รายงานวิจัย1 ปรัชญาการเมืองตะวันออก

Page 1

1

ปรัชญาการเมืองตะวันออก (Political Philosophy in Eastern World) : แนวคิดเพื+อการปฏิรปู จริยธรรมผูน้ ําสังคม

ไกรฤกษ์ ศิลาคม

กลุ่มวิชาจริยธรรมกับชีวิต สาขาวิชามนุษยศาสตร์ หมวดวิชาศึกษาทัวไป + มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


2

ปรัชญาการเมืองตะวันออก (Political Philosophy in Eastern World) : แนวคิดเพื+อการปฏิรปู จริยธรรมผูน้ ําสังคม

ไกรฤกษ์ ศิลาคม

กลุ่มวิชาจริยธรรมกับชีวิต สาขาวิชามนุษยศาสตร์ หมวดวิชาศึกษาทัวไป + มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


3

คํานํา หนังสือเรือง ปรัชญาการเมืองตะวันออก : แนวคิดเพือการปฏิรูปจริยธรรมผู้นําใน สังคมไทยเล่มนี,เกิดจากการสังเคราะห์งานวิจยั ของผู้เขียนจํานวน 2 เรืองคือ งานวิจยั เรือง ปรัชญาการเมืองตะวันออก : อินเดีย จีน พุทธปรัชญา กับการปฏิรปู การเมืองไทย (Political Philosophy in Eastern World : India, Chinese, Buddhist Philosophy And Thai Politic Reformation.) และงานวิจยั เรือง คุณลักษณะของผู้นําสังคมในอุดมคติตามหลักคําสอนของ พระพุทธศาสนา (The Characteristic of Social Leader in The Ideal of doctrine of Buddhism) ซึงผูเ้ ขียนได้ศกึ ษาค้นคว้าเพือใช้เป็ นเอกสารอ่านเสริมความรูใ้ นรายวิชาจริยธรรมกับ ชีวติ หมวดวิชาศึกษาทัวไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และเพือประโยชน์ในทางวิชาการแก่ ผูส้ นใจทัวไป ผูเ้ ขียนหวังเป็ นอย่างยิงว่า ผลงานเล่มนี,จะเป็ นประโยชน์ แก่ผู้สนใจในด้านปรัชญา การเมืองในโลกตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิงจริยธรรมผูน้ ําตามหลักพระพุทธศาสนา

ไกรฤกษ์ ศิลาคม กลุ่มวิชาจริยธรรมกับชีวติ สาขาวิชามนุ ษยศาสตร์ หมวดวิชาศึกษาทัวไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


4

สารบัญ เรื+อง บทนํา ความรู้ทวไปเกี ั+ +ยวกับปรัชญาและปรัชญาการเมือง ความหมายและสาขาของปรัชญา ความหมายของปรัชญาการเมือง (Political philosophy) ปรัชญาการเมืองในโลกตะวันออก : ปรัชญาอิ นเดีย ปรัชญาการเมืองในคัมภีรอ์ รรถศาสตร์ของจาณักยะ หรือ เกาฏิลยะ ปรัชญาการเมืองของมหาตมา คานธี ปรัชญาการเมืองในโลกตะวันออก : ปรัชญาจีน ปรัชญาสังคมและการเมืองของขงจือ, ปรัชญาการเมืองของเหลาจือ, หลักการจัดการปกครองของเหลาจือ, คุณสมบัตขิ องผูน้ ํ า ปรัชญาการเมืองในพุทธปรัชญา การกําเนิดรัฐ อธิปไตย 3 การปกครองและผูป้ กครองทีดีทสุี ด คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมในอุดมคติ ตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมตามหลักสังคมศาสตร์ ความหมายผูน้ ํา (Definitions of Leader) ความหมายของผูน้ ําทางสังคม ประเภทของผูน้ ํา คุณลักษณะของผูน้ ํา คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมในอุดมคติตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ความเป็ นมาของผูน้ ํ าสังคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ประเภทของผูน้ ําสังคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ดัชนีชว,ี ดั คุณภาพทางจริยธรรมของผูน้ ํ าสังคม ธรรมราชา : ผูน้ ํ าสังคมในอุดมคติของพระพุทธศาสนา ความหมายของคําว่า “พระเจ้าจักรพรรดิ `”

หน้ า 6 9

12

20

29

33


5

องค์ประกอบของพระเจ้าจักรพรรดิ ระบอบจักรพรรดิ : อุตมรัฐในพระพุทธศาสนา พระเจ้าอโศกมหาราช : ธรรมราชาในประวัตศิ าสตร์ การประยุกต์ใช้ในการปฏิรปู จริยธรรมของผูน้ ํ าสังคมไทย ย้อนอ่าน (Re-read) ปรัชญาการเมืองตะวันออกเพื+อการปฏิ รปู การเมืองไทย 59 บทสรุป : ปัญหาและทางออกของผู้นําสังคมไทย 75 บรรณานุกรม 79 ภาคผนวก บทความวิจยั ซึงได้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับชาติจาํ นวน 2 เรือง 1. บทความเรือง ปรัชญาการเมืองตะวันออก : มุมมองเพือการปฏิรปู การเมืองไทย ตีพมิ พ์ในวารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. บทความเรือง คุณลักษณะผูน้ ําสังคมในอุดมคติตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตีพมิ พ์ในวารสารมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


6

บทนํา ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา ตัง, แต่เริมมีการค้นพบหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์บนผืนแผ่นดินไทย กล่าวคือ ตัง, แต่สมัย อาณาจักรสุโขทัยเป็ นต้นมา ระบอบการเมืองการปกครองของไทยได้มพี ฒ ั นาการเปลียนแปลง เรือยมา ตัง, แต่การปกครองในรูปแบบพ่อปกครองลูกในสมัยพ่อขุนรามคําแหง และต่อมาได้รบั อิทธิพลจากศาสนาฮินดู (Hinduism) เกิดเป็ นรูปแบบการปกครองแบบเทวราชา ซึงกษัตริย์ม ี ฐานะดุ จ สมมติ เ ทพ หรื อ เป็ นอวตารของพระนารายณ์ จนกระทั งได้ ร ั บ อิ ท ธิ พ ลจาก พระพุ ท ธศาสนา (Buddhism) ในหลัก คํ า สอนเรือง การปกครองแบบธรรมราชา กล่ า วคือ พระราชาจะต้องเป็ นผู้ประกอบด้วยธรรม 10 ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม หรือในรูปแบบ ของพระโพธิสตั ว์ผูบ้ ําเพ็ญบารมีธรรมเพือโปรดหมู่สตั ว์ ดังทีเราได้ยนิ คําว่า พระบรมโพธิสมภาร หรื อ สมเพ็ จ พระพุ ท ธเจ้ า หลวง หรือ พระหน่ อ พุ ท ธเจ้ า หรือ หน่ อ พุ ท ธางกู ร เป็ น ต้ น หลักการปกครองในรูปแบบของ เทวราชาและธรรมราชาดังกล่าวนัน, ได้ถูกผสมผสาน เป็ นรูปแบบการปกครองของไทยสืบมาจนถึงยุคปจั จุบนั กล่าวคือ ฐานะของพระมหากษัตริยเ์ ป็ น ดุจสมมติเทพทีประชาชนทัง, หลายต้องเคารพสักการะ แต่ พระราชจริยาวัตรเป็ นดังธรรมราชา กล่าวคือ ทรงประกอบด้วยคุณธรรม 10 ประการและทรงบําเพ็ญประโยชน์แก่ประชาชนประดุจดัง พระโพธิสตั ว์ในพระพุทธศาสนา ในสังคมโลกาภิวตั น์ ยุคปจั จุบนั นี, สิงทีมีอทิ ธิพลแผ่ขยายไปทัวโลกอย่างรวดเร็วและส่ง ผลกระทบต่อการเปลียนแปลงภายในของแต่ละประเทศเป็ นอย่างมากมี 3 ประการคือ 1. ระบอบทุนนิยม (Capitalism) 2. ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) 3. สิทธิมนุ ษยชน (Human right) ถ้าประเทศใดไม่ปรับปรุงเปลียนแปลงตนเองในเรืองดัง กล่ าวทัง, 3 ด้านแล้ว ก็จะเกิด ผลกระทบในหลายๆ ด้า นอาทิ ด้า นเศรษฐกิจ การลงทุ น ข้า มชาติ สิท ธิพ ิเ ศษทางการค้า ความสัมพันธ์ระหว่ างประเทศ เป็ นต้น ดัง ปรากฏในเวทีอาเซียน (Asian) ในสมัยทีไทยเป็ น ประธานอาเซียนและในเวทีระดับโลกในนามขององค์การสหประชาชาติ (UN) ได้ร่วมกันออก แถลงการณ์กดดันประเทศพม่าให้ปล่อยตัวนางอองซาน ซูจ ี ผูน้ ํ าพรรคฝ่ายค้านในประเทศพม่า ซึงถู ก กัก บริเ วณอยู่ เ ป็ น เวลานานหลายปี และกดดัน ให้ พ ม่ า จัด การเลือ กตัง, โดยระบอบ ประชาธิปไตยโดยเร็วทีสุด


7

ประเทศไทยเองเริมได้รบั อิทธิพลจากแนวคิดแบบตะวันตกอย่างแพร่หลายมาตัง, แต่สมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที 4 ซึงถูก ระบอบทุ นนิยมในนามของการล่ า อาณานิ ย มของประเทศตะวันตกบีบ บัง คับ ให้ไ ทยเปิ ด ประเทศและบัง คับให้ทํ าสนธิส ัญ ญาที เสียเปรียบทางการค้าและสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ตลอดถึงความพยายามในการทีจะยึดครอง ดินแดนด้วยข้ออ้างเรืองของความล้าสมัยและปา่ เถือนของระบบการปกครองและสังคมวัฒนธรรม การปรับตัวต่อกระแสโลกาภิวตั น์ทงั , 3 ด้านดังกล่าวได้เริมมาตัง, แต่สมัยนัน, เรือยมา และกระแส ความนิยมประชาธิปไตยของไทยได้ถูกบ่มเพาะมากขึน, เรือยๆ เมือพระราชวงศ์ บุคคลชัน, สูงใน สังคม และนายทหาร นายตํารวจได้ถูกส่งไปเล่าเรียนวิชาการด้านต่างๆในประเทศตะวันตกหลาย ประเทศ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542: 351) กระแสความนิยมในรูปแบบการปกครอง แบบประชาธิปไตยได้ถูกบ่มจนสุกงอมเต็มทีด้วยหลายเหตุปจั จัย แม้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หวั ก็ทรงก็ทรงมีพระราชประสงค์ทจะมอบรั ี ฐธรรมนู ญให้แก่ประชาชน แต่ก็ยงั ทรงลังเล พระทัย ว่ า ประชาชนยัง ไม่ พ ร้ อ มที จะรับ การเปลี ยนแปลงระบอบการปกครองเป็ น แบบ ประชาธิปไตย (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542: 346) จนกระทัง เมือ พ.ศ. 2475 จึงได้ เกิด การปฏิว ัติค รัง, ใหญ่ โ ดยคณะราษฎร ซึงประกอบด้ ว ยคณะนายทหาร นายตํ า รวจ และ ข้าราชการพลเรือน ได้ยดึ อํ านาจการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ใ นรัชกาลของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที 7 ซึงในเวลาต่อมาพระองค์ได้ทรงประกาศสละ ราชสมบัตแิ ละทรงคืนอํานาจอธิปไตยอันเป็ นสิทธิของพระองค์อยู่แต่เดิมให้แก่ประชาชนของพระ องค์ทุกคน ไม่ใช่ให้แก่คณะ หรือบุคคลใด บุคคลหนึง แต่เมือเราพิจารณาจากวิวฒ ั นาการทางการเมืองของไทยจะพบข้อเท็จจริงอย่างหนึงว่า “ปรากฏการณ์ ป ระชาธิป ไตยครึงใบ” ได้ป รากฏมาโดยตลอด กล่ าวคือ อํ านาจอธิป ไตยซึง ประชาชนมีและมอบให้แก่ รฐั บาลไปนัน, กลับถูกจํากัดอยู่แต่ ในวงของนายทหารและข้าราชการ ระดับสู ง แม้จะมีรฐั บาลของพลเรือ นบ้างแต่ ก็ม กั จะถู ก ปฏิว ัต ิย ึด อํ า นาจโดยฝ่ ายทหาร และ ปกครองโดยรัฐบาลทหารหลายสมัย (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553: 9) ด้วยเหตุผล ต่ างๆ ตามแต่ ค ณะปฏิว ตั ิจะนํ า มาอ้าง แม้ก ระทังในป จั จุบนั ก็ปรากฏเหตุ ก ารณ์ ทํานองนี, อ ยู่ ระบอบประชาธิปไตยของไทยตัง, แต่ปี 2475 เป็ นต้นมา ยังไม่เคยพบว่า จะมีความสมบูรณ์เลย ทัง, ๆ ที เวลาได้ผ่านมาแล้วเกือบ 80 ปี ั หาทีพบในสัง คมประชาธิป ไตยแบบไทยป จั จุ บ ัน ก็ ค ือ การที ข้อ เท็ จ จริง ในเชิง ป ญ ประชาชนต่างก็ใช้สทิ ธิของตนในการเลือกผูแ้ ทนเข้าไปในสภาผูแ้ ทนราษฎร แต่เมือพรรคทีได้รบั เสียงข้างมากไม่เป็ นทีชอบใจของตนเองแล้ว ประชาชนกลับไม่ยอมรับกติกาประชาธิปไตย แต่ใช้ การเมืองนอกสภาเพือกดดันให้ฝ่ายตรงข้ามลาออก หรือยุบสภา แต่ปญั หาใหญ่ของเรืองนี,กค็ อื ขัว, การเมืองทีตรงกันข้ามนี,ต่างมีมวลชนสนับสนุ นอยู่เป็ นจํานวนมากเช่นกัน เมือต่างฝ่ายต่างอ้าง เหตุผลว่าฝา่ ยตนเองดีฝา่ ยตรงข้ามผิดและไม่มกี ารประนีประนอมกัน อีกทัง, ยังมีการระดมมวลชน สนับสนุ นกันทัง, 2 ฝ่ายกลายเป็ นปรากฏการณ์ เสื,อเหลือง และเสือ, แดงขึน, จนกระทังบานปลาย


8

พัฒนาเป็ นเสื,อดํา เสื,อชมพู และเสื,อ หลากสี เมือมีการประทะกันของผู้ชุมนุ ม 2 ฝ่าย หรือกับ เจ้าหน้ าทีรัฐก็มกั จะมีการใช้กําลังจนมีการบาดเจ็บล้มตายไป เป็ นจํานวนมาก นอกจากนี,เมือ พิจารณาถึงการเมืองในระดับท้องถินก็จะพบว่า มีการผูกโยงอยู่กบั การเมืองระดับชาติ ได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น กํานัน นายก อบต. นายก อบจ. นายกเทศมนตรี เป็ นต้น เหล่านี,ลว้ นเป็ นฐานคะแนน เสียงอย่างดีของพรรคการเมือง แต่ปญั หาใหญ่ไม่ได้อยู่ทการเชื ี อมโยงกันกับการเมืองระดับชาติ แต่ปญั หาอยู่ที เมือมีการแข่งขันกันแล้ว ความรุนแรงทีเกิดขึน, ก็คอื เกิดเหตุการณ์ลอบสังหารคู่ แข่งขันของตัวเองเช่นเดียวกับการเมืองระดับชาติด้วย และยังมีทที ่าว่าความรุนแรงจะมากขึน, เรือยๆ ในทัวประเทศ ข้อ เท็จจริง เหล่ านี, ส ะท้อ นให้เ กิด คําถามว่ า ทําไมระบอบประชาธิปไตยของประเทศ ตะวันตกซึงยึดถือกันว่า เป็ นสังคมอารยะนัน, จึงไม่มลี กั ษณะของความรุนแรงเหมือนในประเทศ ไทย กรณี น,ี ผู้ว ิจ ยั มีค วามเห็น สอดคล้อ งกับ พระราชดํ า ริข องพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้ า เจ้าอยูห่ วั ทีว่า ประชาชนของไทยยังไม่เหมาะสมกับระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย แล้ว คําถามทีเกิดตามมาอีกก็คอื สังคมไทยได้เดินตามแนวทางการพัฒนาประเทศแบบชาติตะวันตก มาโดยตลอด แต่ทําไมสังคมไทยยังคงยังยําอยู่กบั ที บางคราวก็ก้าวหน้า บางคราวก็ถอยหลัง เมือเทียบกับ ระยะเวลาทีพัฒนาตัว เองในวิถีทางการเมือ งแบบตะวันตกมากว่ า 80 ปี การ เมือ งไทยยัง จมอยู่ก ับ เรืองอํ า นาจ ผลประโยชน์ การแก่ ง แย่ง แข่ ง ขัน ความขัด แย้ง การ โฆษณาชวนเชือทางการเมือง การกําจัดคู่แข่งทางการเมือง การคอรัปชัน การเอื,อประโยชน์ให้ ธุรกิจครอบครัวหรือเครือญาติ การทําประชานิยม การซือ, เสียง ขายเสียง ตลอดถึงการใช้สทิ ธิ เสรีภาพเพือการชุมนุ มโดยอ้างรัฐธรรมนูญ แล้วมักจะทําเกินเลยขอบเขตของกฎหมาย ฯลฯ ผูว้ จิ ยั มีมมุ มองว่า ถ้าจะให้ประเทศไทยพัฒนาอย่างยังยืนได้ คงจะต้องถึงเวลาของการ ปฏิรปู การเมืองไทยกันอย่างจริงจัง และปรัชญาการเมืองแบบตะวันตกทีเราใช้กนั มากว่าร้อยปี นัน, กลับยังไม่สามารถทําให้สงั คมไทยเดินหน้าไปใกล้เคียงกลับคําว่า “สังคมอุดมคติ” ได้เลย หรือว่า เราจะเดินทางผิดมาตลอด ผู้วจิ ยั จึงมีความเห็นว่า เราควรจะหันกลับมามองภูมปิ ญั ญาของชาว ตะวันออกในเรืองหลัก การเมือ งการปกครองให้ชดั เจนและแจ่มแจ้ง เสียก่ อน โดยการศึก ษา ปรัชญาการเมืองตะวันออกทีปรากฏในปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน และพุทธปรัชญา เพือศึกษา แง่คดิ และมุมมองทีจะสามารถนํ ามาใช้ในการมองปญั หาของการเมืองไทย อันจะนํ าไปสู่ความ เข้าใจปญั หาอย่างรอบด้าน และการค้นพบวิถที างในการแก้ไขปญั หาและพัฒนาการเมืองไทยไปสู่ ความเป็ นสังคมอารยะตามแบบตะวันออก กล่าวคือ การเป็ นสังคมแห่งความสุขทีแท้จริงได้ ซึง ผูว้ จิ ยั จะได้นําเสนอแนวคิดทางการเมืองทีปรากฏในปรัชญาอินเดียทัง, ในสมัยโบราณและปรัชญา อินเดียร่ว มสมัย ปรัชญาจีน ทัง, ในส่ ว นของปรัชญาของท่ า นเหลาจื,อ และขงจื,อ แนวคิด ทาง การเมืองตามหลักพุทธปรัชญา และการประยุกต์หลักคําสอนเพือมองปญั หาของสังคมไทยไป ตามลําดับดังต่อไปนี,


9

ความรู้ทวไปเกี ั+ +ยวกับปรัชญาและปรัชญาการเมืองตะวันออก ความหมายและสาขาของปรัชญา “ปรัชญา” เป็ นศัพท์บญ ั ญัตขิ องราชบัณฑิตยสถาน เพือให้ตรงกับคําว่า Philosophy ซึงมี ความหมายตามรากศัพท์ภาษากรีกโบราณว่า ความรักในปรีชาญาณ (The lover of wisdom) แต่ ในภาษาฮินดีใช้คําว่า “ทรรศนะ” ซึงแปลว่า ความคิดเห็น (กีรติ บุญเจือ, 2545: 33) ซึงก็ให้ ความหมายไปอีกลักษณะหนึง สําหรับความหมายของปรัชญานัน, มีมากมายหลายนิยาม วิ ลเลียม รีส (William Reese) ได้รวบรวมไว้ใน Dictionary of Philosophy and Religion (1980) ถึง 53 ความหมาย (กีรติ บุญเจือ, 2545: 41) ผูว้ จิ ยั ขอใช้คํานิยามของปรัชญาในแง่ที เป็ นวิชาหนึงซึงศึกษาเกียวกับความจริงของโลกและชีวติ โดยขอบข่ายของวิชาปรัชญากินความ ไปถึงทุกศาสตร์ทุกแขนง เพราะแต่เดิมทุกสาขาวิชามีชอเรี ื ยกเหมือนกันว่า Philosophy แต่เมือ มีการศึกษาค้นคว้าจนเกิดเป็ นองค์ความรู้ทชัี ดเจนแล้วจึงแยกสาขาออกมาเป็ นศาสตร์เฉพาะ ต่ า งๆ เช่ น วิท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิ ส ิก ส์ ชีว วิท ยา สัง คมศาสตร์ ฯลฯ จนกระทังในปจั จุบนั เหลือวิชาทีอยู่ในการรับผิดชอบศึก ษาของปรัชญาอยู่เ พียงไม่กีสาขา ซึง สามารถแบ่งได้เป็ น 2 แบบ (กีรติ บุญเจือ, 2545: 59-60) คือ 1. แบ่งเป็ น 4 สาขาใหญ่ 1) ตรรกวิทยา (Logic) ซึงแบ่งย่อยได้เป็ น ตรรกวิทยาภาษาสามัญ (Categorical logic) หรือ ตรรกวิทยาของอริสโตเติล (Aristotelian logic) และตรรกวิทยาสัญลักษณ์ (Symbolic logic) 2) อภิปรัชญา (Metaphysics) ประกอบด้วย อภิปรัชญาทัวไป (General metaphysics) ซึงได้แก่ ภววิทยา (Ontology) และอภิปรัชญาเฉพาะทาง เช่น ปรัชญาเอกภพ (Cosmology) ปรัชญาชีวติ (Biolagy) ปรัชญาจิต (Psychalagy) ปรัชญาพระเจ้า (Theodhiey) 3) ญาณวิทยา (Epistemology) แบ่งออกเป็ น ญาณปรัชญา (Critical philosophy or Criteriglagy) และทฤษฎีความรู้ (Theory of knowledge) 4) อัคฆปรัชญา หรือ คุณวิทยา หรือ ปรัชญาคุณค่า (Axiology) แบ่ ง ออกเป็ นสุ น ทรี ย ศาสตร์ (Aesthetics) จริ ย ศาสตร์ (Ethics) ปรั ช ญาสั ง คม (Social philosophy) และปรัชญาการเมือง (Political philosophy) 2. แบ่งเป็ น 2 สาขาใหญ่ คือ 1) ปรัชญาบริสุทธิ ` (Pure philosophy) ซึงแบ่งออกเป็ น อภิปรัชญา(Metaphysics) และญาณปรัชญา (Critical philosophy or Criteriglagy) ซึงเป็ นส่วนหนึงของญาณวิทยา


10

2) ปรัชญาประยุกต์ (Applied philosophy) แบ่งย่อยได้มากมายตามการประยุกต์ใช้ กับวิชาใด เช่น ปรัชญาวิทยาศาสตร์ (Philosophy of science) ปรัชญาศาสนา (Philosophy of religion) ปรัชญาจิต (Philosophy of mind) ปรัชญาสังคม (Social philosophy) ฯลฯ

ความหมายของปรัชญาการเมือง (Political philosophy) ปรัชญาสังคม (Social philosophy) คือ ปรัชญาประยุกต์สาขาหนึงทีนํ าเอาปรัชญา บริสุทธิ `มาตีความผลสรุปของวิชาสังคมศาสตร์ (Social science) ซึงปรัชญาสังคมแบ่งออกเป็ น 5 สาขาดังต่อไปนี, 1. 2. 3. 4. 5.

ปรัชญาครอบครัว ปรัชญาการเมือง ปรัชญานานาชาติสมั พันธ์ ปรัชญาเศรษฐกิจ ปรัชญากฎหมาย

ปรัชญาการเมือง (Political philosophy) จึงนับว่าเป็ นสาขาหนึงของปรัชญาสังคม ซึง เป็ น ปรัช ญาประยุ ก ต์ ทีนํ า เอาปรัช ญาบริสุ ท ธิม` าตีค วามผลสรุ ป ของวิช ารัฐ ศาสตร์ (Political science) (กีรติ บุญเจือ, 2545: 237) มีขอบเขตของการศึกษาเกียวกับการเมือง การปกครอง และรัฐ อาทิ ธรรมชาติแ ละจุด มุ่ ง หมายของรัฐ สิท ธิอ ันชอบธรรมทีจะปกครอง สัมพันธภาพ ระหว่างเสรีภาพของปจั เจกชนกับอํานาจรัฐ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2543: 79-80) โดยปญั หา สําคัญของปรัชญาการเมือง ก็คอื “รัฐในอุดมคติ (Ideal state) ควรเป็ นอย่างไร” คําตอบที เป็ นไปได้มอี ยูม่ ากมายหลายลักษณะ และแตกต่างกันไปในแต่ละยุคแต่ละสมัย ในทางตะวันตกได้แบ่งปรัชญาการเมืองออกเป็ นหลายยุค คือ 1. ปรัชญาการเมืองคลาสสิก ซึงเป็ นปรัชญาการเมืองทีเกิดขึน, ในสมัยกรีกโบราณโดย เริมต้นจากแนวคิดของซาเครอทิส (Socrates) ซึงสืบทอดผ่านมาทาง เพลโท (Plato) และ แอเริส ทาเทิล (Aristotle) โดยมีลกั ษณะสําคัญอยู่ทการแสวงหาคํ ี าตอบว่า ระเบียบทางการเมืองที+ ดี ที+สดุ และเป็ นสากลนันV เป็ นอย่างไร และนักปรัชญาสมัยคลาสสิกเหล่านี,มคี วามเห็นพ้องต้องกัน ว่า เป้ าหมายสูงสุดของชี วิตการเมือง คือ คุณธรรม และใน Republic ของเพลโท ก็ระบุว่า Philosopher King หรือ กษัตริยท์ เป็ ี นนักปรัชญา หรือ นักปรัชญาทีได้เป็ นกษัตริยเ์ ท่านัน, จึงจะ เป็ นรัฐทีดีทสุี ด (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553: 9)


11

2. ปรัชญาการเมือ งสมัยกลาง ซึงเป็ นยุคทีคริสต์ศาสนารุ่งเรืองและครอบงําวงการ ปรัชญา ตะวันตกทัง, หมด โดยรัฐในอุดมคติอยู่ในสถานะเป็ นเครืองมือของความรอด โดยนัก ปรัชญาคริสต์ได้เสนอทฤษฎีทวิยาธิปไตย (Two-power theory) ออเกิสทีน (St. Augustine) สอนว่า สังคมมนุ ษย์แบ่งเป็ น 2 นคร คือ เทวนคร (City of God) ได้แก่กลุ่มคนดีมศี ลี ธรรม กับโลกียนคร (City of the world) คือ กลุ่มคนเลว และรัฐทีดีจะเป็ นระบอบใดก็ได้ทให้ ี ความ สะดวกแก่ ประชาชนในการบําเพ็ญ คุ ณธรรม เพือความรอดของวิญญาณ ส่ว น อไควนัส (St. Thomas Aquinas) ก็สอนไว้คล้ายกันว่า รัฐทีดีนัน, จะปกครองด้วยระบอบใดก็ได้ทสามารถ ี บันดาลให้พลเมืองดํารงชีพอยู่ได้อย่างสงบสุขและมีความสะดวกในการปฏิบตั ศิ าสนกิจเพือความ รอดของวิญญาณ (กีรติ บุญเจือ, 2545: 239-240) อไควนัส ได้เสนอรูปแบบการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ เนืองจากการมองโลกในแง่ศาสนา กล่าวคือ ในจักรวาลมีพระเจ้าองค์ เดียวทีเป็ นผูส้ ร้างและปกครองสิงทัง, ปวง ร่างกายมีอวัยวะต่างๆ แต่ใจปกครองทัง, หมด ในฝูงผึง, มี หัว หน้ า ผึ,ง ตัว เดีย ว ดัง นั น, รัฐ บาลตามธรรมชาติก็ ค ือ รัฐ บาลทีมีผู้ ป กครองคนเดีย ว และ จุดมุง่ หมายหลักก็คอื สันติภาพ หรือ เอกภาพ ดังนัน, ผูป้ กครองคนเดียวก็ย่อมจะรักษาสันติภาพ ไว้ได้โดยทําให้เกิดเอกภาพอย่างสมบูรณ์ ทสุี ด แต่ อไควนัสก็ให้จํากัดอํานาจของผู้ปกครองไว้ ไม่ให้เป็ นทรราชย์ (ปรีชา ช้างขวัญยืน, 2533: 119-120) 3.ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ เป็ นปฏิกริ ยิ าทีเกิดขึน, เมือมีการแตกเป็ นนิกายต่างๆ ของ คริสต์ ศาสนา และปฏิเสธโครงร่างของปรัชญาการเมืองคลาสสิกว่า เป็ นสิงทีเป็ นไปไม่ได้ นัก ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ เชือว่า สังคมจะดีขน,ึ หรือเจริญขึน, ได้ ย่อมขึน, อยู่กบั สถาบันในสังคม เ ช่ น ส ถ า บั น ก า ร ป ก ค ร อ ง ห รื อ ส ถ า บั น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ป็ น ส่ ว น ใ ห ญ่ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553: 17) และระบอบการปกครองทีดีในทัศนะของนัก ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ก็คอื ระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็ นระบอบทีให้ความสําคัญกับสิทธิ เสรีภ าพ ความเสมอภาค และความยุติธ รรม นัก ปรัชญาสํ าคัญ ของยุค นี, ก็ค ือ ทาเมิส ฮับ ส์ (Thomas Hobbes) และ จอห์น ลัค (John Locke) ส่วนปรัชญาการเมืองในทางโลกตะวันออกไม่ได้มกี ารศึกษาแยกตัวออกมาเป็ นระบบ เช่นเดียวกับทางตะวันตก เพราะปรัชญาและศาสนามักจะศึกษาร่วมกันไปเป็ นหนึงเดียว ปรัชญา ไม่ได้แยกออกจากศาสนาอย่างเด็ดขาด ฉะนัน, ปรัชญาการเมืองตะวันออกจึงมักแทรกอยู่ในหลัก คําสอนของศาสนา ซึงได้ปรากฏอยูใ่ นปรัชญาอินเดียและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ปรัชญาจีนและ ศาสนาขงจือ, กับเต๋า และพุทธปรัชญาในพระพุทธศาสนา ซึงมีรายละเอียดแตกต่างกันไปในแต่ละ ยุคสมัย ผูว้ จิ ยั จะได้นําเสนอแนวคิดปรัชญาการเมืองตะวันออกดังกล่าวเป็ นลําดับต่อไป


12

ปรัชญาการเมืองในโลกตะวันออก : ปรัชญาอินเดีย นักประวัตศิ าสตร์เชือว่า อารยธรรมยุคแรกของโลกกําเนิดขึน, เมือระยะเวลาหลัง 5,000 ปี ก่อนคริสตกาล ณ บริเวณลุ่มแม่น,ําทีสําคัญ 4 แห่ง คือ 1. 2. 3. 4.

ลุ่มแม่น,ําไนล์ ลุ่มแม่น,ําไทกริส-ยูเฟรติส ลุ่มแม่น,ําสินธุ ลุ่มแม่น,ําเว้ (ฮวงโห)

เป็ นแหล่งกําเนิดอารยธรรม อียปิ ต์ หรือ ไอยคุปต์ เป็ นแหล่งกําเนิดอารยธรรม เมโสโปเตเมีย เป็ นแหล่งกําเนิดอารยธรรม อินเดีย เป็ นแหล่งกําเนิดอารยธรรมจีน

ลุ่มแม่น,ํ าสินธุและแม่น,ํ าฮวงโหนี,เองทีเป็ นแหล่งต้นกําเนิดของอารยธรรมอินเดียและจีน อันเป็ นทีก่อกําเนิดปรัชญาอินเดียและปรัชญาจีนอันเป็ นปรัชญาอันทรงอิทธิพลต่อคนทัวโลกใน รูปแบบของศาสนาและความเชือต่ างๆ โดยนักประวัติศาสตร์ได้แบ่งประวัติศาสตร์ของอินเดีย ออกเป็ น 6 ยุค คือ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ (ก่อน 1,400 B.C.) ยุคพระเวท (ประมาณ 1,400 – 1,200 B.C.) ยุคมหากาพย์ (ประมาณ 1,200 – 800 B.C.) ยุคฮินดูเก่า (ประมาณ 800-300 B.C.) ยุคพุทธกาล (ประมาณ 300 B.C.-300 A.D.) ยุคฮินดูใหม่ (ประมาณ 300-1200 A.D.)

การเมือ งการปกครองของอินเดียโบราณเริมปรากฏชัด เจนในยุค พระเวท กล่ า วคือ หลังจากทีพวกอารยัน (Aryan) ได้ทําการปราบปรามพวกพืน, เมืองเดิม (มิลกั ขะ) ได้ชยั ชนะและ เข้าปกครองไว้ในอํานาจแล้วกระจายกันออกไปตัง, ถินฐานในอินเดีย เกิดเป็ นหมู่บ้าน เรียกว่า คาม และหัวหน้าหมูบ่ า้ น เรียกว่า ราชา (Rajan) มีทปรึ ี กษาประกอบด้วยผูแ้ ทนจาก 2 ฝา่ ย คือ 1. ฝา่ ยประชาชน เรียกว่า สมิติ (Samiti) 2. ฝา่ ยผูเ้ ฒ่า เรียกว่า สภา (Sabha) มีผชู้ ่วย 2 คน คือ 2.1 ผูช้ ่วยฝา่ ยปกครอง เรียกว่า ปุโรหิต (Purohita) 2.2 ผูช้ ่วยฝา่ ยทหาร เรียกว่า เสนานี (Senani)


13

ในยุคนี,เริมมีการแบ่งชัน, วรรณะกันแล้ว โดยผูร้ เิ ริมในการแบ่งวรรณะนี,กค็ อื พวกอารยัน ซึงมีวตั ถุประสงค์เพือ กีดกันการสมสู่ระหว่างสตรีอารยันกับชายพวกมิลกั ขะ (เนืองจากพวก อารยันดูหมินและรังเกียจพวกมิลกั ขะว่าตํากว่าตนเอง) และเพือผลประโยชน์ ในการปกครอง (มนต์ ทองชัช, 2527: 50-51) ต่อมาในยุคมหากาพย์การแบ่งวรรณะจึงขยายตัวและมีลกั ษณะ ชัดเจนยิงขึน, โดยแบ่งเป็ น 4 วรรณะ ตามลําดับสูงตํา คือ 1. พราหมณ์ ทําหน้าทีประกอบพิธกี รรมทางศาสนา ศึกษาและสังสอนพระเวท 2. กษัต ริย์ หรือ นัก รบ มีห น้ าทีปกครองและปกป้ อ งบ้านเมือ งหรือ หมู่บ้าน มีส ภาผู้ อาวุโสเป็ นทีปรึกษา และวรรณะกษัตริยม์ สี ทิ ธิ `ศึกษาพระเวท 3. แพศย์ มีทงั , พ่อค้า ผู้ให้กู้เงิน ช่างฝี มอื ชาวนาเจ้าของทีดิน และเจ้าของปศุ สตั ว์ มี หน้าทีค้าขาย ผลิตอาหาร และสินค้าต่างๆ 4. ศูทร มีหน้าทีรับใช้วรรณะอืนๆ ได้แก่ กรรมกร แรงงานในไร่นา และคนรับใช้ นอกจากนี,ยงั มีพวกนอกวรรณะทีเกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะเรียกว่า พวกจัณฑาล หรือ พวกทีจับต้องไม่ได้ (Untouchable) หลังยุคมหากาพย์มวี รรณะย่อยเกิดขึ,นมากมาย ตาม สภาพทางเชื,อชาติ ศาสนา และอาชีพ เรียกว่า ชาติ (jati) ระบบวรรณะนี,มคี วามสัมพันธ์แน่ น แฟ้นกับกฎการเวียนว่ายตายเกิดตามความเชือของศาสนาพราหมณ์ รวมทัง, กําเนิดของวรรณะที ปรากฏในคัมภีรพ์ ระเวททีกล่าวว่า พราหมณ์เกิดจากปาก กษัตริยเ์ กิดจากแขน แพศย์เกิดจากต้น ขา และศู ทรเกิด จากเท้า ของพรหม ทํ า ให้ทุก คนในสัง คมยอมรับระบบวรรณะโดยเคร่ ง ครัด (คณะกรรมการวิชามรดกอารยธรรมโลก, 2553: 39-40) ในยุคมหากาพย์ได้ถอื กําเนิดมหากาพย์สําคัญ 2 เรืองคือ มหาภารตยุทธ และรามายณะ โดยวรรณกรรมทัง, สองเรืองมีลกั ษณะร่วมกันอยู่ 2 ประการคือ การแสดงคุณธรรมของชนชัน, สูง เรืองความกล้าหาญของวีรบุ รุษ และการแบ่ ง ชัน, วรรณะอย่า งชัด เจน มหาภารตยุทธได้แ ฝง ปรัชญาในการดําเนินชีวติ ของชาวอารยันสมัยนัน, ไว้ในตอนสําคัญของเรืองทีเรียกว่า ภควัทคีตา ซึงแสดงว่า ชาวอารยันในยุคนัน, ถือว่า ความสํานึกในหน้าทีรับผิดชอบเป็ นสิงสําคัญกว่าอย่างอืน (มากกว่าความเป็ นเพือนหรือญาติ) (มนต์ ทองชัช, 2527: 52) คัมภีรภ์ ควัทคีตานี,เชือกันว่ารจนา ขึน, ในช่วงศตวรรษที 5 ก่อนคริสตกาล โดยแก่นของคัมภีรน์ ,ีสนับสนุ นวิธกี ารจัดระเบียบสังคม โดยระบบวรรณะ มีแนวคิดสําคัญในกรณีน,ีว่า “มนุ ษ ย์มหี น้ าทีทีจะต้องส่ง เสริม “โลกสังเคราะห์” หรือ เสถียรภาพความเป็ น ปึ กแผ่นและความก้าวหน้าของสังคม สังคมอาจทําหน้าทีได้อย่างสมบูรณ์กต็ ่อเมืออาศัย หลักการทีว่าด้วยการทีองค์ประกอบต่ างๆ พึงพาอาศัยกันและกันทางด้านจริยศาสตร์ เพราะฉะนัน, มนุ ษย์ในฐานะทีเป็ นองค์ประกอบทีเป็ นสารัตถสําคัญของสังคม จะต้องมี


14

ค ว า ม เ อ า ใ จ ใ ส่ อ ย่ า ง จ ริ ง จั ง ใ น เ รื อ ง เ กี ย ว กั บ พั น ธ ก ร ณี ท า ง สั ง ค ม ข อ ง ต น ” (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553: 572) คัมภีรภ์ ควัทคีตานี,เสนอความจริงของการทําตามหน้าทีของคนในสังคมว่า มีรากฐานทาง อภิปรัชญาอยู่บนความจริงแท้สูงสุดของพระเจ้า โดยการเชือมโยงถึงส่วนต่างๆ ในพระกายของ พระเจ้า ดังปรากฏคําอธิบายใน พระมนู ธรรมศาสตร์ (Laws of Manu) ซึงเป็ นคัมภีรท์ เกิ ี ดขึน, ใน ยุคฮินดูเก่าว่า “เพือความเจริญผาสุกของชาวโลก พระเจ้าสูงสุดได้ให้เหล่าพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทรออกมาจาก ปาก แขน ขา และเท้า ...แต่เพือจรรโลงจักรวาล พระเจ้าสูงสุดได้ กํ า หนดหน้ า ทีและอาชีพ ต่ า งๆ กัน สํ า หรับ บุ ค คลผู้ อ อกจาก ปาก แขน ขา และเท้ า ” (S., Radhakrishnan, 1973 อ้างใน มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) นอกจากนี,พระมนู ธรรมศาสตร์ยงั บันทึกไว้อย่างชัดเจนว่า ภาระหน้าทีของกษัตริยน์ ัน, ถูกสร้างขึน, เพือเป็ นผูป้ กป้อง ระบบวรรณะและระเบียบทางสังคม และมีหน้าทีทําให้บุคคลในแต่ละวรรณะปฏิบตั ติ ามหน้าทีของ ตน (S., Radhakrishnan, 1973 อ้างใน มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) และในคัมภีร์ ภควัทคีตายังระบุไว้ว่า การไม่ทําตามหน้าทีในวรรณะของตนถือเป็ นอธรรม หรือ เป็ นบาป ด้วย ดังทีปรากฏในบทสนทนาของพระกฤษณะและพระอรชุนก่อนจะตัดสินใจออกรบว่า “39. นีอย่างไรกัน ข้าพเจ้าเห็นโทษชัดในการทําลายตระกูล แล้วจะไม่รวู้ ธิ งี ดเว้น จากการทําบาปเชียวหรือ ท่านชนารฺทน (พระกฤษณะ) 40. เพราะการทําลายตระกูล กุลธรรมทีสืบกันมาย่อมพลอยเสือมไปด้วย เมือกุล ธรรมเสือมแล้ว ก็จะเกิดอธรรมขึน, แก่ปวงญาติ นะท่านอัตยุต (พระกฤษณะ) 41. แนะ กฤษณะ เพราะเกิดอธรรมขึน, กุลสตรีกเ็ ป็ นอันล้มละลาย ก็จะเกิดวรรณ สังกร (การเสียวรรณะ) ขึน, 42. วรรณสังกรจะลากลงนรก ทัง, ผูท้ ําลายตระกูลและปวงญาติ เพราะบรรพบุรุษ ของเขาเหล่านัน, ขาดผูอ้ ุทศิ ปิณฑะและนํ, า จะต้องพากันตกตํา” (กฤษณะไทวฺปายนวฺยาส, 2479: 7-8) ฉะนัน, คัมภีรภ์ ควัทคีตาและพระมนู ธรรมศาสตร์จงึ เป็ นคัมภีรแ์ ห่งการจัดระเบียบสังคม มนุ ษย์ทสํี าคัญซึงเรียกร้องให้มนุ ษย์มคี วามเอาใจใส่อย่างจริงต่อพันธกรณีทางสังคมของตน ในช่วงอินเดียสมัยจักวรรดิ (ประมาณ 341 ปี ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220) ราชวงศ์โมริยะ ปกครองอินเดียภาคเหนือและภาคกลาง มีเมืองหลวงอยู่ทปาฏลี ี บุตร (ปตั นะ) หลักการเมืองการ ปกครองของราชวงศ์โ มริยะได้มาจากคัมภีร์อ รรถศาสตร์ ซึงเชือกันว่าเขียนขึ,นโดยพราหมณ์ จาณักย์ หรือ เกาฏิลยะ มหาอํามาตย์ของพระเจ้าจันทรคุปต์ (ผูก้ ่อตัง, ราชวงศ์เมารยะขึน, ในราว


15

300 ปี ก่อน ค.ศ. ) โดย R. Shamsastry เป็ นผูค้ น้ พบต้นฉบับอรรถศาสตร์ในปี ค.ศ. 1905 และ R. Shamsastry มีความเห็นว่า จาณักยะ หรือเกาฏิลยะน่ าจะมีชวี ติ และเขียนงานสําคัญชิ,นนี, ในช่ ว งระหว่ า งปี ที 321 ถึ ง ปี ที 300 ก่ อ นคริส ตกาล (Kautilya, 1967 อ้ า งใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) มีใจความสําคัญคือ กษัตริยท์ รงมีอํานาจสูงสุดในการ บริหารราชการ ตรากฎหมาย ตัดสินคดีความ และการทหาร มีเป้าหมายในการปกครองทีสําคัญ คือ การใช้อํานาจสูงสุดของกษัตริยเ์ พือความผาสุกและสวัสดิภาพของประชาชน (คณะกรรมการ วิชามรดกอารยธรรมโลก, 2553: 41) กษัตริยท์ มี​ี ชอเสี ื ยงมากทีสุดแห่งราชวงศ์โมริยะ คือ พระเจ้า อโศกมหาราช ซึงพระองค์ทรงมีอํ านาจเหนื อ อนุ ทวีปอินเดียเกือ บทัง, หมด ยกเว้นตอนใต้สุ ด พระองค์ท รงหัน มานั บ ถือ พระพุ ท ธศาสนาและทรงใช้ห ลัก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาในการ ปกครองซึงจะนํ าไปอธิบายในหัวข้อปรัชญาการเมืองในพุทธปรัชญา ในทีนี,จะอธิบายเฉพาะหลัก ปรัชญาการเมืองในอรรถศาสตร์ของจาณักยะ หรือ เกาฏิลยะ ปรัชญาการเมืองในคัมภีรอ์ รรถศาสตร์ของจาณักยะ หรือ เกาฏิ ลยะ อรรถศาสตร์เป็ นคัมภีรท์ มี​ี ความยาวถึง 15 เล่ม แบ่งออกเป็ น 180 ตอน และ 150 บท มี เค้าโครงเนื,อหาของแต่ละเล่มเป็ นดังนี, เล่มที 1 ว่าด้วยแง่มมุ และปญั หาต่างๆ เกียวกับกษัตริย์ เล่มที 2 ว่าด้วยการบริหารบ้านเมือง เล่มที 3 – 4 ว่าด้วยกฎหมายต่างๆ เล่มที 5 ว่าด้วยหน้าทีและความรับผิดชอบของข้าราชสํานักและข้าราชบริพารของ กษัตริย์ 5. เล่มที 6 ว่าด้วยธรรมชาติและภารกิจขององค์ประกอบ 7 ประการของรัฐ 6. เล่มที 7- 14 ว่าด้วยปญั หาเรืองนโยบายต่างประเทศ 7. เล่มที 15 ว่าด้วยเค้าโครงของหนังสือทัง, หมดและบทสรุป 1. 2. 3. 4.

เกาฏิลยะมีความเห็นว่า ศาสตร์ทงั , ปวงมีอยู่ 4 อย่าง คือ ปรัชญา (Anvikshaki) พระเวท ทัง, สาม (Vedas) เศรษฐศาสตร์ (Varta) และศาสตร์ว่าด้วยการปกครอง โดยแต่ละศาสตร์ม ี ความสําคัญดังนี, 1.ปรัช ญา (ตรรกวิ ท ยา) เป็ น เสมื อ นดวงประที ป ของศาสตร์ ท ั ง, ปวง เป็ น สิ งทํ า คุณ ประโยชน์ สูงสุ ด แก่ โ ลก เพราะทําให้จติ มันคงและแน่ ว แน่ ทงั , ในยามสุ ขและยามทุ ก ข์ และ ก่อให้เกิดความเป็ นเลิศในการคาดการณ์ภายหน้าในคําพูดและการกระทํา และนอกจากนี,ปรัชญา


16

ยังเป็ นกุญแจทีจะนํ าไปสู่ความเข้าใจทีถูกต้องของศาสตร์ซงจะช่ ึ วยพัฒนาสติปญั ญาและอุปนิสยั ของมนุ ษย์ 2.พระเวท มีประโยชน์ อย่างทีสุดเพราะเป็ นสิงกําหนดหน้ าทีต่างๆ ของบุคคลในวรรณะ ทัง, สี ตลอดจนขัน, ตอนสีประการของชีวติ มนุ ษย์1 3.เศรษฐศาสตร์ เกิดจากภาพรวมความสัมพันธ์ของเกษตรกรรม การปศุสตั ว์ และการค้า โดยเกาฏิลยะให้ความสําคัญกับเศรษฐศาสตร์ว่า “โดยอาศัยการคลังและกําลังกองทัพทีได้มาโดย เศรษฐศาสตร์เ ท่ านั น, ทีจะทํ าให้ก ษัต ริย์ส ามารถควบคุ มพลพรรคทัง, ของตนและข้า ศึก ไว้ไ ด้” (Kautilya, 1967 อ้างใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) 4.ศาสตร์ในการปกครอง เกาฏิลยะถือว่า เป็ นรากฐานของศาสตร์ทงั , ปวง และทิศทางแห่ง พัฒนาการของโลกขึน, อยูก่ บั ศาสตร์แห่งการปกครอง ซึงจะได้อธิบายเป็ นลําดับต่อไป ในทัศนะของเกาฏิลยะแล้วศาสตร์ในการปกครอง คือ ศาสตร์ในการลงโทษผู้กระทํา ผิด ดังทีเกาฏิละกล่าวว่า “คธาซึงเป็ น รากฐานแห่ ง ความคงอยู่ทีดีแ ละความก้ า วหน้ า ของศาสตร์แ ห่ ง ปรัชญาพระเวททัง, สาม และเศรษฐศาสตร์นั น, รู้จ กั กันในนามของการลงโทษทัณ ฑ์ (Danda) ศาสตร์ซงว่ ึ าด้วยทัณฑ์ คือ กฎว่าด้วยการลงโทษ หรือ ศาสตร์ในการปกครอง ...ใครก็ตามทีลงโทษอย่างรุนแรงเกินไป ประชาชนก็จะรังเกียจ ส่วนผู้ทลงโทษอย่ ี าง อ่อนโยนจนเกินไปก็จะถูกดูแคลน...ใครก็ตามทีลงโทษโดยการพิจารณาอย่างสมควรก็จะ เป็ นทีเคารพนับถือ เพราะการลงโทษทัณฑ์เมือกระทําไปด้วยการพินิจพิจารณาทีสมควร แล้ว ก็จ ะทํ า ให้ป ระชาชนอุ ทิศ ตนให้ก ับ ความถู ก ต้อ งและการงานซึงเป็ นบ่ อ เกิด ของ สินทรัพย์และความผาสุก ในขณะเดียวกันการลงโทษทัณฑ์ทกระทํ ี าไปโดยไม่สมควร ไม่ ว่าจะเป็ นเพราะอิทธิพลของความโลภและความโกรธอันเนืองมาจากความเขลา ย่อมจะ นํ าไปสู่ความโกรธเคืองแม้แต่ในหมู่ของฤาษีชไี พรหรือผู้แสวงหาความสันโดษในป่าโดย ไม่ ต้ อ งกล่ า วถึ ง ชาวบ้ า นชาวเมื อ งธรรมดา” (Kautilya, 1967 อ้ า งใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553)

1

หมายถึงหลักอาศรม 4 ซึ งกําหนดขันตอนการดําเนินชีวิตเป็ น 4 ช่วงๆ ละ 25 ปี ได้แก่ 1.ขันพรหมจารี เป็ นวัยศึกษาหาความรู ้ 2.ขันคฤหัสถ์ เป็ นวัยครองเรื อน 3. ขันวานปรัสถ์ เป็ นวัยสละเรื อนเพือแสวงหาโมกษะในป่ าเขา 4. ขันสันยาสี เป็ นวัยทีมีความรอบรู ้ในชี วิตและกลับมาคอยแนะนําสังสอนลูกหลานในการดําเนินชีวิต


17

จากคํากล่าวของเกาฏิลยะแสดงว่า การลงโทษจัดเป็ นศิลปะอย่างหนึง ซึงหากผูป้ กครอง ไม่สามารถจัดการลงโทษอย่างเป็ นธรรมได้ ในทีสุดแล้วจะเป็ นเหตุให้นําไปสู่การโค่นล้มและการ ไม่นําพาต่อสิทธิอํานาจนัน, ๆ เมือใดก็ตามทีไม่มกี ารลงโทษผูก้ ระทําผิด ความสับสนอลหม่านและ ความไร้ระเบียบใดๆ ก็จะเกิดขึน, ฉะนัน, ผูป้ กครองทีดีตอ้ งมีคุณสมบัตอิ ย่างน้อย 2 ประการ คือ 1. มีความรูใ้ นศาสตร์ทงั , ปวง (ปรัชญา) เพือทีจะสามารถมีการพินิจพิจารณาการลงโทษ ทีสมควรได้ 2. ความสามารถในการควบคุมกิเลสตัณหาของตนเอง ซึงอาจเรียกรวมๆ ว่า ความเขลา อันได้แก่ ความโลภและความโกรธ ในทางสังคมแบ่งผู้คนออกเป็ น 4 วรรณะ แต่ในทางการเมืององค์ประกอบของรัฐมีอยู่ 7 ประการ คือ 1. กษัตริย์ (Swami) 2. มุขมนตรี (amatya) 3. ประชาชน หรือ ประเทศ (janapada) 4. ป้อมปราการ (durga) 5. พระคลัง (kosa) 6. กองทัพ (danda) 7. พันธมิตร (หรือศัตรู) โดยเกาฏิลยะให้ความสําคัญกับกษัตริยส์ งู สุด ดังคํากล่าวว่า “กษัตริยท์ ฉลาดสามารถทํ ี าให้ผคู้ นทียากจนและองค์ประกอบของรัฐทีมีทุกข์กลับ เป็ นสุขและรุ่งเรืองขึน, ได้ แต่กษัตริยท์ ชัี วช้าจะทําลายองค์ประกอบทีมังคังและภักดีแห่ง อาณาจักรของตนลงอย่างแน่ นอน...กษัตริย์ทฉลาดและรอบรู ี ้ใ นทางการเมือง แม้จะมี ดินแดนทีเล็กก็สามารถพิชติ ทัง, โลกได้ดว้ ยความร่วมมือขององค์ประกอบทีเหมาะสมทีสุด ของรัฐ ของพระองค์ แ ละจะไม่ ม ี ว ัน พ่ า ยแพ้ ” (Kautilya, 1967 อ้ า งใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) นอกจากนี,เกาฏิลยะยังถือว่า กษัตริยเ์ ป็ นต้นตอแห่งความยุตธิ รรมด้วย แม้ว่าเป้าหมาย ของการปกครองตามแนวคิดของเกาฏิลยะนัน, จะมุ่งไปทีความผาสุกและสวัสดิภาพของประชาชน แต่เกาฏิลยะก็มคี วามคิดคล้ายกับ Thomas Hobbes ตรงที ศีลธรรมไม่ใช่สงที ิ ต้องคํานึงในทาง การเมือง เพราะแม้แต่ศาสนาเองก็อาจจะถูกกษัตริยน์ ํ ามาใช้ประโยชน์ ในทางการเมืองได้ เมือ


18

กล่าวโดยสรุปแล้ว เกาฏิลยะมีความเห็นว่า ธรรมชาติของมนุ ษย์นัน, เลว ซึงเป็ นเหตุผลว่า ทําไม มนุ ษย์จงึ ไม่เต็มใจทําหน้าทีของตนเอง เว้นเสียแต่ว่า จะมีกษัตริยค์ อยควบคุมลงโทษ แม้ว่ า คัม ภีร์อ รรถศาสตร์จ ะกํ า หนดให้ก ษัต ริย์ม ีอํ า นาจสู ง สุ ด แต่ เ กาฏิล ยะก็ม ีค วาม พยายามทีจะให้ผลประโยชน์ของกษัตริยแ์ ละของประชาชนเป็ นอันหนึงอันเดียวกัน จนอาจกล่าว ได้ว่า ไม่อาจแยกชีวติ ส่วนตัวของกษัตริยอ์ อกจากหน้าทีสาธารณะของกษัตริยไ์ ด้เลย ดังทีเกาฏิ ลยะกล่าวว่า “เมือกษัตริยม์ คี วามเกษมสําราญ ความเป็ นอยู่ทดี​ี และความมังคังของพระองค์ก็ จะทําให้ประชาชนพอใจ กษัตริย์มลี กั ษณะเป็ นอย่างไร ประชาชนของพระองค์ก็จะมี ลัก ษณะเป็ น อย่ างนัน, เพราะความเจริญ รุ่ ง เรือ งหรือ ความเสือมโทรมของประชาชน ย่อ มขึ,นอยู่ก ับกษัต ริย์ กล่ าวคือ กษัตริย์มฐี านะเป็ นผลรวมของประชาชน” (Kautilya, 1967 อ้างในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) และเพือเป็ นแรงจูงใจให้ก ษัต ริย์ป ฏิบตั ิต ามหน้ าทีของตนเองอย่างเต็มกํ าลัง ผู้เ ขีย น อรรถศาสตร์ได้กล่าวถึงผลตอบแทนทีกษัตริยจ์ ะได้รบั ว่า จะให้ประโยชน์ทงั , ในโลกนี,และโลกหน้า ปรัชญาการเมืองของมหาตมา คานธี มหาตมาคานธี เป็ น นั ก กฎหมาย นั ก ปฏิรู ป สัง คม นั ก ต่ อ สู้ท างการเมือ งเพือกอบกู้ อิสรภาพ นักปฏิบตั ธิ รรม รัฐบุรษุ ผูเ้ ป็ นบิดาของชาวอินเดีย และเป็ นบุคคลสําคัญคนหนึงของโลก มหาตมา คานธี มีชอเต็ ื มว่า โมหันทาส กรรมจันท์ (กรฺมจนฺ ท) เกิดเมือวันที 2 ตุลาคม 2412 ที เมืองโปรพันทระ รัฐกาฐิยาวาร์ เกิดในวรรณะแพศย์ จบการศึกษาทางด้านกฎหมายจากประเทศ อังกฤษ ทํางานในอินเดีย 2 ปี แล้วย้ายไปทํางานทีแอฟริกาใต้ เป็ นเวลา 21 ปี ความคิดเรืองรวม ศาสนาและจริยธรรมเข้ากับรัฐศาสตร์ได้เริมต้นขึน, ทีนัน เมือกลับจากแอฟริกาใต้มาแล้ว ท่านก็ เริมต่อสูเ้ พืออิสรภาพของอินเดียอย่างจริงจัง จนทําให้อนิ เดียได้รบั อิสรภาพในทีสุด เมือวันที 15 สิงหาคม 2490 แล้วท่านก็ได้จบชีวติ ลงโดยถูกลอบสังหารเมือวันที 30 มกราคม 2491 มหาตมา คานธี ใช้หลักศาสนาเป็ นทีพึงในการต่อสูท้ างการเมือง โดยแนวคิดทีมีอทิ ธิพล สําคัญต่อความคิดของมหาตมา คานธีมหี ลายแหล่งทีมา ได้แก่ 1. ศาสนาฮินดู โดยเฉพาะคัมภีรภ์ ควัทคีตา ซึงสอนให้ท่านเป็ นกรรมโยคี คือนักปฏิบตั ิ ไม่ใช่นกั ทฤษฎี และสิงทีสําคัญทีสุดทีท่านได้รบั จากคัมภีรน์ ,ีคอื สัตยะ และปญั ญา 2. พระพุทธศาสนาสอนให้ท่านดําเนินชีวติ ตามหลักอหิงสา คือการไม่เบียดเบียนทัง, ตนเองและผูอ้ นื ซึงต่อมากลายเป็ นหลักการสําคัญทีเรียกชือในภาษาอังกฤษว่า non-violence


19

3. ศาสนาคริสต์สอนให้ท่านดําเนินชีวติ เพือผู้อนแบบพระเยซู ื คริสต์ผู้เป็ นตัวแทนของ ผู้ร ับ ใช้ ม นุ ษ ย์ เป็ น ผู้ ร ัก ความจริง เหนื อ ชีว ิต ศาสนาคริส ต์ ส อนให้ เ รารัก กัน ไม่ เบียดเบียนกัน 4. ศาสนาอิสลาม เป็ นศาสนาแห่งความสงบ คัมภีรก์ ุรอานส่งเสริมหลักธรรมข้อนี, 5. ลีโอ ตอลสตอย (Leo Tolstoy) ได้ให้แนวคิดเรือง การกระจายอํานาจปกครอง (decentralization) และหลักการสัตยาเคราะห์ (Satyagraha) (อดิศกั ดิ ` ทองบุญ, 2545: 117122) Srivastava, Rama Shanker (1965) ได้สรุปหลักการของสัตยาเคราะห์ของมหาตมา คานธีไว้ดงั นี, 1. เป็ นหลักการปฏิบตั ทิ มี​ี พลัง 2. เป็ นหลักการทีจะทําลายล้างกฎทีมนุ ษย์หรือรัฐสร้างขึน, ทุกอย่าง ถ้าหากขัดกับกฎ ของพระเจ้า (คือความจริง) 3. เป็ นหลักการทีไม่ใช้ความรุนแรงทัง, ปวง 4. เหตุจงู ใจของสัตยาเคราะห์ คือ ความรักทีมีต่อคนทุกคน ตลอดกาลทุกเมือ 5. จุ ด หมายของสัต ยาเคราะห์ ค ือ การตกลงกัน การประนี ป ระนอมกัน และการ ปรองดองกันโดยยึดเอาความถูกต้อง ความสัตย์จริงเป็ นทีตัง, ไม่มกี ารบังคับข่มขู่ กดขีคู่กรณี ไม่มกี ารได้เปรียบเสียเปรียบต่อกัน 6. การต่อสูแ้ บบสัตยาเคราะห์เต็มรูปนัน, ต้องพร้อมเพรียงกันต่อสูไ้ ม่แตกแยกกัน ไม่ใช่ พวกหนึ งไม่ใ ห้ค วามร่ว มมือ กับฝ่ายอธรรม แต่ ยงั มีบ างพวกไปเข้า กับฝ่ ายนั น, (Srivastava, Rama Shanker, 1965 อ้างใน อดิศกั ดิ ` ทองบุญ, 2545) มหาตมา คานธีได้ใช้วธิ กี ารเจรจาและต่อรองกับอังกฤษโดยยึดหลักใหญ่ 3 ประการคือ 1. Truth คือ สัตย์ หรือ ความจริง ก่อนทีจะทําอะไรต้องรูว้ ่า สิงนัน, เป็ นความจริง หรือไม่ความจริงทีกําลังต่อสูน้ นั , คืออะไร ต้องต่อสูบ้ นพืน, ฐานของสัตย์ 2. Non-Violence คือ อหิงสา ไม่เบียดเบียนกัน ไม่ใช้ความรุนแรง 3. Civil Disobedience คือ การดื,อแพ่ง ไม่ปฏิบตั ติ ามโดยไม่ใช้อาวุธต่อสู้กบั ผูป้ กครอง คานธีได้สร้างวัตถุประสงค์สําคัญๆ ของสัตยาเคราะห์ไว้ 2 ประการคือ การเรียนรูซ้ งวิ ึ ธี รับใช้มาตุภมู แิ ละการรับใช้มาตุภมู ิ (ทวี ทวีวาร, 2553: 134-135) หัวใจสําคัญของปรัชญาการเมืองของคานธีกค็ อื การรูจ้ กั ประมาณตน (Self-Sufficiency) ไม่มกี ารชิงดีชงิ เด่นกัน (Non-Competition) การกระจายความยุติธรรม (Equitable) และการ


20

กระจายผลประโยชน์ให้ทวไปในทุ ั กกลุ่มสังคม (Centralised Production) และหัวใจของคําสอน ของคานธี ก็คอื การปรองดอง การสามัคคีซงกั ึ นและกัน (Mutual Adjustment) ความรูส้ กึ สันโดษ มักน้อย (The Feeling of Contenment) และความปรารถนาทีจะเห็นผูอ้ นมี ื ความสุขเช่นเดียวกับ เรา (The Desire to see Others as Happy as Ourselves) (ประยงค์ สุวรรณบุบผา, 2541: 193-194)

ปรัชญาการเมืองในโลกตะวันออก : ปรัชญาจีน ชนชาติโบราณทีมีอารยธรรมของตนเองมาเก่าแก่มอี ยู่มาก เช่น อียปิ ต์ กรีก โรมัน จีน อินเดีย เป็ นต้น บรรดาชนชาติเหล่านี, จีนและอินเดีย เป็ นประเทศในทวีปเอเชียทียังคงดํารงสืบ ต่ออารยธรรมของตนเองไม่ขาดสาย จีนและอินเดียจึงถือว่า เป็ นแม่แบบทางอารยธรรมของชน ชาติต่างๆ ในภาคพืน, ทวีปนี, สิงทีมีบทบาทต่อวัฒนธรรมของจีนอย่างมากก็คอื ปรัชญา ซึงเป็ นทัศนะของนักปราชญ์ (sage) ของจีนในอดีตหลายท่าน โดยเฉพาะในสมัยราชวงศ์โจว (Chou) (ศตวรรษที 11 ก่อน ค.ศ. – 256 ปี ก่อน ค.ศ. ) การเมืองเต็มไปด้วยการต่อสู้และสงครามมากกว่าสันติภาพ แม้ บ้านเมืองจะขาดความสงบสุข แต่กม็ ไิ ด้เป็ นอุปสรรคต่อความเจริญด้านต่างๆ อาทิ อักษรศาสตร์ ปรัชญา และทฤษฎีสงั คม ในยุคทีประชาราษฎร์ประสบภัยและทุกข์ยากทีสุด แต่ในขณะเดียวกัน ก็เป็ นยุคทีก่อให้เกิดนักปราชญ์ทสร้ ี างปรัชญาเพือแก้ปญั หาวิกฤติของบ้านเมืองด้วย บรรดานัก คิดนักปรัชญาได้เผยแพร่ความคิดและปรัชญาโดยการเปิ ดสํานักศึกษานับร้อยแห่ง (Hundred schools) Tzu) ความคิดปรัชญาแห่งยุคทีขึน, ชือทีสุดคือ ลัทธิขงจือ, (Confucius, เกิดเมือ 551 ปี - 479 ปี ก่อน ค.ศ.) และลัทธิเต๋า (Taoism) ทีนิยมรองลงมาคือ ลัทธิเม่งจือ, (Mencius), ลัทธิ ม่อ จื,อ (Mo-Tzu), ลัท ธิซุ่ น จื,อ (Hsun-Tzu) ลัท ธินิ ตินิ ย ม (Legalism) และลัท ธิธ รรมชาตินิ ย ม (Naturalism) บรรดาสํานักศึกษานับร้อยแห่งนี,ล้วนแต่ได้เผยแพร่คําสอนทีได้รบั อิทธิพลคําสอน ของขงจือ, ในทางใดทางหนึงอย่างหลีกเลียงมิได้ (จันทร์ฉาย ภัคอธิคม, 2550) อย่างไรก็ตามแม้ว่าปรัชญาจีนจะมีมากมายอย่างทีเรียกกันว่า ปรัชญา 100 สํานัก แต่ใน บรรดาสํานักทัง, หลายเหล่านี,มเี พียง 4 สํานักเท่านัน, ทียังมีผลงานตกทอดมาจนถึงปจั จุบนั คือ สํานักปรัชญาเต๋า สํานักปรัชญาขงจือ, สํานักปรัชญาม่อจือ, และสํานักปรัชญานิตนิ ิยม ซึงมีทศั นะ โดยสังเขปของแต่ละสํานักดังนี, 1. สํานักปรัชญาเต๋า มีความเห็นว่า ขึน, ชือว่าคนนัน, ยุ่งเหยิงไม่มที สิี น, สุด เป็ นทีตัง, แห่ง ปญั หาทัง, ปวง ยิงคิดยิงทําอะไรมากก็ยงยุ ิ ่งมาก จะแก้ไขอย่างไรก็ไม่มที สิี ,นสุด สู้ปล่อยไปตาม


21

ธรรมชาติ สนับสนุ นให้เข้าหาธรรมชาติจะดีกว่า พวกทีมีความเห็นอย่างนี,ก็ม ี เหลาจือ, จวงจื,อ เป็ นตัวแทน 2. สํานักปรัชญาขงจืVอ มีความเห็นว่า ขนบธรรมเนียมโบราณทีดีงามมีอยู่มาก ควรที จะได้ฟ,ื นฟูเรืองทีดีงามนัน, ขึน, มาใหม่ แล้วนํ ามาเป็ นหลักประพฤติปฏิบตั ิ พวกทีมีความเห็นอย่าง นี,กม็ ี ขงจือ, เม่งจือ, เป็ นตัวแทน 3. สํานักปรัชญาม่อจืVอ มีความเห็นว่า เรืองทีล่วงมาแล้วก็เหมาะกับคนสมัยนัน, ไม่ควร รือ, ฟื, นขึน, มาอีก ควรจะหาอะไรใหม่ๆ ทีเหมาะสมมาเป็ นหลักในการยึดเหนียวจะดีกว่า พวกทีมี ความเห็นอย่างนี,ม ี ม่อจือ, เป็ นตัวแทน 4. สํานักปรัชญานิ ตินิยม มีความเห็นว่า ธรรมชาติดงั , เดิมของคนมีแต่ความชัวร้าย จึง ต้อ งใช้ก ฎหมายและอํานาจมาเป็ นเครืองควบคุ ม พวกทีมีค วามเห็นแบบนี, ม ี ฮันเฟยจื,อ เป็ น ตัวแทน (ฟื,น ดอกบัว, 2542: 8) ในทีนี,ขอแสดงแนวคิดทางการเมืองของนักปรัชญาจีนผูเ้ ป็ นต้นแบบแนวคิดของปรัชญา จีนทัง, หมด เพียง 2 สํานักเท่านัน, คือ สํานักปรัชญาขงจือ, และสํานักปรัชญาเต๋า ดังต่อไปนี, ปรัชญาสังคมและการเมืองของขงจืVอ ปรัชญาสังคมของขงจือ, มีลกั ษณะทีคล้ายคลึงกับหลักทิศ 6 ในพระพุทธศาสนากล่าวคือ ขงจื,อมีความเห็นว่า ความยุ่งยากทีเกิดขึ,นในสังคมเป็ นเพราะว่า คนแต่ ละคนไม่ทําหน้ าทีของ ตนเองให้สมบูรณ์ เช่น บิดามารดาไม่เลีย, งดูบุตรธิดาให้ดี บุตรธิดาก็ไม่มคี วามกตัญˆูกตเวทีต่อ บิดามารดา สามีภรรยาต่างก็นอกใจกัน เป็ นต้น ผลคือความเดือดร้อนจึงมาตกแก่สงั คม หากทุก คนทําหน้ าทีของตนเองให้สมบูรณ์ความวุ่นวายของสังคมก็จะหมดไป ขงจือ, ได้กําหนดบทบาท หน้าทีทีบุคคลพึงกระทําต่อกันเป็ น 5 คู่ คือ ผู้ปกครองกับผูอ้ ยู่ใต้ปกครอง บิดามารดากับบุตร ธิดา สามีกบั ภรรยา พีกับน้อง และเพือนกับเพือน โดยขงจือ, อธิบายว่า ผูป้ กครองควรแสดงความ นับถือให้เกียรติผู้ใต้ปกครอง ส่วนผู้ใต้ปกครองก็ต้องจงรักภักดี ส่วนด้านปรัชญาการเมืองนัน, ขงจือ, เชือว่า หากได้ผนู้ ําทีดีเด่นทัง, ความรูแ้ ละคุณธรรมมาปกครองประเทศแล้ว ก็จะบันดาลความ ผาสุกและความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดขึ,นแก่ พลเมืองได้อย่างแน่ นอน อุ ดมคติทางการเมืองของ ขงจื,อมีอยู่ว่ า “พลโลกเป็ นครอบครัว เดียวกัน” ขงจื,อจึงเสนออุ ดมคติทางการเมืองออกเป็ น 2 ระดับ คือ 1. แบบไต้ทง้ ซึงเป็ นระดับความดีสงู สุด และ 2. แบบเซียวคัง ซึงเป็ นระดับดีรองลงมา มีรายละเอียดโดยสังเขปของแต่ละแบบดังนี, 1. แบบไต้ ท้ ง เป็ นระบบสากลนิ ยม ถือว่ าทุก คนทัวโลกเป็ นพีน้ อ งกัน ไม่มกี าร แบ่งเป็ นชาติ เป็ นเผ่า เป็ นพวก หรือแบ่งเป็ นประเทศ เป็ นแคว้น เป็ นเมืองอย่างทีเป็ นอยู่ใน ปจั จุบนั เพราะความยึดมันถือมันในการแบ่งแยกจะเป็ นเหตุให้เกิดความแตกสามัคคี เกิดการ แก่ ง แย่ง เพือตัว และพวกพ้อ ง อีก ทัง, เบีย ดเบีย นกันเพราะเห็น เป็ นฝ่ ายอืน จึง ทํ าให้ผู้ค นไม่


22

สามารถพบกับสันติสุขอย่างแท้จริงได้ ขงจือ, จึงเสนอให้ทุกคนสังกัดชาติเดียวกัน คือ มนุ ษยชาติ เป็ นพลเมืองของประเทศเดียวกัน คือ เป็ นพลโลก ทุกคนเสมอภาคเท่าเทียมกัน ส่วนผูป้ กครองก็ จะต้องเป็ นคนดีเยียมทัง, มีความสามารถเยียม โดยประชาชนพลโลกเป็ นผูค้ ดั เลือก ผูป้ กครองต้อง ตัง, คณะคนดีเป็ นรัฐบาลโลกมาปกครองพลโลก หากเป็ นได้ดงั กล่าวมาทุกคนจะมีความสุขถ้วน หน้ า ขงจือ, เรียกการปกครองแบบนี,ว่า มหาสันติสุข (ไท้เพ้ง) การปกครองแบบนี,เป็ นแบบฉบับ สูงสุดในอุดมคติของขงจือ, 2. แบบเซียวคัง ซึงเป็ นแบบทีดีรองลงมา ขงจือ, มีความเห็น หากไม่สามารถสร้างระบอบ การปกครองแบบไต้ทง้ ได้ ก็ให้ใช้แบบเซียวคัง กล่าวคือ แม้ว่าจะมีการแบ่งเป็ นชาติ เป็ นเผ่า หรือ เป็ นประเทศ เป็ นแคว้น แต่ ห ากได้ผู้ปกครองทีดี เช่ น พระเจ้าจิว บุ้นอ๊ ว ง เป็ นต้น ก็ส ามารถ บันดาลสันติสุขมาให้ประชาชนได้เช่นกัน การปกครองแบบนี,จะอํานวยความสุขให้เฉพาะราษฎร ของตนเท่านัน, ไม่แผ่กว้างทัวไปแบบไต้ท้ง ขงจื,อเรียกการปกครองแบบนี,ว่า จุลสันติสุข (เซ็ง เพ้ง) (ฟื, น ดอกบัว, 2542) ในรูปแบบการปกครองแบบนี,รฐั บาลจะต้องมาจากการเลือกของ ประชาชนและต้องปกครองโดยชอบธรรม คือ ยึดหลักนิตธิ รรมเนียมแทนหลักการปกครองด้วย อาชญา (ซึงเป็ นแนวคิดทีตรงข้ามกับแนวคิดในอรรถศาสตร์ของเกาฏิลยะทีได้ระบุว่า ศาสตร์แห่ง การปกครอง คือ ศิลปะการลงโทษ) อย่างไรก็ตามปรัชญาการเมืองของขงจือ, ทัง, 2 แบบนี, ยึดถือประชาชนเป็ นสําคัญ ขงจือ, กล่าวว่า “สิงใดทีประชาชนพอใจ เราจงพอใจ สิงใดทีประชาชนเกลียดชัง เราจงเกียดชัง ผู้ใดทํา ได้อย่างนี,ชอว่ ื า เป็ นบิดามารดาของประชาชน” ขงจือ, ได้วางหลักปฏิบตั สิ าํ หรับผูน้ ําไว้ 9 ประการ คือ 1.ซิวซิง-อบรมคุณธรรมให้มใี นตน มีอธิบายไว้สนั , ๆ ว่า นักปกครองทีดีจะต้องมีคุณธรรม ในตนก่อน ก่อนทีจะปกครองคนอืน อย่าให้เป็ นแบบแม่ปสู อนลูกปูให้เดินตรง 2.จุงเฮีย, ง-เคารพ ยกย่อง ส่งเสริมคนทีมีความรูค้ วามสามารถ อย่าเคารพยกย่อง หรือ ส่งเสริมคนเพียงเพราะเขามีตระกูล ศักดินา โภคทรัพย์ หรือ เพราะเป็ นญาติ พวกพ้องของ ตัวเอง หรือ เพียงเพราะเขาเป็ นคนเอาใจเก่ง 3. ชิงชิง-ปฏิบตั หิ น้าทีอย่างดีทสุี ดต่อบุคคลผูเ้ กียวข้องในสังคม 4.เก้งไต้ชงิ -ยกย่องขุนนางผูใ้ หญ่หรือผู้มอี ํานาจในแผ่นดิน มีความหมายว่า ผูน้ ํ าจะต้อง รูจ้ กั ให้เกียรติ ให้ความเคารพ ไม่เหยียบยําดูถูกผูใ้ หญ่ทงั , โดยคุณวุฒแิ ละวัยวุฒหิ รือทัง, สองอย่าง 5.ทีคุง้ ชิง-แผ่พระคุณในขุนนางผู้น้อย หมายความอย่างสัน, ๆ ว่า อย่าใช้พระเดชกับผูใ้ ต้ ปกครอง แต่จงใช้พระคุณ 6.จือ, สูม้ งิ -ให้ความรักแก่ราษฎรทัวไปเหมือนพ่อแม่ให้ความรักต่อลูกหลานของตนเอง


23

7.ไล้แปะกัง-ส่งเสริมการศึกษา ศิลปวิทยาและการอาชีพให้เจริญ 8.ยิว, เอีย, งนัง, -ให้การต้อนรับแก่ชาวต่างแดนให้มาค้าขายหรือมาสวามิภกั ดิ ` 9.ไฮ้วจูโฮ้ว-ผูกนํ,าใจไมตรีในบรรดาเจ้าผูค้ รองนครรัฐทัง, หลาย (น้อย พงษ์สนิท, ม.ป.ป.) ในคัมภีรห์ ลุนอวี (The Analects of Confucius) ได้กล่าวถึงหลักคําสอนเกียวกับการ ปกครองของขงจือ, ไว้ว่า “13/1 จือลู่ถามเรืองรัฐศาสตร์ ขงจือกล่าวว่า ‘ทําตัวเป็ นแบบอย่างแลตรากตรํา ไม่ทอ้ ’ จือลู่ขอให้ขงจืออธิบายเพิมเติม ขงจือกล่าวว่า ‘จงทําโดยมิรหู้ น่ าย’ 13/2 หยันยงไปเป็ นอนุ มนตรีของจีซ, อื จึงมาถามเรืองการปกครอง ขงจือกล่าว ว่า ‘พึงทําตัวเป็ นแบบอย่างให้แก่ บริพารเป็ นอันดับต้น รูจ้ กั อภัยในลหุโทษ และรู้จกั ใช้ ปราชญ์เมธี... ” (อมร ทองสุก, 2552: 263-264) และเมือจือก้งถามเรืองการปกครอง ขงจือตอบว่า “12/7 พึงถึงพร้อมด้วยโภชนะอันอุดม ยุทธพลอันพรังพร้อม แลพลังศรัทธา แห่งประชาชนนันแล” (อมร ทองสุก, 2552: 254) จะเห็นได้ว่า ขงจื,อ เชิดชูคุ ณธรรมสูงกว่ าสิงใด โดยเฉพาะคุณธรรมของผู้ปกครอง จึง กล่ าวได้ว่า คุ ณธรรมเป็ นแก่ นและเป็ นจุด หมายปลายทางของปรัชญาขงจื,อ คุ ณธรรมจะช่ ว ย บันดาลให้ คน ครอบครัว สังคม ประเทศ ตลอดถึงโลก ประสบสันติสุขได้อย่างแท้จริง แต่โลกจะ มีคุณธรรมได้กเ็ พราะประเทศมีคุณธรรม ประเทศจะมีคุณธรรมได้กเ็ พราะสังคมมีคุณธรรม สังคม จะมีคุณธรรมได้ก็เพราะครอบครัวมีคุณธรรม และครอบครัวจะมีคุณธรรมได้คนหรือสมาชิกใน ครอบครัวมีคุณธรรม ฉะนัน, บุคคลแต่ละคนจึงเป็ นรากเหง้าแห่งความเจริญทัง, ปวง แต่ โ ดยทางตรงกันข้าม หากแต่ ล ะคนไม่มคี ุณธรรมก็จะกลายเป็ นรากเหง้าแห่ งความ เลวร้ายทัง, หลายแผ่กระจายออกไปอย่างกว้างขวาง ขงจือ, จึงเน้ นทีการพัฒนาคนเป็ นลําดับแรก จะปล่อยให้ดขี น,ึ เองนัน, ไม่ได้ จะต้องได้รบั การศึกษาอบรม การศึกษาช่วยให้คนฉลาด ส่วนการ อบรมนัน, จะช่ วยให้เป็ นคนดี หากสามารถสร้างคนดีให้ฉลาดได้แล้ว ก็เท่ ากับตัดปญั หาความ เดือดร้อนทัง, หลายให้หมดสิน, ไปได้ ดังนัน, ความสําคัญของปรัชญาขงจือ, จึงอยู่ทคุี ณธรรม ขงจือ, มันใจในปรัชญาของตนเอง มากถึงกับพูดว่า “หากมีผมู้ อบให้ฉนั บริหารบ้านเมือง เพียงเวลาปีเดียวก็จะเห็นผลดี และภายใน ระยะเวลา 3 ปีทุกสิงจะเรียบร้อยสําเร็จบริบรู ณ์ (ฟื,น ดอกบัว, 2542)


24

ปรัชญาการเมืองของเหลาจืVอ W. L. Reese ภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ได้ให้ประวัตสิ นั , ๆ ของ เหลาจือ, ไว้ใน Dictionary of Philosophy and Religion Eastern and Western Thought ว่า เหลาจือ, เป็ นนักปรัชญาจีนทีมีชอเสี ื ยงรุ่งโรจน์ มากผูห้ นึงของจีน เหลาจือ, เป็ นเป็ นผู้สถาปนาลัทธิ เต๋ า (Taoism) ขึ,นมาทัง, เป็ นผู้เขียนคัมภีร์เต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) ซึงเป็ นคัมภีร์ทเก่ ี าแก่ และเป็ นคัมภีรท์ มี​ี คาํ สอนเกียวกับคุณธรรม (Virtue) ทีมีค่ามากคัมภีรห์ นึงและคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง ก็เป็ นคัมภีรอ์ ธิบายลัทธิเต๋าอีกด้วย (Reese, W.L.,1980 อ้างใน ประยงค์ สุวรรณบุบผา, 2541) มโนทัศน์ ทางการเมืองของเหลาจือ, มีลกั ษณะเป็ นระบอบเสรีนิยม (Liberalism) ผสมกับ ธรรมชาตินิยม (Naturalism) กล่าวคือ เหลาจือ, ถือว่า กฎธรรมชาติ (Natural Law) เป็ นกฎที ศักดิ `สิทธิ ` กฎธรรมชาติเป็ นกฎทีครอบคลุมเอกภพและเป็ นกฎทียิงใหญ่ ในยุคทีเหลาจือ, ดํารงชีวติ อยู่นัน, เป็ นยุคทีเจ้าผู้ครองนคร (Feudalism) มีการแย่งอํานาจ กัน รบราฆ่าฟนั กัน เพือแย่งดินแดน แย่งผู้คน แย่งชิงทรัพย์สมบัตติ ่ างๆ เป็ นยุคทีบ้านเมือง สับสนวุ่นวาย เหลาจือ, จึงมีปฏิกริ ยิ าต่อการปกครองของสมัยนัน, อย่างรุนแรง เหลาจือ, ได้ปล่อย วางละเลิกไม่เกียวข้องกับสังคมและการเมือง และกล่าวตําหนินกั การเมืองในยุคนัน, ว่า “จงดูความโสมมของนักปกครองเถิด พวกเขาปล่อยนาไร่ให้รกร้าง ปล่อยยุ้ง ฉางให้ว่างเปล่า เอาเวลาไปแต่ งองค์ทรงเครือง แต่ งกายด้ว ยแพรพรรณตระการตา คาดกระบีอวดศักดาทุกวีวัน สุขสําราญด้วยการดืมกินกันฟุ่มเฟื อยและมังคังรํารวยเกิน พอดี นีเรียกว่า ฉ้อฉลและสุรุ่ยสุร่าย มิใช่วถิ แี ห่งเต๋า2” (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2549: 105) รัฐบาล 3 ประเภท ในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 17 กล่าวว่า “นักปกครองทีดีทสุี ด คือ ผู้ทประชาชนรู ี จ้ กั นักปกครองทีดีรองลงมา คือ ผู้ที ประชาชนรักและสรรเสริญ นักปกครองทีดีรองลงมา คือ ผู้ทประชาชนเกรงกลั ี ว นัก 3 ปกครองทีเลว คือ ผูท้ ประชาชนเกลี ี ยดชัง ” (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2549: 67)

2

“Their courts shall be well kept, but their fields shall be badly cultivated, and their granaries very empty. They shall wear elegant and ornamented robes, carry the sharpest of swords, pamper themselves in eating and drinking, and have a super abundance of property and wealth. Such princes may be called robbers and boasters. Surely this contrary to the Tao.” (Streep, Peg, 1994: 53) 3 In the earliest times, the people did not know their rulers existed. In the next age, they loved them and praised them. In the next they fear them. In the next they despised them. (Streep, Peg, 1994: 17)


25

เหลาจือ, มีความเห็นว่า รัฐทีดีควรปกครองประชาชนโดยไม่ยุ่งเกียวกับประชาชนมากนัก ปล่อยให้พลเมืองอยู่อย่างเสรีมอี สิ รภาพ ปล่อยให้ทุกอย่างเป็ นไปตามธรรมชาติ เหลาจือ, ได้แบ่ง รัฐบาลออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1.รัฐบาลทีปกครองโดยทีพลเมือ งไม่รู้ส ึก ว่ าถู ก ปกครอง ทัง, นี, เ พราะ รัฐบาลปล่ อ ยให้ พลเมืองดําเนินชีวติ ไปตามคติเสรีนิยมและธรรมชาตินิยม เหลาจือ, เชือว่า รัฐบาลแบบนี,ดที สุี ด 2.รัฐบาลทีปกครองพลเมืองโดยวิธสี ร้างความดีให้พลเมืองเห็น พลเมืองก็จะสดุดรี ฐั บาล นัน, รัฐบาลแบบนี,กด็ ี แต่ไม่ประเสริฐเท่าแบบที 1 3.รัฐบาลทีใช้อํานาจกดขีพลเมือง ยุ่งเกียวกับพลเมืองมากเกินไป จนพลเมืองแทบจะไม่ เป็ นตัวของตัวเอง ในทัศนะของเหลาจือ, รัฐบาลแบบนี,แย่ทสุี ด (ฟื,น ดอกบัว, 2542: 31) ตามแนวคิดพื,นฐานของเหลาจือ, คือ มนุ ษย์เกิดมาพร้อมกับความดีงาม นีคือ ธรรมชาติ ดัง, เดิมของมนุ ษ ย์ ดังนัน, การจัดการปกครองควรจะให้ความเป็ นอิสรเสรีแก่ ประชาชนในการ ดําเนินชีวติ ปล่อยให้ประชาชนประกอบธุรกิจการงานของเขาอย่างอิสระ ผู้ปกครองของรัฐไม่ ควรเข้าไปยุง่ เกียวและก้าวก่ายในกิจการของเขา ผูป้ กครองควรคอยดูแลอยูเ่ บือ, งหลังเท่านัน, หลักการจัดการปกครองของเหลาจืVอ เหลาจือ, ได้ให้ทศั นะในการจัดการปกครองไว้ โดยแยกองค์ประกอบเป็ น 4 ประการ ดังนี, 1. ลักษณะที+ ดีของผู้ปกครอง ตามอุดมคติของเหลาจือ, ผู้ปกครองต้องมีความอ่อน น้อมถ่อมตน ไม่เข้าไปก้าวก่ายในธุรกิจการงานของประชาชน ไม่แสวงหาผลประโยชน์ใส่ตน ต้อง อยู่ข้างหลังประชาชน เมือผู้ปกครองอยู่เบื,องหลังก็ไม่อึดอัด ดังคํากล่าวของเหลาจื,อว่า เมือ ปราชญ์อยู่เบื,องบน ประชาชนอยู่เบื,องล่าง ก็ไม่รสู้ กึ ว่าเป็ นภาระหนัก เมือปราชญ์อยู่เบือ, งหน้ า ประชาชนอยู่เบื,องหลัง ประชาชนก็มไิ ด้ทําร้าย เพราะเหตุว่า ประชาชนต่างนิยมยินดียกปราชญ์ ไว้ในทีสูง เคารพยกย่อง และไม่มวี นั จะถอดถอน นักปกครองทีดีจะต้องเดินตามวิถขี องเต๋า ดังคํา กล่าวของเหลาจือ, ตอนหนึงว่า “นักปกครองขาดศรัทธาในเต๋า มักจะให้ประชาชนมาศรัทธาในตน นักปกครอง ทีศรัทธาในเต๋า การงานย่อมลุล่วง ชาวประชายกย่องเกียรติกําจาย เต๋ า ว่ า ผู้ป กครองทีดี ประชาชนเพีย งรู้ว่ า เขามีอ ยู่ ต่ อ มาประชาชนรัก และ สรรเสริญ ประชาชนเชือฟงั และกลัวเกรง ความกลัวเกรงนี,ม ี 2 สถานะ คือ กลัวเกรงต่อ อํานาจและกลัวเกรงต่อความดี ผูป้ กครองใช้อํานาจปกครองเมือหมดอํานาจ ประชาชนก็


26

ขาดความกลัวเกรง มีแต่ เสียงสาปแช่งตามมา แต่ผู้ปกครองทีเป็ นคนดี แม้ไม่มอี ํานาจ บารมี ก็ยงั มีผคู้ นบูชายกย่อง” ตามทัศ นะของเหลาจื,อ ลัก ษณะของผู้ป กครองทีดีอีก อย่างหนึ งก็ค ือ เป็ น คนไม่ห ลง อํ า นาจ ไม่ ทํ า ตนเป็ น นาย และปฏิ บ ัติ ห น้ า ทีโดยไม่ ห วัง สิ งตอบแทน เหลาจื,อ กล่ า วโดย เปรียบเทียบความดีทถาวรว่ ี า “แผ่นฟ้าและผืนดินยืนยงกว่ าสิงใด ก็เ พราะมิไ ด้อยู่เพือตัวเอง นีคือ สาเหตุ ที ดํารงอยู่นานกว่าสิงอืน ฉะนัน, บัณฑิตควรทําตนให้อยู่เบื,องหลัง จะได้อยู่ขา้ งหน้ า พึง สละความเห็นแก่ตวั ก็จะรูว้ ่ามีสงเหลื ิ ออยู่มากมาย เพราะเหตุแห่งความไม่เห็นแก่ตวั นี แหละ เขาจึงมีโอกาสบําเพ็ญสาธารณะประโยชน์ ได้บริบูรณ์4” (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2549: 57) 2. ปกครองโดยกฎธรรมชาติ เหลาจื,อเห็นว่า มนุ ษย์เกิดมาพร้อมกับธรรมชาติ คือ ความดี ทุกคนเกิดมาล้วนมีเมตตากรุณา หากรัฐจัดการปกครองให้เป็ นแบบธรรมชาติเริมจากการ ให้เสรีภาพแก่ราษฎรในการดําเนินชีวติ หากไม่ผดิ กับกฎธรรมชาติ รัฐก็ไม่ควรเข้าไปยุ่งเกียวกับ ชีวติ ของพวกเขา รัฐไม่ควรเอากฎเกณฑ์ต่างๆ ทีมนุ ษย์บญ ั ญัติมาบังคับให้ราษฎรปฏิบตั ิ เช่น ขนบธรรมเนียม หรือกฎหมาย เพราะกฎเกณฑ์เหล่านี,มไิ ด้ช่วยให้สงั คมมนุ ษย์ดขี น,ึ แต่ กลับจะ สร้างปญั หาให้สงั คมมากขึน, หากมนุ ษย์ดําเนินชีวติ ไปตามธรรมดาธรรมชาติ ปญั หาต่างๆ ก็ไม่ เกิดขึน, กับชีวติ และสังคม ดังทีเหลาจือ, กล่าวว่า ั ว่ น “มีขอ้ ห้ามมาก ประชาชนยิงยากจน ประชาชนมีอาวุธร้ายแรงรัฐก็ปนป ประชาชนมีความฉลาดและสามารถมากสิงประดิษฐ์กแ็ ปลกใหม่ และพลิกแพลงมาก กฎหมายมาก โจรผูร้ า้ ยก็มาก5” (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2549: 110) “ชาวประชาหิวโหยและอดอยาก เพราะรัฐเก็บภาษีมากเกินไป ชาวประชากระด้างกระเดือง ปกครองยาก เพราะรัฐยุง่ เกียวกับชีวติ เขามากเกินไป 4

Heaven is long-enduring and earth continues long. The reason heaven and earth are able to endure and to continue is that they do not live of, or for, themselves. This is how they are able to continue and endure. Therefore the sage puts his own person last, and yet it is found in the foremost place; he treats his person as if it were foreign to him, and yet that person is preserved. Is it not because he has no personal and private ends that therefore such ends are realize? (Streep, Peg, 1994: 7) 5 By these facts : multiple taboos increase the poverty of the people; the more sharp tools the people have to add to their profit, the greater disorder in the state and clan; the more acts of crafty dexterity, the more strange contrivances appear; the more display there is of laws and edict s, the greater the number of thieves and robbers. (Streep, Peg, 1994: 57)


27

ชาวประชาไม่กลัวตาย เพราะนักปกครองอยูอ่ ย่างหรูหราฟุ่มเฟือย ผูไ้ ม่ละโมบ ไม่ยดึ ถือ ย่อมมีชวี ติ ทีทรงคุณค่า” (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2549: 128) 3.รัฐไม่ควรจัดการศึ กษาสูงเกิ นไปให้ แก่ ประชาชน เหลาจื,อเห็นว่า มนุ ษย์เกิดมา หากเขาได้มชี วี ติ อยูท่ ่ามกลางสิงแวดล้อมทีเป็ นธรรมชาติ ความชัวร้ายก็จะไม่เกิดขึน, ในจิตใจของ พวกเขา แต่ถ้ารัฐจัดสิงแวดล้อมทีขัดต่อธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์คดิ ค้นสิงใหม่ๆ ขึน, มา และ สมมติค่าให้แก่วตั ถุต่างๆ ซึงเป็ นสาเหตุให้คนเราเกิดกิเลสตัณหาปรารถนาอยากได้ อยากมีไว้ใน ครอบครองของตนจนนํ าไปสู่การแก่งแย่งแข่งขัน การทุจริตคดโกง หลอกลวง เอารัดเอาเปรียบ กัน เหลาจื,อเห็นว่า การจัดการศึกษาให้แก่ ประชาชนสูงเกินไป ไม่เกิดผลดีทจะทํ ี าให้สงั คมอยู่ ร่วมกันอย่างผาสุก เพราะผู้ได้รบั การศึกษาสูงกว่าและดีกว่า มักจะใช้ความรู้และสติปญั ญาไป ในทางทุ จริต คดโกง เอารัด เอาเปรียบผู้ทีมีส ติป ญั ญาด้อ ยกว่าตน หรือ ไม่ก็มกั จะคิด ค้นและ ประดิษฐ์สงต่ ิ างๆ ขึน, มาเพือหาผลกําไรและใช้กลวิธกี ารโฆษณาให้ประชาชนเกิดความอยากได้ อยากมี ก่อให้เกิดค่านิยมในการบริโภคใช้สอยจนฟุ่มเฟื อย และการศึกษาสูงไม่อาจทําให้เข้าถึง เต๋าได้ เต๋ามักอยูท่ ตํี า ซึงคนธรรมดาสามารถเข้าถึงได้ 4. รัฐควรอบรมประชาชนให้ มีความสงบทางจิ ตใจ เหลาจือ, เห็นว่า รัฐนัน, แทนทีจะ จัดการศึกษาสูงให้แก่ประชาชน แต่ควรทําการอบรมสังสอนประชาชนให้มชี วี ติ อย่างเรียบง่าย มี จิตใจสงบไม่โลภ ไม่เป็ นทาสของกิเลสตัณหา ไม่ทะยานอยาก แสวงหาแต่ สงที ิ จําเป็ นต่อชีวติ ดําเนินชีวติ ตามธรรมดาธรรมชาติ ไม่แก่งแย่งแข่งขัน เหลาจือ, กล่าวว่า “มิ ไ ด้ ย กย่ อ งคนฉลาด ประชาราษฎร์ ก็ ไ ม่ แ ก่ ง แย่ ง ชิ ง ดี มิ ใ ห้ ค่ า แก่ ส ิ งหายาก ประชาราษฎร์ก็ไม่ลกั ขโมย ขจัดตัวตนแห่งความอยาก จิตใจของประชาราษฎร์ก็บริสุทธิ ` ดังนัน, ปราชญ์จงึ ปกครองด้วยการทําจิตของประชาราษฎร์ให้ว่าง บํารุงเลีย, งให้อมหนํ ิ า ทําการตัดทอน ความอยาก เสริมสุขภาพร่างกาย ความคิดและความปรารถนาของประชาราษฎร์กถ็ ูกชะล้างให้ สะอาด คนฉ้อฉล มิอาจหาญมาทําการทุจริต ปราชญ์ปกครองโดยไม่ปกครอง ดังนัน, ทุกอย่างก็ ถูกปกครองและดําเนินไปอย่างเป็ นระเบียบ” (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2549: 37-40) คุณสมบัติของผูน้ ํา ถึงแม้ว่าเหลาจือ, จะสนับสนุ นการอยู่กนั ตามธรรมชาติ แต่เมือจําเป็ นต้องมีผูน้ ํ า เหลาจือ, ได้กําหนดคุณสมบัตขิ องผูน้ ําไว้ดงั นี, 1. ไม่โลภ ไม่มกั ใหญ่ใฝ่ สงู ในฐานะตําแหน่ งเพื+อตนเอง ดังคํากล่าวในคัมภีรเ์ ต๋าเต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 7 กล่าวว่า


28

“แผ่นฟ้าและผืนดินยืนยงกว่าสิงใด ก็เพราะมิได้อยูเ่ พือตัวเอง…” 2. สุภาพอ่อนโยน ไม่ทาํ ตนเหนื อคนอื+น หรือ สําคัญกว่าคนอื+น ดังคํากล่าวในคัมภีร์ เต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 7 ตอนหนึงว่า “...ฉะนัน, บัณฑิตควรทําตนให้อยูเ่ บือ, งหลัง จะได้อยูข่ า้ งหน้า...” และในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 66 กล่าวว่า “แม่น,ํ าและทะเลได้สมญาว่าเป็ น “เจ้า” แห่งลําธารทัง, ปวง เพราะอยูท่ ตํี า...” และในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 24 กล่าวว่า “คนทีเขย่งเท้าเพือให้อยูส่ งู กว่าคนอืน ย่อมยืนอยูไ่ ด้ไม่นาน คนทีก้าวเท้ายาวเพือให้นําหน้าผูอ้ นื มักไปได้ไม่ไกล คนทีชอบแสดงตนให้คนรูจ้ กั จะไม่เป็ นทีรูจ้ กั คนทีชอบยกยอตน ผลก็คอื ไม่มใี ครนับถือยกย่อง คนทีชอบลําพองหยิงผยอง จะไม่ได้เป็ นผูน้ ําในหมู่ชน...” 3. มีสจั จะและยุติธรรม ดังคํากล่าวในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 66 ว่า “...ดังนัน, ใครปรารถนาเป็ น “จอมคน” ควรทําปากกับใจให้ตรงกัน...” 4. มีความสามารถเป็ นได้ทงั V ผูน้ ําและผูต้ ามที+ดีได้ ดังคํากล่าวในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 66 ว่า “...ใครอยากเป็ นผูน้ ําควรรูค้ วามเป็ นผูต้ าม...” 5. ไม่เห็นแก่ตวั ดังคํากล่าวในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 7 ว่า “...พึงสละความเห็นแก่ตวั ก็จะรูว้ ่ามีสงเหลื ิ ออยูม่ ากมาย เพราะเหตุแห่งความไม่ เห็นแก่ตวั นีแหละ เขาจึงมีโอกาสบําเพ็ญสาธารณะประโยชน์ได้บริบรู ณ์”


29

6. มีจิตเมตตากรุณา ดังคํากล่าวในคัมภีรเ์ ต๋า-เต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 49 ว่า “...ในการปกครอง บัณฑิตมีความคิดเป็ นของตน มีจติ กลมกลืนเป็ นหนึงเดียวกับ ประชาชน ด้วยเหตุน,ีคนทัง, หลายจึงเชือฟงั เพราะเขาปฏิบตั ติ ่อประชาชนทุกคน เสมือนบุตร” 7. มีชีวิตเรียบง่าย อย่าหรูหราฟุ่ มเฟื อยเกิ นหน้ าประชาชน ดังคํากล่าวในคัมภีรเ์ ต๋าเต็ก-เก็ง (Tao-Te-Ching) บทที 53 ว่า “...จงดูความโสมมของนักปกครองเถิด พวกเขาปล่อยนาไร่ให้รกร้าง ปล่อยยุง้ ฉางให้ว่ า งเปล่ า เอาเวลาไปแต่ ง องค์ท รงเครือง แต่ ง กายด้ว ยแพรพรรณ ตระการตา คาดกระบีอวดศักดาทุกวีวัน สุขสําราญด้วยการดืมกินกันฟุ่มเฟื อย และมังคังรํารวยเกินพอดี นีเรียกว่า ฉ้อฉลและสุรุ่ยสุร่าย มิใช่วถิ แี ห่งเต๋า”(น้อย พงษ์สนิท, ม.ป.ป.)

ปรัชญาการเมืองในพุทธปรัชญา ในหลักพุทธปรัชญามีห ลักจริยศาสตร์หรือจริยธรรมทีเป็ นประโยชน์ อย่างมหาศาลต่ อ สังคม การบริหาร การปกครอง และการเมือง โดยหลักพุทธปรัชญาได้มคี ําสอนทีครอบคลุม ความหมายของการปกครองทัง, 3 ระดับ คือ 1. การปกครองตนเอง 2. การปกครองผูอ้ นื (ระดับครอบครัว และระดับองค์กร) 3. การปกครองชุมนุ มชน สังคม รัฐ และโลก ในทีนี,จะขออธิบายเฉพาะในส่วนของการปกครองในแบบที 3 เท่านัน, พระพุทธศาสนา นั น, ไม่ ใ ช่ ก ารเมือ ง แต่ พ ระพุ ท ธศาสนาเป็ น ศาสนาทีมีห ลัก ธรรมคํ า สอนทีเป็ น จริย ศาสตร์ จริยธรรม สําหรับเสนอให้นักบริหาร นักปกครอง และนักการเมือง นํ าไปใช้ในการกํากับระบบ การเมือง ให้เป็ นระบบทีประกอบด้วยธรรมะ เป็ นระบบคุณธรรม (Merit System) และนอกจากนี, พระพุทธศาสนายังมีหลักการสําหรับกํากับการปฏิบตั ิหน้ าทีของนัก บริหาร นักปกครอง และ นักการเมือง ให้เป็ นทรัพยากรบุคคลทีมีคุณธรรม มีจริยธรรม และมีคุณค่า อย่างทีเพลโท (Plato)


30

และ แอเริส ทาเทิ ล (Aristotle) เรีย กนั ก ปกครอง หรือ กษั ต ริย์ ที มีคุ ณ ธรรมจริย ธรรมว่ า Philosopher King หรือ กษัตริยน์ ักปราชญ์ หรือ ปราชญ์ราชา เพราะมีความยุตธิ รรม และมี ั ญาเฉลีย วฉลาด รอบคอบในการปกครอง หากนั ก ปกครอง หรือ นั ก การเมือ ง ไม่ ม ี สติป ญ คุณธรรมจริยธรรม ก็ไม่เรียกว่า ปราชญ์ราชา และไม่สมควรเป็ นผูป้ กครอง (ประยงค์ สุวรรณบุบ ผา, 2541) การกําเนิ ดรัฐ พระพุทธองค์ทรงแสดงแนวคิดทางการเมืองในเรืองเกียวกับรัฐและการกําเนิดรัฐไว้ใน พระสูตรชือ อัคคัญญสูตร (ที. ปา. 13/51/145) พระพุทธองค์ทรงตรัสถึงกําเนิดของมนุ ษย์ สังคม และสถาบันทางการเมือง โดยแสดงถึงวิวฒ ั นาการเป็ นลําดับขัน, ตัง, แต่โลกพินาศ จนถึงการเกิดขึน, ของมนุ ษย์ และมีการแบ่งชัน, วรรณะตามหน้ าทีการงานทีทํา คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และ ศูทร พระพุทธเจ้าทรงแสดงถึงการเกิดของรัฐโดยธรรมชาติ ซึงขึน, กับธรรมชาติของมนุ ษย์ ทีมี ตัณหาก่อให้เกิดการสะสมทรัพย์ การสร้างครอบครัว การเลือกหัวหน้า และการลงโทษผูก้ ระทํา ความผิด พระสูตรนี,แสดงให้เห็นความตกตําของมนุ ษย์ทงั , ทางสภาพร่างกายและศีลธรรมเพราะมี ตัณหาและการประพฤติผดิ เช่น การลักทรัพย์ แต่ก็ก่อให้เกิดสถาบันทางสังคม คือ ครอบครัว และการมีทรัพย์สนิ ส่วนตัว จากการร่วมทํามาหากินกันอย่างสงบ ก็เปลียนแปลงไปเป็ นการแย่ง ชิงและต่อสูก้ นั จนเกิดข้อพิพาทขึน, จนต้องยอมเสียสิทธิความเป็ นอิสระของตนเองลงมาทําพันธ สัญ ญาร่ว มกันเลือ กตัง, ผู้ปกครองทีมีค วามสามารถและเป็ นทีน่ าเคารพเกรงขามของมหาชน เรียกว่า มหาสมมติ (ซึงต่อมาภายหลังจึงเรียกว่า กษัตริย)์ ขึน, มาเพือช่วยดูแลแก้ไขกรณีพพิ าท และลงโทษผู้กระทําความผิดแทน จึงเกิดการจัดตัง, สถาบันผู้ปกครองรัฐ หรือ กษัตริย์ โดยการ เลือกตัง, ขึน, จะเห็นได้ว่า รัฐตามอัคคัญญสูตร มีลกั ษณะคล้ายกับรัฐในแนวคิดสัญญาประชาคม ของ จอห์น ลัค (John Locke) นอกจากนี,ในพระสูตรนี,ยงั โต้แย้งแนวคิดเรืองการยกย่องวรรณะ ของศาสนาฮินดู โดยได้แสดงถึงความเท่าเทียมกันของความเป็ นมนุ ษย์ บุคคลจะประเสริฐ หรือ ไม่ประเสริฐ เป็ นเพราะการกระทํา ไม่ใช่เพราะวรรณะ และยกย่องกษัตริยว์ ่า เป็ นผู้ประเสริฐใน หมู่มนุ ษย์ผู้ถือโคตร แต่ ก็ทรงยกย่องว่า ผู้ทสมบู ี รณ์ ด้วยความรู้และความประพฤติ (วิชชาและ จรณะ) ผูน้ นั , เป็ นผูป้ ระเสริฐทีสุดในหมูเ่ ทวดาและมนุ ษย์6 (วัชรี ทรงประทุม, 2550) เราจะเห็น ได้ว่ า รัฐ ตามทฤษฎีท างพระพุ ท ธศาสนานี, ไ ม่ ใ ช่ รฐั แบบเทวสิท ธิ `ซึงถือ ว่ า อํานาจอันชอบธรรมในการปกครองมาจากเทวะหรือพระเจ้า แต่ ผู้ปกครองมีลกั ษณะเป็ นธรรม ราชา คือ ผูท้ รงไว้ซงธรรมะ ึ ผูใ้ ช้ธรรมะในการปกครอง อํานาจการปกครองยังเป็ นของประชาชน 6

หมายถึง พระอริ ยบุคคลในพระพุทธศาสนา


31

อยู่ เพราะประชาชนไม่ไ ด้มอบอํานาจให้แก่ ผู้ปกครองอย่างสิ,นเชิงดังเช่นในปรัชญาการเมือ ง ของฮอบส์ซงถื ึ อว่าประชาชนทําสัญญากันเองแล้วยกอํานาจให้ผู้ปกครอง โดยทีผู้ปกครองไม่ใช่ คู่สญ ั ญา แต่ในกรณีของอัคคัญญสูตร ประชาชนพร้อมใจกันมอบอํานาจให้ผูป้ กครองก็จริงแต่กม็ ี พันธสัญญาว่ า ผู้ปกครองจะต้องปกครองโดยธรรมและประชาชนจะแบ่ง ผลประโยชน์ ให้ และ ผูป้ กครองมีบทบาทจํากัดเฉพาะในการแก้ไขข้อพิพาทเท่านัน, เป็ นบทบาทในการรักษาสังคมให้ เป็ นปกติสุขมากกว่าจะมีบทบาทในการสร้างสรรค์ กําหนดนโยบาย หรือนํ าสังคมไปสู่จุดหมาย ไม่มกี ารใช้กฎหมายเพือสร้างความเจริญอะไร ให้มากไปกว่าสภาวะทีดําเนินอยู่โดยปกติ ไม่ม ี การจัดสรรผลประโยชน์ดงั เช่นรัฐสวัสดิการ หรือ รัฐสังคมนิยม รัฐในอัคคัญญสูตรนี,มลี กั ษณะค่อน ไปทางเสรีนิยม ซึงผู้ปกครองจะมีอํานาจน้อยทีสุด ผู้ปกครองมีหน้ าทีปกป้องปจั เจกชนมากกว่า จะสร้างสถาบันและปกครองสถาบัน เช่น การสร้างและรักษาสาธารณสมบัติ การกําหนดระบบ เศรษฐกิจและการคุม้ ครองระบบเศรษฐกิจ เป็ นต้น (ปรีชา ช้างขวัญยืน, 2540) อธิ ปไตย 3 คําสอนเรือง อธิปไตย 3 มีกล่าวไว้ในสังคีตสิ ตู ร ดังนี, 1. อัตตาธิปไตย ถือตนเป็ นใหญ่ 2. โลกาธิปไตย ถือโลกเป็ นใหญ่ 3. ธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็ นใหญ่ คําว่า อธิปไตย ในพระไตรปิ ฎกนี,ไม่ได้มคี วามหมายเหมือนกับคําว่าอธิปไตยในปจั จุบนั เช่ น ประชาธิปไตย อภิช นาธิปไตย หรือ คณาธิป ไตย เพราะอธิป ไตยในพระไตรปิ ฎ กนั น, หมายถึง หลักทีผู้ปกครองพึง ยึดถือ กล่ าวคือ เมือเป็ น ผู้ปกครองแล้ว จะยึดถือ อะไรเป็ นใหญ่ ตนเอง ประชาชน หรือ ธรรม ฉะนัน, ธรรมาธิปไตยจึงไม่ใช่ระบอบการปกครองแต่เป็ นหลักในการ ปกครองของผูป้ กครองต่างหาก พระพุ ทธองค์ไ ม่ไ ด้ทรงเน้ นว่ า ระบอบการปกครองใดดีทีสุ ด ไม่ไ ด้เ สนอว่ า จะเลือ ก ผู้ปกครองด้วยวิธใี ด หรือมีระบบในการจัดสรรอํานาจอธิปไตยอย่างไร เป็ นแต่ เน้ นว่า ถ้าเป็ น ผูป้ กครองแล้วควรยึดถืออะไรในการปกครอง (ปรีชา ช้างขวัญยืน, 2540) การปกครองและผูป้ กครองที+ดีที+สดุ การปกครองทีดีในทัศนะของพระพุทธศาสนาคล้ายคลึงกับทัศนะทางปรัชญาการเมือง สากล กล่าวคือ การปกครองทีดี คือ ระบอบการปกครองทีมุ่งสร้างสรรค์สงั คมมนุ ษย์ให้เป็ นสังคม ทีดีมรี ะเบียบ ให้อยู่ด้วยกันด้วยความสงบสุข และอุ ดมสมบูรณ์ ในทัศนะของพระพุทธศาสนา


32

ระบอบการปกครองทีจะช่วยให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าวได้ก็คอื ระบอบการปกครองแบบใดก็ ได้ทยึี ดหลักการสําคัญต่อไปนี, (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553) 1. การได้มาซึงอํานาจ การใช้อํานาจ การขยายอํานาจ และการรักษาไว้ซงอํ ึ านาจนัน, เป็ นไปเพือประโยชน์สุขของประชาชนมากทีสุด อํานาจของผูป้ กครอง มิใช่เพือสร้างความยิงใหญ่ ของตนเอง แต่เป็ นไปเพือประโยชน์สุขของประชาชน 2. ความมันคงของระบอบการการปกครอง หรือของรัฐบาล หรือผู้ปกครอง มิใช่เป็ น จุดมุ่งหมายในตัวมันเอง หรือจุดประสงค์สุดท้ายของระบอบการเมืองการปกครอง แต่เป็ นเพียง อุปกรณ์หรือเครืองมือเพือใช้สร้างสรรค์ประโยชน์สุข สวัสดิภาพ และความสงบสุขของประชาชน 3. ให้ความสําคัญแก่คุณค่าของความเป็ นมนุ ษย์ โดยเน้นความเท่าเทียม การปราศจาก ชัน, วรรณะจากชาติกําเนิด ความเสมอภาคในทางเพศ 4. ยึดธรรมเป็ นแนวทางในการปกครอง ธรรมทีสําคัญดังกล่าวได้แก่ 4.1 ทศพิ ธราชธรรม คือ คุณธรรมของผูป้ กครอง 10 ประการ7 ได้แก่ 1. ทาน 2. ศีล 3. การบริจาค (เสียสละความสุขส่วนตัวเพือส่วนรวม) 4. ความซือตรง 5. ความอ่อนโยน 6. ความเพียร 7. ความไม่โกรธ 8. ความไม่เบียดเบียน 9. ความอดทน 10. ความดํารงตนอยูใ่ นธรรม (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก, 2549) 4.2 จักรวรรดิ วตั รธรรม หมายถึง ธรรมของนักปกครองทียิงใหญ่ (พระเจ้า จักรพรรดิ) มี 12 ประการ คือ 1. ถือธรรมเป็ นใหญ่ (ธัมมาธิปไตย) 2. อนุ เคราะห์ชนภายใน (อันโตชน) 3. บํารุงกองทัพ (พลกาย) 4. เอาใจใส่เจ้าเมืองต่างๆ (ขัตติยะ) 5. ดูแลผูต้ ดิ ตาม (อนุ ยนต์) 6. อนุ เคราะห์นกั ปราชญ์และคฤหบดี (พราหมณคฤหบดี) 7. เอาใจใส่ชาวชนบท (เนคมชานบท) 7

ขุ. ชา. 28/240/62


33

8. อุปถัมภ์พระสงฆ์และผูท้ รงศีล (สมณพราหมณ์) 9. อนุ รกั ษ์สตั ว์ (มิคปกั ษี) 10. กําจัดอธรรม (มา อธรรมการ) 11. แบ่งปนั ทรัพย์สนิ (ธนานุ ปทาน-ช่วยเหลืออนุ เคราะห์คนยากไร้) 12. ปรึกษานักปราชญ์ (สมณพราหมณปริปจุ ฉา) (วิรชั ถิรพันธุเ์ มธี, ม.ป.ป.) 4.3 ราชสังคหวัตถุ 4 หมายถึง ธรรม 4 ประการทีเป็ นแนวทางในการสงเคราะห์ ประชาชน ได้แก่ 1. สัสสเมธะ ฉลาดในการบํารุงธัญญาหาร 2. ปุรสิ เมธะ ฉลาดบํารุงข้าราชการ 3. สัมมาปาสะ ผูกประสานรวมใจประชาชน 4. วาจาไปยะ มีวาทะดูดดืมใจ 4.4 ละเว้นอคติ 4 1. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะชอบ 2. โทสาคติ ลําเอียงเพราะชัง 3. โมหาคติ ลําเอียงเพราะหลงหรือเขลา 4. ภยาคติ ลําเอียงเพราะขลาดกลัว 4.5 ยึดธรรมาธิ ปไตย เป็ นหลักปฏิบตั ใิ นการใช้อํานาจการปกครอง คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมในอุดมคติ ตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา (The Characteristic of Social Leader in The Ideal of doctrine of Buddhism) ในระบบการปกครองทุกระบบ ผูน้ ํ าสังคมเป็ นผูม้ บี ทบาทสําคัญต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของ ประชาชนในทุกๆ ด้าน เพราะผูน้ ํ าสังคมเป็ นผูท้ กํี าหนดแนวนโยบายในการบริหารประเทศ อาทิ ด้านการปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข วัฒนธรรมประเพณี การทหาร และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เป็ นต้น ฉะนัน, ผู้นําจึงมีส่วนสําคัญในเรืองของชีวติ ความเป็ นอยู่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี สุขภาพอนามัยชุมชน การหล่อหลอมคนในสังคมด้วยระบบการศึกษา การคุ้มครองความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ตลอดถึงการคุ้มครองความปลอดภัยจากการ รุกรานของต่างชาติดว้ ย เพราะผู้นํ ามีบทบาทสํา คัญ เช่ น นี, นี เอง ทุ ก สัง คมจึง ใฝ่ ฝ นั ทีจะได้ผู้ป กครองทีดีแ ละมี ความสามารถมาปกครอง หากได้ผู้ปกครองทีไม่ดีมาปกครองย่อมจะส่ง ผลกระทบเป็ นความ เดือดร้อนแก่ประชาชนเป็ นอันมากด้วย ยิงประเทศใดปกครองโดยระบอบราชาธิปไตยซึงมีบุคคล คนเดียวเป็ นผู้มอี ํานาจสูงสุดยิงต้องการผู้นําทีดีมคี วามสามารถมากกว่าระบอบใดๆ เพราะหาก


34

ได้ผู้นําทีไม่ดมี าปกครองย่อมเกิดเป็ นมหาศาลแก่ประชาชนเป็ นอันมาก เนืองจากผูน้ ํ าใช้อํานาจ ตามอํ าเภอใจตนโดยไม่คํ านึ ง ถึง ชีว ิต จิต ของประชาชน ส่ ว นในระบอบประชาธิป ไตยเช่ น ใน ประเทศไทย ปกครองโดยคณะบุ ค คลซึงมีน ายกรัฐ มนตรีเ ป็ น ประธาน มีค ณะรัฐ มนตรีเ ป็ น คณะทํางาน ก็ปรากฏว่ามีการตัดสินใจในรูปแบบคณะรัฐมนตรีร่วมกันตัดสินใจในการบริหาร ประเทศผ่านกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ถึง กระนั น, ก็ต าม ในอดีต ทีผ่ านมาในประวัติศ าสตร์ก ารเมือ งไทยนัน, การเริมต้นของ ระบอบประชาธิปไตยในไทยก็ยงั ไม่เป็ นประชาธิปไตยเท่าใดนัก เพราะอํานาจปกครองยังอยู่ใน มือของกลุ่มของนายทหารและข้าราชการระดับสูงเท่านัน, และมีการทุจริตคอร์รปั ชันจํานวนมาก และมีการรัฐประหารยึดอํานาจกันเองอยู่บ่อยครัง, ในหมู่ของนายทหารและข้าราชการระดับสูง จนกระทังถึงสมัยปจั จุบนั นี,กไ็ ม่ปรากฏว่ามีรฐั บาลไหนทีไม่มขี ่าวเรืองการทุจริตคอร์รปั ชันออกมา เลย แม้กระทังการทํารัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาลของ พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ หรือ รัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรก็ด้วยข้อหาในเรืองของทุจริตคอร์รปั ชัน หรือแม้แต่รฐั บาลนายชวน หลีก ภัยก็ต้องยุบสภาเพราะปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน กรณี สป.ก.4-01 ในรัฐบาลปจั จุบนั (2553) คือ รัฐบาล นายอภิสทิ ธิ ` เวชชาชีวะ ก็ต้องมีการปรับคณะรัฐมนตรีหลายครัง, เพราะเหตุเรืองมีข่าว การทุจริต เกิดขึ,น อาทิ โครงการชุมชนพอเพียงของสํานักนายกรัฐมนตรี กรณีการแจกปลา กระป๋องเน่ าเสียของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ษย์ เป็ นต้น แต่มนี ้อยครัง, นักที นักการเมืองจะถูกจับดําเนินคดี แต่เกือบทุกคดีทจัี บทุจริตได้ในภายหลังนักการเมืองจะหลบหนี ออกนอกประเทศแล้วไม่สามารถจับกุมมาดําเนินคดีได้ ดังนัน, ในสังคมไทยผูน้ ํ าสังคมทุกระดับโดยเฉพาะนักการเมือง จึงเป็ นบุคคลทีมีบทบาท ต่อประเทศทัง, ในเชิงสร้างสรรค์และในเชิงทําลายความก้าวหน้ าของประเทศ นอกจากนี,ผู้นําใน ระดับหัวหน้าองค์กรทัง, ราชการและเอกชน ตัง, แต่กระทรวง ทบวง กรม กอง ฝ่าย งาน ผูน้ ํ าเป็ น ผู้ทมี​ี อํานาจในการกําหนดแนวนโยบายในการบริหารองค์กร เพือความสําเร็จขององค์กรทีตน รับ ผิด ชอบ รวมถึง การเกียวข้อ งกับ ผู้ค นและชุ ม ชนในองค์ ก ร นอกจากนี, ผู้นํ า ยัง เป็ น ผู้ทีมี ความสําคัญต่อสังคม และมีอทิ ธิพลต่อการกําหนดทิศทางในทางการคิดและการดําเนินชีวติ ของ ผูค้ นในองค์กรและชุมชนอีกด้วย เพราะฉะนัน, ผูน้ ําจึงเป็ นผูท้ จะนํ ี าพาสังคมไปสู่ความสุขและการ พัฒนาทียังยืน หรือนํ าไปสู่ความทุกข์เกิดเป็ นปญั หาชีวติ และปญั หาสังคมทีซับซ้อนมากขึน, ได้ ดังทีพระพุทธองค์ทรงตรัสสอนไว้ในอธัมมิก สูตร ซึงว่าด้ว ยพระราชาผู้ไ ม่ตงั , อยู่ในธรรมและผู้ ตัง, อยูใ่ นธรรม ว่า “...เมือฝูงโคข้ามนํ, าไป ถ้าโคจ่าฝูงไปคดเคีย, ว โคทัง, ฝูงก็ไปคดเคีย, วตามกัน ในเมือโคจ่าฝูงไปคดเคีย, ว, ในหมู่มนุ ษย์กเ็ หมือนกัน ผูใ้ ดได้รบั แต่งตัง, ให้เป็ นใหญ่ ถ้าผู้


35

นัน, ประพฤติไม่เป็ นธรรม ประชาชนชาวเมืองนัน, ก็จะประพฤติไม่เป็ นธรรมตามไปด้วย หากพระราชาไม่ตงั V อยู่ในธรรม ชาวเมืองนันV ก็อยู่เป็ นทุกข์ เมือฝูงโคข้ามนํ, าไป ถ้าโคจ่าฝูงไปตรง โคทัง, ฝูงก็ไปตรงตามกันในเมือโค จ่าฝูงไปตรง, ในหมู่มนุ ษย์กเ็ หมือนกัน ผูใ้ ดได้รบั แต่งตัง, ให้เป็ นใหญ่ ถ้าผู้นัน, ประพฤติ ชอบธรรม ประชาชนชาวเมืองนัน, ก็จะประพฤติชอบธรรมตามไปด้วย หากพระราชา ตังV อยู่ในธรรม ชาวเมืองนันV ก็อยู่เป็ นสุข...” (องฺ. จตุกฺก. 21/70/114-116) จะเห็นได้ว่า พระพุทธศาสนามีความเห็นว่า ผูน้ ําเป็ นบุคคลทีมีบทบาทสําคัญต่อความสุข และความทุกข์ของราษฎรเป็ นอย่างมาก จากอดีตทีผ่านมาจนถึงปจั จุบนั ผูน้ ํ าของสังคมไทยทัง, ภาครัฐและภาคเอกชน ล้วนแต่ มสี ่วนสําคัญในการสร้างความเจริญก้าวหน้ าของประเทศทัง, สิ,น แต่บางครัง, สังคมของไทยได้รบั ความเสียหาย ไม่สงบสุข หรือไม่พฒ ั นาเท่าทีควรจะเป็ น เป็ น เพราะสาเหตุมาจากการขาดคุณธรรมจริยธรรมของผูน้ ํานันเอง พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนหลายอย่างทีเป็ นประโยชน์ ต่อ การดําเนินชีวติ ของผู้นํา ตลอดถึงเป็ นหลักการในการพิจารณาเลือกผูน้ ํ าสังคมได้เป็ นอย่างดี อีกทัง, ขณะนี,ประเทศไทยเอง ก็ได้มคี ณะกรรมการเพือการปฏิรปู ประเทศให้มคี วามเจริญก้าวหน้าอย่างยังยืนหลายคณะ ได้แก่ 1. คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพือการปรองดองแห่งชาติ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร เป็ นประธาน 2. คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศไทย โดยมีนายอานันท์ ปนั ยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน 3. คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู ประเทศ โดยมี นายแพทย์ประเวศ วะสี เป็ นประธาน ดังนัน, ผู้วจิ ยั จึงเห็นว่า สมควรอย่างยิงทีจะศึกษาคุณลักษณะของผู้นําสังคมในอุดมคติ ตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา เพือจะได้ทราบคุณลักษณะทีแท้จริงของบุคคลทีควรจะเป็ น ผู้นําสังคมทีจะสามารถขับเคลือนสังคมไทยไปสู่สงั คมอุ ดมติตามหลักพระพุทธศาสนาได้ และ เพือทีจะเป็ นหลักเกณฑ์ให้สงั คมไทยได้ใช้ในการปฏิรูปการเมืองไทยเพือให้ได้ผูน้ ํ าทีเป็ นคนดีม ี คุณธรรมจริยธรรม และประกอบด้วยคุณลักษณะผูน้ ํ าสังคมตามอุดมคติของพระพุทธศาสนา อัน จะนําพาความสุขความเจริญทียังยืนให้กบั สังคมไทยต่อไป


36

โดยผู้วจิ ยั จะเริมอธิบายจากคุณลักษณะผู้นําสังคมตามหลักสังคมศาสตร์ คุณลักษณะ ผู้นําสังคมตามหลักพระพุ ทธศาสนา การวิเ คราะห์ เปรียบเทียบ และการประยุก ต์ใช้เพือการ ปฏิรปู จริยธรรมของผูน้ ําสังคมไทยตามลําดับต่อไป คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมตามหลักสังคมศาสตร์ ความหมายผูน้ ํา (Definitions of Leader) ได้มนี กั วิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของผูน้ ําไว้หลายท่าน พอสรุปได้ดงั นี, Burby (1972) Dunn (1973) นพมาศ ธีรเวคิน (2534) วิจติ ร วรุฒบางกูร (2534) กาญจนา ไชยพันธุ์ (2539) กล่าวว่า ผูน้ ํา หมายถึง ผูท้ มี​ี บุคลิกภาพ มีบทบาท มีอทิ ธิพลต่อกลุ่ม ทีสามารถคอยอํานวยความสะดวกให้ก ารทํางานในกลุ่ มให้สํา เร็จบรรลุ ต ามเป้ าหมายทีตัง, ไว้ (กาญจนา ไชยพันธุ,์ 2549: 50) เนตร์พณ ั ณา ยาวิราช (2546) กล่าวว่า ผูน้ ํ า หมายถึง บุคคลทีได้รบั การยอมรับและยก ย่องจากบุคคลอืน หรือ บุคคลทีได้รบั การแต่งตัง, ขึน, มา หรือ ได้รบั การยกย่องให้เป็ นหัวหน้ าใน การดําเนินการต่างๆ ส่วน ภาวะผู้นํา (Leadership) หมายถึง ความสัมพันธ์ส่วนบุค คลซึงมีบุค คลหนีงคอย อํานวยการ ประสานงาน และดูแลควบคุมคนอืนๆ ในการปฏิบตั งิ านกัน หรือ การทีผูน้ ํ ามีอํานาจ เหนือบุคคลอืนๆ และอํานาจเหนือบุคคลอืนๆ นี, ช่วยให้ผนู้ ําสามารถปฏิบตั งิ านซึงเขาไม่สามารถ ปฏิบตั คิ นเดียวได้สาํ เร็จ

ความหมายของผูน้ ําทางสังคม คําว่า ผูน้ ําสังคมทางสังคม มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษหลายคํา เช่น 1. Social Leader แปลว่า ผูน้ ํ าทางสังคม หมายถึง ผูน้ ํ า หรือ ผูม้ อี ทิ ธิพลเหนือบุคคล อืนสามารถชังจูงให้บุคคลอืนทําตามคําสังของตนหรือไม่ทําในสิงทีตนไม่อยากทํา ตัวอย่างของผูน้ ําสังคมคือ พ่อแม่ ครู อาจารย์ นักการเมือง นักธุรกิจ ฯลฯ 2. Social Administrator แปลว่า ผู้บริหารสังคม หมายถึง ผู้ทมี​ี บทบาทหน้าทีในการ บริห าร บุ ค คลให้ ป ฏิบ ัติง านตามความรับ ผิด ชอบในสัง คมให้ เ ป็ น ไปด้ ว ยความ เรียบร้อยและบรรลุเป้าหมายทีตัง, ไว้ เช่น นักสวัสดิการสังคม นักวางแผนทางสังคม นักสังคมสงเคราะห์เป็ นต้น 3. Social Manager แปลว่า ผู้จดั การทางสังคม หมายถึงผู้มคี วามสามารถในการ วางแผนอย่างละเอียด ในการดําเนินการทางสังคมทุกด้าน เช่น ทางด้านสวัสดิการ


37

สังคม ด้านครอบครัว ด้านการเมือง ด้านการศึกษา เป็ นต้น เมือวางแผนดําเนินการ เรียบร้อยแล้วก็จะจัดกําลังคนไปปฏิบตั กิ ารทางด้านต่างๆ ของสังคม อย่างเหมาะสม กับความสามารถของบุคคลเหล่านี, เพือให้ผลงานปรากฏออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้จา่ ยอย่างประหยัด และเป็ นทีพึงพอใจแก่บุคคลทุกฝา่ ย 4. Public Figure หมายถึง บุ ค คลสาธารณะ ได้แ ก่ บุ ค คลทีปรากฏตัว ตนผ่ าน สือสารมวลชนต่างๆ เป็ นประจํา เป็ นบุคคลทีดํารงชีวติ อยู่ได้ด้วยการสนับสนุ นจาก สาธารณชน เช่น พระภิกษุสงฆ์ นักการเมือง นักแสดง เป็ นต้น 5. Social Engineer แปลว่า วิศวกรสังคม หมายถึง บุคคลทีมีหน้าทีกําหนดนโยบาย วางแผน ศึกษาปญั หา และกําหนดทิศทางการพัฒนาสังคม วิศวกรสังคมจัดเป็ น ผู้นําสัง คมทีมีก ารพัฒนาและได้รบั การยอมรับจากสังคมอย่างกว้างขวาง วิศวกร สัง คมเป็ นเสมือ นช่างผู้ชํานาญการในการคิด ค้นหาทางพัฒนาและแก้ไขปรับปรุง สังคมให้ดขี น,ึ ฉะนัน, วิศวกรสังคม ก็ถอื เป็ นผูน้ ํ าสังคม (Social Leader) ซึงผ่านการ ฝึ ก อบรมให้ ม ี ค วามรู้ ค วามสามารถสู ง กว่ า ผู้ นํ า สั ง คมทั วไป ที สํ า คั ญ ยิ งคื อ ความสามารถทางด้านความรับผิดชอบและทางด้านมนุ ษยธรรม (จํานงค์ อดิวฒ ั น สิทธิ `, ม.ป.ป.) ประเภทของผูน้ ํา มีนกั วิชาการหลายท่านได้แบ่งประเภทของผูน้ ําไว้หลายแบบ อาทิ 1. เพลโท (Plato) ได้แบ่งประเภทของผูน้ ําออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) ผู้นําแบบนัก ปรัชญารัฐบุรุษ (Philosopher Stateman) ปกครองและบริห าร ประเทศโดยอาศัยเหตุผลและความยุตธิ รรม 2) ผู้ นํ า แบบผู้ บ ั ญ ชาการทหาร (Commander) มุ่ ง ปกป้ องประเทศชาติ แ ละ ปฏิบตั งิ านเพือให้ประเทศชาติบรรลุเป้าหมายทีวางไว้ 3) ผู้นําแบบนักธุรกิจ (Businessman) ผู้นําจะจัดหาสินค้าและบริการเพือมาสนอง ความต้องการด้านวัตถุของปวงชนทัวไป 2. เวบเบอร์(Weber) ได้แบ่งผูน้ ําออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1) ผู้นํ า แบบระบบราชการโดยได้ร บั ความช่ ว ยเหลือ จากบุ ค คลชัน, รองๆ ลงมา (Hierarchical levels) และกลายเป็ นผู้นําโดยอาศัยอํานาจบังคับบัญชาทีมีอยู่ ตามบทกฎหมาย 2) ผู้นําแบบมรดกตกทอด (Partrimonial) การปฏิบตั ิง านโดยการเลือกญาติมติ ร ของตนเองมาช่วยเหลือแทนทีจะอาศัยระบบราชการและข้าราชการ


38

3) ผู้นําแบบบุ ญ ญาธิก าร หรือ แบบพระคุ ณ (Charismatic) ผู้นําปฏิบตั ิง านโดย อาศัยสานุ ศษิ ย์ ผู้ตดิ ตามทีจงรักภักดี ผู้ทชืี นชมตน หรือ องครักษ์ (สมัย จิตต์ หมวด, 2551) 3. นวลศิร ิ เปาโรหิตย์ (2544) ได้แบ่งประเภทของผูน้ ํ าตามลักษณะการใช้อํานาจ เป็ น 3 แบบ คือ 1) ผู้นําแบบอัตตาธิปไตย (Autoritarian Leadership) ผู้นํากลุ่มชนิดนี,มกั จะยึดถือ ตนเองเป็ นศูนย์กลาง ไม่ส่งเสริมให้มกี ารแสดงความคิดเห็นในหมู่สมาชิก จะเป็ น ผูเ้ ลือกเป้าหมายและดําเนินการทุกอย่างตามความคิดเห็นของตนผูเ้ ดียว และจะ หาทางจูงใจให้สมาชิกยอมรับและเห็นด้วยทีจะทําตามคําร้องและสังการของเขา เท่านัน, ในอดีตผูน้ ํารับบาลไทยหลายคนมีลกั ษณะเป็ นผูน้ ําแบบอัตตาธิปไตย 2) ผูน้ ํ าแบบประชาธิปไตย (Democratic Leaderships) ผูน้ ํ าแบบนี,จะเปิ ดโอกาส ให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นได้โดยเสรี มีการวางแผนงานร่วมกันระหว่างผู้นํา และสมาชิก ความคิดเห็นทุกๆ อย่างจะได้รบั การรับฟงั และช่วยกันหาข้อสรุป ที จะเป็ น ประโยชน์ แ ก่ ก ลุ่ ม มากทีสุ ด ผู้นํ า แบบประชาธิป ไตยมัก จะยอมรับ ใน ความคิดพืน, ฐานว่า มนุ ษย์มคี วามเท่าเทียมกัน ข้อเสนอแนะทุกอย่างมีค่าควรแก่ การรับฟงั 3) ผูน้ ําแบบเสรีนิยม หรือ ปล่อยตามสบาย (Laissez-faire Leaderships) ผูน้ ํ าชนิด นี,จะไม่ใช้อํานาจในการนํ ากลุ่มเลย จะเปิ ดโอกาสให้สมาชิกทําอะไรก็ได้ตามที ต้องการ สมาชิกคนใดจะทําหรือไม่ทํางานหัวหน้ าก็จะไม่เดือดร้อน ไม่มกี ารจัด ระเบียบงานให้กบั ตนเองหรือสมาชิก ทุกอย่างปล่อยให้ตกอยู่ภายใต้อํานาจของ สมาชิกจะจัดการกันเอง จํานงค์ อดิวฒ ั นสิทธิ ` (ม.ป.ป.) ได้แบ่งผูอ้ อกตามแต่สงั คมและลักษณะองค์กรอีกหลาย ประเภท คือ 1. ผูน้ ําทางสังคมตามลักษณะชุมชนและสังคม 1) ผูน้ ําเป็ นทางการ (Formal Leader) 2) ผูน้ ําไม่เป็ นทางการ (Informal Leader) 2. ผูน้ ําทางสังคมตามลักษณะองค์การ แบ่งออกได้เป็ นดังนี, 1) ผูน้ ําระดับนโยบาย (Managing Director or Board of Director) 2) ผูน้ ําระดับปฏิบตั กิ าร (Manager or Administrator) 3) ผูน้ ําระดับหัวหน้างาน (Foreman or Stuff) 3. ผูน้ ําทางสังคมแบ่งตามลักษณะบุคลิกภาพ มีดงั นี,


39

1) แบบเผด็จการ หรือ อัตตาธิปไตย (Director) 2) แบบประชาธิปไตย หรือ โลกาธิปไตย (Democratic) 3) แบบยึดหลักการ หรือ ธรรมาธิปไตย (Supremacy of the Dhamma) 4) แบบปล่อยเสรี (Laissez-Faire) 4. ผูน้ ําทางสังคมแบ่งตามหน้าทีรับผิดชอบ 1) ความรับผิดชอบระดับชาติ 1.1) ข้าราชการ : ข้าราชการการเมือง / ข้าราชการประจํา 1.2) นักการศึกษา 1.3) นักธุรกิจ 1.4) นักสอนศีลธรรม 1.5) นักสือสารมวลชน 1.6) ศิลปิน 2) ความรับผิดชอบระดับชุมชน/ครอบครัว เช่น บิดามารดา กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ น ผูท้ รงคุณวุฒใิ นชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน พระภิกษุสงฆ์ เป็ นต้น ผู้นําทางสังคมทุกประเภทล้วนมีบทบาทสําคัญในการนํ าสังคมไปสู่เป้าหมายที พึงประสงค์ร่วมกันของสมาชิก ความสําเร็จหรือล้มเหลวในการนํ าสังคมขึ,นอยู่กบั คุณลักษณะ ความเป็ นผูน้ ํ า (Leadership) ความสามารถทางสติปญั ญา (Intellectual Capacity) วุฒภิ าวะทาง อารมณ์ (Emotion Maturity) จิตใจ (Mental Strength) และคุณธรรมจริยธรรม (Virtue and Ethic) ของผูน้ ําเหล่านี, คุณลักษณะของผูน้ ํา คุณลักษณะของผูน้ ํ ามีผลต่อประสิทธิภาพการบริหาร ดังนัน, นักวิชาการหลายท่านจึงได้ รวบรวมคุณลักษณะของผูน้ ําไว้ดงั นี, สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2543) กล่าวถึงคุณลักษณะของความเป็ นผู้นําโดยอิงชืออักษรใน คําว่า Leadership ว่าผูน้ ําควรมีลกั ษณะดังนี, L = Lead E = Eager A = Authority D = Direct E = Education

คือ การนํา คือ ความกระตือรือร้น คือ การใช้อํานาจ คือ การสังการ คือ มีการศึกษา หรือ ได้รบั การอบรม


40

R = Responsibility S = Social H = Honesty I = Intelligence P = Personality

คือ มีความรับผิดชอบ คือ มีการเข้าสังคมได้ คือ มีความซือสัตย์ คือ มีความเฉลียวฉลาด คือ มีบุคลิกภาพทีน่ านับถือ

Tilus ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของความเป็ นผูน้ ําไว้ดงั นี, 1. 2. 3. 4. 5.

มีความเฉลียวฉลาด มีไหวพริบทันคน มีความเชือมันในตนเองไม่โลเล มีกําลังใจสูง มีการศึกษาอบรมดี มีประสบการณ์มาก โดยเฉพาะประสบการณ์ทเกี ี ยวกับการทีเคยถูกปกครองบังคับ บัญชาจากหัวหน้ างานแบบต่ างๆ เพือทีจะได้มที ศั นะในการปกครองบังคับบัญชา ผูอ้ นื 6. เป็ นบุคคลทีมีชอเสี ื ยงเกียรติคุณดี (Tilus, 1960 อ้างใน เตือนใจ แววงาม, 2534) วิจติ ร อาวะกุล ให้ความคิดเห็นถึงคุณลักษณะความเป็ นผู้นําทีมีผู้วจิ ยั และรวบรวมไว้ ดังนี, 1. มีจติ สํานึกในเป้าหมายและทิศทางในการดําเนินงาน 2. มีความเป็ นเพือน 3. มีความกระตือรือร้น 4. มีความซือสัตย์ 5. มีความฉลาดรอบรู้ 6. มีความจริงจังในการทํางาน 7. มีความคิดริเริมสร้างสรรค์ 8. มีความเชือมันศรัทธา 9. มีเทคนิคในการทํางาน 10. มีทกั ษะในการถ่ายทอด 11. มีความแข็งแรงทัง, ร่างกายและจิตใจ 12. มีความรักต่อ ผูร้ ว่ มงาน รักงาน รักการทํางาน รักความก้าวหน้า 13. มีประสบการณ์ มีความรูค้ วามชํานาญในงานทีทํา


41

14. มีความเสียสละ 15. มีลกั ษณะออมชอม ผ่อนปรน 16. มีความสามารถในการจูงใจผูร้ ว่ มงาน 17. มีความกล้าหาญ ไม่ยอ่ ท้อ ไม่เกรงกลัว ความยากลําบาก 18. มีความแนบเนียน คือ มีความชํานาญในการดําเนินการให้เกิดความราบรืน 19. มีความเป็ นธรรม ยุตธิ รรม และศีลธรรม 20. มีความอดทนอดกลัน, 21. เป็ นคนไม่เห็นแก่ตวั 22. มีความตืนตัวต่อข้อมูลข่าวสารความเป็ นไปของโลกและสังคม 23. มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ นื 24. รูจ้ กั ถ่อมตน 25. รูจ้ กั ควบคุมอารมณ์ 26. มีสงั คมดี (วิจติ ร อาวะกุล, 2530 อ้างใน กาญจนา ไชยพันธุ,์ 2549) Stephen P.Robbins กล่าวถึงคุณสมบัตขิ องผูน้ ําว่า ต้องมีคุณสมบัตหิ ลายด้าน ดังนี, 1. 2. 3. 4.

เป็ นนักวางแผนทีดี (Planning) เป็ นนักจัดองค์กรทีดี (Organizing) เป็ นผูน้ ําทีดี (Leading) เป็ นนักควบคุมทีดี (Controlling)

และนอกจากนี,ผนู้ ําจะต้องมีลกั ษณะพิเศษทีต่างจากบุคคลทีไม่ใช่ผนู้ ําดังนี, 1. สติปญั ญาและไหวพริบดี (Intelligence) 2. บุคลิกภาพเด่นสง่า (Dominance) 3. เป็ นผูม้ คี วามเชือมันในตนเอง (Self-Confidence) 4. มีกําลังกายกําลังใจเข้มแข็ง (High Energy Level) 5. มีความรูใ้ นเรืองงานทีรับผิดชอบ (Task-Relevant Knowledge) (Stephen P.Robbins อ้างใน จํานงค์ อดิวฒ ั นสิทธิ `, ม.ป.ป. )


42

คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมในอุดมคติ ตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ความเป็ นมาของผู้นําสังคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาในอัคคัญญสูตร ได้กล่าวถึงสารัตถะเกียวกับการ กํ าเนิ ด รัฐ ไว้ว่ า เดิมทีเ ดีย วมนุ ษ ย์ยงั ไม่ม ีส งั คม ยังไม่ มรี ะบบการปกครอง มนุ ษ ย์อ ยู่ก ันตาม ธรรมชาติ มนุ ษย์อยูก่ นั แบบปกติสุข มีอาหารอุดมสมบูรณ์ด ี ไม่มกี ฎหมาย ไม่มบี า้ นเรือน มนุ ษย์ อาศัยดํารงชีพ อยู่โดยอาศัยอาหารจากดิน เช่น ง้วนดิน กระบิดนิ และเครือดิน เป็ นต้น ไม่มกี าร ยึดครองทีดิน ไม่มกี ารสะสมกักตุนสิงต่างๆ เช่น อาหารไว้ในครอบครอง ทุกคนอยู่อย่างสันติ และยึดมันในความดีงาม ต่อมาเมือมนุ ษย์มจี าํ นวนมากขึน, สังคมขยายมากขึน, มนุ ษย์ทดี​ี และชัวก็ ปรากฏขึน, ปญั หาต่างๆไ เริมตามมา โดยเริมจากมีมนุ ษย์มคี วามคิดว่า เป็ นการลําบากทีจะต้อง ไปหาอาหารและข้าวสาลีทงั , เวลาเช้า กลางวัน และตอนเย็น จึงได้เก็บข้าวสาลีมากักตุนไว้เฉพาะ ตน เพือทีจะสามารถบริโภคได้หลายเวลา ต่อมามีคนเอาอย่างทําตาม จึงเป็ นเหตุให้ขา้ วสาลีใน ท้องทุ่งหมดไป (ที.ปา. 11/127/97-98) และเนืองมาจากอาหารตามธรรมชาติค่อยๆ หมดไปและ ประชากรเพิมมากยิงขึ,น จึง มีการจับจองพื,นทีอันเป็ นแหล่ง อาหารเพือเป็ นกรรมสิทธิ `ส่ วนตัว ต่อมามนุ ษย์มคี วามเห็นแก่ตวั มีความโลภมากขึน, มีความเกียจคร้าน จึงไปขโมยอาหารของผูอ้ นื และเมือถูก จับได้ก็ได้นํามาว่ ากล่ าวตัก เตือน ลงโทษ (นีคือ จุดเริมต้นของการทําผิดศีล ข้อว่ า อทินนาทานา เวรมณี) บางคนเมือถูกจับได้กโ็ กหกว่า ไม่ได้ขโมยเพือปกป้องตนเองจากความผิด (นีคือ จุดเริมต้นของการทําผิดศีลข้อมุสาวาทา เวรมณี) และเมือมีการขโมยเกิดขึน, ก็มกี ารรักษา ป้อ งกันเกิด ขึ,นด้ว ยศาสตราอาวุ ธ เกิด ขึ,น และผลทีสุ ด เกิด เป็ นความวุ่นวายในสัง คม เกิด การ ทะเลาะวิวาทกัน (ที.ปา. 11/129/100) ด้วยเหตุน,ีจงึ เป็ นแรงผลักดันให้คนในสังคมต้องหาผู้ทจะ ี มาช่วยระงับความวุ่นวายในสังคม โดยผูน้ ํ าไม่ต้องหาอาหาร แต่ประชาชนจะแบ่งอาหารในส่วน ของตนรวมกันให้ ให้ผูน้ ํ ามีหน้าทีอย่างเดียวคือ ระงับข้อพิพาทและตัดสินอย่างเป็ นธรรม แล้ว ประชาชนก็ได้เลือกบุคคลทีมีลกั ษณะพิเศษทัง, ทางร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา และบุญบารมีขน,ึ เป็ น ผูน้ ําครัง, แรก เรียกว่า มหาสมมติ เพราะมหาชนสมมติขน,ึ ต่อมาจึงเรียกว่า กษัตริย์ ดังข้อความ ในอัคคัญญสูตรว่า “ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครัง, นัน, แล สัตว์ผูห้ นึงเป็ นคนโลภ สงวนส่วนของ ตนไว้ ไปเก็บเอาส่วนอืนทีเขาไม่ได้ให้มาบริโภค สัตว์ทงั , หลายจึงช่วยกันจับสัตว์ผู้นัน, ครัน, แล้ว ได้ตกั เตือนอย่างนี,ว่า แน่ ะสัตว์ ผู้เจริญ ก็ท่านกระทํากรรมชัวช้านักทีสงวน ส่วนของตนไว้ ไปเก็บเอาส่วนอืนทีเขาไม่ได้ให้มาบริโภค ท่านอย่าได้กระทํากรรมชัวช้า เห็นปานนี,อกี เลย ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ สัตว์ผูน้ ัน, แลรับคําของสัตว์เหล่านัน, แล้ว แม้ครัง, ที 2 ... แม้ครัง, ที 3 สัตว์นนั , สงวนส่วนของตนไว้ ไปเก็บเอาส่วนอืนทีเขาไม่ได้ให้ มาบริโภค สัตว์เหล่านัน, จึงช่วยกันจับสัตว์ผู้นัน, ครัน, แล้ว ได้ตกั เตือนว่า แน่ ะ สัตว์ผู้


43

เจริญ ท่ า นทํ ากรรมอัน ชัวช้า นัก ทีสงวนส่ ว นของตนไว้ ไปเอาส่ ว นทีเขาไม่ไ ด้ใ ห้ม า บริโภค ท่านอย่าได้กระทํากรรมอันชัวช้าเห็นปานนี,อกี เลย สัตว์พวกหนึงประหารด้วยฝ่า มือ พวกหนึงประหารด้วยก้อนดินบ้าง พวกหนึงประหารด้วยท่อนไม้ ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ก็นัยเพราะมีเหตุ เช่นนัน, เป็ น ต้นมา การถือเอา สิงของทีเจ้าของไม่ได้ให้จงึ ปรากฏ การติเตียนจึงปรากฏ การกล่าวเท็จจึงปรากฏ การถือ ท่อนไม้จงึ ปรากฏ ครัง, นัน, แล พวกสัตว์ทเป็ ี นผู้ใหญ่ จงึ ประชุมกัน ครัน, แล้ว ต่ างก็ปรับ ทุกข์กนั ว่า พ่อเอ๋ย ก็การถือเอาสิงของทีเจ้าของไม่ได้ให้จกั ปรากฏ การติเตียนจักปรากฏ การพูดเท็จจักปรากฏ การถือท่อนไม้จกั ปรากฏ ในเพราะบาปธรรมเหล่าใด บาปธรรม เหล่านัน, เกิดปรากฏแล้วในสัตว์ทงั , หลาย อย่ากระนัน, เลย พวกเราจักสมมติสตั ว์ผูห้ นึงให้ เป็ นผูว้ ่ากล่าวผูท้ ควรว่ ี ากล่าวได้โดยชอบ ให้เป็ นผูต้ เิ ตียนผูท้ ควรติ ี เตียนได้โดยชอบ ให้ เป็ นผูข้ บั ไล่ ผูท้ ควรขั ี บไล่ได้โดยชอบ ส่วนพวกเราจักแบ่งส่วนข้าวสาลีให้แก่ผนู้ นั , ดังนี, ดูก รวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครัน, แล้ว สัต ว์เ หล่ า นั น, พากัน เข้าไปหาสัต ว์ที สวยงามกว่า น่ าดูน่าชมกว่า น่ าเลือมใสกว่า และน่ าเกรงขามมากกว่าสัตว์ทุกคนแล้ว จึง แจ้งเรืองนี,ว่า ข้าแต่สตั ว์ผเู้ จริญ มาเถิดพ่อ ขอพ่อจงว่ากล่าวผูท้ ควรว่ ี ากล่าว ได้โดยชอบ จงติเตียนผู้ทควรติ ี เตียนได้โดยชอบ จงขับไล่ผู้ทควรขั ี บไล่ได้ โดยชอบเถิด ส่วนพวก ข้าพเจ้าจักแบ่งส่วนข้าวสาลีให้แก่พ่อ ดูกรวาเสฏฐะและ ภารทวาชะ สัตว์ผู้นัน, แลรับคํา ของสัตว์เหล่านัน, แล้ว จึงว่ากล่าวผู้ทควรว่ ี ากล่าวได้โดยชอบ ติเตียนผู้ทควรติ ี เตียนได้ โดยชอบขับไล่ผทู้ ควรขั ี บไล่ได้โดยชอบ ส่วนสัตว์เหล่านัน, ก็แบ่งส่วนข้าวสาลีให้แก่สตั ว์ที เป็ นหัวหน้านัน, ฯ ดูก รวาเสฏฐะและภารทวาชะ เพราะเหตุ ผู้ทเป็ ี นหัว หน้ าอัน มหาชนสมมติ ดังนี,แลอักขระว่า มหาชนสมมติ จึงอุ บตั ิข,นึ เป็ นอันดับแรก เพราะเหตุ ผู้ทเป็ ี นหัวหน้ า เป็ นใหญ่ยงแห่ ิ งเขตทัง, หลาย ดังนี,แล อักขระว่า กษัตริย์ กษัตริย์ จึงอุบตั ขิ น,ึ เป็ นอันดับที สอง เพราะเหตุ ทีผู้เ ป็ นหัวหน้ ายังชนเหล่าอืนให้สุ ขใจได้โดยธรรม ดัง นี,แล อักขระว่ า ราชา ราชา จึงอุบตั ขิ น,ึ เป็ นอันดับทีสาม ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ด้วยประการดังนี, แล การบังเกิดขึน, แห่งพวกกษัตริยน์ นั , มีขน,ึ ได้ เพราะอักขระทีรูก้ นั ว่าเป็ นของดี เป็ นของ โบราณ อย่างนี,แลเรืองของสัตว์เหล่านัน, จะต่างกันหรือเหมือนกัน จะไม่ต่างกันหรือไม่ เหมือ นกัน ก็ด้ว ยธรรมเท่ านั น, ไม่ใ ช่ นอกไปจากธรรม ดู ก รวาเสฏฐะและภารทวาชะ ความจริง ธรรมเท่านัน, เป็ นของประเสริฐสุดในประชุมชนทัง, ในเวลาทีเห็นอยู่ ทัง, ในเวลา ภายหน้า ฯ” (15/62-63/159-160) จะเห็นได้ว่า ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ในสภาวะธรรมชาติมนุ ษย์อยู่กนั อย่างสงบ สุข ไม่มที รัพย์สนิ ส่วนบุคคล เมือมนุ ษย์มที งั , คนดีและคนชัว กลุ่มคนชัวสร้างปญั หาสังคมจนไม่ สามารถจัดการกันเองได้แล้ว มนุ ษย์จงึ ร่วมใจกันหาหนทางแก้ไขโดยการสร้างรัฐขึน, มาเพือการใช้


44

ชีว ิต อย่ า งมีร ะเบี ย บแบบแผนร่ ว มกัน ภายในรัฐ รัฐ จึง เกิ ด ขึ,น ตามสัญ ญาประชาคม และ องค์ประกอบทีสําคัญทีสุดของรัฐก็คอื การคัดเลือกผูน้ ํ าทีมีความสามารถ เข้มแข็ง มีคุณธรรม มา เป็ นผู้แก้ปญั หาสังคม โดยมีอํานาจลงโทษผู้กระทําผิด เป็ นผู้ปกป้องคุ้มครองชีวติ และทรัพย์สนิ และตัดสินในกรณีความขัดแย้งทีเกิดขึน, ในสังคม เมือกล่ าวโดยสรุปแล้ว ความจําเป็ นทีต้อ งมีก ารจัด ระเบียบการเมือ งการปกครองนัน, เนืองมาจากความบกพร่องของสังคมทีเกิดจากการกระทําของมนุ ษย์ผมู้ กี เิ ลส และอีกส่วนหนึงนัน, ก็เกิดจากสังคมทีขยายใหญ่ขน,ึ จึงจําเป็ นต้องมีระเบียบและผูน้ ําคอยควบคุมผูใ้ ต้ปกครองให้ปฏิบตั ิ ตามระเบียบ (มนตรี ธีรธรรมพิพฒ ั น์, 2540) ประเภทของผูน้ ําสังคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา สําหรับประเภทของผูน้ ํ า พระพุทธศาสนามีกล่าวไว้ในคําสอนเรือง อธิปไตย 3 ในสังคีติ สูตร โดยจัดแบ่งประเภทของผูน้ ําเป็ น 3 ประเภทตามหลักทีผูน้ ํายึดถือในการปกครอง ดังนี, 1. อัตตาธิปไตย ถือตนเป็ นใหญ่ 2. โลกาธิปไตย ถือโลกเป็ นใหญ่ 3. ธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็ นใหญ่ คําว่า อธิปไตย ในพระไตรปิ ฎกนี,ไม่ได้มคี วามหมายเหมือนกับคําว่าอธิปไตยในปจั จุบนั เช่ น ประชาธิปไตย อภิช นาธิปไตย หรือ คณาธิป ไตย เพราะอธิป ไตยในพระไตรปิ ฎ กนั น, หมายถึง หลักทีผู้ปกครองพึง ยึดถือ กล่ าวคือ เมือเป็ น ผู้ปกครองแล้ว จะยึดถือ อะไรเป็ นใหญ่ ตนเอง ประชาชน หรือ ธรรม ฉะนัน, ธรรมาธิปไตยจึงไม่ใช่ระบอบการปกครองแต่เป็ นหลักในการ ปกครองของผูป้ กครองทียึดถือเอาธรรมเป็ นหลักใหญ่ในการปกครอง พระพุ ทธองค์ไ ม่ไ ด้ทรงเน้ นว่ า ระบอบการปกครองใดดีทีสุ ด ไม่ไ ด้เ สนอว่ า จะเลือ ก ผู้ปกครองด้วยวิธใี ด หรือมีระบบในการจัดสรรอํานาจอธิปไตยอย่างไร เป็ นแต่ เน้ นว่า ถ้าเป็ น ผู้ ป กครองแล้ ว ควรยึด ถือ อะไรในการปกครอง (ปรีช า ช้ า งขวัญ ยืน , 2540) ซึงสิงที พระพุทธศาสนาสรรเสริญก็คอื ธรรมาธิปไตย คือ การยึดถือธรรมหรือความถูกต้องดีงามเป็ น ใหญ่ ธรรมาธิปไตย หมายถึง มีธรรมเป็ นใหญ่ มีธรรมเป็ นอธิบดี กระทํากิรยิ าคือ ราชกิจทุก อย่างด้วยอํานาจธรรมเท่านัน, (ที.ปา.อ. 15/131) กล่าวคือ การตัดสินใจในการปกครองทุกอย่าง จะต้องยึดหลักธรรมเป็ นเกณฑ์เท่านัน, ธรรมาธิปไตยจึงถือว่า เป็ นหัวใจสําคัญของการปกครอง


45

หรือเป็ นหัวใจสําคัญของรัฐศาสตร์ในพระไตรปิ ฎก เรืองธรรมาธิปไตยนี, มีปรากฏในราชสูตรซึง พระพุทธองค์ทรงตรัสถึงการปกครองทวีปทัง, 4 ของพระเจ้าจักรพรรดิ และตรัสถึงการปกครอง พุทธบริษทั ของพระองค์ว่าใช้หลักการเดียวกัน คือ ธรรมาธิปไตย ดังนี, “พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงั , หลาย พระเจ้า จักรพรรดิพระองค์ใดแลผูท้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชา พระเจ้า จักรพรรดิแม้พระองค์นนั , ย่อมไม่ทรงยังจักรให้เป็ นไป ณ ประเทศทีไม่ม ี พระราชา เมือพระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสอย่างนี,แล้ว ภิกษุรปู หนึงได้ทลู ถามว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ก็ใครเป็ นพระราชาของพระเจ้าจักรพรรดิผทู้ รงดํารงอยู่ ในธรรม เป็ นพระธรรมราชา พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสตอบว่า ธรรมซิ ภิกษุ แล้วจึงตรัสต่อไปว่า ดูก่อนภิกษุ พระเจ้าจักรพรรดิผทู้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชาในโลกนี, ทรงอาศัยธรรมนันแหละ ทรงสักการะ เคารพ นอบน้อมธรรม ทรงมีธรรมเป็ นธง มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมในชนภายใน อีกประการหนึง พระเจ้าจักรพรรดิผทู้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ น พระธรรมราชา ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรม ในกษัตริ ยเ์ หล่าอนุยนต์ [พระราชวงศานุวงศ์] ใน หมู่ทหาร พราหมณ์ คฤหบดี ชาวนิ คมชนบท สมณพราหมณ์ เนืV อ และนกทังV หลาย พระเจ้าจักรพรรดิผทู้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชา พระองค์นนั , ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ครัน, ทรงจัดแจงการรักษา ป้องกัน คุม้ ครอง ทีเป็ นธรรมในชนภายใน ในกษัตริยเ์ หล่าอนุ ยนต์ ในหมูท่ หาร พราหมณ์ คฤหบดี ชาวนิคมชนบท สมณพราหมณ์ เนื,อ และนกทัง, หลายแล้ว ย่อม ทรงยังจักรให้เป็ นไปโดยธรรมเทียว จักรนัน, ย่อมเป็ นจักรอันมนุ ษย์ผเู้ ป็ นข้าศึก ใด ๆ จะต้านทานมิได้ ดูก่อนภิกษุ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ฉนั นัน, เหมือนกัน ทรงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชา ทรงอาศัย ธรรมนันแหละ ทรงสักการะ เคารพนอบน้อมธรรม ทรงมีธรรมเป็ นธง มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมในพวกภิกษุว่า กายกรรมเช่นนี,ควรเสพ กายกรรมเช่นนี, ไม่ควรเสพ วจีกรรมเช่นนี,ควรเสพ วจีกรรมเช่นนี,ไม่ควรเสพ มโนกรรม เช่นนี,ควรเสพ มโนกรรมเช่นนี,ไม่ควรเสพ อาชีวะเช่นนี,ควรเสพ อาชีวะ เช่นนี,ไม่ควรเสพ บ้านนิคมเช่นนี,ควรเสพ บ้านนิคมเช่นนี,ไม่ควรเสพ.


46

อีกประการหนึง พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผูท้ รงดํารง อยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชา ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการ รักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมในพวกภิกษุณ.ี . .ในพวกอุบาสก. . . ในพวกอุบาสิกาว่า กายกรรมเช่นนี,ควรเสพ กายกรรมเช่นนี,ไม่ควรเสพ ฯลฯ บ้านนิคมเช่นนี,ควรเสพ บ้านนิคมเช่นนี,ไม่ควรเสพ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชาพระองค์นนั , ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ครัน, ทรงจัดแจง การรักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรม ในพวกภิ กษุ ในพวกภิ กษุณี ในพวกอุบาสกในพวกอุบาสิ กาแล้ว ย่อม ทรงยังธรรมจักรชัน, เยียมให้เป็ นไปโดยธรรมเทียว ธรรมจักรนัน, ย่อมเป็ นจักร อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก จะคัดค้านไม่ได้” (36/133/276-278) ฉะนัน, จากเนื,อหาในราชสูตร จะเห็นได้ว่า หลักธรรมาธิปไตยนี,เป็ นหลักการทีสามารถใช้ ในการปกครองได้ทงั , ทางโลกและทางธรรม คุณลักษณะของผูน้ ําสังคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ความเป็ นผูน้ ํ าจะเน้นทีการปกครองตนเองให้ได้ก่อนเป็ น อันดับแรก เนืองจากการจะเป็ นผู้นําคนอืนได้นัน, ต้องสามารถปกครองตนเองให้ได้เสียก่อน ดัง พุทธพจน์ว่า “บุคคลพึงยังตนให้ตงั , อยูใ่ นคุณอันสมควรก่อน แล้วพึงพรําสอนผูอ้ นในภายหลั ื ง บัณฑิตประพฤติตนอย่างนี,จงึ ไม่เศร้าหมอง” (ขุ.ธ. 25/158/52) ทัง, นี,เป็ นเพราะการจะเป็ นผู้นําให้บุคคลอืนทําตามหรือมีความเชือมัน ผู้นําต้อง สามารถนําการกระทําได้ จะได้ไม่ถูกตําหนิในภายหลัง หลักการดังกล่าวจึงเป็ นการสอน ให้คนมีภาวะผูน้ ํ าในตนเอง หรือ พัฒนาตนเองให้มภี าวะผู้นําก่อนทีจะก้าวขึน, สู่การเป็ น ผูน้ ํา การพัฒนาตนเองดังกล่าวต้องพัฒนาทัง, ทางกาย ทางวาจา และทางใจ คือ ไม่ให้คดิ ชัว พูดชัว และทําชัวซึงเป็ นเหตุแห่งความเดือดร้อนของตนเองและสังคม แต่เพียงเท่านัน, ยัง ไม่พ อแต่ ย งั ต้ อ งมีค วารมสามารถในการทํา สิงทีถู ก ต้ อ งเป็ นธรรมและเป็ น ไปเพือ ประโยชน์ สุขแก่ ตนและส่วนรวมได้ และการพัฒนาตนเองดังกล่าวจะต้องมุ่งเน้ นทีการ พัฒนาจิต ใจเป็ นสําคัญ ด้ว ยการปลูก ฝ งั คุ ณธรรมให้มใี นตนจนสามารถควบคุ มจิต ใจ


47

ตนเองได้ พระพุทธศาสนาถือว่า ผู้นําต้องเอาชนะใจของตนเองให้ได้ก่อน เพราะเมือ สามารถชนะตนเองได้ ก็ชอว่ ื า สามารถเอาชนะคนอืนได้ทงั , หมด ดังพุทธพจน์ว่า “บุคคลชนะหมูม่ นุ ษย์ตงั , 1,000,000 คนในสมรภูม ิ ยังไม่ชอว่ ื า เป็ นผูช้ นะสงครามอย่างเด็ดขาด คนที ชนะตนเองได้เพียงคนเดียวนีสิ จึงชือว่า เป็ นผูท้ ี ชนะสงครามได้เด็ดขาด” (ขุ.ธ. 25/103/40) จากทัศนะของพระพุ ทธศาสนาดังกล่าว แสดงถึง การสร้างคุณลักษณะความเป็ นผู้นํา ให้กบั ตนเองเป็ นเบื,องต้นก่ อนเป็ นสิงสําคัญมาก เพราะหากผู้นําเป็ นผู้ทรงไว้ซงคุ ึ ณธรรมและ ความสามารถแล้ว การจะปกครองผู้อืนก็จะเป็ นเรืองง่าย เพราะจะไม่ถู กติเตียนในคุณ สมบัติ ความเหมาะสม อีกทัง, ยังจะเป็ นประโยชน์ ต่อการพัฒนาประชาชนให้ตงั , อยู่ในธรรมได้ง่ายด้วย นอกจากนี, เ มือผู้นํากอปรด้ว ยคุ ณ ธรรมสัม มาปฏิบตั ิแ ล้ว ย่อ มจะเอื,อ ประโยชน์ ใ ห้ก ารบริห าร บ้านเมืองเป็ นไปเพือประโยชน์ สุขของประชาชนโดยฝ่ายเดียว ในทางตรงกันข้ามหากผู้นําซึง เป็ นผูม้ สี ทิ ธิ `ใช้อํานาจให้คุณให้โทษแก่ประชาชน ตลอดจนการนํ าพาสังคมไปสู่เป้าหมาย เป็ นผูท้ ี ขาดคุณธรรมในตนเอง แม้จะเก่งกาจสามารถในเชิงบริหารเพียงใด ก็คงไม่สามารถทีจะเอาชนะ ใจตนเองในเรืองของความโลภ ความโกรธ ความหลงได้ ย่อมจะสามารถใช้อํานาจอย่างไม่เป็ น ธรรม และมีความเห็นแก่ตวั จนทุจริตคอร์รปั ชันเพือหวังความสุขส่วนตัว เห็นแก่พวกพ้องและ เครือญาติมากกว่าความถูกต้องเป็ นธรรม แล้วผลสุดท้ายเกิดเป็ นความเดือดร้อนแก่ประชาชน อย่างมหาศาล ฉะนั น, ในเบื,อ งต้ น พระพุ ท ธศาสนาจึง กํ า หนดคุ ณ ลัก ษณะผู้ นํ า สัง คมให้ เ ป็ น คนทีมี คุณธรรมจริยธรรมในตนเองเสียก่อน และหลักธรรมทีเป็ นดัชนีช,วี ดั คุณภาพทางจริยธรรมของ ผูน้ ําได้นนั , มีอยูห่ ลายหมวดดังจะได้กล่าวต่อไป ดัชนี ชีVวดั คุณภาพทางจริ ยธรรมของผูน้ ําสังคม สําหรับคุณธรรมทีเป็ นคุณสมบัตขิ องผูน้ ําสังคมทีแสดงไว้ในพระไตรปิ ฎกมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ หลักธรรมในการปกครองตน และหลักธรรมในการปกครองคน ดังต่อไปนี, 1. หลักธรรมทีใช้ในการปกครองตน หมายถึง หลักธรรมทีผู้ปกครองจะต้องปฏิบตั เิ พือ ปกครองตนเองให้ต ัง, อยู่ใ นธรรมอันดีง ามเพือเป็ นต้นแบบทีดีแ ละยัง ความเลือมใสศรัทธาให้ เกิดขึน, แก่ผอู้ ยูใ่ ต้ปกครอง ประกอบด้วย หลักทศพิธราชธรรม, หลักสัปปุรสิ ธรรม 7 และจักรวรรดิ วัตร 5 หากผูน้ ําเป็ นส่วนหนึงของการปกครองโดยคณะบุคคล ก็จาํ เป็ นทีต้องปฏิบตั ติ ามหลักอปริ หานิยธรรม 7 ด้วย


48

2. หลักธรรมทีใช้ในการปกครองคน หมายถึง หลักธรรมทีผูป้ กครองจะต้องนํ าไปใช้ใน การปกครองผู้ใต้การปกครองและบริหารงานให้เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย ประกอบด้วย หลัก พรหมวิหารธรรม 4 หลักสังคหวัตถุ 4 หลักราชสังคหวัตถุ 4 และหลักการละเว้นอคติ 4 1. หลักธรรมที+ใช้ในการปกครองตน 1.1 ทศพิ ธราชธรรม เนืองจากในสมัยพุทธกาลโดยมากมักปกครองโดยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ ราชาธิปไตย ผู้นํา คือ กษัตริยม์ อี ํานาจสิทธิขาดในการปกครองแต่ผูเ้ ดียว และมีรชั ทายาท สืบสันตติวงศ์ วิธกี ารป้องกันปญั หาจากการใช้อํานาจไม่เป็ นธรรม พระพุทธศาสนาจึงเสนอให้ยดึ หลักทศพิธราชธรรมเป็ นหลักในการครองตนของผูน้ ํา ดังนี, 1.1.1 ทาน การให้ การสละทรัพย์บาํ รุง ช่วยเหลือ ประชาชน 1.1.2 ศีล คือ การประพฤติดคี วามทางกายวาจา ประกอบแต่ การสุจริต รักษากิตติคุณให้เป็ นตัวอย่างและเป็ นทีเคารพนับถือของประชาชน 1.1.3 ปริจจาคะ คือ เสียสละความสุขส่วนตัว เพือประโยชน์สุขของประชาชน 1.1.4 อาชชวะ คือ ความซือตรง มีสตั ย์ ปฏิบตั ภิ ารกิจโดยสุจริต 1.1.5 มัททวะ คือ ความอ่อนโยน ไม่เย่อหยิงหยาบคายต่อราษฎร 1.1.6 ตปะ คือ การแผดเผากิเลสตัณหา หรือ เพียรพยายามเอาชนะอารมณ์ ฝา่ ยตํา 1.1.7 อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ ไม่ลุอํานาจแก่ความโกรธ 1.1.8 อวิหงิ สา คือ การไม่เบียดเบียนราษฎรด้วยวิธกี ารต่างๆ 1.1.9 ขันติ คือ ความอดทนต่อความลําบากในภารกิจทีชอบธรรม 1.1.10 อวิโ รธนะ คือ ความไม่ค ลาดจากธรรม วางตนเป็ นหลัก หนัก แน่ น ใน ธรรม(ขุ.ชา. 28/675/87) หลักทศพิธราชธรรมเป็ นหลักการทีเป็ นไปเพือประโยชน์ เกื,อกูลต่อแนวทางการ ปกครองตนเองและสังคมส่วนรวม 1.2 จักรวรรดิ วตั ร 5 นอกจากหลัก ทศพิ ธ ราชธรรมแล้ ว ยัง มีจ ัก รวรรดิ ว ัต รซึ งเป็ น หลัก ในการดํ า เนิ น ชีวติ ประจําวันก็เป็ นส่วนประกอบสําคัญ ต้องปฏิบตั อิ ย่างสมําเสมอ มีลกั ษณะเป็ นเหมือนคําสังที ต้องปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด มีอยู่ 5 ประการ ดังนี,


49

1.2.1 ถือธรรมเป็ นใหญ่ มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นธงชัย เคารพบูชาธรรม 1.2.2 จัดการรักษา คุ้มครอง ป้องกัน และทํานุ บํารุงประชาชนทุกหมู่เหล่าใน อาณาจักรด้วยความชอบธรรมและเป็ นธรรม 1.2.3 ไม่ให้มกี ารกระทําทีผิดธรรม ผิดแบบแผน ขึน, ในแว่นแคว้น 1.2.4 จัด แบ่ ง ปนั ทรัพ ย์แ ก่ ผู้ยากไร้ม ิใ ห้เ กิด ความขัด สน และสนั บสนุ นให้ม ี อาชีพโดยสุจริต 1.2.5 ปรึก ษาปญั หากับสมณพราหมณ์ ผู้ทีตัง, มันอยู่ใ นธรรม เพือทราบและ ปฏิบตั ติ ามหลักการพัฒนาตนและสังคม (ที.ปา. 11/84/63-64) วัตถุประสงค์ของหลักจักรวรรดิวตั รนัน, เป็ นไปเพือประโยชน์ สุขอย่างแท้จริงของสังคม ส่วนรวม โดยมุ่งสอนให้ผู้นําใช้อํานาจเพือสร้างสรรค์ความสงบสุขและระบบเศรษฐกิจทีดีของ ราษฎร และจุดมุง่ หมายสําคัญคือ การการอธิบายถึงวิธใี ช้อํานาจทางการเมืองเพือราษฎร โดยมี การเข้าไปปรึกษาสมณพราหมณ์ นักปราชญ์ หรือ นักวิชาการผูท้ รงคุณธรรม เพือให้รชู้ ดั ในสิงที ควรทํา ไม่ควรทํา หรือ ส่งเสริมให้ราษฎรทํา 1.3 หลักอปริ หานิ ยธรรม 7 จากทีกล่าวมาเป็ นลักษณะและคุณสมบัติของผู้นําทีพระพุทธองค์ตรัสไว้เพือแก้ปญั หา ทางการเมืองแก่ ผู้นําในระบอบราชาธิปไตย แต่ นอกจากนี,ยงั มีอีกระบบหนึงทีพระองค์ทรงใช้ สําหรับการปกครองระบอบสามัคคีธรรม คือ มีผูน้ ํ าสูงสุด เช่นเดียวกับระบอบกษัตริย์ แต่กษัตริย์ ไม่มอี ํ านาจสิทธิขาด การบริหารจะทําโดยรัฐสภาซึงสมัยนัน, เรียกว่า สัณฐาคาร ประธานหรือ ประมุขของรัฐสภาดํารงตําแหน่ งตามเวลาทีกําหนด และคณะกรรมการ หรือ สมาชิกสภาก็จะ ได้รบั การคัดเลือกจากหัวเมืองต่างๆ รัฐทีปกครองระบบนี, พระพุทธองค์ทรงแนะนํ าให้ใช้หลักอปริ หานิยธรรมในการปกครอง ซึงมี 7 ประการ คือ 1.3.1 หมันประชุมกันเนืองนิตย์ 1.3.2 พร้อมเพรียงกันประชุม พร้อมเพรียงกันเลิกประชุม พร้อมเพรียงกันทํา กิจทีควรทํา 1.3.3 ถือปฏิบตั มิ นในวั ั ชชีธรรม ไม่ลม้ ล้างสิงทีบัญญัตไิ ว้แล้ว ไม่ปฏิบตั ใิ นสิงที ยังไม่ได้บญ ั ญัติ 1.3.4 เคารพนับถือ รับฟงั คําของผูใ้ หญ่ทควรนั ี บถือ 1.3.5 ป้องกันให้อารักขาแก่สตรี กุลสตรีทงั , หลาย ให้มคี วามเป็ นอยู่ทดี​ี มิให้ถูก ข่มเหงรังแก 1.3.6 เคารพ บูชา สักการะเจดียสถาน ปูชนียสถาน หรืออนุ สาวรีย์


50

1.3.7 ให้ความอารักขาแก่ผูบ้ ริสุทธิ ` ผูเ้ ป็ นหลักความประพฤติและหลักยึดของ ประชาชน อั น ได้ แ ก่ สมณพราหมณ์ ผู้ ท รงศี ล ทรงธรรม (ที . ม. 10/134/88) 1.4 หลักสัปปุริสธรรม 7 หลัก สัปปุรสิ ธรรม อันธรรมของคนดี เป็ นหลัก ธรรมทีผู้นํ าควรจะนํ ามาปฏิบตั ิใ นการ บริหารด้วย มี 7 ประการ คือ 1.4.1 รูห้ ลัก หรือ รูจ้ กั เหตุ คือ หลักความจริง รูห้ ลักของเหตุและผล รูจ้ กั เหตุ ของความเจริญก้าวหน้า 1.4.2 รูค้ วามมุ่งหมาย หรือ รูจ้ กั ผล คือ รูค้ วามมุ่งหมายหรือประโยชน์หรือผล ทีจะได้รบั เมือกระทําเหตุ 1.4.3 รูจ้ กั ตน คือ รูว้ ่าเรามีฐานะ เพศ ภาวะ กําลัง ความรู้ ความสามารถและ คุณธรรมเป็ นอย่างไร มากน้อยแค่ไหน จะต้องปรับปรุงหรือพัฒนาจุดใด 1.4.4 รูจ้ กั ประมาณ คือ ความพอดีในทุกๆ ด้าน 1.4.5 รูจ้ กั กาล คือ รูก้ าลเวลาอันเหมาะสมและระยะเวลาในการประกอบกิจ 1.4.6 รูจ้ กั ชุมชน คือ รูจ้ กั กิรยิ าทีจะพึงประพฤติต่อชุมชนนัน, ๆ ทีแตกต่างกัน 1.4.7 รูจ้ กั บุคคล คือ รูจ้ กั ความแตกต่างของบุคคลโดยอัธยาศัย ความสามารถ และคุ ณ ธรรม และสามารถมอบหมายงานให้ ร ั บ ผิ ด ชอบตาม ความสามารถ (องฺ สตฺตก. 23/68/130-134) นอกจากหลักธรรมดังกล่าวข้างต้นมาทีเป็ นสิงทีผู้นําจําต้องมีในคุณสมบัตแิ ละเป็ นหลัก ประพฤติ ในทุตยิ ปาณิกสูตร ยังได้กล่าวถึงคุณสมบัตทิ สํี าคัญของผูน้ ําอีก 3 ประการ คือ 1. มีปญั ญามองการณ์ไกล 2. ความเป็ นผูจ้ ดั การธุระได้ดี 3. พึงพาอาศัยคนอืนได้ 4. หลัก ธรรมในพระสู ต รนี, ใ ห้ค วามสํ า คัญ กับเรืองวิส ัย ทัศ น์ ผู้นํ า ความสามารถเชิง การ บริห ารงาน และความสามารถในเชิง ภาวะผู้นํา เป็ นพระสูต รสัน, ๆ ทีให้ใ ห้ก รอบแนวคิด ของ คุณสมบัตขิ องผูน้ ําได้ดที เี ดียว


51

2. หลักธรรมที+ ใช้ในการปกครองคน 2.1 หลักพรหมวิ หารธรรม 4 หลักพรหมวิหารธรรมเป็ นหลักใจสําคัญทีช่วยในการกํากับความประพฤติ ของผูป้ กครองในการปฏิบตั หิ น้าทีและแสดงออกต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา มี 4 ประการ คือ 2.1.1 เมตตา คือ ความปรารถนาอยากให้ผอู้ นมี ื ความสุข 2.1.2 กรุณา คือ ความสงสาร อยากช่วยเหลือให้ผอู้ นพ้ ื นทุกข์ 2.1.3 มุ ทิต า คือ ความพลอยยิน ดีเ มือเห็น ผู้ อืนมีค วามสุ ข หรือ ประสบ ความสําเร็จ 2.1.4 อุเบกขา คือ ความมีใจเป็ นกลาง กล่าวคือ พิจารณาการกระทําของ คนอืนด้วยปญั ญา มีจติ เรียบตรงเทียงธรรมดุจตราชัง ไม่เอนเอียง ด้วยรักและชัง มองเห็นการกระทําของบุ คคลอืนทีจะได้รบั ทัง, ผลดี และผลชัวสมควรแก่เหตุทตนกระทํ ี า พร้อมทีจะวินิจฉัยและปฏิบตั ไิ ป ตามความเทียงธรรม (ที.ปา. 11/228/232) 2.2 หลักราชสังคหวัตถุ 4 เป็ นคุณสมบัติของผู้นําอีกหมวดหนึงทีเป็ นหลักการสงเคราะห์ประชาชน หลักธรรมข้อนี,มุ่งถึงผู้บริหารบ้านเมืองเมือได้อํานาจมาแล้วต้องบริหารจัดการให้ดี มี หลักการ 4 ประการ คือ 2.2.1 สัสสเมธะ รูจ้ กั บํารุงธัญญาหาร ส่งเสริมการเกษตร กล่าวคือ มีปรีชา สามารถในนโยบายด้านการเกษตร 2.2.2 ปุรสิ เมธะ รูจ้ กั บํารุงข้าราชบริพาร รูจ้ กั ส่งเสริมคนดีมคี วามสามารถ จัดสวัสดิการให้ 2.2.3 สัมมาปาสะ รูจ้ กั ส่งเสริมวิชาชีพให้ประชาชน 2.2.4 วาชะไปยะ รูจ้ กั ชี,แจงแนะนํ า ความมีวาจาอันดูดดืมใจ ปราศรัย ไพเราะน่ าฟงั ประกอบด้วยเหตุผล มีประโยชน์ เป็ นทางแห่งความสามัคคี ทําให้เกิดการ เข้าใจดีต่อกัน (องฺ.จตุกฺก. 21/32/42-43) 2.3 หลักการละเว้นอคติ 4 เป็ นหลักการสําคัญทีผู้นําจําเป็ นต้องยึดเป็ นหลักในการปฏิบตั หิ น้าที เพือความ เป็ นธรรมแก่ประชาชนหรือผูใ้ ต้ปกครองทุกฝา่ ย ได้แก่


52

2.3.1 ละเว้นฉันทาคติ คือ ลําเอียงเพราะความรักใคร่ อาทิ เป็ นบุคคลใน ครอบครัว เป็ นเครือญาติ หรือบุคคลทีเรารักใคร่ 2.3.2 ละเว้นโทสาคติ คือ ลําเอียงเพราะความชัง ไม่ชอบใจส่วนตัว 2.3.3 ละเว้นโมหาคติ คือ ลําเอียงเพราะความลุ่มหลง มัวเมา 2.3.4 ละเว้นภยาคติ คือ ลําเอียงเพราะความกลัวเกรงอิทธิพล โดยสรุปแล้ว คุณลักษณะของผูน้ ําตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ก็คอื ความเป็ นผู้ มีหลักธรรมในการบริหาร ประกอบไปด้วยหลักธรรมของผูน้ ําและหลักธรรมสําหรับปกครอง เรียก ได้ว่า มีหลักธรรมธิปไตยเป็ นหลักการทางการเมืองการปกครอง (มนตรี ธีรธรรมพิพฒ ั น์, 2540) ธรรมราชา : ผูน้ ําสังคมในอุดมคติ ของพระพุทธศาสนา “ธรรมราชา” เป็ นคําทีพระพุทธองค์ทรงใช้เรียกพระองค์เองด้วยส่วนหนึง ดังพระพุทธ พจน์ทว่ี า “...อีกประการหนึง พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผูท้ รงดํารง อยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชา ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการ รักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมในพวกภิกษุณ.ี . .ในพวกอุบาสก. . . ในพวกอุบาสิกาว่า กายกรรมเช่นนี,ควรเสพ กายกรรมเช่นนี,ไม่ควรเสพ ฯลฯ บ้านนิคมเช่นนี,ควรเสพ บ้านนิคมเช่นนี,ไม่ควรเสพ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชาพระองค์นนั , ...” และในอี ก กรณี ห นึ งพระพุ ท ธองค์ ท รงใช้ เ รี ย กพระราชาผู้ ท รงธรรมในอดี ต ซึ ง พระพุทธศาสนา เรียกว่า พระเจ้าจักรพรรดิn ดังพุทธพจน์ว่า “...ดูก่อนภิกษุ พระเจ้าจักรพรรดิผทู้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชาในโลกนี, ทรงอาศัยธรรมนันแหละ ทรงสักการะ เคารพ นอบน้อมธรรม ทรงมีธรรมเป็ นธง มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมในชนภายใน...” (36/133/276-278)


53

ความหมายของคําว่า “พระเจ้าจักรพรรดิn ” พระเจ้าจักรพรรดิในพระพุทธศาสนาไม่ได้มคี วามหมายเช่นเดียวกับทีใช้ในภาษาไทย ทัวไป เช่น สมเด็จพระมหาจักรพรรดิในสมัยอยุธยา หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิและสมเด็จพระ จักรพรรดินีแห่งประเทศญีปุ่น เป็ นต้น ในพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ ความหมายของจัก รพรรดิว่ า พระราชาธิราช, ประมุขของจักรวรรดิ, สมัยโบราณเขียนเป็ น จักรพัตราธิราช (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) ในทางพระพุทธศาสนาหมายถึง พระมหากษัตริยผ์ ู้ ครองโลกโดยธรรม กล่าวคือทรงมีขอบเขตพระราชอํานาจกว้างใหญ่ไพศาลมีมหาสมุทรทัง, สีเป็ น ขอบเขต พระองค์ทรงมีธรรมเป็ นพลังอํานาจพิเศษทีทําให้แคว้นหรือประเทศใหญ่น้อยทัง, หลาย มาสวามิภกั ดิ `อยูภ่ ายใต้การปกครองของพระองค์ โดยเรียกการปกครองของพระองค์ว่า จักรวรรดิ (พระครูโสภณปริยตั สิ ุธ,ี 2552) องค์ประกอบของพระเจ้าจักรพรรดิ ในพระไตรปิฎกพระพุทธองค์ทรงตรัสเล่าถึงพระเจ้าจักรพรรดิในอดีตหลายพระองค์ อาทิ พระเจ้าจักรพรรดิพระนามว่า ทัฬหเนมิ (ที.ปา. 10/80-110/58-82) เป็ นพระมหากษัตริยผ์ ูย้ งใหญ่ ิ ทรงมีคุณลักษณะหรือเครืองหมายของความเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิทสํี าคัญ 4 ประการ คือ 1. 2. 3. 4.

ทรงธรรม ครองราชย์โดยธรรม มีมหาสมุทรทัง, 4 เป็ นขอบเขต ราชอาณาจักรมันคง โดยมีรตั นะ 7 ประการเป็ นเครืองหมาย อันได้แก่ 4.1. จัก รแก้ ว มีแ สนยานุ ภ าพมาก เป็ น สัญ ลัก ษณ์ ป ระจํ า พระองค์ ข องพระเจ้ า จักรพรรดิ ` มีลกั ษณะคล้ายวงล้อ มีกง มีดุม มีซี หนึงพันซี 4.2. ช้างแก้ว เป็ นพาหนะคู่บารมี 4.3. ม้าแก้ว เป็ นพาหนะคู่บารมี 4.4. แก้ ว มณี เป็ นแก้ ว วิเ ศษทีมีแ สงสว่ า งในตัว สว่ างไปไกลเป็ น โยชน์ ตลอดทัง, กลางวันกลางคืน 4.5. นางแก้ว เป็ นพระมเหสีค่บู ารมีของพระเจ้าจักรพรรดิ 4.6. คหบดีแก้ว หรือ ขุนคลังแก้ว เกิดมาเพือหาทรัพย์สมบัตใิ ห้พระเจ้าจักรพรรดิ ` มี ตาทิพย์สามารถมองเห็นทรัพย์สมบัตทิ ฝี งั อยูใ่ นทีต่างๆ ทัวราชอาณาจักรได้ 4.7. ปริณายกแก้ว หรือ ขุนพลแก้ว เป็ นเสนาอํามาตย์ทมี​ี ความรูค้ วามสามารถสูง สามารถบริหารงานราชการทีได้รบั มอบหมายจากพระเจ้าจักรพรรดิ `ได้ดเี ยียม บําบัดทุกข์ทุกบํารุงสุขแก่ประชาชนได้อย่างเทียงธรรม (ทวี ผลสมภพ, 2534)


54

ระบอบจักรพรรดิ : อุตมรัฐในพระพุทธศาสนา ในจักกวัตติสตู รได้อธิบายลักษณะของบ้านเมืองทีมีความสมบูรณ์แบบในยุคสมัยทีมีพระ เจ้าจักรพรรดิ `ปกครองไว้อย่างละเอียด ซึงจะขออธิบายไปตามลําดับดังต่อไปนี, 1. การเกิดขึ,นของพระเจ้าจักรพรรดิเกิดขึ,นจากการทรงธรรมของพระราชา กล่าวคือ พระราชาทรงครองราชย์โดยธรรมและทรงบําเพ็ญวัตรปฏิบตั ขิ องพระเจ้าจักรพรรดิ เช่น ในวัน 15 คํา ทรงรักษาอุโบสถศีล อยูใ่ นปราสาทชัน, ยอด เป็ นต้น 2. เมือถึงภาวะทีเหมาะสมของการสร้างบารมีธรรมของพระราชา จักรแก้วก็จกั ปรากฏ ขึน, ในอากาศเปล่งแสงสว่างประหนึงพระจันทร์ดวงที 2 แล้วลอยมาอยู่เบื,องพระ พักตร์พระราชาผูท้ จะได้ ี เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ 3. พระราชาผู้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิทรงเปล่งวาจาให้จกั รแก้วนํ าพาไปสู่ความชนะใน โลก จักรแก้ว ได้ล อยไปในอากาศ พร้อ มกับพระเจ้าจักรพรรดิ และเสนาอํ ามาตย์ ั ทัง, หลาย ไปยัง เมือ งต่ า งๆ จนถึง ขอบฝ งมหาสมุ ท ร ทุ ก เมือ งพระราชาพร้ อ ม ประชาชนพากันมาเข้าเฝ้าและถวายเมืองให้แก่พระองค์ปกครอง พระองค์ทรงสอน ให้พระราชาทัง, หลายตัง, มันอยู่ในศีล 5 ประการ และทรงคืนเมืองให้ปกครองต่ อไป ั จากนัน, จักรแก้วก็พาพระเจ้าจักรพรรดิและเสนาอํามาตย์ขา้ มไปยังอีกฝงมหาสมุ ทร และทรงชนะไปทัวโลกดินแดนโดยไม่ต้องใช้ศาสตราอาวุธใดๆ ทัง, สิ,น แต่ทรงชนะ โดยธรรม 4. เมือทรงชนะโลกทัง, หมดแล้วก็ทรงกลับมายังพระราชวังและทรงบริหารประเทศผ่าน ทางคหบดีแก้วและปริณายกแก้วซึงเป็ นดุจรัฐมนตรีทางเศรษฐกิจและรัฐมนตรีทาง ความมันคงในปจั จุบนั จนทําให้ประเทศมีทงั , ความมันคงและมีความมังคังพร้อมๆ กัน 5. เมือประชาชนไม่มคี วามขัดสน มีความกินดีอยู่ดอี ย่างถ้วนหน้ า จึงไม่มเี หตุใดๆ ให้ ประชาชนเบียดเบียนกัน ไม่มโี จรขโมย ไม่มกี ารลงโทษ ประชาชนอยูก่ นั อย่างผาสุก 6. การสืบทอดตําแหน่ งพระราชาสืบทอดโดยพระราชโอรสองค์ใหญ่ แต่ ตําแหน่ งพระ เจ้าจักรพรรดิเป็ นตําแหน่ งเฉพาะบุคคลไม่สามารถสืบทอดได้ ผูป้ ระสงค์ต้องบําเพ็ญ เอง ปรากฏว่า พระราชโอรสได้บําเพ็ญจักรวรรดิวตั รของพระเจ้าจักรพรรดิและได้ เป็ นพระเจ้าจัก รพรรดิสบื ต่ อลงมาหลายพระองค์ จนถึง รุ่นหลัง ๆ ทีพระราชามิไ ด้ บําเพ็ญจักรวรรดิวตั รครบถ้วน แต่ปกครองตามความเห็นส่วนตัว จึงมิได้เป็ นพระเจ้า จักรพรรดิ `สืบต่อ


55

จะเห็นได้ว่า รัฐพระเจ้าจักรพรรดิ `เป็ นรัฐทีสมบูรณ์ แบบ เหมือนแนวคิดของขงจื,อ และ คล้ายเมืองทีขงจือ, เคยปกครองโดยยึดคุณธรรมเป็ นหลักพร้อมกับการบริหารเศรษฐกิจจนคุกว่าง เปล่า และไม่มโี จรขโมย ทรัพย์สนิ ตกหล่นก็ไม่มใี ครหยิบเอาไป ประชาชนอยูอ่ ย่างผาสุก แต่ ใ นจักกวัต ติสูตรก็ได้กล่ าวถึง สาเหตุ ของความเสือมศีล ธรรมและความสงบสุขของ ประชาชนเพราะพระราชาไม่สามารถบริหารเศรษฐกิจให้ดี กล่าวคือ ในอดีตเกิดความขัดสนขึน, ใน ประชาชน แต่ พ ระราชาก็ไ ม่ได้พระราชทานทรัพย์ จึงเป็ นเหตุ ให้มกี ารลักขโมยขึ,น เมือจับได้ สอบสวนพบสาเหตุกท็ รงพระราชทานทรัพย์ให้เป็ นทุน แต่กเ็ กิดการเอาอย่างกันขึน, ว่า เมือขโมย แล้วจะได้พระราชทานทรัพย์จงึ ลักขโมยกันมากขึน, ต่อมาพระราชาจึงหยุดพระราชทานทรัพย์แต่ เปลียนเป็ นการจับมาประหารชีวติ แทน ประชาชนเห็นพระราชาใช้อาวุธ ประชาชนก็มกี ารใช้อาวุธ ด้วย เช่น การฆ่าโจร หรือ โจรฆ่าเจ้าทรัพย์ และก่อเกิดเป็ นความไม่สงบสุขดังบ้านเมืองของพระ เจ้าจักรพรรดิในอดีตเรือยมาจนถึงปจั จุบนั พระเจ้าอโศกมหาราช : ธรรมราชาในประวัติศาสตร์ พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระเจ้าจักรพรรดิว่าเป็ นธรรมราชาไว้ในจักกวัตติสูตร แต่กเ็ ป็ น เรืองทีตรัสเล่าถึงทีเราไม่อาจหาหลักฐานค้นพบได้ บุคคลทีได้รบั การขนานนามว่า เป็ นธรรมราชา ในประวัตศิ าสตร์กค็ อื พระเจ้าอโศกมหาราช แม้พระองค์จะไม่ได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิอนั มีรตั นะ 7 ประการ แต่พระองค์ก็ทรงดําเนินตามรอยทางพระเจ้าจักรพรรดิ นันคือ การยึดถือธรรมเป็ น ใหญ่ การเคารพธรรม และปกครองโดยธรรม เช่นกัน ในหนังสือไตรภูมพิ ระร่วงของพญาลิไท กษัตริยอ์ งค์ที 4 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุง สุโขทัยกล่าวว่า มีจกั รพรรดิทเป็ ี นธรรมราชาในจักกวัตติสูตร และยังมีธรรมราชาอีกพระองค์หนึง ทรงพระนามว่า ศรีธรรมาโศกราช ครองราชย์อยู่ทกรุ ี งปาตลีบุตร เมือ พ.ศ.219 พระเจ้าลิไททรง เห็นว่า พระเจ้าอโศกมหาราชทรงเป็ นต้นแบบของธรรมราชาและทรงประสงค์จะยึดถือปฏิบตั ิ ธรรมตามแบบนัน, เพราะต้องการทีจะเป็ นธรรมราชาเช่นเดียวกัน ประวัตพิ ระเจ้าอโศกมหาราช หลายแห่งโดยเฉพาะในหลักศิลาจารึกได้กล่าวถึงพระจริยวัตรในการปกครองโดยธรรมไว้หลาย ประการคือ 1. ทรงมีชยั ชนะโดยธรรม กล่าวคือ ในอดีตทรงใช้กํ าลังต่ อ สู้ แต่ เ มือทรงชนะแคว้น กลิง ค์ไ ด้แล้วก็ทรงหันมานับถือพระพุทธศาสนา และทรงเปลียนวิธ ีรบเป็ นการใช้ กํ า ลัง ขู่ ใ ห้ ก ลัว และยอมแพ้แ ล้ ว พระองค์ ก็ จ ะทรงสังสอนให้ ม าปฏิบ ัติธ รรมแบบ พระองค์ กษัต ริย์ทีเป็ นเมือ งขึ,นต้อ งปฏิบตั ิธรรม สังสอนธรรม และปกครองโดย ธรรมเช่นเดียวกับพระองค์ 2. ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาอย่างเต็มที โดยเฉพาะการสังคายนาพระไตรปิ ฎกครัง, ที 3 และการส่งสมณทูตออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทุกสารทิศ


56

3. ทรงมีใจกว้างต่อศาสนาอืน มิได้ทาํ ลายล้างศาสนาอืนๆ เช่น ฮินดู และเชน 4. ทรงสังสอนธรรมแก่ประชาชนทัง, ในและนอกราชอาณาจักร 5. ความเมตตาต่ อสัตว์เป็ นวัตรปฏิบตั ิของพระเจ้าจักรพรรดิ พระเจ้าอโศกมหาราชก็ ทรงแผ่เมตตาธรรมต่อสัตว์อย่างเปี ยมล้น ทรงเลิกการล่าสัตว์ส่วนพระองค์ ห้ามฆ่า สัตว์เพือบูชายัญ เป็ นต้น 6. ทรงตัง, ธรรมอํามาตย์ โดยทรงตัง, ข้าราชการในตําแหน่ ง ธรรมมหาอํามาตย์ มีหน้าที ให้ความช่วยเหลือพระองค์ในการบําเพ็ญธรรม ดูแลพระราชวงศ์ให้บําเพ็ญธรรม สัง สอนประชาชน และทํางานด้านสังคมสงเคราะห์ 7. ทรงปกครองแบบพ่อปกครองลูก กล่าวคือ ทรงปกครองประชาชนด้วยความรักความ เมตตาเหมือนพระราชบุตรของพระองค์เอง (วัชรี ทรงประทุม, 2550) การประยุกต์ใช้พทุ ธธรรมในการปฏิ รปู จริ ยธรรมของผูน้ ําสังคมไทย จากการนํ าเสนอข้อมูลในภาพรวมของคุณลักษณะผูน้ ํ าสังคมในอุดมคติตามหลักคําสอน ของพระพุทธศาสนา ตามทีปรากฏในคัมภีรต์ ่างๆ นัน, ทําให้ผูว้ จิ ยั พบว่า สําหรับชีวติ ทางโลกแล้ว ผู้นําสัง คมและสัง คมในอุ ด มคติตามหลัก พระพุทธศาสนาจริง ๆ นัน, ก็ค ือ ระบอบของพระเจ้า จักรพรรดิ กล่าวคือ พระเจ้าจักรพรรดิคอื ผูน้ ํ าสังคมในอุดมคติ ส่วนสังคมทีสงบสุขสมบูรณ์ด้วย ความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ผู้คนประกอบด้วยศีลธรรมเช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิ ปราศจากโจรขโมย ดังบ้านเมืองในยุคพระเจ้าจักรพรรดิเป็ นสังคมอุดมคติ และเมือวิเคราะห์ถงึ ปจั จัยทีทําให้พระเจ้าจักรพรรดิทรงประสบความสําเร็จอย่างยอดเยียมในการปกครองก็พบว่า มี หลายประการดังนี, 1. พระเจ้าจัก รพรรดิท รงเป็ นผู้มุ่ง มันประกอบคุ ณ งามความดีอ ย่า งยิง ประพฤติใ น จักรวรรดิวตั รเป็ นอย่างดี และทรงศีลสมําเสมอ (อันเป็ นสาเหตุให้จกั รแก้วปรากฏขึน, ) 2. พระเจ้า จัก รพรรดิท รงรัต นะ 7 ประการเป็ นเครืองมือ อัน เกิด จากอํ า นาจบุ ญ ของ พระองค์โดยเฉพาะจักรแก้วอันทรงแสนยานุ ภาพทําให้ทุกประเทศทุกเขตคามยอม สวามิภกั ดิ `ต่ อพระองค์โดยไม่ต้องใช้อาวุธใดๆ (อันเป็ นเหตุ ให้พระองค์ไม่มเี ครือง กังวลด้วยศัตรูจะมารบหรือทําสงคราม) 3. พระเจ้าจักรพรรดิทรงมีขุนคลังแก้ว หรือ คหบดีแก้ว ช่วยในการหาพระราชทรัพย์ เพือใช้จา่ ยในกิจการต่างๆ ในราชอาณาจักร อย่างเพียงพอโดยไม่ขาดแคลนเลย 4. พระเจ้าจักรพรรดิทรงมีขุนพลแก้ว หรือ ปริณายกแก้ว ช่วยในการบริหารราชการ แผ่นดิน บําบัดทุกข์บาํ รุงสุขแก่ประชาชนโดยทัวหน้ากันอย่างมีประสิทธิภาพ


57

5. พระเจ้าจักรพรรดิทรงดํารงมันอยู่ในธรรม ทรงสังสอนให้พระราชาทัง, ปวงในปกครอง ของพระองค์และประชาชนของพระองค์ทุกคนตัง, อยู่ในธรรม ประพฤติธรรม เป็ นเหตุ ให้ประชาชนปฏิบตั ติ าม และสังคมอยูใ่ นภาวะของสันติสุขได้งา่ ย เมือกล่าวโดยสรุปแล้วประกอบด้วย 1. ผูน้ ําสังคมประกอบด้วยคุณธรรมอย่างยิง และเป็ นแบบอย่างแก่ประชาชนได้ 2. ปกครองโดยยึดธรรมคือความถูกต้องดีงามเป็ นใหญ่ 3. สามารถบริหารเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างดีเยียม กล่าวคือ มีความเจริญรุ่งเรืองทัง, ทางวัตถุและจิตใจ 4. มีทมี งานทีมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลเรืองพระราชจริยาวัตรของพระเจ้าอโศกมหาราชทีทรงพยายามปฏิบตั ิตาม หลักจักรวรรดิวตั ร และทรงยึดมันในคุณธรรมอย่างยิง และทรงตัง, ธรรมมหาอํามาตย์เพือส่งเสริม กิจการด้านพระพุ ทธศาสนาอย่างแพร่ห ลายในอาณาจัก รของพระองค์แ ละเมือ งขึ,น แม้จะไม่ สามารถทํา ได้อ ย่า งสมบู รณ์ เ ช่ น เดีย วกับพระเจ้า จัก รพรรดิ แต่ ก ารทีพระองค์ป ระพฤติว ตั ร ใกล้เคียงกับอุดมคติมากเพียงใดก็เป็ นเหตุให้บา้ นเมืองมีความสงบสุขร่มเย็นมากขึน, เท่านัน, ในปรัชญาจีนได้อธิบายไว้ในประวัตขิ องขงจือ, ว่า ขงจือ, ได้ทดลองบริหารเมืองๆ หนึง ตาม หลักคุณธรรม และบริหารเศรษฐกิจให้เจริญดี ก็ปรากฏว่าเกิดความสงบสุขร่มเย็นเป็ นอันมาก จน กล่าวกันว่า บ้านเมืองไร้โจรขโมย คุกว่างเปล่าเลยทีเดียว จะเห็นได้ว่า ได้มผี ู้ทดลองใช้หลักการธรรมาธิปไตยมาบ้างแล้วในประวัตศิ าสตร์ และก็ เกิดผลดีข,นึ แก่ บ้านเมืองมากน้ อยต่ างกันไป แต่ มนี ้ อยมากทีจะได้มกี ารยึดถือปฏิบตั ิกนั อย่าง จริงจัง ซึงอาจจะเป็ นเพราะการจะได้ผูน้ ํ าทีมีคุณลักษณะดังกล่าวเป็ นเรืองยาก แต่ถงึ จะเป็ นเรือง ยากอย่างไรก็ต ามหากปจั จัยแรกคือ การได้ผู้นําสังคมทีมีคุ ณธรรมไม่อาจทําได้แล้ว การเป็ น แบบอย่างและพลังขับเคลือนสังคมก็ไม่อาจเป็ นไปได้ ตลอดถึงการมีทมี งานทีมีประสิทธิภาพที จะนํ าพาประเทศไปสู่เ ป้าหมายก็เ ป็ นไปไม่ไ ด้ ฉะนัน, ผู้วจิ ยั จึง มองว่ า หากเราต้อ งการนํ าพา ประเทศไปสู่ความเป็ นสังคมอุดมคติแล้ว ก็จาํ เป็ นต้องมีผูน้ ํ าสังคมทีคุณธรรมดังกล่าว แม้มนี ้อยก็ ต้องคัดเลือกให้พบและยกย่อง หรือ ไม่มกี ต็ อ้ งสร้างให้เกิดมีขน,ึ หากย้อนมองกลับมาในเมืองไทยของเราตัง, แต่เปลียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็ น ต้นมาผูน้ ําสังคมในระบอบประชาธิปไตยเกิดขึน, มาจากการแย่งชิงอํานาจกันในชนชัน, สูงบางกลุ่ม เท่านัน, หาได้มงุ่ ประโยชน์แก่ประชาชนจริงๆ ไม่ การบริหารเป็ นไปเพืออํานาจและผลประโยชน์ และอํานาจ ผลประโยชน์ ทางการเมืองดังกล่าวยิงซับซ้อนมากยิงขึ,นในยุคปจั จุบนั แม้เราจะมี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติอยู่กต็ ามก็มเี พียงไม่กครั ี ง, ทีสามารถจับ


58

ได้ไล่ทนั นักการเมือง บุคคลทีจะมาเป็ นนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นักการเมือง สามารถจะเป็ นใคร ก็ได้ทมี​ี เงินจํานวนมากๆ มีธุรกิจหลายร้อยล้าน พันล้าน เพือนํ าเงินมาลงทุนหาเสียง หรือ ซื,อ เสียง หรือ การหาเสียงด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น การแจกของ เป็ นต้น ในขณะทีข้าราชการการเมือง มีเงินเดือนสูงสุดเพียงประมาณหนึงแสนบาทซึงบางคราวเป็ นรัฐบาลอยู่เพียงไม่กเดื ี อนเท่านัน, ก็ ยุบสภา เงินเดือนทีได้กย็ งั ไม่สามารถคืนทุนได้เลย บางคราวขาดทุนด้วยซํ,า แล้วอะไรเป็ นเหตุจงู ใจให้นักการเมืองยังอยากเป็ นรัฐมนตรี จึงปฏิเสธได้ยากในเรืองของผลประโยชน์ อนที ื จะเกิดขึน, ในขณะดํารงตําแหน่ งทางการเมือง เท่ากับว่า นักการเมืองทีมีคุณธรรมสูงแต่ไม่มเี งินก็ไม่มโี อกาส ทีจะเป็ นนักการเมืองได้ เพราะแม้แต่ค่าทําป้ายโฆษณาหาเสียงก็ไม่ม ี นอกจากนี,นักการเมืองยังมีส่วนเกียวข้องกับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ดังเช่นมักมี ข่าวทางสือมวลชนว่า พรรคของภาคนี,ได้เป็ นรัฐบาล ภาคนี,กจ็ ะได้งบประมาณมาก จังหวัดใดที ส.ส.เป็ นฝ่ายรัฐบาลก็จะได้งบเยอะ จังหวัดของส.ส.ฝ่ายค้านได้งบน้ อย จนมีส.ส.บางท่านย้าย พรรคเพราะอ้างว่า เป็ นฝา่ ยค้านได้งบประมาณน้อย เป็ นต้น เมือผูน้ ําสังคมไทยยังเป็ นใครก็ได้ทมี​ี เงินมากๆ และลงทุนหาสียงแล้วเข้ามากอบโกยเงิน แผ่นดินในรูปแบบของการคอร์รปั ชันอยู่เช่นนี, ก็ปฏิรูปประเทศไทยก็ไม่อาจจะปฏิรูปได้สําเร็จ ฉะนัน, การจะปฏิรปู สังคมไทยให้ สําเร็จได้ต้องเริมจากการปฏิรปู ผูน้ ํ าสังคม ได้แก่ นักการเมือง และระบบการคัด เลือ ก ควบคุ ม และตรวจสอบนั ก การเมือ ง เสีย ใหม่ ใ ห้ไ ด้ก่ อ น เพราะหาก ระดับบนยังคอร์รปั ชัน ก็เป็ นเหตุให้ระดับล่างคอร์รปั ชันไปด้วยเป็ นขบวนการ เมือสามารถวางระบบคัดเลือกผู้นําสัง คมจะประชาชนเกิด ความเชือมันในตัว ผู้นํา ซึง ไม่ใช่แค่ความรูเ้ ท่านัน, แต่เป็ นคุณธรรมจริยธรรมของผูน้ ํา เช่น ผูว้ จิ ยั เห็นว่า ในคราวทีบ้านเมือง เกิดวิกฤต มีบุคคลผู้หนึงทีได้รบั การยอมรับจากสังคมให้มาทําหน้ าทีบริหารประเทศหลายครัง, แม้ปจั จุบนั ก็ยงั มีบทบาทอยู่ก็คอื ท่านอานันท์ ป นั ยารชุน ซึงท่านไม่ได้มาเพราะอยากมาเป็ น นายกรัฐมนตรี แต่มาเพือช่วยบ้านเมือง เมือมาเป็ นแล้วก็ไม่ได้แสดงอาการอาลัยอาวรณ์อยากจะ มาเป็ น อี ก หรือ ขวนขวายว่ า อยากจะเป็ น นายกรัฐ มนตรีอี ก แต่ ท่ า นก็ ไ ด้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง นายกรัฐมนตรีถงึ สองครัง, และปจั จุบนั ก็เป็ นประธานคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศด้วย เมือวางระบบคัดเลือกผูน้ ําจนได้ผูน้ ํ าสังคมทีมีคุณธรรมแล้ว จึงให้ผูน้ ํ าสังคมสร้างทีมงาน ขึน, มาเพือพัฒนา 2 ด้านสําคัญพร้อมๆ กัน คือ ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม เมือสร้างเศรษฐกิจให้ดี อย่างถึงระดับรากหญ้า ชาวประชาก็เป็ นสุข พร้อมๆ ไปกับการ สร้างสังคมอุ ดมธรรม กล่าวคือ เป็ นสังคมแห่งคุณธรรมความดี ให้เรืองคุณธรรมความดี เป็ น วาระแห่งชาติทจะต้ ี องส่งเสริมสนับสนุ นกันให้แพร่หลาย ไม่ใช่เพียงแค่นโยบายแบบไฟไหม้ฟาง ทํากันเป็ นคราวๆ แล้วก็เงียบ เช่น จัดอบรมให้ขา้ ราชการ 3 วัน แล้วก็เงียบไป อีกหลายปี ถงึ จัด อีกเป็ นต้น โดยทีหัวหน้าหน่ วยงานระดับทีสังจัดอบรมก็อาจจะเป็ นผูท้ ุจริตคอร์รปั ชันอยูก่ ไ็ ด้ เรืองนี, เ ป็ น เรืองสํ า คัญ มากเพราะหากเศรษฐกิ จ ไม่ ดี ความยากจนก็ บีบ บัง คับ ให้ ประกอบการทุจริต หากประเทศไทยยังมีความแตกต่างระหว่างคนรวยกับคนจนจํานวนมาก งาน


59

กระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ รายได้ตํา ค่าครองชีพสูง ก็ไม่มที างจะแก้ปญั หาได้ ปญั หาเหล่านี, นักวิชาการได้ศกึ ษากันมามากแล้ว แต่กไ็ ม่อาจแก้ไขได้เพราะไม่ลงมือแก้ไข เมืองใหญ่กย็ งใหญ่ ิ ขึน, เรือย ชนบทก็ยงั ลําบากยากจนเหมือนเดิม ถ้าเราไม่มรี ถไฟฟ้าใช้ ไม่มรี ถไฟใต้ดนิ ไม่มแี อร์พอร์ตลิง, ค์ ไม่มสี นามบินสุวรรณภูม ิ ไม่ มีตกึ ใบหยก ไม่มศี ูนย์การค้าใหญ่โต ตลอดถึง เมกะโปรเจคอืนๆ ทีมีมลู ค่าหลายหมืน หลายแสน ล้าน แต่ ถ้าเงินหลายหมืน หลายแสนล้านนี,ย้อนกลับไปพัฒนาชนบท พัฒนารายได้เกษตรกร ชาวสวนชาวไร่ ชาวบ้านในชนบทให้เขามีอยู่มกี นิ ด้วยตนเอง ไม่ต้องจากครอบครัวมาหางานทํา ในกรุงเทพฯ ไม่ตอ้ งถูกความยากจนบีบบังคับให้เขาทําในสิงทีไม่ควรทํา เหมาะสมแล้วหรือทีเงิน ภาษีมหาศาลถูกนํ ามาพัฒนาแค่เพียงบางจุดของประเทศ ปญั หาเหล่านี,ถูกสะสมจนบานปลาย ให้มปี ญั หาเรียกร้องตามหลายครัง, เช่น กรณีการชุมนุ มประท้วงต่างๆ หากแก้ปญั หาเศรษฐกิจ ไม่ได้ ประชาชนก็ไม่อาจประพฤติคุณธรรมได้สะดวก

ย้อนอ่าน (Re-read) ปรัชญาการเมืองตะวันออก เพื+อการปฏิรปู การเมืองไทย ปรัชญาการเมืองตะวันออกทัง, 3 ส่วน คือ ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน และพุทธปรัชญา ทีได้นําเสนอมาแล้วนัน, ล้วนมีทงั , ข้อดีและข้อเสียบ้างเป็ นธรรมดา เพราะหลักเกณฑ์บางอย่างที เหมาะสมกับยุคสมัยนัน, ๆ เท่านัน, บ้าง และเป็ นหลักเกณฑ์ทเป็ ี นสากลเหมาะกับทุกยุคทุกสมัย บ้าง แตกต่างกันไปในรายละเอียด ผูว้ จิ ยั มองว่า หากเราย้อนกลับไปอ่านหลักปรัชญาของเหล่าบูรพาจารย์นักปราชญ์ในกาล ก่อนให้ดแี ล้ว ก็จะพบว่า มีหลักคําสอนอันทรงคุณค่าหลายอย่างทีเป็ นประโยชน์ ต่อการเข้าใจ วิกฤติการณ์ทางการเมืองของไทยในปจั จุบนั ได้มากขึ,น และหลักปรัชญาเหล่านี,ยงั จะทําหน้ าที เป็ นดังประทีปส่องทางให้เรามองเห็นวิถที างในการปฏิรปู การเมืองไทยให้ดขี น,ึ ได้ อันอาจจะส่งผล ไปถึงการปฏิรปู ประเทศไทยของคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศไทยให้สาํ เร็จเร็วขึน, อีกด้วย ก่ อ นทีจะกล่ าวถึง การปฏิรูปการเมือ งไทย ผู้ว ิจยั ขอย้อ นกลับมามองปญั หาของการ เมืองไทยในปจั จุบนั ก่อนซึงพอจะประมวลสรุปได้ดงั นี, ปญั หาใหญ่ของสังคมและการเมืองไทยในปจั จุบนั เริมตัง, แต่การชุมนุ มของกลุ่มพันธมิตร ประชาชนเพือประชาธิปไตยในการต่ อต้านรัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ด้วยการชุมนุ มทาง การเมืองอย่างยืดเยือ, หลายครัง, จนนํ าไปสู่การปฏิวตั ริ ฐั ประหาร เมือวันที 19 กันยายน 2549 โดยคณะมนตรีค วามมันคงแห่ ง ชาติ หรือ คมช. โดยมี พล.อ.สนธิ บุ ญ รัต กลิน ผู้บญ ั ชาการ ทหารบกในขณะนัน, เป็ นประธาน หลังจากมีการตัง, รัฐบาลของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์บริหาร


60

ประเทศชัวคราวในระหว่างมีการร่างรัฐธรรมนู ญฉบับปี 2550 หลังจากการเลือกตัง, ทังไปแล้ว พรรคพลังประชาชน (ซึงเป็ นพรรคไทยรักไทยของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรแต่เดิม) ได้รบั เลือกตัง, เป็ นเสียงข้างมากอีก ครัง, และเกิด การชุ มนุ ม ทางการเมือ งประท้ว งอีก ครัง, โดยกลุ่ มพันธมิต ร ประชาชนเพือประชาธิปไตย จนกระทัง นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีในขณะนัน, พ้นจาก ตําแหน่ งเพราะคดีการทําผิดรัฐธรรมนูญจากกรณีการทํารายการโทรทัศน์ชอรายการ ื ชิมไปบ่นไป และนายกรัฐมนตรีทได้ ี รบั การเลือกตัง, จากเสียงข้างมากในสภาคนต่อมาคือ นายสมชาย วงศ์ สวัสดิ ` ซึงเป็ นญาติกบั พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร จึงได้รบั การต่อต้านจากกลุ่มพันธมิตรประชาชน เพือประชาธิปไตย แต่ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ `ก็ได้พ้นจากตําแหน่ งจากกรณีการยุบพรรคพลัง ประชาชน จนกระทังนายอภิสทิ ธิ ` เวชชาชีวะ ผูน้ ําฝา่ ยค้านได้รบั การเลือกตัง, จากเสียงข้างมากใน สภาเป็ นนายกรัฐมนตรีคนต่ อมา แรงต่ อต้านจากกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพือประชาธิปไตยจึง ลดลง แต่ ก็ไ ด้เพิมแรงต้านทานในกลุ่ มแนวร่วมประชาธิปไตยต่ อต้านเผด็จการแห่งชาติ หรือ นปช. ซึงโจมตีว่าเป็ นรัฐบาลไฮแจ็ค หรือ ปล้นลูกพรรคของพรรคการเมืองอืนๆ เพือจัดตัง, รัฐบาล และถูกกล่าวหาว่า เป็ นรัฐบาลทีได้รบั การสนับสนุ นจากกองทัพ หรือมีกองทัพหนุ นหลังอยู่ จึงไม่ เป็ นประชาธิปไตย เหมือนสํานวนว่า เป็ นประชาธิปไตยบนปลายกระบอกปื น เหตุการณ์ชุมนุ ม ของกลุ่มพันธมิตรฯ และกลุ่ม นปช. เป็ นเหตุให้เกิดการใช้กําลังเข้าสลายการชุมนุ มโดยใช้กําลัง ตํารวจและกําลังทหารตาม พ.ร.บ.ความมันคงบ้าง ตาม พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ นบ้าง เป็ นเหตุ ใ ห้เ กิด การสูญเสียชีว ิต และบาดเจ็บจํานวนมาก ตัง, แต่ รฐั บาลนายสมัค ร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ์สวัสดิ ` และจนกระทังถึงรัฐบาลนายอภิสทิ ธิ ` เวชชาชีวะซึงสลายการ ชุมนุ มด้วยวาทะว่า การกระชับพืน, ทีบ้าง การกระชับวงล้อมบ้าง จนเกิดการเสียชีวติ ถึง 90 คน และบาดเจ็บกว่า 2,000 คน เมือวันที 19 พฤษภาคม 2553 ทีผ่านมา ผลทีเกิดขึน, ตามมาก็คอื ประชาชนเกิดการแตกแยกออกเป็ นกลุ่มเป็ นก้อนอย่างจริงจังทัวประเทศ โดยหลัก ๆ มี 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มเสือ, เหลือง (Yellow Shirt) ซึงต่อต้านระบอบทักษิณ 2. กลุ่มเสือ, แดง (Red-Shirt) ซึงสนับสนุ น พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร 3. กลุ่มทีไม่ฝกั ใฝ่ฝ่ายใด ซึงคาดว่า จะมีจาํ นวนมากกว่าทัง, 2 กลุ่ม แต่กเ็ ป็ นเพียงพลัง เงียบทีไม่มบี ทบาทใดๆ มากนักต่อการเมืองไทย และนอกจากนี,ยงั มีกลุ่มอืนๆ ตามมาอีก คือ กลุ่มเสือ, ชมพู กลุ่มเสือ, นํ, าเงิน กลุ่มเสือ, สีขาว กลุ่มเสือ, หลากสี เป็ นต้น แต่กเ็ ป็ นเพียงกลุ่มทีพัฒนาตัวเองไปจาก 2 กลุ่มสีน,ีเท่านัน, โดยเหตุผล หลัก ของกลุ่ ม เสื,อ เหลือ งก็ค ือ พ.ต.ท.ทัก ษิณ ชิน วัต ร เป็ น บุ ค คลทีทุ จ ริต คอรัป ชัน และเอื,อ ประโยชน์ ให้กบั ธุรกิจครอบครัวและเครือญาติ ซึงคําตัดสินของศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ ดํารงตําแหน่ งทางการเมือง เป็ นสิงทีสนับสนุ นเหตุผลข้อนี, โดยศาลตัดสินให้จาํ คุก 2 ปี โดยไม่รอ


61

ลงอาญาในคดีการซือ, ขายทีดินรัชดาของคุณหญิงพจมาน ชินวัตรซึง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ลง นามอนุ ญาตในฐานะสามี และยังมีคดียดึ ทรัพย์ซงศาลตั ึ ดสินให้ยดึ ทรัพย์ พ.ต.ท.ทักษิณ จํานวน 4.6 หมืนล้านบาท (จาก 7.6 หมืนล้านบาท)ให้ตกเป็ นของแผ่นดิน ส่วนเหตุผลหลักของฝ่ายเสือ, แดง คือ การต่ อต้านการปฏิวตั ิ และผลพวงของการปฏิวตั ิ เช่น รัฐธรรมนู ญปี 2550 คดีทาง การเมืองต่างๆ ทุกคดี อาทิ คดีของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นต้น ตลอดถึง รัฐบาลทีมาจากการ สนับสนุ นของทหารเพราะไม่เป็ นประชาธิปไตย เป็ นต้น เหตุการณ์บานปลายจนเกิดการสูญเสีย ชีวติ ของผู้ชุมนุ มทัง, สองฝ่ายไปจํานวนมาก ความขัดแย้งทวีความรุนแรงมากขึน, จนรัฐบาลได้ม ี การแต่ ง คณะกรรมการสมานฉั น ท์ แ ห่ ง ชาติ ข,ึน และคณะกรรมการได้ เ สนอให้ ม ีก ารแก้ ไ ข รัฐธรรมนู ญบางมาตรา และไม่เป็ นผลสําเร็จเพราะฝ่ายค้านไม่เชือในความจริงใจของรัฐบาลใน การแก้ไขรัฐธรรมนู ญ จนหลังการปราบปรามผู้ชุมนุ ม เมือเดือน พ.ค. 2553 มาแล้ว รัฐบาลได้ เดินหน้ าเรืองแผนปรองดองแห่งชาติอย่างเต็มที พร้อมๆ ไปกับการปฏิรปู ประเทศไทย โดยการ ตัง, คณะกรรมการ 3 คณะ คือ 1. คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพือการปรองดองแห่งชาติ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร เป็ นประธาน 2. คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศไทย โดยมีนายอานันท์ ปนั ยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน 3. คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู ประเทศ โดยมี นายแพทย์ประเวศ วะสี เป็ นประธาน แต่ ในระหว่างการเดินหน้ าปรองดองของรัฐบาลนัน, ก็มกี ระแสการคัดค้านของความไม่ เหมาะสมของการดําเนินการปรองดองในขณะนี, เพราะเหตุผลหลายประการคือ 1. รัฐบาล คือ คู่ขดั แย้งโดยตรงของผูท้ รัี ฐบาลต้องการให้เขาร่วมสมานฉันท์ จึงเป็ นเรือง ยากทีผูส้ ญ ู เสียจะร่วมในขบวนการปรองดอง 2. เหตุการณ์สลายการชุมนุ มทีมีผู้เสียชีวติ จํานวนมากยังไม่ได้รบั การคลีคลาย เพราะ ต้องรอ คณะกรรมการอิสระฯ ทีมี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร สรุปผล 3. ความไม่มนใจของประชาชนต่ ั อความจริงใจของรัฐบาล ทีเห็นผลลัพธ์จากการประชุม ร่วมของคณะกรรมการ 4 ฝ่ายในการแก้ไขปญั หากรณีมาบตาพุดซึงผลสรุปออกมาว่า มี โครงการทีเข้าข่ายโครงการอันตรายทีส่งผลต่อชุมชนถึง 17 ประเภท และนํ าเสนอต่อรัฐบาลไป ปรากฏว่า รัฐบาลกลับเลือกประกาศเป็ นโครงการอันตรายเพียง 11 โครงการเท่านัน, 4. การพยายามประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทีต่อต้านร่วมปรองดองด้วยโดยทีความจริง ของเหตุการณ์ต่างๆ ยังไม่ปรากฏชัดเจน เป็ นเรืองยาก


62

จะเห็นได้ว่า แม้รฐั บาลจะพยายามสร้างความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมก็ดูจะเป็ น เรืองยาก เพราะรัฐบาลคือคู่ขดั แย้งโดยตรง และคณะกรรมการปฏิรูปประเทศทัง, 3 คณะจะ สามารถนํ าพาประเทศไปในทิศทางใดได้ ก็คงไม่อาจคาดเดาได้ ประชาชนทัง, ประเทศคงจะต้อง ร่วมกันคิดต่อไป ั หาวิก ฤติก ารเมือ งไทยดัง กล่ า วมาข้า งต้ น พอจะประมวลได้ เ ป็ น ประเด็น ๆ จากป ญ ดังต่อไปนี, 1. 2. 3. 4. 5.

ประเด็นเรือง การขาดจริยธรรมของผูน้ ํา ประเด็นเรือง ความชอบธรรมของการได้มาและการใช้อํานาจของนักการเมือง ความสัมพันธ์ของนักการเมืองกับมวลชนสนับสนุ น ผลประโยชน์ทบั ซ้อนของธุรกิจครอบครัวกับอํานาจหน้าทีนักการเมือง ปญั หาเรืองความเหลือมลํ,าของรายได้ สิทธิ สวัสดิการ บริการสุขภาพ และอืนๆ ของคนจนกับคนรวย คนเมือง กับคนในชนบท เป็ นต้น

เมือกล่าวโดยสรุปจะเห็นว่า สามารถสรุปลงได้เป็ นเรืองเดียว คือ การขาดจริยธรรมของ นักการเมือง เพราะนักการเมืองทีขาดจริยธรรม ไม่มคี ุณธรรม ย่อมบริหารประเทศด้วยความ ทุจริต คอรัปชัน และเอื,อประโยชน์ ให้แก่ธุรกิจของตนเองและพวกพ้อง ตลอดถึง การใช้อํานาจ อย่างมีอ คติ ไม่เ ป็ นธรรม ไม่มุ่ง การพัฒนาประเทศอย่างเต็มความสามารถ ในการแก้ป ญั หา เศรษฐกิจให้ดี มีความกินดีอยู่ดขี องประชาชนอย่างถ้วนหน้า โดยไม่มากังวลถึงธุรกิจส่วนตัวของ ตนเอง แต่กลับมัวเมาในอํานาจ พัฒนาประเทศโดยมุ่งหวังทําคะแนนนิยมในการเลือกตัง, และ พร้อมจะระดมมวลชนมาสนับสนุ นตนเอง หรือคัดค้านผูอ้ นที ื ตนเองไม่ชอบใจหรือขัดผลประโยชน์ ได้ จะเห็นได้ว่า เหตุการณ์การชุมนุ มต่างๆ มักจะมีนักการเมืองฝ่ายตรงข้ามกันมาร่วมเป็ นแกน นํ าด้วยเสมอ ในทีนี,ผู้วจิ ยั จะไม่ตดั สินว่าใครผิดใครถูก แต่จะมองปญั หาทีเกิดขึน, โดยภาพรวม และมุง่ แสวงหาทางออกของปญั หาทีต้นเหตุแทน ลําดับต่อไปผู้วจิ ยั ขอวิเคราะห์หลักปรัชญาการเมืองของนักปราชญ์ตะวันออกทีสามารถ นํามาใช้ในการมองปญั หาของสังคมไทยได้ดงั ต่อไปนี, ปฏิ รปู การเมืองไทย : มุมมองจากปรัชญาอิ นเดีย จากแนวคิดปรัชญาการเมืองในปรัชญาอินเดียทีผูว้ จิ ยั ได้นําเสนอไปในตอนต้น ทัง, ในส่วน ของปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ คือ คัมภีรภ์ ควัตคีตา พระมนู ธรรมศาสตร์ และอรรถศาสตร์ของ เกาฏิลยะ และปรัชญาอินเดียร่วมสมัย คือ ปรัชญาของมหาตมา คานธี สามารถนํ ามาวิเคราะห์ และตีความเพือการมองปญั หาของการเมืองไทยได้ดงั นี,


63

1. คัมภีรภ์ ควัทคีตาสนับสนุ นวิธกี ารจัดระเบียบสังคมโดยระบบวรรณะ มีแนวคิดสําคัญ ในกรณีน,ีว่า “มนุษย์มีหน้ าที+ที+จะต้ องส่งเสริ ม “โลกสังเคราะห์” หรือ เสถียรภาพความเป็ น ปึ กแผ่นและความก้ าวหน้ าของสังคม...มนุ ษย์ในฐานะที+ เป็ นองค์ประกอบที+ เป็ นสารัตถ สําคัญของสังคม จะต้ องมีความเอาใจใส่อย่างจริ งจังในเรื+องเกี+ยวกับพันธกรณี ทางสังคม ของตน” คัมภีรภ์ ควัตคีตาเป็ นคัมภีรท์ ทํี าหน้าทีในการจัดระเบียบสังคมอย่างได้ผลดีเยียมมาตัง, แต่ สมัยโบราณยาวนานมาจวบจนถึงปจั จุบนั ภายใต้รากฐานความเชือในอภิปรัชญาเรืองพรหม ผูส้ ร้าง แต่สําหรับปจั จุบนั ในสังคมไทยซึงเป็ นสังคมพุทธ เราได้อะไรจากคําสอนนี, ผู้วจิ ยั มองว่า สิงทีเราจะสมารถนําไปประยุกต์ใช้ได้กค็ อื 1.1 “มนุษย์มีหน้ าที+ ที+จะต้ องส่งเสริ ม “โลกสังเคราะห์” หรือ เสถียรภาพความ เป็ นปึ กแผ่นและความก้าวหน้ าของสังคม” กล่าวคือ ทุกคนในสังคมควรตระหนักถึงหน้ าที ของตนเองว่า เราทุกคนมีส่วนรับผิดชอบต่อความมันคงและความก้าวหน้าของสังคมไทย เราทุก คนไม่อาจเพิกเฉยต่อความรับผิดชอบนี,ได้ เพราะสังคมย่อมประกอบด้วยปจั เจกชนรวมกัน หาก ปจั เจกบุคคลเพิกเฉยต่อสังคม สังคมไทยก็ไม่อาจจะเกิดความมันคง และเกิดความก้าวหน้าได้ 1.2 “ความเอาใจใส่อย่างจริ งจังในเรื+องเกี+ยวกับพันธกรณี ทางสังคมของตน” ข้อนี,แสดงให้เ ห็นถึงความรับผิดชอบทีมีต่อ วรรณะของตนด้ว ยการตัง, ใจทําหน้ าทีของตนตาม วรรณะอย่างเต็มทีด้วยสํานึกในหน้าทีรับผิดชอบเป็ นสิงสําคัญ มากกว่าความเป็ นเพือนหรือความ เป็ นญาติ สิงนี,เป็ นเรืองสําคัญต่ อการปฏิรูปการเมืองไทยเป็ นอย่างมาก ถึงแม้ว่าสังคมไทยจะ ไม่ได้ยดึ ถือระบบวรรณะแบบสังคมอินเดีย แต่ก็เป็ นสิงทีให้แง่คดิ ต่อสังคมไทยได้ว่า ทําอย่างไร เราจึงจะสร้างบุคคลในสังคมทีรับผิดชอบต่อหน้าทีของตนเองได้ดงั เช่นสังคมอินเดีย โดยไม่ต้องมี อภิปรัชญาเรืองพรหม หากประชาชนสํานึกในหน้ าทีของตนเองทีจะต้องสร้างความก้าวหน้ าใน สังคมโดยการเลือกตัง, คนดีเข้าไปเป็ นผู้แทนในสภา โดยไม่เห็นแก่เงิน หรือเห็นแก่สนิ ตอบแทน เล็กน้ อย ในการซื,อสิทธิ `ขายเสียง ส่วนนักการเมืองซึงได้รบั เลือกจากประชาชนก็ทําหน้ าทีของ ตนเองอย่ า งเต็ ม ความสามารถ ด้ ว ยความสํ า นึ ก รับ ผิด ชอบในหน้ า ทีของตนทีจะต้ อ งสร้า ง ประโยชน์สุขแก่ประชาชน เพียงเท่านี,สงั คมการเมืองไทยก็จะเจริญก้าวหน้าขึน, ได้อย่างแน่ นอน 2. “พระมนูธรรมศาสตร์บนั ทึ กว่า ภาระหน้ าที+ ของกษัตริ ยน์ ันV ถูกสร้างขึVนเพื+อ เป็ นผูป้ กป้ องระบบวรรณะและระเบียบทางสังคม และมีหน้ าที+ทาํ ให้ บุคคลในแต่ ละวรรณะ ปฏิ บตั ิ ตามหน้ าที+ ข องตน” ข้อนี,สามารถตีค วามเพือการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยได้ว่า ผู้นํา สังคม โดยเฉพาะนักการเมืองผูท้ าํ หน้าทีบริหารประเทศ เป็ นผูม้ บี ทบาทสําคัญมากต่อความเจริญ ของประเทศในทุกๆ ด้าน เพราะถ้าการเมืองไทยไม่มนคงเพี ั ยงอย่างเดียว เศรษฐกิจ สังคม และ กิจการงานทุกอย่างของคนในสังคมย่อมได้รบั การกระทบกระเทือนไปทัง, หมด หากผู้นําสังคม ตระหนักในความสําคัญดังกล่าวแล้วตัง, ใจปฏิบตั หิ น้าทีของตนด้วยความรับผิดชอบในหน้าทีและ


64

รับ ผิด ชอบต่ อ ความเจริญ ก้ า วหน้ า ของประเทศ ดัง ทีเกาฏิล ยะกล่ า วไว้ใ นอรรถศาสตร์ ว่ า “ศาสตร์ในการปกครองถือว่า เป็ นรากฐานของศาสตร์ทงั V ปวง และทิ ศทางแห่ งพัฒนาการ ของโลกขึVนอยู่กบั ศาสตร์แห่ งการปกครอง” และ “กษัตริ ยท์ ี+ ฉลาดสามารถทําให้ ผ้คู นที+ ยากจนและองค์ประกอบของรัฐที+ มีทุกข์กลับเป็ นสุขและรุ่งเรืองขึVนได้ แต่ กษัตริ ยท์ ี+ ชวช้ ั+ า จะทําลายองค์ประกอบที+มงคั ั + งและภั + กดีแห่งอาณาจักรของตนลงอย่างแน่ นอน” 3. “คัมภี รอ์ รรถศาสตร์มีใจความสําคัญคื อ กษัตริ ย์ทรงมี อาํ นาจสูงสุดในการ บริ หารราชการ ตรากฎหมาย ตัดสิ นคดีความ และการทหาร มีเป้ าหมายในการปกครองที+ สําคัญคื อ การใช้ อาํ นาจสูงสุดของกษัตริ ยเ์ พื+อความผาสุกและสวัสดิ ภาพของประชาชน” คัมภีร์อรรถศาสตร์ของเกาฏิล ยะได้กล่ าวถึงอํ านาจปกครองของกษัตริย์ว่ามีอํานาจสูงสุด แต่ อํานาจสูงสุดนัน, ต้องใช้ไปเพือความผาสุกและสวัสดิภาพของประชาชนเท่านัน, กรณีน,ีเทียบเคียง ได้ก ับผู้นําสัง คมของไทย กล่ าวคือ ผู้นําทุ ก ยุค ทุ ก สมัยของไทยล้ว นแต่ มอี ํ านาจในบ้านเมือ ง มากมายแทบทัง, สิ,น แต่น่าคิดว่า อํานาจนัน, นักการเมืองไทยนํ าไปใช้เพืออะไร เป็ นไปเพือความ ผาสุกและสวัสดิภาพของประชาชนจริงๆ หรือไม่ 4. คัมภีรอ์ รรถศาสตร์กล่าวว่า “ผู้ปกครองที+ ดีต้องมีคณ ุ สมบัติอย่างน้ อย 2 ประการ คือ 1. มีความรู้ในศาสตร์ทงั V ปวง (ปรัชญา) เพื+อที+ จะสามารถมีการพิ นิจพิ จารณาการ ลงโทษที+สมควรได้ 2. ความสามารถในการควบคุมกิ เลสตัณ หาของตนเอง ซึ+ ง อาจเรี ย กรวมๆ ว่ า ความเขลา อันได้แก่ ความโลภและความโกรธ” ข้อนี,บอกเราถึงคุณสมบัตขิ องผูป้ กครองทีดีว่าจะต้องอย่างน้อย 2 ประการ คือ มีความรู้ และมีวุฒภิ าวะทางอารมณ์สามารถควบคุมอารมณ์ได้และมีปญั ญาทีรูเ้ ท่าทันอํานาจของกิเลสได้ ด้วย จะเห็นได้ว่า เรืองวุฒภิ าวะทางอารมณ์และปญั ญาเป็ นสิงสําคัญมาก ความรูเ้ ป็ นสิงทีพอจะ วัดได้ แต่วุฒภิ าวะทางอารมณ์และปญั ญาเป็ นสิงทีวัดได้ยาก ดังจะเห็นได้ในสภาผูแ้ ทนราษฎร ของไทยทียังมีข่าวปรากฏบ่อยครัง, ที ส.ส.ใช้วาจาไม่สุภาพ ด่าทอ พูดเสียดสีกนั ตลอดถึงการท้า ตีท้าต่อยกันกลางสภา จนประธานสภาต้องเชิญออกนอกห้องประชุม และทียิงไปกว่านัน, คือ ใน ประเด็นของการมีปญั ญารูเ้ ท่าทันกิเลส เช่น ความโลภ ของตนเองได้นัน, ยังไม่เคยมีรฐั บาลไหนที ไม่ ม ีข่ า วเรืองของการทุ จ ริต คอร์ร ปั ชันเลย และอีก ประเด็น หนึ งทีควรพิจ ารณาก็ค ือ กรณี ที ผูป้ กครองควรมีความรูใ้ นทุกศาสตร์ (ปรัชญา) แม้อรรถศาสตร์จะต้องการให้ผูป้ กครองมีความรู้ ทุกศาสตร์เพือจะได้มคี วามรูใ้ นการลงโทษ แต่ในปจั จุบนั หน้ าทีนี,เรามีสถาบันตุลาการ คือ ศาล สถิตยุตธิ รรม เป็ นหน่ วยงานทําหน้าทีนี,แล้ว อย่างไรก็ตามผูป้ กครองก็ยงั จําเป็ นทีจะต้องมีความรู้ อย่างแตกฉานและรอบด้าน ดังจะเห็นได้จากประวัตศิ าสตร์การเมืองไทยทีผ่านมา ผูน้ ํ าของไทย ในอดีตบางคนมีความสามารถในเชิงการปกครอง แต่อาจจะขาดความรูใ้ นด้านเศรษฐกิจ จึงทําให้


65

ประเทศไม่เจริญก้าวหน้ าเท่าทีควร แต่บางยุคผู้นํามีความสามารถทางเศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก อาจมองการบริหารประเทศเหมือนกับการบริหารธุรกิจ แต่ก็อาจจะไม่มคี วามสามารถเชิงการ ปกครองพอ หรือ อาจจะมีข้อ บกพร่ อ งในเรืองของการขาดจริย ธรรม เป็ น ต้น อาจจะนํ า พา ประเทศไปสู่ความมังคังอย่างรวดเร็ว แต่กอ็ าจจะขาดความยังยืนเพราะ ประเทศไม่อาจจะมันคง อยูไ่ ด้เพราะความมังคังเพียงอย่างเดียว จากระดับผูน้ ํ ามองภาพลงมาถึงระดับรัฐมนตรีกเ็ ป็ นทีน่ า สังเกตมากว่าการจัดวางตัวรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการในแต่ละกระทรวงไม่ได้เป็ นไป ตามความรู้ความสามารถ แต่ เ ป็ นไปตามการโควตาการแบ่ง ปนั ผลประโยชน์ ของแต่ ละพรรค การเมือง บุคคลทีเป็ นรัฐมนตรีกระทรวงสําคัญคือ บุคคลทีอยู่ในพรรคขนาดใหญ่ ในพรรคร่วม รัฐ บาลเพราะเกียวข้อ งกับ อํ า นาจและผลประโยชน์ ม หาศาล รัฐ มนตรีไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู้ ม ีค วามรู้ ความสามารถในกิจการกระทรวงนัน, แต่ อย่างใด รัฐมนตรีเป็ นแต่ เพียงผู้ตดั สินใจตามทีคณะที ปรึกษาเสนอมา จะเห็นได้ว่า มีเพียงกลุ่มคนเพียงไม่กคนที ี วนเวียนเป็ นเจ้ากระทรวงต่างๆ ของ ไทยในแต่ละยุค บางคราวนายแพทย์กลับได้ทําหน้าทีดูแลด้านเศรษฐกิจของประเทศ แทนทีจะ เป็ นด้านสาธารณสุข เป็ นต้น เมือการเมืองยังเกียวข้องอยู่ด้วยอํานาจและผลประโยชน์ เช่นนี,จงึ เป็ นเหตุให้การเมืองและสังคมไทยไม่กา้ วหน้า 5. “เมื+อกษัตริ ยม์ ีความเกษมสําราญ ความเป็ นอยู่ที+ดีและความมังคั + งของพระองค์ + ก็จะทําให้ ประชาชนพอใจ กษัตริ ย์มีลกั ษณะเป็ นอย่ างไร ประชาชนของพระองค์กจ็ ะมี ลัก ษณะเป็ นอย่ า งนั Vน เพราะความเจริ ญ รุ่ง เรื อ งหรื อ ความเสื+ อ มโทรมของประชาชน ย่อมขึVนอยู่กบั กษัตริ ย์ กล่าวคือ กษัตริ ยม์ ีฐานะเป็ นผลรวมของประชาชน” จากคํากล่าวนี, ให้แง่ค ิดเชิง การปกครองว่า ผู้นํามีฐานะเป็ นผลรวมของประชาชน เป็ นสิงทีสะท้อนให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของผูน้ ํ ากับประชาชนว่า หากผูน้ ํ าทีมีความเห็นเหมือนเกาฏิลยะทีมีความพยายาม ให้ผลประโยชน์ของผูน้ ําและของประชาชนเป็ นอันหนึงอันเดียวกัน จนไม่อาจแยกชีวติ ส่วนตัวของ กษัตริย์อ อกจากหน้ าทีสาธารณะของผู้นําได้แล้ว ความผาสุก ของประชาชนจะมีมากขึ,นอย่าง แน่ น อน ผู้ว ิจ ัย ได้แ ง่ ค ิด ถึง สัง คมการเมือ งไทยว่ า ความเป็ น อยู่ข องประชาชนคนไทยทัง, ใน เมืองกรุงและในชนบทมีจํานวนมากทียังลําบาก แร้นแค้น มีชวี ติ ทีต้องคอยพึงพาอาศัยรัฐบาล ช่วยเหลือในการประกอบอาชีพ อาทิ ราคาผลผลิตตกตํา เป็ นต้น จนประชาชนต้องออกมาชุมนุ ม เรียกร้องกันเป็ นระยะๆ และทีสําคัญในเหตุการณ์ชุมนุ มของกลุ่ม นปช. เรือนหมืนเรือนแสนนัน, หลายคนทีออกมาให้สมั ภาษณ์ผ่านสือมวลชนก็ไม่ได้มาเรียกร้องช่วย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร แต่ อย่างใด แต่เป็ นเพราะการชุมนุ มเป็ นเวทีทพวกเขาจะออกมาเรี ี ยกร้องให้รฐั เห็นความสําคัญใน การช่วยเหลือพวกเขาบ้างเท่านัน, ไม่ใช่เพียงมาสวัสดีและรับปากจะช่วยตอนหาเสียงแล้วก็เงียบ หายไปหลังได้รบั เลือกตัง, ในขณะทีนักการเมืองของไทยไม่มใี ครเลยทีจะมีฐานะยากจน แต่ละคน ล้วนมีทรัพย์สนิ มหาศาลเป็ นหลักสิบล้าน ร้อยล้าน พันล้าน แม้กระทังหมืนล้านก็ม ี ในคราวทีมี การเปิ ดเผยบัญชีทรัพย์สนิ ของนักการเมืองแก่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ หรือ ป.ป.ช. และเงินมหาศาลเหล่านี,เป็ นทุ นรอนอย่างดีทจะนํ ี าไปใช้ใ นการหาเสียง


66

เลือ กตัง, ซึงต้ อ งใช้เ งิน ลงทุ น มหาศาลหลายร้อ ยล้า นบาท ซึงเป็ น การปิ ด ประตู ข องการเป็ น นักการเมือง หากคุณไม่มเี งินทุนเพียงพอ ถึงคุณจะเก่ง จะดีอย่างไรก็ตาม และนักการเมืองนีเอง ทีเป็ นนายทุนถือครองทีดินรายใหญ่ จนมีการท้าทายกันเองของนักการเมืองให้ออกกฎหมายเก็บ ภาษีทดิี นทีไม่ได้ทําประโยชน์ ให้แพงกว่าปกติ จนเป็ นข่าวในสือมวลชนอยู่พกั หนึง แต่ สุดท้าย ข่าวสารก็เงียบหายไป ขณะทีนักปกครองมีชวี ติ อยู่อย่างหรูหรา มีอํานาจวาสนาบารมีคบั แผ่นดิน แต่ประชาชนหลายล้านคนยังอยู่กนั แบบ “ปากกัดตีนถีบ” หาเช้ากินคํา หรือ หลังสู้ฟ้าหน้ าสู้ดนิ คอยลุ้นกับราคาผลผลิต ว่าจะตกตําหรือไม่ คนชราจํานวนมากมีรายได้จากแค่เบี,ยยังชีพ 500 บาทต่อเดือน และแรงงานไทยยังต้องเลียงครอบครัวจากค่าจ้างร้อยกว่าบาทต่อวัน ฉะนัน, ขณะที ประชาชนยังยากจนอยู่ผู้นําก็ควรสํานึกในหน้ าทีของตน ไม่คดิ แต่จะกอบโกยผลประโยชน์เข้าสู่ ตนเอง และพรรคการเมืองของตนเท่านัน, เพราะประชาชนจํานวนมากยังคอยความช่วยเหลือจาก เหล่านักการเมืองอยู่ 6. หลักการสัตยาเคราะห์ของมหาตมา คานธี ทีกล่าวว่า เป็ นหลักการที+ จะทําลายล้าง กฎที+ มนุษย์หรือรัฐสร้างขึVนทุกอย่าง ถ้าหากขัดกับกฎของพระเจ้า (คือความจริ ง) เป็ นสิงที ให้แง่คดิ เชิงการปกครองว่า การบัญญัตกิ ฎหมาย หรือ กฎเกณฑ์ใดๆ ควรจะต้องคํานึงถึงความ จริง คือ ความเป็ นธรรมเป็ นหลัก ไม่ควรสร้างกฎเกณฑ์เพือช่วยพวกตัวเอง หรือ ทําร้ายผูอ้ นื “เป็ นหลักการที+ ไ ม่ ใช้ ค วามรุนแรงทังV ปวง” เป็ นสิงทีน่ านํ ามาพิจารณามากเพราะ หลักการเรือง Non-Violence คือ อหิงสา ไม่เบียดเบียนกัน ไม่ใช้ความรุนแรง นัน, ถูกนํ ามาใช้ใน เมืองไทยในบริบททีต่างกันและรูปแบบทีต่างกันด้วย และสุดท้ายก็นําไปสู่ความรุนแรง การไม่ใช้ ความรุนแรงเป็ นสิงทีดี น่ าสรรเสริญ แต่เราจะมีวธิ กี ารอย่างไรทีจะนํ ามาใช้ให้เกิดผลจริง ในสังคม ประชาธิปไตยแบบไทย ทีไม่มใี ครฟงั ใคร จุด หมายของสัต ยาเคราะห์ คื อ การตกลงกัน การประนี ป ระนอมกัน และการ ปรองดองกันโดยยึ ดเอาความถูกต้ อง ความสัตย์จริ งเป็ นที+ ตงั V ไม่มีการบังคับข่มขู่ กดขี+ คู่กรณี ไม่มีการได้เปรียบเสี ยเปรียบต่ อกัน ข้อนี,เป็ นสิงทีควรสร้างให้เกิดมีขน,ึ ในสังคมไทย โดยเฉพาะการยึดเอาความสัตย์จริงเป็ นทีตัง, ทีผ่านมาการเมืองอยูก่ บั สงครามสือ มีการปล่อยข่าว โจมตีกนั ไปมา และสือก็เป็ นเพียงผูส้ อข่ ื าว (ลือ) เท่านัน, ไม่มบี ทบาทในการกลันกรองเพราะหวัง ผลเชิงธุรกิจ และวิกฤติการเมืองไทยก็เริมมาจากการไม่ยดึ ความสัตย์เป็ นทีตัง, กล่าวคือ มีการ เสพสือด้านเดียว กลุ่มเสือ, เหลืองและเสือ, แดงก็รบั ความจริงของสถานีโทรทัศน์ฝ่ายตนเองนํ าเสนอ เท่านัน, ซึงมักจะเป็ นไปเพือโจมตีและปลุกระดม จนในทีสุดบานปลายเป็ นการชุมนุ มและเกิดการ สูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ การปฏิรปู การเมืองไทยต้องให้ความสําคัญกับเรืองนี,ดว้ ย “เหตุจงู ใจของสัตยาเคราะห์ คือ ความรักที+มีต่อคนทุกคน ตลอดกาลทุกเมื+อ” สิงนี, กําลังเป็ นสิงทีขาดแคลนในสังคมไทยทีกําลังแบ่งแยกเป็ นฝกั เป็ นฝ่าย เพราะเราขาดความรักต่อ กัน แต่เรามองกันเป็ นศัตรู ตัง, แต่ระดับบนจนถึงระดับล่าง ในสภาผู้แทนราษฎรเองก็มฝี ่ายค้าน


67

และฝา่ ยรัฐบาล แต่กม็ ไี ว้เพือตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐเท่านัน, แต่ในปจั จุบนั กลับมีสภาพเป็ นดัง ทีรายการโทรทัศน์ได้ลอ้ เลียนไว้ในรายการ “สภาสมานฉันท์ ซึงประกอบด้วย ฝ่ายแค้น และฝ่าย รัฐบวม” การยึดมันถือมันในฝกั ฝา่ ยย่อมส่งผลต่อเนืองไปดังที กีรติ บุญเจือ (2545) กล่าวว่า เหตุแห่งการเบียดเบียนกัน ความยึดมันถือมัน เป็ นเหตุให้เกิด การแบ่งแยก เป็ นเหตุให้เกิด การแข่งขัน เป็ นเหตุให้เกิด ความไม่ไว้ใจกัน เป็ นเหตุให้เกิด

การแบ่งแยก การแข่งขัน ความไม่ไว้ใจกัน การทําลายกัน

“คานธี ได้ สร้ างวัตถุประสงค์ส ําคัญๆ ของสัตยาเคราะห์ไว้ 2 ประการคื อ การ เรียนรู้ซึ+งวิ ธีรบั ใช้ มาตุภมู ิ และการรับใช้ มาตุภมู ิ ” สําหรับข้อนี,ให้ขอ้ คิดกับการพัฒนาประเทศ ไทยของเราว่า เหตุการณ์ความรุนแรงในบ้านเมืองของเรานัน, เกิดขึน, โดยปราศจากสํานึกรักใน ความเป็ นชาติไทย กระทําการใดๆ ไปเพียงเพือจะเอาชนะคะคานกันและต้องการจะเป็ นผู้ถือ อํานาจรัฐไว้เท่านัน, อีกแง่หนึงกระทรวงวัฒนธรรมเป็ นกระทรวงทีสําคัญในการดํารงเอกลักษณ์ความเป็ นคน ไทย แต่ ก ลับได้รบั งบประมาณในการดําเนินการเพียงน้ อ ยนิ ด เมือเทียบกับกระทรวงใหญ่ ๆ ประเทศไทยถูกกําหนดนโยบายให้เป็ นระบบเสรีทุนนิยม การหลากเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ จนทําให้เกิดกระแสนิยมวัฒนธรรมต่างชาติ เช่น ค่านิยมตะวันตก ค่านิยมญีปุ่น ค่านิยมเกาหลี เป็ นต้น เกิดธุรกิจอาหารต่างชาติในประเทศไทยหลากหลาย แต่ค่านิยมในความเป็ นไทยกลับ ลดลงอยูใ่ นวงทีจํากัดเท่านัน, การปฏิรูปการเมืองไทยควรจะหันกลับมาให้ความสําคัญในจุดนี,ให้มากในการปลูกฝงั จิตสํานึกในประวัตศิ าสตร์และความเป็ นชาติไทย ซึงบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าทุกพระองค์และ บรรพบุรุษของไทยได้ร่วมกันปกปกั รักษามาด้วยชีวติ และเลือดเนื,อ หากนักการเมืองสามารถ ปฏิรปู จิตสํานึกของคนในชาติได้ ก็จะเกิดพลังมหาศาลในการร่วมมือกันพัฒนาชาติไทย หัว ใจสํา คัญ ของปรัช ญาการเมื อ งของคานธี ก็คื อ การรู้จ กั ประมาณตน (SelfSufficiency) ไม่ มีก ารชิ ง ดี ชิ ง เด่ นกัน (Non-Competition) การกระจายความยุติ ธ รรม (Equitable) และการกระจายผลประโยชน์ ใ ห้ ท ั ว+ ไปในทุ ก กลุ่ ม สั ง คม (Centralised Production) สําหรับประเด็นนี,เป็ นหลักการทัวไปทีนักการเมืองไทยควรยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิ นันคือ


68

1. การรู้จกั ประมาณตน ทัง, ประมาณตนในเรืองส่ ว นตัว และการประมาณตนใน ระดับประเทศ กล่าวคือ ในระดับบุคคลนัน, นักการเมืองต้องไม่ทําตัวหรูหราฟุ่มเฟื อย ในขณะที ประชาชนยากจน และในระดับประเทศต้องประมาณตนในความเป็ น ไทย หรือ ทุนทางสังคม วัฒนธรรม และทรัพ ยากร โดยไม่เ ห็นแก่ เ งินจนลืมความเป็ นไทย ทุ นทางสัง คมวัฒนธรรม สุขภาพชุมชุนและสิงแวดล้อม ดังเช่นการเชิญชวนนักลงทุนต่างชาติมาลงทุนในกิจการทีส่งผล กระทบต่อชุมชนและสิงแวดล้อม และในการพัฒนาประเทศทีมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมโดยละเลย การพัฒนาภาคเกษตรกรรมซึงเป็ นอาชีพหลักของคนในชาติ ทัง, หมดนี,จะเกิดขึน, ได้ภายใต้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีรัฐจะนํามาใช้อย่างจริงจัง 2. ไม่ชิงดีชิงเด่นกัน ในเรืองนี,เป็ นไปได้ยากในสังคมไทย หากการเมืองยังเกียวข้องกับ อํ านาจและผลประโยชน์ มหาศาลอยู่ แต่ ห ากเราสามารถทีจะปฏิรูป วงการการเมือ งไทยใน รูป แบบทีคณะกรรมการปฏิรูป ประเทศซึงมีน ายอานั น ท์ ป นั ยารชุ นเป็ นประธานได้ว างแนว ทางการประชุมรับฟงั ความคิดเห็นจากภาคประชาชนครัง, แรกเมือเดือนตุลาคม 2553 ในชืองาน ว่า “ลดอํานาจรัฐ ขจัดความเหลือมลํ,า” หากนักการเมืองมีอํานาจหน้ าทีในด้านนโยบายเท่านัน, ไม่มสี ่วนในอํานาจด้านการปฏิบตั ิ หรือ เรืองงบประมาณแล้ว ก็คงจะมีทางเป็ นไปได้ทจะไม่ ี มกี าร แก่งแย่งชิงดี เพราะคนทีจะมาเป็ นนักการเมืองจะไม่มอี ํานาจมากมายมหาศาลเช่นอดีต และไม่ม ี ผลประโยชน์ใดๆ ให้นกั การเมืองมากอบโกย ฉะนัน, บุคคลทีจะยังอาสามาเป็ นนักการเมือง ก็จะ เหลือเพียงแต่บุคคลทีเสียสละตนเองเพือบ้านเมืองอย่างแท้จริงเท่านัน, เมือนัน, การเมืองไทยจึงจะ มีโอกาสได้เข้าใกล้ความเป็ นสังคมอุดมคติได้ 3. การกระจายความยุติธรรม ข้อนี,ขอตีความเป็ นความเสมอภาคกันของคนในสังคม ในด้านต่างๆ หากนักการเมืองสามารถทีจะกระจายสิทธิ โอกาส สวัสดิการสังคม ฯลฯ ให้กบั คน ในสัง คมทุก ภาคส่ วนได้อย่างทัวถึง ก็จะเหตุ ใ ห้เกิด ความผาสุก แก่ ประชาชนได้เ ป็ นอย่างมาก กรณีน,ีทําให้เกิดคําถามว่า ทําไมกรุงเทพ หรือ สังคมเมือง จึงได้รบั สิทธิ หรือ สวัสดิการดีกว่า ดีกว่าชนบท ทําไมโครงการขนาดใหญ่มูลค่าหลายร้อย หลายพัน หลายหมืนล้านจึงทุ่มให้แต่กบั กรุงเทพมหานคร ทัง, ๆ ทีประชาชนทุกคนก็เสียภาษีเหมือนกัน หรือ การรักษาพยาบาลทีดีทําไม จึงมีแต่ในเมืองใหญ่เท่านัน, หรือ การบริการสิทธิประกันสังคมของโรงพยาบาล จึงด้อยกว่า การ รักษาโดยใช้เงินส่วนตัว เป็ นต้น หากนักการเมืองสามารถกระจายความเจริญออกไปให้ทวถึ ั งได้ โดยไม่กระจุกตัวแต่เฉพาะทีได้กจ็ ะเป็ นประโยชน์กบั ประชาชนอย่างแท้จริง 4. การกระจายผลประโยชน์ ให้ ทวไปในทุ ั+ กกลุ่มสังคม เรืองนี,ก็สบื เนืองจากข้อ 3 กล่าวคือ การกระจายความเจริญย่อมควบคู่ไปกับเศรษฐกิจ ปญั หาสังคมหลายอย่างเราได้ศกึ ษา ค้นคว้ากันมานานและพบว่า เกิดมาจากการทีความเจริญทางเศรษฐกิจไม่กระจายตัวแต่ กลับ กระจุกตัวแต่อยู่ในเมืองขนาดใหญ่ ทําให้ผู้คนทิง, ถินฐานบ้านเกิดเพือเข้ามางานทําในเมือง เป็ น เหตุ ของการย้ายถินฐาน และเหลือทิ,งไว้แต่เด็กและคนชรา เกิดผลกระทบต่อปญั หาครอบครัว และปญั หาสังคมตามลําดับ เป็ นไปได้ไหมว่า รัฐจะพยายามกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจออก


69

ไปสู่ชนบท เป็ นไปได้ไหมว่า คนต่างจังหวัดจะได้มโี อกาสใช้รถไฟฟ้าความเร็วสูงในราคาประหยัด และเป็ นไปได้ไหมว่า คนชนบทจะไม่ต้องทิง, ถินฐานบ้านเกิดมาหางานทํา และอยู่กนั อย่างพร้อม หน้ าพร้อมตาของพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ลูกหลาน ผู้วจิ ยั มองว่า ทัง, หมดนี,จะเกิดขึ,นภายใต้ความ จริงจังและตัง, ใจทีแก้ปญั หาสังคมของนักการเมือง ไม่มอี ะไรทีเราจะทําไม่ได้หากเรามีความมุ่งมัน ตัง, ใจ อย่างเช่นกรณีของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ซึงคิดจะขุดท่อผันนํ, าจาก แม่น,ําโขงเพือนํ ามาใช้ในการเกษตรในเขตภาคอีสาน มีหลายคนทีเยาะเย้ยและถากถางท่าน “ว่า แค่คดิ ก็บา้ แล้ว” กล่าวหาว่าเป็ นไปไม่ได้ มีนักวิชาการออกมาให้ความเห็นว่า เป็ นไปไม่ได้น,ํ าคง จะเน่ าก่อนทีส่งตามท่อมาถึงปลายทางนับร้อยๆ กิโลเมตร แต่น่าเสียดายทีโครงการนี,ยงั ไม่สําเร็จ ผู้ทคิี ด ริเริมโครงการก็พ้นจากตํ าแหน่ งไปก่ อ น สิงนี,ไ ม่ได้สําคัญทีทําได้ หรือ ทําไม่ได้ แต่ มนั สําคัญตรงทีได้เริมมีคนคิดทีจะทําแล้วมากว่า ปฏิ รปู การเมืองไทย : มุมมองจากปรัชญาจีน 1. “ความยุ่งยากที+ เกิ ดขึVนในสังคมเป็ นเพราะว่า คนแต่ ละคนไม่ทาํ หน้ าที+ ของตนเองให้ ส มบูรณ์ เช่ น บิ ด ามารดาไม่ เ ลีV ย งดูบุต รธิ ด าให้ ดี บุต รธิ ด าก็ไ ม่ มีค วาม กตัญsูกตเวที ต่อบิ ดามารดา สามีภรรยาต่ างก็นอกใจกัน เป็ นต้ น ผลคือความเดือดร้อน จึงมาตกแก่สงั คม” ขงจือ, ให้ความสําคัญปจั เจกบุคคลมาก เพราะปจั เจกบุคคลคือองค์ประกอบ ของครอบครัว และครอบครัวเป็ นหน่ วยย่อยของสังคม สังคมจะดีหรือไม่ดจี งึ ขึ,นอยู่กบั ปจั เจก บุ ค คล นั นเอง ดัง ทีขงจื,อ กล่ า วว่ า “คุ ณ ธรรมเป็ นแก่ น และเป็ นจุด หมายปลายทางของ ปรัช ญาขงจืVอ คุณ ธรรมจะช่ วยบันดาลให้ คน ครอบครัว สัง คม ประเทศ ตลอดถึ งโลก ประสบสัน ติ สุ ข ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง แต่ โ ลกจะมี คุ ณ ธรรมได้ ก็เ พราะประเทศมี คุ ณ ธรรม ประเทศจะมี คุ ณ ธรรมได้ ก็เ พราะสัง คมมี คุ ณ ธรรม สัง คมจะมี คุ ณ ธรรมได้ ก็เ พราะ ครอบครัว มี คุณ ธรรม และครอบครัว จะมี คุณ ธรรมได้ ค นหรื อ สมาชิ ก ในครอบครัว มี คุณธรรม ฉะนันV บุคคลแต่ละคนจึงเป็ นรากเหง้าแห่ งความเจริ ญทังV ปวง” และในทางตรงกัน ข้ามขงจือ, กล่าวว่า “หากแต่ ละคนไม่มีคุณธรรมก็จะกลายเป็ นรากเหง้าแห่ งความเลวร้าย ทังV หลายแผ่กระจายออกไปอย่างกว้างขวาง” ดังนัน, หลักการพัฒนาของขงจือ, จึงเริมต้นทีการ พัฒนาคนก่อน ดังทีขงจือ, กล่าวว่า “เน้ นที+ การพัฒนาคนเป็ นลําดับแรก จะปล่อยให้ ดีขึVนเอง นันV ไม่ได้ จะต้องได้รบั การศึกษาอบรม การศึกษาช่ วยให้ คนฉลาด ส่วนการอบรมนันV จะ ช่ ว ยให้ เ ป็ นคนดี หากสามารถสร้ า งคนดี ใ ห้ ฉ ลาดได้ แ ล้ ว ก็เ ท่ า กับ ตัด ปั ญ หาความ เดือดร้อนทังV หลายให้หมดสิV นไปได้” ประเด็นนี,เป็ นเรืองสําคัญทีผู้วจิ ยั คิดว่า เราได้ศึกษาแนวทางการพัฒนาประเทศกันมา นานแล้ว โดยจะดูได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตงั , แต่ฉบับทีหนึงจนถึงปจั จุบนั จะพบว่ า แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ ง ชาติซึงในระยะแรกเป็ น เรืองของการพัฒ นา


70

โครงสร้า งพื,น ฐานส่ ว นการพัฒ นาสัง คมเป็ น แต่ เ พีย งกล่ า วถึง ในเชิง นโยบายเท่ า นั น, ยัง ไม่ ม ี แผนปฏิบตั กิ ารอย่างชัดเจน จนกระทังปจั จุบนั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจงึ ระบุว่า เน้นทีการพัฒนาคนเป็ นหลัก และมีแผนปฏิบตั กิ ารอย่างชัดเจน แต่จนถึงปจั จุบนั นี,กย็ งั ไม่มอี ะไรปรากฏอย่างชัดเจนว่า รัฐได้พยายามทีจะพัฒนาคนเป็ น หลักมากไปกว่าการพัฒนาเศรษฐกิจดังในอดีต หากเรามัวแต่ดใี จไปกับความเจริญของเศรษฐกิจ โดยมองข้ามการพัฒนาความเจริญของจิตใจคนในสังคมแล้ว จะมีประโยชน์ อะไรกับตึกรามบ้าน ช่อ งทีโออ่ า มีแ สงสีต ระการตาในยามคําคืน ท่ ามกลางความเสือมโทรมของจิต ใจผู้ค นทีมีแ ต่ ความเห็นแก่ตวั อาชญากร และปญั หาสังคม ในทางกลับกันหากเราลดความเจริญก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจลงบ้างในระดับปานกลาง แล้วเพิมความเจริญทางจิตใจให้ผู้คนในสังคม ผู้วจิ ยั เห็นว่า คนในสังคมคงจะมีความสุขมากกว่าทีเป็ นอยูใ่ นปจั จุบนั เป็ นแน่ 2. ขงจือ, ถือว่า ทุกคนทัวโลกเป็ + นพี+น้องกัน ไม่มีการแบ่งเป็ นชาติ เป็ นเผ่า เป็ นพวก หรือแบ่งเป็ นประเทศ เป็ นแคว้น เป็ นเมืองอย่างที+ เป็ นอยู่ในปัจจุบนั เพราะความยึดมัน+ ถือมันในการแบ่ + งแยกจะเป็ นเหตุให้ เกิ ดความแตกสามัคคี เกิ ดการแก่งแย่งเพื+อตัวและ พวกพ้อง อีกทังV เบียดเบียนกันเพราะเห็นเป็ นฝ่ ายอื+น จึงทําให้ ผ้คู นไม่สามารถพบกับสันติ สุ ข อย่ า งแท้ จ ริ ง ได้ ขงจืV อ จึ ง เสนอให้ ทุ ก คนสัง กัด ชาติ เ ดี ย วกัน คื อ มนุ ษ ยชาติ เป็ น พลเมืองของประเทศเดียวกัน คือ เป็ นพลโลก ทุกคนเสมอภาคเท่ าเที ยมกัน ประเด็นนี,เป็ น สิงทีน่ าสรรเสริญยิงกับแนวคิดเรืองสันติภาพโลกของขงจือ, แต่สงที ิ ขงจือ, คิดนัน, แม้ว่าจะเป็ นไปได้ ยากในทางปฏิบตั ิ เพราะต่างคน ต่างเผ่าพันธุ์ ต่างเชือ, ชาติ ต่างศาสนา และมีพน,ื ทีห่างไกลกัน ย่อ มเป็ นการยากทีจะอยู่ร่ว มชาติเ ดียวกัน แต่ ก็เป็ นแนวคิด เรืองสันติภาพโลกทีเกิด ขึ,นในยุค โบราณทีแสดงให้ทราบว่า นักปราชญ์ตงั , แต่ โบราณจนถึงปจั จุบนั ได้พยายามทีสร้างโลกนี,ให้ม ี สันติภาพ ความเป็ นไปได้ของแนวคิดนี,กค็ อื ในระดับโลกนัน, ต้องมีประเทศมหาอํานาจทีได้รบั การ ยอมรับจากทุกฝ่ายในการเป็ นผู้นําโลกสู่แนวคิดแบบหลังนวยุค (Postmodern) ในการประสาน ร่วมมือกันส่งเสริมให้ทุกชาติทุกภาษาสํานึกในความเป็ นมนุ ษย์ สํานึกในความเป็ นพีน้องร่วมโลก ทีรักสุขเกลียดทุกข์เหมือนกัน และทุกชาติในโลกมีเป้าหมายร่วมกัน คือ สันติสุขของชาวโลก โดย ทีทุกชาติยงั คงความเป็ นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไว้ได้แบบพหุวฒ ั นธรรม ส่วนในระดับชาติ หากรัฐบาลสามารถรวมใจเป็ นในความเป็ นชาติโดยไม่แบ่งแยกกันโดย ภูมภิ าค ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม อยู่ร่วมกันแบบพหุวฒ ั นธรรมให้ความเคารพต่อกัน ไม่ พยายามทําสามจังหวัดชายแดนให้เป็ นเหมือนกรุงเทพฯ หรือ ไม่ต้องทําเชียงใหม่ให้กลายเป็ น กรุงเทพฯ ก็ได้ แต่ทุกภาคสามารถพัฒนาแบบคงอัตลักษณ์เดิมของตนไว้ได้ภายใต้ความเป็ นชาติ ไทย


71

3.“แม้ว่าจะมีการแบ่ งเป็ นชาติ เป็ นเผ่า หรือ เป็ นประเทศ เป็ นแคว้ น แต่ ห ากได้ ผูป้ กครองที+ดี เช่น พระเจ้าจิ วบุ้นอ๊วง เป็ นต้น ก็สามารถบันดาลสันติ สุขมาให้ ประชาชนได้ เช่ นกัน” ขงจือ, มีความเห็นว่า ผูป้ กครองทีดี เป็ นปจั จัยสําคัญทีจะทําให้เกิดสันติสุขแก่ประชาชน ได้ และผู้ปกครองทีดีในทัศนะของขงจื,อนัน, ต้องมีคุณสมบัต ิ คือต้อง ‘ทําตัวเป็ นแบบอย่างแล ตรากตรําไม่ท้อ’ และ ‘จงทําโดยมิ ร้หู น่ าย” ขงจือกล่าวว่า ‘พึงทําตัวเป็ นแบบอย่างให้ แก่ บริ พารเป็ นอันดับต้ น รู้จกั อภัยในลหุโทษ และรู้จกั ใช้ ปราชญ์เมธี ... ” จะเห็นได้ว่า ผูป้ กครองจําเป็ นต้องเป็ นผูม้ คี ุณธรรมจริยธรรมสูงกว่าประชาชนทัวไป เพราะจะต้องเป็ นบุคคล ต้นแบบให้กบั ผูใ้ ต้ปกครองได้ การปฏิรปู การเมืองไทยหากไม่สามารถปฏิรปู จนได้นักการเมืองทีดี และมีความเสียสละได้แล้ว ก็ไม่อาจจะปฏิรปู ให้สาํ เร็จได้ เพราะตราบใดทีเรายังมีระบบแบบเดิมๆ และนักการเมืองคนเดิมๆ แล้ว การเมืองไทยก็คงจะยําอยูก่ บั ทีไม่อาจเดินไปข้างหน้าได้ นอกจาก จะได้ นั ก การเมือ งต้ น แบบแล้ ว ยัง ต้ อ งเป็ น คนรู้จ ัก ให้ อ ภัย และมีค ณะทํ า งานทีเป็ น คนดีม ี ความสามารถด้วย การปฏิรปู จึงจะสําเร็จผลได้ 4. “สิ+ งใดที+ประชาชนพอใจ เราจงพอใจ สิ+ งใดที+ ประชาชนเกลียดชัง เราจงเกียดชัง ผู้ใดทําได้ อย่ างนีV ชื+อว่ า เป็ นบิ ดามารดาของประชาชน” ข้อนี,ขงจื,อได้ใ ห้ข้อคิดแก่ เราว่ า ผู้ปกครองควรจะเป็ นผู้ค อยร่ว มทุก ข์ร่ว มสุขอยู่เคียงข้างประชาชน ไม่ใช่ ประชาชนลําบากแต่ ผู้ปกครองสุขสบาย มีความเข้าใจในความต้องการของราษฎร และตอบสนองความต้องการที แท้จริงของประชาชนได้ถูกต้อง แบบเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา 5. “พึงถึงพร้อมด้ วยโภชนะอันอุดม ยุทธพลอันพรังพร้ + อม แลพลังศรัทธาแห่ ง ประชาชนนัน+ แล” หลักการบริหารทีขงจือ, แนะนํ าก็คอื เศรษฐกิจทีเจริญดี กองทัพทีเข้มแข็ง และการสร้างศรัทธาให้แก่ประชาชน ว่าเป็ นสิงสําคัญ และขงจือ, จัดลําดับความสําคัญอันดับหนึง ให้แก่ ลําดับที 3 คือ ศรัทธาของประชาชน หากรัฐบาลทีอยู่โดยทีประชาชนไม่ศรัทธาแล้วก็ไม่ม ี ความหมาย ฉะนัน, ข้อนี,จงึ สัมพันธ์กบั ข้อที 3 เพราะผูป้ กครองทีมีคุณธรรม ย่อมเป็ นทีศรัทธา แต่ ผูป้ กครองทีเลวประชาชนย่อมไม่ศรัทธา ขงจือ, มีชวี ติ ทีรุ่งเรืองทีสุดเมืออายุ 54 ปี เขาได้รบั แต่งตัง, เป็ นรัฐมนตรีกระทรวงยุตธิ รรม และเป็ นผูช้ ่วยนายกรัฐมนตรี ช่วงเวลาดังกล่าวขงจือ, ได้ใช้ตําแหน่ งหน้าทีจัดการวางระเบียบแบบ แผนทัง, อบรมประชาชนให้เห็นคุณค่าระเบียบประเพณี ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนอยู่ดกี ินดี ถึง ขนาดไม่มใี ครทําผิดกฎหมาย แม้จะมีของมีค่าตกกลางถนนก็ไม่มใี ครอยากได้ เรือนจําทีเคยมีนัก ทามากมายก็กลับว่างเปล่า แสดงให้เห็นว่า ขงจือ, ได้บริหารภายใต้ความมันคงของประเทศ จัด ระเบียบสังคมด้วยหลักการทัง, ทางคุณธรรมและส่งเสริมประเพณีอนั ดีงามให้ราษฎรยึดถือ ใช้หลัก เศรษฐศาสตร์ เ พื อพัฒ นาเศรษฐกิ จ ให้ ป ระชาชนอยู่ ดี กิ น ดี ทํ า ให้ ช่ ว งเวลานั ,น บ้ า นเมือ ง เจริญรุ่งเรืองทีสุด ถึงขนาดไม่มขี โมย ซึงเข้าใกล้สงั คมอุดมคติอย่างยิง ผู้วจิ ยั เห็นว่า ขงจือ, ไม่ได้ เป็ นผูว้ เิ ศษ แต่น่าจะเป็ นเพราะขงจือ, ตัง, ใจทําจริงตามอุดมการณ์ของตน


72

สําหรับประเทศไทยของเรา สังคมอุดมคติจะเกิดขึน, ได้ถา้ หากเราทุกคนมีความมุ่งมันทีจะ เปลียน โดยผู้ว ิจยั มองว่ า หากนัก การเมือ งไทยหลุ ด ออกจากวงจรอุ บ าทว์ทางการเมือ ง คือ อํานาจ ผลประโยชน์ การแก่งแย่งชิงดีกนั ได้แล้ว สร้างนักการเมืองทีเป็ นนักปราชญ์ มีอุดมการณ์ ทีมันคงดุจดังขงจือ, มาบริหาร ไม่นานสังคมไทยก็อาจจะได้สมั ผัสกับสังคมอุดมคติแบบขงจือ, ใน อดีตก็เป็ นได้ 6. เหลาจือ, มีความต่อระบอบการปกครองว่า ระบอบเสรีนิยมและธรรมชาติดที สุี ด โดย ท่านกล่าวว่า “นักปกครองที+ดีที+สดุ คือ ผูท้ ี+ประชาชนรู้จกั นักปกครองที+ ดีรองลงมา คือ ผู้ที+ ประชาชนรักและสรรเสริ ญ นั กปกครองที+ ดี รองลงมา คื อ ผู้ที+ ประชาชนเกรงกลัว นั ก ปกครองที+ เลว คื อ ผู้ที+ ประชาชนเกลี ย ดชัง ” เป็ นแนวคิด ทีน่ าสนใจมากทีเดียว เพราะเป็ น มุมมองทีต่างไปจากแนวคิดทางการปกครองทัวไป แต่ถ้าพิจารณาดูแล้วจะเป็ นไปได้หรือไม่ทจะ ี มีผนู้ ําในลักษณะดังกล่าว ผูว้ จิ ยั ขอเปรียบเทียบกับการเมืองการปกครองของไทยดังนี, นักปกครองที+ ดีที+สุด คื อ ผู้ที+ประชาชนรู้จกั ผู้วจิ ยั มองว่า นักปกครองทีเข้าข่ายข้อนี, คือ สถาบันกษัตริยข์ องไทยนีเอง เพราะพระมหากษัตริยท์ รงอยู่เหนือการเมือง ทรงอยู่ในฐานะ เป็ นทีเคารพสักการะของประชาชนเท่านัน, พระองค์จงึ ทรงอยู่ในฐานะทีเป็ นนักปกครองทีดีทสุี ด ทรงอยูใ่ นสถานะทีประชาชนรูจ้ กั ว่า พระองค์ทรงมีอยูแ่ ละทรงดูแลทุกข์สุขของราษฎรอยู่ นักปกครองที+ดีรองลงมา คือ ผูท้ ี+ประชาชนรักและสรรเสริ ญ หมายถึงรัฐบาลทีได้มา จากการเลือกตัง, ของประชาชน ซึงตัง, ใจสร้างคุณงามความดีด้วยการบําบัดทุกข์ บํารุงสุขให้แก่ ประชาชนโดยไม่เห็นแก่ ตวั หรือ อาจจะเป็ นนายกรัฐมนตรีทไม่ ี มาจากการเลือกตัง, แต่ มคี วาม ซือสัตย์สุจริต มีผลงานเป็ นทีปรากฏจนประชาชนยอมรับ ยกย่องสรรเสริญ ดังเช่นบุคคลทีผูว้ จิ ยั มองว่าเข้าข่ายของนักปกครองข้อนี, คือ นายอานันท์ ปนั ยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีสองสมัย ซึงได้รบั การแต่งตัง, มาดํารงตําแหน่ งในยามวิกฤติของชาติบา้ นเมืองและก็ทําหน้าทีได้ดจี นเป็ นที ยอมรับ ไม่ ไ ด้ ม าเป็ น เพราะความอยากเป็ น และก็ ไ ม่ ไ ด้ พ ยายามยื,อ เวลาของการเป็ น นายกรัฐมนตรีด้วย จนต่อมาได้รบั การไว้วางใจเชื,อเชิญให้ดํารงตําแหน่ งสําคัญหลายครัง, อาทิ ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แห่งชาติ ประธานคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศไทย ประธาน คณะกรรมการร่วม 4 ฝา่ ยในการแก้ไขปญั หากรณีมาบตาพุด เป็ นต้น นักปกครองที+ ดีรองลงมา คื อ ผู้ที+ประชาชนเกรงกลัว นักปกครองในรูปแบบนี,ผูว้ จิ ยั มองว่า สําหรับสังคมไทยก็คงจะหมายถึง รัฐบาลใช้กําลังในการปกครอง เช่น รับบาลทหารต่างๆ ในอดีตทีผ่านมา เป็ นรัฐบาลทีประชาชนเชือฟงั เพราะความเกรงกลัว นั กปกครองที+ เลว คื อ ผู้ที+ ประชาชนเกลี ยดชัง นักปกครองรูปแบบนี,ไ ด้แก่ รัฐบาล เผด็จการทีเป็ นอธรรม กล่าวคือ ใช้กําลังกดขีข่มเหงประชาชนจนประชาชนเกลียดชัง และคิดจะ ล้มล้างอํานาจ ในเรืองนักปกครอง 3 ประเภทดังกล่าวมาเป็ นข้อคิดทีดีให้กบั การเมืองไทยทีเรามีสถาบัน กษัตริยอ์ นั เป็ นทีเคารพสักการะของประชาชนอยู่แล้ว และมีรฐั บาลทีได้รบั เลือกตัง, จากประชาชน


73

เข้ามาแต่ ยงั มีน้อยทีประชาชนรักและสรรเสริญด้วยคุณงามความดี และนอกจากจะมีน้อยแล้ว นักการเมืองยังพยายามฉุ ดรัง, ประเทศให้ไปสู่รูปแบบการปกครองในแบบทีประชาชนเกรงกลัว และเกลียดชังอยูบ่ ่อยครัง, ด้วย ฉะนัน, การปฏิรปู การเมืองเราจะต้องทําให้เราได้ระบบการเมืองทีจะ เอือ, ให้ได้รฐั บาลในแบบที 2 เท่านัน, แม้จะไม่ดที สุี ดตามแนวคิดของเหลาจือ, แต่ประเทศไทยก็ยงั มี สถาบันกษัตริยอ์ นั เป็ นดุจนักปกครองทีดีทสุี ดแล้ว เหลาจือ, ให้คําแนะนํ าว่า รัฐที+ ดีควรปกครองประชาชนโดยไม่ยุ่งเกี+ยวกับประชาชน มากนัก ปล่อยให้ พลเมืองอยู่อย่างเสรีมีอิสรภาพ ปล่อยให้ ทุกอย่างเป็ นไปตามธรรมชาติ และรัฐจะเข้าไปเกียวข้องเฉพาะเมือมีการทําผิดกฎธรรมชาติเท่านัน, ในประเด็นนี,เหลาจือ, เห็นว่า มีข้อห้ ามมาก ประชาชนยิ+ งยากจน ประชาชนมีอาวุธร้ายแรงรัฐก็ปัน+ ป่ วน ประชาชนมี ความฉลาดและสามารถมากสิ+ งประดิ ษฐ์กแ็ ปลกใหม่ และพลิ กแพลงมาก กฎหมายมาก โจรผูร้ ้ายก็มาก การปฏิรปู การเมืองไทยควรทบทวนบทบาทของ 6.1 การปกครองและกฎหมายของไทยมีลกั ษณะดังกล่าวหรือไม่ ผูว้ จิ ยั ได้ขอ้ คิดทีดีจาก การชมภาพยนตร์เกาหลีเรืองหนึงว่า หากผู้ปกครองเอาใจใส่ต่อราษฎรจริงๆ กฎหมายและการ ปกครองย่อ มเปลียนแปลงได้เ พือประโยชน์ สุ ขของราษฎร ดัง ทีในภาพยนตร์แ สดงถึง กรณีที ราษฎรเกิดอุทกภัยทรัพย์สนิ เสียหาย กษัตริยก์ ็ยกเว้นการเก็บภาษีราษฎร และยังให้เครืองมือ ส่ ง เสริม การเกษตรแก่ ร าษฎรอีก ด้ ว ยเป็ น ต้ น สํ า หรับ ประเทศไทยสิงทีเข้า ข่ า ยกรณี ก็ เ ช่ น นโยบายการพักหนี,เกษตรกร เป็ นต้น เรืองนี,เป็ นเรืองทีน่ าคิดทีกฎหมายต่างๆ เป็ นเพียงสิงที มนุ ษย์ร่วมกันเขียนขึน, มา เรามีอํานาจเหนือกฎหมายในขณะทีกําลังเขียน แต่เมือเขียนเสร็จแล้ว มันกลับมีอทิ ธิพลเหนือเราจนเราไม่สามารถแก้ไขอะไรได้งา่ ยๆ เรืองนี,นักการเมืองพึงพิจารณาว่า เราสมมติบางสิงขึ,นมาเช่นกฎหมาย แล้ว เราก็ห ลงสมมติ ตกเป็ นทาสของสมมติ แต่ ไม่ใ ช่ ว่ า กฎหมายไม่สําคัญ กฎหมายมีความสําคัญแต่กฎหมายควรจะยืดหยุ่นโดยกระบวนการปกครอง เพือประโยชน์ สุขของประชาชนอย่างแท้จริง ไม่ใ ช่ส ิงทีจะมาใช้ใ นการบัง คับขู่เ ข็ญ โดยขัด กับ ธรรมชาติของชีวติ ราษฎร เช่น คดีทศาลตั ี ดสินชายทีขายเก็บขยะขายแผ่นซีดเี พลงมือสองด้วย โทษละเมิดลิขสิทธิ `สูงสุดนับแสนบาทจนเป็ นทีวิพากษ์วจิ ารณ์ของสังคม หรือ คดีทศาลตั ี ดสินคดีที เกียวกับการทําให้เกิดภาวะโลกร้อนของราษฎรทีบุกรุกทีปา่ เป็ นต้น หากมุง่ เอาผิดกับราษฎรโดย ไม่มแี นวทางช่วยเหลือราษฎรย่อมเป็ นการลําบากแก่ประชาชนอย่างยิง เพราะถ้าเขาไม่รูแ้ ละไม่ จําเป็ นก็คงไม่มรี าษฎรคนใดอยากฝา่ ฝืนกฎหมาย ั ่วน จนถึงปจั จุบนั เหตุการณ์ความไม่สงบ 6.2 กรณีว่า ประชาชนมีอาวุธร้ายแรงรัฐก็ปนป ในสามจัง หวัด ชายแดนภาคใต้ ก็ยงั ไม่ อ าจจัด การได้ ตลอดถึง เหตุ ก ารณ์ ระเบิด ป่ ว นเมือ งใน กรุงเทพมหานครและจังหวัดอืนๆ ก็ยงั ไม่อาจแก้ไขได้ จึงเป็ นโจทย์ใหญ่ทการเมื ี องไทยยุคใหม่ จะต้ อ งรวมใจให้ ค นในชาติเ ป็ น หนึ งเดีย วให้ไ ด้ภ ายใต้ พ หุ ว ัฒ นธรรม โดยไม่ ใ ช้กํ า ลัง ทหาร ปราบปรามเพียงอย่างเดียว ซึงผูน้ ํ าทีจะมาปกครองจะต้องได้รบั การยอมรับอย่างสูงจากทุกฝ่าย และสามารถครองใจประชาชนให้หนั มาร่วมมือกับรัฐบาลในการพัฒนาชาติได้


74

7. เหลาจือ, ให้ความสําคัญกับผู้นําเป็ นอย่างมาก เพราะผูน้ ํ าทีดีย่อมปกครองให้ราษฎร เป็ นสุขได้ เหลาจือ, จึงกล่าวถึงคุณสมบัตขิ องผูน้ ําทีดีไว้ว่า 1. ไม่โลภ ไม่มกั ใหญ่ใฝส่ งู ในฐานะตําแหน่ งเพือตนเอง 2. สุภาพอ่อนโยน ไม่ทาํ ตนเหนือคนอืน หรือ สําคัญกว่าคนอืน 3. มีสจั จะและยุตธิ รรม 4. มีความสามารถเป็ นได้ทงั , ผูน้ ําและผูต้ ามทีดีได้ 5. ไม่เห็นแก่ตวั 6. มีจติ เมตตากรุณา จากทีกล่าวมาแล้วถึงความสําคัญของผูน้ ํา หากเราได้ผูน้ ํ าทีดีมคี ุณธรรมจริยธรรมย่อมจะ สามารถปกครองให้ประชาชนเกิดผาสุกได้ การปฏิรูปการเมืองต้องปฏิรูปวิธคี ดั เลือกผู้นําให้ได้ ผูน้ ําทีมีคุณสมบัตดิ งั ทีเหลาจือ, แนะนํา การปฏิรปู การเมือง หรือ ปฏิรปู ประเทศจึงจะเป็ นไปได้จริง ปฏิ รปู การเมืองไทย : มุมมองจากพุทธปรัชญา โดยสรุปแล้วเป้าหมายของรัฐศาสตร์ หรือ การเมืองการปกครองในพระพุทธศาสนาอยู่ที การสร้างสภาพทีเอื,อให้มนุ ษย์ในสังคมประพฤติปฏิบตั ติ น เพือบรรลุเป้าหมายของชีวติ ทัง, 3 ระดับได้โดยง่าย ทัง, เป้าหมายในชาติน,ี ชาติหน้า และเป้าหมายสุดท้าย คือ การพ้นทุกข์ ธรรมาธิ ป ไตยหรือ การยึด ธรรมเป็ น ใหญ่ เป็ น หัว ใจสํ า คัญ ของหลัก รัฐ ศาสตร์ ใ น พระไตรปิฎก ธรรมาธิปไตยไม่ถอื ว่า เป็ นระบอบการปกครอง เหมือนประชาธิปไตย หรือ ระบอบ คอมมิวนิสต์ แต่ระบอบการปกครองทุกระบอบสามารถนํ าเอาหลักธรรมาธิปไตยไปประยุกต์ใช้ได้ ทัง, สิน, โดยการนําหลักธรรมเป็ นเกณฑ์ตดั สินสูงสุดคล้ายกับรัฐธรรมนูญ ในมุมมองพุทธปรัชญา หลักศีลธรรมจึงเป็ นหัวใจหรือเป็ นแก่นของการปกครองประเทศ แต่การจะให้ศลี ธรรมคงอยู่ได้อย่างมันคง จําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่กนั ไป ด้วย เพราะหากเศรษฐกิจไม่ดี ประชาชนอดอยากยากจน ความอดอยากก็จะกดดันให้คนทําบาป อกุศลด้วยการลักขโมยเพือยังชีพ เป็ นต้น เป็ นเช่นนี,แล้วศีลธรรมก็ไม่อาจตัง, อยู่ได้ การปกครอง ประเทศจึงต้องพัฒนาทัง, ศีลธรรมและเศรษฐกิจควบคู่กนั ไป จะขาดสิงใดสิงหนึงไม่ได้ เศรษฐกิจที ดีจะเป็ นพืน, ฐานให้คนประพฤติศลี ธรรมได้สะดวก ส่วนศีลธรรมจะช่วยควบคุมและบรรเทากิเลส ของมนุ ษย์ให้เบาบางลงและหมดไปในทีสุด หากผูป้ กครองเป็ นคนดี มีความสามารถ ระบอบการปกครองแบบเผด็จการไม่ว่าจะโดย บุคคล หรือ คณะบุคคล เช่น ระบอบราชาธิปไตย ระบอบสังคมนิยม จะสามารถขับเคลือนการ เปลียนแปลงพัฒนาการของสังคมได้เร็วทีสุด แต่กม็ คี วามเสียงสูง เพราะคนเรานัน, เมือยังไม่หมด กิเลส การมีอํานาจสิทธิ `ขาดดดยไม่มกี ารถ่วงดุล ทําให้มแี นวโน้มการใช้อํานาจในทางมิชอบได้สูง


75

และหากเป็ นเช่นนัน, จะสร้างความเสียหายแก่สงั คมอย่างมหาศาล ในสภาพสังคมปจั จุบนั ระบอบ ประชาธิปไตย ซึงเป็ นการปกครองทีใช้อํ านาจอธิปไตยมาจากประชาชน จึง เป็ นระบอบการ ปกครองทีมีข้อบกพร่องน้ อยกว่า แต่ ก็มจี ุดอ่ อ น คือ หากคนหมู่มากถู กชักนํ าด้วยอํานาจหรือ อิทธิพ ลของบุ ค คล หรือ สือประชาสัมพันธ์ ทํา ให้เ ลือ กคนไม่ดี คนขาดความสามารถในการ บริหารเข้ามาปกครองประเทศแล้ว ก็สร้างความเสียหายได้มาก ไม่ว่าจะเป็ นการคอร์รปั ชัน การ ใช้อํานาจรัฐไปในทางมิชอบ หรือการบริหารทีนํ าพาประเทศไปในทางทีผิด การทําให้เกิดความ เสือมโทรมทางเศรษฐกิจและสังคม เป็ นต้น ฉะนัน, หากการปฏิรปู การเมืองไทยสามารถทีจะให้ความรูก้ บั ประชาชน จนสามารถทีจะ สร้างกระแสร่วมกันของคนทัง, ชาติให้ทุกคนยึดธรรมเป็ นใหญ่ คือ นําหลักธรรมของความถูกต้องดี งามมาเป็ นค่านิยมร่วมกันของสังคม เป็ นเครืองนํ าทางสังคมไปสู่ทศิ ทางทีพึงประสงค์ซงจะทํ ึ าให้ นักการเมืองต้องประพฤติตนอยู่ในกรอบของหลักธรรมนัน, ด้วย เพราะมิฉะนัน, ประชาชนจะไม่ ยอมรับ ซึงเมือกล่าวโดยสรุปแล้วก็คอื จะต้องนํ าเอาหลักธรรมาธิปไตยมาประยุกต์ใช้กบั หลัก ประชาธิปไตยนันเอง บทสรุป : ปัญหาและทางออกของผู้นําสังคมไทย เมือประเทศไทยมาถึงจุดวิกฤตทางการเมืองจนเกิดการชุมนุ มประท้วงรัฐบาลต่อเนืองกัน มาหลายปี โดยเฉพาะตัง, แต่ รฐั ประหารปี 2549 เป็ นต้นมา และเหตุการณ์ได้มาถึงจุดแตกหัก อย่างรุนแรงในเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2553 มีผูเ้ สียชีวติ 90 คน บาดเจ็บกว่า 2,000 คน เหตุการณ์ดงั กล่าวได้จบลงด้วยการสลายการณ์ชุมนุ มได้ด้วยกําลังทหารและรถถัง แต่พระราช กําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินกลับถูกตรึงไว้ใช้อย่างยาวนานหลายจังหวัดทัว ประเทศ พร้อมกับระเบิดทีดังขึน, อยู่ไม่ขาดระยะ การสลายการชุมนุ มด้วยวาทกรรมการกระชับ พืน, ที หรือ ขอคืนพืน, ทีของรัฐเป็ นเหตุให้เกิดการแตกแยกอย่างรุนแรงไปทัวประเทศและเป็ นการ แตกร้าวอย่างลึกซึง, แม้รฐั บาลจะโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ปรองดองกันอย่างไรก็ตาม แต่ในเชิง ลึกแล้ว ไม่สามารถทําได้เลย การแบ่งแยกข้างกันของประชาชนทีศรัทธาพรรคการเมืองยังแบ่ง ขัว, กันอย่างเข้มข้นและมีทที ่าว่าจะเข้มข้นขึ,นเรือยๆ ต่ างฝ่ายต่ างจัดสัมมนาบ้าง ปราศรัยบ้าง ชุมนุ มกันตามโอกาสบ้าง อย่างไม่ขาดระยะ ในขณะทีผูน้ ําสังคมโดยเฉพาะนักการเมืองไทยยังอยู่ในวังวนของการเมืองแบบเก่าๆ อยู่ และปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชันยังผุดมาเรือยๆ เหมือนดอกเห็ด การโจมตีกนั ทางการเมือง การ ทําลายความน่ าเชือถือ สงครามคลิป และการแถลงข่าวโจมตีฝ่ายตรงข้าม ล้วนแต่เป็ นการเพิม ความแตกแยกมากยิงขึน, อย่างยากทีจะหันกลับมาปรองดองกันได้ ดังทีนักคิดหลังนวยุคมองว่า ความยึดมันถือมัน การแบ่งแยก

เป็ นเหตุให้เกิด เป็ นเหตุให้เกิด

การแบ่งแยก การแข่งขัน


76

การแข่งขัน ความไม่ไว้ใจกัน

เป็ นเหตุให้เกิด เป็ นเหตุให้เกิด

ความไม่ไว้ใจกัน การทําลายกัน

ส่วนทางแก้ไขก็คอื การส่งเสริมความคิดแบบไม่ยดึ มันถือมัน ไม่แบ่งฝกั แบ่งฝ่ายให้กบั ประชาชน เพราะว่า ความไม่ยดึ มันถือมัน การแบ่งหน้าที ความสามัคคี ความไว้ใจกัน ความช่วยเหลือกัน

นําไปสู่ นําไปสู่ นําไปสู่ นําไปสู่ นําไปสู่

การแบ่งหน้าทีกันรับผิดชอบ ความสามัคคี ความไว้ใจกัน ความช่วยเหลือกัน สันติภาพ (กีรติ บุญเจือ, 2545)

แต่ปญั หาใหญ่กค็ อื การส่งเสริมการคิดแบบไม่ยดึ มันถือมันในแบบหลังนวยุคสายกลางนี, ยังถู กจํากัดอยู่ในวงวิชาการหรือนักคิดบางกลุ่มเท่ านัน, ซึงไม่มพี ลังขับเคลือนทางสังคมเพียง พอทีจะเปลียนแปลงสังคมได้ และพลังขับเคลือนสังคมดังกล่าวนี,จะเกิดขึน, ได้อย่างไร คําตอบก็ คือ ผูน้ ําสังคม แต่ผนู้ ําสังคมทีเรามีโดยปกตินัน, ยังไม่สามารถทีจะขับเคลือนได้ เพราะเป็ นเพียงผู้ ทีได้ ร ับ คะแนนเลือ กตัง, มากที สุ ด ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ไปตามคุ ณ ลัก ษณะของผู้ นํ า สัง คมตามหลัก พระพุทธศาสนา นันคือ เป็ นผู้ประกอบด้วยปญั ญาและคุณธรรมอย่างสูง ทําอย่างไรเราจึงจะได้ ผูน้ ําทีมีคุณลักษณะดังกล่าวได้ คําตอบก็คอื เปลียนรูปแบบการสรรหา และโครงสร้างการบริหาร การเมืองใหม่ โดยผูน้ ําสังคมทีได้มาใหม่นนั , เป็ นผูท้ มี​ี คุณธรรมอย่างสูง มีความเสียสละตนเองเพือ ชาติบ้านเมืองอย่างแท้จริง ดุจดังพระโพธิสตั ว์ในพระพุทธศาสนา โดยไม่มผี ลประโยชน์ ใดๆ ให้ นักการเมืองเข้ามากอบโกยได้ดงั ในอดีต แล้วคําถามทีตามมาก็คอื จะมีอยู่จริงหรือ นักการเมือง ชนิ ด โพธิส ัต ว์ น,ี ใ นเมือ งไทยของเรา ข้อ นี, ผู้ว ิจ ัย เชือว่ า มีอ ย่ า งแน่ น อน เพราะบุ ค คลทีชอบ ช่วยเหลือสังคมและปรารถนาทีจะเห็นการเปลียนแปลงสังคมในทางทีดีเหล่านี,มอี ยู่ในสังคมไทย เราแล้ว ประเด็นต่อมาแล้วเราจะเริมอย่างไร ผูว้ จิ ยั ขอเสนอมุมมองว่า เรามีคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศไทย ซึงมีท่านอานันท์ ปนั ยารชุน เป็ นประธาน มีวาระดํารงตําแหน่ ง 3 ปี และเราใช้ กลไกนี,สร้างความร่วมมือกันทัง, ประเทศเพือการเปลียนแปลงประเทศอย่างยังยืน โดยในเบือ, งต้น ควรดําเนินการดังนี,


77

1. กําหนดเป้าหมายร่วมกันของคนในชาติในการทีจะร่วมกันเปลียนแปลงประเทศอย่าง ยังยืน 2. ระดมความคิด เห็ น จากทุ ก ภาคส่ ว นเพือแสวงหาวิธ ีก ารดํ า เนิ น การเพือบรรลุ วัตถุประสงค์ดงั กล่าว ซึงผูว้ จิ ยั มองว่า มันอาจจะมีกสิี บขัน, ตอนก็ตาม แต่เบือ, งต้นสิง ทีควรทําเป็ นอย่างแรกคือ ทําอย่างไรเราจึง จะสรรหาผู้นํ าสัง คมทีมีคุณ ธรรมและ ปญั ญาอย่างแท้จริงได้ เพราะหากเราได้วธิ กี ารแก้ปญั หาทีดีอ ย่างไร แต่ เรายังได้ นักการเมืองแบบเก่ามาแก้ปญั หา ก็ไม่สามารถทําได้สําเร็จ เพราะพวกเขาย่อมไม่ ทําลายผลประโยชน์ของตนเอง 3. ร่วมกันหาจุดอ่อน ของระบบ และหาทางแก้ไข วิธกี ารสรรหาผูน้ ํา 4. โครงสร้างการบริห ารมีจุด บกพร่อ งทํ าให้เ กิด การทุ จ ริต ได้อ ย่า งไร จะมีว ิธ ีแ ก้ ไ ข อย่ า งไร ทํ า อย่ า งไร นั ก การเมือ งจึง จะไม่ ม ีส่ ว นได้ เ สี ย ในผลประโยชน์ หรือ งบประมาณ 5. เมือได้วธิ กี ารสรรหาผูน้ ําสังคม วิธกี ารป้องกันการทุจริตของนักการเมืองด้วยระบบที รัดกุมแล้ว จะทําการร่างรัฐธรรมนู ญใหม่ หรือ จะทําการทดลองสรรหาผูน้ ํ าแบบใหม่ ด้ว ยวิธ ีก ารใดๆ ก็ต าม โดยให้อํ านาจเต็ม ในการขับ เคลือนสัง คมไปสู่ ส ัง คมแห่ ง คุณธรรมแก่ผนู้ ําพันธุใ์ หม่ ผูว้ จิ ยั เชือว่า เมือได้ผูน้ ํ าทีเข้มแข็ง ประกอบด้วยปญั ญาและคุณธรรมอย่างสูงแล้ว ผูน้ ํ า สัง คมชนิ ด นี, ย่ อ มจะสามารถแสวงหาทีม งานทีดีม ีประสิท ธิภ าพได้ เมือผู้นํา ระดับ สูง มีค วาม เข้มแข็งในความซือสัตย์สุจริตแล้ว ผู้นําระดับกลางก็ต้องมีความเข้มแข็งตามไปด้วย เมือผู้นํา ระดับกลางเข้มแข็งในคุณธรรมแล้วย่อมส่งผลต่อผูน้ ําระดับล่างให้เข้มแข็งตามไปด้วย นันก็คอื ว่า ผูน้ ํ าเข้มแข็ง ชุมชนก็เข้มแข็ง และความเข้มแข็งในทางคุณธรรมจริยธรรมกลายเป็ นกระแสหลัก ของสังคมตัง, แต่ ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ระดับสังคม และระดับประเทศชาติ อีกสิงหนึงทีมีความสําคัญมากและเป็ นปจั จัยให้ประชาชนประพฤติคุณธรรมได้สะดวกก็ คือ เศรษฐกิจ เป็ น หน้ า ทีทีสํ าคัญ ของผู้นํ า ทีจะต้ อ งบริห ารเศรษฐกิจให้เ จริญ อย่ า งทัวถึง ทัว ประเทศ โดยไม่มองทีความเจริญด้านนี,เพียงด้านเดียวดังเช่นในอดีต ไม่ต้องมีเมกะโปรเจคท์ มูลค่าหลายหมืนล้านมาลงในเมืองใหญ่ก็ได้ เพราะผู้คนเบียดกันจนไม่มที จะอยู ี ่แล้ว แต่ควรจะ กระจายความเจริญทางเศรษฐกิจไปยังชนบทซึงเป็ นคนส่วนมากของประเทศให้มากทีสุด แต่ ความเจริญในทีนี,กไ็ ม่ได้หมายความว่า ทุกคนจะต้องรวยมีบา้ นหลังใหญ่ มีรถหรูๆ ขับแบบสังคม วัตถุ นิยม แต่ความเจริญในทีนี,ต้องเจริญภายใต้คุณธรรมและความสุข กล่าวคือ ทุกคนมีความ พอเพียงในชีวติ ความเป็ นอยู่ มีความสุขในชีวติ ทีเรียบง่าย และอิงอยู่กบั ศาสนา ซึงสังคมชนบท ไทยพร้อมทีจะเป็ นตัวอย่างให้สงั คมเมืองได้


78

เมือได้ผู้นําทุกระดับทีประกอบด้วยคุณธรรมขัน, สูง มีเศรษฐกิจทีเจริญดีในทุกหนแห่ ง ประชาชนก็ดํารงตนอยู่ในศีลธรรมอันดี เท่านี,สงั คมอุ ดมคติแบบยุคพระเจ้าจักรพรรดิ หรือ ยุค พระเจ้าอโศกมหาราช ก็สามารถทีจะเกิดขึน, ได้ในสังคมไทย


79

บรรณานุกรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2530). พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับหลวง. เล่มที 10, 11, 15, 21, 23, 25, 36. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมการศาสนา. กาญจนา ไชยพันธุ.์ (2549). กระบวนการกลุ่ม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กฤษณะไทวฺปายนวฺยาส. (2479). ศรีมทั ภควัทคีตา. พระนคร : โรงพิมพ์อกั ษรเจริญทัศน์. กีรติ บุญเจือ. (2545). เริ+ มรู้จกั ปรัชญา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น. คณะกรรมการวิชามรดกอารยธรรมโลก. (2553). มรดกอารยธรรมโลก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. จันทร์ฉาย ภัคอธิคม. (2550). ประวัติศาสตร์จกั รวรรดิ จีน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. จํานงค์ อดิวฒ ั นสิทธิ `. (ม.ป.ป.). จริ ยธรรมสําหรับผูน้ ํา. เอกสารประกอบการสอนระดับ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ส า ข า วิ ช า พั ฒ น สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ค ณ ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (เอกสารอัดสําเนา) เตือนใจ แววงาม. (2534). พลวัตของกลุ่มและการทํางานเป็ นทีม. กรุงเทพฯ : เม็ดทราย พริน, ติง, . ทวี ทวีวาร. (2553). ประวัติศาสตร์อินเดียตังV แต่ชาวยุโรปเข้ามา จนถึงอิ นเดียได้รบั เอก ราช. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ทวี ผลสมภพ. (2534). ปัญหาปรัชญาในการเมืองของโลกตะวันออก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ทองหล่อ วงษ์ธรรมา. (2549). เต๋า : ทางแห่งธรรมชาติ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียน สโตร์. นวลศิร ิ เปาโรหิตย์. (2544). จิ ตวิ ทยาสังคม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามคําแหง. น้อย พงษ์สนิท. (ม.ป.ป.). ปรัชญาจีน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. เนตร์พณ ั ณา ยาวิราช. (2546). ภาวะผูน้ ํา และผูน้ ําเชิ งกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : เซ็นทรัลเอกซ์ เพรส. ประยงค์ สุวรรณบุบผา. (2541). รัฐปรัชญา : แนวคิ ดตะวันออกขตะวันตก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : บริษทั สามัคคีสาส์น จํากัด.


80

พระครูโสภณปริยตั สิ ุธ.ี (2552). รัฐศาสตร์ในพระไตรปิ ฎก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ฟื,น ดอกบัว. (2542). ปวงปรัชญาจีน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ศยาม. __________. (2542). ปวงปรัชญาอิ นเดีย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ศยาม. มนต์ ทองชัช. (2527). แหล่งกําเนิ ดอารยธรรมยุคแรกของโลก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ โอเดียนสโตร์. มนตรี ธีรธรรมพิพฒ ั น์. (2540). จริ ยธรรมกับภาวะผูน้ ํา : ศึกษาทัศนะของนักวิ ชาการ รัฐศาสตร์ในมหาวิ ทยาลัยแห่งประเทศไทยที+มีต่อผูน้ ําทางการเมือง. วิทยานิพนธ์ ปริญญาอักษรศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 2537. พระสูตรและอรรถกถาแปล. เล่มที 13. พิมพ์ ครัง, ที 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). วิ วฒ ั นาการการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2553). ปัญหาการเมืองไทยปัจจุบนั . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2553). ปรัชญาการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. วัชรี ทรงประทุม. (2550). ความคิ ดทางการเมืองในพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. วิจติ ร อาวะกุล. (2530). เทคนิ คมนุษยสัมพันธ์. กรุงเทพ: โอ.เอส. พริน, ติง, เฮาส์. วิรชั ถิรพันธุเ์ มธี. (ม.ป.ป.). พุทธปรัชญาการปกครอง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ดวงแก้ว. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2549). ทศพิ ธราชธรรม ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ธรรมสภา. สมัย จิตต์หมวด. (2551). พฤติ กรรมผูน้ ํา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. อดิศกั ดิ ` ทองบุญ. (2545). ปรัชญาอิ นเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. อมร ทองสุก. (2552). คัมภีรห์ ลุนอวี+ : คัมภีรแ์ ห่งแดนมังกร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ ชุณหวัตร. Streep, Peg. (1994). TAO TE CHING. Italy : A Bulfinch Prees.


81

ภาคผนวก บทความวิจยั ซึงได้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับชาติจาํ นวน 2 เรือง 1. บทความเรือง ปรัชญาการเมืองตะวันออก : มุมมองเพือการปฏิรปู การเมืองไทย ตีพมิ พ์ในวารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. บทความเรือง คุณลักษณะผูน้ ําสังคมในอุดมคติตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตีพมิ พ์ในวารสารมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


82

1. บทความเรื+อง ปรัชญาการเมืองตะวันออก : มุมมองเพื+อการปฏิ รปู การเมืองไทย ตีพิมพ์ในวารสารมหาวิ ทยาลัยมหาสารคาม ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


83

ปรัชญาการเมืองตะวันออก : มุมมองเพื+อการปฏิ รปู การเมืองไทย Eastern Political Philosophy : Perspectives to Reform Thai Politics. ไกรฤกษ์ ศิลาคม Krairoek Silakom บทคัดย่อ การวิจยั นี,มวี ตั ถุประสงค์เพือศึกษาแนวคิดเรือง “ปรัชญาการเมือง” ในคําสอนเชิงปรัชญาของปรัชญา ตะวันออก กล่าวคือ ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน และพุทธปรัชญา โดยใช้วธิ กี ารวิจยั เชิงคุณภาพ ข้อมูลทีใช้ใน การศึกษาคือ เอกสารคําสอนของนักปรัชญาอินเดีย นักปรัชญาจีน และพุทธปรัชญาในคัมภีรพ์ ระไตรปิ ฎก รวมถึงอรรถาธิบายและทัศนะของนักคิดนักวิชาการยุคหลังทีเกียวข้อง ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดทางการเมืองทีปรากฏในปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน และพุทธปรัชญาใน ภาพรวมมีความสอดคล้องกันในแง่ของการให้ความสําคัญแก่ผนู้ ําทีมีคุณธรรมจริยธรรมว่าจะเป็นสาเหตุทาํ ให้ ประชาชนมีความสุข แต่การขาดคุณธรรมจริยธรรมของผูน้ ําจะนํามาซึงความทุกข์แก่ประชาชน แม้ในปรัชญา บางสาขาเช่น ปรัชญาเต๋า จะเน้นการปกครองแบบเสรี แต่กใ็ ห้ความสําคัญแก่คุณสมบัตขิ องผูป้ กครองมาก เช่นกัน ส่วนมุมมองเพือการปฏิรปู การเมืองไทยนัน, หากสังคมไทยสามารถปฏิรปู นักการเมืองได้ กล่าวคือ สามารถวางระบบการคัดเลือกผูน้ ําสังคมให้เป็ นผูท้ มี​ี คุณธรรมจริยธรรมและมีความเสียสละได้อย่างแท้จริง และ สามารถเปลียนโครงสร้างทางการเมืองใหม่ให้เป็ นการเมืองทีปราศจากคอร์รปั ชันได้แล้ว การปฏิรปู ประเทศ ไทยด้านอืนๆ จึงจะสําเร็จผลได้ คําสําคัญ: การปฏิรปู , การเมืองไทย, ปรัชญาการเมือง, ปรัชญาตะวันออก

Abstract The purpose of this research is to study the concept of “Political Philosophy” in Eastern philosophy such as Indian philosophy, Chinese philosophy and Buddhist philosophy. This study is a qualitative research and examined numerous doctrines of Indian philosophers, Chinese philosophers, Buddhist philosophy in Tripitaka, and the related perspectives of scholars in modern age. The results show that political concepts in Indian philosophy, Chinese philosophy and Buddhist philosophy generally reflect some consistency in moral and ethical leaders who are able to make people happy. However, the leaders who lack moral and ethic quality could make people suffered. Even, Taoist philosophy which emphasizes free government also agrees on the characteristics of leader. In the perspective of Thai political reform, it is important that Thai politicians have to be reformed in many ways such as the selection system that can screen and select politician who are more moral and ethical and who can make the ultimate sacrifice for others, and showed structure be able to rid of corruption, other reforms in Thailand would be successful as well. Keywords: Reform, Thai politics, Political Philosophy, Eastern philosophy


84

บทนํา ตัง, แต่เริมมีการค้นพบหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ บนผืนแผ่นดินไทย กล่าวคือ ตัง, แต่สมัยอาณาจักรสุโขทัย เป็ นต้นมา ระบอบการเมืองการปกครองของไทยได้มี พัฒนาการเปลียนแปลงเรือยมา ตัง, แต่การปกครองใน รูปแบบพ่อปกครองลูกในสมัยพ่อขุนรามคําแหง และต่อมา ได้รบั อิทธิพลจากศาสนาฮินดู (Hinduism) เกิดเป็ นรูปแบบ การปกครองแบบเทวราชา ซึงกษัตริยม์ ฐี านะดุจสมมติเทพ หรือเป็ นอวตารของพระนารายณ์ จนกระทังได้รบั อิทธิพล จากพระพุทธศาสนา (Buddhism) ในหลักคําสอนเรือง การ ปกครองแบบธรรมราชา กล่าวคือ พระราชาจะต้องเป็ นผู้ ประกอบด้วยธรรม 10 ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม หรือ ในรูปแบบของพระโพธิสตั ว์ผบู้ าํ เพ็ญบารมีธรรมเพือ โปรดหมู่สตั ว์ ดังทีเราได้ยนิ คําว่า พระบรมโพธิสมภาร หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง หรือ พระหน่อพุทธเจ้า หรือ หน่อ พุทธางกูร เป็ นต้น หลักการปกครองในรูปแบบของ เทวราชาและธรรมราชาดังกล่าวนัน, ได้ถูกผสมผสานเป็ น ั บนั ฐานะ รูปแบบการปกครองของไทยสืบมาจนถึงยุคปจจุ ของพระมหากษัตริยเ์ ป็ นดุจสมมติเทพทีประชาชนทัง, หลาย ต้องเคารพสักการะ แต่พระราชจริยาวัตรเป็ นดังธรรมราชา กล่าวคือ ทรงประกอบด้วยคุณธรรม 10 ประการ และทรง บําเพ็ญประโยชน์แก่ประชาชน ประดุจดังพระโพธิสตั ว์ใน พระพุทธศาสนา แต่เมือเราพิจารณาจากวิวฒ ั นาการทางการเมือง ของไทยจะพบข้อ เท็จ จริง อย่ า งหนึ งว่ า “ปรากฏการณ์ ประชาธิปไตยครึงใบ” ได้ป รากฏมาโดยตลอด กล่าวคือ อํานาจอธิปไตยซึงประชาชนมีและมอบให้แก่รฐั บาลไปนัน, กลับ ถู ก จํา กัด อยู่แ ต่ ใ นวงของนายทหารและข้า ราชการ ระดับ สูง แม้จ ะมีร ัฐ บาลของพลเรือ นบ้า งแต่ ก็ม ัก จะถู ก ปฏิว ัติยึด อํา นาจโดยฝ่า ยทหาร และปกครองโดยรัฐ บาล ทหารหลายสมัย (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553: 9) ด้ ว ยเหตุ ผ ลต่ า งๆ ตามแต่ ค ณะปฏิ ว ัติ จ ะนํ า มาอ้ า ง แม้ ก ระทังในป จั จุ บ ั น ก็ ป รากฏเหตุ ก ารณ์ ทํ า นองนี, อ ยู่ ระบอบประชาธิปไตยของไทยตัง, แต่ปี 2475 เป็ นต้นมา ยัง ไม่เคยพบว่า จะมีความสมบูรณ์ เลยทัง, ๆ ที เวลาได้ผ่าน มาแล้วเกือบ 80 ปี

ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ใ น เ ชิ ง ป ั ญ ห า ที พ บ ใ น สั ง ค ม ประชาธิปไตยแบบไทยปจั จุบนั ก็คอื การทีประชาชนต่างก็ ใช้สทิ ธิของตนในการเลือกผูแ้ ทนเข้าไปในสภาผูแ้ ทนราษฎร แต่ เ มือพรรคทีได้ร ับ เสีย งข้า งมากไม่ เ ป็ น ทีชอบใจของ ตนเองแล้ว ประชาชนกลับไม่ยอมรับกติกาประชาธิปไตย แต่ใ ช้การเมืองนอกสภาเพือกดดันให้ฝ่ายตรงข้ามลาออก หรือยุบสภา แต่ปญั หาใหญ่ของเรืองนี,กค็ อื ขัว, การเมืองที ตรงกัน ข้า มนี, ต่ า งมีม วลชนสนั บ สนุ น อยู่เ ป็ น จํา นวนมาก เช่นกัน เมือต่างฝา่ ยต่างอ้างเหตุผลว่าฝ่ายตนเองดีฝ่ายตรง ข้ามผิดและไม่มกี ารประนีประนอมกัน อีกทัง, ยังมีการระดม มวลชนสนับสนุ นกันทัง, 2 ฝ่ายกลายเป็ นปรากฏการณ์ เสือ, เหลือง และเสือ, แดงขึน, จนกระทังบานปลายพัฒนาเป็ นเสือ, ดํา เสื,อ ชมพู และเสื,อ หลากสี เมือมีก ารประทะกัน ของผู้ ชุมนุ ม 2 ฝ่าย หรือกับเจ้าหน้าทีรัฐก็มกั จะมีการใช้กําลังจน มีการบาดเจ็บล้มตายไป เป็ นจํานวนมาก นอกจากนี,เมือ พิจารณาถึงการเมืองในระดับท้องถินก็จะพบว่า มีการผูก โยงอยู่ ก ับ การเมือ งระดับ ชาติ ได้แ ก่ ผู้ใ หญ่ บ้า น กํ า นั น นายก อบต. นายก อบจ. นายกเทศมนตรี เป็ นต้น เหล่านี, ล้ว นเป็ นฐานคะแนนเสีย งอย่ างดีของพรรคการเมือ ง แต่ ั หาใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ที การเชื อมโยงกั น กั บ การเมื อ ง ปญ ระดับชาติ แต่ปญั หาอยู่ที เมือมีการแข่งขันกันแล้ว ความ รุนแรงทีเกิดขึน, ก็คอื เกิดเหตุการณ์ลอบสังหารคู่แข่งขันของ ตัวเองเช่นเดียวกับการเมืองระดับชาติดว้ ย และยังมีทที ่าว่า ความรุนแรงจะมากขึน, เรือยๆ ในทัวประเทศ ข้อเท็จจริงเหล่านี,สะท้อนให้เกิดคําถามว่า ทําไม ระบอบประชาธิปไตยของประเทศตะวันตกซึงยึดถือกันว่า เป็ นสังคมอารยะนัน, จึงไม่มลี กั ษณะของความรุนแรงเหมือน ในประเทศไทย แล้วคําถามทีเกิดตามมาอีกก็คอื สังคมไทย ได้เดินตามแนวทางการพัฒนาประเทศแบบชาติตะวันตกมา โดยตลอด แต่ทาํ ไมสังคมไทยยังคงยังยําอยู่กบั ทีบางคราวก็ ก้าวหน้ า บางคราวก็ถอยหลัง เมือเทียบกับระยะเวลาที พัฒนาตัวเองในวิถที างการเมืองแบบตะวันตกมากว่า 80 ปี การเมืองไทยยังจมอยู่กบั เรืองอํานาจ ผลประโยชน์ การ แก่งแย่งแข่งขัน ความขัดแย้ง การโฆษณาชวนเชือทาง การเมือ ง การกํ า จัด คู่แ ข่ ง ทางการเมือ ง การคอรัป ชัน การเอือ, ประโยชน์ให้ธุรกิจครอบครัวหรือเครือญาติ การทํา


85

ประชานิยม การซื,อเสียง ขายเสียง ตลอดถึงการใช้สทิ ธิ เสรีภาพเพือการชุมนุ มโดยอ้างรัฐธรรมนู ญ แล้วมักจะทํา เกินเลยขอบเขตของกฎหมาย ฯลฯ ผู้วิจ ัยมีมุม มองว่า ถ้า จะให้ป ระเทศไทยพัฒนา อย่ า งยังยื น ได้ คงจะต้ อ งถึ ง เวลาของการปฏิ รู ป การ เมื อ งไทยกั น อย่ า งจริ ง จัง และปรัช ญาการเมื อ งแบบ ตะวันตกทีเราใช้กนั มากว่าร้อยปี นัน, กลับยังไม่สามารถทํา ให้สงั คมไทยเดินหน้าไปใกล้เคียงกลับคําว่า “สังคมอุดมคติ” ได้ เ ลย หรือ ว่ า เราจะเดิน ทางผิด มาตลอด ผู้ วิจ ัย จึง มี ความเห็นว่า เราควรจะหันกลับมามองภูมปิ ญั ญาของชาว ตะวัน ออกในเรืองหลัก การเมือ งการปกครองให้ช ัด เจน และแจ่ ม แจ้ง เสีย ก่ อ น โดยการศึก ษาปรัช ญาการเมือ ง ตะวัน ออกทีปรากฏในปรัช ญาอิน เดีย ปรัช ญาจีน และ พุ ท ธปรัช ญา เพือศึก ษาแง่ คิด และมุ ม มองทีจะสามารถ นํามาใช้ในการมองปญั หาของการเมืองไทย อันจะนํ าไปสู่ ความเข้าใจปญั หาอย่างรอบด้าน และการค้นพบวิถที างใน ั หาและพัฒ นาการเมือ งไทยไปสู่ค วามเป็ น การแก้ไ ขป ญ สังคมอารยะตามแบบตะวันออก กล่าวคือ การเป็ นสังคม แห่งความสุขทีแท้จริงได้ ซึงผู้วิจ ยั จะได้นําเสนอแนวคิด ทางการเมืองทีปรากฏในปรัชญาอินเดียทัง, ในสมัยโบราณ และปรัช ญาอิน เดีย ร่ ว มสมัย ปรัช ญาจีน ทัง, ในส่ว นของ ปรัชญาของท่านเหลาจื,อและขงจื,อ แนวคิดทางการเมือง ตามหลักพุท ธปรัชญา โดยการประยุ กต์ห ลัก คําสอนเพือ มองปญั หาของสังคมไทยไปตามลําดับดังต่อไปนี, ความรูท้ วไปเกี ั+ +ยวกับปรัชญาการเมือง ปรัชญาการเมือง (political philosophy) จึงนับว่า เป็ นสาขาหนึงของปรัชญาสังคม ซึงเป็ นปรัชญาประยุกต์ที นําเอาปรัชญาบริสทุ ธิมาตี ` ความผลสรุปของวิชารัฐศาสตร์ (political science) (กีรติ บุญเจือ, 2545: 237) มีขอบเขต ของการศึกษาเกียวกับการเมือง การปกครอง และรัฐ อาทิ ธรรมชาติและจุดมุง่ หมายของรัฐ สิทธิอนั ชอบธรรมทีจะ ั ปกครอง สัมพันธภาพระหว่างเสรีภาพของปจเจกชนกั บ อํานาจรัฐ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2543: 79-80) โดยปญั หา สําคัญของปรัชญาการเมือง ก็คอื “รัฐในอุดมคติ (Ideal state) ควรเป็ นอย่างไร” คําตอบทีเป็ นไปได้มอี ยู่มากมาย หลายลักษณะ และแตกต่างกันไปในแต่ละยุคแต่ละสมัย ในทางตะวันตกได้แบ่งปรัชญาการเมืองออกเป็ น หลายยุค ส่วนปรัชญาการเมืองในทางโลกตะวันออกไม่ได้

มีก ารศึก ษาแยกตัว ออกมาเป็ น ระบบเช่ น เดีย วกับ ทาง ตะวันตก เพราะปรัชญาและศาสนามักจะศึกษาร่วมกันไป เป็ น หนึ งเดีย ว ปรัช ญาไม่ ไ ด้แ ยกออกจากศาสนาอย่ า ง เด็ดขาด ฉะนัน, ปรัชญาการเมืองตะวันออกจึงมักแทรกอยู่ ในหลัก คํ า สอนของศาสนา ซึงได้ป รากฏอยู่ ใ นปรัช ญา อินเดียและศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู ปรัชญาจีนและศาสนา ขงจื,อ กับ เต๋ า และพุ ท ธปรัช ญาในพระพุ ท ธศาสนา ซึงมี รายละเอีย ดแตกต่ า งกัน ไปในแต่ ล ะยุ ค สมัย ผู้วิจ ัย จะได้ นํ าเสนอมุมมองแนวคิดปรัชญาการเมืองตะวันออกทีเป็ น ประโยชน์ต่อการมองปญั หาและการปฏิรปู การเมืองไทยเป็น ลําดับต่อไป ปฏิ รปู การเมืองไทย : มุมมองจากปรัชญาอิ นเดีย แนวคิด ปรัช ญาการเมื อ งในปรัช ญาอิ น เดีย มี ปรากฏทัง, ในส่วนของปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ คือ คัมภีร์ ภควัตคีตา พระมนูธรรมศาสตร์ และอรรถศาสตร์ของเกาฏิล ยะ และปรัชญาอินเดียร่วมสมัย คือ ปรัชญาของมหาตมา คานธี สามารถนํ า มาวิเ คราะห์แ ละตีค วามเพือการมอง ปญั หาของการเมืองไทยได้ดงั นี, 1. คัมภีร์ภควัทคีตาสนับสนุ นวิธกี ารจัดระเบียบ สัง คมโดยระบบวรรณะ มี แ นวคิ ด สํ า คั ญ ในกรณี น,ี ว่ า “มนุษย์มีหน้ าที+ที+จะต้องส่งเสริม “โลกสังเคราะห์” หรือ เสถียรภาพความเป็ นปึ กแผ่นและความก้าวหน้ าของ สังคม...มนุษย์ในฐานะที+เป็ นองค์ประกอบที+เป็ นสารัตถ สําคัญของสังคม จะต้องมีความเอาใจใส่อย่างจริงจังใน เรือ+ งเกี+ยวกับพันธกรณี ทางสังคมของตน” คัมภีร์ภควัตคีตาเป็ นคัมภีร์ททํี าหน้ าทีในการจัด ระเบีย บสัง คมอย่ า งได้ ผ ลดีเ ยียมมาตัง, แต่ ส มัย โบราณ ยาวนานมาจวบจนถึงปจั จุบนั ภายใต้รากฐานความเชือใน อภิ ป รั ช ญาเรื องพรหมผู้ ส ร้ า ง แต่ สํ า หรั บ ป จั จุ บ ั น ใน สังคมไทยซึงเป็ นสังคมพุทธ เราได้อะไรจากคําสอนนี, ผูว้ จิ ยั มองว่า สิงทีเราจะสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้กค็ อื 1.1 “มนุ ษย์มีหน้ าที+ ที+จะต้ องส่ งเสริ ม “โลก สัง เคราะห์” หรือ เสถี ย รภาพความเป็ นปึ กแผ่น และ ความก้าวหน้ าของสังคม” กล่าวคือ ทุกคนในสังคมควร ตระหนักถึงหน้าทีของตนเองว่า เราทุกคนมีส่วนรับผิดชอบ ต่อความมันคงและความก้าวหน้าของสังคมไทย เราทุกคน ไม่อาจเพิกเฉยต่ อความรับผิดชอบนี,ได้ เพราะสังคมย่อม ประกอบด้วยปจั เจกชนรวมกัน หากปจั เจกบุคคลเพิกเฉย


86

ต่ อสังคม สังคมไทยก็ไม่อ าจจะเกิด ความมันคง และเกิด ความก้าวหน้าได้ 1.2 “ความเอาใจใส่ อ ย่ า งจริ ง จัง ในเรื+ อ ง เกี+ยวกับพันธกรณี ทางสังคมของตน” ข้อนี,แสดงให้เห็น ถึงความรับผิดชอบทีมีต่อวรรณะของตนด้วยการตัง, ใจทํา หน้ า ทีของตนตามวรรณะอย่า งเต็มทีด้วยสํานึก ในหน้ า ที รับผิดชอบเป็ นสิงสําคัญ มากกว่าความเป็ นเพือนหรือความ เป็ นญาติ สิงนี,เป็ นเรืองสําคัญต่ อการปฏิรูปการเมืองไทย เป็ น อย่ า งมาก ถึ ง แม้ ว่ า สัง คมไทยจะไม่ ไ ด้ยึด ถือ ระบบ วรรณะแบบสั ง คมอิ น เดี ย แต่ ก็ เ ป็ นสิ งที ให้ แ ง่ คิ ด ต่ อ สังคมไทยได้ว่า ทําอย่างไรเราจึงจะสร้างบุคคลในสังคมที รับผิดชอบต่อหน้าทีของตนเองได้ดงั เช่นสังคมอินเดีย โดย ไม่ ต้ อ งมีอ ภิป รัช ญาเรืองพรหม หากประชาชนสํา นึ ก ใน หน้าทีของตนเองทีจะต้องสร้างความก้าวหน้าในสังคมโดย การเลือกตัง, คนดีเข้าไปเป็ นผูแ้ ทนในสภา โดยไม่เห็นแก่เงิน หรือเห็นแก่สนิ ตอบแทนเล็กน้อย ในการซื,อสิทธิขายเสี ยง ` ส่วนนักการเมืองซึงได้รบั เลือกจากประชาชนก็ทาํ หน้าทีของ ตนเองอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความสํานึกรับผิดชอบ ในหน้ าทีของตนทีจะต้องสร้างประโยชน์ สุขแก่ประชาชน เพียงเท่านี,สงั คมการเมืองไทยก็จะเจริญก้าวหน้าขึน, ได้อย่าง แน่นอน 2. “พระมนูธรรมศาสตร์บนั ทึกว่า ภาระหน้ าที+ ของกษัต ริ ย์นั นV ถูก สร้ า งขึVน เพื+ อ เป็ นผู้ป กป้ องระบบ วรรณะและระเบียบทางสังคม และมีหน้ าที+ ทาํ ให้บุคคล ในแต่ละวรรณะปฏิ บตั ิ ตามหน้ าที+ของตน” ข้อนี,สามารถ ตีความเพือการประยุกต์ใ ช้ใ นสังคมไทยได้ว่า ผู้นําสังคม โดยเฉพาะนักการเมืองผูท้ ําหน้าทีบริหารประเทศ เป็ นผู้ม ี บทบาทสําคัญมากต่อความเจริญของประเทศในทุกๆ ด้าน เพราะถ้าการเมืองไทยไม่มนคงเพี ั ยงอย่างเดียว เศรษฐกิจ สังคม และกิจการงานทุกอย่างของคนในสังคมย่อมได้รบั การกระทบกระเทือนไปทัง, หมด หากผูน้ ําสังคมตระหนักใน ความสํา คัญ ดัง กล่ า วแล้ว ตัง, ใจปฏิบ ัติห น้ า ทีของตนด้ว ย ความรั บ ผิ ด ชอบในหน้ า ที และรั บ ผิ ด ชอบต่ อความ เจริญ ก้ า วหน้ า ของประเทศ ดัง ทีเกาฏิล ยะกล่ า วไว้ ใ น อรรถศาสตร์ ว่ า “ศาสตร์ใ นการปกครองถื อ ว่ า เป็ น รากฐานของศาสตร์ทงั V ปวง และทิ ศทางแห่งพัฒนาการ ของโลกขึVน อยู่ ก ับ ศาสตร์แ ห่ ง การปกครอง” และ “กษั ต ริ ย์ ที+ ฉ ลาดสามารถทํ า ให้ ผู้ค นที+ ย ากจนและ องค์ประกอบของรัฐที+มีทุกข์กลับเป็ นสุขและรุง่ เรืองขึVน

ได้ แต่ ก ษัตริ ย์ที+ชัว+ ช้ าจะทําลายองค์ประกอบที+ มงคั ั + ง+ และภักดีแห่งอาณาจักรของตนลงอย่างแน่ นอน” 3. “คัมภี รอ์ รรถศาสตร์มีใจความสําคัญ คือ กษัตริ ยท์ รงมีอาํ นาจสูงสุดในการบริ หารราชการ ตรา กฎหมาย ตัดสิ นคดีความ และการทหาร มีเป้ าหมายใน การปกครองที+ สํ า คัญ คื อ การใช้ อํ า นาจสู ง สุ ด ของ กษัตริ ยเ์ พื+อความผาสุกและสวัสดิ ภาพของประชาชน” คัมภีรอ์ รรถศาสตร์ของเกาฏิลยะได้กล่าวถึงอํานาจปกครอง ของกษัตริยว์ ่ามีอํานาจสูงสุด แต่อํานาจสูงสุดนัน, ต้องใช้ไป เพือความผาสุกและสวัสดิภาพของประชาชนเท่านัน, กรณีน,ี เทียบเคียงได้กบั ผู้นําสังคมของไทย กล่าวคือ ผู้นําทุกยุค ทุกสมัยของไทยล้วนแต่มอี ํานาจในบ้านเมืองมากมายแทบ ทัง, สิน, แต่น่าคิดว่า อํานาจนัน, นักการเมืองไทยนําไปใช้เพือ อะไร เป็ นไปเพือความผาสุกและสวัสดิภาพของประชาชน จริงๆ หรือไม่ 4. คัมภีร์อรรถศาสตร์กล่าวว่า “ผู้ปกครองที+ ดี ต้องมีคณ ุ สมบัติอย่างน้ อย 2 ประการ คือ 1. มีความรู้ ในศาสตร์ทังV ปวง (ปรัช ญา) เพื+ อ ที+ จ ะสามารถมี ก าร พิ นิจพิ จารณาการลงโทษที+สมควรได้ 2. ความสามารถ ในการควบคุม กิ เ ลสตัณ หาของตนเอง ซึ+ ง อาจเรี ย ก รวมๆ ว่า ความเขลา อันได้แก่ ความโลภและความ โกรธ” ข้อ นี, บ อกเราถึง คุ ณ สมบัติ ข องผู้ ป กครองทีดีว่ า จะต้องอย่างน้อย 2 ประการ คือ มีความรู้และมีวุฒภิ าวะ ทางอารมณ์สามารถควบคุมอารมณ์ได้และมีปญั ญาทีรูเ้ ท่า ทันอํานาจของกิเลสได้ดว้ ย จะเห็นได้ว่า เรืองวุฒภิ าวะทาง อารมณ์และปญั ญาเป็ นสิงสําคัญมาก ความรูเ้ ป็ นสิงทีพอจะ วัดได้ แต่ วุฒิภาวะทางอารมณ์ แ ละปญั ญาเป็ น สิงทีวัดได้ ยาก ดังจะเห็นได้ในสภาผู้แทนราษฎรของไทยทียังมีข่าว ปรากฏบ่อยครัง, ที ส.ส.ใช้วาจาไม่สุภาพ ด่าทอ พูดเสียดสี กัน ตลอดถึงการท้าตีทา้ ต่อยกันกลางสภา จนประธานสภา ต้องเชิญออกนอกห้องประชุ ม และทียิงไปกว่ านัน, คือ ใน ประเด็นของการมีปญั ญารูเ้ ท่าทันกิเลส เช่น ความโลภ ของ ตนเองได้นนั , ยังไม่เคยมีรฐั บาลไหนทีไม่มขี ่าวเรืองของการ ทุจริตคอร์รปั ชันเลย และอีกประเด็นหนึงทีควรพิจารณาก็ คือ กรณีทผูี ้ปกครองควรมีความรู้ในทุกศาสตร์ (ปรัชญา) แม้อรรถศาสตร์จะต้องการให้ผูป้ กครองมีความรู้ทุกศาสตร์ เพือจะได้มคี วามรูใ้ นการลงโทษ แต่ในปจั จุบนั หน้าทีนี,เรามี สถาบันตุ ลาการ คือ ศาลสถิตยุติธรรม เป็ นหน่ วยงานทํา หน้าทีนี,แล้ว อย่างไรก็ตามผูป้ กครองก็ยงั จําเป็ นทีจะต้องมี


87

ความรู้ อ ย่ า งแตกฉานและรอบด้ า น ดัง จะเห็ น ได้ จ าก ประวัติศาสตร์การเมืองไทยทีผ่านมา ผูน้ ํ าของไทยในอดีต บางคนมีความสามารถในเชิงการปกครอง แต่อาจจะขาด ความรูใ้ นด้านเศรษฐกิจ จึงทําให้ประเทศไม่เจริญก้าวหน้ า เท่าทีควร แต่บางยุคผูน้ ํามีความสามารถทางเศรษฐกิจเป็ น อย่ า งมาก อาจมองการบริห ารประเทศเหมือ นกับ การ บริหารธุรกิจ แต่กอ็ าจจะไม่มคี วามสามารถเชิงการปกครอง พอ หรือ อาจจะมีขอ้ บกพร่องในเรืองของการขาดจริยธรรม เป็ นต้น อาจจะนํ าพาประเทศไปสู่ความมังคังอย่างรวดเร็ว แต่กอ็ าจจะขาดความยังยืนเพราะ ประเทศไม่อาจจะมันคง อยู่ได้เพราะความมังคังเพียงอย่างเดียว จากระดับผูน้ ํามอง ภาพลงมาถึงระดับรัฐมนตรีกเ็ ป็ นทีน่ าสังเกตมากว่าการจัด วางตัว รัฐ มนตรีว่ า การและรัฐ มนตรีช่ ว ยว่ า การในแต่ ล ะ กระทรวงไม่ได้เป็ นไปตามความรูค้ วามสามารถ แต่เป็ นไป ตามการแบ่ ง โควตา การแบ่ ง ป นั ผลประโยชน์ ข องแต่ ล ะ พรรคการเมือ ง บุค คลทีเป็ น รัฐมนตรีก ระทรวงสํา คัญ คือ บุคคลทีอยู่ใ นพรรคขนาดใหญ่ ใ นพรรคร่ว มรัฐบาลเพราะ เกียวข้อ งกับ อํา นาจและผลประโยชน์ ม หาศาล รัฐ มนตรี ไม่ได้เป็ นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถในกิจการกระทรวงนัน, แต่ อย่ า งใด รัฐ มนตรีเ ป็ น แต่ เ พีย งผู้ ตัด สิน ใจตามทีคณะที ปรึกษาเสนอมา จะเห็นได้ว่า มีเพียงกลุ่มคนเพียงไม่กคนที ี วนเวียนเป็ นเจ้ากระทรวงต่างๆ ของไทยในแต่ละยุค บาง คราวนายแพทย์กลับได้ทําหน้ า ทีดูแลด้า นเศรษฐกิจ ของ ประเทศ แทนที จะเป็ น ด้ า นสาธารณสุ ข เป็ นต้ น เมื อ การเมืองยังเกียวข้องอยู่ดว้ ยอํานาจและผลประโยชน์เช่นนี, จึงเป็ นเหตุให้การเมืองและสังคมไทยไม่กา้ วหน้า 5. “เมื+อกษัตริ ย์มีความเกษมสําราญ ความ เป็ นอยู่ ที+ ดี แ ละความมัง+ คัง+ ของพระองค์ก็จ ะทํ า ให้ ประชาชนพอใจ กษั ต ริ ย์ มี ล ั ก ษณะเป็ นอย่ า งไร ประชาชนของพระองค์ก็จ ะมี ล ัก ษณะเป็ นอย่ า งนั Vน เพราะความเจริ ญ รุ่ง เรือ งหรือ ความเสื+ อ มโทรมของ ประชาชนย่ อ มขึVนอยู่ก ับ กษัตริ ย์ กล่ าวคื อ กษัตริ ย์มี ฐานะเป็ นผลรวมของประชาชน” จากคํากล่าวนี,ให้แง่ คิ ด เชิ ง การปกครองว่ า ผู้ นํ า มี ฐ านะเป็ นผลรวมของ ประชาชน เป็ นสิงทีสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของผูน้ ํา กับประชาชนว่า หากผูน้ ําทีมีความเห็นเหมือนเกาฏิลยะทีมี ความพยายามให้ผลประโยชน์ของผู้นําและของประชาชน เป็ น อัน หนึ งอัน เดีย วกัน จนไม่ อ าจแยกชีวิต ส่ว นตัว ของ กษัต ริย์อ อกจากหน้ า ทีสาธารณะของผู้นํ า ได้แ ล้ว ความ

ผาสุกของประชาชนจะมีมากขึน, อย่างแน่ นอน ผู้วจิ ยั ได้แง่ คิดถึงสังคมการเมืองไทยว่า ความเป็ นอยู่ของประชาชนคน ไทยทัง, ในเมืองกรุงและในชนบทมีจํานวนมากทียังลําบาก แร้นแค้น มีชวี ติ ทีต้องคอยพึงพาอาศัยรัฐบาลช่วยเหลือใน การประกอบอาชีพ อาทิ ราคาผลผลิตตกตํา เป็ นต้น จน ประชาชนต้องออกมาชุมนุ มเรียกร้องกันเป็ นระยะๆ และที สําคัญในเหตุ การณ์ ชุมนุ มของกลุ่ม นปช. เรือนหมืนเรือน แสนนัน, หลายคนทีออกมาให้สมั ภาษณ์ผ่านสือมวลชนก็ไม่ ได้มาเรียกร้องช่วย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร แต่อย่างใด แต่ เป็ นเพราะการชุมนุ มเป็ นเวทีทพวกเขาจะออกมาเรี ี ยกร้อง ให้รฐั เห็นความสําคัญในการช่วยเหลือพวกเขาบ้างเท่านัน, ไม่ใ ช่เพียงมาสวัสดีและรับปากจะช่วยตอนหาเสียงแล้วก็ เงียบหายไปหลังได้รบั เลือกตัง, ในขณะทีนักการเมืองของ ไทยไม่ มี ใ ครเลยที จะมี ฐ านะยากจน แต่ ล ะคนล้ ว นมี ทรัพ ย์ ส ิน มหาศาลเป็ น หลัก สิบ ล้ า น ร้ อ ยล้ า น พัน ล้ า น แม้ ก ระทังหมื นล้ า นก็ มี ในคราวที มี ก ารเปิ ด เผยบัญ ชี ทรัพ ย์ส ิน ของนัก การเมือ งแก่ ค ณะกรรมการป้ อ งกัน และ ปราบปรามการทุ จ ริต แห่ ง ชาติ หรื อ ป.ป.ช. และเงิ น มหาศาลเหล่านี,เป็ นทุนรอนอย่างดีทีจะนํ าไปใช้ใ นการหา เสีย งเลือกตัง, ซึงต้อ งใช้เงิน ลงทุ นมหาศาลหลายร้อยล้า น บาท ซึงเป็ นการปิ ดประตูของการเป็ นนักการเมือง หากคุณ ไม่มเี งินทุนเพียงพอ ถึงคุณจะเก่ง จะดีอย่างไรก็ตาม และ นักการเมืองนีเองทีเป็ นนายทุนถือครองทีดินรายใหญ่ จนมี การท้าทายกัน เองของนัก การเมือ งให้อ อกกฎหมายเก็บ ภาษีทดิี นทีไม่ได้ทําประโยชน์ให้แพงกว่าปกติ จนเป็ นข่าว ในสือมวลชนอยู่พกั หนึง แต่สุดท้ายข่าวสารก็เงียบหายไป ขณะทีนักปกครองมีชวี ิตอยู่อย่างหรูหรา มีอํานาจวาสนา บารมีคบั แผ่นดิน แต่ประชาชนหลายล้านคนยังอยู่กนั แบบ “ปากกัดตีนถีบ” หาเช้ากินคํา หรือ หลังสูฟ้ ้ าหน้าสูด้ นิ คอย ลุน้ กับราคาผลผลิตว่าจะตกตําหรือไม่ คนชราจํานวนมากมี รายได้จากแค่เบี,ยยังชีพ 500 บาทต่อเดือน และแรงงาน ไทยยังต้องเลี,ยงครอบครัวจากค่าจ้างร้อยกว่าบาทต่ อวัน ฉะนัน, ขณะทีประชาชนยัง ยากจนอยู่ผู้นํ าก็ค วรสํานึ ก ใน หน้าทีของตน ไม่คดิ แต่จะกอบโกยผลประโยชน์เข้าสู่ตนเอง และพรรคการเมืองของตนเท่านัน, เพราะประชาชนจํานวน มากยังคอยความช่วยเหลือจากเหล่านักการเมืองอยู่ 6. หลักการสัตยาเคราะห์ของมหาตมา คานธี ที กล่าวว่า เป็ นหลักการที+จะทําลายล้างกฎที+มนุษย์หรือรัฐ สร้า งขึVน ทุ ก อย่ า ง ถ้ า หากขัด กับ กฎของพระเจ้ า (คื อ


88

ความจริ ง ) เป็ น สิงทีให้ แ ง่ คิด เชิง การปกครองว่ า การ บัญญัติกฎหมาย หรือ กฎเกณฑ์ใดๆ ควรจะต้องคํานึงถึง ความจริ ง คื อ ความเป็ น ธรรมเป็ นหลัก ไม่ ค วรสร้ า ง กฎเกณฑ์เพือช่วยพวกตัวเอง หรือ ทําร้ายผูอ้ นื “เป็ นหลักการที+ ไม่ใช้ ความรุนแรงทังV ปวง” เป็ นสิงทีน่ า นํ า มาพิจ ารณามากเพราะ หลักการเรือง Non-Violence คือ อหิงสา ไม่เบียดเบียนกัน ไม่ใ ช้ความรุนแรง นัน, ถูก นํามาใช้ในเมืองไทยในบริบททีต่างกันและรูปแบบทีต่างกัน ด้วย และสุดท้ายก็นําไปสู่ความรุนแรง การไม่ใ ช้ความ รุนแรงเป็ นสิงทีดี น่ าสรรเสริญ แต่เราจะมีวธิ กี ารอย่างไรที จะนํามาใช้ให้เกิดผลจริง ในสังคมประชาธิปไตยแบบไทย ที ไม่มใี ครฟงั ใคร “จุดหมายของสัตยาเคราะห์คือ การตกลงกัน การประนี ประนอมกัน และการปรองดองกันโดยยึดเอา ความถูกต้อง ความสัตย์จริ งเป็ นที+ ตงั V ไม่มีการบังคับ ข่มขู่ กดขี+ค่กู รณี ไม่มีการได้เปรียบเสียเปรียบต่อกัน “ ข้อนี,เป็ นสิงทีควรสร้างให้เกิดมีขน,ึ ในสังคมไทย โดยเฉพาะ การยึดเอาความสัตย์จริงเป็ นทีตัง, ทีผ่านมาการเมืองอยู่กบั สงครามสือ มีการปล่อยข่าวโจมตีกนั ไปมา และสือก็เป็ น เพียงผู้สอข่ ื าว (ลือ) เท่านัน, ไม่มบี ทบาทในการกลันกรอง เพราะหวังผลเชิงธุรกิจ และวิกฤติการเมืองไทยก็เริมมาจาก การไม่ยึดความสัตย์เป็ นทีตัง, กล่าวคือ มีการเสพสือด้าน เดี ย ว กลุ่ ม เสื,อ เหลื อ งและเสื,อ แดงก็ ร ับ ความจริ ง ของ สถานีโทรทัศน์ฝ่ายตนเองนําเสนอเท่านัน, ซึงมักจะเป็ นไป เพือโจมตีแ ละปลุ ก ระดม จนในทีสุ ด บานปลายเป็ น การ ชุมนุมและเกิดการสูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ การปฏิรูปการ เมืองไทยต้องให้ความสําคัญกับเรืองนี,ดว้ ย “เหตุจูงใจของสัตยาเคราะห์ คือ ความรักที+ มี ต่อคนทุกคน ตลอดกาลทุกเมื+อ” สิงนี,กําลังเป็ นสิงทีขาด แคลนในสังคมไทยทีกําลังแบ่งแยกเป็ นฝกั เป็ นฝ่าย เพราะ เราขาดความรัก ต่ อ กัน แต่ เ รามองกัน เป็ น ศัต รู ตั ง, แต่ ระดับบนจนถึงระดับล่าง ในสภาผู้แทนราษฎรเองก็มีฝ่าย ค้านและฝา่ ยรัฐบาล แต่กม็ ไี ว้เพือตรวจสอบการใช้อาํ นาจรัฐ เท่านัน, แต่ในปจั จุบนั กลับมีสภาพเป็ นดังทีรายการโทรทัศน์ ได้ลอ้ เลียนไว้ในรายการ “สภาสมานฉันท์ ซึงประกอบด้วย ฝ่ายแค้น และฝ่ายรัฐบวม” การยึดมันถือมันในฝกั ฝ่ายย่อม ส่งผลต่อเนืองไปดังที กีรติ บุญเจือ (2545) กล่าวว่า “ความยึดมันถือมัน เป็ นเหตุให้เกิด การแบ่งแยก

การแบ่งแยก การแข่งขัน ความไม่ไว้ใจกัน

เป็ นเหตุให้เกิด การแข่งขัน เป็ นเหตุให้เกิด ความไม่ไว้ใจกัน เป็ นเหตุให้เกิด การทําลายกัน”

“คานธี ไ ด้ ส ร้ า งวัต ถุป ระสงค์ สํา คัญ ๆ ของ สัตยาเคราะห์ไว้ 2 ประการคือ การเรียนรู้ซึ+งวิ ธีรบั ใช้ มาตุภมู ิ และการรับใช้ มาตุภมู ิ ” สําหรับข้อนี,ให้ขอ้ คิดกับ การพัฒนาประเทศไทยของเราว่า เหตุการณ์ความรุนแรงใน บ้านเมืองของเรานัน, เกิดขึน, โดยปราศจากสํานึกรักในความ เป็ นชาติไทย กระทําการใดๆ ไปเพียงเพือจะเอาชนะคะคาน กันและต้องการจะเป็ นผูถ้ อื อํานาจรัฐไว้เท่านัน, อีก แง่ ห นึ งกระทรวงวัฒ นธรรมเป็ น กระทรวงที สํา คัญ ในการดํา รงเอกลัก ษณ์ ค วามเป็ น คนไทย แต่ ก ลับ ได้รบั งบประมาณในการดําเนินการเพียงน้อยนิด เมือเทียบ กับกระทรวงใหญ่ๆ ประเทศไทยถูกกําหนดนโยบายให้เป็ น ระบบเสรีทุนนิยม การหลากเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ จนทําให้เกิดกระแสนิยมวัฒนธรรมต่ างชาติ เช่น ค่านิยม ตะวันตก ค่านิยมญีปุ่น ค่านิยมเกาหลี เป็ นต้น เกิดธุรกิจ อาหารต่างชาติในประเทศไทยหลากหลาย แต่ค่านิยมใน ความเป็ นไทยกลับลดลงอยู่ในวงทีจํากัดเท่านัน, การปฏิรู ป การเมื อ งไทยควรจะหัน กลับ มาให้ ความสํ า คัญ ในจุ ด นี, ใ ห้ ม ากในการปลู ก ฝ งั จิ ต สํ า นึ ก ใน ประวัติศาสตร์และความเป็ นชาติไทย ซึงบูรพมหากษัต ริ ยาธิราชเจ้าทุกพระองค์และบรรพบุรุษของไทยได้ร่วมกัน ปกป กั รัก ษามาด้ว ยชีวิต และเลือ ดเนื, อ หากนัก การเมือ ง สามารถปฏิรู ป จิต สํา นึ ก ของคนในชาติไ ด้ ก็จ ะเกิด พลัง มหาศาลในการร่วมมือกันพัฒนาชาติไทย หัวใจสําคัญของปรัชญาการเมืองของคานธี ก็ คือ การรูจ้ กั ประมาณตน (self-sufficiency) ไม่มีการชิ ง ดี ชิ ง เด่ น กัน (non-competition) การกระจายความ ยุติธรรม (equitable) และการกระจายผลประโยชน์ ให้ ทัว+ ไปในทุ กกลุ่ม สัง คม (decentralized production) สําหรับประเด็นนี,เป็ นหลักการทัวไปทีนักการเมืองไทยควร ยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิ นันคือ 1. การรู้จกั ประมาณตน ทัง, ประมาณตนในเรือง ส่วนตัว และการประมาณตนในระดับประเทศ กล่าวคือ ใน ระดับบุคคลนัน, นักการเมืองต้องไม่ทําตัวหรูหราฟุ่มเฟื อย ในขณะทีประชาชนยากจน และในระดับ ประเทศต้ อ ง ประมาณตนในความเป็ นไทย หรื อ ทุ น ทางสั ง คม


89

วัฒนธรรม และทรัพยากร โดยไม่เห็นแก่เงินจนลืมความ เป็ น ไทย ทุ น ทางสัง คมวัฒ นธรรม สุ ข ภาพชุ ม ชุ น และ สิงแวดล้อม ดังเช่นการเชิญชวนนักลงทุนต่างชาติมาลงทุน ในกิจการทีส่งผลกระทบต่อชุมชนและสิงแวดล้อม และใน การพัฒนาประเทศทีมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมโดยละเลยการ พัฒนาภาคเกษตรกรรมซึงเป็ นอาชีพหลัก ของคนในชาติ ทัง, หมดนี,จะเกิดขึน, ได้ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทีรัฐจะนํามาใช้อย่างจริงจัง 2. ไม่ชิงดีชิงเด่นกัน ในเรืองนี,เป็ นไปได้ยากใน สัง คมไทย หากการเมื อ งยั ง เกี ยวข้ อ งกับ อํ า นาจและ ผลประโยชน์ มหาศาลอยู่ แต่ หากเราสามารถทีจะปฏิรูป วงการการเมือ งไทยในรู ป แบบทีคณะกรรมการปฏิรู ป ประเทศซึงมีนายอานันท์ ปนั ยารชุนเป็ นประธานได้วางแนว ทางการประชุมรับฟงั ความคิดเห็นจากภาคประชาชนครัง, แรกเมือเดือนตุลาคม 2553 ในชืองานว่า “ลดอํานาจรัฐ ขจัดความเหลือมลํ,า” หากนักการเมืองมีอํานาจหน้าทีใน ด้านนโยบายเท่านัน, ไม่มสี ว่ นในอํานาจด้านการปฏิบตั ิ หรือ เรืองงบประมาณแล้ว ก็คงจะมีทางเป็ นไปได้ทีจะไม่มกี าร แก่ ง แย่ ง ชิง ดี เพราะคนทีจะมาเป็ น นั ก การเมือ งจะไม่ มี อํานาจมากมายมหาศาลเช่นอดีต และไม่มผี ลประโยชน์ใดๆ ให้นักการเมืองมากอบโกย ฉะนัน, บุคคลทีจะยังอาสามา เป็ นนักการเมือง ก็จะเหลือเพียงแต่บุคคลทีเสียสละตนเอง เพือบ้านเมืองอย่างแท้จริงเท่านัน, เมือนัน, การเมืองไทยจึง จะมีโอกาสได้เข้าใกล้ความเป็ นสังคมอุดมคติได้ 3. การกระจายความยุติธรรม ข้อนี,ขอตีความ เป็ นความเสมอภาคกันของคนในสังคม ในด้านต่างๆ หาก นักการเมืองสามารถทีจะกระจายสิทธิ โอกาส สวัสดิการ สังคม ฯลฯ ให้กบั คนในสังคมทุกภาคส่วนได้อย่างทัวถึง ก็ จะเหตุ ใ ห้เ กิด ความผาสุก แก่ ป ระชาชนได้เ ป็ น อย่ า งมาก กรณีน,ีทําให้เกิดคําถามว่า ทําไมกรุงเทพ หรือ สังคมเมือง จึง ได้ ร ับ สิท ธิ หรือ สวัส ดิก ารดีก ว่ า ดีก ว่ า ชนบท ทํ า ไม โครงการขนาดใหญ่มูลค่าหลายร้อย หลายพัน หลายหมืน ล้านจึงทุ่มให้แต่กบั กรุงเทพมหานคร ทัง, ๆ ทีประชาชนทุก คนก็เสียภาษีเหมือนกัน หรือ การรักษาพยาบาลทีดีทําไม จึ ง มี แ ต่ ใ นเมื อ งใหญ่ เ ท่ า นั ,น หรื อ การบริ ก ารสิ ท ธิ ประกันสังคมของโรงพยาบาล จึงด้อยกว่า การรักษาโดยใช้ เงินส่วนตัว เป็ นต้น หากนักการเมืองสามารถกระจายความ เจริญออกไปให้ทวถึ ั งได้โดยไม่กระจุกตัวแต่เฉพาะทีได้กจ็ ะ เป็ นประโยชน์กบั ประชาชนอย่างแท้จริง

4. การกระจายผลประโยชน์ ให้ ทัว+ ไปในทุก กลุ่ ม สัง คม เรืองนี, ก็ส ืบ เนืองจากข้อ 3 กล่ า วคือ การ กระจายความเจริญย่อมควบคู่ไปกับเศรษฐกิจ ปญั หาสังคม หลายอย่างเราได้ศกึ ษาค้นคว้ากันมานานและพบว่า เกิดมา จากการทีความเจริญทางเศรษฐกิจไม่กระจายตัวแต่กลับ กระจุกตัวแต่ อ ยู่ใ นเมืองขนาดใหญ่ ทําให้ผู้คนทิ,งถินฐาน บ้านเกิดเพือเข้ามางานทําในเมือง เป็ นเหตุของการย้ายถิน ฐาน และเหลือทิ,งไว้แต่เด็กและคนชรา เกิดผลกระทบต่ อ ปญั หาครอบครัว และปญั หาสังคมตามลําดับ เป็ นไปได้ไหม ว่า รัฐจะพยายามกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจออกไปสู่ ชนบท เป็ น ไปได้ไหมว่า คนต่ า งจัง หวัดจะได้มีโ อกาสใช้ รถไฟฟ้าความเร็วสูงในราคาประหยัด และเป็ นไปได้ไหมว่า คนชนบทจะไม่ตอ้ งทิง, ถินฐานบ้านเกิดมาหางานทํา และอยู่ กัน อย่ า งพร้ อ มหน้ า พร้ อ มตาของพ่ อ แม่ ปู่ ย่ า ตายาย ลูก หลาน ผู้วิจยั มองว่า ทัง, หมดนี, จะเกิด ขึ,น ภายใต้ความ จริงจังและตัง, ใจทีแก้ปญั หาสังคมของนักการเมือง ไม่มอี ะไร ทีเราจะทําไม่ได้หากเรามีความมุ่งมันตัง, ใจ อย่างเช่นกรณี ของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ซึงคิดจะขุด ท่อผันนํ, า จากแม่น,ํ าโขงเพือนํ ามาใช้ใ นการเกษตรในเขต ภาคอีสาน มีหลายคนทีเยาะเย้ยและถากถางท่าน “ว่าแค่คดิ ก็บ้าแล้ว” กล่าวหาว่าเป็ นไปไม่ได้ มีนักวิชาการออกมาให้ ความเห็น ว่ า เป็ น ไปไม่ ไ ด้น,ํ า คงจะเน่ า ก่ อ นทีส่ ง ตามท่ อ มาถึ ง ปลายทางนั บ ร้ อ ยๆ กิ โ ลเมตร แต่ น่ า เสีย ดายที โครงการนี, ย ัง ไม่ สํา เร็จ ผู้ ทีคิด ริเ ริมโครงการก็พ้ น จาก ตําแหน่งไปก่อน สิงนี,ไม่ได้สาํ คัญทีทําได้ หรือ ทําไม่ได้ แต่ มันสําคัญตรงทีได้เริมมีคนคิดทีจะทําแล้ว ปฏิ รปู การเมืองไทย : มุมมองจากปรัชญาจีน 1.“คว า ม ยุ่ ง ย า ก ที+ เกิ ด ขึV น ใ นสั ง ค ม เป็ น เพราะว่ า คนแต่ ล ะคนไม่ ทํ า หน้ าที+ ข องตนเองให้ สมบูรณ์ เช่ น บิ ดามารดาไม่เลีVยงดูบุตรธิ ดาให้ดี บุตร ธิ ด าก็ไ ม่ มี ค วามกตัญ sูก ตเวที ต่ อ บิ ด ามารดา สามี ภรรยาต่างก็นอกใจกัน เป็ นต้น ผลคือความเดือดร้อน จึงมาตกแก่สงั คม” ขงจือ, ให้ความสําคัญปจั เจกบุคคลมาก เพราะป จั เจกบุ ค คลคือ องค์ป ระกอบของครอบครัว และ ครอบครัวเป็ นหน่ วยย่อยของสังคม สังคมจะดีหรือไม่ดจี ึง ขึ, น อยู่ ก ั บ ป จั เจกบุ ค คล นั นเอง ดั ง ที ขงจื, อ กล่ า วว่ า “คุณ ธรรมเป็ นแก่ น และเป็ นจุ ด หมายปลายทางของ ปรั ช ญ า ขง จืV อ คุ ณ ธรรมจ ะช่ ว ยบั น ด า ลใ ห้ ค น


90

ครอบครัว สังคม ประเทศ ตลอดถึงโลก ประสบสันติ สุ ข ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง แต่ โ ลกจะมี คุณ ธรรมได้ ก็เ พราะ ประเทศมีคุณธรรม ประเทศจะมีคุณธรรมได้ก็เพราะ สัง คมมี คุ ณ ธรรม สัง คมจะมี คุ ณ ธรรมได้ ก็ เ พราะ ครอบครัวมีคุณธรรม และครอบครัวจะมีคุณธรรมได้ คนหรือสมาชิ กในครอบครัวมีคุณธรรม ฉะนันV บุคคล แต่ละคนจึงเป็ นรากเหง้าแห่งความเจริ ญทังV ปวง” และ ในทางตรงกันข้า มขงจื,อกล่าวว่า “หากแต่ ล ะคนไม่ มี คุณ ธรรมก็จ ะกลายเป็ นรากเหง้ า แห่ ง ความเลวร้า ย ทังV หลายแผ่ก ระจายออกไปอย่ า งกว้ า งขวาง” ดัง นั น, หลัก การพัฒ นาของขงจื,อ จึง เริมต้น ทีการพัฒ นาคนก่ อ น ดังทีขงจื,อกล่าวว่า “เน้ นที+ การพัฒนาคนเป็ นลําดับแรก จะปล่อยให้ดีขึVนเองนันV ไม่ได้ จะต้ องได้รบั การศึกษา อบรม การศึกษาช่ วยให้คนฉลาด ส่วนการอบรมนันV จะช่วยให้เป็ นคนดี หากสามารถสร้างคนดีให้ฉลาดได้ แล้ ว ก็เ ท่ า กับ ตัด ปั ญ หาความเดื อ ดร้อ นทังV หลายให้ หมดสิV นไปได้” ประเด็น นี, เ ป็ น เรืองสํา คัญ ทีผู้วิจ ัย คิด ว่ า เราได้ ศึกษาแนวทางการพัฒนาประเทศกันมานานแล้ว โดยจะดู ได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตงั , แต่ฉบับที หนึงจนถึงปจั จุบนั จะพบว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติซงในระยะแรกเป็ ึ นเรืองของการพัฒนาโครงสร้าง พื,นฐานส่วนการพัฒนาสังคมเป็ นแต่ เพียงกล่า วถึงในเชิง นโยบายเท่ า นั ,น ยั ง ไม่ มี แ ผนปฏิ บ ั ติ ก ารอย่ า งชั ด เจน จนกระทังปจั จุบนั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงระบุว่า เน้ นทีการพัฒนาคนเป็ นหลัก และมีแผนปฏิบตั ิ การอย่างชัดเจน แต่ จ นถึ ง ป จั จุ บ ัน นี, ก็ย ัง ไม่ มีอ ะไรปรากฏอย่ า ง ชัดเจนว่า รัฐได้พยายามทีจะพัฒนาคนเป็ นหลักมากไปกว่า การพัฒ นาเศรษฐกิจ ดัง ในอดีต หากเรามัว แต่ ดีใ จไปกับ ความเจริญ ของเศรษฐกิจ โดยมองข้า มการพัฒ นาความ เจริญของจิตใจคนในสังคมแล้ว จะมีประโยชน์อะไรกับตึก รามบ้ า นช่ อ งที โออ่ า มี แ สงสีต ระการตาในยามคํ าคื น ท่ามกลางความเสือมโทรมของจิตใจผู้คนทีมีแต่ความเห็น แก่ตวั อาชญากร และปญั หาสังคม ในทางกลับกันหากเรา ลดความเจริญก้าวหน้ าทางเศรษฐกิจลงบ้างในระดับปาน กลาง แล้วเพิมความเจริญทางจิตใจให้ผูค้ นในสังคม ผูว้ จิ ยั เห็น ว่ า คนในสัง คมคงจะมีค วามสุข มากกว่ าทีเป็ น อยู่ใ น ปจั จุบนั เป็ นแน่

2. ขงจือ, ถือว่า ทุกคนทัวโลกเป็ + นพี+น้องกัน ไม่ มี ก ารแบ่ ง เป็ นชาติ เป็ นเผ่า เป็ นพวก หรื อ แบ่ ง เป็ น ประเทศ เป็ นแคว้น เป็ นเมืองอย่างที+เป็ นอยู่ในปั จจุบนั เพราะความยึดมันถื + อมันในการแบ่ + งแยกจะเป็ นเหตุให้ เกิ ดความแตกสามัคคี เกิ ดการแก่ ง แย่ง เพื+อ ตัวและ พวกพ้อง อี กทังV เบียดเบียนกันเพราะเห็นเป็ นฝ่ ายอื+น จึงทําให้ผ้คู นไม่สามารถพบกับสันติ สุขอย่างแท้จริ งได้ ขงจืV อ จึ ง เสนอให้ ทุ ก คนสั ง กั ด ชาติ เดี ย วกั น คื อ มนุษยชาติ เป็ นพลเมืองของประเทศเดียวกัน คือ เป็ น พลโลก ทุกคนเสมอภาคเท่าเที ยมกัน ประเด็นนี,เป็ นสิงที น่าสรรเสริญยิงกับแนวคิดเรืองสันติภาพโลกของขงจือ, แต่ สิงทีขงจือ, คิดนัน, แม้ว่าจะเป็ นไปได้ยากในทางปฏิบตั ิ เพราะ ต่างคน ต่างเผ่าพันธุ์ ต่างเชือ, ชาติ ต่างศาสนา และมีพน,ื ที ห่างไกลกัน ย่อมเป็ นการยากทีจะอยู่ร่วมชาติเดียวกัน แต่ก็ เป็ นแนวคิดเรืองสันติภาพโลกทีเกิดขึน, ในยุคโบราณทีแสดง ให้ ท ราบว่ า นั ก ปราชญ์ ตั ง, แต่ โ บราณจนถึ ง ป จั จุ บ ัน ได้ พยายามทีสร้างโลกนี,ให้มสี นั ติภาพ ความเป็ นไปได้ของแนวคิดนี,กค็ อื ในระดับโลกนัน, ต้องมีประเทศมหาอํานาจทีได้รบั การยอมรับจากทุกฝ่ายใน การเป็ นผูน้ ําโลกสูแ่ นวคิดแบบหลังนวยุค (postmodern) ใน การประสานร่วมมือกันส่งเสริมให้ทุกชาติทุกภาษาสํานึกใน ความเป็ นมนุ ษย์ สํานึกในความเป็ นพีน้องร่วมโลกทีรักสุข เกลีย ดทุ ก ข์เ หมือ นกัน และทุ ก ชาติ ใ นโลกมีเ ป้ าหมาย ร่วมกัน คือ สันติสุขของชาวโลก โดยทีทุกชาติยงั คงความ เป็ นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไว้ได้แบบพหุวฒ ั นธรรม ส่วนในระดับชาติ หากรัฐบาลสามารถรวมใจใน ความเป็ น ชาติ โ ดยไม่ แ บ่ ง แยกกัน โดยภู มิภ าค ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม อยู่ร่วมกันแบบพหุวฒ ั นธรรมให้ ความเคารพต่อกัน ไม่พยายามทําสามจังหวัดชายแดนให้ เป็ นเหมือนกรุงเทพฯ หรือ ไม่ตอ้ งทําเชียงใหม่ให้กลายเป็ น กรุงเทพฯ ก็ได้ แต่ทุกภาคสามารถพัฒนาแบบคงอัตลักษณ์ เดิมของตนไว้ได้ภายใต้ความเป็ นชาติไทย 3.“แม้ว่าจะมี การแบ่ง เป็ นชาติ เป็ นเผ่า หรือ เป็ นประเทศ เป็ นแคว้น แต่ หากได้ผ้ปู กครองที+ ดี เช่ น พระเจ้าจิ วบุ้นอ๊วง เป็ นต้ น ก็สามารถบันดาลสันติ สุข มาให้ ประชาชนได้ เ ช่ นกั น ” ขงจื, อ มี ค วามเห็ น ว่ า ผู้ป กครองทีดี เป็ นป จั จัย สําคัญ ทีจะทํา ให้เ กิดสัน ติสุข แก่ ประชาชนได้ และผูป้ กครองทีดีในทัศนะของขงจือ, นัน, ต้องมี คุณสมบัติ คือต้อง ‘ทําตัวเป็ นแบบอย่างแลตรากตรําไม่


91

ท้อ’ และ ‘จงทําโดยมิ ร้หู น่ าย” ขงจือกล่าวว่า ‘พึงทําตัว เป็ นแบบอย่างให้แก่บริ พารเป็ นอันดับต้น รู้จกั อภัยใน ลหุโทษ และรู้จกั ใช้ ปราชญ์เมธี ... ” จะเห็นได้ว่า ผู้ป กครองจํา เป็ น ต้ อ งเป็ น ผู้มีคุ ณ ธรรมจริย ธรรมสูง กว่ า ประชาชนทัวไป เพราะจะต้องเป็ นบุคคลต้นแบบให้กบั ผูใ้ ต้ ปกครองได้ การปฏิรูปการเมืองไทยหากไม่สามารถปฏิรูป จนได้นกั การเมืองทีดีและมีความเสียสละได้แล้ว ก็ไม่อาจจะ ปฏิรปู ให้สาํ เร็จได้ เพราะตราบใดทีเรายังมีระบบแบบเดิมๆ และนักการเมืองคนเดิมๆ แล้ว การเมืองไทยก็คงจะยําอยู่ กับทีไม่อาจเดินไปข้างหน้าได้ นอกจากจะได้นักการเมือง ต้นแบบแล้ว ยังต้องเป็ นคนรูจ้ กั ให้อภัย และมีคณะทํางานที เป็ นคนดีมคี วามสามารถด้วย การปฏิรปู จึงจะสําเร็จผลได้ 4. “สิ+ งใดที+ ประชาชนพอใจ เราจงพอใจ สิ+ งใด ที+ ประชาชนเกลียดชัง เราจงเกียดชัง ผู้ใดทําได้อย่างนีV ชื+อว่า เป็ นบิ ดามารดาของประชาชน” ข้อนี,ขงจื,อได้ให้ ข้อคิดแก่เราว่า ผู้ปกครองควรจะเป็ นผู้คอยร่วมทุกข์ร่ว ม สุ ข อยู่ เ คี ย งข้ า งประชาชน ไม่ ใ ช่ ป ระชาชนลํ า บากแต่ ผู้ป กครองสุข สบาย มีค วามเข้า ใจในความต้องการของ ราษฎร และตอบสนองความต้องการทีแท้จริงของประชาชน ได้ถูกต้อง แบบเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา 5. “พึงถึงพร้อมด้วยโภชนะอันอุดม ยุทธพล อันพรังพร้ + อม แลพลังศรัท ธาแห่ งประชาชนนั น+ แล” หลัก การบริห ารทีขงจื,อ แนะนํ า ก็คือ เศรษฐกิจ ทีเจริญ ดี กองทัพทีเข้มแข็ง และการสร้างศรัทธาให้แก่ประชาชน ว่า เป็ นสิงสําคัญ และขงจื,อจัดลําดับ ความสํา คัญอันดับหนึ ง ให้แก่ ลําดับที 3 คือ ศรัทธาของประชาชน หากรัฐบาลทีอยู่ โดยทีประชาชนไม่ศรัทธาแล้วก็ไม่มคี วามหมาย ฉะนัน, ข้อ นี,จงึ สัมพันธ์กบั ข้อที 3 เพราะผูป้ กครองทีมีคุณธรรม ย่อม เป็ นทีศรัทธา แต่ผปู้ กครองทีเลวประชาชนย่อมไม่ศรัทธา ขงจือ, มีชวี ติ ทีรุ่งเรืองทีสุดเมืออายุ 54 ปี เขาได้รบั แต่ ง ตัง, เป็ น รัฐ มนตรีก ระทรวงยุ ติธ รรม และเป็ น ผู้ ช่ ว ย นายกรัฐมนตรี ช่วงเวลาดังกล่าวขงจือ, ได้ใช้ตําแหน่ งหน้าที จัด การวางระเบีย บแบบแผนทัง, อบรมประชาชนให้เ ห็น คุณค่าระเบียบประเพณี ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนอยู่ดกี นิ ดี ถึงขนาดไม่มใี ครทําผิดกฎหมาย แม้จะมีของมีค่าตกกลาง ถนนก็ไม่มใี ครอยากได้ เรือนจําทีเคยมีนักโทษมากมายก็ กลับว่างเปล่า แสดงให้เห็นว่า ขงจือ, ได้บริหารภายใต้ความ มันคงของประเทศ จัดระเบียบสังคมด้วยหลักการทัง, ทาง คุณธรรมและส่งเสริมประเพณีอนั ดีงามให้ราษฎรยึดถือ ใช้

หลักเศรษฐศาสตร์เพือพัฒนาเศรษฐกิจให้ประชาชนอยู่ดกี นิ ดี ทําให้ช่วงเวลานัน, บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองทีสุด ถึงขนาดไม่ มีข โมย ซึงเข้า ใกล้ส ัง คมอุ ด มคติอ ย่ า งยิง ผู้วิจ ัย เห็น ว่ า ขงจือ, ไม่ได้เป็ นผูว้ เิ ศษ แต่น่าจะเป็ นเพราะขงจือ, ตัง, ใจทําจริง ตามอุดมการณ์ของตน สํา หรับ ประเทศไทยของเรา สัง คมอุ ด มคติ จ ะ เกิดขึน, ได้ถ้าหากเราทุกคนมีความมุ่งมันทีจะเปลียน โดย ผู้วิจ ัย มองว่ า หากนั ก การเมือ งไทยหลุ ด ออกจากวงจร อุบาทว์ทางการเมือง คือ อํานาจ ผลประโยชน์ การแก่งแย่ง ชิง ดี ก ัน ได้ แ ล้ ว สร้ า งนั ก การเมื อ งที เป็ น นั ก ปราชญ์ มี อุดมการณ์ทมัี นคงดุจดังขงจือ, มาบริหาร ไม่นานสังคมไทยก็ อาจจะได้สมั ผัสกับสังคมอุดมคติแบบขงจือ, ในอดีตก็เป็ นได้ 6. เหลาจื,อมีความคิดต่อระบอบการปกครองว่า ระบอบเสรีนิยมและธรรมชาติดที สุี ด โดยท่านกล่าวว่า “นัก ปกครองที+ ดีที+สุด คือ ผู้ที+ประชาชนรู้จกั นักปกครองที+ ดี ร องลงมา คื อ ผู้ที+ ป ระชาชนรัก และสรรเสริ ญ นั ก ปกครองที+ ดีรองลงมา คือ ผู้ที+ประชาชนเกรงกลัว นั ก ปกครองที+ เลว คือ ผู้ที+ประชาชนเกลียดชัง” เป็ นแนวคิด ทีน่ า สนใจมากทีเ ดีย ว เพราะเป็ น มุ ม มองทีต่ า งไปจาก แนวคิด ทางการปกครองทัวไป แต่ ถ้า พิจ ารณาดู แ ล้ว จะ เป็ นไปได้หรือไม่ทีจะมีผู้นํา ในลักษณะดังกล่าว ผู้วิจ ยั ขอ เปรียบเทียบกับการเมืองการปกครองของไทยดังนี, นั ก ปกครองที+ ดี ที+ สุ ด คื อ ผู้ที+ ป ระชาชนรู้จ ัก ผูว้ จิ ยั มองว่า นักปกครองทีเข้าข่ายข้อนี,คอื สถาบันกษัตริย์ ของไทยนีเอง เพราะพระมหากษัตริยท์ รงอยู่เหนือการเมือง ทรงอยู่ในฐานะเป็ นทีเคารพสักการะของประชาชนเท่านัน, พระองค์จงึ ทรงอยู่ในฐานะทีเป็ นนักปกครองทีดีทสุี ด ทรงอยู่ ในสถานะทีประชาชนรูจ้ กั ว่า พระองค์ทรงมีอยู่และทรงดูแล ทุกข์สขุ ของราษฎรอยู่ นักปกครองที+ ดีรองลงมา คือ ผู้ที+ประชาชนรัก และสรรเสริญ หมายถึงรัฐบาลทีได้มาจากการเลือกตัง, ของ ประชาชน ซึงตัง, ใจสร้างคุณงามความดีดว้ ยการบําบัดทุกข์ บํารุงสุขให้แก่ประชาชนโดยไม่เห็นแก่ตวั หรือ อาจจะเป็ น นายกรัฐมนตรีทีไม่มาจากการเลือกตัง, แต่ มีความซือสัตย์ สุจริต มีผลงานเป็ นทีปรากฏจนประชาชนยอมรับ ยกย่อง สรรเสริญ ดัง เช่ น บุ ค คลทีผู้วิจ ัย มองว่ า เข้า ข่ า ยของนั ก ปก คร อง ข้ อ นี, คื อ นา ยอ านั น ท์ ป ัน ย าร ชุ น อ ดี ต นายกรัฐ มนตรี ส องสมัย ซึ งได้ ร ับ การแต่ ง ตัง, มาดํ า รง


92

ตําแหน่งในยามวิกฤติของชาติบา้ นเมืองและก็ทําหน้าทีได้ดี จนเป็ นทียอมรับ ไม่ได้มาเป็ นเพราะความอยากเป็ น และก็ ไม่ได้พยายามยือ, เวลาของการเป็ นนายกรัฐมนตรีดว้ ย จน ต่ อมาได้รบั การไว้ว างใจเชื,อเชิญให้ดํา รงตํ าแหน่ งสําคัญ หลายครัง, อาทิ ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แห่งชาติ ประธานคณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศไทย ประธาน คณะกรรมการร่วม 4 ฝ่ายในการแก้ไขปญั หากรณีมาบตา พุด เป็ นต้น นั ก ปกครองที+ ดี ร องลงมา คื อ ผู้ที+ ป ระชาชน เกรงกลัว นักปกครองในรูปแบบนี,ผู้วิจ ัยมองว่ า สํา หรับ สังคมไทยก็คงจะหมายถึง รัฐบาลใช้กําลังในการปกครอง เช่ น รัฐ บาลทหารต่ า งๆ ในอดีต ทีผ่ า นมา เป็ น รัฐ บาลที ประชาชนเชือฟงั เพราะความเกรงกลัว นักปกครองที+ เลว คือ ผู้ที+ประชาชนเกลียดชัง นักปกครองรูปแบบนี,ได้แก่ รัฐบาลเผด็จการทีเป็ นอธรรม กล่าวคือ ใช้กาํ ลังกดขีข่มเหงประชาชนจนประชาชนเกลียด ชัง และคิดจะล้มล้างอํานาจ ในเรืองนักปกครอง 3 ประเภทดังกล่าวมาเป็ น ข้อคิดทีดีให้กบั การเมืองไทยทีเรามีสถาบันกษัตริยอ์ นั เป็ นที เคารพสักการะของประชาชนอยู่แล้ว และมีรฐั บาลทีได้รบั เลือกตัง, จากประชาชนเข้ามาแต่ยงั มีน้อยทีประชาชนรักและ สรรเสริญด้วยคุ ณงามความดี และนอกจากจะมีน้อยแล้ว นักการเมืองยังพยายามฉุ ดรัง, ประเทศให้ไปสู่รูปแบบการ ปกครองในแบบทีประชาชนเกรงกลัว และเกลีย ดชัง อยู่ บ่อยครัง, ด้วย ฉะนัน, การปฏิรูปการเมืองเราจะต้องทําให้เรา ได้ระบบการเมืองทีจะเอือ, ให้ได้รฐั บาลในแบบที 2 เท่านัน, แม้จะไม่ดที สุี ดตามแนวคิดของเหลาจือ, แต่ประเทศไทยก็ยงั มีสถาบันกษัตริยอ์ นั เป็ นดุจนักปกครองทีดีทสุี ดแล้ว เหลาจื,อ ให้คํ า แนะนํ า ว่ า รัฐ ที+ ดี ค วรปกครอง ประชาชนโดยไม่ยุ่งเกี+ ยวกับประชาชนมากนัก ปล่อย ให้ พลเมืองอยู่อย่างเสรีมีอิสรภาพ ปล่อยให้ ทุกอย่าง เป็ นไปตามธรรมชาติ และรัฐจะเข้าไปเกียวข้องเฉพาะเมือ มีการทําผิดกฎธรรมชาติเท่านัน, ในประเด็นนี,เหลาจื,อเห็น ว่า มีข้อห้ามมาก ประชาชนยิ+ งยากจน ประชาชนมี อาวุธร้ายแรงรัฐก็ปัน+ ป่ วน ประชาชนมีความฉลาดและ สามารถมากสิ+ งประดิ ษฐ์กแ็ ปลกใหม่ และพลิ กแพลง มาก กฎหมายมาก โจรผู้ร้ า ยก็ ม าก การปฏิรู ป การ เมืองไทยควรทบทวนบทบาทของ 6.1 การปกครองและกฎหมายของไทยมีลกั ษณะ

ดังกล่าวหรือไม่ ผู้วิจยั ได้ข้อคิดทีดีจากการชมภาพยนตร์ เกาหลีเรืองหนึง ว่า หากผูป้ กครองเอาใจใส่ต่อราษฎรจริงๆ กฎหมายและการปกครองย่ อ มเปลี ยนแปลงได้ เ พื อ ประโยชน์สุขของราษฎร ดังทีในภาพยนตร์แสดงถึงกรณีที ราษฎรเกิดอุทกภัยทรัพย์สนิ เสียหาย กษัตริย์กย็ กเว้นการ เก็บภาษีราษฎร และยังให้เครืองมือส่งเสริมการเกษตรแก่ ราษฎรอีก ด้ว ยเป็ น ต้น สํา หรับ ประเทศไทยสิงทีเข้า ข่า ย กรณีกเ็ ช่น นโยบายการพักหนี,เกษตรกร เป็ นต้น เรืองนี, เป็ น เรืองทีน่ า คิด ทีกฎหมายต่ า งๆ เป็ น เพีย งสิงทีมนุ ษ ย์ ร่วมกันเขียนขึ,น มา เรามีอํานาจเหนือกฎหมายในขณะที กําลังเขียน แต่เมือเขียนเสร็จแล้วมันกลับมีอทิ ธิพลเหนือเรา จนเราไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ง่ายๆ เรืองนี,นักการเมืองพึง พิจารณาว่า เราสมมติบางสิงขึน, มาเช่นกฎหมาย แล้วเราก็ หลงสมมติ ตกเป็ นทาสของสมมติ แต่ไม่ใช่ว่ากฎหมายไม่ สําคัญ กฎหมายมีความสําคัญแต่กฎหมายควรจะยืดหยุ่น โดยกระบวนการปกครองเพือประโยชน์สุขของประชาชน อย่างแท้จริง ไม่ใช่สงที ิ จะมาใช้ในการบังคับขูเ่ ข็ญโดยขัดกับ ธรรมชาติของชีวติ ราษฎร เช่น คดีทศาลตั ี ดสินชายทีขาย เก็บขยะขายแผ่นซีดีเพลงมือสองด้วยโทษละเมิดลิขสิทธิ ` สูงสุดนับแสนบาทจนเป็ นทีวิพากษ์วจิ ารณ์ของสังคม หรือ คดีทีศาลตัดสินคดีทีเกียวกับการทําให้เกิดภาวะโลกร้อ น ของราษฎรทีบุกรุกทีป่า เป็ นต้น หากมุ่งเอาผิดกับราษฎร โดยไม่มแี นวทางช่วยเหลือราษฎรย่อมเป็ นการลําบากแก่ ประชาชนอย่างยิง เพราะถ้าเขาไม่รูแ้ ละไม่จําเป็ นก็คงไม่มี ราษฎรคนใดอยากฝา่ ฝืนกฎหมาย ั ่ว น 6.2 กรณีว่า ประชาชนมีอาวุธร้ายแรงรัฐก็ปนป จนถึงปจั จุบนั เหตุการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้กย็ งั ไม่อาจจัดการได้ ตลอดถึงเหตุการณ์ระเบิดป่วน เมืองในกรุงเทพมหานครและจังหวัดอืนๆ ก็ยงั ไม่อาจแก้ไข ได้ จึงเป็ นโจทย์ใหญ่ทการเมื ี องไทยยุคใหม่จะต้องรวมใจให้ คนในชาติเป็ นหนึงเดียวให้ได้ภายใต้พหุวฒ ั นธรรม โดยไม่ ใช้กําลังทหารปราบปรามเพียงอย่างเดียว ซึงผู้นําทีจะมา ปกครองจะต้องได้รบั การยอมรับอย่างสูงจากทุกฝ่ายและ สามารถครองใจประชาชนให้หนั มาร่วมมือกับรัฐบาลในการ พัฒนาชาติได้ 7. เหลาจือ, ให้ความสําคัญกับผูน้ ํ าเป็ นอย่างมาก เพราะผูน้ ําทีดีย่อมปกครองให้ราษฎรเป็ นสุขได้ เหลาจือ, จึง กล่าวถึงคุณสมบัตขิ องผูน้ ําทีดีไว้ว่า 1. ไม่โลภ ไม่มกั ใหญ่ใฝ่สงู ในฐานะตําแหน่ งเพือ


93

ตนเอง 2. สุภาพอ่อนโยน ไม่ทาํ ตนเหนือคนอืน 3. มีสจั จะและยุตธิ รรม 4. มีความสามารถเป็ นได้ทงั , ผูน้ ําและผูต้ ามทีดีได้ 5. ไม่เห็นแก่ตวั 6. มีจติ เมตตากรุณา จากทีกล่าวมาแล้วถึงความสําคัญของผู้นํา หาก เราได้ผู้นําทีดีมคี ุณธรรมจริยธรรมย่อมจะสามารถปกครอง ให้ประชาชนเกิดผาสุกได้ การปฏิรูปการเมืองต้องปฏิรูปวิธี คัดเลือกผู้นําให้ได้ผู้นําทีมีคุณสมบัติดงั ทีเหลาจื,อแนะนํ า การปฏิรปู การเมือง หรือ ปฏิรปู ประเทศจึงจะเป็ นไปได้จริง ปฏิ รปู การเมืองไทย : มุมมองจากพุทธปรัชญา เป้ าหมายของรั ฐ ศาสตร์ หรื อ การเมื อ งการ ปกครองในพระพุทธศาสนาอยู่ทีการสร้างสภาพทีเอื,อให้ มนุษย์ในสังคมประพฤติปฏิบตั ติ น เพือบรรลุเป้าหมายของ ชีวติ ทัง, 3 ระดับได้โดยง่าย ทัง, เป้าหมายในชาติน,ี ชาติหน้า และเป้าหมายสุดท้าย คือ การพ้นทุกข์ ธรรมาธิปไตยหรือการยึดธรรมเป็ นใหญ่ เป็ นหัวใจ สําคัญของหลักรัฐศาสตร์ในพระไตรปิ ฎก ธรรมาธิปไตยไม่ ถือว่า เป็ นระบอบการปกครอง เหมือนประชาธิปไตย หรือ ระบอบคอมมิว นิ ส ต์ แต่ ร ะบอบการปกครองทุ ก ระบอบ สามารถนํ าเอาหลักธรรมาธิปไตยไปประยุกต์ใ ช้ได้ทงั , สิ,น โดยการนํ า หลัก ธรรมเป็ น เกณฑ์ ตัด สิน สู ง สุ ด คล้ า ยกับ รัฐธรรมนูญ ในมุมมองพุทธปรัชญา หลักศีลธรรมจึงเป็ นหัวใจ หรือ เป็ น แก่ น ของการปกครองประเทศ แต่ ก ารจะให้ ศีลธรรมคงอยู่ได้อย่างมันคง จําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องพัฒนา เศรษฐกิ จ ควบคู่ ก ัน ไปด้ ว ย เพราะหากเศรษฐกิ จ ไม่ ดี ประชาชนอดอยากยากจน ความอดอยากก็จะกดดันให้คน ทําบาปอกุศลด้วยการลักขโมยเพือยังชีพ เป็ นต้น เป็ นเช่นนี, แล้วศีลธรรมก็ไม่อาจตัง, อยู่ได้ การปกครองประเทศจึงต้อง พัฒนาทัง, ศีลธรรมและเศรษฐกิจควบคู่กนั ไป จะขาดสิงใดสิง หนึ งไม่ ไ ด้ เศรษฐกิจ ทีดีจ ะเป็ น พื,น ฐานให้ค นประพฤติ ศีลธรรมได้สะดวก ส่วนศีลธรรมจะช่วยควบคุมและบรรเทา กิเลสของมนุษย์ให้เบาบางลงและหมดไปในทีสุด หากผู้ปกครองเป็ นคนดี มีความสามารถ ระบอบ การปกครองแบบเผด็จ การไม่ว่าจะโดยบุคคล หรือ คณะ บุ ค คล เช่ น ระบอบราชาธิป ไตย ระบอบสัง คมนิ ย ม จะ

สามารถขับเคลือนการเปลียนแปลงพัฒนาการของสังคมได้ เร็วทีสุด แต่กม็ คี วามเสียงสูง เพราะคนเรานัน, เมือยังไม่หมด กิเ ลส การมีอํา นาจสิท ธิข` าดโดยไม่มีการถ่ ว งดุ ล ทําให้มี แนวโน้ ม การใช้อํา นาจในทางมิช อบได้สูง และหากเป็ น เช่น นัน, จะสร้างความเสีย หายแก่ส งั คมอย่า งมหาศาล ใน สภาพสัง คมป จั จุ บ ัน ระบอบประชาธิป ไตย ซึงเป็ น การ ปกครองทีใช้อํ า นาจอธิป ไตยมาจากประชาชน จึง เป็ น ระบอบการปกครองทีมีขอ้ บกพร่องน้อยกว่า แต่กม็ จี ุดอ่อน คือ หากคนหมู่มากถูกชักนํ าด้วยอํานาจหรืออิทธิพลของ บุคคล หรือ สือประชาสัมพันธ์ ทําให้เลือกคนไม่ดี คนขาด ความสามารถในการบริหารเข้ามาปกครองประเทศแล้ว ก็ สร้างความเสียหายได้มาก ไม่ว่าจะเป็ นการคอร์รปั ชัน การ ใช้ อํ า นาจรัฐ ไปในทางมิ ช อบ หรื อ การบริ ห ารที นํ า พา ประเทศไปในทางทีผิด การทําให้เกิดความเสือมโทรมทาง เศรษฐกิจและสังคม เป็ นต้น ฉะนัน, หากการปฏิรูปการเมืองไทยสามารถทีจะ ให้ความรูก้ บั ประชาชน จนสามารถทีจะสร้างกระแสร่วมกัน ของคนทัง, ชาติให้ทุกคนยึดธรรมเป็ นใหญ่ คือ นําหลักธรรม ของความถูกต้องดีงามมาเป็ นค่านิยมร่วมกันของสังคม เป็ น เครืองนํ า ทางสัง คมไปสู่ทิศ ทางทีพึง ประสงค์ซึงจะทํา ให้ นักการเมืองต้องประพฤติตนอยู่ในกรอบของหลักธรรมนัน, ด้วย เพราะมิฉะนัน, ประชาชนจะไม่ยอมรับ ซึงเมือกล่าวโดย สรุ ป แล้ ว ก็ คื อ จะต้ อ งนํ า เอาหลั ก ธรรมาธิ ป ไตยมา ประยุกต์ใช้กบั หลักประชาธิปไตยนันเอง บทสรุป : ย้อนอ่านปรัชญาการเมืองตะวันออกเพือ+ การ ปฏิ รปู การเมืองไทย ปรัชญาตะวันออกเป็ นภูมปิ ญั ญาของนักปราชญ์ ชาวตะวันออกทีได้เป็ นประดุจเพชรนํ, าเอก ทรงคุณค่าต่ อ ชีวติ จิตใจของชาวตะวันออกมาหลายพันปี แล้ว หลักคิดคํา สอนเชิ ง ปรั ช ญาที ท่ า นบู ร พปราชญ์ ท ั ง, หลายได้ ใ ห้ ไ ว้ นอกจากจะเหมาะสมกับการเมืองการปกครองในยุคนัน, ๆ แล้ว คําสอนหลายอย่างยังสามารถทีจะนํามาใช้และตีความ เพือการประยุกต์ใช้ได้ในยุคปจั จุบนั เพราะปญั หาทางการ เมืองในอดีตก็ไม่ได้แตกต่ างจากในปจั จุบนั ในอดีตผู้นํ า ทางการเมืองยังมีอทิ ธิพลต่อประชาชนมากอย่างไร ปจั จุบนั ก็ย ัง มี อิท ธิพ ลต่ อ ประโยชน์ สุ ข และความทุ ก ข์ย ากของ ประชาชนมากเช่นนัน, ฉะนัน, หากการปฏิรูปประเทศไทย ไม่สามารถทีจะปฏิรูปการเมืองไทยได้ การปฏิรูปนัน, ก็ไม่


94

สามารถประสบความสําเร็จได้ หากการปฏิรูปการเมืองไทย สามารถทีจะปฏิรูป ระบบคัด เลือกนัก การเมืองให้เ ป็ น ผู้มี คุณธรรมและความเสียสละอย่างแท้จริง ปฏิรูประบบการ

ตรวจสอบนักการเมือง และปฏิรูปโครงสร้างทางการเมืองที เกียวกับอํานาจและผลประโยชน์ ได้แล้ว ก็มีหวังว่า การ ปฏิ รู ป ประเทศไทยด้ า นอื นๆ จะสามารถสํ า เร็ จ ได้

เอกสารและสิ+ งอ้างอิ ง กฤษณะไทวฺปายนวฺยาส. (2479). ศรีมทั ภควัทคีตา. พระนคร : โรงพิมพ์อกั ษรเจริญทัศน์. กีรติ บุญเจือ. (2545). เริ+มรูจ้ กั ปรัชญา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น. คณะกรรมการวิชามรดกอารยธรรมโลก. (2553). มรดกอารยธรรมโลก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ทวี ทวีวาร. (2553). ประวัติศาสตร์อินเดียตังV แต่ชาวยุโรปเข้ามา จนถึงอิ นเอียได้รบั เอกราช. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ทองหล่อ วงษ์ธรรมา. (2549). เต๋า : ทางแห่งธรรมชาติ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. น้อย พงษ์สนิท. (ม.ป.ป.). ปรัชญาจีน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ประยงค์ สุวรรณบุบผา. (2541). รัฐปรัชญา : แนวคิ ดตะวันออกขตะวันตก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : บริษทั สามัคคีสาส์น จํากัด. ฟื,น ดอกบัว. (2542). ปวงปรัชญาจีน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ศยาม. __________. (2542). ปวงปรัชญาอิ นเดีย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ศยาม. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2537). พระสูตรและอรรถกถาแปล. เล่มที 13. พิมพ์ครัง, ที 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). วิ วฒ ั นาการการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. __________. (2553). ปัญหาการเมืองไทยปัจจุบนั . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. __________. (2553). ปรัชญาการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. วัชรี ทรงประทุม. (2550). ความคิ ดทางการเมืองในพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. วิรชั ถิรพันธุเ์ มธี. (ม.ป.ป.). พุทธปรัชญาการปกครอง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ดวงแก้ว. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2549). ทศพิ ธราชธรรมของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ธรรมสภา. อดิศกั ดิ ` ทองบุญ. (2545). ปรัชญาอิ นเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. อมร ทองสุก. (2552). คัมภีรห์ ลุนอวี+ : คัมภีรแ์ ห่งแดนมังกร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ชุณหวัตร. Streep, Peg. (1994). TAO TE CHING. Italy : A Bulfinch Prees.


2. บทความเรื+อง คุณลักษณะผูน้ ําสังคมในอุดมคติ ตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น


96

คุณลักษณะของผู้นําสั งคมในอุดมคติตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา The Characteristic of Social Leader in The Ideal of Buddhist’s doctrine ไกรฤกษ์ ศิลาคม8 Krairoek Silakom บทคัดย่ อ การวิจัยนี มี วตั ถุ ประสงค์เพือศึ กษาแนวคิ ดเรื อง “ผูน้ ํา สังคมในอุ ดมคติ ” ในคํา สอนเชิ งปรั ชญาของ พระพุทธศาสนา โดยใช้วิธีการวิจยั เชิ งคุณภาพ ข้อมูลที ใช้ในการศึ กษาคือ เอกสารคําสอนของพุทธปรัชญาใน คัมภีร์พระไตรปิ ฎก รวมถึงอรรถาธิบายและทัศนะของนักคิดนักวิชาการยุคหลังทีเกียวข้อง ผลการศึ กษาพบว่า ผูน้ ําสังคมในอุดมคติ เชิ งพุทธที จะสามารถแก้ปัญหาวิกฤติ สังคมได้นัน ต้องมี คุณลักษณะของความเป็ นผูน้ าํ ทีเข้มแข็ง ประกอบด้วยปั ญญาและคุณธรรมอย่างสู ง สามารถแสวงหาทีมงานทีดีมี ประสิ ทธิภาพได้ เมือผูน้ าํ ระดับสู งมีความเข้มแข็งในความซื อสัตย์สุจริ ตแล้ว ผูน้ าํ ระดับกลางและผูน้ าํ ระดับล่างก็ จะเข้มแข็งตามไป เมือผูน้ าํ เข้มแข็ง ชุมชนก็เข้มแข็ง และความเข้มแข็งในทางคุณธรรมจริ ยธรรมนี ก็จะกลายเป็ น กระแสหลักของสังคมตังแต่ ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ระดับสังคม และระดับประเทศชาติ อัน จะเป็ นการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมอย่างยังยืน คําสําคัญ : ผูน้ าํ สังคม, พระพุทธศาสนา, อุดมคติ, ปั ญหาสังคม Abstract This research aims to study the concept of “Ideal social leader” in Buddhist philosophy. This is a qualitative research. The data which are used in this research were gathered from numerous doctrines of Buddhist philosophy which appeared in the Tripitaka, its commentaries and the related thoughts of Buddhist scholars in modern age. The result shows that the “Ideal social leader”, according to Buddhism, who will be able to solve the social crisis shall have a strong characteristic which composed of high standard of intellectual and morality and also able to form a good an effective teamwork. The strength and honesty of the top leader will affect the character of the middle and lower level leader which will leads to an ethical strengthened community. This ethical strengthening will turn to be the social mainstream which will be used as a tool for a sustainable problem solving and development starting from the level of individual, family, community, social and, finally, to the national level. Keywords : Social leader, Buddhism, Ideal, Social problems.

8

อาจารย์ประจํากลุ่มวิชาจริ ยธรรมกับชี วิต หมวดวิชาศึกษาทัวไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี E-mail : s_krairoek@hotmail.com


97

บทนํา ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา ในระบบการปกครองทุกระบบ ผูน้ าํ สังคมเป็ นผูม้ ีบทบาทสําคัญต่อชี วิตความเป็ นอยู่ของ ประชาชนในทุกๆ ด้าน เพราะผูน้ าํ สังคมเป็ นผูท้ ีกําหนดแนวนโยบายในการบริ หารประเทศ อาทิ ด้านการปกครอง การศึ กษา การสาธารณสุ ข วัฒนธรรมประเพณี การทหาร และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เป็ นต้น ฉะนัน ผูน้ าํ จึงมีส่วนสําคัญในเรื องของชี วิตความเป็ นอยู่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี สุ ขภาพอนามัยชุ มชน การหล่ อหลอมคนในสังคมด้วยระบบการศึ กษา การ คุ ม้ ครองความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน ตลอดถึ งการคุม้ ครองความปลอดภัยจากการรุ กราน ของต่างชาติดว้ ย เพราะผู ้นํา มี บ ทบาทสํ า คัญ เช่ น นี นี เอง ทุ ก สั ง คมจึ ง ใฝ่ ฝั น ที จะได้ผู ้ป กครองที ดี แ ละมี ความสามารถมาปกครอง หากได้ผูป้ กครองที ไม่ ดี ม าปกครองย่อ มจะส่ ง ผลกระทบเป็ นความ เดือดร้อนแก่ประชาชนเป็ นอันมากด้วย ยิงประเทศใดปกครองโดยระบอบราชาธิ ปไตยซึ งมีบุคคล คนเดี ยวเป็ นผูม้ ีอาํ นาจสู งสุ ดยิงต้องการผูน้ าํ ทีดี มีความสามารถมากกว่าระบอบใดๆ เพราะหากได้ ผูน้ าํ ทีไม่ดีมาปกครองย่อมเกิ ดเป็ นมหาศาลแก่ประชาชนเป็ นอันมาก เนื องจากผูน้ าํ ใช้อาํ นาจตาม อําเภอใจตนโดยไม่คาํ นึงถึงชีวติ จิตของประชาชน ส่ วนในระบอบประชาธิ ปไตยเช่นในประเทศไทย ปกครองโดยคณะบุคคลซึ งมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน มีคณะรัฐมนตรี เป็ นคณะทํางาน ก็ปรากฏ ว่ามี การตัดสิ นใจในรู ปแบบคณะรั ฐมนตรี ร่วมกันตัดสิ นใจในการบริ หารประเทศผ่านกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ถึงกระนันก็ตาม ในอดีตทีผ่านมาในประวัติศาสตร์ การเมืองไทยนัน การเริ มต้นของระบอบ ประชาธิ ปไตยในไทยก็ยงั ไม่เป็ นประชาธิ ปไตยเท่าใดนัก เพราะอํานาจปกครองยังอยูใ่ นมือของกลุ่ม ของนายทหารและข้า ราชการระดับสู ง เท่ า นัน และมี การทุ จริ ตคอร์ รัป ชันจํานวนมากและมี ก าร รัฐประหารยึดอํานาจกันเองอยู่บ่อยครังในหมู่ของนายทหารและข้าราชการระดับสู ง จนกระทังถึ ง สมัยปั จจุบนั นีก็ไม่ปรากฏว่ามีรัฐบาลไหนทีไม่มีข่าวเรื องการทุจริ ตคอร์ รัปชันออกมาเลย แม้กระทัง การทํารัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาลของ พล.อ.ชาติชาย ชุ ณหวัณ หรื อ รัฐบาลของพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ น วัตรก็ดว้ ยข้อหาในเรื องของทุจริ ตคอร์ รัปชัน หรื อแม้แต่รัฐบาลนายชวน หลีกภัยก็ตอ้ งยุบสภาเพราะ ปั ญหาทุ จริ ตคอร์ รัปชัน กรณี สป.ก.4-01 ในรั ฐบาลนายอภิ สิทธิt เวชชาชี วะ ก็ตอ้ งมี การปรั บ คณะรั ฐมนตรี หลายครัง เพราะเหตุ เรื องมี ข่าวการทุ จริ ตเกิ ดขึ น อาทิ โครงการชุ มชนพอเพียงของ สํานักนายกรัฐมนตรี กรณี การแจกปลากระป๋ องเน่าเสี ยของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมันคง ของมนุ ษย์ เป็ นต้น แต่มีน้อยครังนักทีนักการเมืองจะถูกจับดําเนิ นคดี แต่เกื อบทุกคดีทีจับทุจริ ตได้ ในภายหลังนักการเมืองจะหลบหนีออกนอกประเทศแล้วไม่สามารถจับกุมมาดําเนินคดีได้


98

ดังนัน ในสังคมไทยผูน้ าํ สังคมทุกระดับโดยเฉพาะนักการเมือง จึงเป็ นบุคคลทีมีบทบาทต่อ ประเทศทังในเชิ งสร้างสรรค์และในเชิ งทําลายความก้าวหน้าของประเทศ นอกจากนีผูน้ าํ ในระดับ หัวหน้า องค์ก รทังราชการและเอกชน ตังแต่ก ระทรวง ทบวง กรม กอง ฝ่ าย งาน ผูน้ ําเป็ นผูท้ ี มี อํานาจในการกําหนดแนวนโยบายในการบริ หารองค์กร เพือความสําเร็ จขององค์กรทีตนรับผิดชอบ รวมถึ งการเกี ยวข้องกับผูค้ นและชุ มชนในองค์กร นอกจากนีผูน้ าํ ยังเป็ นผูท้ ีมีความสําคัญต่อสังคม และมีอิทธิ พลต่อการกําหนดทิศทางในทางการคิดและการดําเนิ นชี วิตของผูค้ นในองค์กรและชุ มชน อีกด้วย เพราะฉะนัน ผูน้ าํ จึงเป็ นผูท้ ีจะนําพาสังคมไปสู่ ความสุ ขและการพัฒนาทียังยืน หรื อนําไปสู่ ความทุกข์เกิดเป็ นปั ญหาชีวติ และปั ญหาสังคมทีซับซ้อนมากขึนได้ ดังทีพระพุทธองค์ทรงตรัสสอน ไว้ในอธัมมิกสู ตร ซึ งว่าด้วยพระราชาผูไ้ ม่ตงอยู ั ใ่ นธรรมและผูต้ งอยู ั ใ่ นธรรม ว่า “...เมือฝูงโคข้ามนําไป ถ้าโคจ่าฝูงไปคดเคียว โคทังฝูงก็ไปคดเคียวตามกัน ใน เมือโคจ่าฝูงไปคดเคียว, ในหมู่มนุ ษย์ก็เหมือนกัน ผูใ้ ดได้รับแต่งตังให้เป็ นใหญ่ ถ้าผูน้ นั ประพฤติไม่เป็ นธรรม ประชาชนชาวเมืองนันก็จะประพฤติไม่เป็ นธรรมตามไปด้วย หาก พระราชาไม่ ตJ ังอยู่ในธรรม ชาวเมืองนัJนก็อยู่เป็ นทุกข์ เมือฝูงโคข้ามนําไป ถ้าโคจ่าฝูงไปตรง โคทังฝูงก็ไปตรงตามกันในเมือโคจ่า ฝูงไปตรง, ในหมู่มนุ ษย์ก็เหมือนกัน ผูใ้ ดได้รับแต่งตังให้เป็ นใหญ่ ถ้าผูน้ นประพฤติ ั ชอบ ธรรม ประชาชนชาวเมืองนันก็จะประพฤติชอบธรรมตามไปด้วย หากพระราชาตัJงอยู่ใน ธรรม ชาวเมืองนัJนก็อยู่เป็ นสุ ข...” (องฺ . จตุกฺก. 21/70/114-116) จะเห็ นได้ว่า พระพุทธศาสนามีความเห็ นว่า ผูน้ าํ เป็ นบุคคลทีมีบทบาทสําคัญต่อความสุ ข และความทุ กข์ของราษฎรเป็ นอย่างมาก จากอดี ตที ผ่านมาจนถึ งปั จจุ บนั ผูน้ าํ ของสัง คมไทยทัง ภาครัฐและภาคเอกชน ล้วนแต่มีส่วนสําคัญในการสร้างความเจริ ญก้าวหน้าของประเทศทังสิ น แต่ บางครังสังคมของไทยได้รับความเสี ยหาย ไม่สงบสุ ข หรื อไม่พฒั นาเท่าทีควรจะเป็ น เป็ นเพราะ สาเหตุมาจากการขาดคุณธรรมจริ ยธรรมของผูน้ าํ นันเอง พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนหลายอย่างทีเป็ นประโยชน์ต่อการดําเนิ นชี วิตของผูน้ าํ ตลอด ถึ งเป็ นหลักการในการพิจารณาเลื อกผูน้ าํ สังคมได้เป็ นอย่างดี อี กทังขณะนี ประเทศไทยเองก็ได้มี คณะกรรมการเพือการปฏิรูปประเทศให้มีความเจริ ญก้าวหน้าอย่างยังยืนหลายคณะ ดังนัน ผูว้ ิจยั จึงเห็นว่า สมควรอย่างยิงทีจะศึกษาคุ ณลักษณะของผูน้ าํ สังคมในอุดมคติตาม หลักคําสอนของพระพุทธศาสนา เพือจะได้ทราบคุ ณลักษณะทีแท้จริ งของบุคคลทีควรจะเป็ นผูน้ าํ สังคมทีจะสามารถขับเคลือนสังคมไทยไปสู่ สังคมอุดมติตามหลักพระพุทธศาสนาได้ และเพือทีจะ เป็ นหลักเกณฑ์ให้สังคมไทยได้ใช้ในการปฏิ รูปการเมืองไทยเพือให้ได้ผูน้ าํ ทีเป็ นคนดี มีคุณธรรม


99

จริ ยธรรม และประกอบด้วยคุ ณลักษณะผูน้ าํ สังคมตามอุ ดมคติ ของพระพุทธศาสนา อันจะนําพา ความสุ ขความเจริ ญทียังยืนให้กบั สังคมไทยต่อไป

คุณลักษณะของผู้นําสั งคมในอุดมคติตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ความเป็ นมาของผู้นําสั งคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตามหลัก คําสอนของพระพุ ท ธศาสนาในอัค คัญญสู ตร ได้กล่ า วถึ งสารั ตถะเกี ยวกับการ กําเนิดรัฐไว้วา่ เดิมทีเดียวมนุ ษย์ยงั ไม่มีสังคม ยังไม่มีระบบการปกครอง มนุ ษย์อยูก่ นั ตามธรรมชาติ มนุษย์อยูก่ นั แบบปกติสุข มีอาหารอุดมสมบูรณ์ดี ไม่มีกฎหมาย ไม่มีบา้ นเรื อน มนุ ษย์อาศัยดํารงชี พ อยูโ่ ดยอาศัยอาหารจากดิน เช่ น ง้วนดิน กระบิดิน และเครื อดิน เป็ นต้น ไม่มีการยึดครองทีดิน ไม่มี การสะสมกักตุนสิ งต่างๆ เช่น อาหารไว้ในครอบครอง ทุกคนอยูอ่ ย่างสันติ และยึดมันในความดีงาม ต่อมาเมือมนุษย์มีจาํ นวนมากขึน สังคมขยายมากขึน มนุษย์ทีดีและชัวก็ปรากฏขึน ปั ญหาต่างๆไ เริ ม ตามมา โดยเริ มจากมีมนุ ษย์มีความคิดว่า เป็ นการลําบากทีจะต้องไปหาอาหารและข้าวสาลี ทงเวลา ั เช้า กลางวัน และตอนเย็น จึงได้เก็บข้าวสาลีมากักตุนไว้เฉพาะตน เพือทีจะสามารถบริ โภคได้หลาย เวลา ต่อมามีคนเอาอย่างทําตาม จึงเป็ นเหตุให้ขา้ วสาลีในท้องทุ่งหมดไป (ที.ปา. 11/127/97-98) และ เนืองมาจากอาหารตามธรรมชาติค่อยๆ หมดไปและประชากรเพิมมากยิงขึน จึงมีการจับจองพืนทีอัน เป็ นแหล่ งอาหารเพือเป็ นกรรมสิ ทธิt ส่ วนตัว ต่อมามนุ ษย์มีความเห็ นแก่ตวั มีความโลภมากขึน มี ความเกียจคร้าน จึงไปขโมยอาหารของผูอ้ ืน และเมือถูกจับได้ก็ได้นาํ มาว่ากล่าวตักเตือน ลงโทษ (นี คือจุ ดเริ มต้นของการทําผิดศี ลข้อว่า อทิ นนาทานา เวรมณี ) บางคนเมือถู กจับได้ก็โกหกว่า ไม่ได้ ขโมยเพือปกป้ องตนเองจากความผิด (นี คือ จุดเริ มต้นของการทําผิดศีลข้อมุสาวาทา เวรมณี ) และ เมื อมี การขโมยเกิ ดขึ นก็มีการรั กษาป้ องกันเกิ ดขึ นด้วยศาสตราอาวุธเกิ ดขึน และผลที สุ ดเกิ ดเป็ น ความวุน่ วายในสังคม เกิดการทะเลาะวิวาทกัน (ที.ปา. 11/129/100) ด้วยเหตุนีจึงเป็ นแรงผลักดันให้ คนในสังคมต้องหาผูท้ ีจะมาช่วยระงับความวุน่ วายในสังคม โดยผูน้ าํ ไม่ตอ้ งหาอาหาร แต่ประชาชน จะแบ่งอาหารในส่ วนของตนรวมกันให้ ให้ผูน้ าํ มีหน้าทีอย่างเดี ยวคือ ระงับข้อพิพาทและตัดสิ น อย่างเป็ นธรรม แล้วประชาชนก็ได้เลือกบุคคลทีมีลกั ษณะพิเศษทังทางร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา และ บุญบารมีขึนเป็ นผูน้ าํ ครังแรก เรี ยกว่า มหาสมมติ เพราะมหาชนสมมติขึน ต่อมาจึงเรี ยกว่า กษัตริ ย ์ จะเห็นได้วา่ ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ในสภาวะธรรมชาติมนุ ษย์อยูก่ นั อย่างสงบสุ ข ไม่มีทรัพย์สินส่ วนบุคคล เมือมนุษย์มีทงคนดี ั และคนชัว กลุ่มคนชัวสร้างปั ญหาสังคมจนไม่สามารถ จัดการกันเองได้แล้ว มนุ ษย์จึงร่ วมใจกันหาหนทางแก้ไขโดยการสร้างรัฐขึนมาเพือการใช้ชีวิตอย่าง มีระเบียบแบบแผนร่ วมกันภายในรัฐ รัฐจึงเกิดขึนตามสัญญาประชาคม และองค์ประกอบทีสําคัญ ทีสุ ดของรัฐก็คือ การคัดเลื อกผูน้ าํ ทีมี ความสามารถ เข้มแข็ง มีคุณธรรม มาเป็ นผูแ้ ก้ปัญหาสังคม


100

โดยมีอาํ นาจลงโทษผูก้ ระทําผิด เป็ นผูป้ กป้ องคุ ม้ ครองชี วิตและทรัพย์สิน และตัดสิ นในกรณี ความ ขัดแย้งทีเกิดขึนในสังคม เมื อกล่ า วโดยสรุ ป แล้ว ความจํา เป็ นที ต้อ งมี ก ารจัด ระเบี ย บการเมื อ งการปกครองนัน เนืองมาจากความบกพร่ องของสังคมทีเกิดจากการกระทําของมนุ ษย์ผมู ้ ีกิเลส และอีกส่ วนหนึ งนันก็ เกิดจากสังคมทีขยายใหญ่ขึนจึงจําเป็ นต้องมีระเบียบและผูน้ าํ คอยควบคุมผูใ้ ต้ปกครองให้ปฏิบตั ิตาม ระเบียบ ประเภทของผู้นําสั งคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา สําหรับประเภทของผูน้ าํ พระพุทธศาสนามีกล่าวไว้ในคําสอนเรื อง อธิ ปไตย 3 ในสังคีติ สู ตร โดยจัดแบ่งประเภทของผูน้ าํ เป็ น 3 ประเภทตามหลักทีผูน้ าํ ยึดถือในการปกครอง ดังนี 4. อัตตาธิ ปไตย ถือตนเป็ นใหญ่ 5. โลกาธิ ปไตย ถือโลกเป็ นใหญ่ 6. ธรรมาธิ ปไตย ถือธรรมเป็ นใหญ่ คําว่า อธิ ปไตย ในพระไตรปิ ฎกนี ไม่ได้มีความหมายเหมือนกับคําว่าอธิ ปไตยในปั จจุบนั เช่น ประชาธิ ปไตย อภิชนาธิ ปไตย หรื อ คณาธิ ปไตย เพราะอธิ ปไตยในพระไตรปิ ฎกนัน หมายถึ ง หลักทีผูป้ กครองพึงยึดถือ กล่าวคือ เมือเป็ นผูป้ กครองแล้วจะยึดถืออะไรเป็ นใหญ่ ตนเอง ประชาชน หรื อ ธรรม ฉะนัน ธรรมาธิ ป ไตยจึ ง ไม่ใ ช่ ระบอบการปกครองแต่ เป็ นหลัก ในการปกครองของ ผูป้ กครองทียึดถือเอาธรรมเป็ นหลักใหญ่ในการปกครอง พระพุ ท ธองค์ไ ม่ ไ ด้ท รงเน้น ว่า ระบอบการปกครองใดดี ที สุ ด ไม่ ไ ด้เ สนอว่า จะเลื อ ก ผูป้ กครองด้ว ยวิธี ใ ด หรื อ มี ระบบในการจัด สรรอํา นาจอธิ ป ไตยอย่า งไร เป็ นแต่ เ น้นว่า ถ้า เป็ น ผูป้ กครองแล้วควรยึดถืออะไรในการปกครอง (ปรี ชา ช้างขวัญยืน, 2540) ซึ งสิ งทีพระพุทธศาสนา สรรเสริ ญก็คือ ธรรมาธิ ปไตย คือ การยึดถือธรรมหรื อความถูกต้องดีงามเป็ นใหญ่ ธรรมาธิ ปไตย หมายถึง มีธรรมเป็ นใหญ่ มีธรรมเป็ นอธิ บดี กระทํากิริยาคือ ราชกิจทุกอย่าง ด้วยอํานาจธรรมเท่านัน (ที.ปา.อ. 15/131) กล่าวคือ การตัดสิ นใจในการปกครองทุกอย่าง จะต้องยึด หลักธรรมเป็ นเกณฑ์เท่านัน ธรรมาธิ ปไตยจึงถือว่า เป็ นหัวใจสําคัญของการปกครอง หรื อเป็ นหัวใจ สําคัญของรัฐศาสตร์ ในพระไตรปิ ฎก เรื องธรรมาธิ ปไตยนี มีปรากฏในราชสู ตรซึ งพระพุทธองค์ทรง ตรั สถึ งการปกครองทวีป ทัง 4 ของพระเจ้า จักรพรรดิ และตรั สถึ งการปกครองพุ ทธบริ ษทั ของ พระองค์วา่ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ธรรมาธิ ปไตย ดังนี “ พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั พระเจ้าจักรพรรดิพระองค์ใดแล ผูท้ รงดํารงอยู่ในธรรม เป็ นพระธรรมราชา พระเจ้าจักรพรรดิ แม้พระองค์นนั ย่อมไม่


101

ทรงยังจักรให้เป็ นไป ณ ประเทศทีไม่มีพระราชา เมือพระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี แล้ว ภิกษุรูปหนึงได้ทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ ก็ใครเป็ นพระราชาของพระเจ้าจักรพรรดิ ผูท้ รงดํารงอยู่ ในธรรม เป็ นพระธรรมราชา พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า ธรรมซิ ภิกษุ แล้วจึงตรั สต่อไปว่า ดูก่อนภิกษุ พระเจ้าจักรพรรดิ ผูท้ รงดํารงอยู่ในธรรม เป็ นพระ ธรรมราชาในโลกนี ทรงอาศัยธรรมนันแหละ ทรงสั กการะ เคารพนอบน้อมธรรม ทรงมีธรรมเป็ นธง มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้ องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมในชนภายใน อีกประการหนึ ง พระเจ้าจักรพรรดิผูท้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชา ฯลฯ มี ธ รรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรั ก ษา ป้ องกันคุ ้ม ครองที เป็ นธรรม ใน กษัตริ ย์เหล่ าอนุ ยนต์ [พระราชวงศานุ วงศ์ ] ในหมู่ ทหาร พราหมณ์ คฤหบดี ชาวนิคม ชนบท สมณพราหมณ์ เนืJอและนกทัJงหลาย พระเจ้าจักรพรรดิผทู ้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ น พระธรรมราชาพระองค์นัน ฯลฯ มี ธ รรมเป็ นใหญ่ ครั นทรงจัดแจงการรั ก ษา ป้ องกัน คุ ม้ ครองที เป็ นธรรมในชนภายใน ในกษัตริ ย ์เหล่ า อนุ ย นต์ ในหมู่ ท หาร พราหมณ์ คฤหบดี ชาวนิคมชนบท สมณพราหมณ์ เนือ และนกทังหลายแล้ว ย่อมทรงยังจักรให้ เป็ นไปโดยธรรมเที ยว จักรนันย่อมเป็ นจักรอันมนุ ษย์ผูเ้ ป็ นข้าศึ กใด ๆ จะต้านทานมิได้ ดูก่อนภิกษุ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ฉันนันเหมื อนกัน ทรงดํารงอยู่ใน ธรรม เป็ นพระธรรมราชา ทรงอาศัยธรรมนันแหละ ทรงสักการะ เคารพนอบน้อม ธรรม ทรงมีธรรมเป็ นธง มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้ องกันคุม้ ครองทีเป็ นธรรมในพวกภิกษุวา่ กายกรรมเช่นนี ควรเสพ กายกรรมเช่นนี ไม่ ควรเสพ วจีกรรมเช่ นนี ควรเสพ วจีกรรมเช่ นนี ไม่ควรเสพ มโนกรรม เช่ นนี ควรเสพ มโนกรรมเช่ นนี ไม่ควรเสพ อาชี วะเช่ นนี ควรเสพ อาชี วะเช่ นนี ไม่ควรเสพ บ้านนิ คม เช่นนีควรเสพ บ้านนิคมเช่นนีไม่ควรเสพ. อีกประการหนึ ง พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผูท้ รงดํารงอยู่ในธรรม เป็ นพระธรรมราชา ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้ องกัน คุม้ ครองที เป็ นธรรมในพวกภิกษุณี. . .ในพวกอุบาสก. . . ในพวกอุบาสิ กาว่า กายกรรมเช่นนี ควรเสพ กายกรรมเช่ นนี ไม่ควรเสพ ฯลฯ บ้านนิ คมเช่ นนี ควรเสพ บ้านนิ คมเช่ นนี ไม่ควรเสพ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงดํารงอยู่ในธรรม เป็ นพระธรรมราชาพระองค์ นัน ฯลฯ มีธรรมเป็ นใหญ่ ครันทรงจัดแจง การรักษา ป้ องกัน คุม้ ครองทีเป็ นธรรมใน พวกภิกษุ ในพวกภิกษุ ณี ในพวกอุบาสกในพวกอุบาสิ กาแล้ว ย่อมทรงยังธรรมจักรชัน


102

เยียมให้เป็ นไปโดยธรรมเทียว ธรรมจักรนันย่อมเป็ นจักร อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรื อใคร ๆ ในโลก จะคัดค้านไม่ได้” (36/133/276-278) ฉะนัน จากเนื อหาในราชสู ตร จะเห็นได้วา่ หลักธรรมาธิ ปไตยนีเป็ นหลักการทีสามารถใช้ ในการปกครองได้ทงทางโลกและทางธรรม ั คุณลักษณะของผู้นําสั งคมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ความเป็ นผูน้ าํ จะเน้นทีการปกครองตนเองให้ได้ก่อนเป็ น อันดับแรก เนืองจากการจะเป็ นผูน้ าํ คนอืนได้นนต้ ั องสามารถปกครองตนเองให้ได้เสี ยก่อน ดังพุทธ พจน์วา่ “บุคคลพึงยังตนให้ตงอยู ั ่ในคุณอันสมควรก่อน แล้วพึงพรําสอนผูอ้ ืนในภายหลัง บัณฑิ ต ประพฤติตนอย่างนี จึงไม่เศร้ าหมอง” (ขุ.ธ. 25/158/52) ทังนี เป็ นเพราะการจะเป็ นผูน้ าํ ให้บุคคลอืน ทําตามหรื อมีความเชือมัน ผูน้ าํ ต้องสามารถนําการกระทําได้ จะได้ไม่ถูกตําหนิ ในภายหลัง หลักการ ดังกล่าวจึงเป็ นการสอนให้คนมีภาวะผูน้ าํ ในตนเอง หรื อ พัฒนาตนเองให้มีภาวะผูน้ าํ ก่อนทีจะก้าว ขึนสู่ การเป็ นผูน้ าํ การพัฒนาตนเองดังกล่าวต้องพัฒนาทังทางกาย ทางวาจา และทางใจ คือ ไม่ให้คิด ชัว พูดชัว และทําชัวซึ งเป็ นเหตุแห่งความเดือดร้อนของตนเองและสังคม แต่เพียงเท่านันยังไม่พอแต่ ยังต้องมี ควารมสามารถในการทําสิ งที ถู กต้องเป็ นธรรมและเป็ นไปเพือประโยชน์สุขแก่ ตนและ ส่ วนรวมได้ และการพัฒนาตนเองดัง กล่ าวจะต้องมุ่ งเน้นที การพัฒนาจิ ตใจเป็ นสํา คัญ ด้วยการ ปลู ก ฝั ง คุ ณธรรมให้มีใ นตนจนสามารถควบคุ มจิ ตใจตนเองได้ พระพุ ทธศาสนาถื อว่า ผูน้ าํ ต้อง เอาชนะใจของตนเองให้ได้ก่อน เพราะเมือสามารถชนะตนเองได้ ก็ชือว่า สามารถเอาชนะคนอืนได้ ทังหมด ดังพุทธพจน์วา่ “บุคคลชนะหมู่มนุษย์ตงั 1,000,000 คนในสมรภูมิ ยังไม่ชือว่า เป็ นผูช้ นะ สงครามอย่างเด็ดขาด คนที ชนะตนเองได้เพียงคนเดี ยวนี สิ จึงชื อว่า เป็ นผูท้ ี ชนะสงครามได้ เด็ดขาด” (ขุ.ธ. 25/103/40) จากคําสอนของพระพุทธศาสนาดังกล่าว แสดงถึงการสร้างคุณลักษณะความเป็ นผูน้ าํ ให้กบั ตนเองเป็ นเบืองต้นก่อนเป็ นสิ งสําคัญมาก เพราะหากผูน้ าํ เป็ นผูท้ รงไว้ซึงคุณธรรมและความสามารถ แล้ว การจะปกครองผูอ้ ืนก็จะเป็ นเรื องง่าย เพราะจะไม่ถูกติเตียนในคุณสมบัติความเหมาะสม อีกทัง ยังจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาประชาชนให้ตงอยู ั ่ในธรรมได้ง่ายด้วย นอกจากนี เมือผูน้ าํ กอปร ด้วยคุ ณธรรมสัมมาปฏิ บตั ิแล้ว ย่อมจะเอือประโยชน์ให้การบริ หารบ้านเมืองเป็ นไปเพือประโยชน์ สุ ขของประชาชนโดยฝ่ ายเดียว ในทางตรงกันข้ามหากผูน้ าํ ซึ งเป็ นผูม้ ีสิทธิt ใช้อาํ นาจให้คุณให้โทษ แก่ประชาชน ตลอดจนการนําพาสังคมไปสู่ เป้ าหมาย เป็ นผูท้ ีขาดคุณธรรมในตนเอง แม้จะเก่งกาจ สามารถในเชิ งบริ หารเพียงใด ก็คงไม่สามารถที จะเอาชนะใจตนเองในเรื องของความโลภ ความ โกรธ ความหลงได้ ย่อมจะสามารถใช้อาํ นาจอย่างไม่เป็ นธรรม และมี ค วามเห็ นแก่ ตวั จนทุ จริ ต


103

คอร์ รัปชันเพือหวังความสุ ขส่ วนตัว เห็นแก่พวกพ้องและเครื อญาติมากกว่าความถูกต้องเป็ นธรรม แล้วผลสุ ดท้ายเกิดเป็ นความเดือดร้อนแก่ประชาชนอย่างมหาศาล ฉะนัน ในเบืองต้นพระพุทธศาสนาจึงกําหนดคุณลักษณะผูน้ าํ สังคมให้เป็ นคนทีมีคุณธรรม จริ ยธรรมในตนเองเสี ยก่อน และหลักธรรมทีเป็ นดัชนีชีวัดคุณภาพทางจริ ยธรรมของผูน้ าํ ได้นนั มีอยู่ หลายหมวดดังจะได้กล่าวต่อไป ดัชนีชีJวดั คุณภาพทางจริยธรรมของผู้นําสั งคม สําหรับคุณธรรมทีเป็ นคุณสมบัติของผูน้ าํ สังคมทีแสดงไว้ในพระไตรปิ ฎกมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ หลักธรรมในการปกครองตน และหลักธรรมในการปกครองคน ดังต่อไปนี 1. หลักธรรมที ใช้ในการปกครองตน หมายถึ ง หลักธรรมที ผูป้ กครองจะต้องปฏิ บตั ิ เพื อ ปกครองตนเองให้ตงอยู ั ใ่ นธรรมอันดีงามเพือเป็ นต้นแบบทีดีและยังความเลือมใสศรัทธาให้เกิดขึน แก่ผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครอง ประกอบด้วย หลักทศพิธราชธรรม, หลักสัปปุริสธรรม 7 และจักรวรรดิวตั ร 5 หากผูน้ าํ เป็ นส่ วนหนึ งของการปกครองโดยคณะบุคคล ก็จาํ เป็ นทีต้องปฏิ บตั ิ ตามหลักอปริ หานิ ย ธรรม 7 ด้วย 2. หลักธรรมทีใช้ในการปกครองคน หมายถึง หลักธรรมทีผูป้ กครองจะต้องนําไปใช้ในการ ปกครองผูใ้ ต้การปกครองและบริ หารงานให้เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้ อย ประกอบด้วย หลักพรหม วิหารธรรม 4 หลักสังคหวัตถุ 4 หลักราชสังคหวัตถุ 4 และหลักการละเว้นอคติ 4

ธรรมราชา : ผู้นําสั งคมในอุดมคติของพระพุทธศาสนา “ธรรมราชา” เป็ นคําทีพระพุทธองค์ทรงใช้เรี ยกพระองค์เองด้วยส่ วนหนึง ดังพระพุทธพจน์ ทีว่า “...อี กประการหนึ ง พระตถาคตอรหันตสั มมาสัม พุทธเจ้า ผูท้ รงดํา รงอยู่ใ น ธรรม เป็ นพระธรรมราชา ฯลฯ มี ธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรั ก ษา ป้ องกัน คุ ม้ ครองที เป็ นธรรมในพวกภิ กษุ ณี. . .ในพวกอุบาสก. . . ในพวกอุบาสิ กาว่า กายกรรม เช่นนีควรเสพ กายกรรมเช่นนี ไม่ควรเสพ ฯลฯ บ้านนิ คมเช่นนี ควรเสพ บ้านนิ คมเช่นนี ไม่ควรเสพ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรม ราชาพระองค์นน...” ั และในอี ก กรณี หนึ งพระพุ ท ธองค์ ท รงใช้ เ รี ยกพระราชาผู ้ ท รงธรรมในอดี ต ซึ ง พระพุทธศาสนา เรี ยกว่า พระเจ้ าจักรพรรดิS ดังพุทธพจน์วา่


104

“...ดูก่อนภิกษุ พระเจ้าจักรพรรดิผทู ้ รงดํารงอยูใ่ นธรรม เป็ นพระธรรมราชาใน โลกนี ทรงอาศัยธรรมนันแหละ ทรงสักการะ เคารพนอบน้อมธรรม ทรงมีธรรมเป็ น ธง มีธรรมเป็ นยอด มีธรรมเป็ นใหญ่ ย่อมทรงจัดแจงการรักษา ป้ องกัน คุ ม้ ครองที เป็ นธรรมในชนภายใน...” (36/133/276-278) ความหมายของคําว่ า “พระเจ้ าจักรพรรดิS” พระเจ้าจักรพรรดิในพระพุทธศาสนาไม่ได้มีความหมายเช่นเดียวกับทีใช้ในภาษาไทยทัวไป เช่น สมเด็จพระมหาจักรพรรดิในสมัยอยุธยา หรื อ สมเด็จพระจักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดินี แห่ งประเทศญีปุ่ น เป็ นต้น ในพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของ จัก รพรรดิ ว่า พระราชาธิ ร าช, ประมุ ข ของจัก รวรรดิ , สมัย โบราณเขี ย นเป็ นจัก รพัต ราธิ ร าช (ราชบัณฑิ ตยสถาน, 2542) ในทางพระพุทธศาสนาหมายถึ ง พระมหากษัตริ ยผ์ คู ้ รองโลกโดยธรรม กล่าวคือทรงมีขอบเขตพระราชอํานาจกว้างใหญ่ไพศาลมีมหาสมุทรทังสี เป็ นขอบเขต พระองค์ทรง มีธรรมเป็ นพลังอํานาจพิเศษทีทําให้แคว้นหรื อประเทศใหญ่นอ้ ยทังหลายมาสวามิภกั ดิtอยูภ่ ายใต้การ ปกครองของพระองค์ โดยเรี ยกการปกครองของพระองค์ว่า จักรวรรดิ (พระครู โสภณปริ ยตั ิ สุธี, 2552) องค์ ประกอบของพระเจ้ าจักรพรรดิ ในพระไตรปิ ฎกพระพุทธองค์ทรงตรัสเล่าถึงพระเจ้าจักรพรรดิ ในอดีตหลายพระองค์ อาทิ พระเจ้าจัก รพรรดิ พระนามว่า ทัฬ หเนมิ (ที .ปา. 10/80-110/58-82) เป็ นพระมหากษัตริ ยผ์ ูย้ ิงใหญ่ ทรงมีคุณลักษณะหรื อเครื องหมายของความเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ ทีสําคัญ 4 ประการ คือ 1.ทรง ธรรม 2. ครองราชย์โดยธรรม 3. มีมหาสมุทรทัง 4 เป็ นขอบเขต 4. ราชอาณาจักรมันคงโดยมี รัตนะ 7 ประการเป็ นเครื องหมาย อันได้แก่ จักรแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว แก้วมณี นางแก้ว คหบดีแก้ว หรื อ ขุนคลังแก้ว และปริ ณายกแก้ว หรื อ ขุนพลแก้ว (ทวี ผลสมภพ, 2534) ระบอบจักรพรรดิ : อุตมรัฐในพระพุทธศาสนา ในจักกวัตติสูตรได้อธิ บายลักษณะของบ้านเมืองทีมีความสมบูรณ์ แบบในยุคสมัยทีมีพระ เจ้าจักรพรรดิtปกครองไว้อย่างละเอียด ซึ งจะขออธิ บายไปตามลําดับดังต่อไปนี


105

1. การเกิ ดขึ นของพระเจ้า จักรพรรดิ เกิ ดขึ นจากการทรงธรรมของพระราชา กล่ า วคื อ พระราชาทรงครองราชย์โดยธรรมและทรงบําเพ็ญวัตรปฏิบตั ิของพระเจ้าจักรพรรดิ เช่ น ในวัน 15 คํา ทรงรักษาอุโบสถศีล อยูใ่ นปราสาทชันยอด เป็ นต้น 2. เมือถึงภาวะทีเหมาะสมของการสร้างบารมีธรรมของพระราชา จักรแก้วก็จกั ปรากฏขึน ในอากาศเปล่งแสงสว่างประหนึ งพระจันทร์ ดวงที 2 แล้วลอยมาอยูเ่ บืองพระพักตร์ พระราชาผูท้ ีจะ ได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ 3. พระราชาผูเ้ ป็ นพระเจ้าจักรพรรดิทรงเปล่งวาจาให้จกั รแก้วนําพาไปสู่ ความชนะในโลก จักรแก้วได้ลอยไปในอากาศ พร้อมกับพระเจ้าจักรพรรดิ และเสนาอํามาตย์ทงหลาย ั ไปยังเมืองต่างๆ จนถึ งขอบฝั งมหาสมุ ทร ทุ กเมืองพระราชาพร้ อมประชาชนพากันมาเข้าเฝ้ าและถวายเมืองให้แก่ พระองค์ปกครอง พระองค์ทรงสอนให้พระราชาทังหลายตังมันอยู่ในศีล 5 ประการ และทรงคื น เมื องให้ปกครองต่อไป จากนันจักรแก้วก็พาพระเจ้าจักรพรรดิ และเสนาอํามาตย์ขา้ มไปยังอี กฝั ง มหาสมุทรและทรงชนะไปทัวโลกดินแดนโดยไม่ตอ้ งใช้ศาสตราอาวุธใดๆ ทังสิ น แต่ทรงชนะโดย ธรรม 4. เมือทรงชนะโลกทังหมดแล้วก็ทรงกลับมายังพระราชวังและทรงบริ หารประเทศผ่านทาง คหบดี แก้ว และปริ ณ ายกแก้วซึ งเป็ นดุ จรั ฐ มนตรี ท างเศรษฐกิ จ และรั ฐมนตรี ท างความมันคงใน ปั จจุบนั จนทําให้ประเทศมีทงความมั ั นคงและมีความมังคังพร้อมๆ กัน 5. เมื อประชาชนไม่ มีความขัดสน มี ค วามกิ นดี อยู่ดีอย่างถ้วนหน้า จึ งไม่มี เหตุ ใ ดๆ ให้ ประชาชนเบียดเบียนกัน ไม่มีโจรขโมย ไม่มีการลงโทษ ประชาชนอยูก่ นั อย่างผาสุ ก 6. การสื บทอดตําแหน่ งพระราชาสื บทอดโดยพระราชโอรสองค์ใหญ่ แต่ตาํ แหน่ งพระเจ้า จักรพรรดิเป็ นตําแหน่งเฉพาะบุคคลไม่สามารถสื บทอดได้ ผูป้ ระสงค์ตอ้ งบําเพ็ญเอง ปรากฏว่า พระ ราชโอรสได้บาํ เพ็ญจักรวรรดิ วตั รของพระเจ้าจักรพรรดิ และได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ สืบต่อลงมา หลายพระองค์ จนถึ ง รุ่ นหลัง ๆ ที พระราชามิ ไ ด้บ าํ เพ็ญจัก รวรรดิ วตั รครบถ้วน แต่ป กครองตาม ความเห็นส่ วนตัว จึงมิได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิtสืบต่อ จะเห็นได้วา่ รัฐพระเจ้าจักรพรรดิtเป็ นรัฐทีสมบูรณ์แบบ เหมือนแนวคิดของขงจือ และคล้าย เมืองทีขงจือเคยปกครองโดยยึดคุณธรรมเป็ นหลักพร้อมกับการบริ หารเศรษฐกิจจนคุกว่างเปล่า และ ไม่มีโจรขโมย ทรัพย์สินตกหล่นก็ไม่มีใครหยิบเอาไป ประชาชนอยูอ่ ย่างผาสุ ก แต่ ใ นจัก กวัตติ สู ต รก็ ไ ด้ก ล่ า วถึ ง สาเหตุ ข องความเสื อมศี ล ธรรมและความสงบสุ ข ของ ประชาชนเพราะพระราชาไม่สามารถบริ หารเศรษฐกิจให้ดี กล่าวคือ ในอดีตเกิดความขัดสนขึนใน ประชาชน แต่ พ ระราชาก็ ไ ม่ ไ ด้พ ระราชทานทรั พ ย์ จึ ง เป็ นเหตุ ใ ห้ มี ก ารลัก ขโมยขึ น เมื อจับ ได้ สอบสวนพบสาเหตุก็ทรงพระราชทานทรัพย์ให้เป็ นทุน แต่ก็เกิดการเอาอย่างกันขึนว่า เมือขโมยแล้ว


106

จะได้พ ระราชทานทรั พ ย์จึ ง ลัก ขโมยกัน มากขึ น ต่ อ มาพระราชาจึ ง หยุ ด พระราชทานทรั พ ย์แ ต่ เปลียนเป็ นการจับมาประหารชี วิตแทน ประชาชนเห็นพระราชาใช้อาวุธ ประชาชนก็มีการใช้อาวุธ ด้วย เช่น การฆ่าโจร หรื อ โจรฆ่าเจ้าทรัพย์ และก่อเกิดเป็ นความไม่สงบสุ ขดังบ้านเมืองของพระเจ้า จักรพรรดิในอดีตเรื อยมาจนถึงปั จจุบนั พระเจ้ าอโศกมหาราช : ธรรมราชาในประวัติศาสตร์ พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระเจ้าจักรพรรดิวา่ เป็ นธรรมราชาไว้ในจักกวัตติสูตร แต่ก็เป็ นเรื อง ทีตรัสเล่ าถึ งที เราไม่อาจหาหลักฐานค้นพบได้ บุ คคลที ได้รับการขนานนามว่า เป็ นธรรมราชาใน ประวัติศาสตร์ ก็คือ พระเจ้าอโศกมหาราช แม้พระองค์จะไม่ได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ อนั มีรัตนะ 7 ประการ แต่พระองค์ก็ทรงดําเนิ นตามรอยทางพระเจ้าจักรพรรดิ นันคือ การยึดถื อธรรมเป็ นใหญ่ การเคารพธรรม และปกครองโดยธรรม เช่นกัน ในหนังสื อไตรภูมิ พระร่ วงของพญาลิ ไท กษัตริ ยอ์ งค์ที 4 ในราชวงศ์พระร่ วงแห่ งกรุ ง สุ โขทัยกล่าวว่า มีจกั รพรรดิ ทีเป็ นธรรมราชาในจักกวัตติสูตร และยังมีธรรมราชาอีกพระองค์หนึ ง ทรงพระนามว่า ศรี ธรรมาโศกราช ครองราชย์อยูท่ ีกรุ งปาตลีบุตร เมือ พ.ศ.219 พระเจ้าลิไททรงเห็น ว่า พระเจ้าอโศกมหาราชทรงเป็ นต้นแบบของธรรมราชาและทรงประสงค์จะยึดถือปฏิบตั ิธรรมตาม แบบนันเพราะต้องการที จะเป็ นธรรมราชาเช่ นเดี ย วกัน ประวัติพ ระเจ้าอโศกมหาราชหลายแห่ ง โดยเฉพาะในหลักศิลาจารึ กได้กล่าวถึงพระจริ ยวัตรในการปกครองโดยธรรมไว้หลายประการคือ 1. ทรงมีชยั ชนะโดยธรรม กล่าวคือ ในอดีตทรงใช้กาํ ลังต่อสู ้ แต่เมือทรงชนะแคว้นกลิงค์ได้ แล้วก็ทรงหันมานับถือพระพุทธศาสนา และทรงเปลียนวิธีรบเป็ นการใช้กาํ ลังขู่ให้กลัวและยอมแพ้ แล้วพระองค์ก็จะทรงสังสอนให้มาปฏิบตั ิธรรมแบบพระองค์ กษัตริ ยท์ ีเป็ นเมืองขึนต้องปฏิบตั ิธรรม สังสอนธรรม และปกครองโดยธรรมเช่นเดียวกับพระองค์ 2.ทรงอุ ปถัมภ์พระพุทธศาสนาอย่างเต็มที โดยเฉพาะการสังคายนาพระไตรปิ ฎกครังที 3 และการส่ งสมณทูตออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทุกสารทิศ 3.ทรงมีใจกว้างต่อศาสนาอืน มิได้ทาํ ลายล้างศาสนาอืนๆ เช่น ฮินดู และเชน 4.ทรงสังสอนธรรมแก่ประชาชนทังในและนอกราชอาณาจักร 5.ความเมตตาต่อสัตว์เป็ นวัตรปฏิ บตั ิ ของพระเจ้าจักรพรรดิ พระเจ้าอโศกมหาราชก็ทรงแผ่เมตตาธรรม

ต่อสัตว์อย่างเปี ยมล้น ทรงเลิกการล่าสัตว์ส่วนพระองค์ ห้ามฆ่าสัตว์เพือบูชายัญ เป็ นต้น 6.ทรงตังธรรมอํามาตย์ โดยทรงตังข้าราชการในตําแหน่ ง ธรรมมหาอํามาตย์ มีหน้าที ให้ความช่วยเหลือ พระองค์ในการบําเพ็ญธรรม ดูแลพระราชวงศ์ให้บาํ เพ็ญธรรม สังสอนประชาชน และทํางานด้านสังคมสงเคราะห์ 7.ทรงปกครองแบบพ่อปกครองลูก กล่าวคือ ทรงปกครองประชาชนด้วยความรักความเมตตาเหมือนพระ ราชบุตรของพระองค์เอง (วัชรี ทรงประทุม, 2550)


107

การประยุกต์ ใช้ ในการปฏิรูปจริยธรรมของผู้นําสั งคมไทย จากการนําเสนอข้อมูลในภาพรวมของคุ ณลักษณะผูน้ าํ สังคมในอุดมคติตามหลักคําสอน ของพระพุทธศาสนา ตามที ปรากฏในคัมภี ร์ต่างๆ นันทําให้ผูว้ ิจยั พบว่า สําหรั บชี วิตทางโลกแล้ว ผูน้ ํา สั ง คมและสั ง คมในอุ ด มคติ ตามหลัก พระพุ ท ธศาสนาจริ ง ๆ นัน ก็ คื อ ระบอบของพระเจ้า จักรพรรดิ กล่ าวคื อ พระเจ้าจักรพรรดิ คือผูน้ าํ สังคมในอุ ดมคติ ส่ วนสังคมที สงบสุ ขสมบูรณ์ ด้วย ความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม ผูค้ นประกอบด้ว ยศี ล ธรรมเช่ นเดี ย วกับ พระเจ้า จัก รพรรดิ ปราศจากโจรขโมย ดังบ้านเมื องในยุคพระเจ้าจักรพรรดิ เป็ นสังคมอุ ดมคติ และเมื อวิเคราะห์ ถึง ปั จจัยทีทําให้พระเจ้าจักรพรรดิทรงประสบความสําเร็ จอย่างยอดเยียมในการปกครองก็พบว่า มีหลาย ประการดังนี 1. พระเจ้าจักรพรรดิทรงเป็ นผูม้ ุ่งมันประกอบคุณงามความดีอย่างยิง ประพฤติในจักรวรรดิ วัตรเป็ นอย่างดี และทรงศีลสมําเสมอ (อันเป็ นสาเหตุให้จกั รแก้วปรากฏขึน) 2. พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงรัตนะ 7 ประการเป็ นเครื องมืออันเกิดจากอํานาจบุญของพระองค์ โดยเฉพาะจักรแก้วอันทรงแสนยานุภาพทําให้ทุกประเทศทุกเขตคามยอมสวามิภกั ดิtต่อพระองค์โดย ไม่ตอ้ งใช้อาวุธใดๆ (อันเป็ นเหตุให้พระองค์ไม่มีเครื องกังวลด้วยศัตรู จะมารบหรื อทําสงคราม) 3. พระเจ้าจักรพรรดิทรงมีขนุ คลังแก้ว หรื อ คหบดีแก้ว ช่วยในการหาพระราชทรัพย์เพือใช้ จ่ายในกิจการต่างๆ ในราชอาณาจักร อย่างเพียงพอโดยไม่ขาดแคลนเลย 4. พระเจ้าจักรพรรดิทรงมีขนุ พลแก้ว หรื อ ปริ ณายกแก้ว ช่วยในการบริ หารราชการแผ่นดิน บําบัดทุกข์บาํ รุ งสุ ขแก่ประชาชนโดยทัวหน้ากันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 5.พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงดํารงมันอยู่ในธรรม ทรงสังสอนให้พระราชาทังปวงในปกครอง ของพระองค์และประชาชนของพระองค์ทุกคนตังอยูใ่ นธรรม ประพฤติธรรม เป็ นเหตุให้ประชาชน ปฏิบตั ิตาม และสังคมอยูใ่ นภาวะของสันติสุขได้ง่าย เมือกล่าวโดยสรุ ปแล้วประกอบด้วย 5. ผูน้ าํ สังคมประกอบด้วยคุณธรรมอย่างยิง และเป็ นแบบอย่างแก่ประชาชนได้ 6. ปกครองโดยยึดธรรมคือความถูกต้องดีงามเป็ นใหญ่ 7. สามารถบริ หารเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างดีเยียม มีความเจริ ญรุ่ งเรื องทังทางวัตถุและ จิตใจ 8. มีทีมงานทีมีประสิ ทธิ ภาพ จากข้อมูลเรื องพระราชจริ ยาวัตรของพระเจ้าอโศกมหาราชทีทรงพยายามปฏิบตั ิตามหลัก จักรวรรดิวตั ร และทรงยึดมันในคุ ณธรรมอย่างยิง และทรงตังธรรมมหาอํามาตย์เพือส่ งเสริ มกิจการ ด้านพระพุทธศาสนาอย่างแพร่ หลายในอาณาจักรของพระองค์และเมืองขึน แม้จะไม่สามารถทําได้


108

อย่างสมบูรณ์เช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิ แต่การทีพระองค์ประพฤติวตั รใกล้เคียงกับอุดมคติมาก เพียงใดก็เป็ นเหตุให้บา้ นเมืองมีความสงบสุ ขร่ มเย็นมากขึนเท่านัน ในปรัชญาจีนได้อธิ บายไว้ในประวัติของขงจือว่า ขงจือได้ทดลองบริ หารเมืองๆ หนึ ง ตาม หลักคุ ณธรรม และบริ หารเศรษฐกิ จให้เจริ ญดี ก็ปรากฏว่าเกิ ดความสงบสุ ขร่ มเย็นเป็ นอันมาก จน กล่าวกันว่า บ้านเมืองไร้โจรขโมย คุกว่างเปล่าเลยทีเดียว จะเห็ นได้ว่า ได้มีผูท้ ดลองใช้หลักการธรรมาธิ ปไตยมาบ้างแล้วในประวัติศาสตร์ และก็ เกิ ดผลดีขึนแก่บา้ นเมืองมากน้อยต่างกันไป แต่มีนอ้ ยมากทีจะได้มีการยึดถื อปฏิ บตั ิกนั อย่างจริ งจัง ซึ งอาจจะเป็ นเพราะการจะได้ผนู ้ าํ ทีมีคุณลักษณะดังกล่าวเป็ นเรื องยาก แต่ถึงจะเป็ นเรื องยากอย่างไร ก็ตามหากปั จจัยแรกคือ การได้ผูน้ าํ สังคมทีมีคุณธรรมไม่อาจทําได้แล้ว การเป็ นแบบอย่างและพลัง ขับเคลื อนสังคมก็ไม่อาจเป็ นไปได้ ตลอดถึงการมีทีมงานทีมีประสิ ทธิ ภาพทีจะนําพาประเทศไปสู่ เป้ าหมายก็เป็ นไปไม่ได้ ฉะนัน ผูว้ ิจยั จึงมองว่า หากเราต้องการนําพาประเทศไปสู่ ความเป็ นสังคม อุดมคติแล้ว ก็จาํ เป็ นต้องมีผนู ้ าํ สังคมทีคุ ณธรรมดังกล่าว แม้มีนอ้ ยก็ตอ้ งคัดเลือกให้พบและยกย่อง หรื อ ไม่มีก็ตอ้ งสร้างให้เกิดมีขึน หากย้อนมองกลับมาในเมืองไทยของเราตังแต่เปลียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็ นต้น มาผูน้ ํา สัง คมในระบอบประชาธิ ป ไตยเกิ ดขึ นมาจากการแย่ง ชิ ง อํานาจกันในชนชันสู งบางกลุ่ ม เท่านัน หาได้มุ่งประโยชน์แก่ประชาชนจริ งๆ ไม่ การบริ หารเป็ นไปเพืออํานาจและผลประโยชน์ และอํา นาจ ผลประโยชน์ ท างการเมื อ งดัง กล่ า วยิงซับ ซ้ อนมากยิงขึ นในยุค ปั จ จุ บ นั แม้เ ราจะมี คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติอยู่ก็ตามก็มีเพียงไม่กีครังทีสามารถจับได้ ไล่ทนั นักการเมือง บุคคลทีจะมาเป็ นนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นักการเมือง สามารถจะเป็ นใครก็ได้ ทีมีเงินจํานวนมากๆ มีธุรกิจหลายร้อยล้าน พันล้าน เพือนําเงินมาลงทุนหาเสี ยง หรื อ ซื อเสี ยง หรื อ การหาเสี ย งด้วยวิธีการต่างๆ เช่ น การแจกของ เป็ นต้น ในขณะที ข้าราชการการเมื องมี เงิ นเดื อน สู ง สุ ด เพี ย งประมาณหนึ งแสนบาทซึ งบางคราวเป็ นรั ฐ บาลอยู่เพี ย งไม่ กี เดื อ นเท่ า นันก็ ยุ บ สภา เงิ นเดื อนที ได้ก็ย งั ไม่ส ามารถคื นทุ นได้เลย บางคราวขาดทุ นด้วยซํา แล้วอะไรเป็ นเหตุ จูงใจให้ นักการเมืองยังอยากเป็ นรัฐมนตรี จึงปฏิเสธได้ยากในเรื องของผลประโยชน์อืนทีจะเกิ ดขึนในขณะ ดํารงตําแหน่งทางการเมือง เท่ากับว่า นักการเมืองทีมีคุณธรรมสู งแต่ไม่มีเงิ นก็ไม่มีโอกาสทีจะเป็ น นักการเมืองได้ เพราะแม้แต่ค่าทําป้ ายโฆษณาหาเสี ยงก็ไม่มี นอกจากนีนักการเมืองยังมีส่วนเกียวข้องกับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ดังเช่นมักมีข่าว ทางสื อมวลชนว่า พรรคของภาคนี ได้เป็ นรัฐบาล ภาคนี ก็จะได้งบประมาณมาก จังหวัดใดที ส.ส. เป็ นฝ่ ายรัฐบาลก็จะได้งบเยอะ จังหวัดของส.ส.ฝ่ ายค้านได้งบน้อย จนมีส.ส.บางท่านย้ายพรรคเพราะ อ้างว่า เป็ นฝ่ ายค้านได้งบประมาณน้อย เป็ นต้น


109

เมือผูน้ าํ สังคมไทยยังเป็ นใครก็ได้ทีมีเงิ นมากๆ และลงทุนหาสี ยงแล้วเข้ามากอบโกยเงิ น แผ่นดิ นในรู ปแบบของการคอร์ รัป ชันอยู่เช่ นนี ก็ป ฏิ รูปประเทศไทยก็ไ ม่ อาจจะปฏิ รูปได้สําเร็ จ ฉะนัน การจะปฏิรูปสังคมไทยให้ สําเร็ จได้ตอ้ งเริ มจากการปฏิรูปผูน้ าํ สังคม ได้แก่ นักการเมือง และ ระบบการคัดเลือก ควบคุ ม และตรวจสอบนักการเมือง เสี ยใหม่ให้ได้ก่อน เพราะหากระดับบนยัง คอร์ รัปชัน ก็เป็ นเหตุให้ระดับล่างคอร์ รัปชันไปด้วยเป็ นขบวนการ เมือสามารถวางระบบคัดเลือกผูน้ าํ สังคมจะประชาชนเกิดความเชื อมันในตัวผูน้ าํ ซึ งไม่ใช่ แค่ความรู ้เท่านัน แต่เป็ นคุณธรรมจริ ยธรรมของผูน้ าํ เช่น ผูว้ จิ ยั เห็นว่า ในคราวทีบ้านเมืองเกิดวิกฤต มีบุคคลผูห้ นึงทีได้รับการยอมรับจากสังคมให้มาทําหน้าทีบริ หารประเทศหลายครัง แม้ปัจจุบนั ก็ยงั มีบทบาทอยู่ก็คือ ท่านอานันท์ ปั นยารชุ น ซึ งท่านไม่ได้มาเพราะอยากมาเป็ นนายกรัฐมนตรี แต่มา เพือช่วยบ้านเมือง เมือมาเป็ นแล้วก็ไม่ได้แสดงอาการอาลัยอาวรณ์อยากจะมาเป็ นอีก หรื อ ขวนขวาย ว่าอยากจะเป็ นนายกรั ฐมนตรี อีก แต่ ท่า นก็ ได้ดาํ รงตําแหน่ งนายกรั ฐมนตรี ถึ งสองครัง และเป็ น ประธานคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้วย เมือวางระบบคัดเลื อกผูน้ าํ จนได้ผูน้ าํ สังคมทีมีคุณธรรมแล้ว จึงให้ผูน้ าํ สังคมสร้ างทีมงาน ขึนมาเพือพัฒนา 2 ด้านสําคัญพร้อมๆ กัน คือ ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม เมือสร้างเศรษฐกิจให้ดี อย่างถึงระดับรากหญ้า ชาวประชาก็เป็ นสุ ข พร้อมๆ ไปกับการสร้าง สั ง คมอุ ดมธรรม กล่ า วคื อ เป็ นสั ง คมแห่ ง คุ ณ ธรรมความดี ให้ เรื องคุ ณ ธรรมความดี เป็ นวาระ แห่งชาติทีจะต้องส่ งเสริ มสนับสนุ นกันให้แพร่ หลาย ไม่ใช่เพียงแค่นโยบายแบบไฟไหม้ฟาง ทํากัน เป็ นคราวๆ แล้วก็เงี ยบ เช่น จัดอบรมให้ขา้ ราชการ 3 วัน แล้วก็เงียบไป อีกหลายปี ถึงจัดอีกเป็ นต้น โดยทีหัวหน้าหน่วยงานระดับทีสังจัดอบรมก็อาจจะเป็ นผูท้ ุจริ ตคอร์ รัปชันอยูก่ ็ได้ เรื องนีเป็ นเรื องสําคัญมากเพราะหากเศรษฐกิจไม่ดี ความยากจนก็บีบบังคับให้ประกอบการ ทุจริ ต หากประเทศไทยยังมีความแตกต่างระหว่างคนรวยกับคนจนจํานวนมาก งานกระจุกตัวอยูใ่ น เมืองใหญ่ รายได้ตาํ ค่าครองชีพสู ง ก็ไม่มีทางจะแก้ปัญหาได้ ปั ญหาเหล่านี นักวิชาการได้ศึกษากัน มามากแล้ว แต่ก็ไม่อาจแก้ไขได้เพราะไม่ลงมือแก้ไข เมืองใหญ่ก็ยิงใหญ่ขึนเรื อย ชนบทก็ยงั ลําบาก ยากจนเหมือนเดิม ถ้าเราไม่มีรถไฟฟ้ าใช้ ไม่มีรถไฟใต้ดิน ไม่มีแอร์ พอร์ ตลิงค์ ไม่มีสนามบินสุ วรรณภูมิ ไม่มี ตึกใบหยก ไม่มีศูนย์การค้าใหญ่โต ตลอดถึง เมกะโปรเจคอืนๆ ทีมีมูลค่าหลายหมืน หลายแสนล้าน แต่ถา้ เงิ นหลายหมืน หลายแสนล้านนี ย้อนกลับไปพัฒนาชนบท พัฒนารายได้เกษตรกร ชาวสวน ชาวไร่ ชาวบ้านในชนบทให้เขามีอยูม่ ีกินด้วยตนเอง ไม่ตอ้ งจากครอบครัวมาหางานทําในกรุ งเทพฯ ไม่ตอ้ งถูกความยากจนบีบบังคับให้เขาทําในสิ งทีไม่ควรทํา เหมาะสมแล้วหรื อทีเงินภาษีมหาศาลถูก นํามาพัฒนาแค่เพียงบางจุดของประเทศ ปั ญหาเหล่านี ถูกสะสมจนบานปลายให้มีปัญหาเรี ยกร้ อง


110

ตามหลายครัง เช่น กรณี การชุมนุมประท้วงต่างๆ หากแก้ปัญหาเศรษฐกิจไม่ได้ ประชาชนก็ไม่อาจ ประพฤติคุณธรรมได้สะดวก

บทสรุป : ปัญหาและทางออกของผู้นําสั งคมไทย เมือประเทศไทยมาถึงจุดวิกฤตทางการเมืองจนเกิดการชุ มนุ มประท้วงรัฐบาลต่อเนื องกันมา หลายปี โดยเฉพาะตังแต่รัฐประหารปี 2549 เป็ นต้นมา และเหตุการณ์ได้มาถึงจุดแตกหักอย่างรุ นแรง ในเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2553 มีผเู ้ สี ยชี วิต 90 คน บาดเจ็บกว่า 2,000 คน เหตุการณ์ดงั กล่าวได้ จบลงด้วยการสลายการณ์ชุมนุมได้ดว้ ยกําลังทหารและรถถัง แต่พระราชกําหนดการบริ หารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิ นกลับถูกตรึ งไว้ใช้อย่างยาวนานหลายจังหวัดทัวประเทศ พร้อมกับระเบิดทีดัง ขึนอยูไ่ ม่ขาดระยะ การสลายการชุ มนุ มด้วยวาทกรรมการกระชับพืนที หรื อ ขอคืนพืนทีของรัฐเป็ น เหตุ ให้เกิ ดการแตกแยกอย่างรุ นแรงไปทัวประเทศและเป็ นการแตกร้ าวอย่างลึ กซึ ง แม้รัฐบาลจะ โฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ปรองดองกันอย่างไรก็ตาม แต่ในเชิ งลึ กแล้ว ไม่สามารถทําได้เลย การ แบ่งแยกข้างกันของประชาชนที ศรั ทธาพรรคการเมื องยังแบ่งขัวกันอย่างเข้มข้นและมีทีท่าว่าจะ เข้มข้นขึ นเรื อยๆ ต่างฝ่ ายต่างจัดสัมมนาบ้าง ปราศรั ยบ้าง ชุ มนุ มกันตามโอกาสบ้าง อย่างไม่ขาด ระยะ ในขณะทีผูน้ าํ สังคมโดยเฉพาะนักการเมื องไทยยังอยู่ในวังวนของการเมืองแบบเก่าๆ อยู่ และปั ญหาการทุ จริ ตคอร์ รัปชันยังผุดมาเรื อยๆ เหมื อนดอกเห็ ด การโจมตี กนั ทางการเมื อง การ ทําลายความน่าเชื อถือ สงครามคลิป และการแถลงข่าวโจมตีฝ่ายตรงข้าม ล้วนแต่เป็ นการเพิมความ แตกแยกมากยิงขึน อย่างยากทีจะหันกลับมาปรองดองกันได้ ดังทีนักคิดหลังนวยุคมองว่า ความยึดมันถือมัน เป็ นเหตุให้เกิด การแบ่งแยก การแบ่งแยก เป็ นเหตุให้เกิด การแข่งขัน การแข่งขัน เป็ นเหตุให้เกิด ความไม่ไว้ใจกัน ความไม่ไว้ใจกัน เป็ นเหตุให้เกิด การทําลายกัน ส่ วนทางแก้ไขก็คือ การส่ งเสริ มความคิ ดแบบไม่ยึดมันถื อมัน ไม่ แบ่งฝั กแบ่งฝ่ ายให้ก ับ ประชาชน เพราะว่า ความไม่ยดึ มันถือมัน นําไปสู่ การแบ่งหน้าทีกันรับผิดชอบ การแบ่งหน้าที นําไปสู่ ความสามัคคี ความสามัคคี นําไปสู่ ความไว้ใจกัน ความไว้ใจกัน นําไปสู่ ความช่วยเหลือกัน ความช่วยเหลือกัน นําไปสู่ สันติภาพ (กีรติ บุญเจือ, 2545)


111

แต่ปัญหาใหญ่ก็คือ การส่ งเสริ มการคิดแบบไม่ยดึ มันถือมันในแบบหลังนวยุคสายกลางนียัง ถูกจํากัดอยู่ในวงวิชาการหรื อนักคิดบางกลุ่มเท่านันซึ งไม่มีพลังขับเคลื อนทางสังคมเพียงพอทีจะ เปลี ยนแปลงสังคมได้ และพลังขับเคลื อนสังคมดังกล่ าวนี จะเกิ ดขึนได้อย่างไร คําตอบก็คือ ผูน้ าํ สังคม แต่ผูน้ าํ สังคมที เรามี โดยปกติ นนยั ั งไม่สามารถที จะขับเคลื อนได้ เพราะเป็ นเพียงผูท้ ีได้รับ คะแนนเลือกตังมากทีสุ ด ไม่ได้เป็ นไปตามคุณลักษณะของผูน้ าํ สังคมตามหลักพระพุทธศาสนา นัน คื อ เป็ นผูป้ ระกอบด้วยปั ญญาและคุ ณ ธรรมอย่า งสู ง ทํา อย่า งไรเราจึ ง จะได้ผูน้ ํา ที มี คุ ณ ลัก ษณะ ดังกล่าวได้ คําตอบก็คือ เปลี ยนรู ปแบบการสรรหา และโครงสร้ างการบริ หารการเมื องใหม่ โดย ผูน้ าํ สังคมทีได้มาใหม่นนเป็ ั นผูท้ ีมีคุณธรรมอย่างสู ง มีความเสี ยสละตนเองเพือชาติบา้ นเมืองอย่าง แท้จริ ง ดุ จดังพระโพธิ สัตว์ในพระพุทธศาสนา โดยไม่มีผลประโยชน์ใดๆ ให้นกั การเมืองเข้ามา กอบโกยได้ดงั ในอดี ต แล้วคําถามที ตามมาก็คือ จะมีอยู่จริ งหรื อ นักการเมื องชนิ ดโพธิ สัตว์นีใน เมืองไทยของเรา ข้อนีผูว้ ิจยั เชื อว่า มีอย่างแน่นอน เพราะบุคคลทีชอบช่วยเหลือสังคมและปรารถนา ทีจะเห็นการเปลียนแปลงสังคมในทางทีดีเหล่านีมีอยูใ่ นสังคมไทยเราแล้ว ประเด็นต่อมาแล้วเราจะเริ มอย่างไร ผูว้ ิจยั ขอเสนอมุมมองว่า เรามีคณะกรรมการปฏิ รูป ประเทศไทย และเราควรใช้กลไกนี สร้างความร่ วมมือกันทังประเทศเพือการเปลี ยนแปลงประเทศ อย่างยังยืน โดยในเบืองต้นควรดําเนินการดังนี 1.กําหนดเป้ าหมายร่ วมกันของคนในชาติ ในการที จะร่ วมกันเปลี ยนแปลงประเทศอย่า ง ยังยืน 2.ระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่ วนเพือแสวงหาวิธีการดําเนิ นการเพือบรรลุวตั ถุประสงค์ ดังกล่าว ซึ งผูว้ จิ ยั มองว่า มันอาจจะมีกีสิ บขันตอนก็ตาม แต่เบืองต้นสิ งทีควรทําเป็ นอย่างแรกคือ ทํา อย่างไรเราจึงจะสรรหาผูน้ าํ สังคมทีมีคุณธรรมและปั ญญาอย่างแท้จริ งได้ เพราะหากเราได้วิธีการ แก้ปัญหาทีดีอย่างไร แต่เรายังได้นกั การเมืองแบบเก่ามาแก้ปัญหา ก็ไม่สามารถทําได้สําเร็ จ เพราะ พวกเขาย่อมไม่ทาํ ลายผลประโยชน์ของตนเอง 3.ร่ วมกันหาจุดอ่อน ของระบบ และหาทางแก้ไข วิธีการสรรหาผูน้ าํ 4.โครงสร้างการบริ หารมีจุดบกพร่ องทําให้เกิ ดการทุจริ ตได้อย่างไร จะมีวิธีแก้ไขอย่างไร ทําอย่างไร นักการเมืองจึงจะไม่มีส่วนได้เสี ยในผลประโยชน์ หรื อ งบประมาณ 5.เมื อได้วิธีก ารสรรหาผูน้ าํ สัง คม วิธีการป้ องกันการทุ จริ ตของนักการเมื องด้วยระบบที รัดกุมแล้ว จะทําการร่ างรัฐธรรมนูญใหม่ หรื อ จะทําการทดลองสรรหาผูน้ าํ แบบใหม่ดว้ ยวิธีการใดๆ ก็ตาม โดยให้อาํ นาจเต็มในการขับเคลือนสังคมไปสู่ สังคมแห่งคุณธรรมแก่ผนู ้ าํ พันธุ์ใหม่ ผูว้ จิ ยั เชือว่า เมือได้ผนู ้ าํ ทีเข้มแข็ง ประกอบด้วยปั ญญาและคุณธรรมอย่างสู งแล้ว ผูน้ าํ สังคม ชนิ ดนี ย่อมจะสามารถแสวงหาที มงานทีดี มีประสิ ทธิ ภาพได้ เมือผูน้ าํ ระดับสู งมีความเข้มแข็งใน


112

ความซื อสั ตย์สุ จริ ตแล้ว ผูน้ ํา ระดับ กลางก็ ต้องมี ความเข้ม แข็ง ตามไปด้วย เมื อผูน้ ํา ระดับ กลาง เข้มแข็งในคุณธรรมแล้วย่อมส่ งผลต่อผูน้ าํ ระดับล่างให้เข้มแข็งตามไปด้วย นันก็คือว่า ผูน้ าํ เข้มแข็ง ชุ มชนก็เข้มแข็ง และความเข้มแข็งในทางคุณธรรมจริ ยธรรมกลายเป็ นกระแสหลักของสังคมตังแต่ ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ระดับสังคม และระดับประเทศชาติ อีกสิ งหนึงทีมีความสําคัญมากและเป็ นปั จจัยให้ประชาชนประพฤติคุณธรรมได้สะดวกก็คือ เศรษฐกิจ เป็ นหน้าทีทีสําคัญของผูน้ าํ ทีจะต้องบริ หารเศรษฐกิ จให้เจริ ญอย่างทัวถึงทัวประเทศ โดย ไม่มองทีความเจริ ญด้านนีเพียงด้านเดียวดังเช่นในอดีต ไม่ตอ้ งมีเมกะโปรเจคท์มูลค่าหลายหมืนล้าน มาลงในเมื องใหญ่ก็ได้ เพราะผูค้ นเบียดกันจนไม่มีทีจะอยู่แล้ว แต่ควรจะกระจายความเจริ ญทาง เศรษฐกิ จไปยังชนบทซึ งเป็ นคนส่ วนมากของประเทศให้มากที สุ ด แต่ ความเจริ ญในที นี ก็ไ ม่ไ ด้ หมายความว่า ทุกคนจะต้องรวยมีบา้ นหลังใหญ่ มีรถหรู ๆ ขับแบบสังคมวัตถุนิยม แต่ความเจริ ญใน ทีนี ต้องเจริ ญภายใต้คุณธรรมและความสุ ข กล่าวคือ ทุ กคนมี ความพอเพียงในชี วิตความเป็ นอยู่ มี ความสุ ขในชีวติ ทีเรี ยบง่าย และอิงอยูก่ บั ศาสนา ซึ งสังคมชนบทไทยพร้อมทีจะเป็ นตัวอย่างให้สังคม เมืองได้ เมื อได้ผูน้ ํา ทุ ก ระดับ ที ประกอบด้วยคุ ณ ธรรมขันสู ง มี เศรษฐกิ จที เจริ ญดี ใ นทุ ก หนแห่ ง ประชาชนก็ดาํ รงตนอยูใ่ นศีลธรรมอันดี เท่านี สังคมอุดมคติแบบยุคพระเจ้าจักรพรรดิ หรื อ ยุคพระ เจ้าอโศกมหาราช ก็สามารถทีจะเกิดขึนได้ในสังคมไทย


113

บรรณานุกรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิ การ. (2530). พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับหลวง. เล่มที 10, 11, 15, 21, 23, 25, 36. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์กรมการศาสนา. กาญจนา ไชยพันธุ์. (2549). กระบวนการกลุ่ม. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . จํานงค์ อดิวฒั นสิ ทธิt. (ม.ป.ป.). จริยธรรมสํ าหรับผู้นํา. เอกสารประกอบการสอนระดับ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพัฒนสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . (เอกสารอัดสําเนา) เตือนใจ แววงาม. (2534). พลวัตของกลุ่มและการทํางานเป็ นทีม. กรุ งเทพฯ : เม็ดทราย พริ นติง. ทวี ผลสมภพ. (2534). ปัญหาปรัชญาในการเมืองของโลกตะวันออก. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. นวลศิริ เปาโรหิ ตย์. (2544). จิตวิทยาสั งคม. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. เนตร์ พณั ณา ยาวิราช. (2546). ภาวะผู้นํา และผู้นําเชิ งกลยุทธ์ . กรุ งเทพฯ : เซ็นทรัลเอกซ์เพรส. ปรี ชา ช้างขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั สามัคคีสาส์น จํากัด. พระครู โสภณปริ ยตั ิสุธี. (2552). รัฐศาสตร์ ในพระไตรปิ ฎก. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. มนตรี ธี รธรรมพิพฒั น์. (2540). จริยธรรมกับภาวะผู้นํา : ศึกษาทัศนะของนักวิชาการรัฐศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยแห่ งประเทศไทยที[มีต่อผู้นําทางการเมือง. วิทยานิ พนธ์ปริ ญญาอักษรศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิ ดล. วัชรี ทรงประทุม. (2550). ความคิดทางการเมืองในพุทธศาสนา. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. วิจิตร อาวะกุล. (2530). เทคนิคมนุษยสั มพันธ์ . กรุ งเทพ: โอ.เอส. พริ นติง เฮาส์. อ้างใน กาญจนา ไชยพันธุ์. (2549). กระบวนการกลุ่ม. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . สมัย จิตต์หมวด. (2551). พฤติกรรมผู้นํา. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.