แหล่งและเครือข่ายการเรียนรู้

Page 1

แหล่และง

เครือข่าย การเรียนรู้

แหล่งและเครือขา่ยการเรียนรู้

รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 0308381


00

แหล่งและเครือข่ายการเรียนรู้ รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 0308381

03


บทนำ� 01 แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ - ความหมายของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ - ลักษณะของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้

02 เครือข่ายการเรียนรู้ - ความหมายของเครือข่ายการเรียนรู้ - แนวความคิดเรื่องเครือข่ายการเรียนรู้ - หลักสำ�คัญของเครือข่ายการเรียนรู้

บทบาทของแหล่งเรียนรู้


บทนำ� พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 25 กำ� หนดให้รัฐมีหน้าที่ส่งเสริมการ ดำ�เนินงานการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้ ทั่วถึงและพอเพียง อันหมายถึงต้องการให้สังคม ไทยมี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ เ กื้ อ หนุ น ต่ อ การเรี ย น รู้ ข องบุ ค คลในรู ป ของแหล่ ง การเรี ย นรู้ ที่ บุ ค คล สามารถจะเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายกว้างขวาง และมีมากพอเพียงที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นได้ ไม่ว่าการเรียนรู้นั้นเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการ ศึกษาในรูปแบบใด ๆ แต่ต้องมีแหล่งที่จะช่วยให้เกิด การเรียนรู้ได้มากกว่าในขอบเขตของโรงเรียน



01 แหล่งทรัพยากรการเร

แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ หมายถึง ศูนย์รวมของวิชาความรู้ที่เป็น ทรัพยากรธรรมชาติ บุคคล สิ่งประดิษฐ์ วัตถุอาคาร สถานที่ ซึ่งมี อยู่กระจัดกระจายทั้งชุมชนเมืองและชุมชนชนบท อันเป็นขุมทรัพย์แห่ง ปัญญาที่แทรกซึมอยู่ในวิถีชีวิตของมนุษย์เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ค้นพบ ได้อย่างไม่รู้จบอยู่ในวิถีชีวิตของมนุษย์เป็นแหล่งการ เรียนรู้ที่ค้นพบได้ อย่างไม่รู้จบ


รียนรู้ คุณลักษณะของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ ที่แท้จริงต้องสามารถ สัมผัส กับบรรยากาศและสถานการณ์จริงโดยเอื้อประโยชน์ต่อกระบวนการเรียน รู้ ซึ่งการเรียนรู้นั้นเกิดได้กับผู้เรียนทุกคน ทุกเวลา มีความหมาย มีความ หลากหลายสามารถเน้นทักษะและนำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้ ผู้เรียนมีอิสระใน การตัดสินใจคิดริเริ่มและ ปฏิบัติได้อย่างมีความสุข การพัฒนาทักษะความ สามารถในการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้เพื่อให้ประชาชน โดยรวมเป็น “ บุคคลแห่งการเรียนรู้ ” มีความตระหนักถึงความสำ�คัญความจำ�เป็นของ การเรียนรู้ มีความใฝ่รู้ สามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองมี ทักษะ กระบวนการคิด การวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาสามารถใช้ความรู้ได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนมีโอกาสและสามารถเลือกที่จะเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดช่วงอายุแต่ละวัย ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ยืดหยุ่นและมี คุณภาพตามความต้องการความสนใจ และความถนัด


02 เครือข่าย การเรียนรู้

เครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) หมายถึง การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรียน รู้ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ และ แหล่งความรู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียน รู้อย่างต่อเนื่อง จนเป็นระบบที่เชื่อมโยงกัน ส่ง ผลให้เกิดการเผยแพร่และการประยุกต์ความ รู้ใหม่ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือทาง สังคม


การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนต้องเป็นผู้จัดกระทำ�ต่อสิ่งเร้า หรือ สาระการเรียนรู้ มิใช่เพียงรับสิ่งเร้าหรือสาระเข้ามาเท่านั้น ผู้เรียน ต้องเป็นผู้สร้างความมายของสิ่งเร้า หรือข้อความความรู้ ที่รับเข้ามา ด้วยตนเอง กระบวนการสร้างความหมายของสิ่งเร้าที่รับเข้ามาที่เป็น ประสบการณ์เฉพาะตน (Personal experience) ซึ่งมีความแตกต่าง กันและมีกระบวนการคิดที่แตกต่างกัน ดังนั้น การเรียนรู้ของบุคคลจึง เป็นกระบวนการที่แต่ละบุคคลต้องดำ�เนินการเองเพราะกระบวนการ สร้างความหมายเป็นกระบวนการเฉพาะตน การพัฒนาอาชีพ


1.

การกระตุ้ น ความคิ ด ความใฝ่แสวงหาความรู้ จิ ต สำ � นึ ก ในการพั ฒ นา ชุมชนท้องถิ่น และการมี ส่วนร่วมในการพัฒนา

3. การแลกเปลี่ย

หน่วยงานต่า ภาครัฐแล

2. การถ่ายทอด แลกเปลี่ยน การกระจายความรู้ทั้งใน ส่ ว นของวิ ท ยากรสากลและภู มิปัญญาท้องถิ่นเพื่อ สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ


ยนข่าวสารกับ างๆ ของทั้งใน ละเอกชน

4. การระดมและประสานการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อการ พัฒนาและลดความซ้ำ�ซ้อน สูญเปล่าให้มากที่สุด

หลักสำ�คัญของเครือข่ายการเรียนรู้ การเรียนรู้ตลอดชีวิตควรเริ่มจากการมีส่วนร่วมของบุคคล องค์กรและชุมชนในการตระหนักถึงปัญหาและการสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการสร้างเสริมประสบการณ์ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันจนทำ�ให้เกิดการ เรียนรู้ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้สรุป หลักการสำ�คัญของเครือข่ายการเรียนรู้ไว้ ดังนี้


03 บทบาทของแหล่งเร 1. แหล่งเรียนรู้ต้องสามารถตอบสนองการเรียนรู้ ที่เป็นกระบวนการ (Process of Learning) การเรียนรู้โดยปฏิบัติจริง (Learning by doing) ทั้งการเรียนรู้ของคนในชุมชนที่มีแหล่งเรียนรู้ของ ตนเองอยู่แล้ว และการเรียนรู้ของคนอื่น ๆ ทั้งใน ระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย

4. เป็นห้องเรียนทาง ธรรมชาติ เป็นแหล่ง ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และฝึกอบรม

3. เป็นแหล่งสร เรียนรู้ให้เกิด 2. เป็นแหล่งทำ�กิจกรรม แหล่ง ทัศนศึกษาแหล่งฝึกงาน และ แหล่งประกอบอาชีพของผู้เรียน


รียนรู้ 5. เป็นองค์กรเปิด ผู้สนใจ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่าง เต็มที่และทั่วถึง

ร้างกระบวนการ ดขึ้นโดยตนเอง

6. สามารถเผยแพร่ข้อมูล แก่ผู้เรียนในเชิงรุก เข้าสู่ทุก กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง ประหยัดและสะดวก

7. มีการเชื่อมโยงและแลก เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน

8. มีสื่อประเภทต่าง ๆ ประกอบด้วย สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ เพื่อเสริมกิจกรรมการเรียน การสอนและการพัฒนาอาชีพ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.