STUDIO LIGHTING สตูดิโอถ่ายภาพและการจัดแสงเบื้องต้น
{
STUDIO LIGHTING by ONPRANG ATHIHIRUNWONG
}
INDEX PART1 สตูดิโอถ่ายภาพและอุปกรณ์
P.2 P.4 P.7 P.10
ลักษณะของสตูดิโอถ่ายภาพ แหล่งกำ�เนิดแสง อุปกรณ์ประกอบไฟแฟลช อุปกรณ์ที่ใช้ในสตูดิโอ
PART2 การจัดแสงเบื้องต้น P.14 P.18 P.27
คุณลักษณะของแสง ทิศทางของแสง โทนสีในภาพ
PART3 ตัวอย่างการจัดแสงถ่ายภาพบุคคล P.34
P.36
P.38
P.40
P.42
P.44
P.46
P.48
P.50
P.52
P.54
P.56
P.58
P.60
P.62
P.64
P.66
P.68
P.70
P.72
P.74
P.76
P.78
P.80
P.82
P.84
-A-
PART 1 สตูดิโอถ่ายภาพและอุปกรณ์
ในการถ่ายภาพกลางแจ้ง แสงหลักของการถ่ายภาพเกิดจากดวง อาทิตย์ การควบคุมแสงและเงาให้เกิดขึ้นนั้นเป็นไปได้ยาก วิธีที่ช่าง ภาพกลางแจ้งใช้ถ่ายภาพก็คือการรอถ่ายภาพในจังหวะเวลาที่แสง อยู่ในทิศทางที่ต้องการ แต่ในสตูดิโอถ่ายภาพช่างภาพสามารถ ควบคุมแสงให้เป็นไปตามต้องการ ไม่ว่าจะเป็นแสงนุ่ม แสงแข็ง และ บริเวณที่ถูกแสงอาจเกิดการผสมของแสงจากต้นกำ �เนิดหลายๆ จุ ด และการถ่ า ยภาพแบบผสมแสงนี้ เ ป็ น หลั ก ของการจั ด แสงใน สตูดิโอ
-2-
PART 1 ลักษณะของสตูดิโอถ่ายภาพ ส ตู ดิ โ อ สำ � ห รั บ ถ่ า ย ภ า พ 1 สตูดิโอขนาด 1.7 x 3.0 เมตร เป็ น ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทางการ เป็นห้องขนาดเล็กที่สุดที่สามารถทำ�งานได้ ประกอบด้วยไฟ 2 ดวง ถ่ า ยภาพที่ ช่ า งภาพสามารถ ฉาก 1.5 เมตร ใช้กับการถ่ายภาพบุคคลครึ่งตัวหรือภาพระยะใกล้ ควบคุมปริมาณ ทิศทางแสง ถ่ายวัตถุหรือสินค้าขนาดเล็ก และรู ป แบบของแสงเงาที่ จ ะ เกิ ด ขึ้ น ในภาพได้ โ ดยอาศั ย 2 สตูดิโอขนาด 2.5 x 4.0 เมตร เครื่องมือ อุปกรณ์เสริมต่างๆ มีพื้นที่ในการทำ�งานสะดวกขึ้น สามารถใช้ไฟได้ 3 ดวง มีผ้าฉาก พื้ น ที่ ข องสตู ดิ โ อถ่ า ยภาพไม่ ขนาดกว้างได้ถึง 2 เมตร อุปกรณ์แผ่นสะท้อนแสง ใช้ถ่ายภาพระยะ ได้ถูกกำ�หนดว่าจะต้องมีขนาด ใกล้และถ่ายภาพบุคคลขนาด 3/4 ส่วน เท่าใด ขนาดของห้องนั้นจึงเกิด จากความจำ�เป็นในการใช้พื้นที่ 3 สตูดิโอขนาด 4 x 6 เมตร เป็นสตูดิโอขนาดเล็กที่ให้ความสะดวกมากขึ้นจัดวางไฟ้ได้ 4-6 เช่น ดวง ใช้ถ่ายภาพตั้งแต่วัตถุขนาดเล็ก จนถึงการถ่ายภาพหมู่ได้ ประมาณ 3-5 คน 4 สตูดิโอขนาด 6 x 10 เมตร เป็นห้องขนาดมาตรฐานให้ความสะดวกในการทำ�งาน ติดตั้งฉาก ขนาดใหญ่และจัดวางไฟได้ 6-8 ดวง สามารถถ่ายภาพหมู่จำ�นวน มากคนขึ้นและยังสามารถควบคุมทิศทางแสงได้ 5 สตูดิโอขนาด 10 x 14 เมตร ห้องที่มีขนาดใหญ่นี้ สามารถท�ำงานได้หลายรูปแบบมากที่สุด ติด ตั้งไฟได้ถึง 9-10 ดวง อาจมีขนาดห้องใหญ่กว่านี้อีกได้ แต่ความ สูงจากพื้นถึงเพดานไม่ควรต�่ำกว่า 3-3.5 เมตร เพื่อความสะดวก ในการติดตั้งอุปกรณ์ในบางครั้งอาจมีความจ�ำเป็นต้องการทิศทาง แสงในมุมสูงหรือถ่ายภาพมุมกว้างประตูเข้าออกควรมีความกว้าง พอสมควรเพื่อการเคลื่อนย้ายสิ่งของขนาดใหญ่
-3-
แหล่งก�ำเนิดแสง แหล่งกำ�เนิดแสงที่ใช้ในสตูดิโอมี2ชนิดคือไฟต่อเนื่อง (Incandescentlamps) และไฟแฟลชสตูดิโอ(Flash studio) เป็นลักษณะของแสงที่เกิดจากแหล่งกำ�เนิดแสง ดังต่อไปนี้
1 ไฟต่อเนื่อง (Incandescent lamps)
ต้นก�ำเนิดแสงเป็นหลอดไปมีไส้หลอดอยู่ข้างในมีก�ำลังวัตต์ไม่สูง จานสะท้อนแสงอยู่ด้านหลังหลอด เพื่อท�ำหน้าที่สะท้อนแสงออกไป ด้านหน้า หลอดไฟที่ให้แสงสว่าง มีอยู่ 3 ชนิด ซึ่งมีอุณหภูมิสีแตก ต่างกันเล็กน้อย
หลอดไฟทังสเตน ไส้หลอดเป็นโลหะทังสเตนให้ อุณหภูมิสี 3200 องศาเคล วิน และมีกำ�ลังส่องสว่างเป็น 250 วัตต์ 500 วัตต์ และ 1,000 วัตต์
หลอดไฟโฟโต้ฟลัด มี ไ ส้ ห ลอดเป็ น ทั ง สเตนแต่ มี ส่ ว นประกอบเฉพาะภายใน หลอดฉาบสารสี ข าวฝ้ า อยู่ ภายใน หลอดมีสีขาวขุ่น หรือสี ฟ้า ให้อุณหภูมิสี 3400 องศา เคลวิน
-4-
หลอดฮาโลเจน เป็ น หลอดที่ บ รรจุ ไ ว้ ด้ ว ยก๊ า ซ ฮาโลเจน เพื่อป้องกันไม่ให้ไส้ หลอดทำ�ปฏิกิริยากับก๊าซเกิด เป็นเขม่าสีดำ�ที่ไส้หลอด ข้อดี ของหลอดฮาโลเจนคือ มีความ สว่างมาก และอุณหภูมิสีไม่ ลดลงตามอายุการใช้งาน แต่มี ราคาสูงกว่ามาก ให้อุณหภูมิสี 3200 องศาเคลวิน
PART 1 2. ไฟแฟลชสตูดิโอ (Flash studio) แฟลชสตูดิโอมีลักษณะเป็นหลอดแฟลชเปลือยจ่ายกระแสไฟในช่วง สั้นๆ และมีไฟนำ�สำ�หรับให้ช่างภาพสามารถจัดแสงและเงา แต่เมื่อลั่น ชัตเตอร์ ไฟแฟลชจะทำ�งาน ดังนั้น ไฟที่ใช้ในการถ่ายภาพและไฟที่ใช้ จัดภาพจึงเป็นไฟคนละดวงกัน ชุดไฟแฟลชสตูดิโอ โดยทั่วไปแบ่ง เป็น 2 แบบ คือ 1. แบบที่มีหน่วยจ่ายกำ�ลังในตัว(compact unit) แบบนี้จะรวมเอาหน่วยจ่ายกำ�ลังทั้งหมดไว้ในตัวเครื่องคล้ายกับ แฟลชขนาดเล็กที่ติดกับกล้องใช้ต่อสายเข้ากับไฟบ้านได้โดยตรง เหมือนกับชุดไฟทังสเตน มีกำ�ลังไฟไม่สูงมาก เช่น 250-1000 วัตต์/วินาที(W/S) 2. แบบที่มีหน่วยจ่ายกำ�ลังแยกต่างหาก(power pack) เป็ น ชุ ด ไฟที่ ส ามารถปล่ อ ยแสงได้ ร วดเร็ ว และมี กำ � ลั ง ไฟแรงกว่ า สามารถป้อนกระแสไฟให้กับไฟหลายๆดวงพร้อมกัน กำ�ลังไฟของ สตูดิโอแฟลชวัดออกมาเป็นจูลส์(joule) หรือวัตต์-วินาที ที่นิยมใช้ มีขนาด 1,000 จูลส์ สำ�หรับสตูดิโอขนาดใหญ่มีกำ�ลังส่องสว่างถึง 5,000 จูลส์ ส่วนสตูดิโอขนาดเล็ก มีประมาณ 200-400 จูลส์ แฟลชสตูดิโอแบบหน่วยจ่ายกำ�ลังแยกต่างหาก จะมีหน่วยกำ�ลังไฟ แยกออกมาจากตัวหลอดแฟลช สามารถควบคุมแฟลชได้หลาย ดวง เช่น ในชุดที่มีกำ�ลังเท่ากับ 1,000 จูลส์สามารถแยกออกเป็น ไฟแฟลชขนาดต่างๆ 2-3 ดวง อาจแบ่งเป็น 500 จูลส์ 1 ดวง และ 250 จูลส์ 2 ดวง
-5-
ข้อดีของไฟแฟลชสตูดิโอ 1. ไฟแฟลชมีความทนทานมากกว่าสามารถใช้ งานได้ยาวนาน ให้คุณภาพคงที่เกือบตลอดอายุ การใช้งาน ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าไฟโฟโต้ฟลัดมาก ในระยะยาว 2. ไฟแฟลชมีความร้อนน้อย ไม่ทำ�ให้ตัวแบบ ร้อน ไม่ต้องใช้เครื่องปรับอากาศมากเหมือนไฟ โฟโต้ฟลัด 3. ไฟแฟลชจะใช้ไฟมากในช่วงที่ฉายแสงสั้นกว่า ทำ�ให้ประหยัดไฟมากกว่าไฟโฟโต้ฟลัดซึ่งใช้มาก ตลอดเวลาที่เปิด
7. ไฟแฟลชมีอุณหภูมิสีใกล้เคียงแสงธรรมชาติ ตอนกลางวัน (Day light) ประมาณ 5,600 องศาเคลวิน ทำ�ให้เกิดการใช้แหล่งกำ�เนิดแสงใน ลักษณะที่ผสมกัน เช่นถ่ายภาพสถานที่ในอาคาร ผสมแสงระหว่างแสงจากดวงอาทิตย์ และแสง จากไฟแฟลช 8. แฟลชสตูดิโอมีสเลฟ (Slave unit) หรือ โฟโต้เซลล์อยู่ในตัวโดยไม่ต้องใช้สายเชื่อมต่อกับ แฟลชทุกดวง
4. ไฟแฟลชจะจับการเคลื่อนไหวได้ดี สามารถ ใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงได้ หากใช้ไฟโฟโต้ฟลัด อาจต้องใช้ความเร็วชัตเตอร์ถึง 1/60 แต่หากใช้ ไฟแฟลช จะใช้ความเร็วชัตเตอร์ได้สูง 1/60 ถึง 1/250 วินาที 5. ไฟโฟโต้ฟลัดให้แสงน้อยกว่า ทำ�ให้ต้องเปิดรู รับแสงกว้าง แต่ไฟแฟลชสามารถบีบรูรับแสงได้ มากกว่า 6. แฟลชสตูดิโอมีไฟส่องแบบ หรือไฟนำ� (Modeling lamp) ทำ�ให้รู้ถึงทิศทาง และความ เข้มของแสงได้อย่างแม่นยำ�
-6-
PART 1 อุปกรณ์ประกอบไฟแฟลช 1 อุปกรณ์สะท้อนแสง โคมสะท้อนแสงหรือรีเฟคเตอร์ (Reflector) เป็นจานสะท้อนแสงซึ่งติดอยู่หลังหลอดแฟลช ทำ�หน้าที่สะท้อนแสงให้กลับไปด้านหน้าเพียง ทิศทางเดียว ให้ความเข้มของแสงสว่างสูงมาก เป็นประเภทแสงแข็ง แสงที่ส่องไปนั้นจะกว้างหรือ แคบขึ้นอยู่กับความกว้างของจานสะท้อนแสงนั้น สามารถถอดเปลี่ยนได้และมีให้เลือกหลายขนาด โคมที่มีความลึกมากจะให้แสงเป็นลำ� โคมที่มีเส้น ผ่าศูนย์กลางขนาดใหญจะทำ�ให้แสงนุ่มนวล และ จะมีการขนายเนื้อที่ให้ครอบคลุมแสงมากขึ้น โคม ตื้นใช้ในการควบคุมแสงให้ตกเฉพาะตำ�แหน่ง หรือ ต้องการความเปรียบต่างของแสงสูง
แผ่นสะท้อนแสง (Reflex) ใช้เพื่อบังคับทิศทางสะท้อนแสงจากแหล่งกำ�เนิด แสง ให้แสงเข้าไปในตำ�แหน่งที่ต้องการ
-7-
2 อุปกรณ์บังคับทิศทางของแสง กรวยบีบแสงหรือสนูท (Cone or Snoot) มีลักษณะเป็นกรวยสีดำ�เรียว เล็กลงจากโคน ไปหาปลาย ใช้สำ�หรับสวมหน้าแฟลช เพื่อ ที่จ ะควบคุมแสงให้ เ ป็ นลำ � ไปตกที่ วัต ถุ เ ฉพาะ ตำ�แหน่ง เล็กๆ ใช้ในกรณีที่ต้องการจัดแสง เพื่อเน้นเส้นขอบของตัวแบบ เช่น ไฟส่องผม เพื่อแยกตัวแบบออกจากฉากหลัง ให้แสงที่แข็ง
บานบังคับแสง (Barn door) เป็นแผ่นโลหะหรือพลาสติกสีดำ�ใช้ป้องกันแสง จากหลอดแฟลชเพื่ อ ไม่ ใ ห้ แ สงเข้ า ไปรบกวน กล้อง
รังผึ้ง (Honeycomb grid) มี ลั ก ษณะเหมื อ นรั ง ผึ้ ง สวมหน้ า โคมสะท้ อ น แสง ให้แสงแข็งและควบคุมแสงโคมให้ตกเฉพาะ ตำ�แหน่งไม่ให้กระจายออกด้านข้างได้ดี ช่วยให้ คุณภาพแสงนุ่มนวลขึ้น แต่ยังคงความเด่นชัด ของเงา และ มิติภาพ
-8-
PART 1 3 อุปกรณ์ทำ�ให้แสงนุ่ม ร่มสะท้อนแสง (Umbrella) มีลักษณะเป็นร่มสะท้อนแสงโดยยึดขาร่มติดกับ ตัวแฟลชให้หน้าแฟลชหันหน้าเข้าร่ม ร่มสะท้อน แสงมีให้เลือกหลายแบบ แบบผ้าสีขาวให้แสงอ่อน กว่าแบบฉาบด้วยสีเงิน ส่วนแบบที่ผิวด้านนอกบุ ด้วยสีด�ำเพื่อป้องกันแสงฟุ้งที่อาจเข้ามา รบกวน ในกล้อง ร่มที่ใช้ถ่ายภาพให้แสงที่ควบคุมได้ง่าย และมีประโยชน์ ดังนี้ 1.) ให้แสงที่มีคุณภาพอย่างสม�่ำเสมอ 2.) ไม่ดูดซับแสงไว้มาก ร่มที่เคลือบสีโลหะ จะท้อนแสงออกมากกว่าร้อยละ 80 ของ แสงที่ได้รับ 3.) มีน�้ำหนักเบาสะดวกต่อการขนย้าย ใช้ ไฟร่มได้ทั้งภายในและภายนอกสถานที่
กล่องแสงนุ่ม (Soft-box or Diffuser) มีลักษณะเป็นกล่องยื่นยาวออกไปด้านหน้าของ หัวแฟลช มีผ้าไนล่อนหรือแผ่นพลาสติกฝ้า กันแสงไว้สวมเข้าด้านหน้าแฟลช จะช่วยกรองแสง กระจายแสงให้มีลักษณะนุ่ม (Soft light) และ สม�่ำเสมอกว่าไฟร่ม Softbox มีหลายขนาดและ รูปทรง ยิ่งขนาดการกระจายแสงก็ดีกว่า
-9-
อุปกรณ์ที่ใช้ในสตูดิโอ >> เครื่องวัดแสงแบบมือถือ (Light meter) เครื่องวัดแสงเป็นเครื่องมือที่คำ�นวณปริมาณของ แสงที่เหมาะสม ออกมาเป็นค่าตัวเลขของรูรับแสง และ ความเร็วชัตเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดแสงอย่าง ละเอียด เครื่องวัดแสงมีการทำ�งาน 4 แบบ คือ วัดแสงตกกระทบ (Incident light reading)
การวัดแสงแบบตกกระทบจะไม่มีผลกับสีอ่อนหรือสี เข้มของวัตถุมาเกี่ยวข้อง เพราะอ่านค่าแสงจากแหล่ง กำ�เนิดแสงโดยตรง การสะท้อนแสงของวัตถุจึงไม่มี ผลและเมื่อใช้ค่าการบันทึกภาพที่มิเตอร์แสดงภาพก็ จะได้ภาพที่มีสีเหมือนตาเห็น
วัดแสงเฉพาะจุด (Spot light reading)
อ่านค่าแสงเฉพาะในบางบริเวณ มีลักษณะเป็นด้าม จับคล้ายปืน องศาการเล็งภาพที่แคบเล็งไปยังบริเวณ ที่ต้องการภายในมุม 1 องศาเท่านั้น เป็นมิเตอร์วัด แสงสะท้อน
วัดแสงสะท้อน (Reflected light reading) มิเตอร์จะอ่านค่าแสงสะท้อนจากสีเทากลาง
มิเตอร์มือถือวัดแสงแฟลช (Flash meter)
มิเตอร์แบบนี้เป็นมิเตอร์วัดแสงแบบตกกระทบ โดยจะ วัดแสงที่ตกลงมากระทบวัตถุที่บริเวณผิววัตถุ มีปุ่ม กดสำ�หรับสั่งให้แฟลชทำ�งานเป็นมิเตอร์ที่เหมาะสม สำ�หรับการใช้ในสตูดิโอ
- 10 -
PART 1 >> แผ่นเทียบสี (Gray Card) สามารถใช้การ์ดใบนี้ ช่วยในการปรับ white balance และ ปรับ Level ในโปรแกรมตกแต่งภาพ เช่น Adobe Photoshop โดย การถ่ายภาพพร้อมกับการ์ดใบนี้ ไว้ก่อน 1 ภาพ แล้วเอาการ์ดใบนี้ ออกไป ก่อนถ่ายภาพที่จะใช้งานจริงๆ
- 11 -
PART 2 การจัดแสงเบื้องต้น
คุณลักษณะของแสง
ถ้าหากเราสังเกตแสงที่ปรากฎอยู่ในธรรมชาติ จะพบว่า เมื่อแสงส่องเข้าหาวัตถุที่ต้องการถ่าย ภาพ เงาของวัตถุที่ปรากฏอยู่ ในบางครั้งก็จะเป็น เงาเข้ม บางครั้งก็เป็นเงาจาง เงาแข็ง เงานุ่ม คุ ณ ลั ก ษณะของเงามาปรากฏขึ้ น นี้ เ กิ ด จาก คุณลักษณะของแสง มีอยู่ 3 ชนิด คือ 1. แสงแข็ง หรือ แสงส่องตรง 2. แสงนุ่ม 3. แสงสะท้อน
ตัวอย่างคุณลักษณะของแสง แสงแข็ง
แสงนุ่ม
- 14 -
แสงสะท้อน
PART 2
1. แสงแข็ง (Hardlight) หรือเรียกอีกอย่างว่า แสงส่อง ตรง (Specular light) เป็น แสงที่ มี ป ริ ม าณความเข้ ม สู ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ลำ � แสงขนานมี ทิศทางตรงทำ�ให้เกิดเงาแข็งบน วัตถุ ภาพที่ได้จะปรากฏเงาเข้ม มีความเปรียบต่างสูง
อุปกรณ์ที่ให้แสงแข็ง - โคมสะท้อนแสง - กรวยบีบแสง - รังผึ้งบังคับแสง
- 15 -
2. แสงนุ่ม (Softlight) จะเป็ น แสงที่ มี ตั ว กลางหรื อ ฟิ ล เตอร์ กั้ น อยู่ ร ะหว่ า งแหล่ ง กำ�เนิดแสงกับวัตถุทำ�ให้การก ระจายของแสงไม่ มี ทิ ศ ทาง ทำ�ให้ภาพมีเงานุ่มนวล
อุปกรณ์ที่ให้แสงนุ่ม - ร่มสะท้อนแสง - กล่องแสงนุ่ม
- 16 -
-
PART 2
3. แสงสะท้อน หรือ Reflected light เป็น แสงที่ ส่ อ งจากแหล่ ง กำ � เนิ ด ตกกระทบกับวัตถุที่ทำ�หน้าที่ ส ะ ท้ อ น ใ ห้ แ ส ง นั้ น ก ลั บ ไ ป กระทบกับวัตถุ ทำ�ให้แสงมี คอนทราส ลดลง
อุปกรณ์ที่ให้แสงสะท้อน - แผ่นสะท้อนแสง - โฟม
- 17 -
ทิศทางของแสง เมื่อมีแสงตกลงบนวัตถุย่อมก่อให้เกิดเงา ทำ�ให้มี มิติขึ้น และมิตินี้ช่างภาพสามารถทำ�การควบคุม ได้ด้วยการกำ�หนดทิศทางของแสง ดังนี้ 1. Broad lighting 2. Shot lighting 3. Split lighting 4. Butterfly lighting 5. Rambrandt lighting 6. Rim lighting 7. Theater lighting
2
- 18 -
1
3
PART 2
4
5
6
7
- 19 -
1. Broad lighting แสงหน้าหรือ แสงในแนวระดับด้านหน้าของแบบ แสงที่ส่องเข้าทาง ด้านหน้าของวัตถุจะเป็นแสงที่ให้ความสว่างทั่วทั้งภาพ เป็นแสง ที่แบนขาดมิติหรือความลึกของภาพ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Flat Lighting
- 20 -
PART 2
2. Shot lighting บางครั้งเรียกการจัดแสงแบบนี้ว่า Narrow Lighting เพื่อให้ ความสว่างแก่ใบหน้าด้านที่หันออกไปจากกล้อง เป็นเทคนิคการจัด แสงที่เน้นโครงร่างหรือรูปทรงของใบหน้ามากกว่า การจัดแสงหลัก แบบนี้สามารถทำ�ให้แบบซึ่งมีใบหน้ากลมโต ดูเล็กลงได้
- 21 -
3. Split light แสงข้าง หรือ แสงในแนวราบด้านซ้ายหรือด้านขวา แสงแบบนี้จะ ทำ�ให้ภาพที่มีแสงครึ่งหน้าสว่าง และอีกครึ่งหนึ่งมืด ช่วยเน้นภาพให้ มีมิติได้มาก
- 22 -
PART 2
4. Butterfly light การจัดแสงแบบเงาผีเสื้อ แสงหนักจะถูกจัดให้อยู่ในตำ�แหน่งตรง กับในหน้าของแบบ จึงทำ�ให้เกิดเงาบริเวณใต้จมูกคล้ายรูปผีเสื้อ เทคนิ ค นี้ นิ ย มใช้ กั บ งานถ่ า ยภาพผู้ ห ญิ ง ในลั ก ษณะสวยงาม (Beauty shot)
- 23 -
5. Rambrandt light เป็นแสงที่ส่องจากมุมสูง 45 องศา จากตัวแบบ ได้แสงที่มีเงาของ จมูก ทอดลงมาให้เกิดเงาสามเหลี่ยมบนใบหน้า ที่มาของชื่อ มาจาก จิตรกรชาวดัชท์ ที่งานเขียนภาพคนเหมือนของเขา ใช้แสงลอดจาก หลังคา ซึ่งเป็นแสงที่สวยงาม
- 24 -
PART 2
6. Rim light แสงประเภทนี้จะส่องจากด้านหลัง อาจจะเป็นเฉียงหลัง มุมสูง หรือแนว ราบ ใช้จัดแสงเพื่อเสริมให้ภาพมีมิติ ช่วยแยกตัวแบบออกจากฉากหลัง แสงที่ได้นั้นจะช่วยให้ความสว่างในเรื่องของรูปร่างและเส้นผม
- 25 -
7. Theater light แสงมุมต�่ำ หรือแสงจากแนวด้านล่างของตัวแบบ ปกติมักจะไม่ นิยมใช้ในการจัดแสงถ่ายภาพบุคคล แสงประเภทนี้ท�ำให้ภาพที่ ออกมามีความรู้สึกที่เหนือธรรมชาติลึกลับ น่ากลัว
- 26 -
PART 2 โทนสีในภาพ นอกจากการจั ด แสงถ่ า ยภาพบุ ค คลในสตู ดิ โ อที่ มี ก ารจั ด วาง ต�ำแหน่งหน้าที่ความส�ำคัญ และ ทิศทางของไฟแต่ละดวงตามที่ได้ กล่าวมาแล้ว ยังมีวิธีการจัดแสงส�ำหรับการถ่ายภาพบุคคลที่ให้ ความส�ำคัญในเรื่องของน�้ำหนักความสว่าง และ ความเข้มของโทน สีในภาพ ซึ่งแบ่งออกได้ดังนี้ 1. การจัดแสงแบบไฮคีย์ (High Key) 2.การจัดแสงแบบโลว์คีย์ (Low Key) 3.การจัดแสงแบบไล่น�้ำหนัก (Graduated Tonality) 1
2
3
- 27 -
1.การจัดแสงแบบไฮคีย์ (High Key) การจัดแสงแบบนี้จะให้ส่วนที่เป็นสีขาวมาก ภาพจะดูสว่าง นุ่มนวล มีเงาน้อย ภาพจะดูอบอุ่น ร่าเริง สนุกสนาน ในการถ่ายภาพอาจจะ ใช้ไฟหลายดวง ใช้ร่มสะท้อน หรือ Softbox เพื่อให้แสงกระจาย มากที่สุด หรือ อาจใช้แผ่นสะท้อนแสงด้วยก็ได้
- 28 -
PART 2 2.การจัดแสงแบบโลว์คีย์ (Low Key) การจัดแสงแบบนี้อาจใช้ไฟเพียง 1-2 ดวงเท่านั้น จะมีส่วนที่เป็นเงา หรือ ส่วนผสมของสีดำ�มาก การวัดแสงใช้วิธีการวัดแสงเฉพาะจุด ที่กระทบกับแสงเท่านั้น ส่วนที่เป็นเงาจะปล่อยให้ Under หรือเป็น เงามืดไป ภาพลักษณะนี้จะให้ความรู้สึกที่ลึกลับ น่ากลัว เงียบเหงา
- 29 -
3. การจัดแสงแบบไล่น�้ำหนัก (Graduated Tonality) เป็นการจัดแสงที่ผสมผสานระหว่างแบบไฮคีย์และ โลว์คีย์ เป็น แบบที่นิยมมากที่สุด การจัดแสงสามารถจัดได้โดยการใช้ไฟ 3-5 ดวง โดยวัดแสงแบบเฉลี่ยให้ค่าใกล้เคียงกันทุกจุด แต่เปิดรูรับแสง น้อยกว่าแบบไฮคีย์ โดยวัดแสงแบบพอดี หรือน้อยกว่าปกติ 1/21 สต๊อบ
- 30 -
PART 2
- 31 -
PART 3 ตัวอย่างการจัดแสงถ่ายภาพบุคคล
- 34 -
1/125 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm
f/9.0
iso : 100
Notes การจัดแสงแบบนี้จะให้แสง ประกายตาของแบบ ทำ�ให้รู้สึก ร่าเริง สดใส
Lights Used - ฉากขาว - แผ่นสะท้อนแสง - ร่มสะท้อน ด้านในสีเงิน
- 35 -
- 36 -
1/250 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm
f/16.0
iso : 100
Notes เพื่อให้ได้ฉากหลักที่ดำ�สนิท เรา จึงต้องหาแผ่นสีดำ�มาก้ันแสง จากไฟร่ม ไม่ให้แสงโดนฉาก หลัง
Lights Used - ฉากดำ� - แผ่นคัดแสง - ร่มสะท้อน และ ร่มทะลุ
- 37 -
- 38 -
1/125 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm Lights Used - ฉากดำ� - แผ่นคัดแสง - Softbox 80”x80”
f/11.0
iso : 100
Notes เป็นภาพสะท้อนอารมณ์ดราม่า เพื่อให้ได้ฉากหลักที่ดำ�สนิท เรา จึงต้องหาแผ่นสีดำ�มาก้ันแสง จากไฟร่ม ไม่ให้แสงโดนฉาก หลัง
- 39 -
- 40 -
1/125 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm
f/9.0
iso : 100
Notes การจัดแสงแบบเงาปีกผีเสื้อ เป็นที่นิยมถ่าย Beautyshot เช่น งานโฆษณาเครื่องสำ�อางค์
Lights Used - ฉากขาว - Softbox 80”x80”
- 41 -
- 42 -
1/250 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm Lights Used ภาพนี้ถ่ายออกมาให้มีระยะชัดตื้น โดยเปิดรูรับแสงให้กว้าง วัดแสงที่ ตา ปล่อยให้ส่วนอื่นOver จัดว่า เป็นภาพ High key
f/2.0
iso : 100
Notes ภาพนี้ถ่ายออกมาให้มีระยะชัด ตื้น โดยเปิดรูรับแสงให้กว้าง วัด แสงที่ตา ปล่อยให้ ส่วน อื่นOver จัดว่าเป็นภาพ High key
- 43 -
- 44 -
1/200 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Tamron17-50 / 50mm Lights Used - ฉากดำ� - ร่มทะลุ - แผ่นคัดแสง
f/9.0
iso : 100
Notes จัดไฟในรูปแบบ Split light ทั้ง 2 ข้าง ทำ�ให้ภาพดูมีมิติมากขึ้น และ ใช้แผ่นคัดแสง เพื่อไม่ให้แสง ลงฉาก
- 45 -
- 46 -
1/125 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 50 mm
f/8.0
iso : 200
Notes การจัดแสงแบบนี้จะให้แสงประกาย ตาของแบบ ที่ร่าเริง สดใส
Lights Used - ฉากขาว - แผ่นสะท้อนแสง - ร่มสะท้อน ด้านในสีเงิน
- 47 -
- 48 -
1/160 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm Lights Used - ฉากดำ� - Softbox 80x80 - Boom
f/9.0
iso : 400
Notes ไฟหลักมาจากด้านบนของแบบ ใช้ แผ่นกระดาษสีดำ�ติดที่ด้านริมของ Softbox เพื่อไม่ให้แสงไปโดนฉาก หลัง
- 49 -
- 50 -
1/250 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm
f/9.0
iso : 100
Notes เป็นการจัดแสงแบบ Shotlight เป็นไฟหลัก มี Snoot เป็น Rimlight หรือ Hairlight
Lights Used - ฉากดำ�,แผ่นคัดแสง - Softbox 80x80 - Snoot
- 51 -
- 52 -
1/100 sec. Camera NIKON D7000 Focal Length Nikor 85 mm
f/6.3
iso : 100
Notes เปลี่ยนตำ�แหน่ง Snoot แยก แบบออกจากฉาก ปล่อยให้ ฉากดำ�สนิท
Lights Used - ฉากดำ�,แผ่นคัดแสง - Softbox 80x80 - Snoot
- 53 -
- 54 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF-s 18-55 / 55mm
f/8.0
iso : 100
Notes ให้แบบยืนเว้นระยะห่างจากฉาก เพื่อให้แสงจากไฟร่มไม่ทำ�ให้เสื้อ จมไปกับฉากขาว
Lights Used - ฉากขาว - ร่มทะลุ
- 55 -
- 56 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF 50 mm Lights Used - ฉากดำ� - ร่มทะลุ - สนูท
f/8.0
iso : 100
Notes การจัดไฟ 2 ดวงสามารถแยก แบบออกจากฉากได้โดยกาจัด แสงริมไลท์ ทำ�ให้เห็นเงาที่ เป็น สัดส่วน มีมิติ
- 57 -
- 58 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF 50 mm
f/8.0
iso : 100
Notes การให้แบบเปลี่ยนท่า หันหน้า ซ้าย ขวา ก็ทำ�ให้ภาพที่ออกมา แสงเปลี่ยน ได้เหมือนกัน
Lights Used - ฉากดำ� - ร่มทะลุ - สนูท
- 59 -
- 60 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF 50 mm Lights Used - ฉากดำ� - ร่มทะลุ - สนูท
f/8.0
iso : 100
Notes การจั ด แสงถ่ า ยภาพบุ ค คล จำ�เป็นต้องให้แบบยืนโพสนิ่งๆ เพื่ อ จั ด แสงไปในทิ ศ ทางที่ ต้องการ
- 61 -
- 62 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF 50 mm
f/7.1
iso : 100
Notes รูปนี้หน้าของแบบมีเงาทอดแบบ Rambrandt และมี Rimlight จากสนูท
Lights Used - ฉากดำ� - ร่มทะลุ - สนูท
- 63 -
- 64 -
1/80 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF-s 18-55 / 49 mm Lights Used - ฉากดำ� - แผ่นคัดแสง - สนูท - สเปย์ - Softbox
f/5.6
iso : 200
Notes เทคนิคการถ่ายภาพควันง่ายๆ คือมีไฟส่องจากด้านหลัง อาจ ใช้รังผึ้งจากมุมสูง ให้แสงเป็นลำ� ดูน่าสนใจ
- 65 -
- 66 -
1/80 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF-s 18-55 / 55 mm
f/9.0
iso : 100
Notes Limlight หรือ Hairlight ช่วยให้ภาพน่าสนใจขึ้น
Lights Used - ฉากดำ� - Softbox 80x80 - สนูท
- 67 -
- 68 -
1/125 sec. Camera Canon 1100D Focal Length EF-s 18-55 / 43 mm Lights Used - ฉากขาว - Softbox - หัวไฟแฟลชใส่โดมมาตรฐาน
f/9.0
iso : 100
Notes จัดเป็นแสงเงาปีกผีเสื้อ ฉาก หลั ง มี สี เ ทาเพราะตั ว แบบอยู่ ห่างจากฉาก และใช้รูรับแสงแคบ จึงได้ฉากสีเข้ม
- 69 -
- 70 -
1/100 sec. Camera Canon 1100D Focal Length EF-s 18-55 / 32 mm
f/5.6
iso : 100
Notes เน้นแสงที่ผม ใช้ F กว้างที่ 5.6 เพื่อให้เห็นรายละเอียดของฉาก หลัง ไม่ให้ฉากหลังมืดสนิด
Lights Used - ฉากผ้าใบสีน�้ำเงิน - Softbox - แผ่นสะท้อนแสง
- 71 -
- 72 -
1/125 sec. Camera Canon 500D Focal Length EF 50 mm Lights Used - ฉากขาว - ร่มทะลุ - ร่มสะท้อน ด้านในสีเงิน
f/11.0
iso : 100
Notes การถ่ายภาพด้วยไฟร่ม ต้อง ระวั ง แสงแฟร์ ที่ เ กิ ด จากไฟร่ ม เข้ามากระทบเลนส์ วิธีแก้คือ ใส่ ฮูดที่เลนส์
- 73 -
- 74 -
1/125 sec. Camera Canon 500D Focal Length EF 50 mm Lights Used - ฉากขาว - ร่มทะลุ
f/9.0
iso : 100
Notes จัดแสงแบบ Rambrandt lighting มีไฮไลต์ที่หน้าผาก สันจมูก โหนกแก้ม และมีเงา สามเหลี่ยม
- 75 -
- 76 -
1/125 sec. Camera Canon400D Focal Length EF 50 mm
f/16.0
iso : 100
Notes เรี ย กการจั ด แสงลั ก ษณะนี้ ว่ า Clamshell (ฝาหอย) หรือ Over and Under
Lights Used - ฉากผ้าใบสีน�้ำตาล - แผ่นสะท้อนแสง - Softbox
- 77 -
- 78 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length Sigma 70-300 / 70 mm
f/11.0
iso : 100
Notes การถ่ายภาพเต็มตัวต้องสังเกต ให้แสงโดยทั้งตัวแบบ
Lights Used - ฉากขาว - ร่มทะลุ - ร่มสะท้อน
- 79 -
- 80 -
1/125 sec. Camera Canon 400D Focal Length EF-s 18-55 / 18 mm
f/6.3
iso : 100
Notes การจั ด แสงแบบนี้ จ ะให้ แ สง ประกายตาของแบบ ที่ร่าเริง สนุกสนาน
Lights Used - ฉากขาว - Softbox 8 เหลี่ยม
- 81 -
- 82 -
1/125 sec. Camera Canon 500D Focal Length EF 50 mm
f/13.0
iso : 100
Notes Split light ใช้แผ่นคัดแสงเพื่อ บั ง แสงจากหั ว ไฟร่ ม ตกที่ ฉ าก ให้ฉากดำ�สนิท
Lights Used - ฉากดำ� - แผ่นคัดแสงสีดำ� - ร่มสะท้อน ด้านในสีเงิน
- 83 -
- 84 -
1/125 sec. Camera Canon 500D Focal Length EF 50 mm
f/11.0
iso : 100
Notes Rambrandt เป็นการจัดแสง ที่ใช้ได้ทุกโอกาส และให้ภาพที่ มีมิติ
Lights Used - ฉากขาว - แผ่นสะท้อนแสง - ร่มทะลุ
- 85 -
อ้างอิง
http://www.elinchrom.com/ (อุปกรณ์สตูดิโอ) http://www.photoflexlightingschool.com/ (Lesson Library) http://strobox.com/ (เว็บเกี่ยวกับการจัดแสง) http://suraphon.rmutl.ac.th/ (Download PDF) http://www.rjanchan.ob.tc/ (Download PDF)
- 86 -
Black 100%
Black 90%
Black 80%
Black 70%
Black 60%
Black 50%
Black 40%
Black 30%
Black 20%
Black 10% Black 0%