offset printing

Page 1

Offset

Printing


Topic ประวัตกิ ารพิมพ์ออฟเซต การพิมพ์ออฟเซต ข้ อดีของการพิมพ์ด้วย ระบบออฟเซต ข้ อเสียของการพิมพ์ด้วย ระบบออฟเซต ความสำ�คัญของการพิมพ์ งานพิมพ์ออฟเซต สิงพิ่ มพ์ทีเกี่ ยวกั ่ บระบบออฟเซต ชนิดของเครื องพิ ่ มพ์ออฟเซต

OFFSET


Offset Printing “

การพิมพต์ อ้ งใช้ทงศาสตร์ ั ้ และศิลป์รวมไปถึง

ความเชียวชาญความชำ ่ �นาญเฉพาะด้านมาพิจารณา ประกอบการพิมพ์งาน ยิงเป็่ นงานทีมีค่ วามละเอียดสูงๆ ต้องการความแม่นยำ�สูงต้องพิจารณา อย่างละเอียดในทุกจุด


Ofset History

History Offset หรือ การพิมพ์พืนราบ ้ มีต้นกำ�เนิดจากการพิมพ์

ด้ วยการค้ นพบของ อลัวส์เซเนเฟลเดอร์ (AloisSenefelder) ด้ วยการใช้ แท่งไขมันเขียนลงบนแผ่นหินขัดเรี ยบใช้ น้�ำ บางๆหรื อ ความเปี ยกชื นลงไปคลุ ้ ม พื นที้ ซึ่ งไม่ ่ ต้ องการ ให้ เ กิ ด ภาพก่ อ นแล้ ว จึ ง คลึง หมึก ตามลงไปไขมัน ที เขี่ ย น เป็ นภาพจะรั บหมึกและผลึกดันน้ �และน้ ำ �ก็ำ ผลักดันหมึก ให้ ป นกัน เมื อนำ่ � กระดาษไปทาบและใช้ น้ �หนั ำ ก กดพิ ม พ์ พอควรกระดาษนั นจะรั ้ บ และถ่ า ยโอนหมึ ก ที เป็่ นภาพ จากแผ่ น หิ น ปั จจุ บั น การพิ ม พ์ พื นราบที ้ รู ่ ้จั ก กั น ในนาม พิ ม พ์ หิ น ได้ พั ฒ นาจากการใช้ คนดึ ง แผ่ น หิ น ที หนาและ ่ หนักกลับไปกลับมาเพือทำ่ �การพิมพ์ ได้ ชัวโมงละไม่ ่ กีแผ่​่ น การพิมพ์ระบบนีได้​้ มีความเปลียนแปลงเป็ ่ นลำ�ดับ จากการ ใช้ แรงคนเป็ นเครื องจั ่ กร ไอน้ �และจากเครื ำ องจั ่ กร ไอน้ �เป็ ำ น ครื องยนต์ ่ พร้ อมกับเปลียนลั ่ กษณะของแผ่นภาพพิมพ์

จากหินเป็ นโลหะ ทีบางเบาสามารถโค้ ่ งโอบรอบไม่ได้ และ ได้ ใช้ เป็ นผืนผ้ ายาง (rubber printing) กระดาษหรื อวัสดุ พิมพ์จะไม่สมั ผัสกับแม่พิมพ์(plate cylinder)โดยตรง แต่ จะอยูในระหว่ ่ างโมผ้ ายาง (blandet cylinder)กับโมกด พิมพ์ (imoression cylinder) ชือของวิ ่ ธีนี เคยเรี ้ ยกเมือ ่ เริ มแรกว่ ่ า อันเป็ นภาษากรี ก ทีมี่ความหมายว่าเขียน บนหิน ได้ เปลียนแปลงเพิ ่ มเติ ่ มคำ�ว่า เซตออฟ (set-off) หรื อ ‘’ออฟเซต’’ (offset) ซึงหมายถึ ่ งการพิมพ์ได้ รับหมึก จากแม่พิมพ์ไปหมดแต่ละแผ่น แล้ วเตรี ยมรับหมึกพิมพ์ ในแผ่นต่อไป ชือของวิ ่ ธีพิมพ์นีจึง้ เรี ยกว่า ‘’ออฟเซตลิโธ กราฟี ’’(offset lithography) ในปั จจุบนั สามารถพิมพ์ลง บนวัสดุพิมพ์หลายชนิดไม่วา่ จะเป็ นกระดาษผิวหยาบ พลาสติกผ้ าแพรหรื อแผ่นโลหะ


’’ลิโธกราฟี ’’ (Lithography)


Offset

Printing

การพิมพ์ออฟเซตเป็ นระบบการพิมพ์ทมี​ี พ่ นผิ ื ้ วแม่ พิมพ์ทกุ บริเวณมีความราบเรียบเท่ากันทัวทั่ งแผ่ ้ น การแยก ส่วนบริเวณภาพกับบริเวณทีไร้่ ภาพใช้หลักการทีไขมั ่ นไม่ รวมตัวกับน้าหรือรวมตัวกันน้อยมาก ออฟเซตจึงเป็ นระบบ การพิมพ์ประเภทเดียวทีต้อ่ งใช้น้าในการพิมพ์เพือให้ ่ น้าเกาะ บริเวณไร้ภาพและให้หมึกเกาะบริเวณภาพ ออฟเซ็ตเป็ น ระบบพิมพ์ทเป็ ี ่ นการพิมพ์ทางอ้อม (indirect printing) คือ แม่พมิ พ์จะไม่ถ่ายทอดภาพลงบนวัสดุทใช้ ี ่ พมิ พ์โดยตรง แต่ จะถ่ายโอนไปบนผ้ายางทีเป็่ นสือกลางระหว่ ่ างแม่พมิ พ์กบั วัสดุทใช้ ี ่ พมิ พ์ โมยางจะรับภาพจากแม่พมิ พ์และมาถ่ายทอด ลงบนวัสดุทใช้ ี ่ พมิ พ์อกี ทีท�ำ ให้ได้ภาพตามทีต้อ่ งการ การพิมพ์ออฟเซตเป็ นการพิมพ์ทนิี ย่ มใช้กนั มากท ่ี สุดในการพิมพ์สงพิ ิ ่ มพ์ทวไปที ั ่ ต้อ่ งการคุณภาพสูง แม่พมิ พ์ ออฟเซตมีผวิ หน้าทีแบนราบส่ ่ วนใหญ่ท�ำ จากอลูมเิ นียมแผ่น ทีเคลื ่ อบด้วยสารไวแสง การเตรียมพิมพ์ในระบบออฟเซตนี ้ ค่อนข้างต้องอาศัยผูทีมี้ ค่ วามชำ�นาญ เพราะการพิมพ์ระบบ นีมี้ขนตอนการทำ ั ้ �งานทียุงยากซั ่​่ บซ้อนเพราะมีปจั จัยหลาย อย่างเข้ามาเกียวข้ ่ อง

หมึกพิมพ์ น้� ำ ผ้ายาง โมแม่พมิ พ์ ความเร็ว ทุกอย่างที ่ กล่าวมาเป็ นแค่สว่ นหนึงที่ มีค่ วามสัมพันธ์กนั หมดทีจะก่ ่ อให้ เกิดงานสิงพิ่ มพ์ทได้ ี ่ คณ ุ ภาพ เครืองพิ ่ มพ์ออฟเซตแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ คือ แบบหน่วยพิมพ์ สามโม (three-cylinder unit) ส่วนใหญ่ ใช้ในเครืองพิ ่ มพ์ป้อนแผ่น หรือ เครืองพิ ่ มพ์อดั สำ�เนาหรือ ออฟเซตเล็ก ประเภททีสอง ่ คือ แบบโมยางสัมผัสโมยางหรือ โมยางชิดกัน(blanket to blanket) ใช้โมยางสองลูกสัมผัสกัน โดยไม่มโี มกดพิมพ์ ใช้กบั งานพิมพ์บนสิงพิ่ มพ์ทต้ี อ่ งทำ�การ พิมพ์ทงสองด้ ั ้ าน (perfecting) ในการป้อนกระดาษเพียงครัง ้ เดียว


ข้ อดีของการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซต มีดงั นี ้

1.พิมพ์สีพืนทึ้ บบริ เวณภาพทีกว้่ างใหญ่ได้ สีท ี่เรี ยบ เมือเปรี ่ ยบเทียบกับระบบอืนๆ่ 2.ใช้ เวลาน้ อยในงานเตรี ยมพิมพ์สำ�หรับผู ที้ มี่ความ ชำ�นาญในการควบคุมเครื อง่ 3. การเก็บและจัดหาพืนที้ เก็่ บแม่พิมพ์คอ่ นข้ างเป็ นไป ได้ งา่ ยเพราะเป็ นแผ่นแบนราบ 4. ความนุมของผ้ ่ ายางทำ�ให้ สามารถพิมพ์บนวัสดุสงิ ่ พิมพ์ทีมี่พืนผิ้ วหยาบได้ 5.จุดบริ การผลิตสิงพิ่ มพ์มีแพร่หลายจึงหาแหล่งผลิต งานได้ ไม่ยาก 6. เป็ นงานพิมพ์ทีมี่ความละเอียดสูงมาก หากมีการ ควบคุมคุณภาพทีดี่ จะได้ งานพิมพ์ทีเหมื ่ อนจริ งมาก

ข้ อเสียขอการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซต มีดงั นี

1.การควบคุมกาผลิตมีความยุงยากซั ่ บซ้ อนระหว่าง นำ�ก้ บั หมึกบนแม่พิมพ์ต้องใช้ ความรู ้ทักษะ 2.การสูญเสียของกระดาษสูญเสียมากกว่าการพิมพ์ ในระบบอืนๆ่ เนืองจากปั ่ ญหาหารปรับสมดุลการ ป้อนหมึกและน้ �ำ


Offset

Printer

เครื องพิ ่ มพ์ออฟเซตโดยทัวไปมี ่ หลักการเดียวกันคือ ประกอบด้ วยโมแม่พิมพ์ โมยางและโมพิมพ์ ทีโมแม่ ่ พิมพ์จะ มี ระบบการให้ น้�และหมึ ำ กาต่อเพลทอยูด้ ว่ ย การถ่ายทอดภาพเกิดจาก โมแม่พิมพ์ ได้ รับหมึก แล้ วถ่ายทอดภาพให้ โมยาง แล้ วโม ยางจึงถ่ายทอดให้ กบั กระดาษ หรื อวัสดุทีใช้่ พิมพ์ ในการถ่ายทอดภาพจากโมหนึงไปอี ่ กดมหนึงนั่ น ้ จะต้ องใช้ แรงกดทีน้ ่อยทีสุด่

ออฟเซตเล็ก เป็ นเครืองพิ ่ มพ์ขนาด

พิมพ์ทีมี่จำ�นวนพิมพ์ไม่มากนัก เช่น ครัง ้ เล็ก พิมพ์กระดาษได้ ขนาด 10” x 15” ละไม่เกิน 5,000 ชุด ถ้ าเป็ นการพิมพ์ ถึงขนาด 13” x 17” โดยประมาณเครื อง่ จำ�นวนมาก ๆ แล้ ว จะเสียเวลามาก ขนาดนีมีอ้ ปุ กรณ์ประกอบในการทำ�งาน เพราะมีขนาดเล็ก ไม่สามารถลงพิมพ์ น้ อยไม่ยงยาก ุ ่ ใช้ งา่ ย เหมาะสำ�หรับงาน คราวละหลาย ๆ แบบได้ เครื องพิ ่ มพ์ พิมพ์ขนาดเล็ก เช่น หัวจดหมาย หนังสือ ขนาดนีนิย้ มใช้ กนั ทัวไปในท้ ่ องตลาด ถ้ า เวียน แผ่นโฆษณาเผยแพร่เล็ก ๆ ไม่ ใช้ พิมพ์หนังสือยกจะพิมพ์หนังสือขนาด เหมาะสำ�หรับงานพิมพ์สอดสี หรื อสีสี่ 8 หน้ ายก ( 7.50” x 10.25” ) และขนาด เพราะระบบ ฉากยังไม่มีความเทียงตรง ่ A4 ( 8.25” x 11.75” ) ได้ ทังนี้ แล้​้ วแต่ เพียงพอ ขนาดของเครื องพิ ่ มพ์

ขนาดตัดสี่ เป็ นเครืองพิ่ มพ์ขนาด

ทีใหญ่ ่ กว่าออฟเซตเล็ก สามารถพิมพ์ ได้ ขนาดประมาณ 15” x 21” หรื อ 18” x 25” มีอปุ กรณ์ชว่ ยในการพิมพ์มากขึน ้ ฉากพิมพ์มีความเทียงตรงมากขึ ่ น ้ และ มีระบบหมึกและน้ �ทีำ ดีข่ นึ ้ สามารถพิมพ์ งานพิมพ์ได้ เกือบทุกชนิดไม่วา่ จะเป็ น สีเยว หรื อหลายสีก็ตาม เหมาะสำ�หรับ พิมพ์หนังสือยกเป็ นเล่ม ภาพโปสเตอร์ ขนาดกลาง งานพิมพ์ทวไป ั ่ และงาน

ขนาด 7.50” x 10.25” ( เจียนเล่มแล้ ว ) ซึงเรี่ ยกว่าขนาด 8 หน้ ายก แต่ถ้าต้ องการพิมพ์หนังสือ ขนาด A4 แล้ วต้ องใช้ เครื องพิ ่ มพ์ขนาด ตัดสีที่มี่ขนาดใหญีขึนคื ่ ้ อประมาณ 18” x 25” จึงจะสามารถพิมพ์ได้ คราวละ 4 หน้ า ถ้ าใช้ ขนาด 15.25” x 21.50” จะ พิมพ์ได้ คราวละ 2 หน้ าเท่านัน ้ ซึงทำ่ �ให้ เสียเวลา อนึงในการพิ ่ มพ์หนังสือขนาด A4 จะต้ องใช้ กระดาษแผ่นใหญ่ขนาด 24” x35”จึงจะลงตัวพอดี และ ไม่เหลือ การทีเรี่ ยกว่าเป็ นขนาดตัดสี เพราะใช้ ่ พิมพ์กระดาษขนาด 15.25” x 21.50” ที ่ เศษ เกิดจากการตัดแบ่งกระดาษ แผ่นใหญ่ ขนาด 31” x 43” เป็ น 4 ส่วนได้ พอดี ซึงเมื ่ อ่ นำ�กระดาษขนาด 15.25” x 21.50” ไปพิมพ์และ พับ แล้ วจะได้ หนังสือ จะลงตัวพอดีและไม่เหลือ เศษ


Offset Printer ขนาดตัดสอง เป็ นเครืองพิ ่ มพ์ใหญ่กว่าขนาดตัดสีเกื่ อบเท่าตัว กล่าว

คือสามารถพิมพ์ได้ ขนาดประมาณ 25” x 36” หรื อบางแบบพิมพ์ได้ ถงึ ประมาณ 28” x 40” เหมาะสำ�หรับการใช้ พิมพ์งานทางการค้ าทัวไป ่ เช่น หนังสือยก โปสเตอร์ แผ่นโฆษณา และงานพิมพ์ทกุ ชนิด เนืองจาก ่ สามารถพิมพ์ได้ ขนาดใหญ่ จึงสามารถลงพิมพ์ได้ คราวละ หลาย แบบ แล้ วมาตัดซอยเป็ นขนาดทีต้ อ่ งการภายหลัง ทำ�ให้ ประหยัด เวลาในการพิมพ์ เป็ นเครื องพิ ่ มพ์ขนาดที นิ่ ยมใช้ กนั ทัวไป ่ มี อุปกรณ์ประกอบในการช่วยการพิมพ์ดี ฉากพิมพ์แม่นยำ� และ ความเร็วสูง การทีเรี่ ยกว่าขนาดตัวสองเพราะใช้ กระดาษพิมพ์ขนาด 31” x 43” ทีนำ่�มาตัดเป็ น 2 ส่วนได้ คือ 21” x 30”

ขนาดตัดหนึง เป็่ นเครืองพิ ่ มพ์ชนิดป้อนเป็ นแผ่นขนาดใหญ่ทีสามารถพิ ่ มพ์กระดาษขนาด 30” x 40” หรื อโตกว่าได้ มี

อุปกรณ์ชว่ ยในการพิมพ์มากขึน ้ ส่วนมากใช้ ในการพิมพ์หนังสือ โปสเตอร์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ทีมี่ปริ มาณ การพิมพ์มาก ๆ มี ใช้ น้อยกว่าขนาดตัดสีและขนาดตั ่ ดสอง ในปั จจุบนั จัดได้ วา่ ระบบการพิมพ์ออฟเซตเป็ นระบบการพิมพ์ทีมี่ผนิู ้ ยมใช้ กนั อย่างกว้ างขวางมากทีสุด่ เพราะ ให้ คุณภาพของงานพิมพ์สงู และราคาไม่สงู มาก ( เมือพิ่ มพ์จำ�นวนตังแต่ ้ 3.000 แผ่นขึนไป ้ ) เหมาะสำ�หรับ ใช้ พิมพ์ สือสิ่ งพิ่ มพ์ทกุ ชนิดตังแต่ ้ หนังสือ แผ่นโฆษณา โปสเตอร์ เอกสารแผ่นพับ บรรจุภณ ั ฑ์ และงานทีมี่ปริ มาณมาก ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ทังชนิ ้ ดทีพิ่ มพ์สีเดียวและภาพสีสี่ สำ�หรับประเทศไทยการพิมพ์ระบบออฟเซตได้ เริ มใช้ ่ มากกว่า 30 ปี แล้ ว และจนถึงทุกวันนีก็ม้ ีใช้ กนั อย่างกว้ างขวางทัวไป ่ จน อาจกล่าวได้ วา่ งานพิมพ์ทีมี่คณ ุ ภาพ งานพิมพ์จำ�นวนมาก ๆ และงานพิมพ์สสี​ี ่ ทังหมดใน ้ ปั จจุบนั พิมพ์ด้วยระบบนีเกื้ อบ ทังสิ้ น ้ ในกรณีของการพิมพ์หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร ใน กรุงเทพมหานครนัน ้ เกือบทังหมดเป็ ้ นการพิมพ์ด้วยระบบออฟ


Offset

Printing

Creative by นางสาว ฐิ ตาศิวนาถ ตงมณี 53218407+นางสาว ภาวินี เมธาสุทธิวตั น์ 53218421+ นางสาว สุวดี โพธิเงิ์ น 53218439+ นายธนาพล พุกพูน 53218443 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี สาขามีเดียทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ ภาควิชามีเดียอาตส์ ี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.