POSTTENSION SLAB Posttensioned Slab เปนระบบแผ่นพื ้นที่ใช้ กนั อย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป็ นระบบที่ประหยัดและกอสร้ างได้ อย่าง รวดเร็วดังจังเห็นได้ จากอาคารสานักงาน ที่จอดรถ โรงแรม ศูนย์การค้ าต่างๆ ที่มกั จะมีช่วงเสายาว ลักษณะของแผ่นพื ้น ระบบ Posttension มีดงั นี ้
เป็ นแผ่นพื ้นชนิดที่เหมาะกับงานโครงสร้ างทุกชนิดที่มีระยะห่างของเสาในแต่ละทิศทาง ใกล้ เคียงกัน นิยมใช้ กบั Apartment , Office , Building , โรงพยาบาล โรงแรม
การใชงานเหมือนกับ Flat Slab แต่ต้องการระยะห่างของเสามากขึ ้นจนถึง 14 เมตร
เหมาะสมกบโครงการที่ใช้ เป็ น Car Park โรงเรี ยน ศูนย์การค้ า มี Span ยาวมากในด้ านหนึง่ และ Live Load ไมมากนัก Span ยาวได้ ถึง 15 เมตร
Span ได้ ถึง 10-20 เมตร เหมาะกับ Office อาคารสาธารณะประโยชน์ ฯลฯ
เปนระบบที่นา่ สนใจเมื่อพิจารณาถึงปริมาณคอนกรี ตทีใ่ ช้ เหมาะกบโครงสร้ างทีม่ ี Live Load สูงและ Span ยาวมากเพียงด้ านเดียว
แพร่หลายมากสาหรับอาคารที่มี Live Load สูง เช่น บริ เวณกองเก็บสิง่ ของ อาคารโรงงาน อาคาร สนามบิน Span 10-20 เมตร
ระบบของพืน้ Post Tensioned พื ้น Post tension แบ่งออกเป็ น 2 ระบบ ได้ แก่ ระบบ Bonded และ Unbounded โดยมีลกั ษณะที่แตกตางกัน 1. Bonded System เป็ นระบบที่มีการยึดเหนี่ยวระหว่าง PC Strand กับพื ้นคอนกรี ตโดยจะห่อหุ้มด้ วยท่อเหล็กที่ขึ ้นเป็ น ลอน เพื่อช่วยในเรื่ องของแรงยึดเหนี่ยวภายหลังเมื่อทาการอัดแรงจะต้ องมีการอัดน ้าปูน เพื่อให้ จบั ยึดระหว่าง PC Strand กับท่อเหล็ก จะใช้ กบั อาคารที่พกั อาศัยห้ างสรรพสินค้ า สานักงาน และโครงสร้ างขนาดใหญ่ เช่น ไซโล สะพาน 2. Unbounded System เป็ นระบบที่ไม่มีการยึดเหนี่ยวระหว่าง PC Strand กับพื ้นคอนกรีต แต่จะอาศัยการยึดที่ บริ เวณ หัว Anchorage ที่ปลายพื ้นทัง้ 2 ข้ างเท่าน้ั น จะใช้ กบั อาคาร ที่จอดรถ หรื ออาคารขนาดเล็กที่มกั จะไม่มี การเปลีย่ นแปลง การใช้ งาน
โครงสร้ างอาคารพาณิชย์ ระยะ Floor to Floor ของทาวน์เฮาส์และตึกแถวจะไม่เท่ากัน แต่เดิมกฎหมายเก่ากาหนดความสูงระหว่าง ชันเป็ ้ น Floor to Ceiling แต่ตอนนี ้กฎหมายกาหนดให้ วดั เป็ น Floor to Floor และระยะ Floor to Floor ของทาวน์เฮาส์นนก ั ้ าหนดไว้ วา่ จะต้ องไม่เตี ้ย
กว่า ๒.๖๐ เมตร ส่วนตึกแถว ห้ องแถวกาหนดไว้ วา่
Floor to Floor ของชันล่ ้ างจะต้ องไม่เตี ้ยกว่า ๓.๕๐ เมตร ส่วนชัน้ สองขึ ้นไปต้ องไม่เตี ้ยกว่า ๓.๐๐ เมตร (กฎ ๕๕ ข้ อ ๒๒) ถ้ ามีชนั ้ ลอย ความสูงของชัน้ ลอยก็วดั ตาม Floor to Floor ด้ วย กฎหมายเดิมจะวัดความสูงจากพื ้น ถึงฝ้ าเพดาน แต่ตอนนี ้ นับจากพื ้นถึงพื ้นอีกชันหนึ ้ ง่ ซึง่ กาหนดไว้ วา่ จะต้ องมีความสูงไม่ น้ อยกว่า ๒.๔๐
ห้ องนา้ ห้ องส้ วมในทาวน์ เฮาส์ และตึกแถว เป็ นการวัดความสูงของพื ้นถึงฝ้ า เพดาน (Floor to Ceiling) ที่กฎหมาย กาหนดให้ มีระยะดิ่ง ไม่น้อยกว่า ๒.๐๐ เมตร (กฎ ๕๕ ข้ อ ๒๒ วรรคสุดท้ าย) ทาวน์ เฮาส์ และตึกแถวสูง ๓ ชัน้ ต้ องสร้ างด้ วยวัสดุถาวรเท่ านัน้ นอกจากกฎหมายจะกาหนดว่าห้ ามสร้ าง บ้ านแถว หรื อทาวน์เฮาส์พกั อาศัยสูงเกินกว่า ๓ ชันแล้ ้ วก็ตาม กฎหมายยังระบุด้วยอีกว่า อาคารใดที่สงู ตังแต่ ้ ๓ ชันขึ ้ ้นไปจะต้ อง สร้ างด้ วย "วัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ" อีกด้ วย
ผนังของตึกแถวและทาวน์ เฮาส์ ไม่ ว่าจะสร้ างกี่ชนั ้ ก็ต้องสร้ างด้ วยวัสดุทนไฟเสมอ กฎหมายระบุไว้ ชดั เจน เรื่ องของ ผนังทนไฟและวัสดุที่ทาเป็ นผนังทนไฟไว้ ดงั ต่อไปนี ้ "ผนังของตึกแถวหรื อบ้ านแถว ต้ องทาด้ วยวัสดุ ทนไฟด้ วย แต่ถ้าก่อ ด้ วยอิฐธรรมดาหรื อคอนกรีตไม่เสริ มเหล็ก ผนังนี ้ต้ องหนาไม่น้อยกว่า ๘ เซนติเมตร"
ถ้ าบันไดทาวน์ เฮาส์ ต้องมีความสูงเกินกว่ า ๓.๐๐ เมตร ต้ องพิจารณาเพิ่ม เพราะกฎหมายระบุไม่ให้ ระยะดิง่ ของ บันไดแต่ละช่วงเกินกว่า ๓.๐๐ เมตร แต่หากมีความจาเป็ น จริ งๆที่ต้องออกแบบก่อสร้ างที่สงู เกินกว่านัน้ กฎหมายระบุวา่ จะต้ องมี Landing (ชานพักบันได) ทุกระยะ ๓.๐๐ เมตร (หรื อ น้ อยกว่านัน) ้ ทังนี ้ ้ชานพักจะต้ อง มีพื ้นที่กว้ างxยาว ไม่น้อย กว่าความกว้ างบันได และเพดานของบันไดจะต้ องสูงไม่น้อย กว่า ๑.๙๐ เมตร
ชานพักของตึกแถวอาคารพาณิชย์ กาหนดคล้ ายกับทาวน์ เฮาส์ เพราะชานพักบันได หรื อพื ้นที่โล่ง ก่อนจะขึ ้นบันได กาหนดให้ มีความกว้ างxยาว ไม่น้อยกว่า ความกว้ าง ของ บันได แต่มีกาหนด เพิ่มเติมว่า ถ้ าบันได มีความกว้ างเกินกว่า ๒.๐๐ เมตร ชานพักนันอาจมี ้ พื ้นที่ขนาดแค่ ๒.๐๐ เมตร
ทาวน์ เฮาส์ และตึกแถวที่สูงไม่ เกิน ๔ ชัน้ อาจออกแบบ ก่ อสร้ างบันไดหนีไฟเป็ น บันไดลิง ก็ได้ แต่ ต้องเป็ นลิง ที่มี ความปลอดภัย มาก หน่ อย บันไดลิง ที่วา่ เป็ น บันไดลิง ที่ต้องมี ชานพัก ด้ วยทุกชัน้ และมี slope ชันๆก็ได้ กฎหมาย บอกรายละเอียด ดังนี ้ "บันไดหนีไฟ จะต้ อง มีความลาดชัน้ ไม่เกินกว่า ๖๐ องศา เว้ นแต่ ตึกแถว และ บ้ าน แถว ที่สูงไม่ เกิน ๔ ชัน้ ให้ มีบนั ไดหนีไฟ ที่มีความลาดชัน เกินกว่า ๖๐ องศาได้ (แปลว่า เป็ น บันไดลิง ตังฉาก ้ อย่างที่ เรา รู้จกั กันก็ได้ ) และต้ อง มีชานพัก ทุกชัน้ ซึง่ การออกแบบ บันไดลิงชนิดนี ้ไม่เคยชินเท่าไรกับการออกแบบก่อสร้ างเดิม ของประเทศไทย นับเป็ นความน่าสนใจอย่างหนึง่ สาหรับนักออกแบบ
พืน้ ยกสาเร็จรู ป ( Access Floor ) แผ่นพื ้นยกสาหรับป้องกันไฟฟ้ ากระแสสถิตย์ถกู นามาใช้ อย่างกว้ างขวางในห้ องคอมพิวเตอร์ อนั เนื่องมาจาก ความสามารถในการป้องกันและกาจัดไฟฟ้ ากระแสสถิตย์ซงึ่ เกิดขึ ้นมาจากคอมพิวเตอร์ เมื่อคอมพิวเตอร์ หลายๆ ตัวกาลัง ทางานและจะช่วยรักษาเสถียรภาพของคอมพิวเตอร์ จากคุณสมบัติดงั กล่าวนันจะช่ ้ วยทาให้ อายุในการใช้ งานของ คอมพิวเตอร์ ยาวนานขึ ้น โดยที่แผ่นพื ้นยกถูกติดตังอย่ ้ างง่ายๆ โดยอาศัยโครงสร้ างที่ถกู สร้ างขึ ้นเหมือนเครื อข่ายซึง่ ประกอบไปด้ วยชุดขาตัง้ และ ชุดคาน อีกทังระบบต่ ้ างๆที่อยูใ่ นห้ องคอมพิวเตอร์ ยงั สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการ เดินสายเคเบิ ้ลเพื่อให้ สอดคล้ องกับ wire way และ outlet ต่างๆ ที่อยูภ่ ายในห้ องคอมพิวเตอร์
ข้ อมูลทั่วไป
ขนาดของแผ่น: 600mm x 600mm x 30mm วัสดุ: Calcium Sulphate, mineral เป็ นต้ น. รอบๆ แผ่นทังสี ้ ด่ ้ านจะถูกป้องกันด้ วยขอบ PVC คานจะถูกต่อเชื่อมจากส่วนหัวของขาตังด้ ้ วยสกรูและฐานของขาตังจะถู ้ กยึดติดเข้ ากับพื ้น
พืน้ ที่ท่ เี หมาะแก่ การใช้ งาน
ปิ ดผิวหน้ าด้ วย PVC และ เหล็กสังกะสีจะเหมาะกับออฟฟิ ศสานักงานทีม่ ีความสูงระหว่าง 80 มม. ถึง 200 มม ปิ ดผิวหน้ าด้ วย HPL จะเหมาะสาหรับห้ องคอมพิวเตอร์ ซงึ่ มีความสูงจาก 150 มม. ถึง 600 มม.
ผิวหน้ าพืน้ ยกสาเร็จรู ป วัสดุท่ นี ามาใช้ ปิดผิวหน้ า ปิ ดผิวหน้ าด้ วย PVC/Vinyl ปิ ดผิวหน้ าด้ วย high pressure laminate (HPL) ปิ ดผิวหน้ าด้ วยแผ่นเหล็กสังกะสี
HPL High Pressure Laminate เป็ นวัสดุพื ้นผิวสาเร็ จทีถ่ กู เลือกใช้ สาหรับงานพื ้นยก (raised floor / access floors) โดยทัว่ ไปมักถูกเรี ยกสันๆ ้ ว่า HPL ซึง่ ถูกทาขึ ้นด้ วยกระบวนการอบที่อณ ุ หภูมิสงู และ ความดันสูง จากคุณสมบัติดงั กล่าว จึงทาให้ HPL มักถูกนามาใช้ เพื่อเป็ นวัสดุปิดผิวด้ วยเหตุผลดังต่อไปนี ้: - ความสามารถที่ดใี นการกระจายกระแสไฟฟ้ าสถิตย์ ความง่ายในการบารุงรักษา และพื ้นผิวทีท่ นทาน - ความต้ านทานต่อสารเคมีหลายๆ ชนิดซึง่ ถูกพบได้ งา่ ยในสภาวะแวดล้ อมทางอุตสาหกรรม - ความโดดเด่นในการต้ านทานต่อการขูดขีด ทนต่ออุณหภูมิสงู , ความสกปรก, การสัน่ สะเทือน, การติดไฟจากบุหรี่ และเปลวไฟ - สามารถใช้ เป็ นพื ้นผิววัสดุตกแต่ง HPL ทังในร่ ้ มและกลางแจ้ งโดยมีสหี ลากหลายให้ เลือก
พีวีซี Conductive คุณสมบัตขิ องพีวีซี Conductive 1. มีคณ ุ สมบัตใิ นการเป็ นตัวนา ความต้ านทานไฟฟ้ า:104-106Ω 2. ความทนทาน - คุณสมบัติอนั ยอดเยีย่ มในการป้องกันการสึกหรอ และการป้องกันสารเคมีตา่ งๆ 3. คุณสมบัติในการบารุงรักษาสี 4. คุณสมบัติในการรับโหลดที่มีน ้าหนักมาก - ไม่มีปัญหากับการเคลือ่ นไหวของเครื่ องจักร. 5. คุณสมบัติในการเป็ นตัวนาถาวร - เป็ นวัสดุที่ทาหน้ ากระจายความเป็ นตัวนาได้ ทวั่ ทังแผ่ ้ นอย่างถาวร 6. ไม่ติดไฟ
ระบบนา้ ภายใน-นอก อาคาร การเดินท่ อนา้ โดยทัว่ ไปแล้ วการเดินท่อประปาภายในบ้ านจะมีอยู2่ ชนิดคือ 1. การเดินท่ อแบบลอย คือ การเดินท่อติดกับผนัง หรื อวางบนพื ้น การเดินท่อแบบนี ้จะเห็นได้ ชดั เจน สามารถซ่อมแซม ได้ ง่าย เมื่อเกิดปั ญหา แต่จะดูไม่สวยงาม 2. การเดินท่ อแบบฝั ง คือ การเจาะสกัดผนังแล้ วเดินท่อ เมื่อเรี ยบร้ อยแล้ วก็ฉาบปูนทับ หรื อเดินซ่อนไว้ ใต้ เพดานก็ได้ ซึง่ จะดูเรียบร้ อย และสวยงาม แต่เมื่อมีปัญหาแล้ วจะแก้ ไขได้ ยาก การเดินท่ อประปาในส่ วนที่อยู่ใต้ ดนิ การเดินท่อประปาจะมีทงท่ ั ้ อส่วนที่อยูบ่ นดิน และบางส่วนจะต้ องอยูใ่ ต้ ดิน ในส่วนที่อยูบ่ นดิน อาจใช้ ท่ อ PVC หรือท่ อ เหล็กชุบสังกะสี ก็ได้ แต่สาหรับท่อ ที่อยูน่ อกอาคาร โดยเฉพาะท่อที่อยูใ่ ต้ ดิน บริ เวณใต้ อาคาร ควรใช้ ท่ อ PE ท่อชนิด นี ้มีคณ ุ สมบัติพเิ ศษ ในการบิดงอโค้ งได้ ในกรณีเดินผ่านเสาตอม่อ หรื อคานคอดิน สาหรับท่อธรรมดา จะมีข้อต่อมากซึง่ เสียงต่อการรั่วซึม และที่สาคัญเมื่อมีการทรุด ตัวของอาคาร หากเป็ นท่อ PVC หรื อท่อเหล็กชุบสังกะสี จะ ทาให้ ทอ่ แตกร้ าวได้ แต่ถ้าเป็ นท่อ PE จะมีความยืดหยุน่ กว่า แต่ก็มีราคาที่สงู กว่า
การจ่ ายนา้ ประปาภายนอกอาคาร
ถังพักนา้ /ถังเก็บนา้
ต่ อเข้ าอาคาร
ท่ อ ขนาด 1 นิว้ หรือมากกว่ า
ท่ อ ขนาด ½ , 3/4 นิว้
การจ่ ายนา้ ประปาภายในอาคาร หลักการจ่ายน ้า ภายในอาคารมี 2 ลักษณะ คือ 1. ระบบจ่ ายนา้ ด้ วยความดัน (Pressurized Upfeed/System) เป็ นการจ่ายน ้าโดยอาศัย การอัดแรงดันน ้าในระบบท่อประปาจากถังอัดความดัน (Air Pressure Tank) ระบบที่ใช้ กบั ความสูงไม่จากัด ทังยั ้ งไม่ต้องมีถงั เก็บน ้าไว้ ดาดฟ้ าอาคาร
2. ระบบจ่ ายนา้ โดยแรงโน้ มถ่ วง (Gravity Feed/Downfeed System) เป็ นการสูบน ้าขึ ้นไปเก็บไว้ ดาดฟ้ าแล้ ว ปล่อยลงมาตามธรรมชาติ ตามท่อต้ องเป็ นอาคารที่มีความสูงตังแต่ ้ 10 ชันขึ ้ ้นไป ถือเป็ นระบบที่ไม่ซบั ซ้ อนไม่ต้องใช้ ไฟในการจ่าย แต่จะต้ องเตรี ยมถังเก็บน ้า ไว้ บนดาดฟ้ าจึงต้ องคานึงถึง เรื่ องโครงสร้ างใน การรับน ้าหนัก และความสวยงามด้ วย ในชันระดั ้ บบน จะต้ องทาท่อส่งน ้าแยกที่มีถงั อัดความดัน เนื่องจากแรงดันน ้าจากแรงโน้ มถ่วงมีไม่เพียงพอ ขณะเดียวกันชันล่ ้ างๆต้ องมีวาล์วลดความดัน เพราะ แรงดันน ้ามากเกินไป
ในการสารองน ้าสาหรับการใช้ งานนันจะต้ ้ องมีการใช้ ถงั เก็บน ้าแบบต่างๆ มาประกอบการใช้ งาน ถังเก็บน ้าที่ใช้ กนั อยู่ โดยทัว่ ไปในปั จจุบนั นันมี ้ หลายแบบให้ เลือกใช้ รวมทังอาจจะต้ ้ องมีเครื่ องสูบน ้าติดตังอี ้ กด้ วย แต่เครื่ องสูบน ้านัน้ ห้ าม ต่ อระหว่ างระบบสาธารณะกับถังพักนา้ ในอาคาร เพราะเป็ นการกระทาที่ผดิ กฎหมาย เนื่องจากเป็ นการสูบน ้าจาก ระบบสาธารณะ โดยตรงซึง่ เป็ นการเอาเปรี ยบผู้อื่น การสูบน ้าในอาคารจะต้ องปล่อยให้ น ้าจากสาธารณะมาเก็บในถังพัก ตามแรงดันปกติเสียก่อนแล้ วค่อยสูบน ้าไปยังจุดที่ต้องการอื่นๆได้ ตาแหน่งทีต่ งถั ั ้ งเก็บน ้าทีใ่ ช้ งานทัว่ ไปมีที่ตงั ้ 2 แบบ คือ -ถังเก็บนา้ บนดิน ใช้ ในกรณีที่มีพื ้นที่เพียงพอกับการติดตัง้ อาจติดตังบนพื ้ ้นดิน หรื อบนอาคาร หรื อติดตังบนหอ ้ สูง เพื่อใช้ ประโยชน์ ในการใช้ แรงดันน ้า สาหรับแจกจ่ายให้ สว่ นต่างๆของอาคาร การดูแลรักษาสามารถทาให้ งา่ ยแต่อาจดู ไม่เรี ยบร้ อยและไม่สวยงามนัก -ถังเก็บนา้ ใต้ ดิน ใช้ ในกรณีไม่มีพื ้นที่ในการติดตังเพี ้ ยงพอและต้ องการให้ ดเู รี ยบร้ อยสวยงามการบารุงดูแลรักษา ทาได้ ยาก ดังนัน้ การก่อสร้ าง และการเลือก ชนิดของถังมีความละเอียดรอบคอบ
การเลือกขนาดถังพักนา้ จานวนผู้ใช้ น ้า (คน) บ้ านพักอาศัย สานักงาน 5 20 6 25 7-8 32 9-10 40 11-15 60
ใช้ ถงั ขนาดความจุ (ลิตร ) 1,000 1,200 1,600 2,000 3,000
ระบบนา้ เสีย ข้ อบัญญัติควบคุมการระบายน ้าทิ ้ง เพื่อควบคุมน ้าโสโครกและน ้าเสียสถานประกอบการและอาคารประเภทต่าง ๆ อัน ได้ แก่ สถานที่ราชการ อาคารชุด โรงแรม สถานพยาบาล สถานบริการ ตลาด บ้ านจัดสรร ศูนย์การค้ า สถานศึกษา หอพัก และแพปลา จะต้ องมีระบบบาบัดน ้าเสียตังแต่ ้ ปี 2537 อาคารและสถานประกอบการทังเก่ ้ าและใหม่ตามข้ อกาหนด ซึง่ ตังอยู ้ ใ่ นเขตมหานคร จะต้ องมีระบบบาบัดน ้าเสียแล้ วทังสิ ้ ้น การดาเนินงานตามแนวทางที่ทาแล้ วโดยทัว่ ไปนัน้ เป็ นการระบายน ้าเสียรวมกันไปบาบัดทีศ่ นู ย์รวม ระบบจะมี ส่วนประกอบใหญ่อยู่ 2 ตอน คือ 1. การระบาย (transportation by sewerage) 2. การบาบัดให้ ถกู สุขลักษณะ (treatment) หลักการระบาย/บาบัดนา้ เสียภายในอาคาร (แบบเติมอากาศ)
ระบบการจ่ ายไฟฟ้าภายในอาคาร (ขนาดกลาง-ใหญ่ )
สวิทซ์ บอร์ ด เป็ นแผงจ่ายไฟฟ้ าขนาดใหญ่ นิยมใช้ ในอาคารขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ไปจนถึงโรงงานอุตสาหกรรมที่มกี ารใช้ ไฟฟ้าจานวนมาก โดยรับไฟจากการไฟฟ้ าหรื อด้ านแรงตา่ ของหม้ อ-แปลงจาหน่ายแล้ วจ่ายโหลดไปยังแผง ย่อยตามส่วน ต่างๆ ของอาคาร สวิทช์บอร์ ดอาจเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่า Main Distribution Board (MDB)
ชนิดของหลอดไฟ หลอดไส้ หรือ หลอดอินแคนเดสเซนท์ บางทีเรี ยกว่าหลอดดวงเทียน มีทงชนิ ั ้ ดแก้ วใส และแก้ วฝ้ า ไส้ หลอดทาจากทังสเตน เมื่อ กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไส้ หลอดจะเกิดความร้ อนขึ ้น และแสงสว่างขัน้ ให้ แสงสีเหลืองส้ ม อายุ การใช้ งานสัน้ ทังยั ้ งสิ ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า
หลอดฮาโลเจน มีหลักการทางานคล้ ายกับหลอดไส้ คือ กาเนิดแสงจากความร้ อน โดยให้ กระแสไฟฟ้ าไหล ผ่านไส้ หลอดที่ทาจากทังสเตน หลอดฮาโลเจนมีให้ คา่ ความถูกต้ องของสีถงึ 100 % มีอายุการใช้ งานประมาณ 1500-3000 ชม นิยมใช้ ให้ แสงพวกเครื่ องประดับ หรื อให้ แสงสาหรับการแต่งหน้ า
หลอดไอปรอท หรือ หลอดแสงจันทร์ การทางานของหลอดประเภทนี ้ จะทางานด้ วยหลักการปล่อยประจุความเข้ มสูง มี อายุการใช้ งานประมาณ 24000 ชม มีคา่ ความถูกต้ องของสีคอ่ นข้ างตา่ แสงจะออกนวลมี ปริ มาณแสงสว่างต่อวัตต์สงู กว่าหลอดชนิดอื่นๆ แสงส่องสว่างได้ ไกลเหมาะกับงานสนาม และภายนอกอาคาร
หลอดเมทัลฮาไลน์ ลักษณะการกาเนิดแสงสว่าง คล้ ายกับหลอดแสงจันทร์ แต่ภายในบรรจุอเิ ล็กตรอนที่ ทาด้ วยทังสเตนล้ วนๆ ปริ มาณแสงมากขึ ้นกว่าหลอดแสงจันทร์ เกือบเท่าตัว ได้ สแี สงใกล้ เคียง แสงแดด อายุการใช้ งานประมาณ 24000 ชม ใช้ กบั งานที่ต้องการความถูกต้ องสีมาก เช่น สนามกีฬาเฉพาะทีม่ ีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ สวนสาธารณะ ห้ างสรรพสินค้ า
หลอดฟลูออเรสเซนต์ หรือ หลอดนีออน เป็ นหลอดแก้ วทรงกระบอก หรื อแบบกลม ด้ านในหลอดเคลือบด้ วยสารเรื องแสง ก๊ าชที่ บรรจุอยูภ่ ายในหลอดจะแตกตัวเป็ น ไอออนเมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไปกระทบก๊ าช จะเกิดรังสี อัลตร้ าไวโอเลตที่ทาให้ หลอดสว่างขึ ้น ใช้ งานร่วมกับบัลลาสต์ และ สตาร์ ทเตอร์ มีอายุการใช้ งานยาวนาน 6,000 ถึง มากกว่า 20,000 ชัว่ โมง และใช้ พลังงานเพียง 20% เมื่อเทียบกับหลอด ไส้
หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ มีหลักการทางานเหมือนหลอดฟลูออเรสเซนต์ มีทงแบบที ั้ ่มบี ลั ลาสต์ในตัว มีขวเป็ ั้ น แบบเกลียว สวมใส่เข้ ากับเต้ าเกลียวของหลอดไส้ ได้ เลย และแบบที่มีขวเป็ ั ้ นขาเสียบ ใช้ ร่วมกับโคม และมีบลั ลาสต์ภายนอก รูปร่างหลากหลาย มีอายุการใช้ งานยาวนานกว่า หลอดฟลูออเรสเซนต์
หลอด LED คุณสมบัติการทางานไม่มกี ารเผาไส้ หลอด จึงไม่เกิดความร้ อน แสงสว่างเกิดขึ ้น จากการเคลือ่ นที่ของอิเล็กตรอภายในสารกึ่ง พลังงานเปลีย่ นเป็ นแสงสว่างได้ เต็มที่ มี แสงหลายสีให้ เลือกใช้ งาน ขนาดที่เล็กทาให้ ยืดหยุน่ ในการออกแบบ การจัดเรี ยง นาไปใช้ ด้านตกแต่งได้ ดี มีความ อายุการใช้ งานอยูไ่ ด้ ถงึ 50,000-60,000 ชัว่ โมง ทังยั ้ ง ปรับหรี่ แสงได้ ง่าย
สีของแสง หน่วยวัดที่ใช้ ระบุ ค่าสีของแสง เรี ยกเป็ นอุณหภูมิสี ซึง่ มีหน่วยเป็ นองศาเคลวิน (Kelvin) อุณหภูมิสไี ม่เกี่ยวกับความร้ อนของแสงหรื อไฟ แต่เป็ นการวัดคลืน่ ความถี่ของแม่เหล็กไฟฟ้ าในช่วงที่ตาคนเราสามารถมองเห็นได้
ระบบปรับอากาศ VRV VRV ย่อมาจาก Variable Refrigerant Volume หรื อ ระบบ ปรับอากาศที่ใช้ น ้ายาปรับอากาศเป็ นสือ่ ความเย็น โดยมีความสามารถปรับปริ มาณน ้ายาทาความเย็นที่สง่ ออกจากตัวคอมเพรสเซอร์ เข้ าสู่ Fan Coil เปลีย่ นแปลง ตาม ความต้ องการ ถ้ าจะให้ อธิบายง่ายๆ ระบบปรับอากาศ ชนิดนี ้ คือ ระบบปรับ อากาศ แบบ Split Type ขนาดใหญ่ นัน้ เอง โดย ได้ คงส่วนดี ของ ระบบ Split Type เดิมไว้ แล้ วเพิ่มความสามารถใหม่ๆเข้ าไปในระบบอีกหลายอย่าง เพือ่ ให้ ระบบนี ้ สามารถ ทางานอย่าง มีประสิทธิภาพ ใช้ งานสะดวก และ ยืดหยุน่ มากขึ ้นกว่า ระบบ Sprite Type เดิม
ระบบควบคุม การควบคุมของระบบปรับอากาศชนิดนี ้ จะใช้ Super Wiring System ลักษณะ จะเป็ นสายสัญญาณ ที่ตอ่ กันเป็ นอนุกรม จากเครื่ อง FCU.เข้ าหากัน แล้ ว ต่อเข้ าเครื่ อง CDU. การต่อ อุปกรณ์ ควบคุม สามารถ ต่อ กับ CDU. เพียงจุดเดียว จะ สามารถควบคุมการทางานของระบบทังหมด ้ การเดินสายสัญญาณควบคุมแบบ Super Wiring System โดยใช้ การเดินสายควบคุมเข้ าสูก่ ลางโดยต่อมาจาก CDU
อุปกรณ์ และการใช้ พนื ้ ที่ : ต้ องมีพื ้นที่วาง FCU. โดยสามารถกระจาย FCU. ไปเป็ นจุดย่อยๆ หรืออาจต่อเป็ นท่อลม จากเครื่ องก็ได้ ต้องมีพื ้นที่วาง CDU. รวมเป็ นจุดใหญ่จดุ เดียว หรือแบ่งเป็ น Zone การวางอุปกรณ์ แต่ ละส่ วน : ระยะห่างของ CDU. กับ FCU. สูงสุดได้ ถึง 100 เมตรท่อน ้ายาปรับอากาศที่เดินเข้ าไปใน พื ้นที่มีขนาดเล็ก
ผลกระทบต่ อรูปแบบสถาปั ตยกรรมภายนอก : ถ้ าใช้ ในโครงการขนาดใหญ่ ผนังภายนอกบางส่วนต้ องเปิ ดเป็ นเกล็ด ระบายอากาศในอาคารขนาดเล็ก และขนาดกลางสามารถ นา CDU. มารวมไว้ ในบริเวณเดียวกัน ได้ การทางานใน Past Load ของอุปกรณ์ ทาความเย็น : สามารถเดินระบบ Past Load ทางานเป็ นขันๆได้ ้ แบ่งส่วนการใช้ งานโดยการกระจายเครื่ องFCU. ไปในพื ้นที่ทตี่ ้ องการเหมาะสาหรับการใช้ งานที่มีการเปิ ดปิ ดระบบปรับอากาศไม่พร้ อมกัน และการควบคุมอุณหภูมิไม่เท่ากันในแต่ละส่วน วิธีกระจายลมในพืน้ ที่ปรับอากาศ : วาง FCU. ไว้ ในพื ้นที่ปรับอากาศต่อท่อลมเข้ าไปในพื ้นที่ปรับอากาศ การแบ่ งช่ วงการติดตัง้ ระบบ : สามารถแบ่งการติดตังระบบเป็ ้ นส่วนๆได้ ตามการเปิ ดใช้ งานของอาคาร การควบคุมอุณหภูมิในส่ วนปรับอากาศ : ทางานร่วมกันระหว่าง FCU และ CDU สามารถควบคุมอุณหภูมิในแต่ละ พื ้นที่ ตามตาแหน่งทีม่ ี AHU.นันๆ ้ การทางานของ CDU. เป็ นแบบรอบไม่คงที่ การใช้ งาน และ บารุ งรักษา : ใช้ ชา่ งเทคนิคทีม่ ีความรู้โดยเฉพาะ
ข้ อจากัดในการใช้ ระบบปรับอากาศแบบ VRV กระแสไฟฟ้า เนื่องจากตัวควบคุมระบบของเครื่ อง VRV เป็ นระบบอิเล็กโทนิคทังหมด ้ ถ้ าคุณภาพของไฟฟ้าในบริ เวณที่ตดิ ตังเครื ้ ่ องมี คุณภาพไม่ดี เช่น มีโอกาสเกิด กระแสไฟฟ้ าตก, กระแสไฟฟ้ าเกิน, ไฟกระชาก บ่อยครัง้ จะทาให้ อปุ กรณ์อิเล็กโทรนิค ภายในเครื่ องเสียหายได้ ราคา ราคาของระบบ VRV ที่เข้ ามาทาตลาดในประเทศไทยขณะนี ้ มีราคาสูงกว่าระบบอื่น เมื่อเทียบกับปริ มาณตันทาความเย็น ที่เท่ากัน ช่ างเพื่อการซ่ อมบารุ ง เนื่องจาก เป็ นระบบปรับอากาศชนิดใหม่ สาหรับประเทศไทย ช่างระบบปรับอากาศทัว่ ไปไม่สามารถซ่อมบารุงระบบชนิดนี ้ ได้ ต้ องใช้ ชา่ งโดยเฉพาะของผู้ขายเท่านัน้ โดยเฉพาะการติดตังงานในต่ ้ างจังหวัด ที่ไม่มีตวั แทนขาย จะเป็ นอุปสรรค์ สาคัญในการติดตัง้ และบารุงรักษา
ระบบป้องกันและเตือนอัคคีภัย การป้องกันอัคคีภยั สามารถกระทาได้ 2 ลักษณะคือ 1. การป้องกันอัคคีภยั วิธี Passive
เว้ นระยะห่างจากเขตที่ดิน เพื่อกันการลามของไฟ การเข้ าถึงของรถดับเพลิง ตามกฎหมายแนวร่นพื ้นที่รอบ อาคารทังประเภทอาคารพาณิ ้ ชย์และอาคารสูง
เลือกใช้ วสั ดุทนไฟ เพื่อให้ มีเวลาพอสาหรับหนีไฟได้
มีลฟิ ท์พนักงานดับเพลิง หรื อบันไดหนีไฟ
บันไดหนีไฟ บันไดหนีไฟต้ องมีป้ายบอกชันและป ้ ้ ายบอกทางหนีไฟที่ด้านในและด้ านนอก ของประตูหนีไฟทุกชันด้ ้ วยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได้ ชดั เจน โดยตัวอักษรต้ อง มีขนาดไม่น้อยกว่า 10 ซม.ประตูหนีไฟต้ องทาด้ วยวัสดุทนไฟเป็ นบานเปิ ดชนิดผลัก ออกสูภ่ ายนอก พร้ อมติดตังอุ ้ ปกรณ์ชนิดที่บงั คับให้ บานประตูปิดได้ เอง มีความ กว้ างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร สูงไม่น้อยกว่า 1.90 เซนติเมตร และต้ องสามารถ เปิ ดออกได้ โดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรื อทางออกสูบ่ นั ไดหนีไฟต้ องไม่มชี นหรื ั ้ อธรณีประตูหรื อขอบกัน้ อาคารสูงทุก ชันต้ ้ องจัดให้ มีห้องว่าง มีพื ้นที่ไม่น้อยกว่า 6 ตารางเมตร ติดต่อกับช่องทางบันไดหนีไฟหรื อลิฟท์พนักงานดับเพลิง
2. การป้องกันอัคคีภยั วิธี Active คือการป้องกันโดยใช้ ระบบเตือนภัย,การควบคุมควันไฟ,ระบายควัน ไฟ และระบบดับเพลิงที่ดี ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั เป็ นระบบที่บอกให้ คนในอาคารทราบว่าเกิดความ ผิดปกติขึ ้น มีอปุ กรณ์ในการเตือนภัย 2 แบบ คือ อุปกรณ์ตรวจจับอัคคีภยั และ อุปกรณ์แจ้ งเหตุด้วยมือ เพื่อให้ ผ้ พู บเหตุไปทาการแจ้ ง มีทงแบบมื ั้ อดึงและผลัก
อุปกรณ์ตรวจจับอัคคีภยั สองนิดใหญ่ๆที่ใช้ ในอาคารสานักงานคือชนิด ตรวจจับความร้ อน ตรวจจับควัน 1. Fix Temperature Heat Detector แจ้ งเตือนเมื่ออุณหภูมถิ ึงจุดที่กาหนดไว้ ซงึ่ มีตงแต่ ั ้ 60 ถึง150 องศาฯ 2. Rate of Rise Heat Detector ทางานเมื่อมีอตั ราการเพิม่ ของอุณหภูมิ เปลีย่ นแปลงไปตังแต่ ้ 10 องศาฯใน1 นาที 3. Combination Heat Detector รวมสองชนิดด้ านบนมาอยูใ่ นตัวเดียวกันเพื่อ ตรวจจับความร้ อนได้ ทงสองลั ั้ กษณะ 4. Photo Electric Smoke Detector ใช้ ตรวจจับสัญญาณควัน ในระยะที่มีอนุภาคของควันที่ใหญ่ 5. Ionization Smoke Detector เหมาะสาหรับใช้ ตรวจจับสัญญาณควันในระยะเริ่มต้ นที่มี อนุภาคของควันเล็กมาก 6. Beam Smoke Detector การตรวจจับควัน โดยใช้ การบังแสงของควัน
ระบบดับเพลิงด้ วยน ้าคือระบบทีม่ ีการเก็บกักน ้าสารอง ที่มีแรงดันพอสมควร ระบบนี ้จะประกอบไปด้ วยถังน ้า สารองดับเพลิงซึง่ ต้ องมีปริ มาณสาหรับใช้ ดบั เพลิงได้ 1- 2 ชม.และประกอบด้ วย ระบบ ส่งน ้าดับเพลิงได้ แก่ เครื่ อง สูบระบบท่อ แนวตังแนวนอน ้ , หัวรับน ้าดับเพลิง, สายส่งน ้า ดับเพลิง, หัวกระจายน ้าดับเพลิง
ระบบดับเพลิงด้ วยน ้าแบบอัตโนมัติ โดยที่เครื่ องที่อยูบ่ น เพดานห้ องจะทางาน เมื่อมี ปริ มาณความร้ อนที่สงู ขึ ้น จนทาให้ สว่ นที่เป็ นกระเปาะบรรจุปรอทแตกออก แล้ วน ้า ดับเพลิงที่ตอ่ ท่อไว้ ก็จะกระจายลงมาควบคุมเพลิง •
เครื่ องดับเพลิงแบบมือถือ เป็ นอุปกรณ์ขนาดเล็ก ข้ างในบรรจุสารเคมี
สาหรับดับเพลิงแบบต่าง ๆ ในกรณีที่เพลิงมีขนาดเล็ก ก็สามารถใช้ เครื่ อง ดับเพลิงขนาดเล็กหยุดยังการลุ ้ กลามของไฟได้ •
ระบบควบคุมควันไฟ การสาลักควันไฟเป็ นสาเหตุหลักของการเสียชีวติ ใน
เหตุไฟไหม้ อาคารจึงต้ องมีระบบ ที่จะทาให้ มีการชะลอ การแพร่ ของควันไฟ
•
โดยมากจะใช้ การอัดอากาศลงไปในจุดทีเ่ ป็ นทางหนีไฟ, โถงบันได และโถงลิฟต์ โดยไม่ให้ ควันไฟลามเข้ าไป ใน
ส่วนดังกล่าว เพิม่ ระยะเวลาการหนีออกจากอาคาร และมีการดูดควันออกจากตัวอาคารด้ วย
งานระบบอัคคีภัยในงานออกแบบ เปิ ดฝ้ าเพดาน : ในภาพเราสามารถมองเห็นท่อ-หัวสปริ งเกอร์ และป้ายทางหนีไฟได้
ฝ้าเพดานยิปซัม : ในภาพสามารถมองเห็นสปริ งเกอร์ และทางหนีไฟ
ระบบรักษาความปลอดภัย CCTV ภายในอาคาร CCTV มาจากคาว่า Closed-Circuit Television คือระบบการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จากกล้ องที่ติดตังตามจุ ้ ดต่างๆ ที่ อยูใ่ นวงจรเดียวกันมาสูเ่ ครื่ องรับ โดยทัว่ ไปใช้ เพื่อสังเกตการณ์หรือเฝ้ าระวังความปลอดภัย ระบบ CCTV สามารถแบ่งออกได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1.กล้ องวงจรปิ ด (Camera) ทาหน้ าที่เป็ นตัวมองภาพในจุดที่เราต้ องการสังเกตการณ์ 2.จอรับสัญญาณภาพ (Monitor) ทาหน้ าที่ในส่วนของภาครับ เป็ นตัวเผยแพร่สญ ั ญาณภาพที่ได้ จากกล้ องกล้ อง 3.เครื่องบันทึกภาพ (DVR) ทาหน้ าที่ในส่วนของภาคบันทึก บันทึกภาพที่ได้ จากกล้ องแล้ วส่งผ่านไปยังจอรับสัญญาณ ภาพ จึงเป็ นตัวที่ทาหน้ าที่อยูต่ รงกลางระหว่างกล้ องและจอรับสัญญาณภาพ 4.สายสัญญาณภาพ (Cabling) เป็ นสือ่ นาสัญญาณภาพจากกล้ องไปสูจ่ อรับภาพหรื อเครื่ องบันทึกภาพ ทัว่ ไปจะใช้ สาย Coaxial เพราะกล้ องวงจรปิ ดส่งสัญญาณภาพเป็ นแบบอนาล็อก แต่ปัจจุบนั สามารถใช้ สาย UTP หรื อสาย LAN แทนได้
รู ปแบบการเดินระบบ CCTV