Ministry of Industry 2000 - 2001 Inspector General Ministry of Industry 1998 - 2000 Deputy Director General Department of Industrial Promotion 1997 - 1998 Director Bureau of Industrial Sectors Development, Department of Industrial Promotion 1992 - 1996 Director Industrial Productivity Division, Department of Industrial Promotion 1971 - 1991 Textile Technology Engineer Textile Industries Division, Department of Industrial Promotion
64 Annual Report 2010
Name
: Mr. Chusak Prachayangprecha
Position : Change of share holding : Training : Experience : 2007 - Present 1979 - 2006 1993 - Present 2004 - Present 2006 - 2008 2007 - Present 2008 - Present 2009 - Present 2010 - Present
Name
Director, Executive Director and Authorised Director - DCP Certificate from IOD Director and Executive Director Director and Managing Director Chairman Director Director Director Managing Director Director Audit Committee and Independent Director
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited Chumporn Holding Company Limited Thailand-China Business Council Biotech Industry Club, The Federation of Thai Industries Thai Listed Companies Association Thai Ceramic Industry Company Limited Ceramic Industry Club, The Federation of Thai Industries Khonburi Sugar Public Company Limited
: Mr. Takon Tawintermsup
Position : Director, Executive Director, Authorised Director and Deputy Managing Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD Experience : 1974 - Present Director, Executive Director Khonburi Sugar Public Company Limited and Managing Director 1979 - Present Director, Executive Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and Deputy Managing Director 1988 - Present Executive Director Bomrungrat M.C. Company Limited 1993 - Present Managing Director Chumporn Holding Company Limited 2004 – Present Director Khonburi Bio Energy Company Limited 2008 – Present Director Khonburi Power Plant Company Limited 2008 – Present Director Agriculture Machine Services Company Limited 2010 - Present Director Khonburi Capital Company Limited
Name : Mr. Karoon Nuntileepong Position : Director, Authorised Director and Managing Director Change of share holding : - Training : DCP Diploma & Certificate from IOD Experience : 2001 - Present Director Chumporn Holding Company Limited 1982 - 2006 Assistant Managing Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited 2007 - Present Director and Managing Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
65 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Name
: Mr. Kitti Chatlekhavanich
Position : Director and Authorised Director Change of share holding : - Training : DCP Diploma & Certificate from IOD Experience : 1999 - Present Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited 1992 - Present Managing Director Liack Seng Trading Company Limited 2006 - Present Director Chumporn Holding Company Limited 2006 - Present Managing Director Plasmac Trading Company Limited
Name
: Mr. Kreetha Matitanaviroon
Position : Independent Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD Experience : 2009 - Present Independent Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited 2008 - Present Independent Director Nation International Edutainment Public Company Limited and Audit Committee 1975 - Present Managing Director Universal White Cement Company Limited
Name
: Mr. Songridth Niwattisaiwong
Position Change of share holding Training Experience 1993 - Present 1990 - Present
: Director, Authorised Director and Project Director : - : DCP Diploma & Certificate from IOD : Director Chumporn Holding Company Limited Director and Project Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
: Mr. Pichet Nithivasin
Name
Position : Director Change of share holding : - Training : Diploma, Ecole Hoteliere De Lausanne, Switzerland Experience : Present Managing Director Narai Hotel Company Limited 2006 - Present Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
66 Annual Report 2010
Name
: Mr. Voravit Rojrapitada
Position : Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD : Advance Course in General (Non-Life) Insurance, Swiss Insurance Training Centre, Switzerland : Skandia Insurance Management, Philippines Experience : 1999 - Present Director Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited 2003 - 2004 Chairman of the Audit Committee Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and Independent Director 1999 – 2002 Audit Committee Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and 2006 - 2008 and Independent Director Present Director and Advisor Bangkok Insurance Public Company Limited 2008 - Present Company Secretary Bangkok Insurance Public Company Limited 1981 - Present Director Bangkok Insurance Public Company Limited 2000 - 2009 Senior Executive Vice President Bangkok Insurance Public Company Limited 1991 - 2008 Secretary to the Board of Directors Bangkok Insurance Public Company Limited 1985 - 1999 Assistant Vice President Bangkok Insurance Public Company Limited
Name
: Prof. Dr. Suntaree Yingjajaval
Position : Director Change of share holding : - Training : DAP Certificate from IOD Experience : 2004 - Present Director 2000 - Present Executive Committee 2008 – Present Director
Name
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited Center for Agricultural Biotechnology, Kasetsart University Chumporn Holding Company Limited
: Admiral Satirapan Keyanon
Position : Independent Director Change of share holding : - Training : - Experience : 2010 - Present Independent Director 2010 - Present Advisor Past Experience Chairman of the Board of Commissioners Chairman of the Board of Commissioners Chairman President Advisor of Chairman Director
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited Charoen Pokphand Foods Public Company Limited Port Authority of Thailand (1st) Port Authority of Thailand (2nd) The Bangkok Dock Company (1957) Limited Yacht Racing Association of Thailand TMB Bank Public Company Limited Rak Muang Thai Foundation
67 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Name
: Mr. Teoh Seng Leong
Position : Chief Executive Officer Change of share holding : - Training : - Experience : 2010 - Present Chief Executive Officer 2006 - 2010 Head, Asia Region 2000 - 2006 Managing Director 1982 – 2000 Senior Executive
Name
: Mr. Supisith Chorruangsak
Position : Deputy Managing Director Change of share holding : - Training : DCP Certificate from IOD Experience : 1998 - Present Deputy Managing Director
Name
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited Sime Darby Plantations Morakot Industries Public Company Limited Sime Darby Plantations
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
: Mr. Prasit Pitoonjareonlap
Position : Finance and Accounting Director Change of share holding : - Experience : 1986 - Present Finance and Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited Accounting Director
(2) Selecting directors and executives
(3) Remuneration for executives
(4) Corporate Governance
Directors of the company normally are appointed by Shareholders. The Board of Director will act as Nominating Committee to select persons whose qualification meet the requirement according to notification of SET and SEC, then propose to the Shareholders’ Meeting for appointment. There is no cumulative voting for appointing director, only majority votes. Refer to (4) Corporate Governance Item 5 “Responsibilities of Board of Directors”
1. Shareholders’ Right
The Company intends to conduct its business in accordance with the corporate governance that had been approved by the Board of Directors in 2003 as follows: Corporate governance policy Board of Directors has fully supported good corporate governance at all levels of the organization with improvements gradually to reach the targets efficiently, correctly in accordance with the law, honesty and transparency. The Board of Directors has confident that good management with honesty and transparency would enhance efficiency of the Company and serve interests of shareholders, investors and other concerned parties. Therefore, policy is prescribed as follows:
68 Annual Report 2010
1. To do business with Good Corporate Governance, transparency and accountability. 2. Steps to ensure the Board of Directors discharge their duties as per assignment with efficiency. 3. Dealing with the shareholders and stakeholders equally and fairly including disclosure the information adequately. 4. Make arrangement to have internal control system adequately, couples with steps to manage risk factors effectively with regular monitoring. 5. Steps have been taken to initiate vision, mission, strategy, goal, policy, business plan and budget and monitoring results. 6. Making authorizations to decentralize the responsibilities Manual. 7. Making a Manual of Ethics for the Company, directors, management and employees to act accordingly. The Company has set business plan and budget, and followed up quarterly and reviewed annually. In 2010, the Company conducted Shareholders Meeting once which was Annual General Meeting for the year 2009. The Meeting was held at a hotel outside the Company. Meeting notices were sent to Shareholders including other relevant documents, such as, Annual Report, financial statements, document for presenting by participants for identification and proxy which were all sent 7 days prior to date of meeting. In this nexus, aforementioned notices for the meeting and other documents contain information completely to enable Shareholders to make decision. The Company enhanced options for Shareholders to appoint independent director to be their proxies in case of inability to attend the meeting. The Chairman conducted the meeting according to agenda stated in the meeting notices. The company gave the chance to shareholders to pose queries and express comments and advice. Important points were recorded.
2. Practice to Shareholder Equality
The Company conducted Shareholders’ meeting equally and in accordance with the law. Shareholders equally were afforded facilities, the right and ask any questions and comments which were answered. Each agenda could be voted and open to appoint director individually. The Meeting was prepared legally. The Shareholders Meeting held in 2010, the Company sent meeting notices including Annual Report, financial statements and proxy to all Shareholders whose names appeared in the Register. Meeting notices were advertised in a local newspaper with details about the date, venue, time and agenda prior to date of meeting by 3 days and the announcement appeared for 3 days continuously. Eleven Directors were present at this meeting. 3. Role of Stakeholders The Company took good care of each group by fixing working guidelines in the Manual of Business Ethics and working regulations, enabling Board of Directors, the Management and the Staff to work and fulfill their duties as follows: Shareholders : The Company shall carry out business with transparency by thinking about the progress of the Company in long term. Staff : The Company supports for job efficiency and introduces Competent Based Human Resources Development. Emphasis is placed on working with safety and this extends to all the Employees equally with fairness as they enjoy remuneration and welfare benefits suitably. Trading Partners/Creditors: are all treated in accordance with trading procedures strictly.
69 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Competitors : We engage in competition under the established rules of trading and refrain from destruction of corporate image of the competitors. Customer : The Company is committed to keep the good quality of its products to meet the demand of our customers. In this nexus, we have achieved Quality Certificate such as ISO 9001:2008 GMP and HACCP. Assignment has been given to the staff in charge to handle customers’ complaints and to keep customers secrecy. Social and Environmental Issues : The Company supports its Employees for participation in environmental conservation, pursuant to the letter of the law and to participate in social activities in the factory’s neighborhood. The company initiated the CSR project in 2011 under the sustainable business development abreast with the development of social environment and public relations. To cultivate consciousness and good corporate cultures. Overall, the company has focused on the development of waste management. The barn owls has promotion and development of education for young people. As well as knowledge in various fields. Related to oil palm farmers and general interest.
4. Disclosure and Transparency
Company’s Board of Directors is aware that data concerning to financial and non-financial issues would affect of investors and stakeholders. Therefore, the management is required to oversee this subject and divulge information as necessary with completeness, truth and transparency. The Management has given significance to this matter at all times. Finance and Accounting Director has been assigned to take care of Investor Relation to communicate with investors, shareholders, analysts and the state sector. They could make contacts to phone Number 0 2679 9166-72 or website : www.cpi-th.com or e-mail address : info@cpi-th.com
5. Responsibilities of Board of Directors
Appointment of Directors is made as per approval of Shareholders entrusted to Board of Directors. The Company’s Board of Directors is comprised of 14 persons as follow: Executive Director 5 persons. Non Executive Director 4 persons. Independent Directors 5 persons. Independent Directors of the Company did not reach 1/3 of the total number and the Chairman is not Managing Director. Therefore, it is confident that the Directors would perform their duties fully in the interest of Shareholders and maintain balance of power properly. Boards of Directors have duties to work in accordance with the law, Article of Association, Memorandum of Association and regulations passed by Shareholders with honesty and carefulness to keep the interests of the Company. Article of Association stipulated to consider appointment one thirds of directors Annual General Meeting of Shareholders meeting. The Director must resign numerically amounting to one-third of total number and if it is not possible to get one third exactly, the number nearest to one-third shall resign and directors who are hold the longest position should be resigned first. Moreover, there are Legal Adviser and company secretary to advise any law and regulation concerned including co-ordinates to get the resolution done.
70 Annual Report 2010
The Company has set a Business Ethics Manual for the relevant persons to peruse and practice with honesty and fairness. This Manual is distributed to Board of Directors, Executives and Staff to perform accordingly. Moreover, the Company also give explanations to its Staff for general information and supervisors at all levels has to take care and encourage their staffs to act accordingly in good faith. Board of Directors has good leadership, vision and enjoys independence in making decisions to give maximum benefits to Shareholders. Board of Directors participated in efforts to streamline procedures, vision, strategy, targets and financing and took steps for the management to work in accordance with the plans and guidelines with efficiency. Board of Directors and the Management assumes duties and responsibilities assiduously, collectively and individually. The Company is served by Directors with the right qualifications, knowledge and ability and have all passed professional and occupational training the Directors Certification Program (DCP) or Directors Accreditation Program (DAP) comprises 12 persons as follows: 1. Mr. Somchai Sakulsurarat DCP Certificate 2. Mr. Suthep Wongvorazathe DAP Certificate 3. Mr. Satit Chanjavanakul DCP Certificate 4. Assoc. Prof. Dr. Ninnat Olanvoravuth DCP Certificate 5. Mr. Chusak Prachayangprecha DCP Certificate 6. Mr. Takon Tawintermsup DCP Certificate 7. Mr. Kitti Chatlekhavanich DCP Certificate and Diploma 8. Mr. Karoon Nuntileepong DCP Certificate and Diploma 9. Mr. Kreetha Matitanaviroon DCP Certificate 10. Mr. Songridth Niwattisaiwong DCP Certificate and Diploma 11. Mr. Voravit Rojrapitada DCP Certificate 12. Prof. Dr. Suntaree Yingjajaval DAP Certificate To prevent the conflict of interests, the Company has no business relations with major Shareholders, the Directors, Executives or persons concerned. Board of Directors have taken steps to deal with any conflict internally by keeping tabs on movements with in the Company, looking out for signs of trouble, so that any abnormality sighted, it is tackled swiftly and decisively to abide by the principles of SET, focusing on prices and conditions with respect to outsiders. Details must be given about contractual commitments, value of contracts, parties to the Contract, necessity and justifications which are all incorporated into Annual Report and Form 56-1 and these revelations must be made in Remarks accompanying Financial Statements. Board of Directors has created internal audit system that covers every aspect of business operation, financial deals and works carried out in accordance with the law, the Company’s Article of Association and risk management. In this nexus, the Audit Team is entrusted to seek ways and to act to strike internal balance, including steps to protect the Company financially including its shares and Assets at all times. Power structure is duly streamlined and power is shared in accordance with policy. Working procedures are streamlined and works carried out efficiently with written records maintained as much as possible. In this nexus, the Audit Team conducts auditing internally with independence as they work fully without any hindrance. Reports are submitted to Audit Committee regularly every quarter.
71 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
The Company has set Board of Directors meetings every quarter in advance and a special Meeting if necessary. The agenda would be set in advance too. The meeting resolutions are monitored regularly. Company Secretary prepares Meeting Invitations and other documents to be used in the meetings and these shall be available 7 days prior to date of meeting. This gives Board of Directors time to study and prepare for the meeting. Directors could express their ideas and comments independently. Minutes of Meeting are recorded and certified by Board of Directors for accountability. Meetings normally last about 3 hours. In 2010, Board of Directors held 4 meetings and 1 special meeting as follows:
Participation / Number of meetings Names 1. Mr. Somchai Sakulsurarat 2. Mr. Suthep Wongvorazathe 3. Assoc. Prof. Dr. Ninnat Olanvoravuth 4. Mr. Satit Chanjavanakul 5. Mr. Chusak Prachayangprecha 6. Mr. Takon Tawintermsup 7. Mr. Karoon Nuntileepong 8. Mr. Kitti Chatlekhavanich 9. Mr. Songridth Niwattisaiwong 10. Mr.Voravit Rojrapitada 11. Prof. Dr. Suntaree Yingjajaval 12. Mr. Pichet Nithivasin 13. Mr. Kreetha Matitanaviroon 14. Admiral Satirapan Keyanon
Nomal
Special
Total
4/4 4/4 3/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 3/4 4/4 4/4 2/3
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 -
5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 2/3
Remarks
Appointed on 28/4/2010
72 Annual Report 2010
Remuneration for Directors: The Company has policy for remunerating its Directors with clarity, transparency and suitable for the job with adequacy. We maintain Directors who are qualified and experienced and they receive remuneration suitably commensurate to their duties and responsibilities. Remuneration for Executives: The remuneration policy was set by the Board of Directors and the Company’s performance. Remuneration : In 2010 The Company paid remuneration to the Directors and Executives as follows: Remuneration for Directors (annually), Meeting allowance for 14 Directors were 1.05 Million Baht Meeting allowance for 3 Executive Director were 0.75 Million Baht Meeting allowance for 3 Audit Committee were 0.26 Million Baht Remuneration for 13 Directors was 2.89 Million Baht Remuneration for executives, (annually), 6 Executives with income collectively totaled 15.44 Million Baht. 6 Executives have been provided cars for their positions. There are six Sub-Committees. Those are Sub–Committee, Audit Committee, Risk Management Sub-Committee, Human Resources Sub-Committee, Financial Management Sub-Committee and Executive Board. The role and responsibilities of Audit Committee is given under the Heading “Management Structure”.
(5)Inside Information Control
The Company has policy and procedures to take care of management of data and information system internally for personal interests. These are all streamlined within the Company’s Business Ethics, working rules and regulations, moreover for trading of stocks, particularly in the one month preceding dissemination of financial statements to the public, the executives are required to issue report on trading of stocks every time such trading occurs and to divulge internal data to others. As for punishment provisions, it is line with the dictum of Securities Exchange Commission, coupled with the Company’s regulations governing punishment. The Company has made prescription for persons who have direct responsibility to receive data information. As for computer system, rights have been prescribed for recalling data by each person as there is the password to use for access to the system in order to protect the interests of the Company.
(6)Internal Control
The Board has appointed Audit Committee to revise financial report to be prepared according to accounting Standard, SET regulation and relevant law, good governance practice, risk management evaluation, efficient and effective internal control, good audit system, select external auditor and other assigned by Board. Audit Committee will assign Internal Audit Department to audit and report directly to them quarterly, and bring to Board for information quarterly too.
73 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
At the Fifth Meeting of Board of Directors on 3 November 2010, there were three Member of Audit committee attended. Board of Directors made consideration and evaluations of the internal control as reflected in the report. It is decided that the Company’s internal control system is adequate and covers areas as follows: 1. Organization and Environment. 2. Risk management. 3. Controlling the works of the Management. 4. Data information system and communication. 5. Monitoring system. In 2010, the Company’s Board of Directors made consideration and issued comments that the Company has performed in accordance with accounting principles and standard adopted by the Federation of Accounting Profession and in conformity with the Notification of SET for reporting the Financial Report quarterly and Financial Report for 2010. Moreover, there is no abnormality that does not conform to the good business and accounting principles. The internal control and audit system is immaculate.
74 Annual Report 2010
Management Discussion and Analysis
1. Report on Business Operations
1.1 Capital structure was still good due to ability to party repay loan. 1.2 Liquidity sounded good. The Company is capable to pay debts and goods continued sold throughout the year. 1.3 Quality of Assets: Company’s Assets were in good condition. No other impairment asset and the most of debts were not yet due for payment. 1.4 Profitability and efficiency of the Company in 2010 decreased. Net profit of Baht 115.76 Million compared to Baht 70.28 Million in 2008. Because gross profit was lower from cost of sales lower than sales.
2. Changes in items or analysis of major ratios.
2.1 Sales decreased from previous year because pricing decreased 14%. 2.2 Debt collections average was slower from 22 days in 2009 to 24 days in 2010 because payment was longer than 2009. 2.3 Ratio of profit to total sales decreased from 2.70% in 2009 to 1.72% in 2010 because gross profit decreased.
Audit Fee
In 2010, the amount of Baht 940,000 being audit fee was paid by the company to external auditor, Mr. Sophon Permsirivallop of Ernst and Young Office Limited without any other service charges.
Report of Independent Auditor
75 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary
To the Shareholders of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
I have audited the accompanying balance sheets of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited as at 31 December 2010 and 2009, the related statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended, and the consolidated balance sheets of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary as at 31 December 2009, the related consolidated statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years ended 31 December 2010 and 2009. These financial statements are the responsibility of the Company’s management as to their correctness and the completeness of the presentation. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statement presentation. I believe that my audits, together with the report of the another auditor discussed in the first paragraph, provide a reasonable basis for my opinion. In my opinion, the financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the financial position of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited as at 31 December 2010 and 2009, the results of its operations, and cash flows for the years then ended and the financial position of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary as at 31 December 2009, the results of its operations, and cash flows for the years ended 31 December 2010 and 2009, in accordance with generally accepted accounting principles.
Sophon Permsirivallop
Certified Public Accountant (Thailand) No. 3182 Ernst & Young Office Limited Bangkok: 23 February 2011
76 Annual Report 2010
Balance sheets Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary As at 31 December 2010 and 2009
Note
Separate financial statements 2010 2009
(Unit: Baht) Consolidated financial statements
2009
Assets Current assets Cash and cash equivalents 6 Trade accounts receivable - net 7 Inventories - net 8 Amounts placed for trading under forward palm oil contracts 9 Other current assets - net 10 Total current assets
65,636,403 155,460,264 224,645,757 313,013,487 299,025,809 360,820,218 49,437,240 53,451,590 11,410,998 17,617,973 650,156,207 900,363,532
155,864,732 313,013,487 360,820,218 53,451,590 17,618,006 900,768,033
Investment in a subsidiary 11 - 999,930 Property, plant and equipment - net 12 1,719,644,532 1,698,632,203 Cost of palm trees - net 13 81,722,610 52,147,139 Intangible asset - net 14 1,174,988 698,206 Deposits 155,801 180,693 Total non-current assets 1,802,697,931 1,752,658,171 Total assets 2,452,854,138 2,653,021,703 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
- 1,698,632,203 52,147,139 698,206 180,693 1,751,658,241 2,652,426,274
Non-current assets
Balance sheets (continued) Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary As at 31 December 2010 and 2009
Liabilities and shareholders’ equity Current liabilities
Note
Short-term loans from banks 15 Trade accounts payable Current portion of long-term loans 16 Current portion of liabilities under finance leases 17 Value added tax payable Other current liabilities Total current liabilities
Non-current liabilities
Long-term loans Liabilities under finance leases
Separate financial statements 2010 2009
(Unit: Baht) Consolidated financial statements
2009
460,000,000 450,000,000 450,000,000 43,088,062 70,558,542 70,558,542 132,000,000 216,361,226 216,361,226 1,439,743 1,390,000 1,390,000 15,487,228 15,720,158 15,720,158 24,828,816 35,853,933 35,874,003 676,843,849 789,883,859 789,903,929
16 285,000,000 17 758,311 non-current liabilities 285,758,311 liabilities 962,602,160
Total Total Shareholders’ equity
77 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
385,000,000 2,137,868 387,137,868 1,177,021,727
385,000,000 2,137,868 387,137,868 1,177,041,797
Share capital Registered 280,289,521 ordinary shares of Baht 1 each 280,289,521 280,289,521 280,289,521 Issued and paid-up 280,289,020 ordinary shares of Baht 1 each 280,289,020 280,289,020 280,289,020 Share premium 249,433,731 249,433,731 249,433,731 Unrealised gain Revaluation surplus on assets 18 470,696,103 470,696,103 470,696,103 Retained earnings Appropriated - statutory reserve 19 28,028,952 28,028,952 28,028,952 Unappropriated 461,804,172 447,552,170 446,936,671 Total shareholders’ equity 1,490,251,978 1,475,999,976 1,475,384,477 Total liabilities and shareholders’ equity 2,452,854,138 2,653,021,703 2,652,426,274 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
78 Annual Report 2010
Income statements Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary For the years ended 31 December 2010 and 2009
(Unit: Baht)
Separate financial statements Note 2010 2009
Consolidated financial statements 2010 2009
Revenues Sales and service income 4,072,257,286 4,272,358,389 4,072,257,286 4,272,358,389 Gain on disposals of office rental area - 15,018,842 - 15,018,842 and equipment Other income 5,255,532 7,115,221 5,256,073 7,116,528 Total revenues 4,077,512,818 4,294,492,452 4,077,513,359 4,294,493,759
Expenses
Cost of sales and service 3,725,094,248 3,895,612,815 3,725,094,248 3,895,612,815 Selling expenses 67,067,984 74,732,186 67,067,984 74,732,186 Administrative expenses 165,864,019 150,181,160 165,895,175 150,201,690 Management benefit expenses 15,355,280 17,219,370 15,355,280 17,219,370 Other expenses 5,776,746 - 5,776,746 - Total expenses 3,979,158,277 4,137,745,531 3,979,189,433 4,137,766,061 Income before finance cost 98,354,541 156,746,921 98,323,926 156,727,698 Finance cost (28,044,735) (40,970,746) (28,044,735) (40,970,746) Net income for the year 21 70,309,806 115,776,175 70,279,191 115,756,952 Basic earnings per share 23 Net income 0.25 0.41 0.25 0.41 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
Statements of cash flows Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary For the years ended 31 December 2010 and 2009
Separate financial statements 2010 2009
79 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
(Unit: Baht)
Consolidated financial statements 2010 2009
Cash flows from operating activities
115,756,952
Net income before tax 70,309,806 115,776,175 70,279,191 Adjustments to reconcile net income before tax to net cash provided by (paid from) operating activities Depreciation and amortisation 136,333,525 134,388,617 136,333,525 134,388,617 Loss (gain) on disposals of office rental area 5,130,451 (15,018,842) 5,130,451 (15,018,842) and equipment Allowance for doubtful accounts (reversal) 800,000 (500,000) 800,000 (500,000) Allowance for diminution in value 465,352 (7,285,441) 465,352 (7,285,441) of inventories (reversal) Loss on return of capital by subsidiary 646,114 - 646,114 - Unrealised loss (gain) on exchange rate (241,387) 3,214,926 (241,387) 3,214,926 Interest income (254,813) (1,244,458) (255,308) (1,245,765) Interest expense 26,394,735 39,670,494 26,394,735 39,670,494 Income from operating activities before changes in operating assets and liabilities 239,583,783 269,001,471 239,552,673 268,980,941 Operating assets (increase) decrease Trade accounts receivable 87,567,730 (112,924,026) 87,567,730 (112,924,026) Inventories 61,329,057 92,365,053 61,329,057 92,365,053 Other current assets 10,545,380 (25,363,090) 10,545,413 (25,363,090) Deposits 24,892 (1,200) 24,892 (1,200) Operating liabilities increase (decrease) Trade accounts payable (27,470,480) (61,916,234) (27,470,480) (61,916,234) Other current liabilities (11,179,712) 6,303,832 (11,199,782) 6,303,832 Cash from operating activities 360,400,650 167,465,806 360,349,503 167,445,276 Cash paid for corporate income tax (82,668) (3,254,670) (82,668) (3,254,684) Net cash flows from operating activities 360,317,982 164,211,136 360,266,835 164,190,592 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
80 Annual Report 2010
Statements of cash flows (continued) Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary For the years ended 31 December 2010 and 2009
(Unit: Baht)
Separate financial statements 2010 2009
Consolidated financial statements 2010 2009
Cash flows from investing activities Interest income 254,813 1,244,458 255,308 1,245,765 Cash receipt from return of capital by subsidiary 353,816 - - - Acquisitions of property, plant and equipment (157,308,051) (100,954,881) (157,308,051) (100,954,881) Proceeds from disposals of office rental area and equipment 2,156,884 21,019,900 2,156,884 21,019,900 Increase in cost of palm trees (31,945,655) (18,083,020) (31,945,655) (18,083,020) Acquisitions of intangible asset (746,218) (197,341) (746,218) (197,341) Cash paid for interest expense (31,299,146) (39,780,074) (31,299,146) (39,780,074) Net cash flows used in investing activities (218,533,557) (136,750,958) (218,886,878) (136,749,651) Cash flows from financing activities Increase in short-term loans from banks 10,000,000 75,000,000 10,000,000 75,000,000 Cash receipt from long-term loans 250,000,000 250,000,000 250,000,000 250,000,000 Repayment of long-term loans (434,361,226) (304,240,000) (434,361,226) (304,240,000) Repayment of liabilities under finance leases (1,329,814) (1,136,256) (1,329,814) (1,136,256) Dividend payment (55,917,246) (100,904,047) (55,917,246) (100,904,047) Net cash flows used in financing activities (231,608,286) (81,280,303) (231,608,286) (81,280,303) Net decrease in cash and cash equivalents (89,823,861) (53,820,125) (90,228,329) (53,839,362) Cash and cash equivalents at beginning of year 155,460,264 209,280,389 155,864,732 209,704,094 Cash and cash equivalents at end of year 65,636,403 155,460,264 65,636,403 155,864,732
Supplemental cash flows information:
Non-cash transactions Acquisitions of vehicles by finance leases - The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
4,664,124
-
4,664,124
-
-
- 70,309,806 70,309,806
280,289,020 249,433,731 470,696,103 28,028,952 461,804,172 1,490,251,978
- - - (56,057,804) (56,057,804)
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103 28,028,952 447,552,170 1,475,999,976
28,028,952 447,552,170 1,475,999,976
- - - (100,904,047) (100,904,047)
- - - 115,776,175 115,776,175
280,289,020 249,433,731 470,696,103
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
-
26 -
Balance as at 31 December 2010
Dividend paid
Net income for the year
Revaluation Appropriated- surplus statutory Unappropriated on assets reserve Total
280,289,020 249,433,731 470,696,103 28,028,952 432,680,042 1,461,127,848
26 -
Balance as at 31 December 2009 Balance as at 31 December 2009
Dividend paid
Net income for the year
Balance as at 31 December 2008
Issued and paid-up Share Note share capital premium
Separate financial statements Retained earnings
(Unit: Baht)
Statements of changes in shareholders’ equity Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
81
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary For the years ended 31 December 2010 and 2009
-
-
- (56,057,804) (56,057,804)
- 70,279,191 70,279,191
28,028,952 446,936,671 1,475,384,477
28,028,952 446,936,671 1,475,384,477
- (100,904,047) (100,904,047)
280,289,020 249,433,731 470,696,103 28,028,952 461,158,058 1,489,605,864
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
Balance as at 31 December 2010
- -
26
Dividend paid
-
280,289,020 249,433,731 470,696,103 -
280,289,020 249,433,731 470,696,103
Net income for the year
Balance as at 31 December 2009
Balance as at 31 December 2009
-
-
26 -
Dividend paid
280,289,020 249,433,731 470,696,103 28,028,952 432,083,766 1,460,531,572 - - - 115,756,952 115,756,952
Net income for the year -
Balance as at 31 December 2008
Revaluation Appropriated- surplus statutory Unappropriated on assets reserve Total
82
Issued and paid-up Share Note share capital premium
Consolidated financial statements Retained earnings
(Unit: Baht) Annual Report 2010
Statements of changes in shareholders’ equity (continued) Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary For the years ended 31 December 2010 and 2009
Notes to consolidated financial statements
83 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary For the years ended 31 December 2010 and 2009
1. General information
Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited (“the Company”) is a public company incorporated and domiciled in Thailand. Its major shareholder is Chumporn Holding Company Limited, which was incorporated in Thailand. The Company is principally engaged in the manufacture and distribution of palm oil products and its registered address, which is the head office, is 296 Moo 2, Phetchkasem Road, Tambon Salui, Ampur Tasae, Chumporn. The Company’s branch is located at 1168/91 Lumpini Tower 30th Floor, Rama 4 Road, Sathorn, Bangkok.
2. Basis of preparation
2.1 The financial statements have been prepared in accordance with accounting standards enunciated under the Accounting Profession Act B.E. 2547 and their presentation has been made in compliance with the stipulations of the Notification of the Department of Business Development dated 30 January 2009, issued under the Accounting Act B.E. 2543. The financial statements in Thai language are the official statutory financial statements of the Company. The financial statements in English language have been translated from such financial statements in Thai language. The financial statements have been prepared on a historical cost basis except where otherwise disclosed in the accounting policies. 2.2 Basis of consolidation a) These financial statements are prepared without the consolidated balance sheet of Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited and its subsidiary as at 31 December 2010. This is because on 24 June 2010, an extraordinary general meeting of the shareholders of the subsidiary passed a special resolution to dissolve that company, and the subsidiary filed for deregistration with the Ministry of Commerce on 1 July 2010. However, the consolidated statements of income, consolidated statements of changes in shareholders’ equity and cash flows for the year ended 31 December 2010 have been prepared by incorporating the results of the operations of CPI Biodiesel Company Limited, the subsidiary, from 1 January 2010 to 1 July 2010. Percentage of total assets and total revenues of the subsidiary as included in the consolidated financial statements are as follows:
Assets as Revenues as a percentage to a percentage to Country the consolidated the consolidated Company’s name Nature of of Percentage of total assets as at total revenues for business incor- shareholding 31 December the years ended poration 31 December 2009 2009 2010 2009 % % % % CPI Biodiesel Co., Ltd.
Manufacture and distribution of biodiesel Thailand
100
0.02
-
-
84 Annual Report 2010
b) Subsidiary is fully consolidated as from the date of acquisition, being the date on which the Company obtains control, and continues to be consolidated until the date when such control ceases. c) The financial statements of the subsidiary are prepared using the same significant accounting policies as the Company. d) Material balances and transactions between the Company and its subsidiary company have been eliminated from the consolidated financial statements. 2.3 The separate financial statements, which present investment in a subsidiary presented under the cost method, have been prepared solely for the benefit of the public.
3. Adoption of new accounting standards
During the current year, the Federation of Accounting Professions issued a number of revised and new accounting standards as listed below. a) Accounting standards that are effective for fiscal years beginning on or after 1 January 2011 (except Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements, which is immediately effective): Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements (revised 2009) TAS 1 (revised 2009) Presentation of Financial Statements TAS 2 (revised 2009) Inventories TAS 7 (revised 2009) Statement of Cash Flows TAS 8 (revised 2009) Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors TAS 10 (revised 2009) Events after the Reporting Period TAS 11 (revised 2009) Construction Contracts TAS 16 (revised 2009) Property, Plant and Equipment TAS 17 (revised 2009) Leases TAS 18 (revised 2009) Revenue TAS 19 Employee Benefits TAS 23 (revised 2009) Borrowing Costs TAS 24 (revised 2009) Related Party Disclosures TAS 26 Accounting and Reporting by Retirement Benefit Plans TAS 27 (revised 2009) Consolidated and Separate Financial Statements TAS 28 (revised 2009) Investments in Associates TAS 29 Financial Reporting in Hyperinflationary Economies TAS 31 (revised 2009) Interests in Joint Ventures TAS 33 (revised 2009) Earnings per Share TAS 34 (revised 2009) Interim Financial Reporting TAS 36 (revised 2009) Impairment of Assets TAS 37 (revised 2009) Provisions, Contingent Liabilities and Contingent Assets TAS 38 (revised 2009) Intangible Assets TAS 40 (revised 2009) Investment Property TFRS 2 Share-Based Payment TFRS 3 (revised 2009) Business Combinations TFRS 5 (revised 2009) Non-current Assets Held for Sale and Discontinued Operations TFRS 6 Exploration for and Evaluation of Mineral Resources TFRIC 15 Agreements for the Construction of Real Estate
85 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
b) Accounting standards that are effective for fiscal years beginning on or after 1 January 2013: TAS 12 Income Taxes TAS 20 (revised 2009) Accounting for Government Grants and Disclosure of Government Assistance TAS 21 (revised 2009) The Effects of Changes in Foreign Exchange Rates The Company’s management believes that these accounting standards will not have any significant impact on the financial statements for the year when they are initially applied, except for the following accounting standards which management expects the impact on the financial statements in the year when they are adopted.
TAS 19 Employee Benefits
TAS 12 Income Taxes
This accounting standard requires employee benefits to be recognised as expense in the period in which the service is performed by the employee. In particular, an entity has to evaluate and make a provision for post-employment benefits using actuarial techniques. Currently, the Company accounts for such employee benefits when they are incurred. At present, the management is evaluating the impact on the financial statements in the year when this standard is adopted. This accounting standard requires an entity to identify temporary differences, which are differences between the carrying amount of an asset or liability in the accounting records and its tax base, and to recognise deferred tax assets and liabilities under the stipulated guidelines. At present, the management is evaluating the impact on the financial statements in the year when this standard is adopted.
4. Significant accounting policies 4.1 Revenue recognition
Sales of goods
Rendering of services
Sales of goods are recognised when the significant risks and rewards of ownership of the goods have passed to the buyer. Sales are the invoiced value, excluding value added tax, of goods supplied after deducting discounts and allowances.
Service revenue is recognised when services have been rendered taking into account the stage of completion.
4.2 Cash and cash equivalents
Cash and cash equivalents consist of cash in hand, cash at banks, and all highly liquid investments with an original maturity of three months or less and not subject to withdrawal restrictions.
4.3 Trade accounts receivable
Trade accounts receivable are stated at the net realisable value. Allowance for doubtful accounts is provided for the estimated losses that may be incurred in collection of receivables. The allowance is generally based on collection experiences and analysis of debt aging.
86 Annual Report 2010
4.4 Inventories
Inventories are valued at the lower of average cost and net realisable value. The cost of finished goods includes all production costs and attributable factory overheads. Raw materials, spare parts and factory supplies are charged to production costs whenever consumed.
4.5 Investment in a subsidiary
Investment in a subsidiary is accounted for in the separate financial statements using the cost method.
4.6 Property, plant and equipment and depreciation
Land is stated at revalued amount. Buildings and equipment are stated at cost less accumulated depreciation and allowance for loss on impairment of assets (if any). Land is initially recorded at cost on the acquisition date, and subsequently revalued by an independent professional appraiser to their fair values. Revaluations are made with sufficient regularity to ensure that the carrying amount does not differ materially from fair value at the balance sheet date. Differences arising from the revaluation are dealt with in the financial statements as follows: When an asset’s carrying amount is increased as a result of a revaluation of the Company’s assets, the increase is credited directly to equity under the heading of “Revaluation surplus on assets”. However, a revaluation increase will be recognised as income to the extent that it reverses a revaluation decrease of the same asset previously recognised as an expense. When an asset’s carrying amount is decreased as a result of a revaluation of the Company’s assets, the decrease is recognised as an expense in the income statement. However, a revaluation decrease is to be charged directly against the related “Revaluation surplus of assets” to the extent that the decrease does not exceed the amount held in the “Revaluation surplus of assets” in respect of those same assets. Any excess amount is to be recognised as an expense in the income statement. Depreciation of plant and equipment is calculated by reference to their costs on the straight-line basis over the following estimated useful lives: Land improvement - 5 and 10 years Buildings - 10 and 20 years Building improvement - 10 years Machinery and equipment - 5, 10 and 20 years Tools and factory equipment - 5, 10 and 20 years Motor vehicles - 5 years Furniture, fixtures and office equipment - 5 and 10 years Depreciation is included in determining income. No depreciation is provided on land and assets under installation and under construction. An item of property, plant and equipment is derecognised upon disposal or when no future economic benefits are expected from its use or disposal. Any gain or loss arising on disposal of an asset (calculated as the difference between the net disposal proceeds and the carrying amount of the asset) is included in the income statement when the asset is derecognised.
87 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
4.7 Cost of palm trees and amortisation
Cost of palm trees of the Company consists of costs and expenses which are directly related to oil palm seeding and plantation activities, and were incurred before the production period, it is recorded as an asset item. Cost of palm trees is stated at cost less accumulated amortisation. Amortisation is calculated by reference to cost on a straight-line basis over the expected future period, for which the assets are expected to generate economic benefit, of 20 years. The amortisation is included in determining income. No amortisation is provided on cost of palm trees not ready for harvest.
4.8 Intangible assets and amortisation
Intangible assets acquired are measured at cost. Following initial recognition, intangible assets are carried at cost less any accumulated amortisation and any accumulated impairment losses. Intangible assets with finite lives are amortised on a systematic basis over the useful economic useful life and tested for impairment whenever there is an indication that the intangible asset may be impaired. The amortisation period and the amortisation method of such intangible assets are reviewed at least at each financial year end. The amortisation expense is charged to the income statement. The useful life of software is 5 years.
4.9 Borrowing costs
Borrowing costs directly attributable to the acquisition, construction or production of an asset that necessarily takes a substantial period of time to get ready for its intended use or sale are capitalised as part of the cost of the respective assets. All other borrowing costs are expensed in the period they are incurred. Borrowing costs consist of interest and other costs that an entity incurs in connection with the borrowing of funds.
4.10 Related party transactions
Related parties comprise enterprises and individuals that control or are controlled by the Company, whether directly or indirectly, or which are under common control with the Company. They also include associated companies and individuals which directly or indirectly own a voting interest in the Company that gives them significant influence over the Company, and key management personnel, directors and officers with authority in the planning and direction of the Company’s operations.
4.11 Long-term leases
Leases of equipment which transfer substantially all the risks and rewards of ownership are classified as finance leases. Finance leases are capitalised at the lower of the fair value of the leased assets and the present value of the minimum lease payments. The outstanding rental obligations, net of finance charges, are included in other long-term payables, while the interest element is charged to the income statements over the lease period. The equipment acquired under finance leases is depreciated over the shorter of the useful life of the asset and the lease period. Operating lease payments are recognised as an expense in the income statement on a straight line basis over the lease term.
4.12 Foreign currencies
Transactions in foreign currencies are translated into Baht at the exchange rate ruling at the date of the transaction. Monetary assets and liabilities denominated in foreign currencies are translated into Baht at the exchange rate ruling at the balance sheet date.
88 Annual Report 2010
Gains and losses on exchange are included in determining income.
4.13 Impairment of assets
At each reporting date, the Company performs impairment reviews in respect of the property, plant and equipment and intangible assets whenever events or changes in circumstances indicate that an asset may be impaired. An impairment loss is recognised when the recoverable amount of an asset, which is the higher of the asset’s fair value less costs to sell and its value in use, is less than the carrying amount. In determining value in use, the estimated future cash flows are discounted to their present value using a pre-tax discount rate that reflects current market assessments of the time value of money and the risks specific to the asset. In determining fair value less costs to sell, an appropriate valuation model is used. These calculations are corroborated by a valuation model that, based on information available, reflects the amount that the Company could obtain from the disposal of the asset in an arm’s length transaction between knowledgeable, willing parties, after deducting the costs of disposal. An impairment loss is recognised in the income statement. However in cases where property, plant and equipment was previously revalued and the revaluation was taken to equity, a part of such impairment is recognised in equity up to the amount of the previous revaluation.
4.14 Employee benefits
Salaries, wages, bonuses and contributions to the social security fund and provident fund are recognised as expenses when incurred.
4.15 Provisions
Provisions are recognised when the Company has a present obligation as a result of a past event, it is probable that an outflow of resources embodying economic benefits will be required to settle the obligation, and a reliable estimate can be made of the amount of the obligation.
4.16 Income tax
Income tax is provided in the accounts at the amount expected to be paid to the taxation authorities, based on taxable profits determined in accordance with tax legislation.
5. Significant accounting judgments and estimates
The preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles at times requires management to make subjective judgments and estimates regarding matters that are inherently uncertain. These judgments and estimates affect reported amounts and disclosures and actual results could differ. The significant accounting judgments and estimates are as follows:
Leases
Allowance for doubtful accounts
In determining whether a lease is to be classified as an operating lease or finance lease, the management is required to use judgment regarding whether significant risk and rewards of ownership of the leased asset have been transferred, taking into consideration terms and conditions of the arrangement. In determining an allowance for doubtful accounts, the management needs to make judgment and estimates based upon, among other things, debt collection experience, aging profile of outstanding debts and the prevailing economic condition.
89 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
Fair value of financial instruments
Property, plant and equipment and depreciation
In determining the fair value of financial instruments that are not actively traded and for which quoted market prices are not readily available, the management exercises judgment, using a variety of valuation techniques and models. The input to these models is taken from observable markets, and includes consideration of liquidity, correlation and longer-term volatility of financial instruments. In determining depreciation of plant and equipment, the management is required to make estimates of the useful lives and salvage values of the Company’s plant and equipment and to review estimate useful lives and salvage values when there are any changes. The Company measures land at revalued amounts. Fair value from revaluation is determined by independent valuer using market approach. Such valuation is based on certain assumptions and estimates.
6. Cash and cash equivalents
(Unit: Baht)
Consolidated Separate financial statements financial statements
2010
2009
2009
Cash 353,000 153,000 155,000 Bank deposits 65,283,403 155,307,264 155,709,732 Total 65,636,403 155,460,264 155,864,732 As at 31 December 2010, bank deposits in saving accounts carried interest rate at 0.13% - 0.25% per annum (2009: between 0.15% and 1.00% per annum).
7. Trade accounts receivable
The balances of trade accounts receivable as at 31 December 2010 and 2009, aged on the basis of due dates, are summarised below. (Unit: Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements
Age of receivables
Not yet due Past due Up to 1 month 2 - 3 months 3 - 6 months 6 - 12 months Over 12 months Total Less: Allowance for doubtful accounts Trade accounts receivable - net
2010
2009
2009
177,457,396
223,873,098
223,873,098
43,542,682 487,875 - 3,731,998 10,591,063 235,811,014 (11,165,257) 224,645,757
85,745,830 200 14,269 3,379,985 10,365,362 323,378,744 (10,365,257) 313,013,487
85,745,830 200 14,269 3,379,985 10,365,362 323,378,744 (10,365,257) 313,013,487
90 Annual Report 2010
8. Inventories
Separate financial statements
Cost
2010
(Unit: Baht)
Allowance for diminution in value of inventories
2009
Finished goods 130,716,975 173,396,956 Raw materials 124,804,824 138,808,172 Work in process 4,578,108 10,074,998 Spare parts and factory supplies 41,219,813 40,368,651 Total 301,319,720 362,648,777
2010
2009
(365,969) - - (1,927,942) (2,293,911)
Inventories - net
2010
2009
(1,828,559) 130,351,006 171,568,397 - 124,804,824 138,808,172 - 4,578,108 10,074,998 - 39,291,871 40,368,651 (1,828,559) 299,025,809 360,820,218 (Unit: Baht)
Consolidated financial statements 2009 Cost Finished goods Raw materials Work in process Spare parts and factory supplies Total
173,396,956 138,808,172 10,074,998 40,368,651 362,648,777
Allowance for Inventories diminution in value - net of inventories (1,828,559) - - - (1,828,559)
171,568,397 138,808,172 10,074,998 40,368,651 360,820,218
9. Amounts placed for trading under forward palm oil contracts
Amounts placed for trading under forward palm oil contracts comprise guarantees for forward palm oil contracts and realised gains/losses arising as a result of these forward contracts.
10. Other current assets
Advances for purchases of assets Prepaid expenses Loans to employees Others Total Less: Allowance for doubtful accounts Other current assets - net
(Unit: Baht)
Consolidated Separate financial statements financial statements
2010
2009
2009
2,988,427 7,117,428 755,198 1,230,639 12,091,692 (680,694) 11,410,998
4,256,500 9,836,223 1,580,337 2,625,607 18,298,667 (680,694) 17,617,973
4,256,500 9,836,223 1,580,337 2,625,640 18,298,700 (680,694) 17,618,006
91 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
11. Investment in a subsidiary
Details of investment in a subsidiary as presented in separate financial statements are as follows:
Company’s name Paid-up capital
Shareholding percentage Cost
2010 2009 2010
(Unit: Baht)
Dividend received during the year
2009 2010 2009 2010 2009
(%) (%) CPI Biodiesel Co., Ltd. - 1,000,000 - 100 Total
- -
999,930 999,930
- -
- -
On 24 June 2010, an extraordinary general meeting of the subsidiary’s shareholders passed a special resolution to dissolve that company, and the subsidiary filed for deregistration with the Ministry of Commerce on 1 July 2010. On 29 July 2010, an extraordinary general meeting of the subsidiary’s shareholders passed a special resolution to liquidate the company, which filed for liquidation with the Ministry of Commerce on 10 August 2010.
12. Property, plant and equipment
Separate financial statements
Revaluation Cost basis basis Buildings Machinery Tools and Furniture, Assets under Land and and factory Motor fixtures and installation Land improvement building equipment equipment vehicles office and under improvement equipment construction
(Unit: Baht)
Total
Cost / Revalued amount: 31 December 2009 543,349,293 152,409,272 352,987,507 1,341,851,123 22,985,618 93,085,559 82,854,031 72,108,917 2,661,631,320 Additions - - - 17,127,448 1,745,396 5,083,013 4,446,964 133,590,748 161,993,569 Disposals - (393,000) (3,623,425) (29,933,265) (887,486) (258,430) (2,719,579) - (37,815,185) Transfers - 8,735,246 12,412,881 54,321,157 1,219,793 2,484,000 776,702 (79,949,779) - 31 December 2010 543,349,293 160,751,518 361,776,963 1,383,366,463 25,063,321 100,394,142 85,358,118 125,749,886 2,785,809,704 Accumulated depreciation: 31 December 2009 - 62,249,338 148,871,226 618,763,413 14,197,417 68,810,505 50,107,218 - 962,999,117 Depreciation charged - 7,464,537 18,586,974 91,533,360 2,681,002 6,758,380 6,721,790 - 133,746,043 for the year Depreciation on disposals - (149,448) (3,156,074) (23,730,463) (711,541) (254,295) (2,578,167) - (30,579,988) 31 December 2010 - 69,564,427 164,302,126 686,566,310 16,166,878 75,314,590 54,250,841 - 1,066,165,172 Net book value: 31 December 2009 543,349,293 90,159,934 204,116,281 723,087,710 8,788,201 24,275,054 32,746,813 72,108,917 1,698,632,203 31 December 2010 543,349,293 91,187,091 197,474,837 696,800,153 8,896,443 25,079,552 31,107,277 125,749,886 1,719,644,532 Depreciation for the year 2009 (Baht 105.9 million included in manufacturing cost, and the remaining balance in administrative expenses) 130,738,050 2010 (Baht 110.2 million included in manufacturing cost, and the remaining balance in administrative expenses) 133,746,043
92 Annual Report 2010
A breakdown of land carried on the revaluation basis is as follows:
(Unit: Baht)
Consolidated Separate financial statements financial statements
Land
Original cost Surplus from revaluation Revalued amount
2010
2009
2009
72,653,190 470,696,103 543,349,293
72,653,190 470,696,103 543,349,293
72,653,190 470,696,103 543,349,293
In 2008, the Company arranged for an independent professional valuer to reappraise the value of land. The basis of the revaluation used was the market approach. The revaluation value of the land is Baht 38.5 million, which is higher than the value per the previous revaluation was conducted in 2003. The Company recognised the increase in equity under the heading of “Revaluation surplus on assets�. Borrowing costs totaling approximately Baht 4.69 million were capitalised as part of the assets during the year 2010 (2009: Baht 0.31million). As at 31 December 2010, the Company had a vehicle under finance lease agreement with net book value amounting to Baht 3.98 million (2009: Baht 5.09 million). As at 31 December 2010, certain plant and equipment items have been fully depreciated but are still in use. The gross carrying amount (before deducting accumulated depreciation of those assets amounted to Baht 289.9 million (2009: Baht 259.7 million).
13. Cost of palm trees
(Unit: Baht)
Separate financial statements
Cost:
Cost of palm Cost of palm trees ready trees not ready for harvest for harvest
Total
31 December 2009 Additions Disposals 31 December 2010
32,901,276 7,992,056 (1,709,832) 39,183,500
35,345,366 23,953,599 - 59,298,965
68,246,642 31,945,655 (1,709,832) 98,482,465
31 December 2009 Amortisation charged for the year Amortisation on disposals 31 December 2010
16,099,503 2,318,046 (1,657,694) 16,759,855
- - - -
16,099,503 2,318,046 (1,657,694) 16,759,855
31 December 2009 31 December 2010
16,801,773 22,423,645
35,345,366 59,298,965
52,147,139 81,722,610
2009 2010
2,294,076 2,318,046
Accumulated amortisation:
Net book value:
Amortisation for the year (included in manufacturing cost)
93 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
As at 31 December 2010, palm trees costing a total of Baht 9.97 million (2009: Baht 7.84 million) were located on land over which the Company had only occupancy rights.
14. Intangible asset
Details of intangible asset which is software are as follows:
(Unit: Baht) Separate financial statements
Cost:
1 January 2009 Additions 31 December 2009 Additions 31 December 2010
10,759,685 197,341 10,957,026 746,218 11,703,244
1 January 2009 Amortisation 31 December 2009 Amortisation 31 December 2010
8,902,329 1,356,491 10,258,820 269,436 10,528,256
31 December 2009 31 December 2010
698,206 1,174,988
Amortisation:
Net book value:
15. Short-term loans from banks
The Company has short-term loans from banks in the form of unsecured promissory notes with maturities of 1 - 2 months and call notes, amounting to Baht 420 million and Baht 40 million, respectively (2009: Promissory notes with maturities of 1 - 3 months and call notes amounting to Baht 360 million and Baht 90 million, respectively), carrying interest at rates of 1.79% - 2.15% per annum (2009: 1.80% - 1.85% per annum).
16. Long-term loans
Repayment condition 1) Credit line of Baht 350 million 2) Credit line of Baht 50 million
Semi-annual installments of Baht 35 million each, from May 2007 to November 2011. Quarterly installments with first and second installments of Baht 1 million and following installments of Baht 2.4 million. The repayment period is from September 2005 to December 2010.
(Unit: Million Baht)
Consolidated Separate financial statements financial statements
2010
2009
2009
-
70.00
70.00
-
9.60
9.60
94 Annual Report 2010
Repayment condition
(Unit: Million Baht)
Consolidated Separate financial statements financial statements
2010
2009
2009
3) Credit line of Baht Quarterly installments of Baht 4.20 million for - 16.76 16.76 80 million the first 12 installments and Baht 4.16 million for the final installment. The repayment period is from October 2007 to 2010. 4) Credit line of Baht 20 quarterly installments of Baht 7.5 million - 105.00 105.00 150 million from September 2008 to June 2013. 5) Credit line of Baht 4 quarterly installments, the repayment period - 150.00 150.00 200 million is from October 2009 to July 2010. 6) Credit line of Baht Within August 2011. - 50.00 50.00 50 million 7) Credit line of Baht Quarterly installments of Baht 10 million each, 190.00 200.00 200.00 200 million from November 2010 to August 2015. 8) Credit line of Baht Quarterly installments of Baht 23 million for 227.00 - - 650 million the first 27 installments and Baht 29 million for the final installment. The repayment period is within November 2017. Total 417.00 601.36 601.36 Less: Current portion (132.00) (216.36) (216.36) Non-current portion 285.00 385.00 385.00 As at 31 December 2010, the loans carry interest at the rates of 3.87% - 4.12% per annum (2009: 2.75% - 5.00% per annum). The loan agreements contain covenants as specified in the agreements pertaining to matters such as creating lien over assets and maintaining certain debt to equity and debt service coverage ratios according to the agreements. As at 31 December 2010, the long-term credit facilities of the Company which have not yet been drawn down amounted to Baht 400 million (2009: nil).
17. Liabilities under finance leases
Liabilities under finance leases Less: Deferred interest expense Total Less: Portion due within one year Liabilities under finance leases - net of current portion
(Unit: Baht)
Consolidated Separate financial statements financial statements
2010
2009
2009
2,332,062 (134,008) 2,198,054 (1,439,743) 758,311
3,886,770 (358,902) 3,527,868 (1,390,000) 2,137,868
3,886,770 (358,902) 3,527,868 (1,390,000) 2,137,868
95 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
The Company has entered into the finance lease agreement with leasing company to rent a motor vehicle for use in its operation, whereby it is committed to pay rental on a monthly basis. The term of the agreement is 3 years. As at 31 December 2010, future minimum lease payments required under the finance lease agreement were as follows: (Unit: Baht)
Separate financial statements
Less than 1 year 1 - 2 years
Future minimum lease payments Deferred interest expense Present value of future minimum lease payments
1,554,708 (114,965) 1,439,743
777,354 (19,043) 758,311
Total 2,332,062 (134,008) 2,198,054
18. Revaluation surplus on assets
This represents surplus arising from revaluation of land. The revaluation surplus can neither be offset against deficit nor used for dividend payment.
19. Statutory reserve
Pursuant to Section 116 of the Public Limited Companies Act B.E. 2535, the Company is required to set aside to a statutory reserve at least 5% of its net income after deducting accumulated deficit brought forward (if any), until the reserve reaches 10% of the registered capital. The statutory reserve is not available for dividend distribution.
20. Expenses by nature
Significant expenses by nature are as follows:
(Unit: Baht) Separate financial statements Consolidated financial statements
Salary, wages and other employee benefits Depreciation Raw materials and consumables used Changes in finished goods
2010
2009
2010
2009
183,365,468 133,746,043 3,132,535,106 42,679,981
184,148,867 130,738,050 3,238,177,650 83,142,550
183,365,468 133,746,043 3,132,535,106 42,679,981
184,148,867 130,738,050 3,238,177,650 83,142,550
21. Corporate income tax
Corporate income tax of the Company has been calculated on the income from the non-promoted activities after adding back certain provisions and expenses which are disallowable for tax computation purposes. The Company is not liable to corporate income tax for the years 2010 and 2009 due to tax loss brought forward from the non-promoted activities.
22. Promotional privileges
The Company has received promotional privileges from the Board of Investment. Subject to certain imposed conditions, the privileges include an exemption from corporate income tax for a period of 8 years from the date the promoted operations commenced generating revenues. Details of the certificates are as follows:
96 Annual Report 2010
Details
1. Certificate No. 2. Promotional privileges for 3. Date of first earning operating income The Company’s operating revenues for the years are operations.
1025(2)/2548 Manufacturing of vegetable oil 3 November 2005
1076(9)/2551 Biogas -
below shown divided according to promoted and non-promoted (Unit: Thousand Baht)
Promoted operations
Non-promoted operations
Total
2010
2009
2010
2009
2010
2009
Sales and services Domestic sales and services Export sales Total
2,164,638 193,415 2,358,053
1,983,876 38,634 2,022,510
1,556,443 157,761 1,714,204
2,118,233 131,615 2,249,848
3,721,081 351,176 4,072,257
4,102,109 170,249 4,272,358
23. Basic earnings per share
Basic earnings per share is calculated by dividing the net income for the year by the weighted average number of ordinary shares in issue during the year.
24. Segment information
The Company’s and its subsidiary’s business operations involve a single principal segment, manufacturing and distribution of palm oil. These operations are mainly carried on in Thailand. As a result, all of the revenues, operating income and assets reflected in these financial statements pertain to the aforementioned industry segment and geographic area. Export sales during 2010 are amounted to Baht 351.18 million (2009: Baht 170.25 million).
25. Provident fund
The Company and its employees have jointly established a provident fund in accordance with the Provident Fund Act B.E. 2530. Both the Company and employees contribute to the fund monthly at the rates of 3% - 5% of basic salary. The fund, which is managed by TISCO Asset Management Company Limited, will be paid to employees upon termination in accordance with the fund rules. During the year 2010, the Company contributed Baht 4,655,281 (2009: Baht 4,640,559) to the fund. 26. Dividends (Unit: Baht)
Dividends
Final dividends for 2008
Approved by Annual General Meeting of the shareholders on 29 April 2009
Total dividends for 2009
Final dividends for 2009
Total dividends for
Annual General Meeting of the shareholders on 28 April 2010 2010
Total dividends Dividend per share 100,904,047 100,904,047
0.36 0.36
56,057,804 56,057,804
0.20 0.20
97 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
27. Commitments and contingent liabilities 27.1 Capital commitments
As at 31 December 2010, the Company had capital commitments of approximately Baht 5.25 million (2009: Baht 33.33 million, Euro 0.03 million and MYR 1.01 million), relating to the acquisition of machinery and equipment.
27.2 Service commitments
As at 31 December 2010, the Company had payment commitments due within 1 year under service agreements totaling Baht 4.80 million.
27.3 Bank guarantees
As at 31 December 2010, there were outstanding bank guarantees of approximately Baht 4.37 million issued by banks on behalf of the Company in respect of certain performance bonds as required in the normal course of business. These included letters of guarantee amounting to Baht 2.00 million to guarantee the gold card importer and exporter status provided by the Customs Department and Baht 2.37 million to guarantee electricity use, among others.
27.4 Sale of palm oil agreements
As at 31 December 2010, under agreement with an unrelated company, the Company has commitment to sell palm oil in quantities and at prices that are stipulated in the agreement.
27.5 Litigation
In 2009, the Company sued three persons relating to fraud and receipt of stolen goods seeking compensation amounting to approximately Baht 0.63 million. The Court of First Instance did not accept the lawsuit and the Company did not appeal this judgment. Consequently, the Company was sued by a defendant in this case, seeking compensation totaling Baht 20 million from the Company for defamation. The court dismissed such case on 25 February 2010. The defendant subsequently appealed the judgment, but on 17 December 2010, the Appeals Court upheld the decision of the Court of First Instance.
28. Financial instruments 28.1 Financial risk management
The Company’s financial instruments, as defined under Thai Accounting Standard No. 107 “Financial Instruments: Disclosure and Presentations”, principally comprise cash and cash equivalents, trade accounts receivable, amounts placed for trading under forward palm oil contracts, short-term and long-term loans, trade accounts payable and liabilities under finance leases. The financial risks associated with these financial instruments and how they are managed are described below.
Credit risk
The Company is exposed to credit risk primarily with respect to trade accounts receivable. The Company manages the risk by adopting appropriate credit control policies and procedures and therefore does not expect to incur material financial losses. In addition, the Company does not have high concentration of credit risk since it has a large customer base. The maximum exposure to credit risk is limited to the carrying amount of trade accounts receivable as stated in the balance sheet. Interest rate risk The Company’s exposure to interest rate risk relates primarily to its cash at banks, short-term and long-term borrowings. However, since most of the Company’s financial assets and liabilities bear floating interest rates or fixed interest rates which are close to the market rate, the interest rate risk is expected to be minimal. Significant financial assets and liabilities as at 31 December 2010 classified by type of interest rates are summarised in the table below, with those financial assets and liabilities that carry fixed interest rates further classified based on the maturity date, or the repricing date if this occurs before the maturity date.
98 Annual Report 2010
(Unit: Million Baht)
Fixed interest rates Floating Non- Within 1 - 5 Over 5 interest interest 1 year years years rate bearing Total
Financial assets
Interest rate
(% p.a.)
Cash and cash equivalents Trade accounts receivable - net Amounts placed for trading under forward palm oil contracts
- -
- -
- -
65.29 -
0.35 224.65
65.64 0.13-0.25 224.65 -
- -
- -
- -
- 65.29
49.44 274.44
49.44 339.73
Short-term loans from banks Trade accounts payable Long-term loans Liabilities under finance leases
460.00 - - 1.44 461.44
- - - 0.76 0.76
- - - - -
- - 417.00 - 417.00
- 43.09 - - 43.09
Financial liabilities
-
460.00 1.79 - 2.15 43.09 - 417.00 3.87 - 4.12 2.20 3.95 922.29
Foreign currency risk
The Company’s exposure to foreign currency risk arises mainly from trading transactions that are denominated in foreign currencies. The Company seeks to reduce this risk by entering into forward exchange contracts when it considers appropriate. Generally, the forward contracts mature within one year. The balances of financial assets and liabilities denominated in foreign currencies as at 31 December 2010 are summarised below.
Foreign currency
US dollar Malaysian Ringgit
Financial assets
Financial liabilities
Exchange rate as at 31 December 2010
(Thousand) 1,648 -
(Thousand) - 450
(Baht per 1 foreign currency unit) 30.01 9.89
Foreign exchange contracts outstanding at 31 December 2010 are summarised below.
Foreign currency
US dollar
Market risk
Sold amount
Contractual exchange rate - Sold
(Thousand) (Baht per 1 foreign currency unit) 1,550 29.75 - 30.82
In order to hedge the risk arising as a result of the market price of palm oil, which tends to fluctuate significantly, the Company has entered into forward contracts to purchase and sell crude palm oil. The Company is thus exposed to risk in that the prices under the forward contracts will change in line with prices on the Malaysian market (BMD).
99 Chumporn Palm Oil Industry Public Company Limited
As of 31 December 2010, the Company had outstanding forward contracts to sell palm oil with the total value of MYR 7.65 million and the total fair value amount of MYR 8.30 million.
28.2 Fair value of financial instruments
Since the majority of the Company’s financial instruments are short-term in nature or bear floating interest rates, their fair value is not expected to be materially different from the amounts presented in the balance sheets. A fair value is the amount for which an asset can be exchanged or a liability settled between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction. The fair value is determined by reference to the market price of the financial instrument or by using an appropriate valuation technique, depending on the nature of the instrument.
28.3 Capital management
The primary objective of the Company’s capital management is to ensure that it has an appropriate financial structure and preserves the ability to continue its business as a going concern. The Company manages its capital position with reference to its debt-to-equity ratio in order to comply with a condition in a long-term loan agreement with a bank, which requires the Company to maintain a debt-to-equity ratio of not more than 2:1. According to the balance sheet as at 31 December 2010, the Company’s debt-to-equity ratio was 0.65:1 (2009: 0.80:1). The Company’s capital used to calculate above financial ratio includes ordinary shares and retained earnings less the net unrealised gain reserve. No changes were made in the objectives, policies or processes during the years ended 31 December 2010 and 2009.
29. Subsequent events
On 23 February 2010, a meeting of the Company’s Board of Directors passed a resolution to propose the payment of dividends from the 2010 net income for approval by the 2011 Annual General Meeting of the shareholders. The proposed dividend was Baht 0.125 per share, or a total of Baht 35.04 million. The dividend is tax-exempted.
30. Reclassification
Certain amounts in the financial statements for the year ended 31 December 2009 have been reclassified to conform to the current year’s classification but with no effect to previously reported net income or shareholders’ equity. The reclassifications are as follows: (Unit: Baht) Separate financial statements Consolidated financial statements
As As previously As As previously reclassified reported reclassified reported
Property, plant and equipment Cost of palm trees Advances received from customers Other current liabilities Gain on sales of office rental area and equipment Other income
1,698,632,203 52,147,139 - 35,853,933
1,703,596,033 47,183,309 4,809,552 31,044,381
1,698,632,203 52,147,139 - 35,874,003
1,703,596,033 47,183,309 4,809,552 31,064,451
15,018,842 7,115,221
- 22,134,063
15,018,842 7,116,528
- 22,135,370
31. Approval of financial statements
These financial statements were authorised for issue by the Company’s Board of Directors on 23 February 2011.
ºÃÔÉÑ· ªØÁ¾ÃÍصÊÒË¡ÃÃÁ¹éÓÁѹ»ÒÅ Á ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
CHUMPORN PALM OIL INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED
Êӹѡ§Ò¹ãËÞ‹ : µÑé§ÍÂÙ‹·Õè 296 ËÁÙ‹ 2 µÓºÅÊÅØ ÍÓàÀÍ·‹Òá«Ð ¨Ñ§ËÇÑ´ªØÁ¾Ã 86140 â·ÃÈѾ· (077) 611-000-10 â·ÃÊÒà (077) 611-011 Êӹѡ§Ò¹ÊÒ¢Ò : µÑé§ÍÂÙ‹·Õè 1168/91 ªÑé¹ 30 ÅØÁ¾Ô¹Õ·ÒÇàÇÍà ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 4 ࢵÊÒ·Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10120 â·ÃÈѾ· (662) 679-9166-72 â·ÃÊÒà (662) 285-6369 Head Office : 296, Moo 2, Salui Sub District, Thasae District, Chumporn 86140 Tel. (077) 611-000-10 Fax (077) 611-011 Branch Office : 1168/91 30th Floor, Lumpini Tower, Rama IV Rd., Sathorn, Bangkok 10120 Tel. (662) 679-9166-72 Fax (662) 285-6369 e-mail : info@cpi-th.com
www.cpi-th.com
CHUMPORN PALM OIL INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาลม จำกัด (มหาชน)
SUSTAINABLE
GROWTH ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2553 / Annual Report 2010