ระบบสุริยะ

Page 1


ระบบสุริยะ ระบบสุ ริยะ ประกอบด้ วยดวงอาทิตย์ และวัตถุอื่น ๆ ทีโ่ คจรรอบดวงอาทิตย์ เช่ น ดาวเคราะห์ ดาว เคราะห์ น้อย ดาวหาง และดาวบริวาร โลกเป็ นดาวเคราะห์ ทอี่ ยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ เป็ นลาดับที่ 3 โดยทัว่ ไป ถ้ าให้ ถูกต้ องทีส่ ุ ดควรเรียกว่ า ระบบดาวเคราะห์ เมื่อกล่ าวถึงระบบทีม่ วี ตั ถุต่าง ๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ ระบบสุ ริยะ คือ ระบบดาวทีม่ ดี าวฤกษ์ เป็ นศูนย์ กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็ นบริวารโคจรอยู่ โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้ อมเอือ้ อานวย ต่ อการดารงชีวติ สิ่ งมีชีวติ ก็จะเกิดขึน้ บนดาวเคราะห์ เหล่ านั้น หรื อ บริวารของดาวเคราะห์ เองทีเ่ รียกว่ าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์ เชื่ อว่ า ในบรรดาดาวฤกษ์ ท้งั หมด กว่ าแสนล้ านดวงในกาแลกซี่ทางช้ างเผือก ต้ องมีระบบสุ ริยะทีเ่ อือ้ อานวยชีวติ อย่ าง ระบบสุ ริยะทีโ่ ลกของ เราเป็ นบริวารอยู่อย่ างแน่ นอน


เพียงแต่ ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่ าความสามารถในการติดต่ อจะทาได้ ถึงทีโ่ ลกของเราอยู่เป็ น ระบบทีป่ ระกอบด้ วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็ นศูนย์ กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ทีเ่ ราเรียกกันว่ า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่ า เก้ า) เรียงตามลาดับ จากในสุ ดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาว พฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนีไ้ ม่ มพี ลูโตแร้ ว เหลือแค่ 8 ดวง ) และยังมีดวง จันทร์ บริวารของ ดวงเคราะห์ แต่ ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้ นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาว ศุกร์ ทีไ่ ม่ มบี ริวาร ดาวเคราะห์ น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจน กลุ่มฝุ่ นและก๊ าซ ซึ่งเคลื่อนทีอ่ ยู่ในวงโคจร ภายใต้ อทิ ธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุ ริยะ กว้ างใหญ่ ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่ างโลกกับดวงอาทิตย์

ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้ านกิโลเมตร หรื อ 1au.(astronomy unit) หน่ วยดาราศาสตร์ กล่ าวคือ ระบบสุ ริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ ทมี่ ขี นาดเล็กทีส่ ุ ด ในระบบสุ ริยะ ซึ่งอยู่ไกล เป็ นระยะทาง 40 เท่ าของ 1 หน่ วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่ างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊ อต (Oort's Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่ า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ ด้วย ดวงอาทิตย์ มมี วล มากกว่ าร้ อยละ 99 ของมวลทั้งหมดในระบบสุ ริยะทีเ่ หลือ


นอกนั้นจะเป็ นมวลของ เทหวัตถุต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้ วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ น้อย ดาวหาง และ อุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่ นและก๊ าซ ทีล่ ่ องลอยระหว่ าง ดาวเคราะห์ แต่ ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็ นแรงควบคุมระบบสุ ริยะ ให้ เทหวัตถุบนฟ้ าทั้งหมด เคลื่อนทีเ่ ป็ นไปตามกฎแรง แรงโน้ มถ่ วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์ แพร่ พลังงาน ออกมา ด้ วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อ วินาที เป็ นพลังงานทีเ่ กิดจากปฏิกริยาเทอร์ โมนิวเคลียร์ โดยการเปลีย่ นไฮโดรเจนเป็ นฮีเลียม ซึ่งเป็ นแหล่ ง ความร้ อนให้ กบั ดาว ดาวเคราะห์ ต่าง ๆ ถึงแม้ ว่าดวงอาทิตย์ จะเสี ยไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่ อวินาที ก็ตาม แต่ นักวิทยาศาสตร์ กย็ งั มีความเชื่ อว่ าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่ พลังงานออกมา ในอัตราทีเ่ ท่ ากันนีไ้ ด้ อีกนานหลายพันล้ านปี ชื่ อของดาวเคราะห์ ท้งั 9 ดวงยกเว้ นโลก ถูกตั้งชื่ อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่ อว่ าเทพเหล่ านั้น อยู่บนสรวงสวรรค์ และเคารพบูชาแต่ โบราณกาล ในสมัยโบราณจะรู้ จักดาวเคราะห์ เพียง 5 ดวงเท่ านั้น (ไม่ นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้ วยตาเปล่ าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาว เสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็ น 7 ทาให้ เกิดวันทั้ง 7 ในสั ปดาห์ นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นีจ้ ึงมีอทิ ธิพลกับดวงชะตาชีวติ ของคนเราตามความเชื่ อถือทางโหราศาสตร์ ส่ วนดาวเคราะห์ อกี 3 ดวง คือ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ถูกค้ นพบภายหลัง แต่ นักดาราศาสตร์ กต็ ้งั ชื่ อตามเทพของกรีก เพื่อให้ สอดคล้ องกันนั่นเอง


ดาวบริวาร คือ วัตถุทโี่ คจรรอบดาวเคราะห์ ฝุ่ นและอนุภาคขนาดเล็กอื่น ๆ ทีป่ ระกอบกัน เป็ นวงแหวนโคจรรอบดาวเคราะห์ ขยะ อวกาศทีโ่ คจรรอบโลก เป็ นชิ้นส่ วนของ จรวด ยานอวกาศ หรื อดาวเทียมทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้

ดวงอาทิตย์ เป็ นดาวฤกษ์ ทมี่ ชี นิดสเปกตรัม G2 มีมวล ประมาณ 99.86% ของทั้งระบบ ดาวเคราะห์ ในระบบสุ ริยะมี 8 ดวง ได้ แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และ ดาวเนปจูน

ดาวบริวารดาวเคราะห์ น้อย คือ ดาวเคราะห์ น้อย ขนาดเล็กทีโ่ คจรรอบดาวเคราะห์ น้อยทีม่ ขี นาดใหญ่ กว่ าหรื ออาจมีขนาดพอๆ กัน ดาวหาง คือ วัตถุทมี่ อี งค์ ประกอบส่ วนใหญ่ เป็ นนา้ แข็ง มี วงโคจรทีม่ คี วามรีสูง โดยปกติจะมีจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ ทีส่ ุ ดอยู่ภายในวงโคจรของดาวเคราะห์ วงใน และมีจุด ไกลดวงอาทิตย์ ทสี่ ุ ดห่ างไกลเลยวงโคจรของดาวพลูโต ดาวหางคาบสั้ นมีวงโคจรใกล้ ดวงอาทิตย์ มากกว่ านี้ อย่ างไรก็ตาม ดาวหางทีม่ อี ายุเก่ าแก่ มกั สู ญเสี ยนา้ แข็งไป หมดจนกลายเป็ นดาวเคราะห์ น้อย ดาวหางที่มวี งโคจร เป็ นรู ปไฮเพอร์ โบลา อาจมีกาเนิดจากภายนอกระบบ สุ ริยะ

ซากจากการก่ อตัวของดาวเคราะห์ เป็ นเศษฝุ่ นทีจ่ ับ ตัวกันในยุคแรกทีร่ ะบบสุ ริยะก่ อกาเนิด อาจหมาย รวมถึงดาวเคราะห์ น้อยและดาวหาง ดาวเคราะห์ น้อยทรอย คือ ดาวเคราะห์ น้อยทีม่ ี วงโคจรอยู่ในแนววงโคจรของดาวพฤหัสบดีที่ จุด L4 หรื อ L5 อาจใช้ ชื่อนีส้ าหรับดาวเคราะห์ น้ อยทีอ่ ยู่ทจี่ ุดลากรางจ์ ของดาวเคราะห์ ดวงอื่น ๆ ด้ วย


สะเก็ดดาว คือ ดาวเคราะห์ น้อยทีม่ ขี นาดเท่ า ก้ อนหินขนาดใหญ่ ลงไปถึงผงฝุ่ น วัตถุทเี อ็นโอ คือ วัตถุทมี่ กี งึ่ แกนเอกของวงโคจร เลยดาวเนปจูนออกไป วัตถุแถบไคเปอร์ มีวงโคจรอยู่ระหว่ าง 30 ถึง 50 หน่ วยดาราศาสตร์ คาดว่ าเป็ นที่กาเนิดของดาว หางคาบสั้ น บางครั้งจัดดาวพลูโตเป็ นวัตถุประเภท นีด้ ้ วย นอกเหนือจากการเป็ นดาวเคราะห์ จึง เรียกชื่ อวัตถุทมี่ วี งโคจรคล้ ายดาวพลูโตว่ าพลูตโิ น

เซนทอร์ คือ วัตถุคล้ ายดาวหางทีม่ วี งโคจรรีน้อย กว่ าดาวหาง มักอยู่ในบริเวณระหว่ างวงโคจรของ ดาวพฤหัสบดีและดาวเนปจูน วัตถุเมฆออร์ ต คือ วัตถุทคี่ าดว่ ามีวงโคจรอยู่ ระหว่ าง 50,000 ถึง 100,000 หน่ วยดาราศาสตร์ ซึ่ง เชื่ อว่ าเป็ นถิ่นกาเนิดของดาวหางคาบยาว

เซดนา วัตถุทเี่ พิง่ ค้ นพบเมื่อเร็วๆ นี้ ซึ่งมีวงโคจรเป็ นวงรีสูงมาก ห่ างดวงอาทิตย์ ระหว่ าง 76-850 หน่ วยดารา ศาสตร์ ไม่ สามารถจัดอยู่ในประเภทใดได้ แม้ ว่าผู้ค้นพบให้ เหตุผลสนับสนุนว่ ามันอาจเป็ นส่ วนหนึ่งของเมฆ ออร์ ต ฝุ่ นซึ่งกระจัดกระจายอยู่ทวั่ ไปในระบบสุ ริยะ อาจเป็ นสาเหตุของปรากฏการณ์ แสงจักรราศี ฝุ่ น บางส่ วนอาจเป็ นฝุ่ นระหว่ างดาวทีม่ าจากนอกระบบสุ ริยะ


ดาวเคราะห์ ในระบบสุ ริยะ จักรวาล ดวงอาทิตย์ (Sun)

ดาวพฤหัสบดี(Jupiter)

เป็ นศูนย์ กลางของระบบสุ ริยะจักรวาล อยู่ห่างจากโลกเป็ น ระยะทางประมาณ 93 ล้ านไมล์ และมีขนาดใหญ่ กว่ าโลกมากกว่ า 1 ล้ านเท่ า มีขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางยาวกว่ าโลก 100 เท่ า ดวงอาทิตย์ เป็ น ดาวฤกษ์ ทมี่ แี สงสว่ างในตัวเอง ซึ่งเป็ นแหล่ งพลังงานทีส่ าคัญของโลก อุณหภูมขิ องดวงอาทิตย์ อยู่ระหว่ าง 5,500 - 6,100 องศาเซลเซียส พลังงานของดวงอาทิตย์ ท้งั หมดเกิดจากก๊าซไฮโดรเจน โดยพลังงาน ดังกล่ าวเกิดจากปฏิกริยานิวเคลียร์ ภายใต้ สภาพความกดดันสู งของ ดวงอาทิตย์ ทาให้ อะตอมของไฮโดรเจนซึ่งมีอยู่มากบนดวงอาทิตย์ ทา ปฏิกริยาเปลีย่ นเป็ นฮีเลียม

ดาวพฤหัสบดีเป็ นดาวเคราะห์ ยกั ษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ ทสี่ ุ ดในระบบ สุ ริยะ มีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางยาวกว่ าโลก 11.2 เท่ า นอกจากนีย้ งั ได้ ชื่อว่ า เป็ นดาวเคราะห์ ก๊าซ เพราะมีองค์ ประกอบเป็ นก๊ าซไฮโดรเจนและ ฮีเลียมคล้ ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่ นของดาวพฤหัสบดีจึงตา่ (1.33 กรัมต่ อลูกบาศก์ เซนติเมตร) เมื่อดูในกล้ องโทรทรรศน์ จะเห็น เป็ นดวงกลมโตกว่ าดาวเคราะห์ ดวงอื่นๆ พร้ อมสั งเกตเห็นบริวาร 4 ดวงใหญ่ เรียงกันอยู่ในแนวเส้ นศูนย์ สูตรด้ วย กาลิเลโอเป็ นนักดารา ศาสตร์ คนแรกทีใ่ ช้ กล้ องส่ องพบบริวารสี่ ดวงใหญ่ นี้ จึงได้ รับเกียรติว่า เป็ นดวงจันทร์ ของกาลิเลโอ


ดาวพุธ (Mercury) ดาวพุธเป็ นดาวเคราะห์ อยู่ใกล้ ดวงอาทิตย์ ทสี่ ุ ดดังนั้นดาวพุธจึงร้ อน จัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลวกลางคืนดาวพุธเป็ นดาว เคราะห์ ดวงเล็กโตกว่ าดวงจันทร์ ของเราเพียงเล็กน้ อย ภาพถ่ าย ทั้งหลายทีเ่ กีย่ วกับดาวพุธได้ จากยานอวกาศทีส่ ่ งขึน้ ไปขณะเข้ า ไปใหล้ ดาวพุธทีส่ ุ ดก็จะถ่ ายภาพส่ งมายังโลก ทาให้ ร้ ู ว่าพืน้ ผิวดาวพุธ คล้ ายกับผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่ วนใหญ่ เป็ นฝุ่ นและหิน มีหลุมลึก มากมาย ไม่ มอี ากาศ ไม่ มนี า้ ดาวพุธจึงเป็ นดาวแห้ งแล้ ง ดาวแห่ ง ความตายเป็ นโลกแห่ งทะเลทราย ดาวยูเรนัส(Uranus) ดาวยูเรนัสเป็ นดาวเคราะห์ ทใี่ หญ่ เป็ นทีส่ ามในระบบสุ ริยะ มัน มีลกั ษณะเลือนลาง จะต้ องมองดูด้วยกล้ องโทรทัศน์ เท่ านั้นจึง สามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ ามันเป็ นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ ใช้ กล้ องโทรทัศน์ ค้นพบว่ า ดาวยูเรนัส เป็ นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่ นกลมสี เขียวที่ไม่ มรี อย ต่ อมา นัก ดาราศาสตร์ ได้ พบดาวบริวารห้ าดวง ในปี 1977 ได้ มกี ารพบวง แหวนของดาวยูเรนัส ถึงแม้ ว่านักดาราศาสตร์ จะใช้ กล้ องโทรทัศน์ ขนาดใหญ่ ทสี่ ุ ด แต่ เขาก็ยงั ไม่ สามารถค้ นหา อะไรได้ มากมายนักเกีย่ วกับดาวยูเรนัสเอง ในปี 1986 ยาน อวกาศวอยาเจอร์ 2 ได้ บินผ่ านดาวยูเรนัสและได้ ส่งภาพที่ ชัดเจนของดาวยูเรนัส และวงแหวนตลอดจนดาวบริวารของ มันกลับมายังพืน้ โลก


ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกร์ เป็ นดาวเคราะห์ ทรี่ ้ อนทีส่ ุ ดในระบบสุ ริยะ บนดาวศุกร์ ร้ อนถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้ อนขนาดนีม้ ากจนทาให้ ของ ทุกอย่ างลุกแดงดาวศุกร์ มไี อหมอกของกรดกามะถันปกคลุมอย่ าง หนาแน่ น ไอหมอกนีไ้ ม่ มวี นั จางหายแม้ ว่าแสงอาทิตย์ จะจัดจ้ า เพียงไร จึงเป็ นไปไม่ ได้ ทมี่ นุษย์ จะไปเยีย่ มดาวศุกร์ เพราะพอไป ถึงเขาจะถูกย่ างจนสุ กด้ วยความร้ อนและถูกผลักดันด้ วยแรงลม เขาจะหายใจไม่ ออกเพราะอากาศหนาหนักทีก่ ดทับตัวนั้นเป็ น อากาศพิษจากหมอกควันของกรดอากาศบนดาวศุกร์ ประกอบด้ วยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีมากกว่ า คาร์ บอนไดออกไซด์ ในอากาศโลกกว่ า60เท่ าผิวดาวศุกร์ แห้ งแล้ ง เป็ นหินและร้ อนจัดนอกจากนีก้ ม็ รี อยแยกลึกและภูเขาไฟดับ

ดาวอังคาร(Mars) ดาวอังคารบางทีกเ็ รียกกันว่ าดาวแดงเพราะผิวพืน้ เป็ นหินสี แดง หินบนดาวอังคารที่มสี ี แดงก็เพราะเกิดสนิม ท้ องฟ้ าของดาวดังคารเป็ นสี ชมพูเพราะฝุ่ นจากหินแดงทีว่ ่ านี้ ผิวของดาวอังคารเหมือนกับทะเลหินแดง มี ก้ องหินใหญ่ และหลุมลึก ภูเขาสู ง หุบ เหว และเนินมากมาย หนึ่งปี บนดาวอังคารเกือบเทาสองปี โลก แต่ หนึ่ง วันบนดาวอังคารจะนานกว่ าครึ่งชั่งโมงโลกเพียงเล็กน้ อยดาวอังคารมีอากาศห่ อหุ้มอยู่ไม่ มากและเป็ นก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ ลมพัดแรงจัดทาให้ ฝุ่นฟุ้ง ไปทั้งดวงดาว ดาวอังคารมีขนาดโตประมาณครึ่งหนึ่งของ โลก ดาวอังคารอยูไกลดวงอาทิตย์ มากกว่ าโลกจึงทาให้ มบี รรยากาศหนาวเย็น อุณหภูมบิ นดาวดวงนีจ้ ะตา่ กว่ าจุดเยือกแข็ง


ดาวเนปจูน(Neptune) ดาวเคราะห์ ดวงใหม่ มสี ี นา้ เงินมีชื่อว่ าดาวเนปจูนตามชื่ อเทพเจ้ า แห่ งทะเลโรมัน ดาวเนปจูนโตเกือบเท่ าดาวยูเรนัส มันเป็ นดาว เคราะห์ ทใี่ หญ่ เป็ นอันดับสี่ ในระบบสุ ริยะ มันอยู่ห่างไกลจากโลก มาก จึงทาให้ มองเห็นสลัวมาก ดาวเนปจูนสามารถมองเห็นได้ ด้ วยกล้ องสองตา มันดูคล้ ายกับดาวฤกษ์ ยังไม่ มยี านอวกาศทีเ่ คย ไปยังดาวเนปจูน สิ่ งทีเ่ รารู้ ท้งั หมดก็คือ ดาวเคราะห์ ดวงนี้ มองเห็นจากโลก ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวเสาร์ เป็ นดาวเคราะห์ ทมี่ คี วามสวยงาม จากวงแหวนที่ล้อมรอบ เมื่อ ดูในกล้ องโทรทรรศน์ จะเห็นวงแหวน ซึ่งทาให้ ดาวเสาร์ มลี กั ษณะแปลก กว่ าดาวดวงอื่น ๆ ดาวเสาร์ มอี งค์ ประกอบคล้ ายดาวพฤหัสบดี เป็ นดาว เคราะห์ ก๊าซทีม่ ลี มพายุพดั แรงความเร็วถึง 1,125 ไมล์ ต่อชั่วโมง มีขนาด ใหญ่ รองจากดาวพฤหัสบดี ถ้ านับวงแหวนเข้ าไปด้ วย จะมีขนาดเท่ าดาว พฤหัสบดี ดาวเสาร์ เป็ นดาวเคราะห์ ทมี่ คี วามหนาแน่ นน้ อยทีส่ ุ ด กล่ าวคือมีความหนาแน่ นเพียง 0.7 กรัมต่ อลูกบาศก์ เซนติเมตร ซึ่งน้ อย กว่ าความหนาแน่ นของนา้ ดังนั้นหากมีนา้ จานวนมากรองรับ ดาวเสาร์ ก็ จะลอยนา้ ได้ เนื่องจากดาวเสาร์ อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 2 เท่ า ของระยะดาวพฤหัสบดีจากดวงอาทิตย์ จึงใช้ เวลานานเกือบ 30 ปี ในการ โคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ แต่ ดาวเสาร์ หมุนรอบตัวเองเร็วมาก จึงทา ให้ โป่ งออกทางด้ านข้ างมากกว่ าดาวเคราะห์ ดวงอื่น สามารถสั งเกตได้ แม้ ในภาพถ่ ายขนาดเล็ก


โลก(Earth) โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ เป็ นวงโคจรซึ่งใช้ เวลา 365.25 วัน เพื่อให้ ครบ 1 รอบ ปฏิทนิ แต่ ละปี มี 365 วัน ซึ่งหมายความว่ าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือใน แต่ ละปี ซึ่งทุก ๆ ปี สี่ ปีจะมีวนั พิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่ าวคือเดือน กุมภาพันธ์ จะมี 29 วัน แทนทีจ่ ะมี 28 วันเหมือนปกติ ตามทีเ่ คปเลอร์ ค้ นพบวงโคจรของโลกไม่ เป็ นวงกลม ในเดือนธันวาคมมันจะอยู่ใกล้ ดวง อาทิตย์ มากกว่ าเดือนมิถุนายน ซึ่งมันจะอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ มาก ทีส่ ุ ด โลกจะเอียงไปตามเส้ นแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไป ทางดวงอาทิตย์ ดงั นั้น ซีกโลกเหนือจะเป็ นฤดูร้อนและซีกโลกใต้ จะเป็ นฤดู หนาว ในเดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย์ ทาให้ ซีกโลกเหนือเป็ นฤดู หนาวและซีกโลกใต้ เป็ นฤดูร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้ง สองไม่ เอียงไปยังดวงอาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาวเท่ ากัน ใน เดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเป็ นฤดูใบไม้ ผลิ และซีกโลกใต้ เป็ นฤดูใบไม้ ร่ วง ในเดือนกันยายน สถานการณ์ จะกลับกัน โลกมีอายุประมาณ 4,700 ปี โลกไม่ ได้ มรี ู ปร่ างกลมโดยสิ้นเชิง เส้ น รอบวงทีเ่ ส้ นศูนย์ สูตรยาว 40,077 กิโลเมตร (24,903 ไมล์ )และทีข่ ั่วโลกยาว 40,009 กิโลเมตร (24,861 ไมล์ )


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.