พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล ประจำมูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ทรงพระเจริญ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขาพระพุทธเจา มูลนิธิวิปสสนาพรหมญาโณ พรอมดวยคณะศิษยานุศิษย
พระอาจารยธาดา พรหมญาโณ ผูกอตั้ง และที่ปรึกษา มูลนิธิวิปสสนาพรหมญาโณ ประเทศอินเดีย
พระอาจารยสิทธิโชค สิทฺธิชโย (สมโอหวาน), ดร. ประธานสงฆ มูลนิธิวิปสสนาพรหมญาโณ ประเทศอินเดีย
มหาสมุทร ทั่วทุงทองทะเลฟาสีคราม อันแผกวางใหญสุดไพศาล คณานับ ที่จะหาความ ดูความสงบราบเรียบ บนพื้นผิวน้ำทะเล ใหเห็นเสมอกันนั้น ไดยาก.. เพราะอาศัยแรงเทพ พฤทธิ์แหงวายุ และแรงดันอากาศ ความดึงดูดของโลก จึงเปนหตุ เปนปจจัย เปนผล ผลักดันใหเกิด “คลื่นทะเลธรรมชาติ” เผาพันธุ สัตวมนุษย ก็เชนกัน.. เพราะอาศัยราก ราคะ โทสะ โมหะ ตีชิ่ง กระทบชอนขาหากันเปนตัวอุปาทาน จึงเปนเหตุ เปนปจจัย เปนผล ผลักดันใหเกิด “ คลื่นทะเลความทุกข ความสุข ” คละเคลาเปปนกันไป หาที่สุดของการแกเงื่อนปม ของทางออก ใหแกชีวิต ไมได.. เพราะติดอยูแค คำวาสั้นๆ คือ “ ตัวหลง ” พรหมญาโณ ภิกขุ
สารบัญ คำบูชาแดนประสูติ คำอธิษฐาน ณ แดนประสูติ คำบูชาสถานที่ตรัสรู คำอธิษฐานใตตนพระศรีมหาโพธิ์ คำบูชาธัมเมกขะสถูป คำอธิษฐานที่ธัมเมกขะสถูป คำบูชาองคพระพุทธปรินิพพาน บทสวดมนตทำวัตรเชา คำบูชาพระรัตนตรัย ปุพพะภาคะนะมะการะ พุทธาภิถุติ ธัมมาภิถุติ สังฆาภิถุติ ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา สำหรับ พระภิกษุ - สามเณรสวด สำหรับอุบาสก, อุบาสิกา บทสวดมนตทำวัตรเย็น คำบูชาพระรัตนตรัย ปุพพะภาคะนะมะการะ พุทธานุสสติ
หนา ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๕ ๑๗ ๑๗ ๑๙ ๒๐ ๒๒ ๒๗ ๒๗ ๒๘ ๒๘ ๓๐ ๓๑
พุทธาภิคีติ ธัมมานุสสติ ธัมมาภิคีติ สังฆานุสสติ สังฆาภิคีติ อตีตปจจเวกขณปาฐะ บทกรวดน้ำอิมินา (อุททิสสนาธิฏฐานคาถา) ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร บทพิจารณาสังขาร ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ บทสวดบารมี ๓๐ ทัศ ของครูบาศรีวิชัย นักบุญแหงลานนาไทย อธิบาย บารมี ๓๐ ทัศ แปลเปนภาษาลานนา แปลเปนภาษาไทยกลาง ชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พุทธชัยมงคลคาถา มหาการุณิโก คำแปล มหาการุณิโก คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) อิติปโส นพเคราะห
๓๒ ๓๔ ๓๕ ๓๗ ๓๘ ๔๐ ๔๓ ๔๕ ๕๑ ๕๓ ๕๓ ๕๕ ๕๗ ๕๘ ๖๑ ๖๑ ๖๑ ๖๒ ๖๒ ๖๖ ๖๖ ๖๘ ๗๓
ปฏิจจสมุปบาท บทสวดมหาเมตตาใหญ (แบบพิสดาร) ของครูบาศรีวิชัย ยอดธรรม ยอดคาถา หลวงพอดาบส สุมโน ภาคที่ ๑ ภาคที่ ๒ ภาคที่ ๓ ภาคที่ ๔ บทสวดอิติปโสถอยหลัง ประโยชนของการสาธยายธรรมตามพระศาสดา พระไตรปฎก ลมที่ ๒๒ พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปญจกฉักกนิบาต วิมุตติสูตร คติธรรมเตือนสติบางประการ
๗๘ ๘๐ ๑๒๒ ๑๒๕ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๓ ๑๓๖ ๑๓๗ ๑๔๐
คำบูชาแดนประสูติ วันทา มิ ภันเต ภะคะวา อิมัง สังเวชะนียัง ฐานัง, ยัตถาคะโตมหิ, สัทธัสสะ กุละปุตตัสสะ ทัสสะนียัง, อิธะ ลุมพินี วะเน ตะถาคะเตนะ มัชฌิเมสุ ชะนะปะเทสุ อะริยะ เกสุ มะนุสเสสุ อุปปนนัง ฯ ภาสิตา จะ อาสะภิวาจา อัคโคหะมัสมิ โลกัสสะ เชฏโฐหะมัสมิ โลกัสสะ, เสฏโฐหะมัสมิ โลกัสสะ, อะยะมันติมา เม ชาติ, นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ สาธุ โน ภันเต, อิเมหิ สักกาเรหิ อะภิปูชะยามิ, สวากขาตัญจะ นะมามิ, มัยหัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๘
ขาแตพระผูมีพระภาคเจาผูเจริญ ขาพระพุทธเจา ไดจาริกตามรอยบาท พระศาสดา มาถึงแลว ขอถวายอภิวาทสังเวชนียสถานที่กุลบุตร ผูมีศรัทธา ควรทัสสนา(ควรเห็น) อันเปนสถานที่ที่พระตถาคตเจา เสด็จอุบัติขึ้นแลว ในหมูมนุษยชาวอริยกะ ในมัชฌิมชนบท ณ สวนลุมพินีนี้ และไดตรัส อาสภิวาจาวา “เราจะเปนผูเลิศที่สุดในโลก เราจะเปนผูเจริญที่สุดในโลก เราจะเปนผูประเสริฐที่สุดในโลก การเกิดของเรานี้เปนชาติ สุดทาย บัดนี้จะไมมีภพใหมอีก” ขาแต พระองคผูเจริญ ขาพระพุทธเจาขอบูชาโดยยิ่ง ดวยเครื่องสักการะ เหลานี้ และขอนอมระลึกถึงพระธรรมที่ทรงแสดงไวดีแลว ขอการบูชา สักการะในครั้งนี้ จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุขแกขาพระพุทธเจา ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ.
คำอธิษฐาน ณ แดนประสูติ ดวย อำนาจแหงบุญกุศล ที่ขาพเจาไดจาริกธรรม บำเพ็ญบุญ มาตลอด เสนทาง สังเวชนียสถาน ทั้ง สี่ ตำบลครบบริบูรณ ดวยศรัทธาเลื่อมใส ตอพระสัมมาสัมพุทธเจา ในครั้งนี้ ขอจงเปนบารมี อำนวยผล ใหชวี ติ ของขาพระพุทธเจา จงบังเกิดความ สำเร็จ เจริญรุงเรือง ในหนาที่การงาน หากเวียนวายตายเกิดในวัฎฎสงสาร ขอใหขาพเจาจงเกิดในตระกูลดี มีสัมมาทิฎฐิ ไดพบพระพุทธศาสนาในทุกภพ ทุกชาติ ไดพบพระพุทธเจา ไดฟงธรรม มีปญญารูธรรมที่ทรงแสดงแลว จนไดบรรลุถึงซึ่งความพนทุกขคือพระนิพพานดวยเทอญ...ฯ
๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
คำบูชาสถานที่ตรัสรู วันทา มิ ภันเต ภะคะวา อิมัง โพธิรุกขะเจติยัง, สังเวชะนียัง ฐานัง, ยัตถาคะโตมหิ, สัทธัสสะ กุละปุตตัสสะ ทัสสะนียัง, อิธะ คะยาสีเส, ตถาคะเตนะ สะเทวะเก โลเก สมาระเก สะพรัหมะ เก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทธังฯ สาธุ โน ภันเต อิเมหิ สักกาเรหิ อภิปชู ะยามิ สวากขาตัญจะ นะมามิ มัยหัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๐
ขา แตพระผูม พี ระภาคผูเ จริญ ขาพระพุทธเจา ไดจาริกตามรอยบาท พระศาสดา มาถึงแลว ขอถวายอภิวาท ตนพระศรีมหาโพธิ์ และพระเจดียนี้ อันเปนสังเวชนียสถานที่กุลบุตรผูมีศรัทธา ควรมาเห็น เปนสถานที่ พระตถาคตเจา ตรัสรูพ รอมเฉพาะแลวซึง่ อนุตตระสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลก พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมูสัตว พรอมทั้งสมณะพราหมณ เทวดาและมนุษย ณ ตำบล คยาสีสะประเทศแหงนี้ ฯ ขา แตพระองคผเู จริญ ขาพระพุทธเจา ขอบูชาโดยยิง่ ดวยเครือ่ งสักการะเหลานี้ และขอนอมระลึก ถึงพระธรรม ทีท่ รงแสดงไวดแี ลว ขออานุภาพแหงการสักการะในครัง้ นี้ จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพระพุทธเจา ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ.
คำอธิษฐานใตตนพระศรีมหาโพธิ์ ขอ เดชะดวยอำนาจแหงบุญกุศล เจตนาอันมุงมั่น ความเพียรอันบริสุทธิ์ ที่ขาพระพุทธเจาตั้งใจเดินทาง จาริกมาในครั้งนี้ เพื่อนอมกราบนมัสการ องคพระพุทธ ดวยศรัทธาตอการตรัสรูธรรมขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา ดวย บุญกุศลนี้ ขอจงเปนบารมี เปนพลวะ ปจจัย อนุสยั ตามสง ใหขา พเจา ไดเกิดปญญาญาณ ไดดวงตาเห็นธรรม รูแจงเห็นจริง รูยิ่งเห็นตาม ซึ่ง พระธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงตรัสรูชอบแลว ณ สถานที่แหงนี้ หากแมนวาถาขาพระพุทธเจา ยังเวียนวายตายเกิด อยูในวัฏสงสาร ขอให ขาพเจาจงประสบความบริบูรณดวยศีลและโภคทรัพย พรอมดวยสติปญญา มีบญ ุ ทีจ่ กั ไดบำเพ็ญธรรมตามรอยบาทแหงองคพระศาสดา จนถึงความ พนทุกขคอื พระนิพพานในอนาคตกาล.ตอกาลไมนานดวยเทอญ สาธุ.สาธุ.สาธุ
๑๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
คำบูชาธัมเมกขะสถูป วันทา มิ ภันเต ภะคะวา อิมัง ธัมเมกขะเจติยัง สังเวชะนียัง ฐานัง, ยัตถาคะโตมหิ, สัทธัสสะ กุละปุตตัสสะ ทัสสะนียัง, อาสาฬะหะปุณณะมิยัง, อิธะ พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย ตะถาคะเตนะ ปญจะวัคคิ ยานัง ภิกขูนัง อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะฐะมัง ปะวัตเตตวา จัตตาริ อะริยะสัจจานิ ปะกาสิตานิฯ สาธุ โน ภันเต, อิเมหิ สักกาเรหิ อะภิปชู ะยามิ, สวากขาตัญจะ นะมามิ, มัยหัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๒
ขา แตพระผูมีพระภาคเจาผูเจริญ ขาพระพุทธเจาไดจาริกตามรอยบาท พระศาสดามาถึงแลว ขอถวายอภิวาท ธัมเมกขะสถูปนี้ อันเปนสังเวชนี-ยสถาน ที่กุลบุตรผูมีศรัทธา ควรมาเห็น เปนสถานที่พระตถาคตเจา ไดยังพระธรรมจักรใหเปนไปแกพระภิกษุปญจวัคคีย ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสีนี้ ในวันอาสาฬหปุณณมีฯ ขาแตพระองคผูเจริญ ขาพระพุทธเจาขอบูชาโดยยิ่งดวยเครื่องสักการะ เหลานี้ และขอนอมระลึกถึงพระธรรมที่ทรงแสดงไวดีแลว ขออานุภาพ แหงการบูชาสักการะในครั้งนี้ จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพระพุทธเจา ตลอดกาลนาน เทอญฯ
คำอธิษฐานที่ธัมเมกขะสถูป พุทธองค ทรงประสบความสำเร็จในการแสดงธรรม ทรงไดบริวาร เปนอริยสาวกผูไดดวงตาเห็นธรรมองคแรกและไดบริวารชุดแรก ดวยอำนาจ ศรัทธาที่มุงมั่นตั้งใจเดินทางมาไหวสถานที่นี้ ขอจงเปนบารมี การไดดวงตาเห็นธรรม รูแ จงเห็นจริงตามธรรม ที่พระพุทธองคทรงแสดงแลว จงบังเกิดมีแกขาพเจาดวย ขอบุญกุศลนี้ จงประทานพร ใหลูกหลาน บริวาร ญาติมิตรของขาพเจา (ระบุชื่อ.......) มีสติปญญา เจริญรุงเรือง ประสบความสุข สำเร็จ สมหวัง (เรื่องระบุ.......) ดวยเทอญ ฯ
๑๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
คำบูชาองคพระพุทธปรินิพพาน วันทามิ อิมัง พุทธะปะฏิมัง, อิมัสมิง กุสินารายัง สาละวะโนทเย พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปรินิพพานัฏฐาเน. อะยัง วันทะนา อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ ขาพเจา ขอกราบไหวพระพุทธปฏิมานี้ ณ สาลวโนทยาน ที่เมือง กุสินารานี้ อันเปนสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจา ขอการกราบไหวนี้ จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข ความเจริญ ของขาพเจาทั้งหลาย เทอญ ฯ.
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๔
บทสวดมนตทำวัตรเชา คำบูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ พระผูมีพระภาคเจานั้น พระองคใด, เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกขสิ้นเชิง ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรม เปนธรรมอันพระผูมีพระภาคเจา พระองคใด ตรัสไวดีแลว สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา พระองคใดปฏิบัติดีแลว ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ ขาพเจาทั้งหลายขอบูชาอยางยิ่งซึ่งพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น พรอมทั้งพระธรรมและพระสงฆ ดวยเครื่องสักการะทั้งหลายเหลานี้ อันยกขึ้นตามสมควรแลว อยางไร สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป ขาแตพระองคผูเจริญพระผูมีพระภาคเจา แมปรินิพพานนานแลว, ทรงสรางคุณอันสำเร็จประโยชน ไวแกขาพเจาทั้งหลาย ปจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะหแกพวกขาพเจา อันเปนชนรุนหลัง อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ ขอพระผูมีพระภาคเจา จงรับเครื่องสักการะอันเปนบรรณาการ ของคนยาก-ทั้งหลายเหลานี้
๑๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ เพื่อประโยชนและความสุขแกขาพเจาทั้งหลาย ตลอดกาลนาน เทอญฯ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผูมีพระภาคเจา เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกขสิ้นเชิง ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว ธัมมัง นะมัสสามิ ขาพเจานมัสการพระธรรม (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา ปฏิบัติดีแลว สังฆัง นะมามิ ขาพเจานอบนอมพระสงฆ (กราบ)
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๖
ปุพพะภาคะนะมะการะ (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความนอบนอมอันเปนสวนเบื้องตน แดพระผูมีพระภาคเจาเถิด นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลสตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลสตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลสตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง
พุทธาภิถุติ (หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจาเถิด โย โส ตะถาคะโต อะระหัง พระตถาคตเจานั้น พระองคใดเปนผูไกลจากกิเลส สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ
๑๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สุคะโตโลกะวิทู เปนผูไปแลวดวยดีเปนผูรูโลกอยางแจมแจง อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย พุทโธ เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน ดวยธรรม ภะคะวา เปนผูมีความจำเริญ จำแนกธรรม สั่งสอนสัตว โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด ไดทรงทำความดับทุกขใหแจง ดวยพระปญญา อันยิ่งเองแลว ทรงสอนโลกนี้ พรอมทั้งเทวดา มาร พรหม และหมูสัตว พรอมทั้งสมณพราหมณพรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม โย ธัมมัง เทเสสิ พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด ทรงแสดงธรรมแลว อาทิกัล๎ยาณัง ไพเราะในเบื้องตน มัชเฌกัล๎ยาณัง ไพเราะในทามกลาง ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง ไพเราะในที่สุด พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๘
สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ ทรงประกาศพรหมจรรย คือแบบแหงการปฏิบัติ,อันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ สิ้นเชิง พรอมทั้งอรรถะ (คำอธิบาย) พรอมทั้งพยัญชนะ (หัวขอ) ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ ขาพเจานอบนอมพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น ดวยเศียรเกลา (กราบระลึกพระพุทธคุณ)
ธัมมาภิถุติ (หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมนั้นใด เปนสิ่งที่พระผูมี พระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว สันทิฏฐิโก เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง อะกาลิโก เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจำกัดกาล เอหิปสสิโก เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด
๑๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
โอปะนะยิโก เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิ เปนสิ่งที่ผูรู ก็รูไดเฉพาะตน ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น ดวยเศียรเกลา (กราบระลึกพระธรรม)
สังฆาภิถุติ (หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความชมเชยเฉพาะพระสงฆเถิด โย โส สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมีพระ ภาคเจานั้นหมูใด ปฏิบัติดีแลว อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวก องพระผูมีพระภาคเจาหมูใด ปฏิบัติตรงแลว ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด ปฏิบัติสมควรแลว พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๒๐
ยะทิทัง ไดแกบุคคลเหลานี้คือ จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา คูแหงบุรุษ ๔ คู นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ นั่นแหละสงฆสาวก ของพระผูมีพระภาคเจา อาหุเนยโย เปนสงฆควรแกสักการะ ที่เขานำมาบูชา ปาหุเนยโย เปนสงฆควรแกสักการะ ที่เขาจัดไวตอนรับ ทักขิเณยโย เปนผูควรรับทักษิณาทาน อัญชะลิกะระณีโย เปนผูที่บุคคลทั่วไป ควรทำอัญชลี อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระสงฆหมูนั้น ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมูนั้น ดวยเศียรเกลา (กราบระลึกพระสังฆคุณ)
๒๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา (หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะวัตถุปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย กลาวคำนอบนอมพระรัตนตรัย และบาลีที่กำหนดวัตถุเครื่องแสดงความสังเวชเถิด พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว พระพุทธเจาผูบริสุทธิ์ มีพระกรุณา ดุจหวงมหรรณพ โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน พระองคใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก เปนผูฆาเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน พระธรรมของพระศาสดา สวางรุงเรืองเปรียบดวงประทีป โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก จำแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน สวนใด โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดที่ชี้แนวแหงโลกุตตระนั้น วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต พระสงฆเปนนาบุญอันยิ่งใหญ กวานาบุญอันดีทั้งหลาย
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๒๒
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก เปนผูเห็นพระนิพพาน, ตรัสรูตาม พระสุคต, หมูใด โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส เปนผูละกิเลสเครื่องโลเล เปนพระอริยเจา มีปญญาดี วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้นโดยใจเคารพเอื้อเฟอ อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา บุญใดที่ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งวัตถุสาม คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยสวนเดียว ไดกระทำแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้ ขออุปทวะ(ความชั่ว) ทั้งหลาย จงอยามีแกขาพเจาเลย ดวยอำนาจความสำเร็จอันเกิดจากบุญนั้น อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนโน พระตถาคตเจา เกิดขึ้นแลวในโลกนี้ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ เปนผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก และพระธรรมที่ทรงแสดง เปนธรรมเครื่องออกจากทุกข อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก เปนเครื่องสงบกิเลส, เปนไปเพื่อปรินิพพาน สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต เปนไปเพื่อความรูพรอม เปนธรรมที่พระสุคตประกาศ
๒๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ พวกเราเมื่อไดฟงธรรมนั้นแลว จึงไดรูอยางนี้วา ชาติป ทุกขา แมความเกิดก็เปนทุกข ชะราป ทุกขา แมความแกก็เปนทุกข มะระณัมป ทุกขัง แมความตายก็เปนทุกข โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา แมความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ความประสบกับสิ่งไมเปนที่รัก ที่พอใจ ก็เปนทุกข ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ความพลัดพรากจากสิ่งเปนที่รัก ที่พอใจ ก็เปนทุกข ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งนั้น นั่นก็เปนทุกข สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข เสยยะถีทัง ไดแกสิ่งเหลานี้คือ รูปูปาทานักขันโธ ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือรูป เวทะนูปาทานักขันโธ ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือเวทนา
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๒๔
สัญูปาทานักขันโธ ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสัญญา สังขารูปาทานักขันโธ ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสังขาร วิญญาณูปาทานักขันโธ ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือวิญญาณ เยสัง ปะริญญายะ เพื่อใหสาวกกำหนดรอบรู อุปาทานขันธเหลานี้เอง ธะระมาโน โส ภะคะวา จึงพระผูมีพระภาคเจานั้น เมื่อยังทรงพระชนมอยู เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ ยอมทรงแนะนำสาวกทั้งหลาย, เชนนี้เปนสวนมาก เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ อนึ่งคำสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น ยอมเปนไปในสาวกทั้งหลายสวนมาก มีสวนคือการจำแนกอยางนี้วา รูปง อะนิจจัง รูปง อะนิจจัง เวทะนา อะนิจจา เวทนาไมเที่ยง สัญญา อะนิจจา สัญญาไมเที่ยง สังขารา อะนิจจา สังขารไมเที่ยง วิญญาณัง อะนิจจัง วิญญาณไมเที่ยง รูปง อะนัตตา รูปไมใชตัวตน เวทะนา อะนัตตา เวทนาไมใชตัวตน สัญญา อะนัตตา สัญญาไมใชตัวตน
๒๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สังขารา อะนัตตา สังขารไมใชตัวตน วิญญาณัง อะนัตตา วิญญาณไมใชตัวตน สัพเพ สังขารา อะนิจจา สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไมเที่ยง สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ไมใชตัวตน, ดังนี้ เต (ตา) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา มะยัง โอติณณามะหะ พวกเราทั้งหลายเปนผูถูกครอบงำแลว ชาติยา โดยความเกิด ชะรามะระเณนะ โดยความแกและความตาย โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ โดยความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจทั้งหลาย ทุกโขติณณา เปนผูถูกความทุกขหยั่งเอาแลว ทุกขะปะเรตา เปนผูมีความทุกขเปนเบื้องหนาแลว อัปเปวะนามิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ า ปญญาเยถาติ ทำไฉนการทำที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้, จะพึงปรากฏชัดแกเราได
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๒๖
สำหรับ พระภิกษุ - สามเณรสวด จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง เราทั้งหลาย อุทิศเฉพาะพระผูมีพระภาคเจา ผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง แมปรินิพพานนานแลวพระองคนั้น สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปพพะชิตา เปนผูมีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกี่ยวของดวยเรือนแลว ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รห๎มะจะริยัง จะรามะ ประพฤติอยูซึ่งพรหมจรรย ในพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปนนา ถึงพรอมดวยสิกขาและธรรมเปนเครื่องเลี้ยงชีวิตของภิกษุทั้งหลาย ตัง โน พ๎รห๎มะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ ขอใหพรหมจรรยของเราทั้งหลายนั้น จงเปนไปเพื่อการทำที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ เทอญ
สำหรับอุบาสก, อุบาสิกา จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณังคะตา เราทั้งหลาย ผูถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาคเจา แมปรินิพพานนานแลวพระองคนั้น เปนสรณะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ ถึงพระธรรมดวย ถึงพระสงฆดวย
๒๗
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง, ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปชชามะ จักทำในใจอยู ปฏิบัติตามอยู ซึ่งคำสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น ตามสติกำลัง สา สา โน ปะฏิปตติ ขอใหความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ จงเปนไปเพื่อการทำที่สุด แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ เทอญ (บทสวดทำวัตรเชา จบ)
บทสวดมนตทำวัตรเย็น คำบูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ พระผูมีพระภาคเจานั้น พระองคใด เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรม เปนธรรมอันพระผูมีพระภาคเจา พระองคใดตรัสไวดีแลว สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา พระองคใดปฏิบัติดีแลว
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๒๘
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ ขาพเจาทั้งหลายขอบูชาอยางยิ่งซึ่งพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น พรอมทั้งพระธรรมและพระสงฆดวยเครื่องสักการะทั้งหลายเหลานี้ อันยกขึ้นตามสมควรแลวอยางไร สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป ขาแตพระองคผูเจริญพระผูมีพระภาคเจา แมปรินิพพานนานแลวทรงสรางคุณ อันสำเร็จประโยชนไวแกขาพเจาทั้งหลาย ปจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะหแกขาพเจา อันเปนชนรุนหลัง อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ ขอพระผูมีพระภาคเจาจงรับเครื่องสักการะ อันเปนบรรณาการ ของคนยากทั้งหลายเหลานี้ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ เพื่อประโยชนและความสุข แกพวกขาพเจาทั้งหลาย ตลอดกาลนาน เทอญฯ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผูมีพระภาคเจาเปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิงตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน (กราบ)
๒๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวดีแลว ธัมมัง นะมัสสามิ ขาพเจานมัสการพระธรรม (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาปฏิบัติดีแลว สังฆัง นะมามิ ขาพเจานอบนอมพระสงฆ (กราบ)
ปุพพะภาคะนะมะการะ (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความนอบนอมอันเปนสวนเบื้องตน แดพระผูมีพระภาคเจาเถิด นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น อะระหะโต ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง ( สวด 3 จบ) พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๓๐
พุทธานุสสติ (หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความตามระลึกถึงพระพุทธเจาเถิด ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระภาคเจานั้น ไดฟุงไปแลวอยางนี้วา อิติป โส ภะคะวา เพราะเหตุอยางนี้ๆ พระผูมีพระภาคเจานั้น อะระหัง เปนผูไกลจากกิเลส สัมมาสัมพุทโธ เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง วิชชาจะระณะสัมปนโน เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ สุคะโต เปนผูไปแลวดวยดี โลกะวิทู เปนผูรูโลกอยางแจมแจง อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย
๓๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
พุทโธ เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน ดวยธรรม ภะคะวา ติ เปนผูมีความจำเริญ จำแนกธรรม สั่งสอนสัตว ดังนี้
พุทธาภิคีติ (หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระพุทธเจาเถิด พุทธ๎ะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต พระพุทธเจาประกอบดวยคุณ, มีความประเสริฐ แหงอรหันตคุณเปนตน สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต มีพระองคอันประกอบดวย พระญาณ, และพระกรุณาอันบริสุทธิ์ โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร พระองคใดทรงกระทำชนที่ดี ใหเบิกบาน, ดุจอาทิตยทำบัวใหบาน วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง ขาพเจาไหวพระชินสีหผูไมมีกิเลสพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง พระพุทธเจาพระองคใดเปนสะระณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึกองคที่หนึ่ง ดวยเศียรเกลา
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๓๒
พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ), คำในวงเล็บสำหรับผูหญิง พุทโธ เม สามิกิสสะโร ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา พระพุทธเจาเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม พระพุทธเจาเปนเครื่องกำจัดทุกข และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระพุทธเจา วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่งความตรัสรูดี ของพระพุทธเจา นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง, พุทโธ เม สะระณัง วะรัง สะระณะอื่นของขาพเจาไมมี พระพุทธเจาเปนสะระณะอันประเสริฐ ของขาพเจา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน ดวยการกลาวคำสัตยนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวายัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจา ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี้ สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา อันตรายทั้งปวงอยาไดมี แกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น (กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี
๓๓
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทำแลว ในพระพุทธเจา พุทโธ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง ขอพระพุทธเจาจงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ เพื่อการสำรวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป.
ธัมมานุสสติ (หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว สันทิฏฐิโก เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง อะกาลิโก เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจำกัดกาล เอหิปสสิโก เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด โอปะนะยิโก เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน ดังนี้ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๓๔
ธัมมาภิคีติ (หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย พระธรรมเปนสิ่งที่ประเสริฐเพราะประกอบดวยคุณ คือความที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลวเปนตน โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท เปนธรรมอันจำแนก เปนมรรค ผลปริยัติ และนิพพาน ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม จากการตกไปสูโลกที่ชั่ว วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง ขาพเจาไหวพระธรรม อันประเสริฐนั้น อันเปนเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง พระธรรมใดเปนสะระณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง ขาพเจาไหวพระธรรมนั้นอันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่สอง ดวยเศียรเกลา ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา ธัมโม เม สามิกิสสะโร ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม พระธรรมเปนนายมีอิสระเหนือขาพเจา
๓๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม พระธรรมเปนเครื่องกำจัดทุกข และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระธรรม วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง, ธัมโม เม สะระณัง วะรัง สะระณะอื่นของขาพเจาไมมี พระธรรมเปนสะระณะอันประเสริฐของขาพเจา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน ดวยการกลาวคำสัตยนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้ สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา อันตรายทั้งปวงอยาไดมี แกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น (กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง กรรมนาติเตียนอันใดที่ขาพเจากระทำแลวในพระธรรม ธัมโม ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง ขอพระธรรมจงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๓๖
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม เพื่อการสำรวมระวังในพระธรรมในกาลตอไป
สังฆานุสสติ (หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความตามระลึกถึงพระสงฆเถิด สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด ปฏิบัติดีแลว อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมี พระภาคเจา หมูใดปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆสาวกของพระผูมี พระภาคเจาหมูใด ปฏิบัติสมควรแลว ยะทิทัง ไดแกบุคคลเหลานี้คือ จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา คูแหงบุรุษ ๔ คูนับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา อาหุเนยโย เปนสงฆควรแกสักการะ ที่เขานำมาบูชา
๓๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ปาหุเนยโย เปนสงฆควรแกสักการะ ที่เขาจัดไวตอนรับ ทักขิเณยโย เปนผูควรรับทักษิณาทาน อัญชะลิกะระณีโย เปนผูที่บุคคลทั่วไป ควรทำอัญชลี อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ เปนเนื้อนาบุญของโลก ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ดังนี้
สังฆาภิคีติ (หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทำความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระสงฆเถิด สัทธัมมะโช สุปะฏิปตติคุณาทิยุตโต พระสงฆที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบดวยคุณ มีความปฏิบัติดีเปนตน โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ เปนหมูแหงพระอริยบุคคล อันประเสริฐแปดจำพวก สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต มีกายและจิตอันอาศัยธรรม มีศีลเปนตนอันบวร วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจาเหลานั้น อันบริสุทธิ์ดวยดี สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง พระสงฆหมูใดเปนสะระณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๓๘
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึกองคที่สามดวยเศียรเกลา สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา สังโฆ เม สามิกิสสะโร ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆพระสงฆเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม พระสงฆเปนเครื่องกำจัดทุกข และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระสงฆ วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) คำในวงเล็บสำหรับผูหญิงวา จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปนนะตัง ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง สะระณะอื่นของขาพเจาไมมี พระสงฆเปนสะระณะอันประเสริฐ ของขาพเจา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน ดวยการกลาวคำสัตยนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) คำในวงเล็บสำหรับผูห ญิงวา ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี้ สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา อันตรายทั้งปวงอยาไดมี แกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น
๓๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง กรรมนาติเตียนอันใดที่ขาพเจาไดกระทำแลวในพระสงฆ สังโฆ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง ขอพระสงฆ จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ เพื่อการสำรวมระวัง ในพระสงฆในกาลตอไป (จบทำวัตรเย็น)
อตีตปจจเวกขณปาฐะ (ผูนำ) หันทะมะยังอะตีตะปจจะเวกขะณะปาฐังภะณามะ เส. (ขอวาดวยจีวร) อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิต๎วา ยัง จีวะรัง ปะริภุตตัง จีวรใด อันเรานุงหมแลว ไมทันพิจารณาในวันนี้ ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ จีวรนั้น เรานุงหมแลว เพียงเพื่อบำบัดความหนาว อุณ๎หัสสะ ปฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดความรอน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดดและสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย ยาวะเทวะ หิริโกปนะปะฏิจฉาทะนัตถัง และเพียงเพื่อปกปดอวัยวะ อันใหเกิดความละอาย พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๔๐
(ขอวาดวยบิณฑบาต) อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิต๎วา โย ปณฑะปาโต ปะริภุตโต บิณฑบาตใด อันเราฉันแลว ไมทันพิจารณาในวันนี้ โส เนวะ ทะวายะ บิณฑบาตนั้น เราฉันแลว ไมใชเปนไปเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน นะมะทายะ ไมใชเปนไปเพื่อความเมามัน เกิดกำลังพลังทางกาย นะมัณฑะนายะ ไมใชเปนไปเพื่อประดับ นะวิภูสะนายะ ไมใชเปนไปเพื่อตกแตง ยาวะเทวะอิมัสสะกายัสสะฐิติยา แตใหเปนไปเพียงเพื่อความตั้งอยูไดแหงกายนี้ ยาปะนายะ เพื่อความเปนไปไดของอัตภาพ วิหิงสุปะระติยา เพื่อความสิ้นไปแหงความลำบากทางกาย พ๎รัห๎มะจะริยานุคคะหายะ เพื่ออนุเคราะหแกการประพฤติพรหมจรรย อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ ดวยการกระทำอยางนี้เรายอมระงับเสียไดซึ่งทุกขเวทนาเกา คือ ความหิว นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไมทำทุกขเวทนาใหมใหเกิดขึ้น
๔๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ, อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ อนึ่ง ความเปนไปโดยสะดวกแหงอัตภาพนี้ดวย ความเปนผูหาโทษมิได ดวยและความเปนอยูโดยผาสุกดวย จักมีแกเรา ดังนี้ (ขอวาดวยเสนาสนะ) อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิต๎วา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง เสนาสนะใด อันเราใชสอยแลว, ไมทันพิจารณาในวันนี้, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ เสนาสนะนั้น เราใชสอยแลว, เพียงเพื่อบำบัดความหนาว อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดความรอน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก เหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง, เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟาอากาศ และเพื่อความเปนผูยินดีอยูได ในที่หลีกเรนสำหรับภาวนา (ขอวาดวยคิลานเภสัช) อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิต๎วา โย คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริภุตโต คิลานเภสัชบริขารใด อันเราบริโภคแลว ไมทันพิจารณาในวันนี้ โส ยาวะเทวะ อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ คิลานเภสัชบริขารนั้น เราบริโภคแลว เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึ้นแลว มีอาพาธตาง ๆ เปนมูล อัพ๎ยาปชฌะปะระมะตายาติ เพื่อความเปนผูไมมีโรคเบียดเบียน เปนอยางยิ่ง ดังนี้ พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๔๒
บทกรวดน้ำอิมินา อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (หันทะ มะยัง อุททิสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปชฌายา คุณุตตะรา ดวยบุญนี้ อุทิศให อุปชฌาย ผูเลิศคุณ อาจะริยูปะการา จะ แลอาจารยผูเกื้อหนุน มาตาปตา จะ ญาตะกา (ปยา มะมัง) ทั้งพอแมแลปวงญาติ (ผูเปนที่รักของขาพเจา) สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราป จะ สูรยจันทรและราชา ผูทรงคุณหรือสูงชาติ พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา พรหมมารและอินทราช ทั้งทวยเทพและโลกบาล ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาป จะ ยมราชมนุษยมิตร ผูเปนกลางผูจองผลาญ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ขอใหเปนสุขศานติ์ทุกทั่วหนาอยาทุกขทน ปุญญานิ ปะกะตานิ เม บุญผองที่ขาทำจงชวยอำนวยศุภผล สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปง ปาเปถะ โวมะตัง ใหสุขสามอยางลน ใหลุถึงนิพพานพลัน อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ ดวยบุญนี้ที่เราทำ แลอุทิศใหปวงสัตว
๔๓
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะ เฉทะนัง เราพลันไดซึ่งการตัด ตัวตัณหาอุปาทาน เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง สิ่งชั่วในดวงใจ กวาเราจะถึงนิพพาน นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว มลายสิ้นจากสันดาน ทุกๆภพที่เราเกิด อุชุจิตตัง สะติปญญา มีจิตตรงและสติทั้งปญญาอันประเสริฐ สัลเลโข วิริยัมหินา พรอมทั้งความเพียรเลิศ เปนเครื่องขูดกิเลสหาย มารา ละภันตุ โนกาสัง โอกาสอยาพึงมีแกหมูมารสิ้นทั้งหลาย กาตุญจะ วิระเยสุ เม เปนชองประทุษรายทำลายลางความเพียรจม พุทธาธิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม พระพุทธผูบวรนาถ พระธรรมที่พึ่งอุดม นาโถ ปจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง พระปจเจกะพุทธสมทบ พระสงฆที่พึ่งผยอง เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ดวยอานุภาพนั้น ขอหมูมารอยาไดชอง ทะสะปุญญานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ดวยเดชบุญทั้งสิบปอง อยาเปดโอกาสแกมารเทอญ (บทสวดทำวัตรเย็น จบ) พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๔๔
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะ ตะเน มิคะทาเย ตัตฺระ โข ภะคะวา ปญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ เทฺวเม (อานวา ทเว-เม) ภิกขะเว อันตา ปพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขลั ลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะ ริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต เอ เต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัม พุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทงั สัมมาทิฏฐิ สัมมาสัง กัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัม พุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพ ธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ชาติป ทุกขา ชะราป ทุกขา มะระณัมป ทุกขัง โสกะปะริเทวะทุกขะ โทมะนัสสุปายา สาป ทุกขา
๔๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตฺระตัตฺราภินันทินี เสยยะถีทัง กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย อิทัง โข ปะนะภิกขะเวทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทาอะริยะสัจจัง อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทงั สัมมาทิฏฐิ สัมมา สังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมา สะติ สัมมาสะมาธิ อิทงั ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทงั ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุส สุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๔๖
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะ ปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ อิทงั ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเว ตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะ ปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
๔๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริ วัฏฏัง ทฺวาทะสาการัง ยะถาภูตงั ญาณะทัสสะนัง นะ สุวสิ ทุ ธัง อะโหสิ เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพฺรัหฺมะเก สัสสะมะณะพฺราหฺมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปจจัญญาสิง ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวฏั ฏัง ทฺวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพฺรหั มฺ ะเก สัสสะ มะณะพฺราหฺมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมา สัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปจจัญญาสิง ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะ มันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อัตตะมะนา ปญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง อิมัสฺมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสฺมิง ภัญญะมาเน อายัสฺมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สุมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเนมิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พฺราหฺมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พฺรัหฺมุนา วา เกนะจิวา โลกัสฺมินติ ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตฺวา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตฺวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๔๘
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตฺวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตฺวา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา พฺรัหฺมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พฺรัหฺมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พฺรัหฺมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พฺรัหฺมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา มะหาพฺรัหฺมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพฺรัหฺมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
๔๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุภะกิณฺหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุภะกิณฺหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเนมิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตงั อัปปะฏิวตั ติยงั สะมะเณนะ วา พฺราหฺมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสฺมินติ อิติหะเตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พฺรัหฺมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมป สัมปะกัมป สัม ปะเวธิ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติก กัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ อิติหิทัง อายัสฺมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตฺววะ (อานวา ตเว-วะ)นามัง อะโหสีติ พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๕๐
บทพิจารณาสังขาร (หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพิจารณาธรรมสังเวชเถิด สัพเพ สังขารา อะนิจจา สังขารคือรางกายจิตใจ แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น มันไมเที่ยงเกิดขึ้นแลวดับไปมีแลวหายไป สัพเพ สังขารา ทุกขา สังขารคือรางกายจิตใจ แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น มันเปนทุกขทนยากเพราะเกิดขึ้นแลวแกเจ็บตายไป สัพเพ ธัมมา อะนัตตา สิ่งทั้งหลายทั้งปวงทั้งที่เปนสังขารแลมิใชสังขาทั้งหมดทั้งสิ้น ไมใชตัวไมใชตน ไมควรถือวาเราวาของเราวาตัววาตนของเรา อะธุวัง ชีวิตัง ชีวิตเปนของไมยั่งยืน ธุวัง มะระณัง ความตายเปนของยั่งยืน อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง อันเราจะพึงตายเปนแท มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตัง ชีวิตของเรามีความตายเปนที่สุดรอบ ชีวิตัง เม อะนิยะตัง ชีวิตของเราเปนของไมเที่ยง
๕๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
มะระณัง เม นิยะตัง ความตายของเราเปนของเที่ยง วะตะ อะยัง กาโย ควรที่จะสังเวช รางกายนี้ อะจิรัง อะเปตะวิญญาโณ มิไดตั้งอยูนาน ครั้นปราศจากวิญญาณ ฉุฑโฑ อธิเสสสะติ อันเขาทิ้งเสียแลว จักนอนทับ ปะฐะวิง ซึ่งแผนดิน กะลิงคะรัง อิวะ นิรัตถัง ประดุจดังวาทอนไมและทอนฟน หาประโยชนมิได อะนิจจา วะตะ สังขารา สังขารทั้งหลายไมเที่ยงหนอ อุปปาทะวะยะธัมมิโน มีความเกิดขึ้นแลวมีความเสื่อมไปเปนธรรมดา อุปปชชิตฺวา นิรุชฌันติ ครั้นเกิดขึ้นแลวยอมดับไป เตสัง วูปะสะโม สุโข ความเขาไปสงบระงับสังขารทั้งหลาย เปนสุขอยางยิ่ง ดังนี้
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๕๒
ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (หันทะ มะยัง ปจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส) เชิญเถิด เราทั้งหลาย มาสวดบทปจฉิมโอวาทของพระพุทธเจากันเถิด หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนทานทั้งหลายวา วะยะธัมมา สังขารา สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเปนธรรมดา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ ทานทั้งหลาย จงทำความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา นี่เปนพระวาจามีในครั้งสุดทายของพระตถาคตเจา
บทสวดบารมี ๓๐ ทัศ ของครูบาศรีวิชัย นักบุญแหงลานนาไทย ทานะ ปาระมี สัมปนโน , ทานะ อุปะปารมี สัมปนโน , ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา สีละ ปาระมี สัมปนโน , สีละ อุปะปารมี สัมปนโน , สีละ ปะระมัต ถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา
๕๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
เนกขัมมะ ปาระมี สัมปนโน , เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปนโน , เนก ขัมมะ ปะระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา ปญญา ปาระมี สัมปนโน , ปญญา อุปะปารมี สัมปนโน , ปญญา ปะระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปา ระมีสัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา วิริยะ ปาระมี สัมปนโน , วิริยะ อุปะปารมี สัมปนโน , วิริยะ ปะระ มัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา ขันตี ปาระมี สัมปนโน , ขันตี อุปะปารมี สัมปนโน , ขันตี ปะระ มัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา สัจจะ ปาระมี สัมปนโน , สัจจะ อุปะปารมี สัมปนโน , สัจจะ ปะ ระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา อะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปนโน , อะธิฏฐานะ อุปะปารมี สัมปนโน อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา เมตตา ปาระมี สัมปนโน , เมตตา อุปะปารมี สัมปนโน , เมตตา ปะระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปา ระมีสัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อุเปกขา อุปะปารมี สัมปนโน , อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเปกขา ปา ระมีสัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๕๔
ทะสะ ปาระมี สัมปนโน , ทะสะ อุปะปารมี สัมปนโน , ทะสะ ปะ ระมัตถะปารมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน , อิติป โส ภะคะวา
อธิบาย บารมี ๓๐ ทัศ การบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตวในชาตินั้นๆ บารมีที่บำเพ็ญนั้นคือ ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปญญาบารมี วิริยบารมี ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี และอุเบกขาบารมี รวมเรียกวา บารมี ๓๐ (๓ x ๑๐) โดยแบงเปนบารมีชั้นธรรมดา ๑๐ (บารมี) บารมี ชั้นกลาง ๑๐ (อุปบารมี) และ บารมีชั้นสูง ๑๐ (ปรมัตถบารมี) รวมเปน บารมี ๓๐ ประการ ในอรรถกถาจริยาปฎกพระไตรปฎก เลมที่ ๓๓ ไดจดั ชาดกเรือ่ งตางๆ ลงในบารมีทง้ั ๓๐ ประการ มีนยั โดยสังเขปทีน่ า ศึกษาดังนี้ ๑. ทานบารมี พระโพธิสตั วทรงบำเพ็ญทานบารมีในขณะทีเ่ สวยพระชาติ เปนพระเจาสีวริ าช (๒๗/๔๙๙) ทรงบำเพ็ญทานอุปบารมีในขณะทีเ่ สวย พระชาติเปนพระเวสสันดร (๒๘/๕๔๗) และทรงบำเพ็ญทานปรมัตถบารมี ในขณะที่เสวยพระชาติเปนกระตายปาสสบัณฑิต (๒๗/๓๑๖) ๒. ศีลบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญศีลบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเปน พญาชางฉัตทันตเลี้ยงมารดา (๒๗/๗๒) ทรงบำเพ็ญศีลอุปบารมีในขณะ ที่เสวยพระชาติเปนพญานาคภูริทัต (๒๘/๕๔๓) ๓. เนกขัมมบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญเนกขัมมบารมีในขณะที่เสวย พระชาติเปนอโยฆรราชกุมาร (๒๗/๕๑๐) ทรงบำเพ็ญเนกขัมมอุปบารมี ในขณะที่เสวยพระชาติเปนหัตถิปาลกุมาร (๒๗/๕๐๙) และทรงบำเพ็ญ เนกขัมมปรมัตถบารมี ในขณะทีเ่ สวยพระชาติเปนพระเจาจูฬสุตโสม (๒๗/๕๒๗)
๕๕
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๔. ปญญาบารมี พระโพธิสตั วทรงบำเพ็ญปญญาบารมีในขณะทีเ่ สวย พระชาติเปนสัมภวกุมาร (๒๗/๕๑๕) ทรงบำเพ็ญปญญาอุปบารมีในขณะ ทีเ่ สวยพระชาติเปนอำมาตยวธิ รุ บัญฑิต (๒๘/๕๔๖) และทรงบำเพ็ญปญญา ปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเปนเสนกบัณฑิต (๒๗/๔๐๒) ๕. วิริยบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญวิริยบารมีในขณะที่เสวยพระชาติ เปนพญากป (๒๗/๕๑๖) ทรงบำเพ็ญวิริยอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติ เปนพระเจาสีลวมหาราช (๒๗/๕๑) และทรงบำเพ็ญวิรยิ ปรมัตถบารมีใน ขณะที่เสวยพระชาติเปนพระมหาชนก (๒๘/๕๓๙) ๖. ขันติบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญขันติบารมีในขณะที่เสวยพระชาติ เปนจูฬธัมมปาลราชกุมาร (๒๗/๓๕๘) ทรงบำเพ็ญขันติอุปบารมีในขณะ ทีเ่ สวยพระชาติเปนธัมมิกเทพบุตร (๒๗/๔๕๗) และทรงบำเพ็ญขันติ ปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเปนขันติวาทีดาบส (๒๗/๓๑๓) ๗. สัจจบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญสัจจบารมีในขณะที่เสวยพระชาติ เปนวัฏฏกะ (ลูกนกคุม (๒๗/๓๕) ทรงบำเพ็ญสัจจอุปบารมีในขณะที่เสวย พระชาติเปนพญาปลาชอน (๒๗/๗๕) และทรงบำเพ็ญสัจจปรมัตถบารมี ในขณะที่เสวยพระชาติเปนพระเจามหาสุตโสม (๒๘/๕๓๗) ๘. อธิษฐานบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญอธิษฐานบารมีในขณะที่เสวย พระชาติเปนพญากุกกุระ (๒๗/๒๒) ทรงบำเพ็ญอธิษฐานอุปบารมีในขณะ ที่เสวยพระชาติเปนมาตังคบัณฑิต (๒๗/๔๙๗) และทรงบำเพ็ญอธิษฐาน ปรมัตถบารมีในขณะทีเ่ สวยพระชาติเปนพระเตมิยราชกุมาร (๒๘/๕๓๘) ๙. เมตตาบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญเมตตาบารมีในขณะที่เสวย พระชาติเปนสุวรรณสามดาบส (๒๘/๕๔๐) ทรงบำเพ็ญเมตตาอุปบารมี ในขณะที่เสวยพระชาติเปนกัณหาทีปายนดาบส (๒๗/๔๔๔) และทรง บำเพ็ญเมตตาปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเปนพระเจาเอกราช พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๕๖
๑๐. อุเบกขาบารมี พระโพธิสัตวทรงบำเพ็ญอุเบกขาบารมีในขณะที่เสวย พระชาติเปนกัจฉปบัณฑิต (๒๗/๒๗๓) ทรงบำเพ็ญอุเบกขาอุปบารมีใน ขณะที่เสวยพระชาติเปนพญามหิส (๒๗/๒๗๘) และทรงบำเพ็ญอุเบกขา ปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเปนโลมหังสบัณฑิต (๒๗/๙๔) หมายเหตุ เลขหนาเปนลำดับเลมพระไตรปฎก เลขหลังเปนลำดับชาดก เชน (๒๗/๒๗๓) หมายถึง (พระไตรปฎกเลมที่ ๒๗ ชาดกเรื่องที่ ๒๗๓) การบำเพ็ญบารมี ของพระโพธิสัตวในชาติหนึ่ง ๆ มิใชวาจะทรงบำเพ็ญบารมีเพียงอยางใด อยางหนึง่ เชน ทรงบำเพ็ญทานบารมี หรือทรงบำเพ็ญศีลบารมีอยางเดียว เทานั้น แตในชาติเดียวกันนั้น ไดบำเพ็ญบารมีหลายอยางควบคูกันไป แตอาจเดนเพียงบารมีเดียว ทีเ่ หลือนอกนัน้ เปนบารมีระดับรองๆ ลงไป เชน ในชาติที่เปนพระเวสสันดรทรงบำเพ็ญบารมีครบทั้ง ๑๐ บารมี
แปลเปนภาษาลานนา สาธุ สาธุ สาธุ พระปญญาปารมีสามสิบตั๊ด สาธุพระปญญาปาระมี วังแวดลอม วิรยิ ะปาระมีลอ มระวังดี ศีลปาระมีบงั หอดาบ เมตตาปารมีผาบ แปทังปน ทานนะปาระมีหื้อเปนผืนตั้งตอ อุเบกขาปาระมีหื้อกอเปนเวียง สัจจะปาระมีแวดระวังดีเปนใต ขันติปารมีกา ยเปนหอกดาบบังหนาไมและ ปนไฟ อธิฐานะปารมีผันผาบไปทุกแหง แข็งๆ แรงๆ ผายปราบฝูงหมูมาร ผีสางพรายเผด ทุกทวีปภพถีบผัง้ ผายหนี นางธรณีอศั จรรย โสสะหมืน่ ผัน อยูข า ง น้ำนทีนองกวางตอกวางแตกตีฟองนานองนานอก เปนเขาตอก ดอกไมถวายบูชาพระแกวแกนไมสะทัน พระพุทธังจุง มาผายโผดอนุญาโตด โผดผูขาแตดีหลี แมธรณีออกมารีดผมอยูที่ขางธาตุจางรายขายคะจังงา สับดินพนน้ำนทีนองผัด ผาย คอพรายหักทบทาวพญามารอาวๆปูนกั๋ว กราบยอมือขึ้นทูนหัวใสเกลา ผูขานี้ไดจื่อวาลูกศิษยพระพุทธเจาตนมีบุญสม
๕๗
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ภารอันมากนัก พระพุทธเจาจึงจัดตั้งปารมีไวเกาจั้น ตั้งไวตั้งหนากไดเกาจั้น ตั้งไวตังหลังกาไดเกาจั้น ตั้งแตหัวแผวตีน กไดเกาจั้น ตั้งแตตีนแผวหัวกาได เกาจัน้ แสนวา ลูกปนจักมาเสมอเหมือนฝนแสนหา กจกั บมาไก ขาเจากเลย ไดวา พุทธะคุนัง ธรรมมะคุนัง สังฆะคุนัง พุทธะอินทา ธรรมะอินทา สังฆะ อินทา อัสอับอั้นแมธรณีผูอยูเหนือน้ำ ผูอยูก้ำแผนดิน กอนขาไดระลึกกึ๊ด ถึงคุณพระบิดา คุณพระมารดา คุณครูบาอาจารย คุณพระแกวตังสาม ผะกาน คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ คุณแดด คุณฝน คุณลม คุณกุศลราชเจากดี คุณพรุะตนภาวนากดี คุณนางอุตรากดี คุณธรณีเจากดี ขอหื้อจุงมาจวยฮักษาตังก้ำหนาและก้ำหลังตนตั๋วแหงขาพระเจาในคืน วันนี้ยามนี้จุงแตดีหลีแดเตอะ
แปลเปนภาษาไทยกลาง สาธุ สาธุ พระปญญาบารมีสามสิบทัศ สาธุพระปญญาบารมีวังแวดลอม วิริยะบารมีลอมระวังดี ศีละบารมีบังหอกดาบ เมตตาบารมีปราบแพทั้งปน ทานะบารมีใหเปนผืนตั้งตอ อุเบกขาบารมีใหกอเปนเวียงศรี สัจจะบารมี แวดระวังดีเปนไมไต ขันติบารมีกลายเกิดเปนหอกดาบบังหนาไมและปนไฟ อธิษฐานะบารมีผันปราบไปทุกแหง แข็งแข็ง แรงแรง ปราบฝูงหมูมาร ผีสาง พรายเปรตทุกทวีปพบถีบพังพายหนี นาง ธรณีอัศจรรยรูดมวยผมผันอยู ควางๆ น้ำนทีนองกวางตอกวางแตกตีฟองนะนอง นะนอกเปนขาวตอก ดอกไม มาถวายบูชาพระแกนไททรงธรรม พระพุทธังจุง มาผายโปรดจุง อนุญาตโทษโปรดผูขาแทดีหลี นางธรณีออกมารีดผมอยูธาตุชางรายคาย คะจังงาสับดินพนน้ำนทีลงพัดพายคอ พลายหักทบทาว พญามารอาวอาว ปูนกลัวกราบยกมือไหวทนู ใสหวั เกลา ขาผูน ช้ี อ่ื วาศิษยพระพุทธเจาตนมีบญุ สมภารอันมาก พระพุทธเจาจึงตั้งพระปญญาบารมีไว พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๕๘
เกาชั้น ตั้งไวขางหลังไดเกาชั้น ตั้งแตหัวถึงตีนก็ไดเกาชั้น ตั้งแตตีนถึงหัว ก็ไดเกาชั้นแสนวาลูกปนจักมาเสมอเหมือนฝนแสนหาก็บมีจัก มาใกลได ขาพเจาจึงไหววา พระพุทธะคุณณัง พระธรรมะคุณณัง พระสังฆะคุณณัง พุทธะอินทรา ธรรมะอินทรา สังฆะอินทรา อัสสะอับ แมธรณีอยูเหนือน้ำ ผูอ ยูค ำ้ แผนดิน ครัน้ ขาพเจาไดระลึกถึงยังคุณพระพุทธเจา คุณพระธรรมะ เจา คุณพระสังฆะเจา คุณพระบิดา คุณพระมารดา คุณครูบาอาจารย คุณพระแกวเจาทั้งสามประการคือ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ คุณแดด คุณฝน คุณน้ำ คุณลม คุณกุสสะราชเจาก็ดี คุณภาวนาก็ดี คุณนางอุทราก็ดี คุณพระปจเจกกะเจาก็ดี คุณแมธรณีก็ดี ขอจงมารักษา ยังตนตัวแหงขาในคือวันยามนี้เทอญ
๕๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
จะอยากดีมีจน รวยการศึกษา ดอยความรู รูปโฉมนามธรรม พริ้งเพลา หรือ จะดำต่ำตอยเตี้ย รางคอนแคระ เขาก็คน เราก็คน เหมือน ๆ กัน อยางหมางเมิงวัดคาของความเปนคน ตีราคาที่เห็นตาง เหมือนแลกซื้อหา ผัก ปลา ความเปนคน ไมไดวัดกันที่ฐานะ การศึกษา รูปโฉมนามธรรม ... หากขาดคุณธรรมนั้นแล จะเรียกวา คน ไดอีกเหรอ .... พรหมญาโณ ภิกขุ ..
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๖๐
ชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ( 3 จบ ) พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมป พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมป ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมป สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ ตะติยัมป พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ตะติยัมป ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ ตะติยัมป สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ
พุทธคุณ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ
ธรรมคุณ
๖๑
พระพุทธมนต์
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิติฯ
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สังฆคุณ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
พุทธชัยมงคลคาถา พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลังอุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ พญามารเนรมิตแขนตั้งรอย ถืออาวุธครบมือ ขี่ชางครีเมขละ พรอมดวย เสนามารโหรองกองกึกพระจอมมุนีทรงเอาชนะไดดวยธรรมวิธี มีทาน บารมี เปนตนดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๖๒
อาฬวกยักษผูกระดาง ปราศจากความอดทน ดุราย สูรบกับพระพุทธเจา อยางทรหดยิ่งกวามารตลอดราตรีพระจอมมุนีทรงเอาชนะไดดวยขันติวิธีที่ ทรงฝกฝนมาดีดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ พญาชางชื่อ นาฬาคิรี ตกมันดุรายยิ่งนัก ประดุจไฟปา จักราวุธ และสายฟาพระจอมมุนีทรงเอาชนะไดดวยวิธีรดดวยน้ำคือเมตตา ดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ โจรองคุลิมาล ถือดาบเงื้องาวิ่งไลฆา พระพุทธองคสิ้นระยะทาง ๓ โยชน พระจอมมุนีทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจเอาชนะไดราบคาบ ดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นางจิญจมาณวิกา เอาไมกลมๆ มาผูกทอง ทำอาการประหนึ่งวามีครรภ ใสรายพระพุทธเจาทามกลางฝูงชนพระจอมมุนีทรงเอาชนะไดดวยวิธีสงบ ระงับพระหฤทัยอันงดงามดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน
๖๓
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ สัจจกนิครนถผูถือตัววาฉลาด เปนนักโตวาทะชั้นยอด สละเสียซึ่งสัจจะ ตั้งใจมาเพื่อวาทะหักลางพระพุทธองค เปนคนมืดบอดยิ่งนัก พระจอมมุนีผูสวางจาดวยแสงปญญาทรงเอาชนะได ดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ พญานาคชื่อนันโทปนันทะ ผูมีความรูผิด มีฤทธิ์มากพระจอมมุนีทรงมี พุทธบัญชาใหพระโมคคัลลานะพุทธชิโนรสไปปราบดวยวิธีแสดงฤทธิ์ ที่เหนือกวาดวยเดชแหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ พรหมชือ่ พกา ถือตัววามีความบริสทุ ธิ์ รุง เรืองและมีฤทธิย์ ดึ มัน่ ในความเห็น ผิด ดุจมีมอื ถูกอสรพิษขบเอาพระจอมมุนที รงเอาชนะไดดว ยญาณ ดวยเดช แหงชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแกทาน
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๖๔
เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญ คนมีปญญาสวดพุทธชัยมงคลคาถาทั้ง ๘ นี้เปนประจำ โดยไมเกียจคราน พึงขจัดอุปทวันตรายทั้งหลายไดบรรลุถึงซึ่งพระนิพพานอันเปนสุข การประพฤติปฎิบัติธรรมนั้น มันไมไดถูกเจาะจงจำกัดลงไว จำเพาะเพียงแควา ... จะเลือกเพศใด เพศหนึ่ง ก็หาไม ตัวรู ตัวใน ตัวเห็น ในญาณทัศนะคติ ของตัวมรรคผล นิพพาน นั้น ! มันเปนเหตุ เปนผล เปนปจจัย ของปจเจกบุคคล ที่พึ่งดำรงสติ ปญญาอันตั้งมั่น ไมหวั่นไหวดีแลว ชักนำจนขึ้นสูญาณทัศนะคติฝายกุศลธรรม แลนเขาไปสู ภายในตัวรู ตัวเห็น โดยธรรมชาติ ปราศจากการปรุงแตง ในตัวจริตวิตก วิจารณ ของอัตตาตัวรู ตัวเห็น นอกเหนือจากตัวสมมุติภายนอก โดยไมจำกัดกาลเวลา ไมจำกัดเพศ วัย หรือ ... ความรูอันยิ่งยวดจากภายนอก แตประการใด !
๖๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
พรหมญาโณ ภิกขุ
มหาการุณิโก มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโนเอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยัสสุ ชะยะมัง คะเล อะปะราชิตะ ปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเรอะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหัฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณา นิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เมฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เมฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เมฯ
คำแปล มหาการุณิโก สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พระผูทรงเปนที่พึ่งของสรรพสัตวทรง ประกอบดวยพระมหากรุณา ทรงบำเพ็ญพระบารมีทั้งปวง เพื่อประโยชน เกื้อกูลแกสรรพสัตว ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ดวยการกลาว พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๖๖
สัจจวาจาน ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกขาพเจา ขอขาพเจาจงมีชัยชนะ ในชัยมงคลพิธี ดุจพระจอมมุนผี ยู งั ความปตยิ นิ ดีใหเพิม่ พูนแกชาวศากยะ ทรงมีชัยชนะมาร ณ โคนตนมหาโพธิ์ทรงถึงความเปนเลิศยอดเยี่ยม ทรงปติ ปราโมทยอยูเหนืออชิตบัลลังกอันไมรูพาย ณ โปกขรปฐพี อันเปนที่ อภิเษกของพระพุทธเจาทุกพระองค ฉะนั้นเถิด เวลาที่กำหนดไวดี งาน มงคลดี รุงแจงดี ความพยายามดี ชั่วขณะหนึ่งดี ชั่วครูหนึ่งดี การบูชาดี แดพระสงฆผูบริสุทธิ์ กายกรรมอันเปนกุศล วจีกรรมอันเปนกุศล มโนกรรม อันเปนกุศล ความปรารถนาดีอนั เปนกุศล ผูไ ดประพฤติกรรมอันเปนกุศล ยอมประสบความสุขโชคดี เทอญ ขอสรรพมงคลจงมีแกขาพเจา ขอเหลาเทพยดาทั้งปวงจงรักษาขาพเจา ดวยอานุภาพแหงพระพุทธเจา ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา ทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแกขาพเจา ขอเหลาเทพยดาทั้งปวงจงรักษาขาพเจา ดวยอานุภาพแหงพระธรรม ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา ทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแกขาพเจา ขอเหลาเทพยดาทั้งปวงจงรักษาขาพเจา ดวยอานุภาพแหงพระสงฆ ขอความสุขสวัสดีทง้ั หลาย จงมีแกขา พเจา ทุกเมื่อ
คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) พระคาถานี้เปนคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ทานเจาประคุณ สมเด็จฯคนพบในคัมภีรโบราณและไดดัดแปลงแตงเติมใหดีขึ้นเปน
๖๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
เอกลักษณพิเศษผูใดสวดภาวนาพระคาถานี้เปนประจำสม่ำเสมอจะทำ ใหเกิดความสิริมงคลแกตนเอง ศัตรูไมกลากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยตางๆ กอนเจริญภาวนาใหตั้งนะโม ๓ จบ แลว ระลึกถึงหลวงปูโตและตั้งคำอธิษฐานแลวเริ่มสวด เริ่มสวด นโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นึกถึงหลวงปูโตแลวตั้งอธิษฐาน ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปยะตังสุตตะวา อิติปโสภะคะวา ยะมะราชาโน ทาวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
บทพระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปวิงสุ นะราสะภา. พระพุทธเจาและพระนราสภาทั้งหลาย ผูประทับนั่งแลวบนชัยบัลลังก ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผูพรั่งพรอมดวยเสนาราชพาหนะแลว เสวย อมตรสคืออริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เปนผูนำสรรพสัตวให ขามพนจากกิเลสและกองทุกข พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๖๘
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. มี ๒๘ พระองคคือ พระผูทรงพระนามวา ตัณหังกรเปนตน พระพุทธเจาผูจอมมุนีทั้งหมดนั้น สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ขาพระพุทธเจาขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกลา องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ประดิษฐานอยูบนศีรษะ พระธรรมอยูที่ดวงตาทั้งสองพระสงฆผูเปนอากร บอเกิดแหงสรรพคุณอยูที่อก หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. พระอนุรุทธะอยูที่ใจพระสารีบุตรอยูเบื้องขวา พระโมคคัลลานอยูเบื้องซาย พระอัญญาโกณทัญญะอยูเบื้องหลัง ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. พระอานนทกับพระราหุลอยูหูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยูที่หูซาย เกสันเต ปฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปนโน โสภิโต มุนิปุงคะโว มุนีผูประเสริฐคือพระโสภิตะผูสมบูรณดวยสิริดังพระอาทิตยสองแสง อยูที่ทุกเสนขน ตลอดรางทั้งขางหนาและขางหลัง
๖๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. พระเถระกุมาระกัสสะปะผูแสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยูปากเปนประจำ ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเปนกระแจะจุณเจิมที่หนาผาก เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. สวนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผูมีชัยและเปนพระโอรส เปนพระสาวกของพระพุทธเจาผูทรงชัย แตละองคลวน รุงเรืองไพโรจนดวยเดชแหงศีลใหดำรงอยูทั่วอวัยวะนอยใหญ ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปจฉะโต อาส วาเม อังคุลิมาละกัง พระรัตนสูตรอยูเบื้องหนาพระเมตตาสูตรอยูเบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยูเบื้องซาย พระธชัคคะสูตรอยูเบื้องหลัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาส เสสา ปาการะสัณฐิตา พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เปนเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยูบนนภากาศ ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปททะวา. พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๗๐
อนึ่งพระชินเจาทั้งหลาย นอกจากที่ไดกลาวมาแลวนี้ ผูประกอบพรอมดวยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเปนอาภรณมาตั้งลอมเปนกำแพงคุมครองเจ็ดชั้น อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปญชะเร. ดวยเดชานุภาพแหงพระอนันตชินเจา ไมวา จะทำกิจการใดๆเมือ่ ขาพระพุทธเจาเขาอาศัยอยูใ นพระบัญชรแวดวง กรงลอม แหงพระสัมมาสัมพุทธเจา ขอโรคอุปทวะทุกขทั้งภายนอกและ ภายในอันเกิดแตโรคราย คือ โรคลมและโรคดีเปนตนเปนสมุฏฐาน จงกำจัดใหพินาศไปอยาไดเหลือ ชินะปญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ขอพระมหาบุรุษผูทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลขาพระพุทธเจา ผูอยูในภาคพื้น ทามกลางพระชินบัญชร ขาพระพุทธเจาไดรับการคุมครองปกปกรักษาภายในเปนอันดีฉะนี้แล อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปญชะเรติ. ขาพระพุทธเจาไดรับการอภิบาลดวยคุณานุภาพแหงสัทธรรม จึงชนะเสียไดซึ่งอุปทวอันตรายใดๆ ดวยอานุภาพแหงพระชินะพุทธเจา ชนะขาศึกศัตรูดวยอานุภาพแหงพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงดวย อานุภาพ แหงพระสงฆ ขอขาพระพุทธเจาจงไดปฏิบัติ และรักษาดำเนินไป โดยสวัสดีเปนนิจนิรันดรเทอญฯ
๗๑
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ความคมของใบมีดแผนบางๆ ขนาดเล็กๆ ที่ไวใชสำหรับโกนผมบนศรีษะ ทั่วไป ... ถาความคม ของใบมีดโกนนั้น! เปรียบเหมือน ตัวปญญา! มีความคิดการอาน อันคมกริบ เด็ดขาด ฉับไว คนทุกคน บนโลกใบนี้ คงไมมีใคร ที่จะมานั่งบนเพอละเมอ อมทุกข โพทนาโทษตนเองวา เปนคนเขลา แตในทางกลับกันแลว โดยหลักจริงๆ คนทุกคนบนโลกใบนี้ ก็ลวนมีปญญาพุทธะ ในการเสมอภาคเทาเทียมกัน แตทวา ? คนสวนใหญ ยังไมรูจักที่จะดึงตัวปญญา ภายใน ที่แทจริงออกมาใช เทานั้นเอง ... แตกลับใชปญญา แถ ไปอีกทาง คือ แถ วิ่งออกไปลง ขางๆ คูๆ ตามอำนาจความ อยาก ! ของกิเลส ตัวตัณหา อุปาทาน เมื่อคนสวนใหญ ยังไมยอมที่จะหยิบ จะจับ ตัวแกนแทปญญา นำออกมาใชใหเกิดผลจริง จึงพากันมานั่งลอมวงจับเจา กอดรัดชันเขา แลวนั่งอมทุกข กัดฟนบนเสียงพร่ำเพอ ออดๆ แอดๆ เล็ดรอด ออกมาจากริมฝปาก เบาๆ วา ทุกขๆๆๆๆ ยากหลาย พรหมญาโณ ภิกขุ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๗๒
อิติปโส นพเคราะห (อาทิตย) อิติปโสภะคะวา พระอาทิตยเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ โมระปริตร ตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (อะ วิช สุ นุต สา นุต ติ 6 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 6 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณสัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา (จันทร) อิติปโสภะคะวา พระจันทรเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ อภัยยะปะริตตัง รักขันตุ สัพพะทา (อิ ระ ชา ตะ ระ สา 15 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 15 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณสัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา
๗๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(อังคาร) อิติปโสภะคะวา พระอังคารเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ กะระณียะเมตตาสุตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง 8 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 8 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณ สัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา (พุธ) อิติปโสภะคะวา พระพุธเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ โพชฌังคะปะริตตังมังรักขันตุ สัพพะทา (ป สัม ระ โล ปุ สัต พุท 17 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 17 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณสัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา (ราหู) อิติปโสภะคะวา พระราหูเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ สุริยะจันทะ พุทธะ ปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (คะ พุท ปน ทู ทัม วะ คะ 12 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 12 ป พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๗๔
เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณสัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา (พฤหัส) อิตปิ โ สภะคะวา พระพฤหัสบดีเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ รัตตะนะ สุตตัง อะระหังพุทโธ นะโม พุทธายะ วัฏฏะกะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ 19 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 19 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณ สัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา (ศุกร) อิตปิ โ สภะคะวา พระศุกรเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ ธะชัคคะ สุตตัง อะระหังสุคะโต ภะคะวะตา อาฏานาติยะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (วา โธ โน อะ มะ มะ วา 21 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 21 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณ สัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา
๗๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(เสาร) อิติปโสภะคะวา พระเสารเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะ อังคุลิมาละปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (โส มา ณะ กะ ริ ถา โร 10 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 10 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณ สัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา (พระเกตุ) อิติปโสภะคะวา พระเกตุเทวา วิญญาณะสัมปนโน โสธายะชะยะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (อะระหัง สุคะโต ภะคะวา 9 จบ) เสด็จลงมาเสวยอายุแหงขาพเจาได 9 ป เวียนในรอบราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฏ สิงห กันย ตุลย พฤศจิก ธนู มังกร กุมภ มีน ตองลัคน ตองจันทร ตองพระเคราะหตวั นอก พระเคราะหตวั กลาง พระเคราะหตัวใน ตองพระเคราะหตัวใดๆ ขอใหคุมโทษ คุมภัย คุมเสนียด จัญไร ขอใหมีชัยมงคล คุมโทษโทสา ปารมีคุณ สัมฺปนฺโน อิติปโส ภควา
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๗๖
บางคนชอบการภาวนา แตเมื่อภาวนาไป ก็ไปถือเอาความพอใจยินดี ~ ติดในความสงบ ~ ติดในรูปนิมิตสัญญา ~ ติดในวสี แสงสี ~ ติดในฤทธิ์อำนาจญาณวิสัยโลกีย ฯลฯ เปรียบเสมือนหมือนของที่ตกหลน จากหนาผาที่สูงชัน แตไปติดคาง ปลายคาที่คบกิ่งไมบาง ที่ซอกหินบาง มตกลวงหลน ลงสูพื้นลางเสียทีเดียวเลย เพราะเหตุนี้แล สภาวะธรรมอันยวดยิ่ง ยอมไมปรากฎ เพราะอาศัยเหตุในวิตก วิจารณ จริต คอยเนนย้ำคิดหวนกลับ วก วนเวียนไปหาแตในเรื่องเดิม ๆ กลายเปนคนที่ขี้ลังเล ขี้สงสัย ขาดความเชื่อมั่น หรือ มีความเชื่อมั่นในตัวตน จนเกิดไปกวาเหตุ ... พรหมญาโณ ภิกขุ
๗๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ปฏิจจสมุปบาท (นำ) หันทะ มะยัง ปะฏิจจะสะมุปปาทะธัมมะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ (รับ) อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก ปะฏิจจะสะมุปปาทัญเญวะ สาธุกัง โยนิโส มะนะสิกะโรติ ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ยอมกระทำไวในใจ โดยแยบคายเปนอยางดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้วา อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ยอมมี อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปชชะติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ เมื่อสิ่งนี้ไมมี สิ่งนี้ยอมไมมี อิมัสสะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป ยะทิทัง ไดแกสิ่งเหลานี้ คือ อะวิชชาปจจะยา สังขารา เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย สังขาระปจจะยา วิญญาณัง เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ วิญญาณะปจจะยา นามะรูปง เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๗๘
นามะรูปะปจจะยา สะฬายะตะนัง เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ สะฬายะตะนะปจจะยา ผัสโส เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ ผัสสะปจจะยา เวทะนา เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา เวทะนาปจจะยา ตัณหา เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา ตัณหาปจจะยา อุปาทานัง เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน อุปาทานะปจจะยา ภะโว เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ ภะวะปจจะยา ชาติ ชาติปจจะยา ชะรามะระณัง เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ เพราะมีชาติเปนปจจัย ชรา มรณะ โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ โสกะปริเทวะทุกขโทมนัส อุปายาสะทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะสะมุทะโย โหติ ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้ อะวิชชายะเต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแหงสังขาร สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ เพราะมีความดับแหงวิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป
๗๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
บทสวดมหาเมตตาใหญ (แบบพิสดาร) ของครูบาศรีวิชัย เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะฯ (๑) สุขัง สุปะติ (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปนัง ปสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปโย โหติ (๕) อะมะนุสสานัง ปโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ (๙) มุขะวัณโณ วิปะสี ทะติ (๑๐) อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๘๐
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ กะตีหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ปญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ กะตะเมหิ ปญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๘๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
อิเมหิ ปญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆาสุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ ยามาเทวาอะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๑) สัพเพ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๘๒
(๑๒) สัพเพ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๓) สัพเพ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๔) สัพเพ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๕) สัพเพ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๖) สัพเพ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๗) สัพเพ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๘) สัพเพ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๙) สัพเพ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๐) สัพเพ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๑) สัพเพ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๒) สัพเพ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๓) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๘๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๒๔) สัพเพ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๕) สัพเพ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๖) สัพเพ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๗) สัพเพ อมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ (๒๘) สัพเพ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒๙) สัพเพ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓๐) สัพเพ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓๑) สัพเพ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓๒) สัพเพ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓๓) สัพเพ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓๔) สัพเพ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓๕) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๘๔
อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๘๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๘๖
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๘๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทสิ ายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๘๘
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อตตภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๘๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๙๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๙๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌ อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๙๒
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทสิ ายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ จาตุมมหาราชิกาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๙๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ตาวะติงสาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๙๔
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ยามาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ตุสิตาเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๙๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ นิมมานะระตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๙๖
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๙๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อินทา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๙๘
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ พรหมา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๙๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๐๐
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ จตุโลกะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ยมมะราชา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๐๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ยะมะปาลา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๐๒
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สิริคุตตะระอะมัจจา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๐๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ยักขา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๐๔
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ กุมภัณฑา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ครุทธา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๐๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ครุทธา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ กินนรา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๐๖
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ กินนะรี อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ กินนะรี อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๐๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ นาคา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๐๘
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๐๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะมะนุสสา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๑๐
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วิริยะปะติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๑๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะมิตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๑๒
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๑๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ติรัฉฉา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๑๔
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เปติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๑๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เปตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะสุระกายา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๑๖
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เปตาวัตถุโย อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
๑๑๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เปตวิเสยยา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๑๘
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา สัพเพ ปุคคะลา สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปนนา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ สัพเพ อิตถิโย สัพเพ ปุริสา สัพเพ อะริยา สัพเพ อะนะริยา สัพเพ จาตุมมหาราชิกาเทวา สัพเพ ตาวะติงสาเทวา สัพเพ ยามาเทวา สัพเพ ตุสิตาเทวา สัพเพ นิมมานะระตีเทวา สัพเพ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา สัพเพ อินทา สัพเพ พรหมา สัพเพ จตุโลกะปาลา สัพเพ ยมมะราชา สัพเพ ยะมะปาลา สัพเพ สิริคุตตะระอะมัจจา สาสะนัง อนุรักขันตุ อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ สัพเพ ยักขา สัพเพ กุมภัณฑา สัพเพ ครุทธา สัพเพ กินนรา สัพเพ กินนะรี สัพเพ นาคา สัพเพ มะนุสสา
๑๑๙
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สัพเพ อะมะนุสสา สัพเพ วิริยะปะติกา สัพเพ มิตตา สัพเพ อมิตตา สัพเพ มัชฌะตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ สัพเพ ติรัฉฉา สัพเพ เปติกา สัพเพ เปตา สัพเพ อะสุระกายา สัพเพ เปตาวัตถุโย สัพเพ เปตวิเสยยา สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ อิมัสมิง จะอาราเม สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌาอะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ อิมัสมิง ชมภูทีเป สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ อิมัสมิง มังคลาจักกะวาเฬ สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ ทะสา สุทิสา สุรัฐธิตายะ สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปชฌาอะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ สัพเพสัง สัตตานัง ปฬะนัง วัชเชตวา อะปฬะนายะ อุปะฆาตัง
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๒๐
วัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ สันตาปง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโนโหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา ทุกขิตัตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตตายะตีติ เมตตาตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ เจโต สัพพะพยา ปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ วิมุตติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ เมตตาพรัหมะวิหาระภาวนา นิฏฐิตา …………………………..
๑๒๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ยอดธรรม ยอดคาถา ใหศรัทธาทองบนจดจำ ยอดธรรมยอดคาถานี้ ใหแมนยำ จัดเปนการชวยตัวเอง ใหรอดพนจากมวลทุกขฯ โดยทานพระคุณเจา หลวงพอดาบส สุมโน ยะโขธัมมัง วรังตัสสะ เยชะนาเต ชะนาวะรัง โกจิตตังสัง ขะตังมุตโต เอโสปาระโม ทุกขังขะโย ยะโขธัมมัง ธรรมใดแล, เปนธรรมไมมีที่ภายในและที่ภายนอก, ไมมีที่ลวงมาแลว และที่ยังมาไมถึง, ไมมีทั้งที่กำลังเปนอยู, เปนธรรมกวมทั่ว (คงที่), ผองใส ปราศจากอารมณตางๆ อันจักถึงติดตอง, เปนธรรมวางเปลาจากปวงสังขตะ ที่เกิดดับ วะรังตัสสะ ธรรมนั้นแล, เปนธรรมจักพึงประจักษเฉพาะตน, อันบุคคลจักพึงเห็น เอง, คือ พระนิพพาน เปนที่หลุดรอด, ที่เรียกวาฝง, ลวงวังวน เปนที่ตั้ง อยูแหงความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยาก, เปนธรรมประเสริฐ, อันพระ ตถาคตเจา ตรัสแสดงไวดีแลวฯ
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๒๒
เยชะนาเต บรรดามนุษยทั้งหลาย, ชนเหลาใด ที่เปนผูพนทุกขเขาถึงฝง, ลวงวังวน เปนที่ตั้งอยูแหงความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยาก ชนเหลานั้นมีประมาณ นอย, สวนหมูส ตั วคอื ชนนอกจากนีๆ้ , ยอมเลาะเลียบไปตามชายฝง , คือ ไปแลวในอารมณตางๆ, ตามเห็นรูป รส โผฏฐัพพะ เสียง กลิ่น อยูนั่นแหละ เหมือนหลับอยู, ก็ชนทั้งหลายเหลาใด ประพฤติตามธรรม ในธรรมที่ พระตถาคตตรัสแสดงไวดีแลว, ชนทั้งหลายเหลานั้น จักเปนผูพนทุกขเขา ถึงฝง, ลวงวังวน เปนที่ตั้งอยูแหงความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยากนั้นฯ ชะนาวะรัง ก็ชนใด ทำจิตของตน, ไมใหมีที่ภายในและที่ภายนอก, ไมใหมีที่ลวงมา แลวและที่ยังมาไมถึง, ไมใหมีทั้งที่กำลังเปนอยู, ไมใหตามเห็นอารมณตางๆ, ใหผองใส ปราศจากอารมณตางๆ อันมาติดตอง, ใหวางเปลาจากปวงสังขตะ ที่เกิดดับ, ชนนั้น จักเปนผูพนทุกข เขาถึงฝง, ลวงวังวนเปนที่ตั้งอยูแหง ความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยากนั้น ฯ หรือมิฉะนั้น ชนใด, เปนผู กำหนดรูอารมณ อันใดอันหนึ่งเปนที่ตั้ง (มีรูปอารมณเปนตน) โดยความ แยบคายแหงจิตอยูเฉพาะ, ชนนั้น ก็จะประจักษแจงอารมณตางๆ, ตาม ความเปนจริงที่มันไมจริง, คือวางเปลา, แลวระอาทอถอย, เหนื่อยหนาย คลายวาง, เปนผูพนทุกขเขาถึงฝง, ลวงวังวนเปนที่ตั้งอยูแหงความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยากนั้นฯ โกจิตตังสัง ก็จิตของเรานี้เลา, มันเพลินเที่ยวไปแลวในอารมณตางๆ, ตามเห็นรูป รส โผฏฐัพพะ เสียง กลิ่น อยูเหมือนหลับอยู, ขะตังมุตโต ไฉนเลา เราจักเปนผูพนทุกข, จิตของเรา จักเขาถึงฝง, ลวงวังวนเปน ที่ตั้งอยูแหงความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยากนั้นไดฯ
๑๒๓
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
เอโสปาระโม เหตุนั้น กาลบัดนี้, เราจักทำจิตของเรา ไมใหมีที่ภายในและที่ภายนอก, ไมใหมีที่ลวงมาแลวและที่ยังมาไมถึง, ไมใหมีทั้งที่กำลังเปนอยู, ไมให ตามเห็นอารมณตางๆ, ใหผองใส ปราศจากอารมณตางๆอันมาติดตอง, ใหวางเปลาจากปวงสังขตะที่เกิดดับ, ทุกขังขะโย เปนผูพ น ทุกข เขาถึงฝง , ลวงวังวนเปนทีต่ ง้ั อยูแ หงความตาย, อันบุคคล ขามไดแสนยากนัน้ ฯ หรือ มิฉะนัน้ , เราจักกำหนด รูอ ารมณอนั ใดอันหนึง่ เปนทีต่ ง้ั , (มีรปู อารมณเปนตน) โดยความแยบคายแหงจิตอยูเ ฉพาะ, เพือ่ ประจักษแจงอารมณตา งๆ ตามความเปนจริงทีม่ นั ไมจริง, คือ วางเปลา, แลวระอาทอถอย, เหนื่อยหนายคลายวาง, เปนผูพนทุกขเขาถึงฝง, ลวงวังวน เปนที่ตั้งอยูแหงความตาย, อันบุคคลขามไดแสนยากนั้น, ซึ่งเปนธรรม ประเสริฐ, คือพระนิพพาน เปนที่หลุดรอด, ตามที่พระตถาคตเจาตรัสแสดง ไวดีแลว…….นั้นนั่นแล. ฯ “บุคคลใด แมมาเจริญ คือ สาธยายยอดธรรมยอดคาถานี้อยูเนืองๆ บุคคลนัน้ จักประสบประโยชนใหญหลวง เปนผูม โี ชคใหญ จักไมเขาถึง ความตาย ความตายจักไมแลเห็นผูนั้น จักบรรลุคุณวิเศษอันหาคามิได”
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๒๔
พระดาบส สุมโน อาศรมไผมรกต อำภอเมือง จังหวัดเชียงราย ภาคที่ ๑ ความเปนมาแหงยอดธรรมยอดคาถา พระคณเจาดาบส สุมโน ไดแสดงธรรมคาถาเทศนา ณ ทีถ่ ำ้ เจดียแ กว หรือที่อาศรมวิเวกเจดียแกว (ถ้ำผาตบ) จังหวัดนาน ในพรรษาศีลที่ ๖ เดือน ๑๑ เหนือ ตรงกับวันอาทิตยขึ้น ๘ ค่ำ วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ ปมะโรง มีความสำคัญดังตอไปนี้... กอนทีจ่ ะกำเนิดมาเปนพระคาถา ยอดธรรม ยอดคาถานีข้ น้ึ มาไดนน้ั มีสาเหตุเกิดขึน้ จาก ณ บนสวรรคคอื ในกาลนัน้ ไดมเี ทพบุตร ๒ ตน คือ ตนหนึ่งมีเครื่องทรงเศราหมอง อีกตนหนึ่งมีทิพยอาสนรอนเพราะใกล จะถึงเวลาจุติ (เคลื่อน) ก็ใหบังเกิดความกลัวเปนอยางยิ่งเพราะไมอยาก จุติจากทิพยสมบัติในสวรรค ภายหลังไดรับอนุเคราะหจาก "ธรรมโฆษ เทพบุตร" ธรรมโฆษเทพบุตร จึงไดเลาประวัติความเปนมาแหงตนจาก การไดดำรงไวซึ่งยอดธรรม ยอดคาถา ใหเทพบุตรเหลานั้นฟง มีความวา ดังนี้... เมื่อกอนธรรมโฆษตนนี้ชื่อวา "อุโปสถะเทพบุตร" เมื่อใกลจะจุติจาก สวรรค (เรียกวาหมดบุญ) จึงระลึกไดวา เมือ่ ตนจะหมดบุญแลวจะตองลง ไปเกิดยังยมโลก เปนสัตวนรกอยูถึง ๘ แสน ๔ หมื่นกัปลจากนรกแลว จะตองไปเกิดเปนสัตวเดียรฉานอีก ๙ จำพวก ๆ ละ ๕๐๐ ชาติเมื่อพนวิบาก จากการเกิดเปนสัตวเดียรฉานแลวก็จะตองไปเกิดเปนมนุษย พิกลพิการ หูหนวก ตาบอด งอยเปลี้ย เสียขา ไมครบอาการ ๓๒ อีก ๕๐๐ ชาติ เพราะ กรรมวิบากของตนที่ไดกระทำไวแลว ความชั่วในปางกอนติดตามทันเมื่อ
๑๒๕
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
อุโบสถะระลึกไดดังนั้นก็ตกใจมีความกลัวเปนกำลัง ขณะนั้นพอไดทราบวา สมเด็จพระพุทธเจาขึ้นมาโปรดสัตวชั้นดาวดึงส ทรงประทับอยูใตตนปริชาติ อุโปสถะจึงนอมเกลาเขาไปขอธรรมะ เพือ่ ใหระงับการจุตเิ สียในขณะนัน้ เพื่อจะไดบำเพ็ญกุศลสืบตอไป พระสัมมาสัมพุทธเจาจึงไดเทศนายอดธรรม ยอดคาถา โปรดอุโปสถะเทพบุตร เมื่ออุโปสถะเทพบุตรไดยอดธรรม ยอดคาถา โปรดอุโบสถะเทพบุตร เมื่ออุโปสถะเทพบุตรไดยอดธรรม ยอดคาถา มาดำรงไวในตนจึงบันดาลใหอุโปสถะเทพบุตรกลับมีสภาพใหม และไดนามวา "ธรรมโฆษเทพบุตร" แตนั้นมาและมีอายุยืน ไมไดจุติลงไป ยังยมโลกและโลกมนุษยตราบเทาทุกวันนี้. ยอดธรรม ยอดคาถา มี ๑๖ คำ ดังนี้... "ยโขธมฺมํ วรํตสฺส เยชนาเต ชนาวรํ" ยอดธรรม ยอดคาถาแบงออกเปน ๒ ตอน ๆ ละ ๔ บท ทานแสดงวาไว ยะโขธัมมัง ประกอบไปดวยพยัญชนะบทความ ๖๔ คำ วะรังตัสสะ " ๖๔ คำ เยชะนาเต " ๑๓๕ คำ ชะนาวะรัง " ๔๗๒ คำ รวมเปนพยัญชนะบทความ ๗๓๕ คำ ความเปนมาแหงยอดธรรม ยอดคาถา วรรคที่ ๒ คือ "เยชนาเต ชนาวรํ" สมเด็จพระอริยะเมตตรัยเจาใหยอดธรรม ยอดคาถา วรรคที่ ๒ แก ธรรมโฆษเทพบุตรในชั้นดาวดึงส แลวจึงเลาชาติกำเนิดของพระองคปาง เมือ่ เกิดเปนกษัตริยช อ่ื วา "สังขะจักร" มีปราสทาทประดับไปดวยแกว ๗ ประการ มีจกั รแกว ชางแกว มาแกว นางแกว คฤหบดีแกว ปรินายกแกว มณีแกว มาในวันหนึ่งจึงใครไดยินคำวา "พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ" พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๒๖
เมื่อผูใดบอกขาวคำนี้ใหทราบขาพเจาจะยกราชสมบัติทั้ง ๔ ชมภูทวีป ใหครอบครอง มีวนั หนึง่ ไดมเี ณรนอยองคหนึง่ เดินเขามาในพระราชวังที่ กษัตริยสังขะจักรประทับอยูร ะหวางทางมีชาวเมืองทัง้ หลายกลาวรายหาวา เปนบาบาง เปนยักษบา ง เปนอมนุษยบา ง และตามทีก่ ลาวราย เณรนอย เขาไปในพระราชฐาน กษัตริยสังขะจักรจึงไดหามไวแลว จึงไตถามเณรวา กษัตริยสังขะจักร เณรเปนยักษจริงหรือ หรือเปนมนุษยเราชาวเมือง ไมเคยเห็นมากอนเลย เณร ตอบวา เปนมนุษย กษัตริยสังขะจักร ถามวา เปนลูกเตาเหลาใคร เณร ตอบวา เปนลูกของพระสงฆ กษัตริยสังขะจักร ไดฟงคำที่ตองการมานั้น จึงบังเกิดความปติยินดี สลบไปนาน เมื่อฟนขึ้นมาแลว จึงไตถามเณรตอไปวา พระสงฆเปนลูก ของใคร เณร ตอบวา เปนลูกของพระพุทธ กษัตริยสังขะจักร เมื่อไดยินคำนี้อีกก็บังเกิดความปติยินดียิ่งขึ้น จึงสลบ ไปอีกเปนครัง้ ที่ ๒ เมือ่ ฟน ขึน้ มาก็ถามตอไปวา พระพุทธเปนลูกของผูใ ด เณร ตอบวา พระพุทธเปนองคสัมพพัญูตรัสรูดวยตนเองกษัตริย สังขะจักร ไดยินดังนั้นก็สลบไปเปนครั้งที่ ๓ เพราะไดยินคำที่กลาวจริง ของเณรนอย เปนความตองการตามที่ตนปรารถนา อยากจะไดยินไดฟง มาครบถวน เมือ่ ฟน ขึน้ มาแลวก็ขอยกเอาราชสมบัตใิ หเณรนอยครอบครอง ตัวกษัตริยส งั ขะจักรก็ออกเดินทางดวยเทาเขาปา เพือ่ ไปเฝาพระพุทธเจา ที่ปุพผารามวิหาร เปนระยะทาง ๖๐ โยชน จนเทาแตกเดินไมได จึงคลาน ไปดวยเขาตอไป จนเขาและเนื้อแตกสุก คลานไมได จึงกลิ้งไป ถัดไป จนหนาอกแตกเปนเลือด จึงรอนไปถึงเทวราช พระเทวราชจึงไดนิมิตร แปลงตัวลงมาขับขอสวนทางมา แลวคนขับลอก็บอกใหกษัตริย
๑๒๗
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สังขะจักรหลีกทางไป กษัตริยสังขะจักรก็ไมยอมหลีกกลับบอกใหคนขับ ลอวา ทานจงหลีกไปเถิด คนขับลอก็ไมยอมหลีกแลวก็ถามวา ทานจะไป ณ ที่ใด คนที่คลานก็ตอบวา ขาพเจาจะไปเฝาพระพุทธเจา ทานจงหลีก ไปเถิด เมือ่ คนขับลอไดยนิ ดังนัน้ จึงบอกใหกษัตริยผ คู ลานและเลือดเต็ม ตัวนั้นขึ้นลอไปดวย จะไปสงถึงที่ ๆ พระพุทธเจาประทับอยูระหวางทาง มีผูหญิงนำเอาอาหารมาใหบริโภคเมื่อบริโภคแลวแผลตามเนื้อตามตัวก็ กลัวหาย โดยผูขับลอคือ พระอินทร ผูที่นำเอาอาหารที่เปนทิพยมาให บริโภคก็คอื พระนางสุชาดา พระมเหสีของพระอินทรนน่ั เอง ซึง่ จากนัน้ ได เขาไปเฝาพระพุทธเจาองคชื่อ " พระศิริมามิ่งโมรี" พระพุทธเจาศิริมามิ่งโมรี จึงเทศนาธรรมอันมีชื่อวา "ยอดธรรม ยอดคาถา" มีเนื้อความวา ยโขธมฺมํ วรํตสฺส ซึ่งแปลเปนภาษามนุษยวาดังนี้ ยะโขธัมมัง ธรรมใดแล เปนธรรมที่ไมมีภายใน ๑ และที่ภายนอก ๑ ไมมีที่ลวงมาแลว ๑ และที่ยังไมมาถึง ๑ ไมมีกำลังเปนอยู ๑ เปนธรรมกวมทั่ว ๑ ผองใสปราศจากอารมตาง ๆ กอันจักถึงติดตอง ๑ เปนธรรมวางเปลา จากปวงสังขตะที่เกิดดับ ๑ วะรังตัสสะ ธรรมนั้นแลเปนธรรม จักพึงประจักษเฉพาะตน ๑ อันบุคคลจักพึงเห็นเอง ๑ เปนธรรมประเสริฐ ๑ อันพระตถาคตเจาตรัสแสดงไวดีแลว ๑ วรรค ๔ ตัวแรก ยะโขธัมมัง แปลได ๖๔ คำ วรรค ๔ ตัวที่สอง วะรังตัสสะ แปลได ๖๔ คำ
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๒๘
ภาคที่ ๒ เมื่อกษัตริยสังขะจักรไดฟงและไดนำยอดธรรม ยอดคาถา นี้มาคิด ทบทวนดูคำแปลดังนี้แลว ก็ไดมาคิดคำนึงถึงยอดธรรม ยอดคาถาที่ พระพุทธเจาเทศนามานี้เปนยอดธรรม ยอดคาถา อันหาคามิไดจึงคิดวา จะหาสิง่ ใดมาถวายเปนพุทธบูชายิง่ กวานีม้ ไิ ด อันธรรมนีส้ งู สุดยิง่ กวาศีรษะ ของตนเอง เมือ่ เปรียบเทียบศีรษะกับยอดธรรม ยอดคาถานีแ้ ลว ศีรษะ ของตนไมมีอะไรจะมีคาเทียบได จึงสละตัดศีรษะของตนเองถวายเปน พุทธบูชาแกพระพุทธเจาในกาลนั้น เมื่อกษัตริยสังขะจักรสิ้นชีวิตแลว ก็ไดไปเกิดเปนเทพบุตรโพธิสัตว อริยเมตตรัย สถิตยอยูในชั้นดุสิตสัคคาลัยพิภพ ขณะที่เลาใหธรรมโฆษ เทพบุตรฟง ณ บัดนั้น พระโพธิสัตวอริยเมตตรัยจึงไดตอพระคาถาใหอีก ๘ คำ คือ เยชะนาวะรัง รวมเปน ๑๖ คำ เพื่อใหผูหนึ่งผูใดที่ไดทองบน ในธรรมคาถาทีเ่ พิม่ อีก ๘ คำหลังนี้ ก็จะไดถงึ ความหลุดพนจากทุกข นานาประการ หรือมิฉะนั้นจะไดไปเกิดในศาสนาที่ทานลงมาตรัสเปน พระอริยเมตตรัยเจา (ศรีอารย) นัน่ เอง (รวมความยอดธรรม ยอดคาถา ๑๖ คำนี้ ทั้งหมดได ๗๓๕ คำ ซึ่งรวมอยูในหนังสือยอดธรรม ยอดคาถา ทีท่ า นพระคุณเจาดาบส สุมโน ไดจดั ใหศรัทธา ณ ทีถ่ ำ้ จักรพรรดิ์ (ผากับ๊ ) บานอิม ตำบลเวียงตา อำเภอลอง จังหวัดแพร นั้นแลว หรือทีไดนำมา จัดพิมพรวมไวอยูในขางหนาเลมนี้แลว
๑๒๙
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ภาคที่ ๓ พระศรีอริยเมตตรัยเลาใหธรรมโฆษเทพบุตร ตอนที่จะมาตรัสเปน พระพุทธเจาธรรมโฆษเทพบุตรไดนำเทพบุตรทั้งหลาย เขาไปหาพระศรี อริยเมตตรัยโพธิสัตว ณ ลานพระเจดียเกษแกวจุฬามณี เพื่อสังสรรค สนทนาในพระธรรมคาถาอยูเสมอ จึงในวันพระหนึ่งธรรมโฆษเทพบุตร ไดถามถึงการตัดศีรษะถวายพระพุทธเจา เพือ่ เปนพุทธบูชานัน้ คงจะมีแต พระศรีอริยเมตตรัยพระองคเดียวไมมผี ใู ดอีกหรืออยางไร พระโพธิสตั ว ศรีอริยเมตตรัย จึงตอบวาหามิได สุระคิระสุทธิเทพบุตรก็ไดตัดศีรษะ ถวายพระพุทธเจาทีท่ รงพระนามวา "กกุสนั โธ" ดวยเหมือนกัน ธรรมโฆษ เทพบุตรจึงใครไดฟงเรื่องราวของสุระศิระสุทธิเทพบุตร พระศรีอริยเมตตรัย โพธิสตั วจงึ ไดเลาความเปนมาแหงเทพบุตรสุระศิระสุทธิเทพบุตรใหธรรมโฆษ เทพบุตรฟงดังนี้ ปางเมื่อพระสุระศิระสุทธิเทพบุตรเปนกษัตริยครองชมภูทวีปทั้ง ๔ และกอรปไปดวยทวีปนอยใหญ ๒,๐๐๐ (สองพัน) ทวีป ทรงพระนามวา มหาปนารถบรมจักรพรรดิ์ มีรัตนะ ๗ ประการคือ มี จักรแกว ชางแกว มาแกว นางแกว (เบญจกัลนาณี) ทรงโฉมอันเลอเลิศ ปรินายกแกว คฤหบดีแกว มณีแกว วันหนึ่งมหาปนารถบรมจักรพรรดิ์ไดสั่งให จักรแกวไปนำมณีแกวยัง ทองสมุทรมาพันหนึง่ และแกวอืน่ ๆ ไปนำเอาแกวชนิดนัน้ ๆ แตละอยาง จากที่ตาง ๆ มาเชนเดียวกัน ไดมาทุกอยางทุกแหง เวนแตขุนคลังแกว ไดไปพบพระพุทธเจา ซึ่งพระนามวา "กกุสันโธ" เมื่อขุนคลังแกวไดเขาไป หาพระพุทธเจา ก็เห็นลักษณะรปราง ผิวพรรณ สงาผองใส นาเคารพรักใคร นับถือ จึงถามวา "มา น เว" ทานเปนใครจึงไดมีลักษณะผิวพรรณงดงาม อยางนี้ พระพุทธเจากกุสนั โธก็ทรงตอบวา เราคือ กกุสนั โธสัมมาสัมพุทธเจา เปนพระพุทธเจามีคณ ุ วิเศษอยางไร กกุสนั โธสัมมาสัมพุทธเจา ก็ทรงตอบวามี พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๓๐
"พุทธคุณ" แลวก็ทรงแสดงพระพุทธคณคือวา "อิติปโส ภควาติ" ขุนคลัง ไดยินดังนั้นจึงไดจารึกพระพุทธคุณลงในแผนทอง พรอมดวยรูปของ กกุสันโธสัมมาสัมพุทธเจานำมาถวายพระมหาปนารถบรมจักรพรรดิ์ พระมหาปนารถบรมจักรพรรดิ์ก็มีความยินดีเปนอยางยิ่ง จึงมอบราชสมบัติ พรอมทัง้ รัตนะ ๗ ประการ และทวีปใหญนอ ยใหขนุ คลังครอบครองตอไป แลวมหาปนารถบรมจักรพรรดิ์ก็ออกเดินทางดวยเทา ไปเฝาพระกกุสันโธ สัมมาสัมพุทธเจา เมือ่ เดินทางเขาปาไปถึงตนไทรใหญตน หนึง่ จึงไดพกั อยู ณ ที่นั่นทรงตั้งสัตยอธิฐานเปนพระภิกษุ เพื่อเขาไปเฝาพระกกุสันโธ สัมมาสัมพุทธเจา และอธิฐานขอใหมีเครื่องบริขารพรอม เครื่องบริขารก็ ตกลงมาจึงไดกระทำการบวชตนเองเปนพระภิกษุ ปฎิบตั ธิ รรม ภาวนา มหาสติปฎฐาน ๔ จนไดสำเร็จญาณเหาะไดเหาะไปเฝาพระพุทธเจาทรง แสดงพระธรรมเทศนาเรื่อง "พระพุทธคุณ" ตามที่ขุนคลังไดจารึกไปใหนั้น ตรงกัน และรูปที่จารึกนั้นก็เหมือนกัน จึงเกิดความปติเห็นคุณประโยชน ยอดยิง่ จึงไดตดั ศีรษะถวายเปนพุทธบูชา และเมือ่ พระมหาปนารถบรม จักรพรรดิส์ น้ิ ชีพก็ไดมาเกิดเปนสุระศิระ สุทธิเทพบุตรอยูใ นชัน้ ดุสติ นี้ เชนเดียวกันกับพระศรีอริยเมตตรัยโพธิสัตว ดวยองคหนึ่ง ภาคที่ ๔ ธรรมโฆษเทพบุตร เห็นวาพระศรีอริยเมตตรัยมีพระบารมียอดยิ่ง จึงมีความเคารพสักการะยิง่ และในวันพระตอมาก็ไดนำเทพบุตรทัง้ หลาย เพื่อเขาไปสังสรรคสนทนาธรรม โดยธรรมโฆษเทพบุตรถามวา เมื่อใด พระองคจึงตรัสเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา พระศรีอริยเมตตรัยตอบวา ยังอีกนานคือ จะตองสรางบารมีนับอสงไขย คือวา เมื่อใดเมืองพาราณสี เปลี่ยนชื่อเปน "มัณฑนคร" และมัณฑนครเปลี่ยนชื่อเปน "เกตุมลดีศรี มหานคร" แลวจึงบำเพ็ญพระองคใหสำเร็จเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ศรีอริยเมตตรัย
๑๓๑
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ธรรมโฆษเทพบุตร ถามตอไปวาจะเสด็จลงไปเกิดในตระกูลไหน พระศรีอริยเมตตรัยตอบวา จะกำเนิดในตระกูลพราหมณคือ "สุพรหม พราหมณ" เปนพระราชบิดา และ "พรหมวดีพราหมมณี" เปนพระราชมารดา พระองคจะสรางบารมีโดยการครองคฤหัสถ ๔ หมื่นปกอน จึงจะไดตรัส เปนสัมมาสัมพุทธเจา และพระองคจะมีพระชนมายุ ๘ (แปด) หมื่นป จึงจะไดเสด็จดับขันธปรินิพพาน ประชาชนก็มีอายุ ๘ หมื่นปเหมือนกัน (สมัยของกกุสันโธสัมมาสัมพุทธเจามีอายุ ๔ หมื่นป) พระสมณโคดม สัมมาสัมพุทธเจา มีอายุ ๘๐ ป "พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจาของเราแสดงปรารถใหพระอานนท เห็นวา จะปลงสังขาร ๑๖ ครั้ง ๑๖ แหง แตพระอานนทไมเห็นใจ จึงไม ไดขออาราธนาใหอยูตอไปเพื่อสั่งสอนสัตวโลก มาขอตอนใกลจะเสด็จดับ ขันธปรินิพพาน แตพระองคทรงปลงสังขารเสียแลว อานิสงส ยอดธรรม ยอดคาถา มีอานิสงส อันกลาวไวในกาลกอนดังนี้ ๑. ผูใดศรัทธา ดำรงไวในตนโดยเคารพ ไมไปอบายภูมิ คือ ไมไปนรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน ๒. มีอายุยืน มีความสุข ถึงแมเปนเทวดาแลว ก็ไมพลันจุติ ๓. ตายจากมนุษย ยอมไปเกิดสวรรค เสวยความสุข เลิศล้ำนักหนา ๔. จะเปนอริยบุคคลในชาติปจจุบัน มิฉะนั้นจะไดสดับธรรมในสำนัก พระอริยเมตตรัยสัมมาสัมพุทธเจา แลวไดบรรลุธรรมเปนอริยบุคคล ในศาสนาของพระองค
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๓๒
อีกประการหนึ่งวา ผูปฎิบัติตามแนวยอดธรรม ยอดคาถา ๑. จะเปนอริยบุคคลในชาติปจจุบัน ๒. ถาชาติปจจุบันยังไมบรรลุเปนอริยบุคคล ตายจากชาตินี้จะไปเกิดใน แดนสวรรค เสวยสุขอยูจนกวาพระเมตตรัยสัมมาสัมพุทธเจามาตรัสจึง จะจุติลงมาเกิด แลวไดสำเร็จมรรคผลในพระศาสนานั้น ๓. ผูทองจำได สวดได รูความหมาย เจริญอยเนือง ๆ จะมีความสุขสวัสดีมี อายุยืน ๔. ผูทองจำได สวดได แตไมรูความหมาย ดำรงไวในตนดวยศรัทธาเคารพ จะไมไปอบายฯ
บทสวดอิติปโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ป ติ อิ ฯ บทอิติปโส ถอยหลัง เมื่อสมัยพุทธกาล มีเหลาพระสงฆอยูกลุมหนึ่ง ไดออกธุดงคไปในปาเขาแหงหนึง่ ซึง่ เปนปา ทีว่ า กันวา ไมมนี กั บุญทานใด อยูไดนาน เพราะมักจะมีเหลาอสูรกายมาหลอกหลอน ใหตบะพังจน สติแตกอยูร่ำไป พระสงฆกลุมนี้ไดปกกรด และจำศีลอยูที่นั่น ซึ่งมีกัน ทั้งหมด 8 องค ตกกกลางคืน เหลาอสูรกายก็ออกฤทธิ์ ทั้งหัวเราะทั่ว หุบเขา ทั้งแปลงเปนผี ควักไสพุง ตาถลน
๑๓๓
พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ทั้งหมดกลัวสุดขีดแตไดตั้งสติและสวดมนต โดยเฉพาะอิติปโส แตพอ สวด อสูรกายกลับกลายรางเปนยักษโลน(รางแทๆ) ปดกลดกระเด็นไปคน ละทิศละทาง ทัง้ หมดทุกทานนำเรือ่ งนีไ้ ปกราบทูลพระพุทธเจา พระพุทธเจา ไดใหบทสวด อิติปโส แตใหสวดถอยกลับ เพื่อไปปลดปลอยยักษตนนั้นที่ หวงที่ เหลาพระสงฆเหลานั้น ก็กลับไปที่เดิม ตกกลางคืน มาอีกหนักกวา ครั้งที่แลว ทั้งพายุ ฝนทั้งฟาผา และมันกำลังจะกระทืบไปที่เหลาพระสงฆ กลุม นัน้ ทัง้ หมดหอมลอมและทอง อิตปิ โ ส ถอยหลัง ยักษตนนัน้ ปวดหัว ทรมานอยางแรง จนตองออนวอนใหพระสงฆกลุมนั้นหยุดทองคาถานี้ หัวหนาคณะไดใหยักษสาบานดวยวาจาสัตยวาตองไมทำรายใครอีก และ ตองจำศีลเพื่อใหหลุดพนจากวัฏสงสารที่เปนอยูนี้ ยักษจึงตกลง..และ ในทีส่ ดุ ก็มาเปนบทคาถาบทหนึง่ ทีไ่ มใชแคคมุ ครองผูส วด แลว ยังปองกัน ภัยอันตรายทั้งหลาย ยามจำเปนตองพักในที่ที่เราไมคุนเคย คาถาอิตปิ โ สถอยหลัง เปนมหาจินดามณีมนต (คาถาแกวสารพัดนึก) คาถาบทนี้มี 56 ตัว เพียงแตทองจากขางหลังยอนมาขางหนา (แบบ ปฏิโลม) หรือ” ถอยหลังครอบจักรวาล” เมื่อภาวนา กอนออกเดินทาง ไปสารทิศใด ๆ จะแคลวคลาดปราศจากทุกภัยพิบัติทั้งปวง หรือ ศัตรูบมิ กล้ำกราย เปนที่เสนหาเทพารักษ..ปลุกเสกกาย คงกระพันชาตรี.หาก ภาวนาไดครบ 108 คาบ ติดตอกัน จะตัวเบา เสกหรือสะเดาะเคราะห สะเดาะกุญแจ หรือโซตรวนของจองจำ การถอนคุณไสยมนตดำสิ่งอัปมงคล ตาง ๆ โบราณจารย ที่นิยมใชพระคาถาอิติปโสถอยหลัง เชน หลวงพอแชม วัดตากอง หลวงปูขุย หลวงพอทบ วัดชนแดน หลวงปูบุญ วัดกลางบางแกว หลวงปูศุข วัดปากคลองมะขามเฒา พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๓๔
การใชอติ ปิ โ สถอยหลัง อุปเทห (หลากหลาย) ของ ครูอาจารยโบราณ ตั้งจิตบริกรรม ทำมนตน้ำหมาก *..ทอง ๕ คาบ เสกหมากกิน เสกน้ำมันทา๕คาบ เพื่อลุยไฟ *..ทอง ๑๐ คาบ ยืนเหนือลมเปาไป..จะแกคุณไสย *..ทอง ๑๔ คาบ ขื่อคาหลุดลุย เปาไปขื่อคา ใหออน กินคงกระพัน *..ทอง ๑๕ คาบ (เอาลิ้นดุนเพดาน) ใชเปนจังงัง เปาไป พรอมกระทืบตีน อาวุธ ลุยหลุดจากมือศตรู *..ทอง ๑๙ คาบ หักกิ่งไมเสกขวาง ศัตรูตามมาไมทัน *..ทอง ๑๗ คาบ ทำผาประเจียดโพกหัว คนไมเห็นเรา *..ทอง ๑๐๘ คาบ เดินไปเขาในฝูงชน ที่พากันหลับใหล *... สวดติดตอกัน 108 จบเพียงครั้งเดียว แกดวงตก กลับเคราะหราย ใหกลายเปนดี พลิกดวงชะตา *..หากวาตกอยูในสถานการณคับขัน มีศัตรูลอมหนาหลัง ใหกลั้นใจ ภาวนา อิติปโสถอยหลัง (ยอ ) "อะ วา คะ ภะ โส ป ติ อิ"เปนมหาจังงัง จะแคลวคลาดปลอดภัย จากศัตรูและสัตวรายทั้งปวง
๑๓๕
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
ประโยชนของการสาธยายธรรมตามพระศาสดา ๑. เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม ( หนึ่งในเหตุหาประการเพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม ) อํ. ปฺจก. ๒๒/๑๖๑/๑๕๕ ๒. เปนเครื่องใหถึงวิมุตติ ( หนึ่งในธรรมใหถึงวิมุตติหาประการ ) อํ. ปฺจก. ๒๒/๒๓/๒๖ ๓. เปนอาหารของความเปนพหูสูตร อํ. ทสก. ๒๔/๑๒๐/๗๓ ๔. เปนองคประกอบของการเปนบริษัทที่เลิศ อํ. ทุก. ๒๐/๖๘/๒๙๒ ๕. ทำใหไมเปนมลทิน อํ. อฐก. ๒๓/๑๔๙/๑๐๕ ๖. เปนบริขารของจิตเพื่อความไมมีเวรไมเบียดเบียน ( หนึ่งในหาบริขารของจิต ) ม. มู. ๑๓/๕๐๐/๗๒๘ ๗. เปนเหตุใหละความงวงได ( หนึ่งในแปดวิธีละความงวง ) อํ. สตฺตก. ๒๓/๗๓/๕๘
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๓๖
พระไตรปฎก ลมที่ ๒๒ พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปญจกฉักกนิบาต
วิมุตติสูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแหงวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเปนเหตุใหจิตของภิกษุผูไมประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไมหลุดพน ยอมหลุดพนอาสวะที่ยังไมสิ้น ยอมถึงความสิ้นไป หรือ เธอยอมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไมไดบรรลุ เหตุแหง วิมุตติ ๕ ประการเปนไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผูอยูในฐานะ ครูบางรูป แสดงธรรมแกภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอยอมเขาใจอรรถเขาใจ ธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผูอยูในฐานะ ครูแสดงแกเธอ เมือ่ เธอเขาใจอรรถ เขาใจธรรมยอมเกิดปราโมทย เมือ่ เกิด ปราโมทยแลว ยอมเกิดปติ เมื่อใจเกิดปติกายยอมสงบผูมีกายสงบแลว ยอมไดเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตยอมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เปนเหตุแหงวิมุตติขอที่ ๑ ซึ่งเปนเหตุให จิตของ ภิกษุผูไมประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไมหลุดพน ยอมหลุดพน อาสวะที่ยังไมสิ้นไป ยอมถึงความสิ้นไป หรือเธอยอมไดบรรลุธรรมอันเกษม จากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไมไดบรรลุ อีกประการหนึง่ พระศาสดาหรือเพือ่ นสพรหมจารี ผูอ ยูใ นฐานะครู บางรูป ก็ไมไดแสดงธรรมแกภกิ ษุ ก็แตวา ภิกษุยอ มแสดงธรรมเทาทีไ่ ดสดับ ไดศกึ ษาเลาเรียนมาแกชนเหลาอืน่ โดยพิสดาร เธอยอมเขาใจอรรถเขาใจ ธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรม เทาที่ไดสดับ ไดศึกษาเลาเรียน
๑๓๗
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
มาแกชนเหลาอืน่ โดยพิสดาร เมือ่ เธอเขาใจอรรถ เขาใจธรรม ยอมเกิด ปราโมทย เมื่อมีสุข จิตยอมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เปนเหตุแหงวิมุตติขอที่ ๒ อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผูอยูในฐานะครูบางรูป ก็ไมไดแสดง ธรรมแกภิกษุ แมภิกษุก็ไมไดแสดงธรรมเทาที่ไดสดับ ไดศึกษาเลาเรียน มาแกชนเหลาอื่นโดยพิสดาร ก็แตวาภิกษุยอมทำการสาธยายธรรมเทาที่ ไดสดับ ไดศึกษาเลาเรียนมาโดยพิสดาร เธอยอมเขาใจอรรถ เขาใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมเทาที่ไดสดับ ไดศึกษาเลาเรียนมา โดยพิสดาร เมื่อเธอเขาใจอรรถ เขาใจธรรม ยอมเกิดปราโมทย เมื่อมีสุข จิตยอมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เปนเหตุแหงวิมุตติขอที่ ๓ อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผูอยูในฐานะครูบางรูป ก็ไมไดแสดง ธรรมแกภกิ ษุ ภิกษุกไ็ มไดแสดงธรรมเทาทีไ่ ดสดับ ไดศกึ ษาเลาเรียนมา แกชนเหลาอื่นโดยพิสดาร แมภิกษุก็ไมไดทำการสาธยายธรรมเทาที่ไดสดับ ไดศกึ ษาเลาเรียนมาโดยพิสดาร ก็แตวา ภิกษุยอ มตรึกตรองใครครวญธรรม เทาทีไ่ ดสดับ ไดศกึ ษาเลาเรียนมาดวยใจเธอยอมเขาใจอรรถ เขาใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใครครวญธรรมตามที่ไดสดับไดศึกษา เลาเรียนมาดวยใจ เมื่อเธอเขาใจอรรถ เขาใจธรรมยอมเกิดปราโมทย เมื่อ มีสุข จิตยอมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เปนเหตุแหงวิมุตติขอที่ ๔ อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผูอยูในฐานะครูบางรูป ก็ไมไดแสดง ธรรมแกภกิ ษุ ภิกษุกไ็ มไดแสดงธรรมเทาทีไ่ ดสดับไดศกึ ษาเลาเรียนมาแก ชนเหลาอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไมไดสาธยายธรรมเทาที่ไดสดับไดศึกษาเลา เรียนมาโดยพิสดาร แมภกิ ษุกไ็ มไดตรึกตรอง ใครครวญธรรมเทาทีไ่ ดสดับ ไดศึกษาเลาเรียนมาดวยใจ ก็แตวาสมาธินิมิตอยางใดอยางหนึ่ง เธอเลาเรียน พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๓๘
๑๓๙
มาดวยดี ทำไวในใจดวยดี ทรงไวดวยดี แทงตลอดดวยดี ดวยปญญา เธอยอมเขาใจอรรถ เขาใจธรรมในธรรมนัน้ ตามทีเ่ ธอเลาเรียนสมาธินมิ ติ อยางใดอยางหนึ่งมาดวยดี ทำไวในใจดวยดี ทรงไวดวยดี แทงตลอดดวยดี ดวยปญญา เมื่อเธอเขาใจอรรถ เขาใจธรรม ยอมเกิดปราโมทย เมื่อเกิด ปราโมทยแลวยอมเกิดปติ เมือ่ มีใจเกิดปติ กายยอมสงบ ผูม กี ายสงบแลว ยอมไดเสวยสุข เมื่อมีสุขจิตยอมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลายนี้เปนเหตุแหงวิมุตติขอที่ ๕ ซึ่งเปนเหตุให จิตของ ภิกษุผูไมประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยูที่ยังไมหลุดพนยอมหลุดพน อาสวะทีย่ งั ไมสน้ิ ยอมถึงความสิน้ ไป หรือเธอยอมไดบรรลุธรรมอันเกษม จากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไมไดบรรล ดูกรภิกษุทง้ั หลาย เหตุแหงวิมตุ ติ ๕ ประการนีแ้ ลซึง่ เปนเหตุใหจติ ของภิกษุผูไมประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู ที่ยังไมหลุดพนยอม หลุดพน อาสวะที่ยังไมสิ้น ยอมถึงความสิ้นไป หรือเธอยอมไดบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไมไดบรรลุ ฯ สรุปเหตุแหงวิมุตติ ๕ ประการ คือ ๑. ไดฟง ธรรม และเขาใจอรรถ เขาใจธรรมในธรรมนัน้ ตามทีพ่ ระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารีไดแสดงธรรมไว ๒. ไดแสดงธรรมเทาที่ไดฟง ไดศึกษาเลาเรียนมา และเขาใจอรรถเขาใจ ธรรม ในธรรมที่ตนแสดง ๓. ไดทำการสาธยายธรรมเทาที่ไดฟง ไดศึกษาเลาเรียนมา และเขาใจ อรรถ เขาใจธรรม ในธรรมที่ตนสาธยาย ๔. ไดตรึกตรองใครครวญธรรมเทาที่ไดฟง ไดศึกษาเลาเรียนมาดวยใจ และเขาใจอรรถ เขาใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ตรึกตรองใครครวญ ๕. ไดเลาเรียนสมาธินิมิตอยางใดอยางหนึ่งมาดวยดี ทำไวในใจดวยดี ทรงไวดวยดี แทงตลอดดวยดี ดวยปญญา และเขาใจอรรถ เขาใจธรรม ในธรรมนั้น ตามสมาธินิมิตอยางใดอยางหนึ่งที่เลาเรียนมา พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
คติธรรมเตือนสติบางประการ ในการดำเนินตามหลักวิถีทางของชีวิต คือ .... 1) สัมมาทิฏฐ : ความเห็นที่ถูกตอง 2) สัมมาสังกัปปะ : ความคิดที่ถูกตอง 3) สัมมาวาจา : วาจาที่ถูกตอง 4) สัมมากัมมันตะ : การปฎิบัติที่ถูกตอง 5) สัมมาอาชีวะ : การเลี้ยงชีพที่ถูกตอง 6) สัมมาวายามะ : ความเพียรที่ถูกตอง : การมีสติที่ถูกตอง 7) สัมมาสติ 8) สัมมาสมาธ : การมีสมาธิที่ถูกตอง เมื่อปฎิบัตตนไดดังนี้แลว ! ยอมขึ้นชื่อวา เปนชาวพุทธมามกะเปน ผูแ สวงหาบุญเขต ในเพระพระพุทธศาสนา เปนผูม สี ติสมั ปชัญญะเขาใจ ในเนื้อหา ของการเกิดมามีชีวิตขึ้นมา มากขึ้น โดยการใชชีวิตเปนผูอยู อยางไมประมาทเปนผูไ มหลงทำกาลกิรยิ าวิปลาสใดๆ เปนผูไ มตน่ื ขาว มงคล และ อวมงคล เปนผูไมแสวงหาเนื้อนาบุญ นอกเขตพระพุทธศาสนา ดังนี้.... ยอมเปนผูมีดวงตาเห็นธรรมงามในเบื้อมตน งามในที่สุดคือ ยอดแหง พระนิพพาน อมตะวาจาพุทธพจนตามที่บรมพระศาสดาจารย ผูทรงเปนบรมครูของเหลาวเทวดาและมนุษยทั้งหลาย พรหญาโณ ภิกขุ. การเลื่อมใสในบุญ ดีกวา การเลื่อมใส ในบาปธรรมทั้งหลาย พระพุทธมนต์
ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๔๐
สิ่งที่เปนคูเวร คูศัตรู คูมิตร ทีใ่ กลชดิ กับตัวเราเองมากทีส่ ดุ คือ เจาความคิดสิ่งที่เปนคุณลักษณะ ของความดีงาม และความชั่วชา บาปกรรมลามก มันก็หาใชผูอื่นที่ จะมาแสแสรงแสดง เสกสรรปนแตง ดลบันดาลอิทธิผลใหแตมนั ไหล ออกมาจากเจาความคิดของตัว เราเอง นั่นแหละถาเราไมเพียรฝกฝนการตั้งมั่นของการมีสติ ใหเกิดความ สมบูรณแบบในวันนี้ ดวยการหมั่นคอยอบรม บมนิสัยใจคอ ลงในสมาธิ จิตตภาวนาเพื่อที่จะใหเกิดเปนพื้นฐานในการพัฒนา รองรับตัวปญญา ในวันขางหนาตัวสติ ที่เราใชอยูในชีวิตประจำวันยังไมเพียงพอ ตอความ ตองการ ในการที่จะนำออกมาแกไข ปญหาของชีวิต ในแตละประจำวัน ไดดพี ออยางแทจริง มันเปนเพียงแค สติ ทีร่ ะลึกได ตืน่ รู ในรสของกามคุณ ทั้งหา หาใชเปนตัวแกนในของ ตัวสติในการตื่นรู เห็นรอบในปญญาของ พุทธะ.... คือเห็นสังสารวัฏ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรคในอริยสัจสี่ ตามหลัก สัจธรรมของธรรมชาติ ในการเขาไปแกไขดับตนตอของปญหาทุกขโทษ เวรภัยทั้งมวล ดับสนิท โดยไมมีสวนเหลือ อยางแทจริง พรหมญาโณ ภิกขุ.
๑๔๑
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
น้ำในมหาสมุทร ถาไมมีลมพายุคลื่นใตน้ำ และ .... พระพาย ไมสำแดงเดช หมุนงวงชางพัดพาด ฉันใด ผืนน้ำที่กวางไกลสุดลูกหูลูกตา ก็นิ่งงัง ราบเรียบเงียบสงบ ดุจดั่งราว ถูกมนตสะกด ฉันนั้น ... อันจิตของคนเรา ถาถูกฝกฝนอบรมเพาะบม ... เจริญในสติ สัมปชัญญะ ตั้งมั่นในกายคตา สติ ดีแลว ยอมมีใจที่นิ่ง ไมสั่นไหว ของกระแส ความยั่วยุ ในกามคุณทั้งหา รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เมื่อจิตหมั่นประกอบการงาน คือ วิปสสนากรรมฐาน เปนที่ตั้งมั่น ดีแลว จิตของคนเรานั้น ก็จะไมเรารอน ถูกนาย คือตัวตัณหา มาคอยกด คอยจิก หัวใหขึ้นๆ ลงๆ สำลักในตัวกิเลสตัณหา ไหลจมอยูกับวังวน ในกองทุกข กองสุข เพราะเหตุนี้ จิตของคนเรา จึงมีความแตกตางกัน ทางดานจิตใจ อารมณ ความรูสึกนึกคิดในการอานขบคิด ตีโจทย หาคำตอบวา .... ตัวเรานี้ เกิดมาเพื่ออะไร ??? พรหมญาโณ ภิกขุ.
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๔๒
แสงแหงองค พระสยมภูสุริยเทพ คือดวงตาของโลก / ยังมีขึ้น มีลง ชีวิตของคนเรา ก็ยังมีขึ้น มีลง หมุนไปตามกงลอ โลกธรรมแปด มียศ เสื่อมยศ / มีลาภ เสื่อมลาภ มีสรรเสริญ ก็มีนินทา / มีสุข ก็มีทุกข คละเคลา เขามาคลอเคลียปะปนเป กันไป อนิจจัง บนความไมเที่ยงแท เปนของที่ไมแนนอน วาจะเปนหลัก ประกันภัยที่จะยึดมั่น ถือมั่น คุมครองชีวิตนี้ ไดดีจริงหนอ ชีวิตที่ ผานรอน ผานหนาว ผานฝน มาอยางโชกโชน บนคราบน้ำตาเปอนรอยยิ้ม แหง ความสุข ความสมหวัง และ ..... บนความทุกขยาก ลำบากเข็ญใจ ดั่งบทประพันธวนิยายโลดแลนไปตามจังหวะ ของตัว บทละครชีวิต การเกิด เปนเพียงแค ใบผานทาง การใชชวี ติ ทีเ่ จริญเติบโต ตามวัยยอม มีขึ้น มีลง ไมคงที่ บนความไมแนนอนการชรา เจ็บไขไดปวย ความพลัด พรากไมมีใครเคยคิดที่จะขวักมือเรียกรองโหยหา แมสักคนเลยหนอ….
๑๔๓
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
สุดทาย ก็ทายสุด ก็ตองลงเอย .... ดวยการปดฉาก รูดหนามานปดเวที ละครชีวิต พรอมกับ เสียงคร่ำครวญ บนใบหนาอาบชุม เต็มไปดวย หยาดน้ำตา ที่หลั่นรินไหล ความตายหนอ มายื้อยุด ฉุดกระชากดวงใจ ของตัวละคร ใหมาแดดิ้น มอดมวย ดับสิ้น วายชีวา ไมวายเวนเหลือแต กองผงเถากระดูก ที่ขาวโพลน ทิ้งไวใหดูตางหนา มีแตเพียง ... รอยทรงจำในอดีต แตปางหนหลัง ใหแกผูที่อยูเบื้องหลัง คอยย้ำทบทวน หวลระลึกนึกถึง สักพักก็จะไมนานหนอ ความทรงจํานั้น ก็จะดูจืดจางเลือนลางหายไป ในความทรงจำ โอหนอ อนิจจา เราเกิดมาทำไมกันหนอ ตายแลวจักลองลอย ไปทางไหนกันหนอ พรหมญาโณ ภิกขุ. ชีวิตคนเรา ก็เหมือนใบไม ที่รอวัน จะปลิดพริ้ว พลัดลวงหลน จากตนไมใหญ
พระพุทธมนต์ ฉบับตามรอยบาทพระศาสดา อินเดีย-เนปาล มูลนิธิวิปัสสนาพรหมญาโณ อินเดีย
๑๔๔
สรุปรายชื่อผูบริจาคปจจัยรวมบุญเปนเจาภาพ
1.
2. 3.
4. 5.
ปรับปรุง ตอเติม อาคารสถานที่ ณ อาคารพุทธวิหารมูลนิธิวิปสสนาพรหมญาโณ อินเดีย รวมเปนเงินทั้งสิ้น 34,800 บาท คุณรักศักดิ์ ชีนาเรือน คุณนภากาญจน ขีนาเรือน ด.ช.นวพรรษ ชีนาเรือน คุณรัญชิดา ชีนาเรือน คุณโอฬาร ญาณวุฒิ คุณศรีทอง ญาณวุฒิ คุณสุโรจน ญาณวุฒิ จำนวน 2,000 บาท และ ตระกูล ศรีชวย ตระกูล ทวีโภควัฒนกุล จำนวน 2,000 บาท คุณชัยประเสริฐ เนตรอนงค คุณภูริพันธ เนตรอนงค คุณบุศรินทร เนตรอนงค คุณทนงศักดิ์ เนตรอนงค คุณภูริพร เนตรอนงค จำนวน 1,200 บาท คุณประภาพรรณ มณีรัตนและครอบครัว จำนวน 2,000 บาท ด.ญ. กรองแกว โพธิ์สุข คุณธมกร โมกขเวศ คุณวดีนรา เพชรมุข ด.ญ. ภิญากรณ พฤทธิพันธุ คุณอัจฉรา เชาวลิต คุณณัฐณิศา เพชรมุข ด.ญ. วฤณพร สุระอำนาจ คุณอุบล สุระอำนาจ คุณวิริยา สุขีอัตตะ จำนวน 3,800 บาท
คุณมณีรัตน นาละออง 6. คุณติ๊บ พุทธวงค คุณเขมทัต พุทธวงค คุณประทวน นาละออง ด.ญ.นท พุทธวงค คุณ.กุลนาถ นาละออง จำนวน 1,000 บาท คุณณุรวี บุญอวน 7. คุณอริญชยวิชญ บุญอวน ด.ญ.ศรัญญา บุญอวน คุณปฐวาณี บุญอวน ด.ญ.นภาตรา บุญอวน จำนวน 2,000 บาท 8. คุณธนะพัตน เรืองกานตสกุล คุณบุปผา เรืองกานตสกุล คุณกฤตยชญ เรืองกานตสกุล คุณกมลรัตน เรืองกานตสกุล จำนวน 2,000 บาท 9. คุณสนั่น วงศมูล คุณผองพรรณ วงศมูล คุณเจนณรงค กันทอน คุณจิราพร วงศมูล คุณบัวเกี๋ยง ศิริวงคทอง ด.ช. ปยะชาติ กันทอน คุณพรรณี ศิริวงคทอง จำนวน 1,600 บาท 10. ส.อ.บุญฤทธิ์ สูไทย และครอบครัว คุณจุฑามาศ ยลประสาน และครอบครัว จำนวน 1,200 บาท 11. คุณฉมาพรรณ ศรีมหาราชา คุณสุประจักษ สามารถ จำนวน 2,000 บาท 12. คุณประยูร เมืองพรม คุณปราณี เมืองพรม คุณภาวิณี เมืองพรม คุณปรารถนา เมืองพรม คุณกนกพิชญ เมืองพรม คุณพัฒนธนันภ ู เมืองพรม จำนวน 2,000 บาท
13. คุณสกุลศักดิ์ สุขใส จำนวน 400 บาท 14. คุณหทัยชนก ใจสอาด คุณธนานุรักษ ใจสอาด จำนวน 1,000 บาท 15. คุณจักรพันธ วุฒิวณิชย คุณภาณุมาส วุฒิวณิชย จำนวน 200 บาท 16. ส.อ.ไกรราช โพธรรม ด.ช.ปญญพัฒน โพธรรม จำนวน 200 บาท 17. คุณธุวานนท แสงศรีจันทร คุณคำซอน แสงศรีจันทร จำนวน 3,000 บาท 18. คุณอภิรักษ แกววงคเขียว คุณทัศน แกววงคเขียว คุณจันทา สิทธิขันแกว จำนวน 1,000 บาท 19. คุณประไพร คำเจริญ คุณธณาทัตติ์ ภูไกลาศ จำนวน 1,000 บาท 20. คุณเศรษฐพัส พุฒิชัยตระกูล จำนวน 2,000 บาท 21. คุณปรีดา ใจผาวัง จำนวน 400 บาท
คุณณัฐธิดา บุญยัง คุณบัวกลาย ใจสอาด คุณจันทรจิรา ใจสอาด คุณปราณี วุฒิวณิชย คุณสุภาวดี โพธรรม ด.ช.ปุญญพัฒน โพธรรม คุณวนิดา แสงศรีจันทร คุณบัวคำ ปูชัย คุณกรรณิการ สิทธิขันแกว คุณสุรเดช ปญญาเขียว คุณยุทธนา ภูไกรลาศ คุณภูรดา ภูไกรลาศ
คุณวาสนา บำเรอวงศ
22. คุณสมพงษ ชัยสวัสดิ์ คุณบุศราภรณ จันทรเจริญ คุณ.วัชรีญาณ วิบูลสุนทรางกูล ด.ญ.กุลพรภัสร ชัยสวัสดิ์ คุณสมิตานันท ชัยสวัสดิ์ จำนวน 2,000 บาท 23. ครอบครัว อนันตศิริขจร และคุณพีรเศรษฐ โสภคณิสฐ จำนวน 600 บาท
คุณจลินดา ชัยสวัสดิ์ คุณเกริกฤทธิ์ ชัยสวัสดิ์ ด.ญ.กุลภัสสรณ ชัยสวัสดิ์ คุณผดุงเกียรติ ชัยสวัสดิ์ คุณจิระนันท อนันตศิริขจร
สิทธิกิจจัง ขอใหการงานสำเร็จ สิทธิกัมมัง ขอใหการกระทำทุกอยางสำเร็จ สิทธิลาโภ นิรันตะรัง ขอใหมีลาภตลอดกาลนาน สิทธิเตโช ชะโยนิจัง ขอใหมีเดชมีอำนาจที่ยั่งยืน สัพพะสิทธิ ภะวันตุเต ขอความสำเร็จทั้งหลาย จงมีแกทุกทาน ขออนุโมทนา.