การกระจายอำนาจ ประจำปี พ.ศ. 2561 : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

Page 1

สถาบั น พระปกเกล้ า

วิ ท ยาลั ย พั ฒ นาการปกครองท้ อ งถิ่ น สถาบั น พระปกเกล้ า


รายงานสถานการณ์ การกระจายอำนาจ ประจำปี พ.ศ. 2561: บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สถาบันพระปกเกล้า. รายงานสถานการณ์ การกระจายอำนาจ ประจำปี พ.ศ. 2561 : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น.-กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2562 199 หน้า 1. การกระจายอำนาจปกครอง. I. ชื่อเรื่อง. 352.283 ISBN : 978-616-476-062-2

รหัสสิ่งพิมพ์ของสถาบันพระปกเกล้า วปท. 62-45-600.0 เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 978-616-476-062-2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562 จำนวนพิมพ์ 600 เล่ม นางสาวเกวลี เพชรศรีชาติ,

ผู้เขียน รศ. ดร.อรทัย ก๊กผล นางสาวมนฤดี ทองกำพร้า นางอภิรมย์ สุวรรณชาติ จัดพิมพ์โดย สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 5 ฝั่งทิศใต้ เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพ 10210 http://www.kpi.ac.th พิมพ์ที่ บริษัท ซัน แพคเก็จจิ้ง (2014) จำกัด

1510/10 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท์ 02-913-2080 โทรสาร 02-913-2081 นางจรินพร เสนีวงศ์ ณ อยุธยา ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา


คำนำ

สถาบันพระปกเกล้า

นับเป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษที่ประเทศไทยได้ขับเคลื่อนการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น อย่างเป็นรูปธรรม ภายหลังจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายกับการปกครองท้องถิ่นไทย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการขยายออกไปอย่างกว้างขวาง

ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ การส่งเสริมคุณภาพ ชี วิ ต การจั ด ระเบี ย บชุ ม ชน ตลอดจนการส่ ง เสริ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรมในท้ อ งถิ่ น สิ่ ง เหล่ า นี้

ล้วนตอบสนองความต้องการของประชาชนและสามารถแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างทันท่วงที อันนำมาสู่คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชาชน จึงนับได้ว่า องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศตั้งแต่ระดับฐานราก

อีกทั้งยังเป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในความสนใจของสถาบันพระปกเกล้า ในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนา ประชาธิปไตยนั้น จึงมีความมุ่งมั่นให้ความสำคัญกับประเด็นเรื่องการพัฒนาประชาธิปไตย ท้องถิ่นและการกระจายอำนาจ ด้วยเชื่อว่า การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นมีความสำคัญ มากสำหรับการปูทางไปสู่รากฐานประชาธิปไตยในระดับประเทศ และยังเป็นหมุดหมาย สำคัญที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น

ได้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง โดยผ่ า นกลไกองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานในพื้ น ที่

ที่ทำงานใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด อีกทั้งยังเป็นกลไกสำคัญที่มาจากประชาชน ดำเนิน กิจการสาธารณะเพื่อประชาชน และกำกับดูแลโดยประชาชนอย่างแท้จริง สถาบันพระปกเกล้า จึงได้จัดทำหนังสือ “รายงานสถานการณ์การกระจายอำนาจ ประจำปี พ.ศ. 2561 : บทสำรวจความเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ” เพื่ อ รายงาน สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นที่เกิดขึ้นในช่วงปีที่ผ่านมา และ

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน ทั่วไป และผู้ที่สนใจในประเด็นความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น อันจะนำไปสู่การส่งเสริม

ให้ เ กิ ด การกระจายอำนาจสู่ ท้ อ งถิ่ น และการพั ฒ นาการปกครองท้ อ งถิ่ น ให้ เ ป็ น รากฐาน

ที่เข้มแข็งของการปกครองประเทศในระบอบประชาธิปไตยต่อไป (ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย) เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า

III


คำนำ

ผู้เขียน วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า ได้ริเริ่มจัดทำรายงานสถานการณ์

การกระจายอำนาจ (Decentalization report) ขึ้นเมื่อปี 2560 เป็นปีแรก เพื่อรายงานสถานการณ์ การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นที่เกิดขึ้น สำหรับในปีนี้ประเด็นสำคัญที่ได้ศึกษาและ

นำเสนอนั้ น เกี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษาระดั บ ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ รายงาน สถานการณ์การกระจายอำนาจที่เกิดขึ้น และสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น

ของประเทศในปั จ จุ บั น โดยหนั ง สื อ เล่ ม นี้ จ ะเป็ น การรวบรวมความรู้ แ ละข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ค้ น พบจาก

การสำรวจระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ตลอดจนรายงานสถานการณ์การกระจายอำนาจผ่านข้อมูล

เชิงสถิติที่เกิดขึ้นกับการปกครองท้องถิ่นในช่วงเวลากว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา โดยในส่วนที่ 1 ว่าด้วยเรื่อง ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตย ท้องถิ่นไทย ซึ่งในส่วนนี้จะเป็นการฉายให้เห็นภาพรวมความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ผ่านการศึกษา สำรวจระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นของสถาบันพระปกเกล้า เริ่มต้นจากการตั้งคำถามว่า ประชาธิปไตย คื อ อะไร? เหตุ ใ ดการปกครองท้ อ งถิ่ น จึ ง มี ค วามสำคั ญ สำหรั บ การวางรากฐานประชาธิ ป ไตยของ ประเทศ? แล้วเราจะศึกษาประชาธิปไตยท้องถิ่นกันอย่างไร สุดท้ายนี้ประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมานั้น ได้กลายเป็นความจริงแล้ว หรือยังคงเป็นเพียงภาพฝันต่อไป ซึ่งในส่วนนี้จะช่วยให้ผู้อ่านได้เห็นภาพรวม ของประชาธิปไตยท้องถิ่น และยังช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจประชาธิปไตยท้องถิ่นในฐานะกลไกหนึ่งในการ

ขับเคลื่อนไปสู่รากฐานประชาธิปไตยในระดับประเทศ ต่ อ มาในส่ ว นที่ 2 ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง สถิ ติ แ ละข้ อ มู ล : สถานการณ์ ก ารกระจายอำนาจและ การปกครองท้องถิ่นไทย ในส่วนนี้จะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์ข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำนักงาน คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานศาลปกครอง สำนักงาน คณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ สำนั ก งานคณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และสำนักงานการตรวจเงิน

แผ่นดิน โดยประกอบไปด้วย ข้อมูลด้านโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น การเมืองท้องถิ่น อำนาจหน้าที่ รายได้ การบริหารงานบุคคล รวมถึงสถานการณ์ด้านธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ซึ่งในส่วนนี้จะช่วยให้ผู้อ่านมองเห็นทิศทางและแนวโน้มสถานการณ์การกระจายอำนาจผ่านข้อมูลสถิติ และตัวเลขต่างๆ ซึ่งต่อไปในอนาคต ข้อมูลสถิติในส่วนนี้จะกลายเป็นฐานข้อมูลด้านการกระจายอำนาจ และการปกครองท้องถิ่นที่สำคัญของประเทศ สุ ด ท้ า ยนี้ ห วั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ แ ก่ ผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นที่ ส นใจเรื่ อ ง

การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นการพัฒนาประชาธิปไตย

ในระดับท้องถิ่น โดยสถาบันพระปกเกล้า เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ประชาธิปไตยท้องถิ่นจะไม่ใช่แค่

ความฝันอีกต่อไป หากแต่เป็นความจริงทีเ่ รากำลังช่วยกันสร้างและจะช่วยกันผลักดันต่อไปได้อย่างสำเร็จ วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า

IV

สถาบันพระปกเกล้า


สารบัญ

หน้า

คำนำสถาบันพระปกเกล้า

III

คำนำผู้เขียน

IV

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย 1 1. ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย 3 2. โจทย์ประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 5 พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบัน 3. การวัดระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น : กรอบความคิดและการสำรวจ 11 3.1 ประชาธิปไตย 11 3.2 ประชาธิปไตยท้องถิ่น 13 3.3 วิธีการวัดระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น 16 4. ประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย : ฝันที่เป็นจริง 21 4.1 ประชาธิปไตยในองค์การบริหารส่วนจังหวัด 24 4.2 ประชาธิปไตยในเทศบาล 25 4.3 ประชาธิปไตยในองค์การบริหารส่วนตำบล 29 5. ประชาธิปไตยท้องถิ่น : ระดับความเป็นสถาบัน 30 5.1 ความเป็นท้องถิ่น 4.0 32 5.2 ขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 34 5.3 วาระการดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น 34 6. ประชาธิปไตยท้องถิ่น : ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน 36 6.1 การรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และรับผิดชอบของประชาชน 37 6.2 การติดตามข้อมูลข่าวสารของประชาชน 38 6.3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 39 7. ประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย : ก้าวย่างต่อไปในอนาคต 40 ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ด้านโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น 1. จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1 ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามพื้นที่ที่ดูแลรับผิดชอบ

43 46 46 51 51

สถาบันพระปกเกล้า


2.2 ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามจำนวนประชากร 2.3 ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามความหนาแน่นของประชากร 3. การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการเมืองท้องถิ่น 1. จำนวนนายกฯ (อบจ. เทศบาล และอบต.) เพศชายและเพศหญิง 2. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งท้องถิ่น 2.1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น 2.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านภารกิจอำนาจหน้าที่ ด้านรายได้ 1. รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้สูงสุด-ต่ำสุด 3. รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามแหล่งรายได้ 3.1 รายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง 3.2 รายได้รัฐบาลจัดสรรให้ 3.3 รายได้จากเงินอุดหนุน ด้านการบริหารงานบุคคล 1. จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามเพศ 3. จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามประเภทตำแหน่ง 4. จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามกลุ่มตำแหน่ง สถานการณ์ด้านธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดย สตง. 1.1 เรื่องร้องเรียน 1.2 เรื่องตรวจสอบสืบสวน 2. สถิติเรื่องร้องเรียนและการชี้มูลความผิด โดย ป.ป.ช. 2.1 เรื่องร้องเรียน 2.2 เรื่องชี้มูลความผิด 3. สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดย ป.ป.ท. 3.1 เรื่องร้องเรียน 3.2 เรื่องชี้มูลความผิด 4. สถิติเรื่องร้องเรียนและชี้มูลความผิด โดยสำนักงานศาลปกครอง 4.1 คดีที่มีการยื่นฟ้ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อศาลปกครอง 4.2 เรื่องที่ฟ้อง ด้านความพึงพอใจต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ประชาชน 2. ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการใช้บริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น VI

สถาบันพระปกเกล้า

57 67 72 72 73 74 74 75 76 87 87 90 99 103 113 123 132 132 133 134 136 137 137 137 140 141 141 143 143 143 145 145 145 147 148 148 150


3. การร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น =สถานการณ์ด้านการได้รับรางวัลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. รางวัลของสถาบันพระปกเกล้า 2. รางวัลของสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. รางวัลของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

152 153 153 155

บรรณานุกรม

160

ภาคผนวก รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ๏ กลุ่มประชากรเป้าหมาย ๏ เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ ๏ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๏ การวิเคราะห์ข้อมูล

163 165 165 165 180 180

156

สถาบันพระปกเกล้า

VII


สารบัญ

แผนภาพ แผนภาพที่ 1-1 1-2 1-3 1-4 1-5 1-6 1-7 1-8 1-9 1-10 1-11 1-12 1-13 1-14 1-15 1-16 1-17 1-18 1-19 1-20 1-21 1-22 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 VIII

หน้า

สรุปเหตุการณ์สำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 สรุปเหตุการณ์สำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 (ต่อ) สรุปเหตุการณ์สำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 (ต่อ) องค์ประกอบย่อยในมิติความเป็นสถาบันกับมิติการมีส่วนร่วมของประชาชน แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นในภาพรวม แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น จำแนกตามประเภทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในมิติความเป็นสถาบันและมิติการมีส่วนร่วม ของประชาชน แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในองค์การบริหารส่วนจังหวัด แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลนคร แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลเมือง แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลตำบล แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นในภาพรวมของเทศบาล แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในแต่ละประเภทเทศบาล แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในองค์การบริหารส่วนตำบล แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นในภาพรวม มิติความเป็นสถาบัน ช่องทางการสื่อสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใช้ในการสื่อสารกับประชาชน พัฒนาการการสือ่ สารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ กับประชาชนตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นในภาพรวม แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นในภาพรวม มิติการมีส่วนร่วมของประชาชน แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น มิติการมีส่วนร่วมของประชาชน แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น มิติการมีส่วนร่วมของประชาชน กิจกรรมที่ประชาชนดำเนินการต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

8 9 10 15 21 22 23

จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2561 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกเป็นรายจังหวัด แสดงสถิติจังหวัดที่มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง แสดงสถิติจังหวัดที่มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง

47 48 49 50 51 52

สถาบันพระปกเกล้า

25 26 26 27 28 28 29 31 33 33 35 36 37 38 39


แผนภาพที่ 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21 2-22 2-23 2-24 2-25 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-31 2-32 2-33 2-34 2-35 2-36 2-37

หน้า

แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลนครที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง 52 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง 53 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลเมืองที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง 53 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลเมืองที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง 54 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลตำบลที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง 54 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลตำบลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง 55 แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง 55 แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง 56 แสดงจำนวนประชากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง 57 แสดงจำนวนประชากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง 58 แสดงจำนวนเทศบาลนครที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง 59 แสดงจำนวนเทศบาลนครที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง 60 แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลเมืองที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง 61 แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลเมืองที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง 62 แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลตำบลที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง 63 แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลตำบลที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง 64 แสดงจำนวนประชากรขององค์การบริหารส่วนตำบลที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง 65 แสดงจำนวนประชากรขององค์การบริหารส่วนตำบลที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง 66 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 67 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 67 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลนครที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 68 10 แห่ง แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลนครที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 68 10 แห่ง แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลเมืองที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 69 10 แห่ง แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลเมืองที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 69 10 แห่ง แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลตำบลที่หนาแน่นมากที่สุด 70 10 แห่ง แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลตำบลที่หนาแน่นน้อยที่สุด 70 10 แห่ง แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล 71 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล 71 การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 72 จำนวนนายกฯ (อบจ. เทศบาล และอบต.) เพศชายและเพศหญิง ปี พ.ศ. 2557 73 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น 74 สถาบันพระปกเกล้า

IX


แผนภาพที่ 2-38 2-39 2-40 2-41 2-42 2-43 2-44 2-45 2-46 2-47 2-48 2-49 2-50 2-51 2-52 2-53 2-54 2-55 2-56 2-57 2-58 2-59 2-60 2-61 2-62 2-63 2-64 2-65 2-66 2-67 2-68 2-69 2-70 2-71 2-72

หน้า

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น 74 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิสมาชิกสภาท้องถิ่นสูงสุด 10 ลำดับแรก 75 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิสมาชิกสภาท้องถิ่นต่ำสุด 10 ลำดับแรก 76 จำนวนภารกิจที่ต้องถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ 76 ฉบับที่ 1 จำนวนภารกิจที่ต้องถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ 84 ฉบับที่ 2 รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2561 87 แสดงการเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับรายได้ของรัฐ 88 เปรียบเทียบรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาล 89 สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทในปี พ.ศ. 2559 90 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 91 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 91 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 92 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 92 เทศบาลที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 93 เทศบาลที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 93 เทศบาลนครที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 94 เทศบาลนครที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 94 เทศบาลเมืองที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 95 เทศบาลเมืองที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 96 เทศบาลตำบลที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 96 เทศบาลตำบลที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 97 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรก 98 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรก 98 โครงสร้างประเภทรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย 100 เปรียบเทียบรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกตามประเภทรายได้ 102 รายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเองปี พ.ศ. 2551-2560 103 สัดส่วนรายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทจัดเก็บเอง ปี พ.ศ. 2559 104 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 105 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 106 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ที่จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 107 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 107 เทศบาลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 108 เทศบาลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 108 เทศบาลนครที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 109 เทศบาลนครที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 109

สถาบันพระปกเกล้า


แผนภาพที่

หน้า

2-73 เทศบาลเมืองที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-74 เทศบาลเมืองที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-75 เทศบาลตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-76 เทศบาลตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-77 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-78 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-79 รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รัฐบาลจัดสรรให้ พ.ศ. 2551 – 2561 2-80 สัดส่วนรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท 2-81 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-82 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-83 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-84 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-85 เทศบาลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-86 เทศบาลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-87 เทศบาลนครที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-88 เทศบาลนครที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-89 เทศบาลเมืองที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-90 เทศบาลเมืองที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-91 เทศบาลตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-92 เทศบาลตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-93 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-94 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-95 รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากเงินอุดหนุน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 – 2560 2-96 สัดส่วนรายได้จากเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท 2-97 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-98 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-99 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-100 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-101 เทศบาลที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-102 เทศบาลที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-103 เทศบาลนครที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-104 เทศบาลนครที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-105 เทศบาลเมืองที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-106 เทศบาลเมืองที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-107 เทศบาลตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก 2-108 เทศบาลตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-109 องค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรก

110 110 111 111 112 113 113 114 115 116 117 117 118 118 119 119 120 120 121 121 122 122 123 124 125 125 126 126 127 127 128 128 129 129 130 130 131

สถาบันพระปกเกล้า

XI


XII

แผนภาพที่

หน้า

2-110 องค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก 2-111 จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2-112 จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2-113 ภาพรวมกำลังคนภาครัฐส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 – 2560 2-114 จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามประเภทตำแหน่ง 2-115 จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามกลุ่มตำแหน่ง 2-116 สถิติการรับเรื่องร้องเรียนจำแนกตามประเภทหน่วยงาน ปี พ.ศ. 2561 2-117 จำนวนเรื่องร้องเรียนต่อสตง. จำแนกตามประเภทหน่วยงานปี พ.ศ. 2551-2560 2-118 จำนวนเรื่องตรวจสอบสืบสวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย สตง. 2-119 จำนวนเรื่องตรวจสอบสืบสวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท โดย สตง. 2-120 สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช. 2- 121 สถิติจำนวนเรื่องร้องเรียนทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช. 2-122 สถิติเรื่องร้องเรียนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช. 2-123 จำนวนเรื่องชี้มูลความผิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาก ป.ป.ช. 2-124 จำนวนเรื่องร้องเรียนกล่าวหาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ท. 2-125 จำนวนเรื่องร้องเรียนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทต่อ ป.ป.ท. 2-126 จำนวนเรื่องชี้มูลความผิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย ป.ป.ท. 2-127 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น 2-128 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น 2-129 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น จำแนกตามประเภทเรื่องที่ฟ้อง 2-130 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณะ 2-131 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการบริการสาธารณะที่ต้องการให้รัฐปฏิรูป 2-132 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2-133 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการให้บริการ 2-134 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพระปกเกล้า ปี พ.ศ. 2550 – 2561 2-135 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำ 2-136 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2-137 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น 2-138 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดี 2-139 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 – 2560

131 132 133 134 135 136 138 139 140 140 141 142 142 143 144 144 145 146 146 147 149 150 151 152 154 155 156 157 158 159

สถาบันพระปกเกล้า


ส่วนที่ 1

ประชาธิปไตยท้องถิ่น:

: บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย



1. ประชาธิปไตยท้องถิ่น:

บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย ทุกวันนี้การพูดถึงคำว่า ประชาธิปไตยท้องถิ่น หรือ Local Democracy ได้กลายเป็น เรื่องที่สำคัญสำหรับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพราะหากจะพัฒนาประชาธิปไตย ในระดับประเทศให้ก้าวหน้าได้นั้น จะต้องเริ่มจากการวางรากฐานการพัฒนาประชาธิปไตย

ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น เสี ย ก่ อ น โดยยึ ด หลั ก การกระจายอำนาจและมุ่ ง เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่การเลือกตั้ง การประท้วง การถอดถอน หรือการเรียกร้องเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ครอบคลุมไปถึง

การมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมสร้างสรรค์ท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้า เมื่ อ การปกครองท้ อ งถิ่ น เป็ น เรื่ อ งของระบบการเมื อ ง จึ ง ไม่ ส ามารถปฏิ เ สธได้ ว่ า

การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นสิ่งที่สำคัญในระบอบประชาธิปไตยท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลักการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีความเป็นอิสระและสามารถ ปกครองตนเองได้ หรืออาจกล่าวได้ว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญ อันจะนำไปสู่การพัฒนาการเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยในระดับประเทศ เพราะการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้นเป็นเสมือนตัวชี้วัดหนึ่งที่สามารถบ่งชี้ได้ว่า การพัฒนา ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ที่ ผ่ า นมานั้ น ประสบความสำเร็ จ หรื อ ความล้ ม เหลว หรื อ เป็ น เพี ย ง สัญลักษณ์ของหลักการที่สวยหรูเท่านั้น ดังนั้นการส่งเสริมให้เกิดประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น จึงเป็นเรื่องที่สำคัญมาก แล้วเหตุใดการปกครองท้องถิ่นจึงมีความสำคัญสำหรับการวางรากฐานประชาธิปไตย ของประเทศ? คำตอบก็เพราะว่า... î การปกครองท้ อ งถิ่ น

คื อ รากฐานของการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย

เนื่องจากการปกครองท้องถิ่นเปรียบเสมือนโรงเรียนฝึกสอนรูปแบบการปกครองในระบอบ ประชาธิ ป ไตยให้ แ ก่ ป ระชาชน เพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ เรี ย นรู้ แ ละฝึ ก ฝนทั ก ษะประชาธิ ป ไตย

อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้การเลือกตั้งในระดับท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นด่านแรก สำหรับประชาชนในการเรียนรู้และใช้ดุลยพินิจเลือกตัวแทนที่มีความเหมาะสมเข้าไปทำหน้าที่ บริ ห ารท้ อ งถิ่ น แทนประชาชน จากนั้ น ประชาชนจะได้ เรี ย นรู้ เรื่ อ งสิ ท ธิ หน้ า ที่ และความ

รับผิดชอบในฐานะพลเมืองของท้องถิ่นนั้น ซึ่งทั้งหมดนี้จะเป็นการปูทางไปสู่การเรียนรู้ระบอบ ประชาธิปไตยในระดับประเทศต่อไป î การปกครองท้องถิน ่

คือเวทีสำหรับการสร้างผูน้ ำทางการเมืองในอนาคต เนือ่ งจาก

การเมืองในระดับท้องถิ่นเป็นเวทีการเมืองขนาดเล็กที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่มีความสนใจการเมือง

ได้ แ สดงศั ก ยภาพและเรี ย นรู้ ค วามเป็ น นั ก การเมื อ ง ซึ่ ง การได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น ผู้ น ำทาง

การเมืองในระดับท้องถิ่นจะช่วยฝึกฝนให้ผู้ที่ได้รับคัดเลือก สามารถเรียนรู้ทักษะการบริหาร การเป็นผู้นำ และความเชี่ยวชาญทางการเมือง ปัจจุบันมีผู้นำท้องถิ่นจำนวนมากที่สามารถ

ก้าวไปสู่เวทีการเมืองระดับประเทศได้สำเร็จ จนกลายเป็นนักการเมืองที่มีชื่อเสียงในระดับ ประเทศ สถาบันพระปกเกล้า


คือช่องทางสำหรับประชาชนในการเรียนรู้รูปแบบการปกครองตนเอง

เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า หัวใจสำคัญประการหนึ่งของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ก็คือ การปกครอง ตนเอง หรือ self-government เป็นการปกครองที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตามวิถีทางประชาธิปไตย ซึ่งการปกครองตนเองไม่ใช่หมายถึงการแบ่งแยกดินแดน แต่เป็นเพียงการกระจายอำนาจรัฐส่วนกลางไปให้ 3 ท้องถิ่น ให้อำนาจแก่ประชาชน ในการจัดการดูแลบ้านเกิดของตนเอง มีอิสระในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ

ตนเองไม่ ใช่หมายถึ งการแบ่งแยกดิ นแดน เป็นเพีานเกิ ยงการกระจายอ านาจรั ฐส่วนกลางไปให้ท้องถิ่น ให้อานาจแก่ ที่เป็นประโยชน์ สาธารณะเพื ่อพัฒนาท้ องถิแต่ ่นและบ้ ดของตนเองได้ ประชาชน ในการจัดการดูแลบ้านเกิดของตนเอง มีอิสระในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์สาธารณะเพื่อ î การปกครองท้องถิ่น คือวิธีการหนึ่งในการแบ่งเบาภาระของรัฐบาล เนื่องจากรัฐบาลไม่สามารถ

พัฒนาท้องถิ่นและบ้านเกิดของตนเองได้ ตอบสนองความต้ อ งการของประชาชนในท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง อี ก ทั้ ง ในแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น ก็ มี ปั ญ หาและ

 การปกครองท้ อ งถิ่น คือวิธี การหนึ่งในการแบ่ งเบาภาระของรั ฐ บาล เนื่องจากรัฐ บาลไม่ส ามารถ ความต้องการที่แตกต่างกันไป การแก้ปัญหาของรัฐโดยใช้วิธีการเดียวกันในทุกพื้นที่ย่อมส่งผลเสียและ

ตอบสนองความต้ งการของประชาชนในท้ างทั่วถึง อีกทั้งในแต่ละท้องถิ่นก็ปมัญ ีปัญหาและตอบสนอง หาและความต้องการ ไม่สามารถแก้ปัญอหาได้ อย่างตรงจุด อีกทั้งอยังถิ งต้่นอได้ งใช้องย่บประมาณจำนวนมากในการแก้ ทีความต้ ่แตกต่าองกั นไป การแก้ปัญหาของรั วิธีการเดียวกัอนงถิ ในทุ่นจึกงพืเป็้นนทีวิ่ยธ่อีกมส่ งผลเสี และไม่ ปัญหาได้ งการของประชาชนทุ กพื้นทีฐ่ โดยใช้ ดังนั้นการปกครองท้ ารหนึ ่งที่จยะช่ วยแบ่สงามารถแก้ เบาภาระของ อย่ งตรงจุโดยการกระจายอำนาจไปให้ ด อีกทั้งยังต้องใช้งบประมาณจานวนมากในการแก้ ปัญหาและตอบสนองความต้ งการของประชาชนทุ ท้ อ งถิ่ น บริ ห ารจั ด การ เพราะประชาชนในท้ อองถิ ่ น ย่ อ มรู้ ปั ญ หา ก รั ฐาลงได้ พืความต้ ้นที่ ดังอนังการได้ ้นการปกครองท้ งถิ่นจึงเป็ นวิธีการหนึ ่งที่จะช่วยแบ่องงถิเบาภาระของรั านาจไปให้ ดีกว่ารัฐอการให้ อำนาจแก่ ประชาชนในท้ ่นดำเนินการจึฐลงได้ งเป็นวิโดยการกระจายอ ธีการที่เหมาะสมที ่สุด

ท้รัอฐงถิ ่นบริาหทีารจั การบเพราะประชาชนในท้ ่นย่อมรู ทำหน้ ่เพียดงสนั สนุนส่งเสริมการดำเนิอนงถิงานเท่ านั้ป้นัญ หาความต้องการได้ดีกว่ารัฐ การให้อานาจแก่ประชาชน ในท้องถิ่นดาเนินการจึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุด รัฐทาหน้าที่เพียงสนับสนุนส่งเสริมการดาเนินงานเท่านั้น î การปกครองท้องถิ่น คือวิถีทางในการเรียนรู้ระบบการเมืองการปกครองของประชาชน เพราะ

 การปกครองท้ ่น เคืกิอดวิการมี ถีทางในการเรี ้ระบบการเมือองการปกครองของประชาชน เพราะการ การปกครองท้ องถิ่นจะช่อวงถิยให้ ส่วนร่วมในกิยจนรูกรรมทางการเมื งของประชาชน ทำให้ประชาชนเกิ ด ปกครองท้ ่นจะช่​่ยวผู วยให้ ส่วนร่วมในกิ ระชาชนเกิ ความรู้สึกอยึงถิดเหนี กพัเนกิกัดบการมี ระบบการเมื องท้จอกรรมทางการเมื งถิ่น เกิดความรูอ้สงของประชาชน ึกว่าการเมืองเป็ทนาให้ เรื่อปงใกล้ ตัว เป็นดเรืความรู ่อง ้สึก ยึทีด่เเหนี ่ยวผูองกั กพับนตนเองในชี กับระบบการเมื องท้องถิ ดความรู้สึกว่าการเมื องเป็นเรือ่อมงใกล้ ัว เป็นเรื่อ่คงที เ่ กี่ย้สวข้ึกทีองกั บตนเอง กี่ยวข้ วิตประจำวั นไม่​่น วเกิ่าจะโดยทางตรงหรื อโดยทางอ้ อันตจะนำไปสู วามรู ่อยาก ในชี วิตประจ าวันาไม่ ว่าสจะโดยทางตรงหรื อโดยทางอ้อมองในระดั อันจะนาไปสู ้สึกที่อยากจะพาตัวอเองเข้ ่วนร่วม จะพาตั วเองเข้ ไปมี ่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมื บท้อ่คงถิวามรู ่น ตลอดจนการกระตื รือร้นาอุไปมี ทิศสตน

เพื่อจทำประโยชน์ แก่สอ่วงในระดั นรวมต่บอไป ่น ตลอดจนการกระตือรือร้นอุทิศตนเพื่อทาประโยชน์แก่ส่วนรวมต่อไป ในกิ กรรมทางการเมื ท้องถิ กล่าาวได้ วได้วว่า่าการปกครองท้ การปกครองท้อองถิงถิ่น่นมีมีคความสำคั วามสาคัญญมากสำหรั มากสาหรับการปู บการปู ทางเพื นรากฐานประชาธิ ปไตยใน จึจึงงกล่ ทางเพื ่อเป็่อเป็ นรากฐานประชาธิ ปไตย ระดั บประเทศ อีกทัอี้งกยังทัเป็้งยันงหมุ าคัญที่จะท เกิดการเรี ยนรู้และการมี ส่วนร่วสมของประชาชนในท้ องถิ่นได้ บประเทศ เป็นดหมายส หมุดหมายสำคั ญทีาให้ ่จะทำให้ เกิดการเรี ยนรู้และการมี ่วนร่วมของประชาชน

ในระดั อย่ างกว้ องถิ่น ซึ่งเป็วนท้ นหน่ วยงานในพื ที่ทวี่ทยงานในพื างานใกล้​้นชทีิด่ทกัี่ทบำงาน ประชาชน ในท้ องถิางขวาง ่นได้อย่โดยผ่ างกว้าานกลไกองค์ งขวาง โดยผ่กรปกครองส่ านกลไกองค์วนท้ กรปกครองส่ องถิ ่น ซึ่งเป็น้นหน่ มากที กทั้งยั งเป็ น กลไกที นกิจการสาธารณะเพื ่ อประชาชน และก ากับดูแลโดย ใกล้ช่สิดุ ดกับอีประชาชนมากที ่สุด อี่ มกาจากประชาชน ทั้งยังเป็นกลไกทีด่มาเนิ าจากประชาชน ดำเนินกิจการสาธารณะเพื ่อประชาชน ประชาชนอย่ งแท้จริง และกำกับดูแาลโดยประชาชนอย่ างแท้จริง

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

î การปกครองท้องถิ่น

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

2. โจทย์ประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย :

จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบนั คนทั่ ว ไปมั ก จะตั้ ง คำถามกั น ว่ า ทุ ก วั น นี้ ก ารพั ฒ นาประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ที่ ผ่ า นมาได้ พั ฒ นา ประชาธิ ป ไตยไทยหรื อ ไม่ ? ก่ อ นที่ จ ะตอบคำถามนี้ อ ยากจะชวนผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นนั่ ง ไทม์ แ มชชี น ย้ อ นมอง ประชาธิปไตยไทยกัน

สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญฯ ปี 40 ฉบับนี้จะพบว่ามีหลายส่วนที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของ ประชาชน นั บ ตั้ ง แต่ ก ระบวนการจั ด ทำร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนได้ เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม

ผ่านตัวแทนแต่ละจังหวัด อีกทั้งยังพบว่าในบทบัญญัติที่มีการแก้ไขเพิ่มเติมยังได้กำหนดเป็นหลักการไว้ว่า การจัดทำรัฐธรรมนูญจะต้องคำนึงถึงความคิดเห็นของประชาชนเป็นสำคัญ จึงนับได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ ของไทยในการจัดทำรัฐธรรมนูญที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ประเด็นที่สำคัญของรัฐธรรมนูญฯ ปี 40 อีกประการหนึ่งคือ เรื่องการปกครองท้องถิ่น

และการกระจายอำนาจ ซึ่งหากเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญฉบับอื่นแล้วนั้น จะพบว่ารัฐธรรมนูญฯ ปี 40

มี เจตนารมณ์ ที่ ชั ด เจนอย่ า งมากในการกระจายอำนาจสู่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ดั ง จะเห็ น ได้ จ าก

การกำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน และกำหนดให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินงานอย่างอิสระทั้งในเรื่องการบริหารงานบุคคล การคลัง การจัด บริการสาธารณะ และการกำหนดนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น รวมไปถึงการจัดทำกฎหมายกำหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อันสะท้อนให้เห็นถึงเจตนารมณ์

ในการกระจายอำนาจอย่างชัดเจน ดังความในมาตรา 284 วรรค 2 ความว่า “การกำหนดอำนาจและหน้าที่ ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเองให้เป็นไปตาม ที่กฎหมายบัญญัติ โดยคำนึงถึงการกระจายอำนาจเพิ่มขึ้นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสำคัญ”1

จึงนับได้ว่าการพัฒนาประชาธิปไตยไทยภายใต้รัฐธรรมนูญฯ ปี 40 เป็นยุคทองของการพัฒนาประชาธิปไตย ท้องถิ่นอย่างแท้จริง

1

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 284 วรรค 2 สถาบันพระปกเกล้า

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ประเทศไทยได้ดำเนินนโยบายกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมานานกว่า 2 ทศวรรษ แต่หากสิ่งหนึ่ง

ที่เราพบเห็นได้อย่างชัดเจน คือ ประชาธิปไตยไทยที่ผ่านมานั้นไม่ได้มีความคงเส้นคงวา แต่กลับมีลักษณะ ขึ้นๆ ลงๆ แตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย อีกทั้งยังพบว่าบ่อยครั้งได้เกิดกระแสเรียกร้องให้ปฏิรูปการเมือง การปกครอง ทำให้เส้นทางประชาธิปไตยไทยที่ผ่านมาจึงไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ มิหนำซ้ำยังเผชิญกับ วิ ก ฤติ ค วามขั ด แย้ ง ในสั ง คมไทยมาโดยตลอด สิ่ ง เหล่ า นี้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความไม่ มั่ น คงของรากฐาน ประชาธิ ป ไตยไทยที่ สั่ ง สมมาอย่ า งยาวนาน นั บ ตั้ ง แต่ ก ารเปลี่ ย นแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข จนกระทั่งภายหลังจาก เหตุการณ์พฤษภาทมิฬเมื่อปี พ.ศ. 2535 ได้เกิดกระแสให้มีการปฏิรูปการเมืองอย่างเข้มข้ม มีการเคลื่อนไหว ทางการเมื อ งของกลุ่ ม ผู้ ชุ ม นุ ม จนนำมาสู่ ค วามรุ น แรงและความขั ด แย้ ง อี ก ทั้ ง ผลที่ ต ามมาทำให้ เ กิ ด

การผลักดันไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ถูกขนานนามว่าเป็น ‘รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน’ หรือ

ที่เรียกโดยทั่วไปว่า “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540”


ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

จนกระทั่งในช่วงเวลาต่อมา ประเทศไทยกลับมาประสบปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองอีกครั้ง

เกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลจนทำให้ขาดเสถียรภาพในการบริหารประเทศ ส่งผลต่อการพัฒนาประชาธิปไตย ท้ อ งถิ่ น ให้ เข้ า สู่ ยุ ค ถดถอยอี ก ครั้ ง จนนำมาสู่ “รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ. 2550” สาระสำคัญตามรัฐธรรมนูญได้เพิ่มบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความชัดเจนมากขึ้นในฐานะ องคาพยพที่สำคัญของการพัฒนาประเทศในด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ศาสนา สังคม สาธารณสุข

การศึกษา และวัฒนธรรม ดังความในมาตรา 78(2) ว่า “รัฐจะต้องจัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าค และส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ มี ข อบเขตอำนาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ชั ด เจนเหมาะสมแก่

การพัฒนาประเทศ และสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในพื้นที่” 2 อีกทั้งในมาตรา 80(4) ยังระบุว่า “รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนการกระจายอำนาจให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน องค์กรทางศาสนา และเอกชน โดยจัดให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เท่าเทียมและสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ” 3 จากบทบัญญัติ

ดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นความสำคัญของการยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีฐานะเท่าเทียมกับ หน่วยงานราชการอื่นๆ และส่งเสริมประชาธิปไตยผ่านการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นให้เกิดขึ้นจริง แม้ว่าเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฯ ปี 50 จะมีความพยายามในการสานต่อการพัฒนาประชาธิปไตย ท้องถิ่นผ่านการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในหลายประเด็น แต่ก็ไม่สามารถผลักดัน

การกระจายอำนาจในภาพรวมของประเทศได้สำเร็จ ทำให้การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นไม่สามารถ

ดำเนินรอยตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญได้อย่างแท้จริง จนกระทั่งช่วงปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบันยังคงเกิดกระแสเรียกร้องจากหลายภาคส่วนในสังคม

ให้การปฏิรูปประเทศไทยครั้งใหม่ สามารถผลักดันประชาธิปไตยท้องถิ่นและการกระจายอำนาจให้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่ ซึ่งประเด็นการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นได้ถูกระบุ เข้ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในประเด็ น การปฏิ รู ป ประเทศ ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากการเสนอร่ า งกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ

การกระจายอำนาจ การปกครองท้องถิ่น และการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จนนำมาสู่

การคลอด “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560” ที่มีบทบัญญัติที่สำคัญเกี่ยวกับการกระจาย อำนาจและการปกครองท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง ปรากฎอยู่ ใ นหมวด 6 ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งแนวนโยบายแห่ ง รั ฐ มาตรา 76

ความว่า “รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และ หน่วยงานอื่นของรัฐ ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยหน่วยงานรัฐทุกหน่วยจะต้อง ร่วมมือและช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่... เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน” 4 อี ก ทั้ ง ยั ง ระบุ ใ นหมวด 14 ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งการปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี ป ระเด็ น สำคั ญ

หลายประการ ได้แก่ การจัดบริการสาธารณะ การจัดสรรงบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสิทธิของประชาชนในการเข้าชื่อถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78(2) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 80(4) 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 76 2 3

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารัฐจะพยายามพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นมาโดยตลอด แต่เหตุใดจึงไม่สามารถ พัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นไทยให้เห็นได้ชัดเจนอย่างเป็นรูปธรรม การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมา นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญฯ ปี 40 จนถึงปัจจุบันได้ก้าวไปสู่จุดใด พัฒนาได้จริงหรือไม่ หรือแท้จริงแล้วเป็นเพียง แค่ ค วามฝั น เท่ า นั้ น ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง นำมาสู่ ค วามสนใจศึ ก ษาระดั บ ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง จะกล่ า วถึ ง

รายละเอียดในส่วนต่อไป

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

สถาบันพระปกเกล้า


สถาบันพระปกเกล้า

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสถานการณ์การกระจายอำนาจ ปี 2560, หน้า 37-39.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสถานการณ์การกระจายอานาจ ปี 2560, หน้า 37-39.

แผนภาพที ่ 1-1 สรุปปไตยท้ เหตุกอารณ์ ญในการพั ฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 แผนภาพที่ 1-1 สรุปเหตุการณ์สำคัญในการพั ฒนาประชาธิ งถิ่นสปีาคัพ.ศ. 2540-2560

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์7


ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ที่มา: วิทยาลัทีย่มพัา:ฒวินาการปกครองท้ องถิ่น สถาบั า, รายงานสถานการณ์ การกระจายอำนาจ ปี 2560, หน้าหน้37-39. ทยาลัยพัฒนาการปกครองท้ องถินน่ พระปกเกล้ สถาบันพระปกเกล้ า, รายงานสถานการณ์ การกระจายอานาจ ปี 2560, า 37-39.

แผนภาพที่ 1-2 สรุปเหตุการณ์สำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 (ต่อ) แผนภาพที่ 1-2 สรุปเหตุการณ์สาคัญในการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 (ต่อ)

8

รายงานสถานการณ์

สถาบันพระปกเกล้า


10

สถาบันพระปกเกล้า

ที่มา: วิทยาลัทีย่มพัา:ฒวินาการปกครองท้ องถิ่น สถาบั า, รายงานสถานการณ์ การกระจายอำนาจ ปี 2560, หน้าหน้37-39. ทยาลัยพัฒนาการปกครองท้ องถินน่ พระปกเกล้ สถาบันพระปกเกล้ า, รายงานสถานการณ์ การกระจายอานาจ ปี 2560, า 37-39.

แผนภาพที่ 1-3 สรุปเหตุการณ์สำคัญแผนภาพที ในการพัฒ่ นาประชาธิ ปไตยท้ พ.ศ. 2540-2560 ) องถิ่น ปี พ.ศ. 2540-2560 (ต่อ) 1-3 สรุปเหตุ การณ์อสงถิาคั่นญปีในการพั ฒนาประชาธิ(ต่ปอไตยท้

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

9


3.1 ประชาธิปไตย

คำว่ า ประชาธิ ป ไตย มาจากศั พ ท์ ภ าษาอั ง กฤษคำว่ า Democracy ซึ่ ง มี ร ากศั พ ท์ ม าจากภาษา

กรีกโบราณ คือ คำว่า Demo (หมายถึงประชาชน) + คำว่า Kratos (หมายถึงอำนาจปกครอง) เมื่อรวมกัน แล้วเป็นคำว่าประชาธิปไตยที่มีความหมายถึง การปกครองที่ประชาชนเป็นผู้มีอำนาจปกครองผ่านการ

เลื อ กตั้ ง ผู้ แ ทนให้ เข้ า ไปทำหน้ า ที่ แ ละใช้ อ ำนาจแทนประชาชน นอกจากนี้ ยั ง มี นั ก วิ ช าการจำนวนมาก

ได้ให้ความหมายประชาธิปไตยไว้อย่างหลากหลาย ดังเช่น Eremenko ได้อธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็น

รูปแบบที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเลือกผู้แทน การมีส่วนร่วมทางการเมือง รวมถึงการมีสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน5 ขณะที่คำว่า ประชาธิปไตย ในสังคมไทยนั้นได้ถูกนำมายึดโยงเข้ากับบริบททางการเมืองมา

หลายยุคหลายสมัย ทำให้การนิยามคำว่าประชาธิปไตยในไทยจึงขึ้นอยู่กับกลุ่มทางการเมืองที่นำไปใช้

มากกว่าจะเป็นหลักการสากลที่ยอมรับกันอย่างแท้จริง ดังนั้นจึงไม่ง่ายนักที่จะนำเสนอความหมายของ ประชาธิ ป ไตยที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ กั น ทั่ ว ไป จึ ง นำมาสู่ ป ระเด็ น เรี ย นรู้ ส ำคั ญ เกี่ ย วกั บ ความหมายของ ประชาธิปไตย มีดังนี้ 6 1) ประชาธิปไตยในฐานะเป็นอุดมการณ์ (Democracy as an ideology) ประชาธิปไตยในประเด็นนี้ หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อ และการให้คุณค่าในสังคมที่ให้

ยึ ด มั่นกับหลักการสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของปั จ เจกบุ ค คล รวมทั้ง หลั ก การที่ ให้ ป ระชาชน

มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินใจ เพื่อมุ่งให้สมาชิกของสังคมอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข โดย ศ. ดร.ชัยอนันต์

สมุทวณิช ได้อธิบายถึงพื้นฐานสำคัญของอุดมการณ์ประชาธิปไตยสมัยใหม่ ประกอบด้วย7

๏ การมีศรัทธาในความสามารถของมนุษย์ การยึดหลักเหตุผลด้วยวิธีการค้นคว้าตามแบบ วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการมองว่า มนุษย์สามารถทำงานร่วมมือกันเพื่อความสุขส่วนรวมได้

5 Eremenko M. (2562, สิงหาคม 5). Political Participation. Retrieved from http://www.culturaldiplomacy. org/academy/content/pdf/ 6 อรทัย ก๊กผล. เอกสารประกอบการเรียนการสอน หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับการเมืองระดับท้องถิ่น ชุดวิชา รู้จักประชาธิปไตยท้องถิ่น, สถาบันพระปกเกล้า, หน้า 3-14. 7 สภานักพัฒนาเพื่อประชาธิปไตย. คลังบทความ ระบอบประชาธิปไตย. [ออนไลน์]. 2553. แหล่งที่มา: http://articlespadmc.blogspot.com/2010/11/democracy-system.html [11 กันยายน 2561]

สถาบันพระปกเกล้า

11

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

คนทั่ ว ไปมั ก กล่ า วกั น ว่ า “ประชาธิ ป ไตย คื อ การปกครองของประชาชน โดยประชาชน

เพื่ อ ประชาชน” ซึ่ ง เป็ น คำกล่ า วที่ พู ด ถึ ง กั น อย่ า งแพร่ ห ลายมากในสั ง คมทุ ก วั น นี้ ที่ ผู้ ค นต่ า งก็ เรี ย กร้ อ ง

ความเป็นประชาธิปไตย สรุปแล้วประชาธิปไตยคืออะไรกันแน่? เราจึงลองค้นหาความหมายและสาระสำคัญ ของคำว่ า ประชาธิ ป ไตย กลั บ พบว่ า ประชาธิ ป ไตยมี ค วามหมายและสาระสำคั ญ ที่ ก ว้ า งขวาง อี ก ทั้ ง

ยังเปลี่ยนแปลงไปตามบริบทสังคม

รายงานสถานการณ์

3. การวัดระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น :

กรอบความคิดและการสำรวจ


๏ ความเชื่อในความเป็ น อิ ส ระและเสรี ภ าพของมนุ ษ ย์ จากความคิดที่ว่า มนุษย์รู้จักใช้ เหตุผลในการใช้ชีวิตร่วมกัน ทำให้เกิดความเชื่อในความเป็นอิสระและเสรีภาพของมนุษย์ ความเป็นอิสระหมายถึง ความสามารถที่จะเลือกใช้ชีวิตกระทำการหรือไม่กระทำการ

อย่างใดอย่างหนึ่งด้วยตนเอง ไม่ตกอยู่ใต้อำนาจบงการของบุคคลอื่น เนื่องจากเชื่อว่ามนุษย์ มี ค วามสามารถที่ จ ะใช้ เ หตุ ผ ลในการเลื อ กตั ด สิ น ใจ นั่ น ย่ อ มหมายถึ ง การทำให้ ม นุ ษ ย์

ผูกพันกับความรับผิดชอบในสิ่งที่ได้กระทำลงไปแล้วด้วย

๏ การยอมรับในความเท่าเทียมกันของคน ความเท่าเทียมกันหรือความเสมอภาคไม่ได้

หมายถึง ความเท่าเทียมกันทางสติปัญญาหรือกายภาพเท่านั้น แต่เป็นความเสมอภาค

ทางกฎหมายและทางการเมือง ทุกคนควรได้รับการปฏิบัติและได้รับความคุ้มครองจาก กฎหมายโดยเท่าเทียมกัน ตลอดจนความมีสิทธิเสรีภาพทางการเมืองที่จะใช้ชีวิตในสังคม อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ เพศ หรือฐานะทางเศรษฐกิจสังคม

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

2) ประชาธิปไตยในฐานะเป็นระบอบการเมืองการปกครอง (Democracy as Political system or a Form of government) ประชาธิ ป ไตยในประเด็ น นี้ หมายถึ ง การจั ด ความสั ม พั น ธ์ ท างอำนาจของประชาชนและ

สถาบันต่างๆ ในการใช้อำนาจอธิปไตยตามกฎหมาย โดยมุ่งให้ประชาชนมีอำนาจ เน้นความเสมอภาคและ

ความเท่าเทียมกันของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ดังที่ Abraham Lincoln กล่าวว่า “ประชาธิปไตย เป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน (Government of the People, by the People, for the People)” และมีความหมายเช่นเดียวกันกับ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ได้ให้ ความหมายประชาธิปไตย ว่าหมายถึงรูปแบบการปกครองที่ยึดถือมติของปวงชนเป็นใหญ่ 3) ประชาธิปไตยในฐานะเป็นวิถีการดำเนินชีวิต (Democracy as a way of life) ประชาธิปไตยในประเด็นนี้เป็นสิ่งที่จับต้องได้มากที่สุด เพราะเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องจนกลายเป็น

ส่ วนหนึ่งของวิถีชีวิตประจำวัน และเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของวั ฒ นธรรมการอยู่ ร่ ว มกั น ซึ่ ง โดยหลั ก การวิ ถี ก าร

ดำเนินชีวิตแบบประชาธิปไตยจะยึดหลักความเสมอภาค เสรีภาพ ภราดรภาพ และเคารพศักดิ์ศรีแห่ง

ความเป็นมนุษย์ โดยยึดหลักเหตุผลในการตัดสินปัญหา รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างปราศจากอคติ ตลอดจนสนใจกิ จ การบ้ า นเมื อ งและเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ ง ดั ง ที่ จอห์ น ดิ ว อี้ (John Dewey)

นักปรัชญาและนักการศึกษาชาวสหรัฐอเมริกา มองว่า ประชาธิปไตยมีความหมายที่กว้างกว่าการเป็นเพียง รู ป แบบการปกครอง หากแต่ ป ระชาธิ ป ไตยเป็ น เรื่ อ งของวิ ถี ชี วิ ต แบบประชาธิ ป ไตย นั่ น หมายถึ ง การที่ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดค่านิยมพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม อีกทั้งการมีส่วนร่วมถือ เป็นสิ่งสำคัญในแง่ของสวัสดิภาพทางสังคมและในแง่ของการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ 8 นอกจากนี้ ชาล์ส

อี เมอเรียม (C.E.Merriam) ได้มองว่า ประชาธิปไตยเป็นแนวคิดและวิถีปฏิบัติที่มุ่งไปสู่ความผาสุกร่วมกัน ของประชาชน โดยมีเจตนารมณ์ร่วมกันของประชาชนเป็นเครื่องนำทาง 8 John Dewey. On Democracy. [Online]. (n.d.). Available from: https://wolfweb.unr.edu/homepage/ lafer/dewey20dewey.html [2018, September 17]

12

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

ดังนั้น สาระสำคัญของคำว่า ประชาธิปไตย ที่มีเหมือนกันในทุกมิติคือ หลักการให้อำนาจแก่ ประชาชน เพียงแต่มีรายละเอียดที่แตกต่างกันไป ด้วยเหตุนี้ประชาธิปไตยในระดับประเทศจึงมีความ

เชื่อ มโยงกับประชาธิปไตยท้องถิ่น เพราะหากเราสามารถสร้ า งประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง

ก็จะกลายเป็นรากฐานสำคัญของการสร้างประชาธิปไตยระดับประเทศต่อไป

3.2 ประชาธิปไตยท้องถิ่น

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

หากกล่าวถึงคำว่า ประชาธิปไตยท้องถิ่น ย่อมเป็นที่รู้จักกันว่า เป็นรูปแบบหนึ่งของการปกครอง

ที่ประชาชนในท้องถิ่นสามารถเรียนรู้และทำความเข้าใจวิถีของประชาธิปไตยได้จากการเข้าไปมีส่วนร่วม

ในรู ป แบบต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น 9 อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชนมากที่ สุ ด และกระทบต่ อ การ

ดำเนินชีวิตของประชาชนโดยตรง ยกตัวอย่างเช่น การเข้าร่วมเสนอแนะโครงการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง การเข้าร่วมประชาคมชุมชน การรวมกลุ่มเข้าชื่อถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น เป็นต้น ซึ่งประเด็นเรียนรู้ที่สำคัญ ของประชาธิปไตยท้องถิ่นนั้นประกอบด้วย 2 ประเด็น ดังนี้ 1) ความเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเข้าใจประชาธิปไตยท้องถิ่นจำเป็นต้อง ตระหนักถึงหลักการอำนาจสูงสุดอยู่ที่ประชาชน ดังที่ ยอดพล เทพสิทธิ (2558) กล่าวถึงความสำคัญของ หลักประชาธิปไตยท้องถิ่นจะต้องประกอบไปด้วยสองหลักการที่สำคัญ คือ (1) หลักการว่าด้วยการมีผู้แทน และ (2) หลักการว่าด้วยการมีส่วนร่วม ในส่วนของหลักการว่าด้วยการมีผู้แทนนั้นถูกบัญญัติไว้ในมาตรา 72 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญฉบับสาธารณรัฐที่ 5 ได้แก่ การที่พลเมืองเลือกผู้แทนของตนเข้าไปเพื่อใช้อำนาจ และผู้แทนเหล่านั้นยังต้องมีหน้าที่ความรับผิดชอบต่อพลเมืองอยู่ ขณะที่การมีส่วนร่วมนั้น พลเมืองสามารถ เข้าไปมีส่วนในการโต้เถียงสาธารณะได้ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หรือกล่าวอีก นัยหนึ่งคือหลักประชาธิปไตยท้องถิ่นนั้น เป็นหลักการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรม ต่างๆ ของท้องถิ่น โดยถือว่าประชาชน เป็นตัวการที่สำคัญในกิจกรรมของท้องถิ่น10 2) การมีส่วนร่วมของประชาชน การส่งเสริมประชาธิปไตยท้องถิ่นจะต้องให้ความสำคัญกับ

การมีส่วนร่วมของประชาชน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมให้ประชาชนเรียนรู้ความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย 2 ระดับ คือ การเริ่มต้นส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักในบทบาทสำคัญของพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย (concerned citizen) เป็นอันดับแรก จากนั้นจึงจะพัฒนาไปสู่การเป็นพลเมืองที่เห็นแก่ ประโยชน์ส่วนรวม มีความกระตือรือร้นในการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองและสังคม (active citizen)11 ๏ ความเป็ น พลเมื อ งตระหนั ก รู้ (concerned citizen) ประกอบด้ ว ยคุ ณ ลั ก ษณะสำคั ญ

3 ประการ คื อ (1) การรู้ สิ ท ธิ รู้ ห น้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของตนเอง (2) การรู้ จั ก ชุ ม ชนของตนเอง และ

(3) ความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชนและเห็นแก่ประโยชน์ของชุมชน 9 ปธาน สุวรรณมงคม. (2560, มิถุนายน). ประชาธิปไตยท้องถิ่น. Retrieved from https://goo.gl/U8ut5i 10 ยอดพล เทพสิทธิ. (2558). หลักประชาธิปไตยท้องถิ่นและการมีส่วนร่วมในการปกครองส่วนท้องถิ่นของฝรั่งเศส. วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2558) : 123 - 145. 11 รายงานตัวชี้วัดความเป็นพลเมือง ใน โครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมือง, สำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า, 2560.

สถาบันพระปกเกล้า

13


รายงานสถานการณ์

- ความเป็นพลเมืองตระหนักรู้ (concerned citizen) ประกอบด้วยคุณลักษณะสาคัญ 3 ประการ คือ (1) การรู้สิทธิรู้หน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง (2) การรู้จักชุมชนของตนเอง และ (3) ความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน และเห็นแก่ประโยชน์ของชุมชน - ความเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้น (active citizen) ประกอบด้วยคุณลักษณะสาคัญ 4 ประการ คือ (1) ๏ ความเป็อนง พลเมื อ งที่ ก ระตื อ รื อ ร้ น (active ว ยคุงณคมลั กและ ษณะสำคั ญ ดตาม การมีส ่วนร่วมทางการเมื (2) การแสดงออกทางความคิ ด (3) citizen) การเข้าร่วประกอบด้ มกิจกรรมทางสั (4) การติ 4ข้อประการ คือ (1)างใกล้ การมีชสิด่วนร่วมทางการเมือง (2) การแสดงออกทางความคิด (3) การเข้าร่วมกิจกรรมทาง มูลข่าวสารอย่ สังคม และ (4) การติดตามข้อมูลข่าวสารอย่างใกล้ชิด จากประเด็นเรียนรู้ข้างต้น สามารถนามาสู่ “สมการว่าด้วยประชาธิปไตยท้องถิ่น” ได้ดังนี้ จากประเด็นเรียนรู้ข้างต้น สามารถนำมาสู่ “สมการว่าด้วยประชาธิปไตยท้องถิ่น” ได้ดังนี้

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ประชาธิปไตย ท้องถิ่น

14

สถาบันพระปกเกล้า

ความเป็น สถาบัน

ขององค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น

การมีส่วนร่วม ของประชาชน


14 14

แผนภาพที ่ 1-4 องค์ ประกอบย่ อยในมิออตยในมิ ิความเป็ นวามเป็ สถาบันนสถาบั นสถาบั กับมินนตกักัิกบบารมี ่วารมี นร่สสว่วมของประชาชน แผนภาพที แผนภาพที ่ ่ 1-4 1-4 องค์ องค์ปประกอบย่ ระกอบย่ ยในมิ ตติคิความเป็ มิมิตติกสิการมี ่วนร่ นร่ววมของประชาชน มของประชาชน รายงานสถานการณ์

ความเป็ ความเป็นนสถาบั สถาบันน ขององค์ ขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิ งถิ่น่น

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

•• การปกครองท้ การปกครองท้อองถิงถิ่น่นในรู ในรูปปแบบที แบบที่เ่เป็ป็นนทางการ ทางการ หรื หรืออตัตัววสถาบั สถาบันนขององค์ ขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่น มีมีออานาจ านาจ หน้ หน้าาทีที่ด่ด้า้านการบริ นการบริหหารจั ารจัดดการท้ การท้อองถิงถิ่น่นงบประมาณ งบประมาณบุบุคคลากร ลากรและมี และมีออิสิสระในการตั ระในการตัดดสิสินนใจทางการเมื ใจทางการเมือองและ งและ การบริ การบริหหารท้ ารท้อองถิงถิ่น่น ซึซึ่ง่งมิมิตติคิความเป็ วามเป็นนสถาบั สถาบันนขององค์ ขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่นนันั้น้น ประกอบด้ ประกอบด้ววยมิ ยมิตติยิย่อ่อยๆ ยๆ (1). (1). ความเป็ ความเป็นนตัตัววแทน แทน •• ความใกล้ ความใกล้ชชิดิดกักับบประชาชน ประชาชน •• การตอบสนองความต้ การตอบสนองความต้อองการของประชาชน งการของประชาชน (2). (2). ความเป็ ความเป็นนมืมือออาขี อาขีพพ •• ศัศักกยภาพของผู ยภาพของผู้บ้บริริหหาราร •• ศัศักกยภาพขององค์ ยภาพขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่น (3). (3). การส่ การส่งงเสริ เสริมมความเป็ ความเป็นนพลเมื พลเมือองง •• การเปิ การเปิดดพืพื้น้นทีที่ก่การมี ารมีสส่ว่วนร่ นร่ววมม •• การสนั การสนับบสนุ สนุนนเครื เครืออข่ข่าายย

การมี การมีสส่ว่วนร่ นร่ววมมของประชาชน ของประชาชน •• เป็เป็นนการประเมิ การประเมินนภาคประชาชนในพื ภาคประชาชนในพื้น้นทีที่อ่องค์งค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่นในการแสดงออกถึ ในการแสดงออกถึงงการมี การมีสส่ว่วนร่ นร่ววมม ความต้ ความต้อองการร่ งการร่ววมม และความสนใจร่ และความสนใจร่ววมที มที่จ่จะน ะนาไปสู าไปสู่ก่การบรรลุ ารบรรลุเเป้ป้าาหมายทางการเมื หมายทางการเมือองง ซึซึ่ง่งมิมิตติกิการมี ารมีสส่ว่วนร่ นร่ววมม ของประชาชนในท้ ของประชาชนในท้อองถิงถิ่น่นนันั้น้น ประกอบด้ ประกอบด้ววยมิ ยมิตติยิย่อ่อยๆ ยๆ (1). (1). การตระหนั การตระหนักกรูรู้ ้ (concerned (concerned citizen) citizen) •• รูรู้ส้สิทิทธิธิรูรู้ห้หน้น้าาทีที่ ่และมี และมีคความรั วามรับบผิผิดดชอบ ชอบ •• รูรู้จ้จักักชุชุมมชนท้ ชนท้อองถิงถิ่น่นและองค์ และองค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่นของตนเอง ของตนเอง •• ตระหนั ตระหนักกถึถึงงความเป็ ความเป็นนเจ้เจ้าาของและประโยชน์ ของและประโยชน์ขของชุ องชุมมชนท้ ชนท้อองถิงถิ่น่น (2). (2). การลงมื การลงมืออปฏิ ปฏิบบัตัติ ิ (active (active citizen) citizen) •• ติติดดตามข้ ตามข้ออมูมูลลข่ข่าาวสารขององค์ วสารขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่น •• แสดงความคิ แสดงความคิดดเห็เห็นน ปัปัญญหา หาและความต้ และความต้อองการ งการ •• ลงมื ลงมืออททากิ ากิจจกรรม/โครงการ กรรม/โครงการ •• การมี การมีสส่ว่วนร่ นร่ววมในกิ มในกิจจกรรมทางการเมื กรรมทางการเมือองง ด้ด้ววยเหตุ ยเหตุนนี้จี้จึงึงนนามาสู ามาสู่ค่ความสนใจในการวั วามสนใจในการวัดดระดั ระดับบประชาธิ ประชาธิปปไตยท้ ไตยท้อองถิงถิ่น่นให้ให้เเห็ห็นนในเชิ ในเชิงงประจั ประจักกษ์ษ์วว่า่า แท้ แท้จจริริงงแล้ แล้วว ด้นาประชาธิ วยเหตุนี้จปปึงไตยท้ นำมาสู ่ค่นวามสนใจในการวั ดระดั บใดประชาธิ ปไตยท้องถิบ่นบการพั ให้ เห็นฒฒในเชิ งประจัปกปไตยท้ ษ์ไตยท้ ว่า อแท้ งได้ การพั การพัฒฒนาประชาธิ ไตยท้อองถิงถิ ่นทีที่ผ่ผ่า่านมาได้ นมาได้กก้า้าวไปสู วไปสู ่จ่จุดุดใด เราสามารถยกระดั เราสามารถยกระดั การพั นาประชาธิ นาประชาธิ องถิงถิจ่นริ่นได้ แล้งงหรื วหรืการพั ไตยท้องถิ ่นที่ผว่าวนต่ นมาได้ จริจริ ออไม่ไม่นนฒั้นั้นนาประชาธิ จะกล่ จะกล่าาวถึ วถึงงปรายละเอี รายละเอี ยยดในส่ ดในส่ นต่ออไปไปก้าวไปสู่จุดใด เราสามารถยกระดับการพัฒนาประชาธิปไตย ท้องถิ่นได้จริงหรือไม่นั้น จะกล่าวถึงรายละเอียดในส่วนต่อไป

สถาบันพระปกเกล้า

15


รายงานสถานการณ์

3.3 วิธีการวัดระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น สำหรับการวัดระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นให้เห็นในเชิงประจักษ์ในครั้งนี้ ได้เริ่มต้นจากความสนใจ สำรวจสถานการณ์ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นในปัจจุบันว่ามีสถานการณ์เป็นอย่างไรบ้าง โดยอาศัย

การเก็ บ ข้ อ มู ล จากแบบสอบถามความคิ ด เห็ น บุ ค ลากรที่ เ ป็ น ตั ว แทนขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น

ทั่ ว ประเทศ และวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เพื่ อ ประเมิ น ระดั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ในมิ ติ ต่ า งๆ ซึ่ ง มี

รายละเอียดของระเบียบวิธีการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูล12 ดังนี้

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

Ä กลุ่มประชากรเป้าหมาย

สำหรับหน่วยในการสำรวจครั้งนี้ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ จำนวน 7,852 แห่ง โดยในการตอบแบบสอบถามนั้นได้ขอความร่วมมือในการกรอกข้อมูลจากบุคลากรสังกัดองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยมีตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งละ 1 คน ได้แก่ ปลัด รองปลัด หรือ

ผู้อำนวยการฝ่าย/กอง/สำนัก ซึ่งดำรงตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี

เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม Ä เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ

การสำรวจสถานการณ์ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นในครั้งนี้ ได้แบ่งกระบวนการดำเนินงาน ออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การสำรวจข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม (1) การสำรวจข้อมูล ใช้แบบสอบถามความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ประกอบด้วยข้อคำถาม จำนวน 77 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้13 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 8 ข้อ ประกอบด้วย ข้อมูล

ผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ตั้ง จำนวนประชากร รายได้รวมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วาระการดำรงตำแหน่งของนายกท้องถิ่น และการได้รับรางวัลในช่วง 3 ปีที่ผ่าน ส่วนที่ 2 ข้อมูลความคิ ด เห็ น ของผู้ ต อบแบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตย

ท้องถิน่ ในมิตคิ วามเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จำนวน 35 ข้อ ประกอบด้วย ข้อคำถามด้านความเป็นตัวแทน ข้อคำถามด้านความเป็นมืออาชีพ และข้อคำถามด้าน

การส่งเสริมความเป็นพลเมือง ส่วนที่ 3 ข้อมูลความคิ ด เห็ น ของผู้ ต อบแบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตย

ท้องถิ่น ในมิติการมีส่วนร่วมของประชาชน จำนวน 34 ข้อ ประกอบด้วย ข้อคำถามด้าน concerned citizen และข้อคำถามด้าน active citizen สำหรั บ ข้ อ คำถามในส่ ว นที่ 2 และส่ ว นที่ 3 เป็ น ข้ อ คำถามเกี่ ย วกั บ ระดั บ ความคิ ด เห็ น

โดยให้เลือกตอบ 4 ระดับ คือ ไม่เห็นด้วย เห็นด้วยน้อย เห็นด้วยมาก และเห็นด้วยมากทีส่ ดุ 12 หากต้ อ งการรายละเอี ย ดข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม สามารถศึ ก ษาได้ ใ นรายงานสำรวจระดั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น

(ฉบับสมบูรณ์) 13 ข้อมูลรายละเอียดแบบสอบถามอยู่ในภาคผนวก

16

สถาบันพระปกเกล้า


17

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

(2) การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์ SPSS (Statistical package for social science) ในการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมจาก 16 16 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2). การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์ SPSS (Statistical package Ä การเก็ รวบรวมข้ อมูล การวิเบคราะห์ เคราะห์ SPSS (Statisticalกรปกครอง package for social(2).science) ในการบัข้อนมูทึลกจากแบบสอบถาม ข้อมูลและวิเคราะห์ขใช้​้อโมูปรแกรมในการวิ ลจากแบบสอบถามที ่เก็บรวบรวมจากองค์ for social นทึกข้อมูลและวิ ลจากแบบสอบถามที ่เก็บวรวบรวมจากองค์ กรปกครอง วิทยาลัยในการบั พัฒนาการปกครองท้ องถิเคราะห์ ่น สถาบัข้อนมูพระปกเกล้ า ได้ขอความร่ มมือจากองค์กรปกครอง ส่วนท้ องถิ ่นscience) ส่วนท้ องถิอ่นงถิ่น โดยการส่งแบบสอบถามให้กรอกข้อมูลแล้วตอบกลับมาทางช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ได้แก่

ส่วนท้  การเก็บรวบรวมข้อมูล ทางไปรษณี ย์ ทางอีเมลของผู้ประสานงาน หรือทางโทรสาร ใช้ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก  การเก็บรวบรวมข้อมูล วิ ท ยาลั ย2พัฒเดืนาการปกครองท้ องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า ได้ขอความร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วน แบบสอบถาม อ น วิทยาลัยพังแบบสอบถามให้ ฒนาการปกครองท้ องถิอ่นมูลสถาบั นพระปกเกล้ า ได้อขงทางใดช่ อความร่อวงทางหนึ มมือจากองค์ ท้องถิ่น โดยการส่ กรอกข้ แล้วตอบกลั บมาทางช่ ่ง ได้แกก่รปกครองส่ ทางไปรษณีวยน์ Ä การวิงเแบบสอบถามให้ คราะห์ข้อมูล กรอกข้อมูลแล้วตอบกลับมาทางช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ได้แก่ ทางไปรษณีย์ ท้ทางอี องถิเ่นมลล์ โดยการส่ ของผู้ประสานงาน หรือทางโทรสาร ใช้ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม 2 เดือน ทางอีเมลล์ ของผู ป ้ ระสานงาน หรื อ ทางโทรสาร ใช้ระยะเวลาในการเก็ อมูลจากแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้วิธีการวิเคราะห์บเชิรวบรวมข้ งสถิติ โดยแบ่ งออกเป็น 2 ส่วน ดั2งเดื นี้ อน  การวิเคราะห์ข้อมูล  การวิ เการวิ คราะห์ ขล้อจากแบบสอบถาม มูล ข้อมูลทั่วไปขององค์ กรปกครองส่ งถิ่น จากแบบสอบถามโดยใช้ การวิ(1). เคราะห์ ข้อเมูคราะห์ ใช้วิธีการวิ เคราะห์เชิงวสถินท้ติ อโดยแบ่ งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ สถิติ

การวิการวิ เคราะห์ ้อมูลขจากแบบสอบถาม ใช้ ีการวิอเคราะห์ สถิ ิ โดยแบ่ งออกเป็กนรปกครองส่ 2 ส่วสนถิดัตงวิเชินีนท้ เชิงพรรณนา ได้เแคราะห์ ก่ ขจำนวน และค่าเฉลี ย่ วิธของข้ มูลวทีนท้ ไ่ ด้อเรชิบังถิงตอบกลั บมาจากองค์ องถิน่ (1). ้อมูร้ลอทัยละ ่วไปขององค์ กรปกครองส่ ่น ตจากแบบสอบถามโดยใช้ ง้ พรรณนา (1). การวิ เคราะห์ มูลทั่ย่วของข้ ไปขององค์ องถิ่น จากแบบสอบถามโดยใช้ ติเชิงพรรณนา ได้แทัก่้งหมด จานวน ร้อยละ และค่ข้อาเฉลี อมูลทีก่ได้รปกครองส่ รับตอบกลัวบนท้ มาจากองค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่นสทัถิ้งหมด ได้แก่ จานวน ร้อยละ และค่ขา้อเฉลี ่ย ของข้ อมูลที่ได้นรประชาธิ ับตอบกลัปบไตยท้ มาจากองค์ รปกครองส่ อ่ งถิ2 ่นและส่ ทั้งหมด (2). เคราะห์ บความเป็ องถิอ่นงถิกจากข้ อมูอลมูส่วลวนท้ ว นที ่ 3่ 3ของ เคราะห์มูขล้อระดั มูลระดั บความเป็นประชาธิ ปไตยท้ ่น จากข้ ส่นที วนที ่ 2 และส่ วนที การวิ (2). การวิ (2). การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ระดั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ ่ น จากข้ อ มู ล ส่ ว นที ่ 2 และส่ ว นที ่ 3 ของ ของแบบสอบถาม ่งได้าหนดค่ มีการกำหนดค่ าคะแนนระดั ดเห็นลของแต่ ะข้อคำถาม แบบสอบถาม ซึ่งได้มีกซึารก าคะแนนระดั บความคิบดความคิ เห็นของแต่ ะข้อคลาถาม ดังนี้ ดังนี้ แบบสอบถาม ซึ่งได้มีการกาหนดค่าคะแนนระดับความคิดเห็นของแต่ละข้อคาถาม ดังนี้ ระดับความคิดเห็น ค่าคะแนน ระดับความคิดเห็น ค่าคะแนน ไม่เห็นด้วย 1 ไม่เห็นด้วย 1 เห็นด้วยน้อย 2 เห็นด้วยน้อย 2 เห็นด้วยมาก 3 เห็นด้วยมาก 3 เห็นด้วยมากที่สุด 4 เห็นด้วยมากที่สุด 4 ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินและแปลความหมายระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นรายมิติ จะใช้ ในการวิ เคราะห์ มูลขเพื้อ่อดมูประเมิ นและแปลความหมายระดั บความเป็ ประชาธิ ไตยท้อทงถิ ่นรายมิอโดยแบ่ ตงถิ​ิ จะใช้ ในการวิ เคราะห์ ลเพืนของข้ ่อประเมิ นและแปลความหมายระดั บนความเป็ ไตยท้ ่น ง ค่าเฉลี่ยของคะแนนระดั บข้อความคิ เห็ อคาถามในแต่ ละมิติ จากนั ้นมาน าเที ยบกันบปประชาธิ เกณฑ์ ี่กปาหนด ติ จะใช้ค่าเฉลี่ยบของคะแนนระดั บความคิดเห็นของข้อคำถามในแต่ละมิติ จากนั้นนำมาเทียบกับเกณฑ์

รายมิ ค่ระดั าเฉลี ่ยของคะแนนระดั บเกณฑ์ ออกเป็น 5 ระดัความคิ บ ดังนีด้ เห็นของข้อคาถามในแต่ละมิติ จากนั้นมานาเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด โดยแบ่ง ำหนดอโดยแบ่ บเกณฑ์ ระดัทีบ่กเกณฑ์ อกเป็นงระดั 5 ระดั บ ดังนีอ้ อกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับสูงมาก 3.41 – 4.00 ระดับสูงมาก 3.41 – 4.00 ระดับสูง 2.81 – 3.40 ระดับสูง 2.81 – 3.40 ระดับปานกลาง 2.21 – 2.80 ระดับปานกลาง 2.21 – 2.80 ระดับต่า 1.61 – 2.20 ระดับต่า 1.61 – 2.20 ระดับต่ามาก 1.00 – 1.60 ระดับต่ามาก 1.00 – 1.60


รายงานสถานการณ์

17 17 บสำหรั บแบบสอบถามที ่ใช้ารวจข้ ในการสำรวจข้ นั้นนการส่ ได้ดำเนิ นการส่งแบบสอบถามไปยั งองค์กวรน สาหรั แบบสอบถามที ่ใช้ในการส อมูลนั้น ได้อมูดลาเนิ งแบบสอบถามไปยั งองค์กรปกครองส่ นท้อจงถิ ่นทั่ว7,850 ประเทศ 7,850 งได้(ไม่ รวมองค์ วนท้เอศษงถิงองค์ ่นคืรูอปกกทม.และเมื แบบพิ เศษ คืวออนง ท้องถิปกครองส่ ่นทัส่วาหรั ประเทศ านวน แห่จำนวน ง (ไม่ รวมองค์ วนท้กอรปกครองส่ ่นรูปแบบพิ บวแบบสอบถามที ่ใช้ในการส ารวจข้ อมูลนักแห่ ้นรปกครองส่ ดาเนิ นการส่ งงถิ แบบสอบถามไปยั รปกครองส่ ทรปกครองส่ ยา) พบว่ องค์ กรปกครองส่ นท้องถิ่นตอบแบบสอบถามกลั 2,906 ชุอดง ยา)กทม.และเมื า มีอองค์งพัจกานวน ่นรตอบแบบสอบถามกลั มาองถิ จานวน 2,906บเศษ ชุมาด คืจำนวน หรือ อกทม.และเมื คิดเป็ นร้อยละ ท้พัอทงถิ ่นทัพบว่ ่วประเทศ 7,850าวมีนท้ แห่ งองถิ (ไม่ วมองค์กวรปกครองส่ วบนท้ ่นรูปแบบพิ อคิดานวนแบบสอบถามที เป็ 37.02 ของจำนวนแบบสอบถามที ่ส่งไปทั้งหมด ่สว่งไปทั หมด พั37.02 ทยา)หรืของจ พบว่ า นมีร้อองค์ยละ กรปกครองส่ นท้อ้งงถิ ่นตอบแบบสอบถามกลั บมา จานวน 2,906 ชุด หรือคิดเป็นร้อยละ 37.02 ของจานวนแบบสอบถามที ่ส่งไปทั้งหมด ่ได้รับการตอบกลับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละของแบบสอบถามที

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบบสอบถามที่ส่งไป ทั้งหมด, 100% แบบสอบถามที่ส่งไป ทั้งหมด, 100% แบบสอบถามที่ได้รับ การตอบกลับ, 37.02% แบบสอบถามที่ได้รับ การตอบกลับ, 37.02%

วิทยาลั ฒนาการปกครองท้อองถิ งถิ่น่น สถาบั สถาบันนพระปกเกล้ ารวจระดับความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นอ(งถิ ฉบั่นบสมบู ), หน้รณ์า )9., ที่มา:ที่มวิา:ทยาลั ยพัยฒพันาการปกครองท้ พระปกเกล้า,า,รายงานส รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ (ฉบัรบณ์สมบู หน้าจากการวิ ที9. ่มา: วิทยาลัยเพัคราะห์ ฒนาการปกครองท้ งถิ่น สถาบันพระปกเกล้ า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิ ปไตยท้องถิ่นว (นท้ ฉบับอสมบู า 9. ข้ อ มู ล อแบบสอบถาม จ าแนกตามประเภทองค์ ก รปกครองส่ งถิร่ นณ์)ที, หน้ ่ ต อบ

แบบสอบถามกลั พบว่ขา้ อจมูานวนแบบสอบถามที ่ ไ ด้ รับ ตอบกลั บ มากที่ สุกดรปกครองส่ คื อ องค์ ก ารบริ จากการวิบเมา คราะห์ ล แบบสอบถาม จ าแนกตามประเภทองค์ ว นท้หอารส่ งถิว่ นนต ที่ ตาบล อบ จากการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล แบบสอบถาม จำแนกตามประเภทองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น

รองลงมาคือ เทศบาลต อง องค์การบริหารส่ งหวัด และเทศบาลนคร ซึ่งมีกจารบริ านวนเท่ ากัวบนต 1,909, แบบสอบถามกลั บ มา าบล พบว่เทศบาลเมื า จ านวนแบบสอบถามที ่ ไ ด้ รวับนจัตอบกลั บ มากที่ สุ ด คื อ องค์ ห ารส่ าบล ที่ตอบแบบสอบถามกลับมา พบว่า จำนวนแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับมากที่สุดคือ องค์การบริหาร

843, 93, 45 และ 16 าบล ตามล าดั บ หรืองอ องค์ คิ ด เป็ น ร้ อหยละ 65.69, 3.20, 1.55 ซึและ 0.55 ของจ านวน รองลงมาคื อ เทศบาลต เทศบาลเมื การบริ ารส่วนจั งหวัด29.01, และเทศบาลนคร ่งมีจานวนเท่ ากับ 1,909, ส่วนตำบล รองลงมาคือ เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนจังหวัด และเทศบาลนคร ซึ่งมี แบบสอบถามที ่รวบรวมได้ 843, 93, 45 และ ตามล าดั 93, บ หรื คิ ด เป็16นตามลำดั ร้ อ ยละบ65.69, 3.20,65.69, 1.55 และ จำนวนเท่ ากับ 16 1,909, 843, 45อและ หรือคิด29.01, เป็นร้อยละ 29.01,0.55 3.20,ของจ 1.55านวน และ แบบสอบถามที ร ่ วบรวมได้ 0.55 ของจำนวนแบบสอบถามที ่รวบรวมได้ วนท้องถิ่นแต่ละประเภทที่ตอบแบบสอบถาม ร้อยละขององค์ กรปกครองส่ เทียกบกั บจานวนแบบสอบถามที ่ตอบกลับทั่ต้งอบแบบสอบถาม หมด ร้อยละขององค์ รปกครองส่ วนท้องถิ่นแต่ละประเภทที 1.55% เทศบาลนคร, 0.55% เทียบกัอบจ., บจานวนแบบสอบถามที ่ตอบกลั บทั้งหมด 1.55% เทศบาลเมือบจ., อง, 3.20%

เทศบาลนคร, 0.55%

เทศบาลเมือง, 3.20% เทศบาลตาบล, 29.01% เทศบาลตาบล, 29.01%

อบต., 65.69% อบต., 65.69%

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 12. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 12.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 12.

18

สถาบันพระปกเกล้า


18

53.33%

59.21%

52.25%

53.33%

52.25%

37.75% 37.75%

อบจ.

เทศบาลนคร

เทศบาลเมือง

เทศบาลตาบล

35.80% 35.80%

อบต.

ที่มา:0.00% วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 12.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้ องถิ่นเทศบาลนคร สถาบันพระปกเกล้าเทศบาลเมื , รายงานสำรวจระดั บเทศบาลต ความเป็าบล นประชาธิปไตยท้อบต. องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), อบจ. อง หน้า 12. ้ข้อมูลแบบสอบถามดั งกล่าวยัาง, สามารถจ าแนกตามต งผูป้ตไตยท้ อบแบบสอบถามที ารงต ที่มา: วิทนอกจากนี ยาลัยพัฒนาการปกครองท้ องถิน่ สถาบันพระปกเกล้ รายงานสารวจระดั บความเป็าแหน่ นประชาธิ องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์)่ด, หน้ า 12.าแหน่ง กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ มาแล้วอย่างน้อย 3 ปี พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ดารงตาแหน่งเป็น ในองค์

นอกจากนี ้ข้อมูลแบบสอบถามดั งกล่าวยังสามารถจ าแหน่งผู้ตอบแบบสอบถามที ่ดารงตาแหน่ง นอกจากนี มู ล แบบสอบถามดั ง กล่ า วยัานังาแนกตามต สามารถจำแนกตามตำแหน่ ผู้ ต อบแบบสอบถาม

ปลัดท้องถิ ่น รองลงมาคื อ้ ข้ อรองปลั ด และผู้อานวยการส กต่างๆ โดยคิดเป็นสัดส่วนร้องยละ 55.20, 27.67 และ ในองค์ทีก่ดรปกครองส่ วงนท้ องถิ่นกนัรปกครองส่ ้นๆ มาแล้ววอย่นท้างน้ อย 3 ้นปีๆพบว่ า ผูว้ตอย่ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ดารงตาแหน่งเป็น ในองค์ มาแล้ 17.14 ำรงตำแหน่ ของผู้ตอบแบบสอบถามทั ้งหมดตามลาดัอบงถิดั่นงนัแผนภาพต่ อไปนี้ างน้อย 3 ปี พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม

ปลัดท้ส่อวงถิ ่น รองลงมาคื อ รองปลั ด และผู ้อานวยการส านักอต่รองปลั างๆ โดยคิ ดเป็น้อสัำนวยการสำนั ดส่วนร้อยละ ก55.20, 27.67ดเป็ และ นใหญ่ ดำรงตำแหน่ งเป็นปลั ดท้องถิ ่น รองลงมาคื ด และผู ต่างๆ โดยคิ น 17.14สัดของผู าดับ่ไของผู แผนภาพต่ ้ ้งหมดตามลำดั ร้อยละของแบบสอบถามที ด้รดั​ับงการตอบกลั บอไปนี จาแนกตามต าแหน่งผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนร้​้ตออบแบบสอบถามทั ยละ 55.20, 27.67้งหมดตามล และ 17.14 ้ตอบแบบสอบถามทั บ ดังแผนภาพต่อไปนี้ ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามตาแหน่งผู้ตอบแบบสอบถาม 17.14%

17.14% 55.20%

27.67%

55.20%

27.67% ปลัด

รองปลัด

ผู้อานวยการ/กอง/นัก

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 10. ปลัด รองปลัด ผู้อานวยการ/กอง/นัก

กษณะข้องถิอมูน่ ลสถาบั แบบสอบถาม าแนกตามภู าคทีน่ตประชาธิ ั้งขององค์ กอรปกครองส่ ที่มา: วิทในส่ ยาลัยวพันของลั ฒนาการปกครองท้ นพระปกเกล้า, จรายงานส ารวจระดัมบิภ ความเป็ ปไตยท้ งถิ่น (ฉบับสมบูวรนท้ ณ์), อหน้งถิ า ่น 10.พบว่า

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้ องถิ่น สถาบั นพระปกเกล้า,ดรายงานสำรวจระดั บความเป็นอประชาธิ ไตยท้องถิ่นนออกเฉี (ฉบับสมบู รณ์), อ จานวนแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลั บมาสามารถจั เรียงลาดับจากมากไปน้ ย คือ ปภาคตะวั ยงเหนื หน้าในส่ 10. วนของลักษณะข้อมูลแบบสอบถาม จาแนกตามภูมิภาคที่ตั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า จานวนแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลับมาสามารถจัดเรียงลาดับจากมากไปน้อย คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถาบันพระปกเกล้า

19

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

60.00% 70.00% 50.00% 60.00% 40.00% 50.00% 30.00% 40.00% 20.00% 30.00% 10.00% 20.00% 0.00% 10.00%

รายงานสถานการณ์

70.00%

18

ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทที่ตอบแบบสอบถาม เทียบกับจานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทที่ตอบแบบสอบถาม 59.21% เทียบกับจานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ


รายงานสถานการณ์

ในส่วนของลักษณะข้อมูลแบบสอบถาม จำแนกตามภูมิภาคที่ตั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่ า จำนวนแบบสอบถามที่ ไ ด้ รั บ การตอบกลั บ มาสามารถจั ด เรี ย งลำดั บ จากมากไปน้ อ ย คื อ 19

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก โดยคิดเป็นร้อยละ 19 ภาคกลาง อ ภาคใต้14.01, ภาคตะวั นตกและ และภาคตะวั นออก โดยคิดเป็น่ได้ร้รอับยละ 34.51, 23.19, 14.80, 14.01, 34.51, ภาคเหนื 23.19, 14.80, 6.092 6.57 ของแบบสอบถามที การตอบกลั บทั้งหมดตามลำดั บ 6.092 และ 6.57อของแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลับทั้งหมดตามลาดับ ดังแผนภาพต่อไปนี้ ดังแผนภาพต่ ไปนี้ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก โดยคิดเป็นร้อยละ 34.51, 23.19, 14.80, 14.01, ร้อยละของแบบสอบถามที ่ได้รับบการตอบกลั บ จาดั าแนกตามภู มิภาค อไปนี้ 6.092 และ 6.57 ของแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลั ทั้งหมดตามล บ ดังแผนภาพต่

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามภูมิภาค 23.19%

34.51% 23.19% 34.51%

14.80% 14.80%

6.92% 6.57%

14.01%

6.57%

14.01%

6.92%

ภาคกลาง ภาคกลาง

ภาคเหนือ

ภาคใต้

ภาคเหนือ

ภาคใต้

ภาคตะวันออก

ภาคตะวันตก

ภาคตะวันออก

ภาคตะวันตก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ทยาลั ฒนาการปกครองท้ ่น สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั งถิ่นรณ์(ฉบั บสมบู รณ์), ทีที่ม่มา:า:วิทวิยาลั ยพัยฒพันาการปกครองท้ องถิน่ องถิ สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดับความเป็บนความเป็ ประชาธินปประชาธิ ไตยท้องถิป่นไตยท้ (ฉบับอสมบู ), หน้ า 13-14.

หน้ทีา่ม13-14. า: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 13-14. อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบจานวนแบบสอบถามตามภูมิภ าคที่ตั้งองค์กรปกครองส่ว นท้ องถิ่น กับจานวน

อย่อย่ าวงไรก็ ต าม ่ อยบจ เที ยานวนแบบสอบถามตามภู บจำนวนแบบสอบถามตามภู าคทีก่ ตรปกครองส่ ั้ ง องค์ ก่ไรปกครองส่ งถิ่ นจาก

างไรก็ เมื าคทีม่ติ ภั้งองค์ องถิ่นวกันท้ บบจอานวน องค์กรปกครองส่ นท้ตอามงถิ ่นทั่อเมื ้งเทีหมดในแต่ ละภูมิภาค กลับพบว่ามิภจานวนแบบสอบถามที ด้รวับนท้ การตอบกลั มา กับจำนวนองค์ วอนท้ องถิ่นลทัะภู หมดในแต่ ะภู าค นกลั บพบว่ า จำนวนแบบสอบถามที รับ อ องค์ กอรปกครองส่ นท้ องถิ่นทั้งหมดในแต่ มิภภาคกลาง าค กลับลพบว่ ามิภจานวนแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลั บมา่ยได้งเหนื จาก ภาคเหนื มีมากที่สกุดวรปกครองส่ รองลงมาคื ภาคตะวั น้งตก ภาคตะวั ออก ภาคใต้ และภาคตะวั นออกเฉี การตอบกลั มา่สจากภาคเหนื อมีภาคตะวั มากที่สนุดตกรองลงมาคื อภาคตะวั ภาคตะวั นตกภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันนออกเฉี ออก ภาคใต้อ ภาคเหนื มบากที ุด รองลงมาคื นออก และภาคตะวั โดยคิ ดเป็นอร้อมียละ 47.67, 44.77,อ 37.34, 35.57,ภาคกลาง 34.20 และ 33.81 ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิย่นงเหนื ในแต่ละ และภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ โดยคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 47.67, 44.77, 37.34, 35.57, 34.20 และ 33.81 ดเป็นร้าดัอยละ 44.77, 35.57, 34.20 และ 33.81 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ของ ละ ภูมิภโดยคิ าค ตามล บ ดัง47.67, แผนภาพต่ อไปนี37.34, ้ องถิ่นในแต่อไปนี ละภู้ มิภาค ตามลำดับ ดังแผนภาพต่อไปนี้ ภูองค์ มิภกาครปกครองส่ ตามลาดับวนท้ ดังแผนภาพต่ ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามภูมิภาค ร้(เปรี อยละของแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลั าแนกตามภู ิภาค ยบเทียบกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิบ่นจในแต่ ละภูมิภมาค) (เปรียบเทียบกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาค)

60.00%

47.67%

60.00%

50.00%

50.00%

40.00%

40.00%

30.00%

37.34%

37.34%

47.67%

44.77%

34.20%

34.20%

35.57%

35.57%

44.77%

33.81%

33.81%

30.00%

20.00%

20.00%

10.00%

10.00%

0.00%

0.00%

ทีที่มา:่มทีา:่มวิา:ทวิยาลั ยพัยฒยพัพันาการปกครองท้ องถิองถิ น่ อน่ สถาบั พระปกเกล้ าา, ,รายงานส ารวจระดั ความเป็นนบประชาธิ ประชาธิ องถิ่น่นป(ฉบั (ฉบั บสมบู ), หน้ า 13-14. วิททยาลั ยาลั ฒฒนาการปกครองท้ นพระปกเกล้ รายงานส ารวจระดับความเป็ องถิ บสมบู รณ์ร่น)ณ์, (ฉบั หน้ าบ13-14. นาการปกครองท้ งถิสถาบั ่น นสถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั ความเป็ปปไตยท้ นไตยท้ ประชาธิ ไตยท้ องถิ สมบู รณ์),

หน้า 13-14.

20

สถาบันพระปกเกล้า


20

ประชาธิ ไตยท้ 4.4. ประชาธิ ปไตยท้ปองถิ ่นไทยอ: งถิ ฝันที่น่เป็ไทย นจริง:

ฝันที่เป็นจริง

การมีส่วนร่วมของประชาชน

2.88

ความเป็นสถาบัน

3.28

ภาพรวมความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

3.08

2.6

2.7

2.8

2.9

3

3.1

3.2

3.3

3.4

ค่าคะแนนเฉลี่ย ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 207-209.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 207-209.

สถาบันพระปกเกล้า

21

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ต่ต่ออไปนี ไตยท้อองถิงถิ่นอาจไม่ ่นอาจไม่ ความฝั ต่อไปแล้ เป็นความจริ ง! เพราะจาก

ไปนี้ป้ ระชาธิ ระชาธิปปไตยท้ ใช่แใช่ค่แคค่วามฝั นอีกนต่อีอกไปแล้ ว แต่วเป็แต่ นความจริ ง! เพราะจากการศึ กษา การศึ กษาระดัปบไตยท้ ประชาธิ ไตยท้พบว่ องถิา่นองค์ ไทยกรปกครองส่ พบว่า องค์วกนท้ รปกครองส่ วนท้องถิ(อบจ., ่นทุกประเภท เทศบาล ระดั บประชาธิ องถิ่นปไทย องถิ่นทุกประเภท เทศบาล(อบจ., และ อบต.) มีค่า และ อบต.)่ย มีความเป็ ค่าคะแนนเฉลี ่ย ความเป็ ปไตยท้องถิ่ใ่นนระดั ในภาพรวมอยู งทั้งหมด ่ย นประชาธิ ปไตยท้นอประชาธิ งถิ่น ในภาพรวมอยู บสูงทั้งหมด่ในระดั โดยมีบค่าสูคะแนนเฉลี คะแนนเฉลี โดยมี ่าคะแนนเฉลี ากับ 3.08่ยความเป็ ขณะทีน่คสถาบั ่าคะแนนเฉลี ความเป็น่ยสถาบั าคะแนนเฉลี่ยการมี เท่ ากับค3.08 ขณะที่ค่ย่าเท่ คะแนนเฉลี นและค่า่ยคะแนนเฉลี การมีนสและค่ ่ วนร่วมของประชาชนก็ อยู่ใน

ส่วนร่วมของประชาชนก็อยู่ในระดับสูงเช่นเดียวกัน โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 3.28, 2.88 ตามลำดับ ระดับสูงเช่นเดียวกัน โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 3.28, 2.88 ตามลาดับ สะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนาประชาธิปไตย สะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมาได้มีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น ส่วนหนึ่งนั้น

ท้องถิ่นที่ผ่านมาได้มีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น ส่วนหนึ่ง นั้นเป็นผลมาจากนโยบายการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นที่ เป็นผลมาจากนโยบายการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นที่ทุกภาคส่วนมีความพยายามขับเคลื่อนมาตลอดกว่า

ทุกภาคส่วนมีความพยายามขับเคลื่อนมาตลอดกว่า 2 ทศวรรษ อีกทั้งยัง เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม 2 ทศวรรษ อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นมากขึ้น ในการพัฒนาท้องถิ่นมากขึ้น อย่อย่าางไรก็ งไรก็ตตามามหากมองภาพรวมผลการสำรวจประชาธิ หากมองภาพรวมผลการส ารวจประชาธิปปไตยท้ ไตยท้องถิ องถิ่น่นดังดัสมการว่ งสมการว่าด้าวด้ยประชาธิ ว ยประชาธิปไตย ปไตย งถิ่น่น “ประชาธิ “ประชาธิปปไตยท้ ไตยท้อองถิงถิ่น่น==ความเป็ ความเป็นนสถาบั สถาบันขององค์ นขององค์ กรปกครองส่ วนท้ การมี วม ท้ท้อองถิ กรปกครองส่ วนท้ องถิองถิ ่ น ่น+ +การมี ส่วสนร่​่วนร่ วมของ ของประชาชน” วนั้นาพบว่ แม้วารวจจะชี ่าผลสำรวจจะชี ห็นว่าภาพรวมองค์ กรปกครองส่ งถิบ่นความเป็ มีระดับน

ประชาชน” แล้วนัแล้ ้น พบว่ แม้วา่าผลส ้ให้เห็น้ใว่ห้าเภาพรวมองค์ กรปกครองส่ วนท้องถิว่นนท้ มีรอะดั ความเป็ปนไตยท้ ประชาธิ องถิ่นบอยูสูง่ใทันระดั งทัห้งหมด หากพิจารณาในรายละเอี า มินตสถาบั ิความเป็ น ประชาธิ องถิป่นไตยท้ อยู่ในระดั ้งหมดบสูแต่ ากพิจแต่ ารณาในรายละเอี ยดจะพบว่ยาดจะพบว่ มิติความเป็ น ของ สถาบั นขององค์กวนท้ รปกครองส่ องถิ่ม่นากกว่ มีสัดาส่มิวตนที ่มากกว่ ติการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่ างชัดเจน องค์ กรปกครองส่ องถิ่นมีสวัดนท้ ส่วนที ิการมี ส่วนร่าวมิมของประชาชนอย่ างชัดเจน แผนภาพที่ 1-5 แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นบในภาพรวม แสดงระดั ประชาธิปไตยท้องถิ่นในภาพรวม แผนภาพที ่ 1-5

รายงานสถานการณ์

ผลที คราะห์ขข้อ้อมูมูลลจะสามารถสะท้ จะสามารถสะท้ อนให้ นภาพอนาคตที ่สดใสของประชาธิ ผลที่ไ่ได้ด้จจากการวิ ากการวิเเคราะห์ อนให้ เห็นเห็ภาพอนาคตที ่สดใสของประชาธิ ปไตยท้ปอไตย

งถิ่น ท้องถิ่นหรืไทยได้ อไม่นั้น สามารถติ ดตามได้ นส่วนต่อไป ไทยได้ อไม่นหั้นรืสามารถติ ดตามได้ในส่ วนต่อใไป


ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

21 หากถามต่ ารวจภาพรวมในทุกกประเภทองค์ ประเภทองค์กกรปกครองส่ รปกครองส่วนท้ วนท้ องถิ น อย่ างไร? หากถามต่ออไปว่ ไปว่าา ผลการส ผลการสำรวจภาพรวมในทุ องถิ ่นนั่น้นนัเป็้น เป็ นอย่ างไร? คำตอบก็ องค์กรปกครองส่ กรปกครองส่ววนท้ นท้อองถิ งถิ่นน่ ทุทุกกประเภทมี ประเภทมีคา่ คะแนนเฉลี ใ่ นระดั บสูบง สูง คาตอบก็ คือคอืองค์ คะแนนเฉลีย่ ่ยประชาธิ ประชาธิปปไตยโดยรวมอยู ไตยโดยรวมอยู ่ในระดั ทั้งหมดเช่ ทั้งหมดเช่ นเดีนยเดีวกัยนวกัน แล้แล้ววถ้ถ้าเปรี น นองค์องค์ กรปกครองส่ วนท้วนท้ องถิอ่นงถิ ประเภทไหนมี ระดับระดั ความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ปอไตย

งถิ่น ดี าเปรียบเที ยบเทียบกั ยบกั กรปกครองส่ ่นประเภทไหนมี บความเป็ นประชาธิ เทศบาลนคร มีค่าคะแนนเฉลี ่ยความเป็น่ยประชาธิ ่ในระดั บสูง่ใทีนระดั ่สุด โดยมี ที่สทุ้ดอ? งถิ คาตอบก็ ่นดีที่สุดค?ือคำตอบก็ คือ เทศบาลนครมี ค่าคะแนนเฉลี ความเป็ปนไตยอยู ประชาธิ ปไตยอยู บสูงทีค่าสเฉลี ุ ด ่ย ค่าเฉลีรองลงมาคื ่ยเท่ากับ 3.37 อองค์ วนจั่ยงเท่หวัาดกับมีค3.12 ่าเฉลีถั่ยดเท่มาคื ากับอเทศบาลต 3.12 ถัดมาคื เท่าโดยมี กับ 3.37 อองค์รองลงมาคื การบริหารส่ วนจักงารบริ หวัด หมีารส่ ค่าเฉลี าบลอเทศบาล มีค่าเท่ากับ ตำบล มีค่เ่าทศบาลเมื เท่ากับ 3.10 ขณะทีก่เทศบาลเมื หารส่วนตำบลนั ากัน 3.10 ขณะที องและองค์ ารบริหารส่อวงและองค์ นตาบลนัก้นารบริ มีค่าคะแนนเฉลี ่ยเท่ากั้นนมีคเท่​่าคะแนนเฉลี ากับ 3.07 ดั่ยงเท่แผนภาพ ต่อเท่ ไปนีากั้ บ 3.07 ดังแผนภาพต่อไปนี้

แผนภาพที ่ 1-6่ 1-6 แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้ องถิอ่นงถิจำแนกตามประเภทองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิองถิ ่น ่น แผนภาพที แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้ ่น จาแนกตามประเภทองค์ กรปกครองส่ วนท้ 3.4

3.37

3.35 3.3 3.25 3.2

3.12

3.15 3.1

3.1

3.07

3.07

เทศบาลเมือง

องค์การบริหารส่วนตาบล

3.05 3 2.95 2.9

เทศบาลนคร

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เทศบาลตาบล

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. หากเปรียบเทียบกันในมิติความเป็นสถาบัน พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเทศมีค่าเฉลี่ยใน

เทศบาลนคร ค่าคะแนนเฉลี ที่สุดา เช่องค์ นกักนรปกครองส่ มีค่าเฉลี่ยเท่ ากัอบงถิ3.57 รองลงมาคืคอ่าองค์ ระดับสูงทัหากเปรี ้งหมด โดย ยบเที ยบกันในมิติคมีวามเป็ นสถาบัน่ยดีพบว่ วนท้ ่นทุกประเทศมี เฉลี่ยการ บริในระดั หารส่วบนจัสูงหวั มีค่าโดยเทศบาลนครมี เฉลี่ยเท่ากับ 3.36 คถั่าดคะแนนเฉลี มาถือ เทศบาลเมื ากับ่ยเท่ 3.32 าบล ทั้งดหมด ่ยดีที่สอุดง เช่มีคน่ากัเฉลี น มี่ยคเท่​่าเฉลี ากับขณะที 3.57่ เทศบาลต รองลงมาคื อ มี องค์่ยกเท่ารบริ ารส่วและสุ นจังหวั มีคอ่าองค์ เฉลี่กยารบริ เท่ากัหบารส่ 3.36 ดมาคืมีอคเทศบาลเมื มีค่าเฉลี ่ยเท่าดัากับบ 3.32 ขณะที่ ค่าเฉลี ากับห3.30 ดท้ดายคื วนตถัาบล ่าเฉลี่ยเท่ากัอบง 3.27 ตามล เทศบาลตำบล ่าเฉลีส่ว่ยนของประชาชน เท่ากับ 3.30 และสุเป็ดนท้อย่ ายคืางไรบ้ อองค์ากง?ารบริ หารส่ควือนตำบล มีค่าเฉลี่ยเท่วานท้ กับอ3.27 แล้ ว ในมิตมีิกคารมี คาตอบก็ องค์กรปกครองส่ งถิ่ น ทุ ก ตามลำดัค่าบเฉลี ่ยในระดับสูงทั้งหมดเช่นเดียวกัน แต่กลับพบความน่าสนใจกว่านั้นเมื่อลองพิจารณาในรายละเอียด ประเภทมี พบว่า แม้แล้ ผลการส ห้ว่าค่าเฉลี่ยในมิตเป็ ิการมี นร่วมของประชาชนอยู ่ในระดั บสูง แต่เป็วนนท้ ค่าอเฉลี นอย่สา่วงไรบ้ าง? คำตอบก็คือ องค์ กรปกครองส่ งถิ่นย ใน วในมิตารวจจะชี ิการมีส่ว้ในของประชาชน โดยเทศบาลนครก็ ค่าคะแนนเฉลี ระดัทุบกสูประเภทมี งทีเ่ กินเกณฑ์ มาเพี่ยในระดั ยงเล็กน้บอสูยงทั(เกณฑ์ ระดันบเดีสูยงมีวกัค่าน =แต่2.81-3.40) ค่าเฉลี ้งหมดเช่ กลับพบความน่ าสนใจกว่านัย้นังเมืคงมี ่อลองพิ จารณา ่ย พบว่​่ยาเท่แม้ ่าค่าเฉลี่ยาบล ในมิตมีิกคารมี ่ในระดั บสูงหาร ดีทในรายละเอี ี่สุดเช่นกัน มียคด่าเฉลี ากัผบลการสำรวจจะชี 3.17 รองลงมาคื้ให้อวเทศบาลต ่าเฉลีส่ยวนร่ เท่าวกัมของประชาชนอยู บ 2.89 ถัดมาคือองค์ การบริ แต่เป็นค่าเฉลี่ยในระดับสูงที่เกินเกณฑ์มาเพียงเล็กน้อย (เกณฑ์ระดับสูงมีค่า = 2.81-3.40) โดยเทศบาลนคร ก็ยังคงมีค่าคะแนนเฉลี่ยดีที่สุดเช่นกัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.17 รองลงมาคือเทศบาลตำบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.89 ถัดมาคือองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.88 ขณะที่องค์การบริหารส่วนตำบล มีค่าเฉลี่ย 22

สถาบันพระปกเกล้า


22

มิติความเป็นสถาบัน

4

3

2.88

3.17

3.32

3.3

3.27

2.83

2.89

เทศบาลเมือง

เทศบาลตาบล

2.88

2.5 2 1.5 1 0.5 0

อบจ.

เทศบาลนคร

อบต.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ที่ผ่านมาได้ทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกิดการพัฒนาความเป็น

สถาบันในระดั บสูง แต่สิ่งหนึ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องพัฒนาต่อไปในอนาคต คือ จะต้องส่งเสริมการ การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมาได้ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกิดการพัฒนาความเป็น พัฒนาภาคพลเมื ง โดยเฉพาะอย่ างการส่วงนท้ เสริอมงถิกระบวนการมี ส่วนร่อไปในอนาคต วมของประชาชนในระดั องถิม่นให้ สถาบันในระดัอบงให้ สูงเข้แต่มแข็ สิ่งหนึ ่งที่องค์กรปกครองส่ ่นจะต้องพัฒนาต่ คือ จะต้องส่บงท้เสริ เกิดการพั ขึ้นอย่ฒางกว้ างขวาง ตลอดจนการส่ เสริมองค์กรปกครองส่ ่นให้มีความเข้สม่วแข็ เป็นรากฐานที่มั่นคง นาภาคพลเมื องให้เข้มแข็ง งโดยเฉพาะอย่ างยิ่งการส่วงนท้ เสริอมงถิกระบวนการมี นร่งวมของประชาชน

ของการพั งถิ่นาได้งขวาง ต่อไปตลอดจนการส่ ซึ่งสอดคล้องกั บโครงการประเมิ นรางวั า ของสถาบั ในระดัฒบท้นาประชาธิ องถิ่นให้เกิปดไตยท้ ขึ้นอย่อางกว้ งเสริ มองค์กรปกครองส่ วนท้ลอพระปกเกล้ งถิ่นให้มีความเข้ มแข็ง น พระปกเกล้ า ที่จัด่มขึั่น้ คงของการพั เพื่อส่งเสริมการพั ฒนาการปกครองท้ านความเป็นนสถาบั เป็นรากฐานที ฒนาประชาธิ ปไตยท้องถิอ่นงถิ ได้่นต่ให้ อไปมีคซึวามโดดเด่ ่งสอดคล้อนงกัทับ้งในด้ โครงการประเมิ รางวัลนของ า ของสถาบั ขึ้นเพือ่อย่ส่างมี งเสริ มการพั นาการปกครองท้ องถิอ่นงการของประชาชนได้ ให้มีความโดดเด่น องค์พระปกเกล้ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นนทีพระปกเกล้ ่สามารถปฏิาบทีัต่จิงัดานได้ ประสิ ทธิภฒาพ ตอบสนองความต้ นความเป็ สถาบั กรปกครองส่ วนท้องถิ่นที่สามารถปฏิจบการท้ ัติงานได้ างมีมปสร้ ระสิ

อย่าทังทั้งในด้ นท่วางที ขณะเดีนยวกั นก็มนุ่งขององค์ ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชนในกิ องถิอ่นย่เสริ างสัทนธิภติสาพุขและ ตอบสนองความต้ องการของประชาชนได้ อ ย่อาข่งทัายจากภาคส่ น ท่ ว งที ขณะเดี น ก็ มุ่ ง ส่าเนิ ง เสรินงานพั ม การมี ส่ ว นร่องถิ ว มของ

ความสมานฉั นท์ในท้องถิ ่น ตลอดจนเสริมสร้างเครื วนต่ายงๆวกัในการด ฒนาท้ ่นร่วมกัน ภาคประชาชนในกิจการท้องถิ่น เสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ในท้องถิ่น ตลอดจนเสริมสร้าง

วนต่อไปนีว้จนต่ ะนาาเสนอภาพระดั ประชาธิ ปไตยในแต่ ละประเภทขององค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่ามี เครือในส่ ข่ายจากภาคส่ งๆ ในการดำเนินบงานพั ฒนาท้ องถิ่นร่วมกั น ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นอย่างไรบ้าง? ในส่วนต่อไปนี้จะนำเสนอภาพระดับประชาธิปไตยในแต่ละประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ว่ามีความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นอย่างไรบ้าง?

สถาบันพระปกเกล้า

23

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

3.5

3.57

3.36

มิติการมีส่วนร่วมของประชาชน

รายงานสถานการณ์

เท่ า กั บ 2.87 และสุ ด ท้ า ยคื อ เทศบาลเมื อ ง มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ 2.83 สามารถสรุ ป ให้ เ ห็ น ภาพรวมได้

ส่ ว นจั หวัด มีค่าอเฉลี ดังงแผนภาพต่ ไปนี่ ย้ เท่ากับ 2.88 ขณะที่ องค์การบริ ห ารส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ ย เท่ากับ 2.87 และสุ ดท้ายคือ เทศบาลเมือง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.83 สามารถสรุปให้เห็นภาพรวมได้ดังแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพที่ 1-7 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในมิติความเป็นสถาบันและมิติการมีส่วนร่วมของ ประชาชน แผนภาพที ่ 1-7 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในมิติความเป็นสถาบันและมิติการมีส่วนร่วมของประชาชน


รายงานสถานการณ์

ผลการศึกษาได้ชี้ให้เห็นว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีผลการสำรวจระดับประชาธิปไตยอยู่ในระดับ สูง มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.12 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมิติความเป็นสถาบันนั้น มีระดับสูงมาก โดยมี

ค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.36 ยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นสถาบันขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีมากขึ้น เพราะการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นไปสู่ความทันสมัยมากขึ้นนั้น จำเป็นที่จะต้องเตรียมความพร้อมของ องค์ ก รในการพั ฒ นาด้ า นความเป็ น สถาบั น ที่ มี ม ากขึ้ น เช่ น กั น ผ่ า นการมี โ ครงสร้ า งองค์ ก รที่ ชั ด เจน

มีกฎระเบียบกำกับอำนาจหน้าที่ ตลอดจนมีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

4.1 ประชาธิปไตยในองค์การบริหารส่วนจังหวัด

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าผลการสำรวจได้ชี้ให้เห็นว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีความเป็นสถาบันสูง ขณะเดียวกันก็มีระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นในมิติของการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง แต่เป็นระดับ สูงที่ผ่านเกณฑ์มาเล็กน้อย (เกณฑ์ระดับสูงมีค่า = 2.81-3.40) คือมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.83 สะท้อน

ให้เห็นว่า การพัฒนาด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ผ่านมานั้นยังมีไม่มาก เท่าที่ควร จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมรวมทั้งส่งเสริมการเมือง

ภาคพลเมืองให้มากขึ้น ข้อสังเกตประการหนึ่ง พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยส่วนใหญ่นั้นจะมีลักษณะของความเป็น ประชาธิปไตยแบบตัวแทน หรือที่เรียกว่า representative democracy แต่การพัฒนาประชาธิปไตย

ท้องถิ่นในระดับองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น กลับมีภาพของประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ไม่ค่อยชัดเจน มากนัก ส่วนหนึ่งนั้นอาจเนื่องมาจากรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นไทยมี 2 ชั้น โดยองค์การบริหาร

ส่วนจังหวัดเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ในระดับบน ซึ่งมีรูปแบบการทำงานเป็นการบริหาร จั ด การพื้ น ที่ ใ นภาพรวมระดั บ จั ง หวั ด จึ ง ทำให้ ก ารทำงานมี ค วามใกล้ ชิ ด กั บ ชุ ม ชนน้ อ ยกว่ า เทศบาล

หรือองค์การบริหารส่วนตำบล อีกทั้งอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นเพียงการอำนวย

ความสะดวก และสนับสนุนการดำเนินงานของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่ที่ไม่สามารถ ดำเนินการได้ รวมถึงสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือและงบประมาณที่ท้องถิ่นประเภทอื่นไม่มีความสามารถ

ในการดำเนิ น การได้ อ ย่ า งเพี ย งพอ ดั ง นั้ น แล้ ว เหตุ ผ ลดั ง กล่ า วอาจเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ส่ ง ผลต่ อ ค่ า คะแนน ประชาธิปไตยท้องถิ่นในมิติการมีส่วนร่วมของประชาชนระดับองค์การบริหารส่วนจังหวัดจึงมีค่าคะแนน

ไม่สูงมากนัก ดังปรากฎให้เห็นตามแผนภาพต่อไปนี้

24

สถาบันพระปกเกล้า


24

3.36

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

3.12 2.88

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

ความเป็นสถาบัน

การมีส่วนร่วมของประชาชน

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. 4.2 ประชาธิปไตยในเทศบาล

4.2 ประชาธิ ปไตยในเทศบาล ผลการศึกษาได้ ชี้ให้เห็นว่า เทศบาลมีผลการสารวจระดับประชาธิปไตยอยู่ในระดับสูง มีค่าคะแนนเฉลี่ย

เท่ากับ 3.10ผลการศึ โดยเฉพาะอย่ ิความเป็นผสถาบั นนั้นมีค่าเฉลี ่ยอยู่ในระดั บสูง ่ใโดยมี ่ย เท่ากับ กษาได้ชาี้ใงยิ ห้เห็่งในมิ นว่าตเทศบาลมี ลการสำรวจระดั บประชาธิ ปไตยอยู นระดัคบ่าสูคะแนนเฉลี ง มีค่าคะแนน 3.31เฉลี อย่​่ยาเท่ งไรก็ พบว่า คะแนนเฉลี ่ยในมิติคตวามเป็ ิการมีสน่วสถาบั นร่วมของประชาชนนั ค่าเฉลี ่ในระดั บสูง แต่เป็น ากัตบามกลั 3.10บโดยเฉพาะอย่ างยิ่งในมิ นนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู้น่ใมีนระดั บสู่ยงอยูโดยมี ค่าคะแนน บ 3.31 อย่าบงไรก็ ติกนอกจากนี ารมีส่วนร่ว้หมของประชาชนนั ค่าเฉลี่ย

ระดับเฉลี สูง่ยทีเท่ ่เกิานกัเกณฑ์ วัดระดั มาเล็ตามกลั กน้อยบคืพบว่ อ มีาค่าคะแนนเฉลี เฉลี่ยเท่ากั่ยบในมิ 2.89 ากพิจารณาในแต่้นลมีะประเภทของ อยู่ในระดั บสูองมูลแต่ที่นเป็่านสนใจว่ ระดับาสู....งที่เกินเกณฑ์วัดระดับมาเล็กน้อย คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.89 นอกจากนี้

เทศบาล จะพบข้ หากพิจารณาในแต่ละประเภทของเทศบาล จะพบข้อมูลที่น่าสนใจว่า....  เทศบาลนคร มีผ ลการส ารวจระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นอยู่ในระดับสู ง โดยมีค่าเฉลี่ ย เท่ากับ 3.37 = เทศบาลนคร มี ผ ลการสำรวจระดั บ ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น อยู่ ใ นระดั บ สู ง โดยมี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ

โดยเฉพาะอย่ างยิ่งกลับพบความโดดเด่นในมิติความเป็นสถาบัน มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 ซึ่งสะท้อน 3.37 โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง กลั บ พบความโดดเด่ น ในมิ ติ ค วามเป็ น สถาบั น มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย เท่ า กั บ 3.57

ให้เห็นความเป็นสถาบันของเทศบาลนครที่มีระดับสูง ขณะเดียวกันเทศบาลนครก็มีระดับการมีส่ วนร่วม ซึ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ความเป็ น สถาบั น ของเทศบาลนครที่ มี ร ะดั บ สู ง ขณะเดี ย วกั น เทศบาลนครก็ มี ร ะดั บ

่ในระดับสูง่ในระดั เช่นเดีบยสูวกังเช่นนมีเดีคย่าคะแนนเฉลี ่ยเท่ากับ 3.17 การมีของประชาชนอยู ส่วนร่วมของประชาชนอยู วกัน มีค่าคะแนนเฉลี ่ยเท่ากัซึบ่งผลการส 3.17 ซึ่งารวจในภาพรวมยิ ผลการสำรวจ ่ง สะท้อนว่​่งาสะท้ ประชาธิ ไตยท้องถิ ่นในเทศบาลนครในภาพรวมมี ระดับสูงระดั อีกบทัสู้งงยังอีมีกคทัวามเป็ สถาบันนและ ในภาพรวมยิ อนว่าปประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นในเทศบาลนครในภาพรวมมี ้งยังมีคนวามเป็ ส่วนร่วมของประชาชนในระดั บสูงด้วบยเช่ เห็นตามแผนภาพต่ อไปนีอ้ไปนี้ สถาบัการมี นและการมี ส่วนร่วมของประชาชนในระดั สูงด้นวเดียเช่ยวกั นเดีนยดัวกังปรากฎให้ น ดังปรากฎให้ เห็นตามแผนภาพต่

สถาบันพระปกเกล้า

25

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

3.4 3.3 3.2 3.1 3 2.9 2.8 2.7 2.6

รายงานสถานการณ์

แผนภาพทีแผนภาพที ่ 1-8 แสดงระดั องถิ่นปในองค์ หารส่วกนจั งหวัหดารส่ วนจังหวัด ่ 1-8บประชาธิ แสดงระดัปไตยท้ บประชาธิ ไตยท้อกงถิารบริ ่น ในองค์ ารบริ


25

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 1-9 แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้องถิ ่น ในเทศบาลนคร แผนภาพที ่ 1-9 แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลนคร 3.57

3.6

เทศบาลนคร

แผนภาพที่ 1-9 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลนคร

3.5 3.43.6 3.5 3.3 3.4 3.2 3.3 3.1 3.2 3 3.1 2.9 3

25

3.37

3.57

3.37

เทศบาลนคร

3.17 3.17

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

ความเป็นสถาบัน

การมีส่วนร่วมของประชาชน

2.9 ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. นประชาธิปไตยท้ ่น นพระปกเกล้ความเป็ นสถาบัน ส่วนร่ปวมของประชาชน ที่มา: วิทยาลัยพัความเป็ ฒนาการปกครองท้ องถิอ่นงถิสถาบั า, รายงานสำรวจระดั บความเป็การมี นประชาธิ ไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้ ที ่มา:าวิเทศบาลเมื ท211-218. ยาลัยพัฒนาการปกครองท้ องถิน่ ารวจระดั สถาบันพระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดั นประชาธิ องถิ่นค(ฉบั บสมบู รณ์า),กัหน้ 211-218. อง ผลการส บประชาธิ ปไตยท้ องถิบ่นความเป็ อยู่ในระดั บสูปงไตยท้ โดยมี ่าเฉลี ่ยเท่ บา3.07 อีกทั้ง

ยัง= มีค เทศบาลเมื วามโดดเด่ นในมิตารวจระดั ิความเป็นบสถาบั น ในระดั บองถิ สู งอ่นด้งถิ วยเช่อยูน่ใเดี ยวกันสูงมีโดยมี คค่า่าคะแนนเฉลี ่ยเท่บ า3.07 กัอีบกทั3.32  เทศบาลเมื อง ผลการส ประชาธิ ปไตยท้ อยู่น่ในระดั บสูงบโดยมี เฉลี เท่​่ยากัเท่บากั3.07 ้ง อง ผลการสำรวจระดั บประชาธิ ปไตยท้ นระดั ค่า่ยเฉลี อย่ า งไรก็ ต ามกลั บ พบว่ า แม้ ว ่ า เทศบาลเมื อ งมี ร ะดั บ การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนในระดั บ สู ง แต่ เ อีกทั้งยังมีความโดดเด่นในมิติความเป็ ่ยเท่​่ยเท่ ากัาบกับ3.32 วามเป็นนสถาบั สถาบันนในระดั ในระดับบสูสูงงด้ด้ววยเช่ ยเช่นนเดีเดียวกั ยวกันนมีคมี่าคคะแนนเฉลี ่าคะแนนเฉลี 3.32ป็ น สูามกลั งที่เตกิบามกลั นพบว่ เกณฑ์ ่ยมาเพี กน้รอะดัยเท่ านัวมของประชาชนในระดั ้น ส่วเกณฑ์ ระดับสูงมีคบ่าสู)ง= แต่ 2.81-3.40( อย่าระดั งไรก็ าบพบว่ แม้ควะแนนเฉลี ่าาเทศบาลเมื องมีรยะดังเล็ การมี สบ่วนร่ เป็นบระดั อย่บาตงไรก็ แม้ว่าเทศบาลเมื อบงมี การมี นร่ว มของประชาชนในระดั สูง บแต่สูคืเงอป็มีนค่า กับ่ยมาเพี 2.83 ารวจดั งกล่ งรสะท้ บประชาธิ ที่เกินคะแนนเฉลี เกณฑ์ ยผลการส งเล็กน้่ยอมาเพี ยเท่ านัย้นงเล็ (เกณฑ์ ะดัาบนัอ้สูนนให้ งมีเกณฑ์ คเ่าห็น=ว่2.81-3.40) มี2.81-3.40( คร่าะดั คะแนนเฉลี ระดั บสูคงะแนนเฉลี ที่ย่เกิเท่นาเกณฑ์ คะแนนเฉลี กาน้วจึอยเท่ ราะดัเทศบาลเมื บสูงมีค่าคื)อ=งมี คือ่ยมีปคไตย ่า เท่ากัท้บคะแนนเฉลี 2.83 ผลการสำรวจดั งกล่ผลการส านวจึ งสะท้ เห็หานวจึ ว่างสะท้ เทศบาลเมื ะดั บประชาธิ ปไตยท้ งถิม่นีรในมิ องถิ ่นในมิ ต่ยิคเท่วามเป็ สถาบั ในระดั บอสูนให้ งงแต่ ากต้ องการส่ ปไตยท้ อรงถิ ะดัปบตไตย ทีิ ่มาก ากับ น2.83 ารวจดั กล่ อนให้งเเสริ ห็อนงมีมว่ราประชาธิ เทศบาลเมื องมี ะดั่นบอให้ ประชาธิ ความเป็ นงถิสถาบั บนสูสถาบั งสแต่ องการส่ งเสริ มประชาธิ ปงไตยท้ องถิ่นให้อปมงในท้ ีระดับออทีงถิ จะต้ ขึ้นท้อจะต้ งส่นงตในระดั เสริ มการมี ่วนร่หนากต้ วในระดั มของประชาชนและเสริ มสร้ างภาคพลเมื ให้มม้นีรีคะดั วามเข้ ่นอในมิ ิความเป็ บสูง แต่ หากต้ องการส่ เสริ มประชาธิ ไตยท้ งถิ่ม่​่นนากขึ ให้ บทีอ่มง มากแข็ง ส่งเสริ การมี ่วนร่วมของประชาชนและเสริ สร้างภาคพลเมื องในท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งต่อไป ดังปรากฎ ต่อขึม้ไป ดังสปรากฎให้ นตามแผนภาพต่ อมไปนี ้ น จะต้ องส่งเสริมเห็การมี ส่วนร่วมของประชาชนและเสริ มสร้างภาคพลเมืองในท้องถิ่นให้ มีความเข้มแข็ง ให้เห็นตามแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพที ่ 1-10 แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลเมือง ต่อไป ดังปรากฎให้ เห็นตามแผนภาพต่ อไปนี ้ แผนภาพที่ 1-10 แสดงระดั ปไตยท้อบงถิประชาธิ ่น ในเทศบาลเมื อง ่น ในเทศบาลเมือง แผนภาพทีบประชาธิ ่ 1-10 แสดงระดั ปไตยท้องถิ 3.4 3.33.4 3.23.3 3.13.2 33.1 2.9 3 2.82.9 2.72.8 2.62.7 2.52.6 2.5

3.32

3.32

3.07

เทศบาลเมือง

เทศบาลเมือง

3.07

2.83 2.83

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ความเป็นสถาบัน การมีส่วนร่วมของประชาชน ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ความเป็นสถาบัน การมีส่วนร่วมของประชาชน ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

26

สถาบันพระปกเกล้า


26

3.3

3.3 3.2

3.1

เทศบาลตาบล

3.1

3

2.89

2.9 2.8 2.7 2.6

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

ความเป็นสถาบัน

การมีส่วนร่วมของประชาชน

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์),

หน้า ข้211-218. อสังเกตจากการสารวจประการหนึ่ง

พบว่า เทศบาลมีค่าคะแนนเฉลี่ยในมิติความเป็นสถาบันค่อนข้างสูง สะท้อนให้เห็นการทาหน้าที่ของเทศบาลผ่านการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นที่มีมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังสะท้อนผ่าน ข้อสังเกตจากการสำรวจประการหนึ่ง พบว่า เทศบาลมีค่าคะแนนเฉลี่ยในมิติความเป็นสถาบัน การทค่าหน้ กสภาท้ งถิ่นที่ค่อานข้ งตอบสนองความต้ ่ได้เาป็งต่ นอย่ อนข้าาทีงสู่ของสมาชิ ง สะท้อนให้ เห็นอการทำหน้ ที่ขาองเทศบาลผ่ านการเลืองการของประชาชนในพื อกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นที่ม้นีมทีาอย่ อเนืา่งดี อง ซึ่งสิ่ง เหล่าอีนีก้ลทั้ว้งนเป็ นลักอษณะของความเป็ ที่เรียกว่า representative democracy ที่ ยังสะท้ นผ่านการทำหน้าทีน่ขประชาธิ องสมาชิปกไตยแบบตั สภาท้องถิ่นวแทน ที่ค่อนข้หรืาองตอบสนองความต้ องการของประชาชน ค่อนข้ในพื างโดดเด่ นประชาธินปประชาธิ ไตยท้องถิ ่นในระดัวบแทน เทศบาลยั ้นที่ได้เป็นนมากของเทศบาล อย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านอกจากนี นี้ล้วนเป็นลั้คกวามเป็ ษณะของความเป็ ปไตยแบบตั หรือทีง่เรีสะท้ ยกว่อา นผ่ า น democracy ่ค่อนข้สา่วงโดดเด่ นมากของเทศบาล นอกจากนี ้ความเป็ นประชาธิ representative กระบวนการส่ งเสริมและพั ฒนาให้เกิดทีการมี นร่วมของภาคประชาชนและเครื อข่ายต่ างๆ ในท้ องถิ่น ปดังไตย

จะเห็นได้ งถิ่ น ในระดั บ เทศบาลยั ง สะท้ อจนผ่ ม และพั เฒข้นาให้ ส่ ว นร่ ว มของ ฒนา จาก ท้กิจอกรรมและโครงการที ่เทศบาลได้ ัดขึา้นนกระบวนการส่ ซึ่งเปิดโอกาสให้งปเสริ ระชาชนได้ ามามีสเ กิ่วดนร่การมี วมในการวางแผนพั ายต่าองๆนภาพสะท้ ในท้องถิ่นอนแหล่ ดังจะเห็ กิจกรรมและโครงการที จัดาขึงแท้ ้น จริง ท้องถิภาคประชาชนและเครื ่น ดังนั้นเทศบาลจึงเปรีอยข่บเสมื งเรีนยได้นรูจ้ปากระชาธิ ปไตยท้องถิ่นในระดั่เทศบาลได้ บฐานรากอย่ ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น ดังนั้นเทศบาลจึงเปรียบเสมือน ภาพสะท้อนแหล่งเรียนรู้ประชาธิปไตยท้องถิ่นในระดับฐานรากอย่างแท้จริง

สถาบันพระปกเกล้า

27

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

3.4

รายงานสถานการณ์

 เทศบาลตาบล ผลการสารวจระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.10 อีกทั้ง = เทศบาลตำบล ผลการสำรวจระดั บ ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น อยู่ ใ นระดั บ สู ง โดยมี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ

ยั ง มี นในมิตนิคในมิ วามเป็ นสถาบันนสถาบั ในระดั บสูงเช่บนสูเดีงเช่ยนวกัเดีนยวกั มีคน่าคะแนนเฉลี ่ยเท่า่ยกัเท่บากั3.30 อย่างไรก็ 3.10 อีกคทัวามโดดเด่ ้งยังมีความโดดเด่ ติความเป็ นในระดั มีค่าคะแนนเฉลี บ 3.30 บพบว่บาพบว่ แม้าว่าแม้เทศบาลต าบลมีระดัรบะดั การมี ส่วนร่ มของประชาชนในระดั บสูบงสูแต่ เป็เนป็ระดั บสูบงที่เกิน อย่าตามกลั งไรก็ตามกลั ว่าเทศบาลตำบลมี บการมี ส่ววนร่ วมของประชาชนในระดั ง แต่ นระดั คะแนนเฉลี ่ ย มาเพี เกณฑ์รระดัะดับบสูงสูมีงค)มี่า ค=่า2.81-3.40) = 2.81-3.40( มีค่าคะแนนเฉลี สูงทีเกณฑ์ ่เกินเกณฑ์ คะแนนเฉลี ่ยมาเพียยงเล็ งเล็กกน้น้อยเท่านันั้น้ น(เกณฑ์ คือมีคืค่าอคะแนนเฉลี ่ย ่ ย ซึ่งมีซึค่งามีใกล้ คียงกั อง ผลการสำรวจดั งกล่างวจึกล่งสะท้ นให้อเห็นให้ นว่าเห็เทศบาลตำบล เท่ากัเท่บากั2.89 บ 2.89 ค่าเใกล้ เคีบยเทศบาลเมื งกับเทศบาลเมื อง ผลการสารวจดั าวจึงอสะท้ นว่า เทศบาลต าบล มีระดั ประชาธิ ปไตยท้ องถิ่อนงถิ ในมิ่นตในมิ ิความเป็ นสถาบั นในระดั บสูง บแต่สูหง ากต้ งการส่ งเสริมงประชาธิ ปไตย ป ไตย มีรบะดั บประชาธิ ปไตยท้ ติความเป็ นสถาบั นในระดั แต่หอากต้ องการส่ เสริมประชาธิ ท้องถิท้อ่นงถิ ให้ม่นีรให้ะดัมบีรทีะดั ่มากขึ จะต้​้นองส่จะต้ งเสริอ งส่ มการมี นร่วมของประชาชนและเสริ มสร้างภาคพลเมื งในท้องถิ่น องใน บที่ม้นากขึ งเสริสม่วการมี ส่วนร่วมของประชาชนและเสริ มสร้าองภาคพลเมื ให้เข้มแข็งต่อไป ดังปรากฎให้เห็นตามแผนภาพต่อไปนี้ ท้องถิ่นให้เข้มแข็งต่อไป ดังปรากฎให้เห็นตามแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพที่ 1-11 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลตำบล แผนภาพที่ 1-11 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในเทศบาลตาบล


27 27

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 1-12แผนภาพที แสดงระดั่ 1-12 บประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นในภาพรวมของเทศบาล แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้องถิ่นในภาพรวมของเทศบาล 3.4

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

3.3 3.4 3.2 3.3 3.1 3.2 3 3.1 2.9 3 2.8 2.9 2.7 2.8 2.6 2.7 2.6

แผนภาพที่ 1-12 แสดงระดับประชาธิป3.31ไตยท้องถิ่นในภาพรวมของเทศบาล 3.31

เทศบาล เทศบาล

3.1 3.1 2.89 2.89

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

ความเป็นสถาบัน

การมีส่วนร่วมของประชาชน

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ความเป็นสถาบัน การมีส่วนร่วมของประชาชน ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), ทีหน้ ่มา:าวิ211-218. ทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

แผนภาพที่ 1-13 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในแต่ละประเภทเทศบาล แผนภาพที ่ 1-13 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น ในแต่ละประเภทเทศบาล 4 แผนภาพที่ 1-13 แสดงระดับประชาธิ 3.57 ปไตยท้องถิ่น ในแต่ละประเภทเทศบาล 3.54

3.37

3.53

3.37

3.07 3.07

2.53

3.1 3.1

3.57

3.32

3.3

3.32

3.3

3.17 3.17

2.83

2.89

2.83

2.89

2.52 1.52 1.51 0.51 0.50 0

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น เทศบาลนคร ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

ความเป็นสถาบัน เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล ความเป็นสถาบัน

การมีส่วนร่วมของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชน

เทศบาลนคร เทศบาลเมืารวจระดั อง บเทศบาลต ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบั นพระปกเกล้า, รายงานส ความเป็นาบล ประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-218.

28

สถาบันพระปกเกล้า


28

4.3 ประชาธิปไตยในองค์การบริหารส่วนตำบล

อบต.

3.2 3.1

3.07

3 2.87

2.9 2.8 2.7 2.6

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น

ความเป็นสถาบัน

การมีส่วนร่วมของประชาชน

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 207-218.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 207-218.

ข้อสังเกตจากการสารวจประการหนึ่ง พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภทมีระดับประชาธิปไตย ท้องถิ่นในมิข้ตอิคสัวามเป็ นสถาบันในระดับที่ค่อนข้ างสู่ ง งพบว่ ทั้งหมด ส่วกนหนึ ่งนั้นเป็นผลมาจากนโยบายกระจายอ ง เกตจากการสำรวจประการหนึ า องค์ รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทุ ก ประเภทมี ร ะดัานาจที บ ่ ประชาธิ ไตยท้ องถิ่นในมิ ติความเป็ นสถาบั นในระดับวทีนท้ ่ค่ออนข้ ่งนัอ้นงค์ เป็กนรปกครองส่ ผลมาจาก วน ผ่านมาได้ มุ่งพัปฒ นาความเป็ นสถาบั นขององค์ กรปกครองส่ งถิ่นางสู เป็นงทัอย่้งหมด างมากส่วส่นหนึ งผลให้ ่านมาได้ สถาบัน่สขององค์ นท้อองถินให้ ่นเป็เห็นนอย่การเข้ างมากาไปมี ท้องถินโยบายกระจายอำนาจที ่นมีความเป็นสถาบันสูง่ผมาก อีกทัม้งุ่งยัพังฒ มีคนาความเป็ วามเป็นตันวแทนที ูงมากเช่กนรปกครองส่ เดียวกัน ดังวสะท้ อ งค์ ก รปกครองส่ ่ น มี ค วามเป็ นผ่สถาบั น สูอง มาก ทั้ ง ยัองงถิมี่นคและสมาชิ วามเป็ น ตักวสภาท้ แทนทีอ่ สงถิู ง มาก

ส่วนร่ส่ งวผลให้ มทางการเมื องในระดับท้วอนท้ งถิ่นอ งถิ ของประชาชน านการเลื กผู้บริอีหการท้ ่นเข้าไป เช่นเดียวกัน ดังสะท้อนให้เห็นจากการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่นของประชาชน ผ่านการ สถาบันพระปกเกล้า

29

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

3.27

3.3

รายงานสถานการณ์

4.3ผลการศึ ประชาธิ ปไตยในองค์ ารส่วหนตารส่ าบล กษาได้ ชี้ให้เห็นว่กาารบริ องค์หการบริ วนตำบลมีผลการสำรวจระดับประชาธิปไตยอยู่ในระดับ ผลการศึ ก ษาได้ ช ้ ี ใ ห้ เ ห็ น ว่ า องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต ารวจระดั ไตยอยูบ่ใสูนระดั บสู ง มี สู ง มี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย เท่ า กั บ 3.07 โดยเฉพาะอย่ า งยิาบลมี ่ ง ในมิผตลการส ิ ค วามเป็ น สถาบับนประชาธิ นั้ น อยู่ ใปนระดั ง โดยมี ค่าคะแนนเฉลี ่ยเท่​่ยาเท่กับากั3.07 ติความเป็ นสถาบั นนั้นอยูการบริ ่ในระดัหารส่ บสูงวนตำบลในระดั โดยมีค่าคะแนนเฉลี ค่าคะแนนเฉลี บ 3.27โดยเฉพาะอย่ ยิ่งสะท้อนให้างยิ เห็่นงในมิ ถึงความเป็ นสถาบั นขององค์ บสูง ่ย เท่ากัอีบกทั3.27 ยิ่งสะท้ ถึงความเป็ นสถาบัปนไตยท้ ขององค์ หารส่ได้วนต าบลในระดั สูง อีกทั้งยันงสถาบั สะท้อนนให้ ้งยังสะท้ อนให้อนให้ เห็นเถึห็งนการพั ฒนาประชาธิ องถิก่นารบริ ที่ผ่านมา มุ่งเน้ นการพัฒบนาความเป็ องถิ่นอเป็งถิน่นอย่ที่ผางมาก เห็นขององค์ ถึงการพักฒรปกครองส่ นาประชาธิวนท้ ปไตยท้ ่านมา ได้มุ่งเน้นการพัฒนาความเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นอย่ อย่าางไรก็ งมากตาม ผลการสำรวจกลับชี้ให้เห็นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น างไรก็ ามวมของประชาชนในระดั ผลการสารวจกลับชี้ให้เบห็สูนงว่าแต่องค์ ารบริบหสูารส่ าบลมีคระแนนเฉลี ะดับประชาธิ ปไตยท้ ในมิตอย่ ิการมี ส่วตนร่ เป็นกระดั งที่เกิวนต นเกณฑ์ ่ยมาเพี ยงเล็อกงถิน้่นอในมิ ย ติ การมีเท่สา่วนันร่ มของประชาชนในระดั บ สูง แต่เป็นคืระดั งที่เกินเกณฑ์ มาเพีอนให้ ยงเล็เกห็น้นอว่ายเท่การพั านั้นฒ(เกณฑ์ ้น ว(เกณฑ์ ระดับสูงมีค่า = 2.81-3.40) อมีคบ่าสูคะแนนเฉลี ่ยเท่คาะแนนเฉลี กับ 2.87่ยสะท้ นา นร่วมของประชาชนในองค์ การบริ วนตำบลที ่านมานั มีไม่มฒากเท่ ่ควร จึสง่วจำเป็ น ระดัด้บาสูนการมี งมีค่า =ส่ว2.81-3.40) คือมีค่าคะแนนเฉลี ่ยเท่าหกัารส่ บ 2.87 สะท้อ่ผนให้ เห็นว่้นายังการพั นาด้าทีนการมี นร่วมของ งส่งเสริ มและพั ฒนากระบวนการมี วมและส่

อย่างยิ่งที่จะต้กอารบริ ประชาชนในองค์ หารส่ วนตาบลที ่ผ่านมานั้นยังมีสไ่วม่นร่ มากเท่ าที่คงวรเสริจึมงการเมื จาเป็นออย่งภาคพลเมื างยิ่งที่จะต้องให้ องส่มงากขึ เสริม้นและ ดังปรากฎให้เห็นตามแผนภาพต่ ไปนีม้ การเมืองภาคพลเมืองให้มากขึ้น ดังปรากฎให้เห็นตามแผนภาพต่อไปนี้ พัฒนากระบวนการมี ส่วนร่วมและส่องเสริ 1-14 แสดงระดั องถิ่นปไตยท้ ในองค์อกงถิารบริ หารส่กวารบริ นตำบล แผนภาพที่ แผนภาพที ่ 1-14บประชาธิ แสดงระดัปไตยท้ บประชาธิ ่น ในองค์ หารส่วนตาบล


รายงานสถานการณ์

เลือกผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นเข้าไปทำหน้าที่แทนประชาชนในสภาท้องถิ่น อีกทั้งยังมี กระบวนการตรวจสอบจากภาคประชาชนและภาคส่วนต่างๆ สิง่ เหล่านีล้ ว้ นส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พัฒนาความเป็นสถาบันได้อย่างเด่นชัด

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

นอกจากนี้ผลการสำรวจยังเป็นสิ่งยืนยันได้อีกประการหนึ่งว่า การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นของ ไทยที่ผ่านมานั้นได้มุ่งเน้นระบบประชาธิปไตยแบบตัวแทน (representative democracy) ซึ่งปรากฎอย่าง เด่นชัดมากในระดับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม ในการพัฒนาท้องถิ่น ผ่านการประชาคม การประชุมในระดับชุมชน กิจกรรม/โครงการพัฒนาชุมชนต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ประชาธิปไตยร่วมกันในระดับท้องถิ่น

5. ประชาธิปไตยท้องถิ่น : ระดับความเป็นสถาบัน คำถามที่ผู้อ่านหลายท่านเกิดความสงสัยว่า การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมาได้ส่งผลต่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างไรบ้าง? เพราะที่ผ่านมานั้นก็มีความพยายามพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น

มาโดยตลอด แต่ก็ไม่มีใครทราบได้ว่า แล้วผลในเชิงประจักษ์จากความพยายามพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น นั้นเกิดผลอย่างไรบ้าง ซึ่งผลการสำรวจครั้งนี้จะมีคำตอบให้กับท่านผู้อ่านทุกท่าน การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่ น ไทยที่ ผ่ า นมาได้ มุ่ ง เน้ น การสร้ า งความเป็ น สถาบั น ให้ กั บ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นอย่างมาก ดังปรากฏให้เห็นจากผลการสำรวจ พบว่า ความเป็นสถาบันขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นค่อนข้างประสบผลสำเร็จอย่างมาก อีกทั้งผลการสำรวจยังได้ชี้ชัดว่า ความเป็น สถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภทอยู่ในระดับสูง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.28 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเด็นด้านความเป็นตัวแทนที่ค่อนข้างมีความโดดเด่น มีค่าเท่ากับ 3.39 รองลงมาคือประเด็นการส่ง เสริมความเป็นพลเมือง มีค่าเท่ากับ 3.24 และสุดท้ายคือประเด็นความเป็นมืออาชีพที่มีค่าคะแนนเฉลี่ย

น้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.21 คำถามต่อมาคือ แล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทไหนที่มีความเป็นสถาบันสูงที่สุด? ผลการ สำรวจพบว่า เทศบาลนครมีค่าคะแนนเฉลี่ยความเป็นสถาบันสูงที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.57 รองลงมาคือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีค่าเท่ากับ 3.36 ถัดมาคือเทศบาลเมือง มีค่าเท่ากับ 3.32 ส่วนเทศบาลตำบล นั้นมีค่าเฉลี่ยรองลงมา มีค่าเท่ากับ 3.30 และสุดท้ายคือองค์การบริหารส่วนตำบลที่มีความเป็นสถาบัน น้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.27 ตามลำดับ จากผลสำรวจดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นว่า ที่ผ่านมานั้นเรามุ่งเน้นการพัฒนาความเป็นสถาบันของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นอย่างมาก ผ่านการเลือกตัง้ ผูแ้ ทนและระบบการเมืองท้องถิน่ เช่น การเลือกตัง้ ผู้บริหารท้องถิ่น การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น การเข้าไปทำหน้าที่ของผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่น แทนประชาชน หรือแม้กระทั่งการทำหน้าที่ตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น จึงส่งผลให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเป็นสถาบันสูง ทั้งในด้านการพัฒนาความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารท้องถิ่น

การมุ่งส่งเสริมความเป็นตัวแทนของประชาชน ตลอดจนการส่งเสริมความเป็นพลเมืองในระดับท้องถิ่น

ผลที่ ต ามจึงทำให้องค์กรปกครองส่วนท้ อ งถิ่ น มี ค วามโดดเด่ น อย่ า งมากในการพั ฒ นาความเป็ น สถาบั น

30

สถาบันพระปกเกล้า


30

(ค่าเฉลี่ย = 3.24)

(ค่าเฉลี่ย = 3.39)

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

2. การส่งเสริม ความเป็น พลเมือง

1. ความเป็น ตัวแทน

3. ความเป็น มืออาชีพ (ค่าเฉลี่ย = 3.21)

ความเป็นสถาบัน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวม อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.28) อปท.ประเภทใดมีความเป็นสถาบันสูงที่สุด? 3.6

3.57

ความเป็นสถาบัน

3.5 3.4

3.36

3.32

3.3

3.3

3.27

3.2 3.1

เทศบาลนคร

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

รายงานสถานการณ์

โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ในระดับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนจังหวัด

ท้องถิ่นมีความโดดเด่นอย่างมากในการพัฒนาความเป็นสถาบัน โดยเฉพาะอย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาด ที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยความเป็นสถาบันอยู่ในระดับสูง ใหญ่ในระดับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนจังหวัด ที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยความเป็นสถาบันอยู่ในระดับสูง แผนภาพทีแผนภาพที ่ 1-15 แสดงระดั ประชาธิปบไตยท้ องถิป่นไตยท้ ในภาพรวม มิติความเป็มินตสถาบั น นสถาบัน ่ 1-15บแสดงระดั ประชาธิ องถิ่นในภาพรวม ิความเป็

เทศบาลเมือง

เทศบาลตาบล

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ทีที่ม่มา:า:วิทวิยาลั ยพัยฒพันาการปกครองท้ องถิน่ องถิ สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดับความเป็บนความเป็ ประชาธิปนไตยท้ องถิป่นไตยท้ (ฉบับอสมบู ), หน้ า 207-218. ทยาลั ฒนาการปกครองท้ ่น สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั ประชาธิ งถิ่นรณ์(ฉบั บสมบู รณ์),

หน้า 207-218.

สถาบันพระปกเกล้า

31


รายงานสถานการณ์

สิ่ ง ที่ น่ า สนใจ... ที่ ค้ น พบจากการสำรวจความเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ในมิ ติ ค วามเป็ น สถาบั น

มี 3 ประการ คือ

5.1 ความเป็นท้องถิ่น 4.0

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ทุกวันนี้เราเคยสงสัยกันหรือไม่ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสื่อสารกับประชาชนอย่างไร? ยังคงใช้ การสื่อสารแบบเก่าอยู่หรือไม่? คำตอบก็คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทุกวันนี้เปลี่ยนไปแล้ว! ท่ามกลางการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลได้กลายเป็นมาจุดเปลี่ยนสำคัญในการสื่อสารระหว่างองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น กั บ ประชาชนที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ทั้ ง ในแง่ ก ารสร้ า งโอกาสในการเข้ า ถึ ง บริ ก ารภาครั ฐ

การสร้างโอกาสในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และการสนับสนุนช่องทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทำงาน ใกล้ชิดกับประชาชนและชุมชนมากขึ้น ในอดีต... องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนิยมใช้การสื่อสารแบบเก่า หรือที่เรียกว่า “การสื่อสารแบบ ไม่ใช้ดิจิทัล (non-digital innovation)” ซึ่งจะพบเห็นตั้งแต่ในยุคแรกเริ่มที่การพัฒนาเทคโนโลยียังไม่มี ความก้าวหน้าและทันสมัยมากนัก ทำให้การสื่อสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปยังประชาชน จึงนิยม ใช้การลงพื้นที่พบปะพูดคุยกับประชาชน การส่งข้อมูลข่าวสารผ่านผู้นำชุมชน การลงไปประชาคมตามชุมชน ต่างๆ และการส่งหนังสือราชการแจ้งไปยังชุมชน เพราะเป็นช่องทางที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถ เข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด ต่อมา... การพัฒนาเทคโนโลยีเริ่มมีความก้าวหน้ามากขึ้น มีการพัฒนาระบบคลื่นความถี่ การส่ง สัญญาณและสื่อสารต่างๆ มากขึ้น เช่น โทรศัพท์ การสื่อสารผ่านคลื่นความถี่ต่างๆ เราจึงเห็นการสื่อสารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในยุคนี้นิยมใช้การสื่อสารโทรศัพท์ เสียงตามสาย หอกระจายข่าว รถกระจาย เสียง หรือช่องวิทยุชุมชน มาใช้สื่อสารกับประชาชน ขณะเดียวกันก็ยังคงใช้รูปแบบการสื่อสารแบบเก่าด้วย ปัจจุบัน... เทคโนโลยีการสื่อสารมีความก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้มีการพัฒนาช่องทางการสื่อสารแบบ ใหม่ขึ้นมา หรือที่เรียกว่า “การสื่อสารแบบใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (digital innovation)” ซึ่งผลจาก การสำรวจพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่มีแนวโน้มนิยมใช้การสื่อสารแบบใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในสัดส่วนที่มากกว่าการสื่อสารแบบไม่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดใหญ่ ได้ แ ก่ อบจ. และเทศบาลนคร ที่ มี สั ด ส่ ว นการใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ในหลายประเภท เช่ น Facebook, line, e-mail มาใช้ในการสื่อสารและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น เพราะการใช้ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ได้ ท ำให้ เ สี ย งของประชาชนในท้ อ งถิ่ น มี ค วามสำคั ญ มากขึ้ น ในระบอบประชาธิ ป ไตย

เปิดกว้างให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยสามารถเข้าถึงสิทธิและโอกาสในการมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตย ท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น จึ ง ทำให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น อาศั ย ช่ อ งทาง

การสื่อสารดังกล่าวมาใช้สนับสนุนในการสื่อสารกับประชาชนมากขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 แล้ว แต่การสื่อสารระหว่างองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชนก็ยังคงอาศัยการบูรณาการร่วมกันระหว่างการใช้เทคโนโลยีสื่อสารแบบ เก่ากับแบบใหม่ เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองและโอกาสในการเข้าถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่าง แท้จริง

32

สถาบันพระปกเกล้า


32 32

แผนภาพที่ 1-16 ช่องทางการสื่อสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใช้ในการสื่อสารกับประชาชน อบต.

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 1-16 ช่องทางการสื ่อสารขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ แผนภาพที ่ 1-16 ช่องทางการสื ่อสารขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นที่น่ใทีช้่ใใช้นการสื ในการสื่อ่อสารกั สารกับบประชาชน ประชาชน อบต.

เทศบาลตาบล

เทศบาลตาบล

เทศบาลเมื อง เทศบาลเมือง เทศบาลนคร เทศบาลนคร

non-digital non-digital

0%

0%

10%

10%

20%

20%

30%

30%

digital

digital

40%

40%

50%

50%

60%

60%

70%

70%

80%

80%

90%

100%

90%

100%

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 40-43.

ยพัฒนาการปกครองท้ งถิ่น สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิ งถิ่นบสมบู (ฉบับรณ์สมบู รณ์า),40-43. ที่มา: ทีวิ่มทา:ยาลัวิทยยาลั พัฒนาการปกครองท้ องถิน่ อสถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดับความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ปอไตยท้ งถิ่น อ(ฉบั ), หน้ หน้า 40-43.

แผนภาพที 1-17พัพัฒฒนาการการสื นาการการสื ่อสารขององค์ กรปกครองส่ ่นกับประชาชนตั อดีงตปัจนถึ แผนภาพที่ ่ 1-17 ่อสารขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิ่นอกังถิบประชาชนตั ้งแต่อดี้งตแต่ จนถึ จจุบงัน ปัจจุบ่ ัน1-17 พัฒนาการการสื่อสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แผนภาพที ปัจจุบัน : digital innovation e-mail ปัจจุบันfacebook : digitallineinnovation

facebook line e-mail ต่อมา : analog signal

ต่อมา

โทรศัพท์ เสียงตามสาย หอกระจายข่าว :วิทanalog ยุชุมชน signal

โทรศัพท์ เสียงตามสาย หอกระจายข่าว อดีต : non-digital innovation วิทยุชุม้นชนที่ ส่งข่าวผ่าน การพบปะพูดคุย การลงพื ้นาชุมชน การประชาคม หนังสือราชการ อดีต : ผูnon-digital innovation

การพบปะพูดคุย การลงพื้นที่ ส่งข่าวผ่าน ผู้นาชุมชน การประชาคม หนังสือราชการ

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 40-43.

ที่มา: ทีวิ่มทา:ยาลัวิทยยาลั พัฒนาการปกครองท้ องถิน่ อสถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดับความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ปอไตยท้ งถิ่น อ(ฉบั ), หน้ ยพัฒนาการปกครองท้ งถิ่น สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิ งถิ่นบสมบู (ฉบับรณ์ สมบู รณ์า), 40-43. หน้า 40-43.

สถาบันพระปกเกล้า

33

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

อบจ. อบจ.


รายงานสถานการณ์

5.2 ขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อก่อนเราเชื่อกันว่า การปกครองส่วนท้องถิ่นยิ่งมีขนาดเล็กยิ่งดี! เพราะจะช่วยส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยท้องถิน่ และความเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ได้เป็นอย่างดี ดังที่ อี.เอฟ.ชูมาเกอร์ ได้กล่าวถึงประเด็น Small is Beautiful ซึ่งประเด็นนี้นับเป็นข้อถกเกียงกันอย่างมากทั้งจากนักวิชาการและ ผู้ที่เกี่ยวข้องว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีขนาดเท่าใดจึงจะเหมาสม?

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ข้อค้นพบจากการสำรวจประชาธิปไตยท้องถิ่น ได้ชี้ชัดว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ มีความเป็นสถาบันสูงกว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทศบาลนคร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ และมีระดับความเป็นสถาบันสูง รองลงมาคือ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล ตามลำดับ ดังนั้นจึงเป็นไปได้หรือ ไม่ ว่ า การผลั ก ดั น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น กั บ ความเป็ น สถาบั น จะสามารถพั ฒ นาได้ ดี ใ นองค์ ก รปกครอง

ส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่มากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดเล็ก? อย่างไรก็ตาม สิ่งหนึ่งที่เราไม่สามารถปฏิเสธได้ คือ ขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความ สำคัญต่อการลงทุนของภาครัฐ โดยรัฐเลือกที่จะลงทุนในพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่มากกว่าพื้นที่ขนาดเล็ก เพราะ การเลือกลงทุนในพื้นที่ขนาดใหญ่มีต้นทุนน้อยกว่าพื้นที่ขนาดเล็ก อีกทั้งยังมีความได้เปรียบที่เกิดจากการที่ หน่วยธุรกิจสามารถผลิตได้จำนวนมากขึ้น ทำให้ต้นทุนการลงทุนในพื้นที่ลดลง (economy of scale) ดังนั้น จึงเป็นไปได้ว่า เทศบาลนครที่มีสภาพความเป็นเมืองและมีฐานทรัพยากรในพื้นที่ที่สมบูรณ์อยู่แล้ว จึงมี โอกาสที่จะได้รับการพัฒนาจากรัฐมากกว่า ทั้งในแง่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ การพัฒนา สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ส่งผลให้เทศบาลนครมีทรัพยากรมากพอที่จะพัฒนาความเป็นสถาบันและ สามารถขับเคลื่อนประชาธิปไตยท้องถิ่นได้ด ี

5.3 วาระการดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี น ายกดำรงตำแหน่ ง ตั้ ง แต่ 4 วาระขึ้ น ไป จะยิ่ ง มี ค วามเป็ น ประชาธิปไตยท้องถิ่นสูง อีกทั้งยังสะท้อนความเป็นตัวแทนและความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารท้องถิ่น

ได้เป็นอย่างดีจริงหรือไม่? ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีนายกดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไป มีความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นสูงที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.14 รองลงมาคือดำรงตำแหน่งไม่เกิน 3 วาระ และไม่ เ กิ น 2 วาระ ซึ่ ง มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั น 3.09 และสุ ด ท้ า ยดำรงตำแหน่ ง ไม่ เ กิ น 1 วาระมี ค วามเป็ น ประชาธิปไตยน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.05 ตามลำดับ สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้นคือ วาระการดำรงตำแหน่งของนายกตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไป ยังสะท้อนความเป็น ตัวแทนและความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารท้องถิ่นเช่นเดียวกัน โดยผลการสำรวจพบว่า ยิ่งนายกดำรง ตำแหน่งหลายวาระ ก็จะยิ่งมีระดับความเป็นตัวแทนสูง โดยนายกที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไปจะมี ความเป็นตัวแทนสูงมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 รองลงมาคือดำรงตำแหน่งไม่เกิน 3 วาระ, ไม่เกิน 2 วาระ, และไม่เกิน 1 วาระ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.42, 3.39 และ 3.35 ตามลำดับ ขณะเดียวกันก็มี ระดับความเป็น มืออาชีพสูงเช่นเดียวกัน โดยนายกที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไปจะมีความเป็นมืออาชีพระดับสูง

34

สถาบันพระปกเกล้า


34

34

ความเป็ ความเป็นนสถาบั ประชาธิ น ปไตย การมีส่วความเป็ นร่วมของประชาชน นสถาบัน

3.24 3.09 3.05

3.05 2.86

ไม่เกิน 1 วาร

3.35 3.31

3.31 3.29

3.29 3.24

ไม่เกิน 21 วาระ วาร

3.35

3.14 3.09

3.09 3.09

2.89 2.86

การมีส่วนร่วมของประชาชน

2.89 2.87

ไม่ ไม่เเกิกินน 23 วาระ วาระ

3.14

2.92 2.87

2.92

ตั้งไม่แต่เกิ4น วาระขึ 3 วาระ้นไป

ตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไป

มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้ ที่มอา:งถิวิน่ ทยาลั สถาบั ยพันฒพระปกเกล้ นาการปกครองท้ า, รายงานส องถิน่ ารวจระดั สถาบันบพระปกเกล้ ความเป็นาประชาธิ , รายงานส ปไตยท้ ารวจระดั องถิ่นบ(ฉบั ความเป็ บสมบูนรประชาธิ ณ์), หน้ปา ไตยท้ 265-308. องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 265-308. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 265-308.

14 พระราชบั พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่ วนจังหวัดญ(ฉบั ญัตบิอทีงค์่ 5)การบริ พ.ศ.ห2562 ารส่วนจั มาตรา งหวัด35/2, (ฉบับพระราชบั ที่ 5) พ.ศ.ญ2562 ญัติเทศบาล มาตรา (ฉบั 35/2, บที่พระราชบั 14) พ.ศ. ญ2562 ญัติเทศบาล มาตรา 48 (ฉบัแบละ ที่ 14) พ.ศ. 2562 มาตรา 48 แ ละ ะราชบัญญัติสภาตาบลและองค์ พระราชบั การบริหญารส่ ญัตวิสนต ภาต าบล าบลและองค์ (ฉบับที่ 7)กพ.ศ. ารบริ2562 หารส่วมาตรา นตาบล58/2 (ฉบับได้ที่ ม7)ีการแก้ พ.ศ. ไ2562 ขเพิ่มเติมาตรา ม เรื่องวาระการด 58/2 ได้มีการแก้ ารงตาแหน่ ไขเพิ่มงเติของ ม เรื่องวาระการดารงตาแหน่งของ ยกท้องถิ่น ให้มีวาระการดารงตนายกท้ าแหน่งอคราวละ งถิ่น ให้ม144ีวาระการด ปีตั้งแต่วันารงต เลือกตั าแหน่ ้ง แต่งคราวละ จะดารงต4าแหน่ ปีตั้งแต่ งติวดันต่เลื อกัอนกตั เกิ้งนแต่ 2 จวาระไม่ ะดารงตได้าแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562 มาตรา 35/2, พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มาตรา 48 และพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มาตรา 58/2 ได้มีการ แก้ไขเพิ่มเติม เรื่องวาระการดำรงตำแหน่งของนายกท้องถิ่น ให้มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปีตั้งแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรง ตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้

สถาบันพระปกเกล้า

35

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ความเป็นประชาธิปไตย

รายงานสถานการณ์

เฉลี่ยเท่ากับ 3.42, 3.39 ค่าเฉลี และ่ยเท่3.35 ากับตามล 3.42,าดั3.39 บ ขณะเดี และ ย3.35 วกันตามล ก็มี ระดัาดับบความเป็ ขณะเดีนยมืวกัอนอาชี ก็มพี ระดั สูงบเช่ความเป็ นเดียวกันนมืโดย ออาชีพสูงเช่นเดียวกัน โดย ยกที่ดารงตาแหน่งตั้งแต่ นายกที 4 วาระขึ ่ดารงต ้นไปจะมี าแหน่งคตัวามเป็ ้งแต่ 4นวาระขึ มืออาชี้นพไปจะมี ระดับสูคงวามเป็ มีค่าเฉลี นมือ่ยอาชี เท่ากัพบระดั 3.31 บสูงรองลงมาคื มีค่าเฉลี่ยอเท่ดาารง กับ 3.31 รองลงมาคือดารง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.31 รองลงมาคือดำรงตำแหน่งไม่เกิน 3 วาระ, ไม่เกิน 2 วาระ, และไม่เกิน 1 วาระ

แหน่งไม่เกิน 3 วาระ, ตไม่าแหน่ เกินมีค2ง่าไม่เฉลี วาระ, เกิ่ยนเท่3และไม่ เกิไม่น เ1กิ3.24 นวาระ 2และ วาระ, มีค3.16 ่าเฉลี และไม่ ่ยเท่เากิกันบบ13.27, มีค่าเฉลี และ่ยเท่ 3.16 ากับตามล 3.27,าดั3.24 บ และ 3.16 ตามลาดับ ากัวาระ, บ 3.27, ตามลำดั วาระ3.24 แม้ว่าการสารวจจะชี้ให้เห็แม้นวว่​่าการส องค์การวจจะชี รปกครองส่ ้ให้เวห็นท้ นว่อางถิองค์ ่นทีก่มรปกครองส่ ีนายกดารงแหน่ วนท้องงถิ ตั้ง่นแต่ที่ม4ีนายกด วาระขึารงแหน่ ้นไป จะมี งตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไป จะมี แม้ว่าการสำรวจจะชี้ให้เห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีนายกดำรงแหน่งตั้งแต่ 4 วาระขึ้นไป ามเป็นประชาธิป ไตยท้ ความเป็ องถิ่น อยู นประชาธิ ่ในระดับปสูไตยท้ ง อีกอทังถิ ้งยั่นงอยู สะท้ ่ในระดั อนความเป็ บสูง อีนกมืทัอ้งอาชี ยังสะท้ พและความเป็ อนความเป็นตัมืวอแทนของ อาชีพและความเป็ นตัว แทนของ จะมีความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นอยู่ในระดับสูง อีกทั้งยังสะท้อนความเป็นมืออาชีพและความเป็นตัวแทน องถิ่นในระดับสูงด้วยเช่ท้นองถิ กันของท้ ่นอย่ ในระดั าองไรก็ งามเมื ด้วยเช่ ่อบเร็สูนงวกัด้ๆนวนียเช่ อย่้ ได้านมงไรก็ ตามเมื จาจานุ ่อเเร็ บกษา ๆ นีประกาศเมื ทีเบกษา ่ 16 เมษายน ประกาศเมื ่อวันที่ 16่ อ วัเมษายน งถิบ่ นสูตในระดั กัีรนาชกิ อย่ งไรก็ ตวามเมื ่้อได้เร็มวีรๆาชกิ นี้ ไจด้่อจานุ มวัี รนาชกิ จ จานุ เ บกษา ประกาศเมื น ที่

14 14 ได้มดีกตัารแก้ ขเพิ ารแก้ มนายกท้ ขเพิ เติ่นม ไจากเดิ 62 ว่าด้วยเรื่องกฎหมายจั 256216 ดว่ตัาเมษายน ้งด้องค์ วยเรืก่อรปกครองส่ งกฎหมายจั นท้ ด ตั่ออ้งงกฎหมายจั องค์ งถิ่นกรปกครองส่ อ่มงถิเติ่นม จากเดิ 2562 ว่าด้ววยเรื ้งองค์วกไนท้ รปกครองส่ วได้นท้มีอกงถิ ่น14 ไได้ มอีก่มงถิ ารแก้ ขเพิ่มเติมมนายกท้ จากเดิอมงถิ่น มารถดารงตาแหน่งต่อสามารถด เนื่อนายกท้ งกันหลายสมั ารงต ยได้งต่อแต่เนืก่อฎหมายใหม่ งกันหลายสมั ด้ยแอ่ ได้ ก้งกัไขเพิ ่กมฎหมายใหม่ เติม ให้ แอก้งถิไขเพิ ่นดารงต ่มเติ นายกท้ งม่ เติมอให้งถิน่นายกท้ ดารงต องถิาแหน่ น่ สามารถดำรงตำแหน่ งต่อไเนื นแต่ หลายสมั ยได้นายกท้ แต่ไกด้ฎหมายใหม่ ได้มแาแหน่ ก้ให้ไขเพิ องถิาแหน่ น่ ง าวละ 4 วาระ แต่จะดคราวละ ารงตดำรงตำแหน่ าแหน่ 4 วาระ งติดกันแต่ จนะด2ารงต วาระไม่ ได้งจซึติะดำรงตำแหน่ ่งดกฎหมายดั กันเกิน 2 งวาระไม่ กล่ ซึน่ง2กฎหมายดั ้อาจส่ งไงผลกระทบต่ วที่ออกมานี อ งกล่ ้อาจส่ งเกิ คราวละ 4 าแหน่ ปี แต่ งติดาวที กันไ่อด้เกิอกมานี วาระไม่ ด้กล่ซึ่งากฎหมายดั าวทีง่อผลกระทบต่ อกมานี้ อ อาจส่ งวผลกระทบต่ การบริ หารงานขององค์ นท้ประชาธิ อองถิเนื่น่อได้ปงไปถึ และอาจส่ อเนื่องไปถึ งความเป็ รบริหารงานขององค์กการบริ รปกครองส่ หารงานขององค์ นท้องถิ่นได้กอรปกครองส่ และอาจส่ งวผลต่ นท้องถิ เนื่นองไปถึ ได้กรปกครองส่ และอาจส่ งความเป็วงนผลต่ ไตยท้ งความเป็ องถิ่นงผลต่ ทีน่เราประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นนที่เรา ปไตยท้องถิ่นกทีัน่เต่ราจะต้ องจับตาสถานการณ์กันต่อไปในอนาคต ต้องจับตาสถานการณ์จะต้ กันต่อประชาธิ งจั ไปในอนาคต บตาสถานการณ์ อไปในอนาคต แผนภาพที แสดงระดั บประชาธิ ปแสดงระดั ไตยท้ ในภาพรวม จำแนกตามวาระการดำรงตำแหน่ งของ แผนภาพที ่ 1-18่ 1-18 แสดงระดั แผนภาพที บประชาธิ ่ 1-18 ปไตยท้ องถิอ่นงถิในภาพรวม บ่นประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นในภาพรวม นายกท้องถิ่น จาแนกตามวาระการดารงต จาแนกตามวาระการด าแหน่งของนายกท้ารงต องถิ่นาแหน่งของนายกท้องถิ่น


6. ประชาธิปไตยท้องถิ่น : ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน

35

รายงานสถานการณ์

6. ประชาธิปไตยท้องถิ่น : ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมาได้มุ่งเน้นส่งเสริมความเป็นสถาบันให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้ฒอนาประชาธิ งถิ่น แต่อีกปด้ไตยท้ านหนึอ่งงถิ กลั่นบทีพบว่ า การมีมสุ่ง่วเน้นร่นวส่มของประชาชนแม้ ว่าจะมี ่ยในระดับวนสูง การพั ่ผ่านมาได้ งเสริมความเป็นสถาบั นให้ค่กาคะแนนเฉลี ับองค์กรปกครองส่ เป็นระดั งที่เกิานการมี เกณฑ์สค่วะแนนเฉลี ่ยมาเพียงเล็กน้อวยเท่ (เกณฑ์ระดับ่ยสูในระดั งมีค่า บ=สู2.81-3.40) ท้องถิ่น แต่หากแต่ อีกด้านหนึ ่งกลับบสูพบว่ นร่วมของประชาชนแม้ ่าจะมีานัค้น่าคะแนนเฉลี ง หากแต่เป็คืนอ เฉลี่ยเท่คะแนนเฉลี ากับ 2.88่ยโดยในประเด็ วมด้านการตระหนั มีค่ย่าเท่ คะแนน ระดับสูงที่เมีกิคน่าเกณฑ์ มาเพียงเล็กน้นอการมี ยเท่าสนั่วนร่ ้น (เกณฑ์ ระดับสูงมีคก่ารู้=(concerned 2.81-3.40) citizen) คือมีค่าเฉลี ากับ เฉลี่ ย เท่ากันบการมี 2.93ส่ วเช่นร่ นเดี ยวกัานการตระหนั นกับประเด็ นกการมี ส่ ว นร่ ว มด้ า นการลงมื บั ติ มี ค่ า เฉลี่ ย่ ยเท่เท่ากัา กับบ2.93 2.83 2.88 โดยในประเด็ ว มด้ รู้ (concerned citizen) มีอคปฏิ ่าคะแนนเฉลี สะท้อนให้เห็นว่า การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองยังไม่บรรจุผลสำเร็จมากนัก สิ่งที่ เช่นเดียวกันกับประเด็นการมีส่วนร่วมด้านการลงมือปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.83 สะท้อนให้เห็นว่า การส่งเสริม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเร่งพัฒนาต่อไปในอนาคตคือ การมุ่งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กระบวนการมี ่วนร่ วมของภาคพลเมื องยังไม่บรรจุผลสาเร็จ มากนัก สิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเร่ง ในท้อสงถิ ่นให้ มากขึ้น พัฒนาต่อไปในอนาคตคือ การมุ่งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นให้มากขึ้น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั น องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประเภทใดที่ มี ป ระชาชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม

เมื่อเปรียบเทียบกัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทใดที่ มีประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุด? ผล มากที่ สุ ด ? ผลการสำรวจพบว่ า เทศบาลนครมี ค่ า คะแนนเฉลี่ ย การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน มีค่าคะแนนเฉลี ส่วนร่วมของประชาชนมากที ่าเท่ากกัารบริ บ 3.17 การสารวจพบว่ มากทีา่ สเทศบาลนคร ุ ด มีค่าเท่ากับ 3.17 รองลงมาคื่ยอการมี เทศบาลตำบล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั่สงุดหวัมีดคองค์ ห าร

รองลงมาคืส่อว นตำบล เทศบาลต าบล องค์การบริ งหวัด องค์่ ยกใกล้ ารบริ ารส่ วนต และเทศบาลเมื ซึ่งมี2.83 ค่า

และเทศบาลเมื อ ง หซึารส่ ่ ง มี คว่ านจั คะแนนเฉลี เ คี ยหงกั น เท่ า กัาบล บ 2.89, 2.88, 2.87องและ คะแนนเฉลีตามลำดั ่ยใกล้เคีบยงกั นเท่ากับ 2.89, 2.88, 2.87 และ 2.83 ตามลาดับ แผนภาพที ่ 1-19แสดงระดั แสดงระดับประชาธิ บประชาธิปปไตยท้ ไตยท้อองถิงถิ่น่นในภาพรวม ในภาพรวม มิมิตติกิการมี ารมีส่วนร่วมของประชาชน มของประชาชน แผนภาพที ่ 1-19

concerned citizen (ค่าเฉลี่ย=2.93)

active citizen (ค่าเฉลี่ย=2.83)

1 เทศบาลนคร (ค่าเฉลี่ย=3.17) 2 เทศบาลตาบล (ค่าเฉลี่ย=2.89) 3 อบจ. (ค่าเฉลี่ย=2.88)

การมีส่วนร่วมของ ประชาชน อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย=2.88)

4 อบต. (ค่าเฉลี่ย=2.87) 5 เทศบาลเมือง (ค่าเฉลี่ย=2.83)

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-213.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-213.

สิ่งที่น่าสนใจ... ที่ค้นพบจากการสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นในมิติการมีส่วนร่วมของ ประชาชน มี 3 ประการ คือ 36

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

ประชาชน มี 3 ประการ คือ 6.1 การรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และรับผิดชอบของประชาชน เรามักได้ยินคาพูดจากรัฐอยู่บ่อยครั้ง ว่า ประชาชนไม่ค่อยรู้สิทธิหน้าที่ของตนเอง หรือ บ่อยครั้งก็พบเจอ คาพูดทีว่ ่า อะไรๆ ก็อ้างสิทธิของตัวเอง แต่ไม่รจู้ ักหน้าที่และความรับผิดชอบ สรุปแล้วคาพูดเหล่านี้ที่ว่า ประชาชน ้สิทธิบรูผิ้หดชอบนั น้าที่ และรั ผิดอชอบของประชาชน ไม่รู้สิทธิ ไม่รู้หน้6.1 าที่แ การรู ละความรั ้นจริบงหรื ไม่? ก ได้ ยิน คำพู ดจากรั ฐอยูอ่ บงถิ ่ อ ยครั ง ว่ า ประชาชนไม่ ค่ อ ยรู ิ ท ธิ ห น้ า ที่ ข องตนเอง ้ ง

จากผลการสเรามั ารวจประชาธิ ป ไตยท้ ่ น ้พบว่ า แท้ จ ริ ง แล้ ว !้สประชาชนรู ้ สิ ท ธิ รูหรื้ หอน้บ่าอทียครั ่ และความ ก็พบเจอคำพูดที่ว่า อะไรๆ ก็อ้างสิทธิของตัวเอง แต่ไม่รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบ สรุปแล้วคำพูดเหล่านี้ รับผิดชอบของตนเองอยู ่ในระดั เป็นระดั สูงที้น่เจริกิงนหรืเกณฑ์ ที่ว่า ประชาชนไม่ รู้สิทธิบไม่สูรงู้หน้หากแต่ าที่และความรั บผิดบ ชอบนั อไม่? คะแนนเฉลี่ยมาเพียงเล็กน้อยเท่านั้น (เกณฑ์ระดับสูงมีค่า = 2.81-3.40) ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.94 และเมื่อถามว่าประชาชนที่อยู่ ในองค์กร จากผลการสำรวจประชาธิปไตยท้องถิ่น พบว่า แท้จริงแล้ว! ประชาชนรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และความ ปกครองส่วนท้รัอบงถิผิด่นชอบของตนเองอยู ประเภทใดมีการรั่ในระดั บรู้สิทบธิสูงหน้หากแต่ าที่ และความรั ากัน ? ค่ยมาเพี าตอบก็ คือกน้ประชาชนที ่ เป็นระดับสูบงทีผิ่เดกิชอบมากกว่ นเกณฑ์คะแนนเฉลี ยงเล็ อย เท่านั้น (เกณฑ์มีรกะดัารรั บสูงบมีรูค้ ส่า ิ ท= ธิ2.81-3.40) ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี ากับมากที 2.94 และเมื ถามว่าคประชาชนที หน้า ที่ และความรั บผิด่ยเท่ชอบ ่สุด ่อโดยมี ่าเฉลี่ยเท่​่อายูกั่ บ 3.19 อยู่ใ นเขต เทศบาลนคร ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทใดมีการรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบมากกว่ากัน? คำตอบ

รองลงมาคือ องค์ การบริหารส่วนตาบล เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง และองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งมีค่า ก็คือ ประชาชนที่อยู่ในเขตเทศบาลนครมีการรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบมากที่สุด คะแนนเฉลี่ยไม่โดยมี ได้แตกต่ ก โดยมี ค่าเฉลีอ ่ยองค์ เท่ากกัารบริ บ 2.95, และ 2.81เทศบาลเมื ตามลาดัอบง จึและ งสะท้อนได้ ค่าเฉลีางกั ่ยเท่นามากนั กับ 3.19 รองลงมาคื หารส่ว2.94, นตำบล2.86 เทศบาลตำบล องค์อกงถิ ารบริ นจังหวัดทธิซึ่งหน้ มีค่าาคะแนนเฉลี ่ยไม่ได้บแผิตกต่ างกันมากนัก โดยมี เฉลี่ยชเท่​่องทางการสื ากับ 2.95, 2.94, ว่า ประชาชนในท้ ่นไม่หารส่ ได้ลวะเลยสิ ที่ และความรั ดชอบของตนเอง เพีคย่างแต่ ่อสารที่จะให้ 2.86สและ ตามลำดับบรู้สจึิทงสะท้ ประชาชนในท้ องถิน่ ไม่งมีได้ขล้อะเลยสิ ธิ หน้่มาาก ที่ และความรั บผิดชอบ ทราบ ประชาชนเข้าไปมี ่วนร่2.81 วม และรั ธิหน้อนได้ าที่ขวา่ องตนเองนั ้นอาจยั จากัดทอยู ทาให้ประชาชนไม่ ของตนเอง เพียงแต่ช่องทางการสื่อสารที่จะให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม และรับรู้สิทธิหน้าที่ของตนเองนั้น ข้อมูลที่แน่ชัดว่อาจยั าตนเองมี สิทดธิอยูหน้่มากาทีทำให้ ่ และความรั บผิทดราบข้ ชอบอี วมพัฒนาประชาธิ งมีข้อจำกั ประชาชนไม่ อมูกลมากมายในการเข้ ที่แน่ชัดว่าตนเองมีสิทาธิไปมี หน้สาที่ว่นร่ และความรั บผิดชอบ ปไตย ท้องถิ่น อีกมากมายในการเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น แผนภาพที 1-20แสดงระดั แสดงระดั บประชาธิ ปไตยท้ มิตสิก่วนร่ ารมีวมของประชาชน ส่วนร่วมของประชาชน แผนภาพที่ ่ 1-20 บประชาธิ ปไตยท้ องถิ่นอมิงถิ ติก่นารมี ในประเด็นการรู้ สิทธิ หน้าทีในประเด็ ่ และความรั บผิดชอบของประชาชน นการรู ้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประชาชน

ประชาชนรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความ รับผิดชอบ ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย=2.94)

4 5

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

เทศบาลนคร (ค่าเฉลี่ย=3.19)

1

2

อบต. (ค่าเฉลี่ย=2.95)

3

เทศบาลตาบล (ค่าเฉลี่ย=2.94) เทศบาลเมือง (ค่าเฉลี่ย=2.86)

อบจ. (ค่าเฉลี่ย=2.81)

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-213. ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-213.

สถาบันพระปกเกล้า

37


รายงานสถานการณ์

6.2 การติดตามข้อมูลข่าวสารของประชาชน ผลการสารวจประชาธิปไตยท้องถิ่น พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ติดตามข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอยู่ในระดับสูง แต่ก็ยังไม่ได้อยู่ในระดับที่สูงมากนัก โดยค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.85 นอกจากนี้ยัง 6.2 การติ ตามข้เทศบาลนคร อมูลข่าวสารของประชาชน มีการติ ด ตามข้อมูลข่า วสาร มากที่ สุ ด มีค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 3.11 พบว่า ประชาชนที ่อยู่ใดนเขต รองลงมาคือ เทศบาลเมื อง เทศบาลตปไตยท้ าบล อองค์ ารบริ หารส่วนจัวนใหญ่ งหวัดติดและองค์ หารส่วนตกราบล ซึ่งมีค่า ผลการสำรวจประชาธิ งถิ่น กพบว่ าประชาชนส่ ตามข้อมูกลข่ารบริ าวสารขององค์ ปกครองส่ ่นอยู่ในระดั บสูงคแต่ ก็ยัง่ยไม่เท่ได้าอกัยูบ่ในระดั ่สูงมากนั2.86 ก โดยค่ าคะแนนเฉลี ่ยเท่าาดั กับบ2.85 คะแนนเฉลี่ยไม่ ได้แตกต่วนท้ างกัองถิ นมากนั ก โดยมี ่าเฉลี 2.88,บที2.87, และ 2.83 ตามล นอกจากนี้ยังพบว่า ประชาชนที่อยู่ในเขตเทศบาลนครมีการติดตามข้อมูลข่าวสารมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ สิ่งเหล่ านีรองลงมาคื ้สะท้อนให้ เห็นว่า ประชาชนมี ความกระตื อรืหอารส่ ร้นวในการติ ตามข้กอารบริ มูลข่หาารส่ วสารของทางราชการ 3.11 อ เทศบาลเมื อง เทศบาลตำบล องค์การบริ นจังหวัด ดและองค์ วนตำบล โดยช่องทางประชาชนใช้ ในการติ อมูนลมากนั ข่าวสารมากที ายประกาศ หอกระจายข่ ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี ่ยไม่ได้ดแตามข้ ตกต่างกั ก โดยมีค่าเฉลี่ส่ยุดเท่คืาอกับป้2.88, 2.87, 2.86รองลงมาคื และ 2.83 อตามลำดั บ าว/เสียง ตามสาย, เว็บไซต์, สิศู่งนเหล่ ย์ขา้อนีมู้สละท้ข่าอวสารขององค์ กรปกครองส่ วนท้ออรืงถิอร้่นนในการติ และโซเชี ยลมีอเดีมูยลข่(Facebook) นให้เห็นว่า ประชาชนมี ความกระตื ดตามข้ าวสารของทาง ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

ราชการ โดยช่องทางประชาชนใช้ในการติดตามข้อมูลข่าวสารมากที่สุด คือ ป้ายประกาศ รองลงมาคือ

แผนภาพที่า1-21 แสดงระดับเว็ประชาธิ ่น มิติการมีกสรปกครองส่ ่วนร่วมของประชาชน หอกระจายข่ ว/เสี ย งตามสาย, บ ไซต์ , ศู นปย์ไตยท้ ข้ อ มู ลอข่งถิ า วสารขององค์ ว นท้ อ งถิ่ น และ

นการติดตามข้อมูลข่าวสารของประชาชน โซเชียลมีเดีย (Facebook) ในประเด็

1

เทศบาลนคร (ค่าเฉลี่ย=3.11)

ประชาชนติดตาม ข้อมูลข่าวสารของ อปท. ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย=2.85)

4 5

2

เทศบาลเมือง (ค่าเฉลี่ย=2.88)

3

เทศบาลตาบล (ค่าเฉลี่ย=2.87) อบจ. (ค่าเฉลี่ย=2.86)

อบต. (ค่าเฉลี่ย=2.83)

่ 1-21องถิ แสดงระดั ประชาธิาป, รายงานส ไตยท้ อ งถิ ่ น มิ ตบิ กความเป็ ารมี ส่ วนนร่ ว มของประชาชน ที่มา: วิทยาลัยพัแผนภาพที ฒนาการปกครองท้ น่ สถาบันบพระปกเกล้ ารวจระดั ประชาธิ ปไตยท้องถิ่น (ฉบับในประเด็ สมบูรณ์), นหน้ า 211-213. การติดตามข้อมูลข่าวสารของประชาชน

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-213.

38

สถาบันพระปกเกล้า


6.3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน

38 รายงานสถานการณ์ ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

สิ่งที่น่าสนใจประการหนึ่งเมื่อผลการสำรวจประชาธิปไตยท้องถิ่นได้ชี้ให้เห็นว่า ประชาชนในท้องถิ่น 6.3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.72 สิ่งที่น่าสนใจประการหนึ่งเมื่อผลการสารวจประชาธิปไตยท้องถิ่น ได้ชี้ให้เห็นว่า ประชาชนในท้องถิ่นมี แล้วถ้าเปรียบเทียบกัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทอยู่ในระดับใดบ้าง? ผลการสำรวจปรากฎ ส่ว่วานร่เทศบาลนครเป็ วมในกิจกรรมทางการเมื องในภาพรวมอยู ่ในระดั บปานกลาง โดยมี ค่าคะแนนเฉลี ากับ 2.72 ่ยแล้ นพื้นที่ที่ประชาชนมี ส่วนร่วมในกิ จกรรมทางการเมื องโดดเด่ นที่สุด มีค่ย่าเท่คะแนนเฉลี อยูว่ใถ้นา เปรี นท้องถิ่อ่นงค์แต่กลรปกครองส่ ะประเภทอยูวนท้ ่ในระดั าง? ผลการส า เทศบาล ระดัยบเที บสูงยบกั ค่านเฉลีองค์ ่ยเท่กรปกครองส่ ากับ 2.95 วขณะที องถิบ่นใดบ้ ประเภทอื ่นนั้นมีารวจปรากฎว่ ค่าคะแนนเฉลี ่ยอยู่ใน นครเป็ พื้นที่ที่ประชาชนมี ส่วนร่นวดัมในกิ จกรรมทางการเมื องโดดเด่ น ทีว่สนจั ุด มีงหวั ค่าคะแนนเฉลี ่ยอยู่ในระดั ง ค่าเฉลี ระดับนปานกลางทั ้งสิ้น โดยอั บรองลงมาคื อ องค์การบริ หารส่ ด เทศบาลตำบล องค์บกสูารบริ หาร่ย เท่ส่าวกันตำบล บ 2.95 และเทศบาลเมื ขณะที่องค์กรปกครองส่ ้นมีค่าคะแนนเฉลี ่ในระดั2.73, บปานกลางทั ้งสิ้น2.64 โดย อง เป็นอัวนท้ นดัอบงถิ สุด่นท้ประเภทอื าย ซึ่งมีค่น่านัคะแนนเฉลี ่ยเท่ากั่ยบอยู2.79, 2.72 และ อัตามลำดั นดับรองลงมาคื บ อ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล และเทศบาลเมือง เป็น อันดับสุดท้าย ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.79, 2.73, 2.72 และ 2.64 ตามลาดับ สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้น พบว่า กิจกรรมทางการเมืองที่ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครอง สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้น พบว่า กิจกรรมทางการเมืองที่ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วน ส่วนท้องถิ่นโดยส่วนใหญ่ มักเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการร้องเรียนร้องทุกข์ มากกว่าการเข้าไปมีส่วนร่วมคิด ท้องถิ่นโดยส่วนใหญ่ มักเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการร้องเรียนร้องทุกข์ มากกว่าการเข้าไปมีส่วนร่ว มคิดร่วมทา ร่วมทำกิจกรรมในเวทีการเมืองท้องถิ่น ซึ่งการเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านกลไกทางกฎหมาย เช่น กิการออกเทศบั จกรรมในเวทีกญารเมื องถิ่น ซึ่งาการเข้ าไปมีส่วอนร่ านกลไกทางกฎหมาย เช่น การออกเทศ ้บริหารท้องถิ่นและสมาชิ กสภา

ญัตอิ งท้ การเสนอร่ งกฎหมายท้ งถิว่นมของประชาชนผ่ การเข้าชื่อถอดถอนผู บัท้ญอญังถิติ่นการเสนอร่ า งกฎหมายท้ อ งถิ น ่ การเข้ า ชื อ ่ ถอดถอนผู บ ้ ริ ห ารท้ อ งถิ น ่ และสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ น ่ นั น ้ เป็ น ต้ น ยังมี นั้น เป็นต้น ยังมีความสนใจและเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนน้อยมาก ความสนใจและเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนน้อยมาก ผลการสำรวจได้ องค์กกรปกครองส่ รปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ ่นในทุ กประเภทถู ดำเนิ นการในเรื ยน ผลการสารวจได้ชชี้ใี้ให้ห้เเห็ห็นนว่ว่าาองค์ ่นในทุ กประเภทถู กดกาเนิ นการในเรื ่องร้่อองร้งเรีอยงเรี นจาก จากประชาชนมากที ุด จึองนให้ สะท้เห็อนนให้ เห็นว่าประชาชนในท้ ่นยังสเข้่วานร่มามี ส่วนร่จกรรมทางการเมื วมในกิจกรรมทางการเมื ประชาชนมากที ่สุด จึง่สสะท้ ว่าประชาชนในท้ องถิ่นยังอเข้งถิามามี วมในกิ องกับองค์อกงร กับองค์กวรปกครองส่ ้นสิ่งที่องค์วกนท้ รปกครองส่ จะต้องเร่ งแก้มต่ไขและส่ งเสริม ปกครองส่ นท้องถิ่นไม่วมนท้ ากนัองถิ ก ดั่นงไม่นั้นมากนั สิ่งที่อกงค์ดังกนัรปกครองส่ องถิ่นจะต้วอนท้ งเร่องงถิ แก้่นไขและส่ งเสริ อไปในอนาคต ต่อไปในอนาคต คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้มากขึ้น คือ องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นจะต้องเสริมสร้ างการมีส่วนร่ว มของภาคประชาชนให้ มากขึ้น ไม่เพียงแต่การ ไม่เพียงแต่การส่งเสริมกิจกรรมทั่วไปในท้องถิ่นเท่านั้น แต่จะต้องสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจให้แก่ ส่งเสริมกิจกรรมทั่วไปในท้องถิ่นเท่านั้น แต่จะต้องสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจให้แก่ประชาชนในการเข้า ประชาชนในการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองในระดับท้องถิ่น ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองในระดับท้องถิ่น แผนภาพที่ 1-22 กิจกรรมที ่ประชาชนดำเนิ นการต่อาเนิ องค์นกการต่ รปกครองส่ วนท้องถิ่น วนท้องถิ่น แผนภาพที ่ 1-22 กิจกรรมที่ประชาชนด อองค์กรปกครองส่ 100

ร้อยละกิจกรรม

80

60 40 20 0

ภาพรวม

อบจ.

ทน.

ทม.

ทต.

อบต.

เรื่องร้องเรียน

การติดตามตรวจสอบภาครัฐ

การประท้วง

การเสนอร่างญัติ/เทศบัญญัติ

การเข้าชื่อถอดถอนนายกฯ

การฟ้องร้องหน่วยงานต่อศาลปกครอง

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์).

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์).

สถาบันพระปกเกล้า

39


7. ประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย : ก้าวย่างต่อไปในอนาคต

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

ข้อค้นพบจากการสารวจระดับประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้ ได้กลายเป็นสิ่งยืนยันแล้วว่า การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ที่ผ่านมาไม่ใช่แค่ความฝันอีกต่อไป หากแต่เป็นความจริงที่เรากาลังช่วยกันสร้าง ช่วยกันผลักดันไปข้างหน้า และหากเราจะทาให้ประชาธิปไตยท้องถิ่นประสบความสาเร็จอย่างแท้จริง จะต้อง 7. ประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย : ก้าวย่างต่อไปในอนาคต ช่วยกันส่งเสริมและผลักดันในหลายประการ ดังนี้ อค้นพบจากการสำรวจระดั ปไตยท้อฒงถินาประชาธิ ่นที่ได้กล่าวมาทัป้งไตยท้ หมดนี้ อได้งถิ กลายเป็ นยัน งเสริ มความเป็น 1. ส่งเสริมข้ความเป็ นพลเมือง : บทิประชาธิ ศทางการพั ่น ต่อนไปสิ่งยืควรส่ แล้วว่า การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นที่ผ่านมาไม่ใช่แค่ความฝันอีกต่อไป หากแต่เป็นความจริงที่เรากำลัง พลเมืองในระบอบประชาธิ ปไตยให้ ากขึ ้น าซึและหากเราจะทำให้ ่งการส่งเสริมความเป็ พลเมืองถิองนั ้นจะต้องส่งเสริ ช่วยกันสร้าง ช่วยกั นผลักดันมไปข้ างหน้ ประชาธินปไตยท้ ่นประสบความสำเร็ จอย่มางใน 2 ระดับ ด้วยกัน ริง จะต้ ยกันส่งเสริมคและผลั กดันในหลายประการ งนี้ เรื่องของตนเอง แต่จะต้องเป็นผู้ที่มีความตระหนัก คือ ระดับแรก แท้ ส่งจเสริ มให้องช่ปวระชาชนมี วามตระหนั กรู้ ไม่เพียดังแต่ 1. ส่องที เสริ นพลเมือนง :concerned ทิศทางการพัฒนาประชาธิ องถิ้ นน่ ต่เมือไป ควรส่งเสริมความเป็ตนระหนั ก รู้ เ รื่ อ งของ รู้ในเรื่องส่ ว นรวม หรื ่เรีมยความเป็ กว่า การเป็ citizenปไตยท้ จากนั ่อประชาชนได้ พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยให้มากขึ้น ซึ่งการส่งเสริมความเป็นพลเมืองนั้นจะต้องส่งเสริมใน 2 ระดับ ส่วนรวมแล้ว หน้ าทีน่ตคื่ออไปขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น คืกรูอ้ ไม่จะท าอย่เรื่อางของตนเอง งไรให้ประชาชนเข้ ด้วยกั ระดับแรก ส่งเสริ มให้ประชาชนมี ความตระหนั เพียงแต่ แต่จะต้องเป็านมาร่ ผู้ที่มี วมกันแก้ไขปัญหา ว นรวม หรื อ ที่ เรี ย กว่กาฝัการเป็ citizen จากนั เมื่ อ ประชาชน

และร่วมกันพัฒความตระหนั นาท้องถิ่นกด้รู้ใวนเรื ยกั่อนงส่โดยพยายามปลู งค่านินยconcerned มการเป็นพลเมื องที ่มีค้นวามรั บผิดชอบต่อสังคม หรือที่ ได้ ต ระหนั ก รู้ เรื่ อ งของส่ ว นรวมแล้ ว หน้ า ที่ ต่ อ ไปขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น คื อ จะทำอย่ า งไร

เรียกว่า activeให้citizen ปัจวจุมกับนันแก้นีไ้ยขปั​ังญไม่หาและร่ ค่อยมีวหมกัน่นวพัยงานใดท ่ส่งเสริมพลเมื ประชาชนเข้แต่ ามาร่ ฒนาท้องถิ่นาหน้ ด้วยกัานทีโดยพยายามปลู กฝังอค่งในประเด็ านิยมการเป็นนนี้มากนัก องที่มีความรัาบผิในฐานะหน่ ดชอบต่อสังคมวหรื อที่เรียกว่ active ปัจจุบันนี้ยปังไม่ไตยได้ ค่อยมีหเน่ล็วงยงานใด

สถาบัพลเมื นพระปกเกล้ ยงานที ่ทาาหน้ าทีcitizen ่ส่งเสริแต่ มประชาธิ เห็นถึงความสาคัญของ ่ส่งเสริมพลเมืองในประเด็นนี้มากนัก ประเด็นการส่งทำหน้ เสริมาทีความเป็ นพลเมือง จึงพยายามสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบขึ้นมา โดยวางแนว สถาบันพระปกเกล้า ในฐานะหน่วยงานที่ทำหน้าที่ส่งเสริมประชาธิปไตยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ทางการสร้างพลเมื อ งตั้งแต่ระดับท้องถิ่นเป็นต้นไปว่าจะต้องทาอย่างไร จากนั้นจึงค่อยๆ ส่งเสริมเรื่องการมีส่วน ของประเด็นการส่งเสริมความเป็นพลเมือง จึงพยายามสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบขึ้นมา

ร่วมทางการเมืโดยวางแนวทางการสร้ องลงไป ซึ่งมีหลายโครงการด้ ้นาเยาวชนแห่ มสร้าง างพลเมืองตั้งแต่ระดัวบยกั ท้อนงถิ่นอาทิ เป็นต้นโครงการผู ไปว่าจะต้องทำอย่ างไร จากนั้นจึงงค่อนาคต อยๆ ส่งเสริโครงการเสริ ม เรื่อ่องการมี ่วนร่กวสูมทางการเมื ซึ่งมีหลายโครงการด้วยกัน สอาทิ ้นำเยาวชนแห่งอนาคต เครือข่ายความซื ตรง สหลั ตรการให้องลงไป บริการสาธารณะโดยการมี ่วนร่โครงการผู วมของประชาชน โครงการชุมชนไทยไร้ถัง โครงการเสริมสร้างเครือข่ายความซื่อตรง หลักสูตรการให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน โครงการวิจัยถอดบทเรี นการจัถดังทโครงการวิ าแผนพัฒ องถิย่นนการจั และงบประมาณแบบมี ่วนร่วมที่คานึงถึงมิติชายหญิง เป็น โครงการชุมยชนไทยไร้ จัยนาท้ ถอดบทเรี ดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสและงบประมาณแบบ

่วนร่วมที่คำนึงงถึเสริ งมิตมิชายหญิ นต้่สนถาบั นี่คือตันวพระปกเกล้ อย่างของการส่งาเสริ องทีางานร่ ่สถาบันวพระปกเกล้ งไป ต้น นี่คือตัวอย่มีาสงของการส่ พลเมืง อเป็งที ได้มลพลเมื งไปท มกับองค์าได้กลรปกครองส่ วนท้องถิ่น ทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคพลเมือง โดยใช้ทุนทางสังคมและสร้างความไว้วางใจ และภาคพลเมือ(trust) ง โดยใช้ (trust) ให้เกิ(People’s ดขึ้นในชุAudit) มชน อัอย่นาจะน ให้เกิดทขึุน้นทางสั ในชุมชนงคมและสร้ อันจะนำมาสูา่กงความไว้ ระบวนการมีวสางใจ ่วนร่วมของประชาชน งเป็น ามาสู่กระบวนการ ระบบ (People's Audit) อย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วมของประชาชน

40

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

2. เสริมสร้างความเป็นเจ้าของชุมชนท้องถิ่น : ผลการสำรวจประชาธิปไตยท้องถิ่นได้ชี้ให้

เห็นว่า ที่ผ่านมาเรามุ่งเน้นการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพตามระบอบประชาธิปไตยในภาพรวม แต่สิ่งที่ขาดหาย

ไปนั้นคือ การส่งเสริมให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของชุมชน (sense of ownership) เพราะชุมชน

ท้องถิ่นเป็นที่อยู่อาศัย เป็นบ้านเกิดที่จะต้องหวงแหนรักษาและรับผิดชอบ ตลอดจนเป็นสิ่งใกล้ตัวและ กระทบกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยตรง ซึ่งการเสริมสร้างความเป็นเจ้าของชุมชนท้องถิ่น

เป็นสิ่งที่คนในชุมชนสามารถสร้างขึ้นได้ อีกทั้งยังเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีสำหรับชุมชนอีกด้วย โดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอาจใช้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นมาเป็นเครื่องมือสำคัญในการเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของชุมชน เพื่อให้ผู้คนในท้องถิ่นรู้สึกผูกพัน เข้าใจชุมชน และรู้สึกถึงความเป็นชุมชนอย่างแท้จริง

4. ขับเคลื่อนความเป็นอิสระของท้องถิ่นผ่านนโยบายกระจายอำนาจ : แม้ว่าผลการสำรวจ ประชาธิปไตยท้องถิ่นได้ชี้ให้เห็นว่า การพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นไม่ใช่ความฝันอีกต่อไป แต่เริ่มปรากฎผล ของการพั ฒ นาประชาธิ ป ไตยในระดั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มากขึ้ น อย่ า งไรก็ ต ามการพั ฒ นา ประชาธิปไตยท้องถิ่นยังมีข้อจำกัดในหลายประการ เช่น ข้อจำกัดในเรื่องอำนาจหน้าที่ ความเป็นอิสระของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือวาระการดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็น

ข้ อ จำกั ด และขั ด ขวางการพั ฒ นาประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ทั้ ง สิ้ น ดั ง นั้ น ประเด็ น ที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ เ ลย คื อ

การส่ ง เสริ ม นโยบายการกระจายอำนาจสู่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ มี ค วามชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น

รัฐส่วนกลางต้องสร้างกลไกการปกครองท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง ลดอำนาจรัฐส่วนกลางลง และถ่ายโอน อำนาจไปสู่ท้องถิ่นให้ดำเนินการจัดบริการสาธารณะแทนรัฐต่อไป

สถาบันพระปกเกล้า

41

ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย

3. นวัตกรรมการปรับตัวในยุคดิจิทัล : แม้ว่าผลการสำรวจประชาธิปไตยท้องถิ่นได้ชี้ให้เห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกวันนี้อาศัยเทคโนโลยีสื่อสารดิจิทัลเข้ามาใช้เพื่อการพัฒนาและส่งเสริม

การทำงานในหลากหลายด้าน หากแต่การใช้เทคโนโลยีก็ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทความเป็นชุมชน

ท้องถิ่น สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่นำเทคโนโลยีแบบใหม่มาใช้ก็จะต้องจัดการเรียนการสอน/

จัดอบรมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้กับประชาชนด้วย เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่าง ถูกต้อง ตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน ขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ยังไม่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย มากนั ก องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น อาจใช้ รู ป แบบการสื่ อ สารและเทคโนโลยี แ บบเก่ า เป็ น หลั ก และใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นตัวเสริมการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น



ส่วนที่ 2

สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจ

และการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย



สถานการณ์การกระจายอำนาจ

และการปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย

42

สถานการณ์การกระจายอานาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย ้จะเป็าเสนอข้ นการนำเสนอข้ อมูลตทางสถิ ี่เกี่ยบวข้ องกับการกระจายอำนาจและ เนื้อหาส่วเนืนนี้อหาส่ ้จะเป็วนนนีการน อมูลทางสถิ ิที่เกี่ยวข้ตอิทงกั การกระจายอ านาจและการปกครองท้องถิ่น องถิ่นจนกระทั ของไทย่งตัปี้งแต่ จนกระทัเห็่งนปีถึพ.ศ. 2561 เพืแ่อละภาพรวมที แสดงให้เห็นถึ่เงกิดขึ้นในด้าน ของไทย ตั้งการปกครองท้ แต่ปี พ.ศ. 2540 พ.ศ.ปี พ.ศ. 25612540 เพื่อแสดงให้ งสถานการณ์ สถานการณ์และภาพรวมที่เกิดขึ้นในด้านต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น

ต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น 8 ส่วน ดังนี้ 8 ส่วน ดังนี้

1

• ด้านโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น

2

• ด้านการเมืองท้องถิ่น

3

• ด้านภารกิจอานาจหน้าที่

4

• ด้านรายได้

5

• ด้านการบริหารงานบุคคล

6

• ด้านธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

7

• ด้านรางวัลสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

8

• ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สถาบันพระปกเกล้า

45


43

 ด้านโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น

˝ ด้านโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

ปัจจุบันหน่วยงานหลายภาคส่วนได้มีความพยายามส่งเสริมและพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น ปัจจุบันหน่วยงานหลายภาคส่วนได้มีความพยายามส่งเสริมและพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งสถานการณ์มากขึ ด้านโครงสร้ างการปกครองส่ วนท้องถิ่น ก็วเนท้ ป็นออีงถิก่นหนึ สาคันญสำคั ที่หญลายภาคส่ วนให้ ้น ซึ่งสถานการณ์ ด้านโครงสร้างการปกครองส่ ก็เป็่งนประเด็ อีกหนึ่งนประเด็ ที่หลายภาคส่ วน ความสนใจ ให้ความสนใจ และพยายามผลั นการปรั โครงสร้ อมูลแสำคั ญได้แเห็ สดงให้ นว่า จในจุบันมี องค์กร และพยายามผลั กดันการปรั บโครงสร้กาดังท้ องถิ่นบให้ สาเร็างท้ จ อซึงถิ่งข้่นอให้มูสลำเร็สจาคัซึ่งญข้ได้ สดงให้ นว่าเห็ในปั งค์กรปกครองส่วนท้ออยูงถิ ่นจำนวนมากและมี อยู่หงลายประเภท ้นที่ จำนวน ปกครองส่วนท้ปัจอจุงถิบัน่นมีจอานวนมากและมี ่หลายประเภท รวมถึ ขนาดของพืรวมถึ ้นที่ งจขนาดของพื านวนประชากร ความหนาแน่น ประชากร ความหนาแน่น ตลอดจนภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้จะแสดงให้เห็นข้อมูล 3 ตลอดจนภาระหน้ าทีแก่​่ท ี่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้จะแสดงให้เห็นข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ ส่วน ได้

จานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเทศไทยได้แบ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่

1. จานวนองค์ รปกครองส่วและองค์ นท้องถิก่นรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่าง (Lower-Tier) โดยองค์กรปกครอง

ระดับบนก(Upper-Tier) ประเทศไทยได้ แบ่บงบนองค์ประกอบด้ กรปกครองส่ นท้อหงถิ 2 ประเภท คือ วองค์ ส่วนท้องถิ่นระดั วย องค์กวารบริ ารส่​่นวออกเป็ นจังหวัดนและองค์ กรปกครองส่ นท้อกงถิรปกครองส่ ่นระดับล่าง ว นท้ อ งถิ่ น ประกอบด้วย และองค์ เทศบาล (นคร/เมื อง/ตำบล) การบริ นตำบล นอกจากนี ้ยังมีองค์กกรปกครองส่ รปกครอง วนท้องถิ่น ระดับบน (Upper-Tier) กรปกครองส่ วนท้และองค์ องถิ่นระดั บหล่ารส่ าง ว(Lower-Tier) โดยองค์ ส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ จำนวน 2 แห่ง คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา ระดับบน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่าง ประกอบด้ว ย ปัจจุบันประเทศไทยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 7,852 แห่ง แบ่งออกเป็นองค์การ เทศบาล (นคร/เมื อ ง/ตาบล) และองค์การบริหารส่วนตาบล นอกจากนี้ยังมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ บริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง เทศบาล 2,442 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 5,332 แห่ง และ อปท.รูปแบบ พิเศษ จานวนพิ2เศษแห่2 งแห่คืงอดังกรุแผนภาพต่ งเทพมหานคร อไปนี ้ และเมืองพัทยา ปัจจุบันประเทศไทยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 7,852 แห่ง แบ่งออกเป็นองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 76 แห่ง เทศบาล 2,442 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล 5,332 แห่ง ดังแผนภาพต่อไปนี้

46

สถาบันพระปกเกล้า


44 รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-1 จำนวนองค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นกรปกครองส่ ปี 2561 วนท้องถิ่น ปี 2561 แผนภาพที ่ 2-1 จานวนองค์

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่ ม า: กองกฎหมายและระเบี ย บท้ อ งถิ่ น กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , “ข้ อ มู ล จ านวนองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ,” สื บ ค้ น จาก ที่มา: กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562. http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

จากแผนภาพที ่ 2-1 แสดงให้ ว่าองค์ กรปกครองส่วนท้ การบริ หารส่หวนตำบล จากแผนภาพที ่ 2-1 แสดงให้ เห็นเว่ห็านองค์ กรปกครองส่ นท้อองถิงถิ่น่นประเภทองค์ ประเภทองค์ การบริ ารส่วนตาบล มี มีจำนวนมากที เป็นร้67.91 อยละ 67.91 ขององค์ กรปกครองส่ ทั้งหมด รองลงมาคือ อเทศบาลต เทศบาล าบล คิด จานวนมากที ่สุด คิดเป็่สนุดร้คิอดยละ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิอ่นงถิทั้ง่นหมด รองลงมาคื ตำบล คิดเป็นร้อยละ 28.44 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทย

เป็นร้อยละ 28.44 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยมีองค์กรปกครอง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างโดยเฉพาะเทศบาลตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลในสัดส่วน

ส่วนท้องถิ ที่ส่นูงระดั บล่างโดยเฉพาะเทศบาลตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบลในสัดส่วนที่สูง

สถาบันพระปกเกล้า

47


รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-2 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกเป็นรายจังหวัด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32

48

จังหวัด กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา กระบี่ กาญจนบุรี กาฬสินธุ์ กำแพงเพชร ขอนแก่น จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท ชัยภูมิ ชุมพร เชียงราย เชียงใหม่ ตรัง ตราด ตาก นครนายก นครปฐม นครพนม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ นนทบุรี นราธิวาส น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี

สถาบันพระปกเกล้า

จำนวน(แห่ง) 1 1 62 122 151 90 225 82 109 98 60 143 79 144 211 100 44 69 46 117 104 334 185 143 46 89 100 60 209 65 61 70

ลำดับ 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71

จังหวัด เพชรบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ ภูเก็ต มหาสารคาม มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน ยโสธร ยะลา ร้อยเอ็ด ระนอง ระยอง ราชบุรี ลพบุรี ลำปาง ลำพูน เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สงขลา สตูล สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระแก้ว สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี สุรินทร์ หนองคาย

จำนวน(แห่ง) 85 128 84 19 143 55 50 88 64 203 31 68 112 126 103 58 101 217 141 141 42 49 36 38 66 109 42 91 127 138 173 68


46 จังหวัด

จานวน(แห่ง)

ลาดับ

จังหวัด

จานวน(แห่ง)

จำนวน(แห่ง) ลำดับ จังหวัด จำนวน(แห่ง) 114 72 หนองบัวลาภู 68 114 72 หนองบัวลำภู 68 158 73 อ่างทอง 65 158 73 อ่างทอง 65 72 74 อำนาจเจริ 64 อานาจเจริ 72 74 ญ ญ 64 181 รธานี 52 52 75 75 อุอุดดรธานี 181 80 74 74 76 76 อุอุตตรดิรดิ ตถ์ต ถ์ 80 102 64 ัยธานี 102 77 77 อุอุททัยธานี 64 103 239 ลราชธานี 103 78 78 อุอุบบลราชธานี 239 รวม รวม 7,852 7,853 สำนักบริ ารการคลั กรมส่งเสริมการปกครองท้ งถิ่น. อข้งค์ อมูกลรปกครองส่ รายได้องค์วกนท้ รปกครองส่ วนท้าปีองถิ ่นประจำปีงพ.ศ. บประมาณ ที่มา: สานักบริที่มหา:ารการคลั ง หกรมส่ งเสริมงการปกครองท้ องถิ่น. ข้อมูลอรายได้ องถิ่นประจ งบประมาณ 2559 พ.ศ. 2559

แผนภาพที 2-3แสดงสถิ แสดงสถิ ิจังดหวัที่มดีอทีงค์่มีอกรปกครองส่ งค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ้น่นทีในพื ากทีแห่​่สงุด* 10 แห่ง  แผนภาพที่ ่2-3 ติจตังหวั วนท้องถิ ่นในพื ่มากที้น่สทีุด่ม10

ที่ ม า: สำนั ก บริ ห ารการคลั ง กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น . ข้ อ มู ล รายได้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

ที่มา:พ.ศ. สานั2559 กบริหารการคลัง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ข้อมูลรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 

* ไม่รวมกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา

ไม่รวมกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา สถาบันพระปกเกล้า

49

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ จังหวัด ปัตตานี 33 ปัตตานี พระนครศรี อยุธยา 34 พระนครศรีอยุธยา พะเยา 35 พะเยา พังงา36 พังงา พัทลุ37 ง พัทลุง พิจิต38 ร พิจิตร พิษณุ39 โลก พิษณุโลก

รายงานสถานการณ์

ลาดับ 33 34 35 36 37 38 39


 แผนภาพที ่ 2-4 ังหวัดทีด่มที​ีอ่มงค์ีอกงค์ กรปกครองส่ ้อยที แผนภาพที ่ 2-4แสดงสถิ แสดงสถิตติจิจังหวั รปกครองส่ วนท้องถิว่นนท้ ในพือ้นงถิที่น่น้อในพื ยที่สุด้นที10่นแห่ ง* ่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

47

ที่มา: สานักบริหารการคลั ง กรมส่ เสริมการปกครองท้ ่น. ข้อมูลรายได้ วนท้ องถิ่นประจวนท้ าปีองบประมาณ 2559

ที่ ม า: สำนั ก บริ หงารการคลั ง กรมส่ ง เสริอมงถิการปกครองท้ อ งถิอ่ นงค์ . ข้กอรปกครองส่ มู ล รายได้ อ งค์ ก รปกครองส่ งถิ่ น ประจำปีพ.ศ. ง บประมาณ พ.ศ. 2559

50 

* ไม่รวมกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา สถาบันพระปกเกล้า

ไม่รวมกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา


2. ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานสถานการณ์

ขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามพื้นที่ จำนวนประชากร และความหนาแน่นของ ประชากร มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามพื้นที่ที่ดูแลรับผิดชอบ (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด แผนภาพที่ 2-5 แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

1

องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา

20,871.23

2

องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี

19,565.80

3

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

18,887.25

4

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

15,647.86

5

องค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก

15,343.79

6

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี

14,410.28

7

องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง

13,315.69

8

องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน

12,789.01

9

องค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน

12,061.63

10

องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ

11,757.61

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

51


รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-6 แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

1

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม

383.49

2

องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต

565.57

3

องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี

645.62

4

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสิงห์บุรี

858.40

5

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร

879.56

6

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง

934.12

7

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ

966.16

8

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี

1,490.93

9

องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก

1,974.23

10

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี

1,987.43

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

(2) เทศบาล ๏ ประเภทเทศบาลนคร แผนภาพที่ 2-7 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลนครที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง เทศบาลนครที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง ลำดับ

เทศบาลนคร

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

ชลบุรี

306.44

1

เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์

2

เทศบาลนครเกาะสมุย

สุราษฎร์ธานี

252.00

3

เทศบาลนครแหลมฉบัง

ชลบุรี

109.65

4

เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

สุราษฎร์ธานี

68.97

5

เทศบาลนครเชียงราย

เชียงราย

60.85

6

เทศบาลนครสกลนคร

สกลนคร

54.54

7

เทศบาลนครอุดรธานี

อุดรธานี

47.70

8

เทศบาลนครขอนแก่น

ขอนแก่น

46.00

9

เทศบาลนครเชียงใหม่

เชียงใหม่

40.22

10

เทศบาลนครนนทบุรี

นนทบุรี

38.90

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

52

สถาบันพระปกเกล้า


แผนภาพที่ 2-8 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลนครที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง รายงานสถานการณ์

เทศบาลนครที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ

เทศบาลนคร เทศบาลนครสมุทรปราการ

2

เทศบาลนครสงขลา

3

เทศบาลนครสมุทรสาคร

4

เทศบาลนครภูเก็ต

5

เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา

6

เทศบาลนครตรัง

7

เทศบาลนครระยอง

8

เทศบาลนครพิษณุโลก

9

เทศบาลนครยะลา

10

เทศบาลนครนครปฐม

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

สมุทรปราการ

7.33

สงขลา

9.27

สมุทรสาคร

10.30

ภูเก็ต

12.00

พระนครศรีอยุธยา

14.00

ตรัง

14.77

ระยอง

16.95

พิษณุโลก

18.26

ยะลา

19.00

นครปฐม

19.85

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1

จังหวัด

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

๏ ประเภทเทศบาลเมือง แผนภาพที่ 2-9 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลเมืองที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง เทศบาลเมืองที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง ลำดับ

เทศบาลเมือง

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

กำแพงเพชร

650.00

1

เทศบาลเมืองปางมะค่า

2

เทศบาลเมืองปรกฟ้า

ชลบุรี

179.00

3

เทศบาลเมืองมาบตาพุด

ระยอง

165.58

4

เทศบาลเมืองเขลางค์นคร

ลำปาง

139.14

5

เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา

สงขลา

114.43

6

เทศบาลเมืองชะอำ

เพชรบุรี

110.00

7

เทศบาลเมืองทับกวาง

สระบุรี

101.00

8

เทศบาลเมืองกำแพงเพชร

สงขลา

86.60

9

เทศบาลเมืองหนองปลิง

กำแพงเพชร

84.58

10

เทศบาลเมืองเบตง

ยะลา

78.00

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562. สถาบันพระปกเกล้า

53


รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-10 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลเมืองที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง เทศบาลเมืองที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ

เทศบาลเมือง

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

สมุทรปราการ

0.61

ลพบุรี

0.68

พระนครศรีอยุธยา

1.20

นนทบุรี

1.67

1

เทศบาลเมืองพระประแดง

2

เทศบาลเมืองบ้านหมี่

3

เทศบาลเมืองเสนา

4

เทศบาลเมืองบางศรีเมือง

5

เทศบาลเมืองหล่มสัก

เพชรบูรณ์

2.08

6

เทศบาลเมืองกระทุ่มแบน

สมุทรสาคร

2.17

7

เทศบาลเมืองชุมแสง

นครสวรรค์

2.40

8

เทศบาลเมืองบางมูลนาก

พิจิตร

2.50

9

เทศบาลเมืองตราด

ตราด

2.52

10

เทศบาลเมืองโพธาราม

ราชบุรี

2.60

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562.

๏ ประเภทเทศบาลตำบล แผนภาพที่ 2-11 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลตำบลที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง เทศบาลตำบลที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง ลำดับ

เทศบาลตำบล

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

1

เทศบาลตำบลไทรโยค

กาญจนบุรี

1,200.00

2

เทศบาลตำบลเขาโจด

กาญจนบุรี

922.00

3

เทศบาลตำบลปาเสมัส

นราธิวาส

684.45

4

เทศบาลตำบลทุ่งลุยลาย

ชัยภูมิ

629.38

5

เทศบาลตำบลเวียงมอก

ลำปาง

592.00

6

เทศบาลตำบลก้อ

ลำพูน

548.00

7

เทศบาลตำบลเมืองนะ

เชียงใหม่

486.08

8

เทศบาลตำบลควนศรี

สุราษฎร์ธานี

464.36

9

เทศบาลตำบลบ่อเกลือใต้

น่าน

416.62

10

เทศบาลตำบลท่าขนุน

กาญจนบุรี

416.00

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562.

54

สถาบันพระปกเกล้า


แผนภาพที่ 2-12 แสดงขนาดพื้นที่ของเทศบาลตำบลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง รายงานสถานการณ์

เทศบาลตำบลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ

เทศบาลตำบล

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

เทศบาลตำบลดอนฉิมพลี

ฉะเชิงเทรา

0.39

2

เทศบาลตำบลท่าฟาก

อุตรดิตถ์

0.45

3

เทศบาลตำบลชะอวด

นครศรีธรรมราช

0.50

4

เทศบาลตำบลสะบ้าย้อย

สงขลา

0.58

5

เทศบาลตำบลโพนพิสัย

หนองคาย

0.59

6

เทศบาลตำบลทับปุด

พังงา

0.59

7

เทศบาลตำบลอุ้มผาง

ตาก

0.60

8

เทศบาลตำบลหอมศีล

ฉะเชิงเทรา

0.62

9

เทศบาลตำบลพรหมพิราม

พิษณุโลก

0.67

10

เทศบาลตำบลเกาะยาว

พังงา

0.70

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562.

(3) องค์การบริหารส่วนตำบล แผนภาพที่ 2-13 แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีพื้นที่มากที่สุด 10 แห่ง ลำดับ

องค์การบริหารส่วนตำบล

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

1

องค์การบริหารส่วนตำบลอุ้มผาง

ตาก

2,145.08

2

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนา

ตาก

1,909.80

3

องค์การบริหารส่วนตำบลไล่โว่

กาญจนบุรี

1,724.00

4

องค์การบริหารส่วนตำบลชะแล

กาญจนบุรี

1,627.17

5

องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแม่เพรียง

เพชรบุรี

1,206.00

6

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองลู

กาญจนบุรี

1,156.89

7

องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำรอบ

สุราษฎร์ธานี

973.00

8

องค์การบริหารส่วนตำบลแม่คง

แม่ฮ่องสอน

910.00

9

องค์การบริหารส่วนตำบลโมโกร

ตาก

876.08

10

องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง

ยะลา

818.72

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

55


รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-14 แสดงขนาดพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีพื้นที่น้อยที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ

องค์การบริหารส่วนตำบล

จังหวัด

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

สมุทรปราการ

0.96

1

องค์การบริหารส่วนตำบลบางกระสอบ

2

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไฮ

ศรีสะเกษ

1.56

3

องค์การบริหารส่วนตำบลพระประโทน

นครปฐม

1.94

4

องค์การบริหารส่วนตำบลบาราโหม

ปัตตานี

2.00

5

องค์การบริหารส่วนตำบลภูเขาทอง

พระนครศรีอยุธยา

2.00

6

องค์การบริหารส่วนตำบลวัดแค

นครปฐม

2.10

7

องค์การบริหารส่วนตำบลกระแชง

ปทุมธานี

2.32

8

องค์การบริหารส่วนตำบลบางกอบัว

สมุทรปราการ

2.48

9

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกระแชง

ปทุมธานี

2.50

10

องค์การบริหารส่วนตำบลม่วงตึ๊ด

น่าน

2.62

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/ index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562.

56

สถาบันพระปกเกล้า


53

แผนภาพที การบริ หารส่ วนจัวนจั งหวังหวั ดทีด่มที​ีป่มระชากรมากที ่สุด ่ส10ุด 10 แห่งแห่ ง แผนภาพที่ 2-15 ่ 2-15แสดงจำนวนประชากรขององค์ แสดงจานวนประชากรขององค์ การบริ หารส่ ีประชากรมากที

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลเมืรายได้ ององค์ กรปกครองส่ http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ่อวันทีข่ 21 มกราคม 2562. วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก

http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

2.2 ขนาดองค์ กรปกครองส่ นท้่นอจงถิ ่นจำแนกตามจำนวนประชากร 2.2 ขนาดองค์ กรปกครองส่ วนท้อวงถิ าแนกตามจ านวนประชากร (1) องค์ ารบริการบริ หารส่หวารส่ นจัวงนจั หวังดหวัด (1)กองค์

57


54

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-16 แสดงจำนวนประชากรขององค์ แสดงจานวนประชากรขององค์กการบริ ารบริหหารส่ ารส่ววนจั นจังงหวั หวัดดทีที่ม่มีปีประชากรน้ ระชากรน้ออยทียที่สุด่สุด1010แห่แห่ง ง

ที่มา:ทีกรมส่ งเสริมงการปกครองท้ องถิ่น, “ข้ วนท้องถิ่นประจ 2559,” พ.ศ. สืบค้น2559,” จาก สืบค้นจาก ่มา: กรมส่ เสริมการปกครองท้ องถิอมู่นล, รายได้ “ข้อมูขลององค์ รายได้กขรปกครองส่ ององค์กรปกครองส่ วนท้อาปีงถิงบประมาณ ่นประจำปีงพ.ศ. บประมาณ http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันทีเมื ่ 21่อวัมกราคม 2562. 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp นที่ 21 มกราคม

58

สถาบันพระปกเกล้า


55 รายงานสถานการณ์

(2) เทศบาล (2) เทศบาล ๏ ประเภทเทศบาลนคร  ประเภทเทศบาลนคร

แผนภาพที่ 2-17 แสดงจำนวนเทศบาลนครที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง

แผนภาพที่ 2-17 แสดงจานวนเทศบาลนครที่มีประชากรมากที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่ม ทา:ี่มา:กรมส่ งเสริ “ข้ออมูมูลลรายได้ รายได้ขขององค์ ององค์กรปกครองส่ กรปกครองส่ ่นประจงาปี งบประมาณ 2559,” สืบค้ นจาก กรมส่ งเสริมการปกครองท้ มการปกครองท้อองถิ งถิ่น่น,, “ข้ วนท้วนท้ องถิอ่นงถิประจำปี บประมาณ พ.ศ. พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp มกราคม 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมืเมื่อวั่อนวัทีน่ ที21่ 21มกราคม 2562. สถาบันพระปกเกล้า

59


56 แผนภาพที่ 2-18 แสดงจำนวนเทศบาลนครที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-18 แสดงจานวนเทศบาลนครที่มีประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp า: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขเมืององค์ รปกครองส่ นท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ่อวันทีก่ 21 มกราคมว2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

60

สถาบันพระปกเกล้า


57  ประเภทเทศบาลเมื อง อง ๏ ประเภทเทศบาลเมื รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 2-19่ 2-19 แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลเมื องที่มีประชากรมากที ่สุด 10 แห่​่สงุด 10 แห่ง แผนภาพที แสดงจานวนประชากรของเทศบาลเมื องที่มีประชากรมากที

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กรมส่งเสริ งเสริมมการปกครองท้ การปกครองท้อองถิงถิ่น่น, ,“ข้“ข้ออมูมูลลรายได้ รายได้ขขององค์ ององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่นประจำปี ประจาปีงงบประมาณ บประมาณ พ.ศ. พ.ศ. 2559,” 2559,” สืสืบบค้ค้นนจาก จาก ท ที​ี่ม่มา:า:กรมส่ http://www.dla.go.th/work/money/index.jspเมืเมื่อ่อวัวันนทีที่ 21 ่ 21มกราคม มกราคม2562. 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp สถาบันพระปกเกล้า

61


58

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 2-20 แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลเมื องที่มีประชากรน้ อยที่สุด 10อยที แห่​่สง ุด 10 แห่ง แผนภาพที ่ 2-20 แสดงจานวนประชากรของเทศบาลเมื องที่มีประชากรน้

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้เมือ่อมูวัลนรายได้ ององค์กรปกครองส่ http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ที่ 21ขมกราคม 2562. วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

62

สถาบันพระปกเกล้า


59  ประเภทเทศบาลต าบล ๏ ประเภทเทศบาลตำบล รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ีประชากรมากที ่สุด 10 แห่​่สงุด 10 แห่ง แผนภาพที่ 2-21 ่ 2-21แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลตำบลที แสดงจานวนประชากรของเทศบาลต่มาบลที ่มีประชากรมากที

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่มา: กรมส่งเสริ องถิ่น, “ข้อมูอลงถิรายได้ กรปกครองส่ นท้องถิ่นประจ พ.ศ. 2559,” ค้นจากสืบค้นจาก ที่มา:มการปกครองท้ กรมส่งเสริมการปกครองท้ ่น, “ข้ขอององค์ มูลรายได้ ขององค์กวรปกครองส่ วนท้อาปีงถิง่นบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.สืบ2559,” http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ่อวันที่ 212562. มกราคม 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21เมืมกราคม สถาบันพระปกเกล้า

63


60

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-22 ่มีปาบลที ระชากรน้ ยที่สุด 10 อแห่ แผนภาพที ่ 2-22แสดงจำนวนประชากรของเทศบาลตำบลที แสดงจานวนประชากรของเทศบาลต ่มีปอระชากรน้ ยทีง ่สุด 10 แห่ง

ที่มมา:การปกครองท้ กรมส่งเสริมการปกครองท้ ่น, “ข้ขอององค์ มูลรายได้ ขององค์กรปกครองส่ นท้องถิ งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มา: กรมส่งเสริ องถิ่น, “ข้อมูอลงถิรายได้ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นวประจ าปี่นงประจำปี บประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp วันที่ 21 2562. มกราคม 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21เมื่อมกราคม

64

สถาบันพระปกเกล้า


61 (3) องค์ ารส่หวารส่ นตวาบล (3)การบริ องค์กหารบริ นตำบล รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 2-23แสดงจ แสดงจำนวนประชากรขององค์ วนตำบลที ่มีประชากรมากที ่สุด 10่สุดแห่10 ง แห่ง แผนภาพที ่ 2-23 านวนประชากรขององค์กการบริ ารบริหหารส่ ารส่ วนตาบลที ่มีประชากรมากที

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กรมส่งงเสริ เสริมมการปกครองท้ การปกครองท้อองถิงถิ่น่น, ,“ข้“ข้ออมูมูลลรายได้ รายได้ขขององค์ ององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่นประจำปี ่นประจาปี งบประมาณพ.ศ. พ.ศ.2559,” 2559,”สืบสืค้บนค้จาก นจาก ท ที​ี่ม่มา:า: กรมส่ งบประมาณ http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื อ ่ วั น ที ่ 21 มกราคม 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

65


แผนภาพที ่ 2-24แสดงจ แสดงจำนวนประชากรขององค์ วนตำบลที ่มีประชากรน้ อยที่สอุดยที10่สุดแห่10 ง แห่ง แผนภาพที ่ 2-24 านวนประชากรขององค์กการบริ ารบริหารส่ หารส่ วนตาบลที ่มีประชากรน้

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

62

ท ที​ี่ม่มา:า:กรมส่ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิองถิ ่นประจำปี งบประมาณ พ.ศ.พ.ศ. 2559,” สืบสืค้บนจาก กรมส่งเสริ งเสริมมการปกครองท้ การปกครองท้องถิ องถิ่น,่น“ข้ , “ข้อมูอลมูรายได้ ลรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ ่นประจาปี งบประมาณ 2559,” ค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ่อวั่อนวัทีน่ ที21่ 21มกราคม http://www.dla.go.th/work/money/index.jspเมืเมื มกราคม2562. 2562.

66

สถาบันพระปกเกล้า


2.3 ขนาดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามความหนาแน่นของประชากร รายงานสถานการณ์

(1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด แผนภาพที่ 2-25 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

อบจ.ที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี 1,829.81 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ 1,317.64 องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี 729.92 องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต 679.77 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร 601.31 องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐม 422.18 องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 357.56 องค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 346.52 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง 297.34 องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี 286.95

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

แผนภาพที่ 2-26 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

อบจ.ที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง 0.13 องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน 18.42 องค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก 37.84 องค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน 39.66 องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี 42.60 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี 47.42 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ 55.85 องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง 56.39 องค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง 60.68 องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย 61.25

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562. สถาบันพระปกเกล้า

67


รายงานสถานการณ์

(2) เทศบาล ๏ ประเภทเทศบาลนคร แผนภาพที่ 2-27 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลนครที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนครที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด 10 แห่ง เทศบาล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) เทศบาลนครหาดใหญ่ สงขลา 7,505 เทศบาลนครสงขลา สงขลา 7,426 เทศบาลนครสมุทรปราการ สมุทรปราการ 7,072 เทศบาลนครนนทบุรี นนทบุรี 6,519 เทศบาลนครภูเก็ต ภูเก็ต 6,277 เทศบาลนครสมุทรสาคร สมุทรสาคร 4,975 เทศบาลนครปากเกร็ด นนทบุรี 4,927 เทศบาลนครนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 4,769 เทศบาลนครตรัง ตรัง 4,113 เทศบาลนครนครปฐม นครปฐม 3,994

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

แผนภาพที่ 2-28 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลนครที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนครที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง เทศบาล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) เทศบาลนครเกาะสมุย สุราษฎร์ธานี 247 เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ ชลบุรี 361 เทศบาลนครแหลมฉบัง ชลบุรี 666 เทศบาลนครสกลนคร สกลนคร 955 เทศบาลนครเชียงราย เชียงราย 1,146 เทศบาลนครอ้อมน้อย สมุทรสาคร 1,714 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี 1,816 เทศบาลนครแม่สอด ตาก 2,332 เทศบาลนครขอนแก่น ขอนแก่น 2,393 เทศบาลนครลำปาง ลำปาง 2,523

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

68

สถาบันพระปกเกล้า


๏ ประเภทเทศบาลเมือง รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-29 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลเมืองที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมืองที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด 10 แห่ง เทศบาล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) เทศบาลเมืองบางศรีเมือง นนทบุรี 18,383.83 เทศบาลเมืองพระประแดง สมุทรปราการ 16,322.95 เทศบาลเมืองปัตตานี ปัตตานี 12,972.18 เทศบาลเมืองกระทุ่มแบน สมุทรสาคร 10,548.39 เทศบาลเมืองบ้านสวน ชลบุรี 8,503.30 เทศบาลเมืองชลบุรี ชลบุรี 6,436.98 เทศบาลเมืองบ้านโป่ง ราชบุรี 6,066.32 เทศบาลเมืองหล่มสัก เพชรบูรณ์ 5,854.81 เทศบาลเมืองศรีราชา ชลบุรี 5,832.02 เทศบาลเมืองนราธิวาส นราธิวาส 5,520.40

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

แผนภาพที่ 2-30 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลเมืองที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมืองที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง เทศบาล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) เทศบาลเมืองปางมะค่า กำแพงเพชร 26.81 เทศบาลเมืองปรกฟ้า ชลบุรี 79.67 เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา สงขลา 142.50 เทศบาลเมืองหนองปลิง กำแพงเพชร 145.27 เทศบาลเมืองทับกวาง สระบุรี 180.22 เทศบาลเมืองกำแพงเพชร สงขลา 184.01 เทศบาลเมืองแจระแม อุบลราชธานี 224.34 เทศบาลเมืองบางริ้น ระนอง 290.17 เทศบาลเมืองนาสาร สุราษฎร์ธานี 294.85 เทศบาลเมืองท่าใหม่ จันทบุรี 323.06

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

69


รายงานสถานการณ์

๏ ประเภทเทศบาลตำบล แผนภาพที่ 2-31 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลตำบลที่หนาแน่นมากที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลตำบลที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด 10 แห่ง เทศบาล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) เทศบาลตำบลท่ายาง เพชรบุรี 11,863.33 เทศบาลตำบลปากน้ำชุมพร ชุมพร 8,417.28 เทศบาลตำบลบางเมือง สมุทรปราการ 7,792.60 เทศบาลตำบลชะอวด นครศรีธรรมราช 7,770 เทศบาลตำบลด่านสำโรง สมุทรปราการ 7,623 เทศบาลตำบลท่าม่วง กาญจนบุรี 6,965.35 เทศบาลตำบลหนองขาว กาญจนบุรี 6,379.76 เทศบาลตำบลสำโรงเหนือ สมุทรปราการ 5,540.18 เทศบาลตำบลเสริมงาม ลำปาง 5,392.50 เทศบาลตำบลชนแดน เพชรบูรณ์ 5,155.71

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

แผนภาพที่ 2-32 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่เทศบาลตำบลที่หนาแน่นน้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลตำบลที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง เทศบาล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) เทศบาลตำบลเขาโจด กาญจนบุรี 4.48 เทศบาลตำบลก้อ ลำพูน 4.42 เทศบาลตำบลไทรโยค กาญจนบุรี 6.82 เทศบาลตำบลทุ่งลุยลาย ชัยภูมิ 9.78 เทศบาลตำบลคสนศรี สุราษฎร์ธานี 9.89 เทศบาลตำบลบ่อเกลือใต้ น่าน 12.14 เทศบาลตำบลแม่ยม พะเยา 13.27 เทศบาลตำบลบ้านเชี่ยวหลาน สุราษฎร์ธานี 14.30 เทศบาลตำบลทุ่งผึ้ง ลำปาง 14.27 เทศบาลตำบลแม่กลอง ตาก 15.52

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

70

สถาบันพระปกเกล้า


(3) องค์การบริหารส่วนตำบล รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-33 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีความหนาแน่นมากที่สุด 10 แห่ง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) องค์การบริหารส่วนตำบลเทพารักษ์ สมุทรปราการ 5,067.67 องค์การบริหารส่วนตำบลบางรักพัฒนา นนทบุรี 4,612.20 องค์การบริหารส่วนตำบลในคลองบางปลากด สมุทรปราการ 4,152.75 องค์การบริหารส่วนตำบลเวียง เชียงใหม่ 3,139.48 องค์การบริหารส่วนตำบลบางรักน้อย นนทบุรี 3,019.70 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าอิฐ นนทบุรี 2,989.41 องค์การบริหารส่วนตำบลบางกอบัว สมุทรปราการ 2,910.88 องค์การบริหารส่วนตำบลบางกร่าง นนทบุรี 2,910.41 องค์การบริหารส่วนตำบลกระแชง ปทุมธานี 2,828.44 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองมะเดื่อ สมุทรสาคร 2,769.47

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

แผนภาพที่ 2-34 แสดงความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด 10 แห่ง ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด 10 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัด ความหนาแน่น (คนต่อตร.กม.) องค์การบริหารส่วนตำบลไล่โว่ กาญจนบุรี 1.81 องค์การบริหารส่วนตำบลอุ้มผาง ตาก 2.09 องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำรอบ สุราษฎร์ธานี 2.43 องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแม่เพรียง เพชรบุรี 2.97 องค์การบริหารส่วนตำบลแม่กิ๊ แม่ฮ่องสอน 4.66 องค์การบริหารส่วนตำบลแม่คง แม่ฮ่องสอน 4.85 องค์การบริหารส่วนตำบลปรังเผล กาญจนบุรี 5.13 องค์การบริหารส่วนตำบลเสาหิน แม่ฮ่องสอน 5.90 องค์การบริหารส่วนตำบลชะแล กาญจนบุรี 6.25 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองลู กาญจนบุรี 7.93

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

71


รายงานสถานการณ์ ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

3. การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แผนภาพที่ 2-35 การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การยกฐานะอปท.

68

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 รวม

3. การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยกฐานะเป็นเทศบาลนคร 10 - - 2 2 2 1 - - 17 แผนภาพที่ 2-35 การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง 12 11 1 1 9 20 5 3 2 64 การยกฐานะอปท. 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 รวม ยกฐานะเป็นเทศบาลตำบล 59 320 49 198 139 23 17 10 -114 348 2 2 2 1 - - 1,250 ยกฐานะเป็ นเทศบาลนคร รวม 60 64 1 1 323 9 60 20 220 5 145 3 26 2 2 1,331 ยกฐานะเป็นเทศบาลเมื อง 12 11136 359 114องถิ่น348 59กรปกครองส่ 320 วนท้49 23 - 1,250 ยกฐานะเป็ เทศบาลต งเสริมาบล การปกครองท้ , “ข้อมูลองค์ องถิ่น,” สื198 บค้นจาก139 http://www.dla.go.th/work/abt/ ที่มา:นกรมส่ 1362562. 359 60 323 60 220 145 26 2 1,331 รวม index.jsp เมื่อวันที่ 1 มกราคม

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp จากตารางที่ 2-35 พบว่า การยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ปี เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2561.

2550 ถึง 2558

มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกฐานะเป็นเทศบาลรวมทั้งหมด 1,331 แห่ง โดยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร จากตารางที พบว่า การยกฐานะขององค์ กรปกครองส่ องถิ่น ตั้งแต่ปี 2550 ถึง 2558 มีอจำนวน งค์กร

จำนวน 17 แห่​่ 2-35 ง ยกฐานะเป็ นเทศบาลเมื อ ง จำนวน 64 แห่วนท้ ง และยกฐานะเป็ น เทศบาลตำบล ปกครองส่ วนท้แห่ องถิง ่น ยกฐานะเป็นเทศบาลรวมทั้งหมด 1,331 แห่ง โดยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร จานวน 17 แห่ง 1,250 ยกฐานะเป็นเทศบาลเมื อง จานวน 64 แห่ง และยกฐานะเป็นเทศบาลตาบล จานวน 1,250 แห่ง

˝ ด้านการเมืองท้องถิ่น  ด้านการเมื องท้อดงถิ ่น องท้องถิ่นแสดงให้เห็นถึงสัดส่วนผู้บริหารท้องถิ่นทั้งเพศชายและเพศหญิง

สถานการณ์ ้านการเมื

สถานการณ์ านการเมื องท้องถิ่นแสดงให้ เอห็กตั นถึ้งงระดั สัดส่บวท้นผู ้บริ่นหตลอดช่ ารท้องถิวงปี ่นทัท้งี่ผเพศชายและเพศหญิ ง รวมถึง รวมถึ งการมีสด่ว้นร่ วมของประชาชนในการเลื องถิ ่านมา15 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่นตลอดช่วงปีที่ผ่านมา15 ทั้งนี้ สถานการณ์ด้านการเมืองท้องถิ่น ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ได้แก่ ทั้งนี้ สถานการณ์ด้านการเมืองท้องถิ่น ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ได้แก่

จานวนนายกท้องถิ่น(อบจ. เทศบาล และอบต.) เพศชายและเพศหญิง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งท้องถิ่น

15 ข้ อ มู ล การเลื อ กตั้ ง ท้ อ งถิ่ น ครั้ ง ล่ า สุ ด ระหว่ า งวั น ที่ 18 มกราคม – 25 พฤษภาคม 2557 จนกระทั่ ง ถึ ง ปั จ จุ บั น ปี

พ.ศ. 2562 ก็ยังไม่มีการเลือกตั้งท้องถิ่น

15

ข้อมูลการเลือกตั้งท้องถิ่นครั้งล่าสุด ระหว่างวันที่ 18 มกราคม – 25 พฤษภาคม 2557 จนกระทั่งถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2562 ก็ยังไม่มีการเลือกตั้งท้องถิ่น

72

สถาบันพระปกเกล้า


1. จำนวนนายกฯ (อบจ. เทศบาล และ อบต.) เพศชายและเพศหญิง

รายงานสถานการณ์

(%) 88 91 90 93 91 93 100 93

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-36 จำนวนนายกฯ (อบจ. เทศบาล และอบต.) เพศชายและเพศหญิง ปี 2557 1. จานวนนายกฯ (อบจ. เทศบาล และอบต.) เพศชายและเพศหญิง หญิง ชาย รปกครองส่วนท้(อบจ. องถิ่น เทศบาล และอบต.) เพศชายและเพศหญิง ปี 2557 แผนภาพที่ 2-36องค์จกานวนนายกฯ (คน) (%) (คน) หญิ ง ชาย 1. องค์การบริหองค์ ารส่กวนจั งหวัด วนท้องถิ่น 9 12 67 76 แห่ง รปกครองส่ (คน) (%) (คน) (%) 2. เทศบาล 2,441 แห่ง 208 9 2,233 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 30 แห่แห่ ง ง 9 3 12 10 67 27 88 - เทศบาลนคร 2,441178แห่แห่ง ง 20813 9 7 2,233165 91 - เทศบาลเมือเทศบาล ง เทศบาลนคร 302,233 แห่งแห่ง 3192 10 9 27 2,041 90 - เทศบาลตำบล เทศบาลเมื 1785,334 แห่งแห่ง 13354 7 7 1654,980 93 3. องค์การบริหารส่ วนตำบล อง เทศบาลต 9 0 2,041 2 91 4. องค์กรปกครองส่ วนท้องถิาบล ่นรูปแบบพิเศษ 2,233 แห่ 2 ง 1920 องค์การบริหารส่ วนตาบล 5,333 แห่แห่ ง ง 354571 7 7 4,9807,282 93 รวม 7,853 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2 0 0 2 100 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการเลื อกตั้ง, 2560. 7,852 แห่ง รวม 571 7 7,282 93

69

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2560.

จากตารางที ่ 2-36 แสดงให้ นว่า องค์เห็กนรปกครองส่ วนท้องถิ่นไทยมี ัดส่​่นวไทยมี นนายกฯ ง เพีเพศหญิ ยงร้อย ง จากตารางที ่ 2-36เห็แสดงให้ ว่า องค์กรปกครองส่ วนท้อสงถิ สัดส่เพศหญิ วนนายกฯ ละ 7 เท่เพี านัย้นงร้โดยองค์ วนจังหวั ดมีสัดหส่ารส่ วนนายกฯ ุด คิดเป็นร้หญิ อยละ อยละ 7การบริ เท่านัห้นารส่ โดยองค์ การบริ วนจังหวัหญิ ดมีงสสูัดงส่ทีว่สนนายกฯ งสูง12 ที่สุดขณะที คิดเป็่เทศบาลและ นร้อยละ 12 องค์การบริหารส่วนตาบลมีสัดส่วนนายกฯ เพศหญิง ไม่ถึงร้อยละ 10 ขณะที่เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลมีสัดส่วนนายกฯ เพศหญิง ไม่ถึงร้อยละ 10 สถาบันพระปกเกล้า

73


รายงานสถานการณ์

2. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งท้องถิ่น การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นครั้งล่าสุดจัดขึ้นระหว่าง 18 มกราคม - 25 พฤษภาคม 2557 โดยมี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งสูงสุดและต่ำสุด ดังนี้ 2.1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นครั้งล่าสุดจัดขึ้นระหว่าง 18 มกราคม - 25 พฤษภาคม 2557 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิสูงสุดและต่ำสุด ดังนี ้

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-37 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ ผี มู้ าใช้สทิ ธิเลือกตัง้ ผูบ้ ริหารท้องถิน่ สูงสุด 10 ลำดับแรก สูงสุด 10 ลำดับแรก ในปี พ.ศ. 2557 ลำดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด จำนวนผู้มีสิทธิ จำนวนผู้มาใช้ เลือกตั้ง สิทธิเลือกตั้ง 1 องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสุกร ตรัง 2,042 1,901 2 เทศบาลตำบลม่วงคืน อ่างทอง 3,199 2,969 3 เทศบาลตำบลลำสินธุ์ พัทลุง 4,673 4,278 4 เทศบาลตำบลหนองตากยา กาญจนบุรี 2,340 2,134 5 เทศบาลตำบลกงหรา พัทลุง 3,214 2,917 6 เทศบาลตำบลบ้านแพรก พระนครศรีอยุธยา 1,721 1,557 7 เทศบาลตำบลอ่างทอง พัทลุง 3,381 3,042 8 องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่ากอหก เลย 1,730 1,551 9 เทศบาลตำบลไผ่ดำพัฒนา อ่างทอง 2,646 2,372 10 เทศบาลตำบลบ้านหาร สงขลา 2,715 2,417

ร้อยละ 93.10 92.81 91.55 91.20 90.76 90.47 89.97 89.65 89.64 89.02

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2560.

แผนภาพที่ 2-38 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นต่ำสุด 10 ลำดับแรก ต่ำสุด 10 ลำดับแรก ในปี พ.ศ. 2557 ลำดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด จำนวนผู้มีสิทธิ จำนวนผู้มาใช้ ร้อยละ เลือกตั้ง สิทธิเลือกตั้ง 1 เทศบาลตำบลแพรกษา สมุทรปราการ 17,063 4,245 24.88 2 องค์การบริหารส่วนตำบล

สมุทรสาคร 16,009 4,103 25.63 พันท้ายนรสิงห์ 3 เทศบาลเมืองแสนสุข ชลบุรี 31,823 10,275 32.29 4 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าอุแท สุราษฎร์ธานี 7,414 3,009 40.59 5 เทศบาลเมืองท่าโขลง ปทุมธานี 47,333 21,051 44.47 6 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองขาม สุพรรณบุรี 6,790 3,023 44.52 7 องค์การบริหารส่วนตำบลกะบกเตี้ย ชัยนาท 4,181 1,867 44.65

74

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

ต่ำสุด 10 ลำดับแรก ในปี พ.ศ. 2557 ลำดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด จำนวนผู้มีสิทธิ จำนวนผู้มาใช้ ร้อยละ เลือกตั้ง สิทธิเลือกตั้ง 8 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองจิก สุโขทัย 6,045 2,711 44.85 9 องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านยาง บุรีรัมย์ 9,518 4,312 45.30 10 องค์การบริหารส่วนจังหวัด นครศรีธรรมราช 1,140,241 526,096 46.14 นครศรีธรรมราช ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2560.

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

จากตารางที่ 2-38 แสดงให้เห็นว่า ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเลือกตั้งผู้บริหาร

ท้องถิ่นในสัดส่วนสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 93.10 ซึ่งยังคงไม่เต็มร้อยละ 100 ขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บางแห่งมีประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นเพียงร้อยละ 24 – 25 เท่านั้น ซึ่งยังไม่ถึงกึ่งหนึ่งของ

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 2.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นครั้งล่าสุดจัดขึ้นระหว่าง 18 มกราคม - 25 พฤษภาคม 2557 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผู้มาใช้สิทธิสูงสุดและต่ำสุด ซึ่งจากตารางพบว่า ประชาชนเข้ามา

มี ส่ ว นร่ ว มในการเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ในสั ด ส่ ว นสู ง สุ ด เต็ ม ร้ อ ยละ 100 ขณะที่ อ งค์ ก รปกครอง

ส่วนท้องถิ่นบางแห่งมีประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นไม่ถึงร้อยละ 20 ดังนี้ แผนภาพที่ 2-39 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ ผี มู้ าใช้สทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกสภาท้องถิน่ สูงสุด 10 ลำดับแรก ลำดับ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

เขตที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนตำบลชื่นชม องค์การบริหารส่วนตำบลชื่นชม องค์การบริหารส่วนตำบลเกษตรวิสัย องค์การบริหารส่วนตำบลศรีธาตุ องค์การบริหารส่วนตำบลเสริมกลาง องค์การบริหารส่วนตำบลเสริมกลาง องค์การบริหารส่วนตำบลพยุห์ องค์การบริหารส่วนตำบลเกษตรวิสัย องค์การบริหารส่วนตำบลอีง่อง องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านดู่

7 8 13 6 7 8 6 2 1 10

จังหวัด มหาสารคาม มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อุดรธานี ลำปาง ลำปาง ศรีสะเกษ ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด

จำนวน ผู้มีสิทธิ

เลือกตั้ง 320 307 63 8 4 3 2 59 153 175

จำนวน ผู้มาใช้สิทธิ เลือกตั้ง 320 307 63 8 4 3 2 58 149 170

ร้อยละ 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 98.31 97.39 97.14

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2560.

สถาบันพระปกเกล้า

75


ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-40 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ ผี มู้ าใช้สทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกสภาท้องถิน่ ต่ำสุด 10 ลำดับแรก ลำดับ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

เขตที่

จังหวัด

จำนวนผู้มี จำนวนผู้มา ร้อยละ สิทธิเลือก ใช้สิทธิ 72 ตั้ง เลือกตั้ง 1 เทศบาลตำบลเขตรอุ ดมศักดิ์ วนท้องถิ่นที1 ่มีผู้มาใช้ ชลบุสริที ธิสมาชิกสภาท้ 16,287 แผนภาพที ่ 2-40 องค์กรปกครองส่ องถิ่นต่าสุด3,206 10 ลาดับ19.68 แรก เทศบาลเมื องบ้านสวน 15,177 3,425 ้มาใช้22.57 ลาดับ 2 องค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เขตที่ 2 จัชลบุ งหวัรดี จานวนผู ้มี จานวนผู ร้อยละ 3 เทศบาลเมืองบ้านสวน 1 ชลบุรี สิทธิเลื17,121 อกตั้ง สิ4,428 ทธิเลือกตั้ง25.86 เทศบาลเมื องบ้านสวน ชลบุรรี ี 14,590 3,812 1 3 ชลบุ 1 4 เทศบาลต าบลเขตรอุ ดมศักดิ์ 16,287 3,206 26.13 19.68 เทศบาลตำบลเกล็ ดแก้ว ชลบุรรี ี 4,449 1,290 2 2 ชลบุ 2 5 เทศบาลเมื องบ้านสวน 15,177 3,425 29.00 22.57 เทศบาลตำบลเขตรอุ ชลบุรรี ี 20,867 6,308 1 2 ชลบุ 3 6 เทศบาลเมื องบ้านสวนดมศักดิ์ 17,121 4,428 30.23 25.86 เทศบาลเมื ่เจ้าสมิงพราย สมุทรปราการ 19,096 5,780 3 1 ชลบุ 4 7 เทศบาลเมื องบ้องปูานสวน รี 14,590 3,812 30.27 26.13 เทศบาลเมื องแสนสุ ชลบุรรี ี 10,077 3,181 2 3 ชลบุ 5 8 เทศบาลต าบลเกล็ ดแก้ข ว 4,449 1,290 31.57 29.00 เทศบาลเมื องแสนสุขด มศักดิ์ 9,606 3,043 2 2 ชลบุรรี ี 6 9 เทศบาลต าบลเขตรอุ 20,867 6,308 31.68 30.23 เทศบาลเมื รี 11,972 4,027 1 1 สมุทชลบุ 7 10 เทศบาลเมื องปูองแสนสุ ่เจ้าสมิขง พราย รปราการ 19,096 5,780 33.64 30.27 ที8่มา: สำนัเทศบาลเมื กงานคณะกรรมการการเลื องแสนสุข อกตั้ง, 2560. 3 ชลบุรี 10,077 3,181 31.57 2 9 เทศบาลเมืองแสนสุข ชลบุรี 9,606 3,043 31.68 1 10 เทศบาลเมืองแสนสุข ชลบุรี 11,972 4,027 33.64

˝ ด้านภารกิจอำนาจหน้าที่

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2560.

ด้านภารกิจอำนาจหน้าที่แสดงให้เห็นถึงจำนวนภารกิจที่หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคต้อง

ด้านภารกิจอานาจหน้ าที่ ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ 1 ถ่ ายโอนตามแผนปฏิ บัติการกำหนดขั

ด้าบนภารกิ และฉบั ที่ 2 ดัจงอนีานาจหน้ ้ 16 าที่แสดงให้เห็นถึงจานวนภารกิจที่หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคต้องถ่ายโอน ตามแผนปฎิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 แผนภาพที่ 2-41 จำนวนภารกิจที่ต้องถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ดังนี16้ ฉบับที่ 1 แผนภาพที่ 2-41 จานวนภารกิจที่ต้องถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 1 ลาดับ ส่วนราชการที่ถ่ายโอน 1 กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวง 2 กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวงชนบท

16

16

ภารกิจที่ถ่ายโอน ท้องถิ่นที่รับโอน - งานลาดยางทางหลวง อบจ., ท., อบต., กทม. - งานบารุงรักษาทางหลวง - ทางหลวงชนบท (ถนนภายในหมู่บ้าน) อบจ., อบต. - ทางหลวงชนบท (ถนนลาดยาง) - ก่อสร้างทางลาดยาง - โครงการปรับปรุงสะพานไม้เป็นสะพาน ค.ส.ล.

แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2

แผนปฎิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 สถาบันพระปกเกล้า

76

จานวนภารกิจ 2 17


73 ส่วนราชการที่ถ่ายโอน

กรมส่งเสริมสหกรณ์

4

สานักงานการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม

5 6

กรมประมง กรมพัฒนาที่ดิน

7

กรมการปกครอง

8

กรมการขนส่งทางบก

ท้องถิ่นที่รับโอน

จานวนภารกิจ

อบจ., ท., อบต.

8

อบจ., ท., อบต.

7

อบต. อบจ., ท., อบต.

1 1

ท., อบต.

2

ทน., ทม., กทม.

2

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

3

ภารกิจที่ถ่ายโอน - ก่อสร้างถนนในหมู่บ้าน - ก่อสร้างสะพาน ค.ส.ล. - ก่อสร้างท่อ ค.ส.ล. - ป้องกันการกัดเซาะคอสะพาน - งานบารุงรักษาทาง - บารุงปกติผิวจราจรลูกรัง - บารุงปกติผิวจราจรลาดยาง - บารงุปกติผิวจราจรคอนกรีต - เสริมผิวลูกรัง - เสริมผิวลาดยาง - เสริมผิวลาดยางแบบแอสฟัลติก - บูรณะลาดยางและปรับปรุงทาง - สารวจความเหมาะสมทางวิศวกรรม - ขุดและปรับปรุงคลองส่งน้า - ซ่อมแซมคลองส่งน้าและอาคาร ชลประทาน (ก่อสร้างประตูระบายน้า) - ซ่อมแซมระบบชลประทาน - ปรับปรุงซ่อมแซมฝายน้าล้น/อ่างเก็บน้า - ก่อสร้างฐานสูบน้า ติดตั้งเครื่องสูบน้า - ขุดสระน้าสาธารณะ - ก่อสร้างและบารุงรักษาถนน - ก่อสร้างและบารุงรักษาสะพาน - ก่อสร้างถนนลูกรัง - การดูแลรักษาแหล่งน้า - ขุดลอกคลอง - ขุดลอกแหล่งน้า - ขุดสระน้าเก็บน้าเพื่อการอุปโภค - การขุดเจาะและปรับปรุงซ่อมแซมบ่อ น้าบาดาล - ก่อสร้างและปรับปรุงฝายน้าล้น ค.ส.ล. - การขุดลอกแหล่งน้าเพื่อการประมง - งานปรับปรุงซ่อมแซมแหล่งน้าขนาด เล็ก - การก่อสร้างฝายประชาอาสา - การบารุงรักษาซ่อมแซมแหล่งน้าขนาด เล็ก - สถานีขนส่งในเขตพื้นที่ของอปท. (สถานีขนส่งจังหวัดในเขตเทศบาล)

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

อบจ.

สถาบันพระปกเกล้า

77


74

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน

ลาดั ส่วกนราชการที ่ถ่ายโอน 9 บ สานั งานตารวจแห่ งชาติ 10 กรมเจ้าท่า

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

9 10

11 11

12 12

78

สานักงานตารวจแห่งชาติ กรมเจ้าท่า

กรมชลประทาน กรมชลประทาน

กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้า

สถาบันพระปกเกล้า

ภารกิจที่ถ่ายโอน - สถานีขนส่งนอกเขตพื้นที่ (สถานีขนส่ง อาเภอให้อบจ.) ภารกิจที่ถ่ายโอน - วิศวกรรมจราจรทางบก ขนส่งนอกเขตพื้นที่ เ(สถานี นส่ง - ร่สถานี องน้าภานยในประเทศที ป็นบึง ขคลอง อแม่าเภอให้ อ บจ.) น้าขนาดเล็ก ที่มีอยู่ในอปท.นั้น - ร่วิอศงน้ าชายฝั่งทะเลขนาดเล็กงานดูแล วกรรมจราจรทางบก และบ งรักษาร่องน้า เครื่เป็่อเ่ ป็นงหมาย - ร่องน้ารุำาภานยในประเทศที คลอง ภายในประเทศที บึนงบึงคลอง เดิ อในร่องน้กาขนาดเล็ ก ้น แม่นนเรื้าขนาดเล็ ที่มีอยู่ในอปท.นั - สถานี ขนส่งทางน้ า (ท่าเทียบเรื อ) แล ร่องน้าชายฝั ่งทะเลขนาดเล็ กงานดู -และบ การอนุ ญ าตให้ ก อ ่ สร้ า งสิ ง ่ ล่ ว งล้ าลาน้า ารุงรักษาร่องน้า เครื่องหมาย นเรือแในร่ -เดิการดู ลบอารุงน้งรัาขนาดเล็ กษาปรับกปรุงโครงการ - สถานีขนส่งทางน้าก(ท่าเทียบเรือ) ชลประทานขนาดเล็ การอนุแลบ ญาตให้ สร้างสิ่งาล่วงล้าลาน้า - การดู ารุงรักก่อษาทางน้ - การดูแลบารุงรักษาปรับปรุงโครงการ ชลประทานท่ อ ก ชลประทานขนาดเล็ - บการดู ารุงรัแกลบ ษาทางชลประทาน ารุงรักษาทางน้า - โครงการขุ ดลอกหนองน้ การดูแลบารุ งรักษาปรับาและคลอง ปรุงโครงการ ธรรมชาติ ชลประทานท่อ - งานจั าในระดับแปลงนา/คันคูน้า บารุงรัดกสรรน้ ษาทางชลประทาน - การสู บน้านอกเขตชลประทาน โครงการขุ ดลอกหนองน้าและคลอง -ธรรมชาติ โครงการถ่ายโอนการสูบน้าด้วยไฟฟ้า - งานบ งรักษาคลองส่ น้าคอนกรีนตคูทัน้ง ้า งานจัดารุสรรน้ าในระดับงแปลงนา/คั สายหลั - การสูบกน้และสายซอย านอกเขตชลประทาน - งานเก็ บเงินาค่ยโอนการสู ากระแสไฟฟ้ โครงการถ่ บน้าาด้วยไฟฟ้า - งานประสานจั ดตั้งสหกรณ์ ผู้ใช้น้า ตทั้ง งานบารุงรักษาคลองส่ งน้าคอนกรี และสายซอย -สายหลั ก่อสร้กางระบบน้ าสะอาดหมู่บ้าน - งานเก็บเงิกนและ ค่ากระแสไฟฟ้ า มาตรฐาน ข - ถังานประสานจั งเก็บน้าแบบดฝ.9 ตั้งสหกรณ์ผู้ใช้น้า - ประปาหมู ่บ้านแบบบาดาลขนาดกลาง ก่อสร้างระบบน้ าสะอาดหมู่บ้าน -มาตรฐาน ก่อสร้างระบบประปาหมู ่บ้าน (น้าผิว ก และ ข ดิ- นถัง) เก็บน้าแบบ ฝ.9 - ประปาหมู่บ้านแบบผิ วดิน นแบบบาดาลขนาดกลาง - ประปาหมู ่บ้านแบบผิวดิน่บขนาดใหญ่ ก่อสร้างระบบประปาหมู ้าน (น้าผิว -ดินประปาหมู ่บ้านแบบบาดาลขนาดใหญ่ ) - ทดสอบปริ า วดิน ประปาหมู่บม้าาณน้ นแบบผิ - ปรั บปรุงประปาหมู ่บ้าวนเดิ ม ประปาหมู ่บ้านแบบผิ ดินขนาดใหญ่ - ซ่ประปาหมู อมแซมและปรั บปรุงระบบประปา ่บ้านแบบบาดาลขนาดใหญ่ ชนบท - ทดสอบปริมาณน้า - สปรัารวจท ่ ่บ้านเดิม บปรุงาแผนที ประปาหมู - ซ่อมแซมและปรับปรุงระบบประปา ชนบท - สารวจทาแผนที่

ท้องถิ่นที่รับโอน

จานวนภารกิจ

ท้องถิ ที่รับโอน อบจ., ท.,่นอบต., กทม. อบจ., ท., อบต., กทม.

จานวนภารกิ 1 จ 4

อบจ., ท., อบต., กทม. อบจ., ท., อบต., กทม.

1 4

ท., อบต., กทม. ท., อบต.

11

ท., อบต., กทม. กทม. อบจ., ท., อบต., ท., อบต.

11

74

อบจ., ท., อบต., กทม. อบจ., ท., อบต. ท., อบต. อบจ., ท., อบต. อบจ., ท., อบต. อบต. อบจ., ท., อบต. อบต. อบจ., ท., อบต. อบจ. อบจ., อบต. ท., อบต. อบจ., ท., อบต. อบจ., อบจ. อบต. อบจ., อบต. อบจ., ท., อบต. อบจ., อบต. อบต. อบจ., อบต. อบต. อบจ., อบต. อบต.

13 13


75

13

16

17

ภารกิจที่ถ่ายโอน - ขุดสระ/ขุดลอกหนองน้า - ก่อสร้างระบบประปาชนบท กรมทรัพยากรน้าบาดาล - งานจัดหาน้า - โครงการเร่งรัดการขยายระบบประปา ชนบท กรมอนามัย - การจัดให้มีและควบคุมตลาด ารและผังเมื งเมืององ - ผังเมืองรวมจังหวัด กรมโยธาธิการละผั - งานวาง/ปรับปรุงผังเมืองรวม กระทรวงมหาดไทย - สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ กรมการพัฒนาชุมชน ประโยชน์จากแหล่งน้า - ส่งเสริมการพัฒนาอาชีพแก่กลุ่มอาชีพ - สนับสนุนกิจกรรมหมู่บ้าน เศรษฐกิจ ชุมชนพึ่งตนเอง - สนับสนุนทุนดาเนินการกลุม่ ออมทรัพย์ เพื่อการผลิต - สนับสนุนการดาเนินงานพัฒนาสตรีโดย องค์กรสตรี - ก่อสร้างอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - ปรับปรุงศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - สนับสนุนอุปกรณ์การเรียนการสอน - สนับสนุนเครื่องเล่นประจาศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก - การพัฒนาเด็กโดยหน่วยพัฒนาเด็ก เคลื่อนที่ - สนับสนุนอาหารเสริม (นม) - สนับสนุนอาหารกลางวัน - สนับสนุนค่าตอบแทนผู้ดูแลเด็ก - สนับสนุนเงินสมทบกองทุน ประกันสังคมสาหรับผูด้ ูแลเด็ก - ฝึกอบรมคณะกรรมการพัฒนาเด็ก - ฝึกอบรมผูด้ ูแลเด็กก่อนประจาการ - ฝึกอบรมผูด้ ูแลเด็กระหว่างประจาการ กระทรวงเกษตรและ - การสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ สหกรณ์ การเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร - การจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรระดับ ตาบล - การบริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์

ท้องถิ่นที่รับโอน

จานวนภารกิจ

อบจ., ท., อบต. กทม.

2

อบจ., ท., อบต., กทม. อบจ. ท., อบต. ท., อบต.

1 2

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

14 15

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

17

อบจ., ท., อบต. ท., อบต.

ท., อบต.

9

สถาบันพระปกเกล้า

79


76

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

18 19

กรมประมง กรมปศุสัตว์

20

กระทรวงแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สานักงานปลัดกระทรวง แรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ

21 22 23

24

25 26 27 28 29

80

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน

สานักงานส่งเสริมสวัสดิ ภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและ ผู้สูงอายุ สานักงานกิจการสตรีและ สถาบันครอบครัว การกีฬาแห่งประเทศไทย

ภารกิจที่ถ่ายโอน ท้องถิ่นที่รับโอน -การรวบรวมส่งเสริมพัฒนาภูมิปญ ั ญา ท้องถิ่น - การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ - การสารวจช่วยเหลือป้องกันกาจัด ศัตรูพืช - การฝึกอบรมอาชีพ - การรวมกลุม่ และพัฒนากลุ่ม - การกระจายพันธุ์ - การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์นา้ ท., อบต. - กลุ่มพัฒนาการเลี้ยงสุกร ท., อบต. - กลุ่มสัตว์ปีกเป็ด - กลุ่มสัตว์ปีกไก่พื้นบ้าน - สารวจความต้องการในการพัฒนาอาชีพ ท., อบต., กทม.

1 3 1

- การส่งเสริมพัฒนาองค์กรประชาชน

ท., อบต.

1

- งานฝึกอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัว และหัตถกรรมไทย - การสงเคราะห์เบีย้ ยังชีพผู้สูงอายุและ เงินเพิ่มพิเศษในภาวะเศรษฐกิจถดถอย - ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ - สถานสงเคราะห์คนชรา 13 แห่ง - การสงเคราะห์เบีย้ ยังชีพคนพิการ - การสงเคราะห์เบีย้ ยังชีพผู้ป่วยเอดส์ - งานสงเคราะห์และจัดสวัสดิการเด็กและ เยาวชน (อาหารเสริมนม) - งานสงเคราะห์และจัดสวัสดิการเด็กและ เยาวชน (อาหารกลางวัน) - การฌาปนกิจสงเคราะห์

อบจ., ท., อบต.

1

อบจ., ท., อบต., กทม.

5

- สนามกีฬา - ก่อสร้างลานอเนกประสงค์ - กิจกรรมการจัดหาอุปกรณ์กีฬา - โครงการลานกีฬาอเนกประสงค์ระดับ ตาบล - สวนสาธารณะ

สานักงานพัฒนาการกีฬา และนันทนาการ กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงศึกษาธิการ - การศึกษาก่อนวัยเรียนหรือปฐมวัย - การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประถมศึกษา)

สถาบันพระปกเกล้า

จานวนภารกิจ

อบจ., กทม. ท., อบต., กทม. ท., อบต., กทม.

2

ท., อบต.

1

อบจ., ท., อบต., กทม.

3

อบต.

1

ท.

1

ท., อบต., กทม. อบจ., ท., อบต., กทม.

10


77 ลาดับ

32 33 34

35 36 37

ท้องถิ่นที่รับโอน

จานวนภารกิจ

อบจ.

2

ท., อบต., กทม. อบต.

4

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

31

ภารกิจที่ถ่ายโอน - การศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) - โครงการถ่ายโอนกิจกรรมการจัด การศึกษาก่อนประถมศึกษา - โครงการถ่ายโอนกิจกรรมอาหารเสริม - งานการศึกษาพิเศษ - โครงการพัฒนาการศึกษาพิเศษ - โครงการจัดการศึกษาเพื่อคนพิการ - งานจัดการศึกษาสงเคราะห์ - งานดาเนินการศึกษาพิเศษในโรงเรียน กรมอาชีวศึกษา - โครงการพัฒนาเพื่อความหวังใหม่ของ ชาวไทย 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ - โครงการพัฒนาการศึกษาชุมชนบน พื้นที่สูง สานักงานปลัดกระทรวง - โครงการถ่ายโอนอาหารกลางวัน ศึกษาธิการ - โครงการถ่ายโอนอาหารกลางวันฯ (สาหรับนักเรียนบนภูเขา) - การดาเนินงานที่อ่านหนังสือประจา หมู่บ้าน - ห้องสมุดประชาชนตาบล กระทรวงวัฒนธรรม - โครงการถ่ายโอนกิจกรรมอาหารเสริม กรมการศาสนา - โครงการถ่ายโอนศูนย์อบรมเด็กก่อน ระดับประถมศึกษา สานักงานตารวจแห่งชาติ - การให้การศึกษาแก่ชาวเขาและ ประชาชนห่างไกลคมนาคม สานักงานคณะกรรมการ - การผลิตสื่อหรือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ อาหารและยา ข้อมูลข่าวสารด้านอาหารและยา - การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้าน ความรู้ในการบริโภคและเรียกร้องสิทธิอัน ชอบธรรม - การสร้างและขยายเครือข่ายการมีส่วน ร่วมในการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สาธารณสุขของผู้บริโภคในท้องถิ่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - การบริการตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการ สานักงานปลัดกระทรวง - สนับสนุนเงินอุดหนุนเพื่อการพัฒนา สาธารณสุข พฤติกรรมสุขภาพ กรมอนามัย - การแก้ไขปัญหาเด็กน้าหนักต่ากว่า เกณฑ์ - ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก

รายงานสถานการณ์

30

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ท., อบต. อบจ., ท., อบต. ท., อบต.

2

อบต.

1

กทม.

3

กทม.

1

ท., อบต.

1

ท., อบต.

6

สถาบันพระปกเกล้า

81


78

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

ภารกิจที่ถ่ายโอน ท้องถิ่นที่รับโอน - ส่งเสริมสุขภาพเด็กกลุม่ วัยเรียนและ เยาวชน - สงเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทางาน - ส่งเสริมสุขภาพเด็กและกลุม่ วัยผูส้ ูงอายุ - งานส่งเสริมการออกกาลังกายเพือ่ ท., อบต., กทม. สุขภาพ - การจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยผูม้ ีรายได้ ท., อบต., กทม. น้อย - การแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด - นายตรวจมาตราชั่ง ตวง วัด อบจ., ท., อบต., กทม.

38

การเคหะแห่งชาติ

39

กระทรวงพาณิชย์ กรมการค้าภายใน สานักนายกรัฐมนตรี - การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ สานักงานคณะกรรมการ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองผู้บริโภค และบรรเทาสา - อำนาจหน้ อานาจหน้าที่ในการป้องกันภัย ฝ่ายพล กรมป้องกันและบรรเทา ฝ่ า อนใน อปท. สาธารณภั ธารณภัย ย เรือยพลเรื นใน อปท. - การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเบื้องต้น กรมการปกครอง - การเปรียบเทียบคดีอาญาในความผิด ตามข้อบัญญัติท้องถิ่น กระทรวงพลังงาน - การตรวจตราสถานที่เก็บรักษาน้ามัน กรมธุรกิจพลังงาน เชื้อเพลิงลักษณะที่หนึ่ง - การรับแจ้งการประกอบกิจการและการ ตรวจตรา - การอนุญาตประกอบกิจการและตรวจ ตรา สานักงานปลัดกระทรวง - การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น มหาดไทยและกรมการ - การประสานจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ปกครอง - ระบบข้อมูลเพื่อการวางแผน ด้านการวางแผน การ ส่งเสริมการลงทุนพาณิชยก รรมและการท่องเที่ยว กระทรวงเกษตรและ - ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ยทอดเทคโนโ,ยี สหกรณ์ เกษตรชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร - การลงทุนทางธุรกิจเกษตร - การจดทะเบียนสมาชิก - การจัดตั้งศูนย์และให้บริการ กระทรวงพาณิชย์ - งานทะเบียนพาณิชย์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

40 41 42 43

44

45

46

82

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน

สถาบันพระปกเกล้า

จานวนภารกิจ

2 1

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

อบจ., อบต.

2

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

ท., อบต., กทม.

3

ท., อบต. อบจ.

3

ท., อบต.

4

อบจ., ท., อบต., กทม.

1


79

48

51 52

53

กรมควบคุมมลพิษ

54 55

กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมการปกครอง

56

กรมที่ดิน

ท้องถิ่นที่รับโอน อบจ., ท., อบต., กทม.

จานวนภารกิจ 3

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

- ฝึกอบรมประชาชนทั่วไป - การควบคุมไฟป่า

อบจ., ท., อบต. ท., อบต.

1 1

- การติดตามและตรวจสอบเกีย่ วกับ สิ่งแวดล้อมและมลพิษในการประกอบ กิจการ - โครงการแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด - การเฝ้าระวังและป้องกันสิ่งแวดล้อม - การฟื้นฟูและบาบัดสิ่งแวดล้อม - การศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการ สิ่งแวดล้อม - งานสนับสนุนแผนปฏิบัติการเพือ่ การ จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับ จังหวัด - งานติดตามตรวจสอบคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและจัดทารายงาน สถานการณ์มลพิษในท้องถิ่น - การบาบัดน้าเสีย - การจัดการขยะมูลฝอย - การดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ สาธารณะประโยชน์ สาธารณะประโญชน์ปประเภทพลเมื ระเภทพลเมืออง งในช้ ใช้ ป ระโยชน์ ร ว ่ มกั น ประโยชน์ร่วมกัน - การดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกัน (ที่ดินรกร้างว่างเปล่า) รวม

อบจ., ท., อบต., กทม.

2

อบจ., ท., อบต., กทม.

5

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

อบจ., ท. ท. ท., อบต., กทม.

2

ท., อบต., กทม.

1

ที่มา: แผนปฎิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 1.

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

49 50

กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กรมป่าไม้ กรมประมง กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม สานักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

ภารกิจที่ถ่ายโอน - การวางแผนท่องเที่ยว - การปรับปรุงดูแลรักษาสถานที่ ท่องเที่ยว - จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ - งานพัฒนาป่าชุมชน

รายงานสถานการณ์

ลาดับ ส่วนราชการที่ถ่ายโอน 47 การท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทย

1

186

ที่มา: แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 1.

จากตารางที่ 2-41 แสดงให้เห็นว่า ภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามแผนปฏิบัติ การกาหนดขัจากตารางที ้นตอนการกระจายอ านาจฯเห็ฉบั ่ 1 รวมทั 186 ภารกิ และสามารถถ่ จ จานวน ่ 2-41 แสดงให้ นว่บาทีภารกิ จที่ต้ง้หมด องถ่ายโอนให้ แก่จองค์ กรปกครองส่ายโอนได้ วนท้องถิสาเร็ ่นตามแผน 186ปฏิ ภารกิ บัตจิการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 1 รวมทั้งหมด 186 ภารกิจ และสามารถถ่ายโอน

ได้สำเร็จ จำนวน 186 ภารกิจ

สถาบันพระปกเกล้า

83


ลาดับ ส่วนราชการที่ถ่ายโอน 1 กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-42 จำนวนภารกิจที่ต้องถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ 80 ฉบับที่ 2 แผนภาพที่ 2-42 จานวนภารกิจที่ต้องถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 2

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

84

กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวงชนบท กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ สานักงานการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม กระทรวงคมนาคม กรมการขนส่งทางบก สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวงชนบท กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงคมนาคม กรมเจ้าท่า กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กรมชลประทาน สานักงานการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม

สถาบันพระปกเกล้า

ภารกิจที่ถ่ายโอน - ทางหลวงแผ่นดิน - งานลาดยางทางหลวงแผ่นดิน - งานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน - งานปรับปรุงดูแลรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและปลูก ต้นไม้ที่เกาะกลางถนน - งานก่อสร้างที่จอดรถประจาทางและที่ ทีพั่พกผูัก้โผูดยสาร ้โดยสาร - ทางหลวงชนบท

ท้องถิ่นที่รับโอน อบจ., ท., อบต., กทม.

จานวนภารกิจ 5

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

- การก่อสร้างและบารุงรักษาถนน - ก่อสร้างและบารุงรักษาสะพาน

อบจ., ท., อบต.

2

- บารุงรักษาถนนลูกรัง

อบจ., ท., อบต.

1

- สถานีขนส่งในเขตพื้นที่ของ อปท. - สถานีขนส่งนอกเขตพื้นที่ - วิศวกรรมการจราจรในเขตทางของ อปท. - วิศวกรรมจราจรและสัญญาณจราจร

ท., กทม. อบจ. อบจ., ท., อบต., กทม.

2

กทม.

1

- วิศวกรรมจราจรและสัญญาณจราจร

กทม.

1

- งานก่อสร้างและบารุงรักษาเขื่อน ป้องกันตลิ่งให้อปท.ในทุกแม่น้าและลาน้า - การเรียกเก็บค่าตอบแทนจากการ อนุญาตให้ก่อสร้างสิ่งล่วงล้าลาน้า - สถานีขนส่งทางน้า - การก่อสร้างและบารุงรักษาแหล่งน้าที่ ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน - การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก - การดูแลบารุงรักษาแหล่งน้า - ขุดลอกคลอง - ขุดลอกแหล่งน้า - ขุดสระเก็บน้าเพื่อการอุปโภค - การขุดเจาะและปรับปรุงซ่อมแซมบ่อ บ่บาดาล อบาดาล

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

ท., อบต., กทม.

2

อบจ., ท., อบต., กทม.

2

อบจ., ท., อบต.

6

ท., อบต., กทม.

1


81

13

14

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง

16

กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กรมปศุสตั ว์ กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงมนุษย์ กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

17

18 19

กระทรวงวัฒนธรรม กรมการศาสนา

สานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข 21 กระทรวงพาณิชย์ กรมการค้าภายใน 22 สานักนายกรัฐมนตรี สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค 23 กระทรวงมหาดไทย กรมป้องกันและบรรเทาสา สาธารณภั ธารณภั ย ย 24 กระทรวงพลังงาน ลาดับ กรมธุ ส่วรนราชการที กิจพลังงาน่ถ่ายโอน 20

25

กระทรวงอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน

26

กระทรวงอุตสาหกรรม

ท้องถิ่นที่รับโอน ท., อบต.

จานวนภารกิจ 3

อบจ., ท., อบต., กทม.

- การขุดเจาะบ่อน้าบาดาล - พัฒนาเป่าล้างบ่อบาดาลเดิม - ซ่อมบารุงรักษาเครื่องสูบน้าแบบบ่อลึก - ผังเมืองรวมจังหวัด - งานวาง/ปรับปรุงผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน - การอนุญาตขุดดินและถมดิน - การส่งเสริมการเลีย้ งสัตว์

ท., อบต., กทม.

3

อบจ. ท., อบต.

3

อบต.

1

- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่นิคมสร้าง ตนเอง สร้ างตนเอง - ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา

อบต.

2

- การศึกษาก่อนประถมศึกษา - การศึกษาระดับประถมศึกษา - การศึกษาระดับมัธยมศึกษา - โครงการถ่ายโอนนศูนย์อบรมเด็กก่อน ระดับประถมศึกษา - โครงการถ่ายโอนกิจกรรมอาหารเสริม - สถานีอนามัย

อบจ., ท., อบต., กทม.

3

อบจ., ท., อบต.

2

อบจ., ท., อบต., กทม.

1

- นายตรวจมาตราชั่ง ตวง วัด

ท., อบต., กทม.

1

- การให้ความคุ้มครองผู้บริโภค - การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค - การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนใน อปท. - การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเบื้องต้น

อบจ., ท., อบต., กทม.

2

อบจ., ท., อบต., กทม.

2

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

15

ภารกิจที่ถ่ายโอน - การก่อสร้างและปรับปรุงฝายน้าล้น ค.ส.ล. - ถังเก็บน้าขนาดเล็ก - สารวจทาแผนที่ - ก่อสร้างและบารุงรักษาแหล่งน้า

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

82

- การตรวจตราสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ท., อบต., กทม. 3 ภารกิ จ ที ถ ่ า ่ ยโอน ท้ อ งถิ น ่ ที ร ่ บ ั โอน จ านวนภารกิ จ เชื้อเพลิงลักษณะที่หนึง - การรับแจ้งการประกอบกิจการและการ ตรวจตรา - การอนุญาตประกอบกิจการและการ ตรวจตรา - งานบริการข้อมูลนักลงทุน อบจ., ท., อบต., กทม. 4 - งานศึกษาลู่ทางการลงทุนในแต่ละ สถาบันพระปกเกล้า 85 ท้องถิ่น - งานเผยแพร่แลข้อมูลการลงทุน - การส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่อปท. - การกากับดูแลโรงงานจาพวกที่ 1 ท., กทม. 5


82

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

ลาดับ

ส่วนราชการที่ถ่ายโอน

ภารกิจที่ถ่ายโอน - การรับแจ้งการประกอบกิจการและการ ตรวจตรา - การอนุญาตประกอบกิจการและการ ลาดับ ส่วนราชการที่ถ่ายโอน ตรวจตรา ภารกิจที่ถ่ายโอน 25 กระทรวงอุตสาหกรรม - งานบริ อมูลนักลงทุนจการและการ การรับกแจ้ารข้ งการประกอบกิ สานักงานคณะกรรมการ -ตรวจตรา งานศึกษาลู่ทางการลงทุนในแต่ละ ส่งเสริมการลงทุน ท้- การอนุ องถิ่น ญาตประกอบกิจการและการ -ตรวจตรา งานเผยแพร่แลข้อมูลการลงทุน - การส่ มการลงทุ ในพืน้นที่อปท. 25 กระทรวงอุตสาหกรรม งานบริงเสริ การข้ อมูลนักนลงทุ 26 กระทรวงอุ ตสาหกรรม - การก บดูแ่ทลโรงงานจ สานักงานคณะกรรมการ งานศึากั กษาลู างการลงทุาพวกที นในแต่​่ ล1ะ -ท้การรั ส่งเสริมการลงทุน องถิ่นบแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน จ- าพวกที ่ 2 แลข้อมูลการลงทุน งานเผยแพร่ - การตรวจสอบกรณี การส่งเสริมการลงทุโรงงานก่ นในพื้นทีอ่อเหตุ ปท. เดื อดร้อากัน บดูแลโรงงานจาพวกที่ 1 26 กระทรวงอุตสาหกรรม - การก - การก การรับาหนดมาตรฐาน แจ้งการประกอบกิจการโรงงาน ผลิ ตภัณฑ์่ 2อุตสาหกรรมและมาตรฐาน จาพวกที ผลิ ตภัณฑ์ชุมชน โรงงานก่อเหตุ - การตรวจสอบกรณี -เดืการเผยแพร่ อดร้อน มาตรฐานอุตสาหกรรม 27 กระทรวงการท่องเที่ยวและ - การวางแผนการท่ องเที่ยว การกาหนดมาตรฐาน กีฬา -ผลิการปรั งดูแลรักษาสถานที่ ตภัณฑ์บอปรุ​ุตสาหกรรมและมาตรฐาน สานักงานพัฒนาการ ท่ผลิอตงเที ภัณ่ยวฑ์ชุมชน ท่องเที่ยว - จัการเผยแพร่ ดทาสื่อประชาสั มพันธ์ตสาหกรรม มาตรฐานอุ 28 องเที่ยวแห่องเที งประเทศ ดทาแผนการตลาดด้ 27 การท่ กระทรวงการท่ ่ยวและ - การจั การวางแผนการท่ องเที่ยวานการ ท่- การปรั องเที่ยวของท้ กีไทย ฬา บปรุงดูอแงถิ ลรั่นกษาสถานที่ การด าเนิ น กิ จ กรรมส่ งเสริมการขาย สานักงานพัฒนาการ ท่องเที่ยว รู- ปจัแบบต่ เพื่อประชาสั ท่องเที่ยว ดทาสื่อางๆ ประชาสั มพันธ์ มพันธ์ กรรมการท่องเทีา่ยนการ วในพื้นที่ 28 การท่องเที่ยวแห่งประเทศ - การจัดกิทจาแผนการตลาดด้ 29 กระทรวงพาณิ ชย์ -ท่งานทะเบี ยนพาณิ ไทย องเที่ยวของท้ องถิช่นย์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า - การดาเนินกิจกรรมส่งเสริมการขาย 30 กรมป่าไม้ -รูปส่แบบต่ งเสริมาอาสาพั นาป่าชุมมชน งๆ เพื่อฒประชาสั พันธ์ การจั ด กิ จ กรรมการท่ อ งเที ย ่ วในพื้นที่ 31 กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ การควบคุมไฟป่า าและพันธุ์พืชชย์ - พืงานทะเบี ้นที่ป่าเพืย่อนพาณิ การอนุชรย์ักษ์ 29 ป่กระทรวงพาณิ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า - การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - การฟื สภาพแวดล้ 30 กรมป่าไม้ ส่งเสริ้นมฟูอาสาพั ฒนาป่อามในเขตปฏิ ชุมชน รูป ่ดิน 31 กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ ที- การควบคุ มไฟป่า 32 กรมทรั - การจั รักษ์รและฟื ป่าและพัพยากรทางทะเล นธุ์พืช พื้นที่ปด่าการ เพื่ออนุ การอนุ ักษ์ ้นฟู ลาดับ และชายฝั ส่วนราชการที ภารกิ จ ที ถ ่ ่ง ่ถ่ายโอน ทรั พ ยากรชายฝั ง ่ - การท่องเที่ยวเชิงอนุร่าักยโอน ษ์ 33 กรมส่งเสริมคุณภาพ การส่ง้นเสริ การอนุรักอษ์มในเขตปฏิ และฟื้นฟู รูป - การฟื ฟูสมภาพแวดล้ สิ่งแวดล้อม ทีทรั่ดพินยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดย ส่วนร่ กภาคส่ การมี มของทุ ว้นนฟูวน 32 กรมทรัพยากรทางทะเล -โดยการมี การจัสด่วนร่ การ อนุวมของทุ รักษ์กภาคส่ และฟื 34 และชายฝั กรมศิลปากร - การบ ารุงรักษาโบราณสถาน ่ง ทรั พยากรชายฝั ่ง - การดูแลรักษาโบราณสถานในระดับ ท้องถิ่น รวม

ที่มา: แผนปฎิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 2.

ท้องถิ่นที่รับโอน

จานวนภารกิจ

82 ท้องถิ่นที่รับโอน อบจ., ท., อบต., กทม.

จานวนภารกิจ 4

อบจ., ท., อบต., กทม. ท., กทม.

4 5

กทม. ท., กทม. อบจ., ท., อบต., กทม.

5

กทม. อบจ., ท., อบต., กทม.

3

อบจ., ท., อบต., กทม.

3

อบจ., ท., อบต., กทม. อบจ., ท., อบต., กทม.

3 1

อบต. ท., อบต. อบต. อบจ., ท., อบต., กทม.

1 4 1

อบต. ท., อบต. อบต. ท้องถิ่นที่รับโอน อบต.

1 4 83 1 จานวนภารกิจ 1

อบต. อบจ., อบต., กทม.

1 2 76

ที่มา: แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 2.

จากตารางที่ 2-42 แสดงให้เห็นว่า ภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามแผนปฎิบัติ การกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 2 รวมทั้งหมด 76 ภารกิจและสามารถ่ายโอนได้สาเร็จ จานวน 76 จ นพระปกเกล้า 86ภารกิสถาบั

 ด้านรายได้


34

การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน - การบารุงรักษาโบราณสถาน - การดูแลรักษาโบราณสถานในระดับ ท้องถิ่น รวม

กรมศิลปากร

อบจ., อบต., กทม.

2 76

ที่มา: แผนปฎิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 2.

รายงานสถานการณ์

จากตารางที ่ 2-42่ 2-42 แสดงให้ เห็เนห็ว่นาว่าภารกิ ยโอนให้ กรปกครองส่ องถิ่นตามแผน จากตารางที แสดงให้ ภารกิจที่ต้อองถ่งถ่าายโอนให้ แก่แอก่งค์อกงค์ รปกครองส่ วนท้อวงถินท้ ่น ตามแผนปฎิ บัติ าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจฯ ฉบับที่ 2 รวมทั ภารกิ้ ง หมด จและสามารถ่ ายโอนได้ สาเร็จ จานวน 76 ปฏิ บการก ั ติ ก ารกำหนดขั ้ น ตอนการกระจายอำนาจฯ ฉบั บ้งหมด ที่ 2 76รวมทั 76 ภารกิ จ และสามารถ่ า ยโอน

จ ได้สำเร็ภารกิ จ จำนวน 76 ภารกิจ ˝ ด้า นรายได้ ด้านรายได้ สถานการณ์ด้านรายได้แสดงให้เห็นถึงรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภาพรวมและรายได้ของ

สถานการณ์ด้านรายได้แสดงให้เห็นถึงรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวมและรายได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท รวมถึงสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากแต่ละแหล่ง ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท รวมถึงสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาก รายได้ ทั้งนี้ สถานการณ์ด้านรายได้ ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วน ดังนี้ แต่ละแหล่งรายได้ ทั้งนี้ สถานการณ์ด้านรายได้ ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วน ดังนี้

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้สูงสุด-ต่าสุด รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาแนกตามแหล่งรายได้

84

ขององค์ กรปกครองส่ 1. รายได้ 1. รายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิ่นองถิ่น รายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิ่นอเพิ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้อวนท้ งถิ่นองถิ ปี ่นพ.ศ. รายได้ ขององค์ กรปกครองส่ งถิ่ม่นสูเพิงขึ่ม้นสูทุงขึก้นปีทุโดยรายได้ กปี โดยรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ 2551 รวม 2551 376,740 นบาท ขณะที ่ปี พ.ศ.ขณะที 2561่ปองค์ องถิ่นมีรายได้ านบาท ปี พ.ศ. รวมล้า376,740 ล้านบาท ี พ.ศ.กรปกครองส่ 2561 องค์วกนท้รปกครองส่ วนท้รวม องถิ่น720,822 มีรายได้ล้รวม นอกจากนี จารณาดู สัดส่วนรายได้ ้องถิ่นต่สอัดรัฐส่บาล พบว่ทา ้อจากปี 2551พบว่ คิดาเป็จากปี นร้อยละ 720,822้หากพิ ล้านบาท นอกจากนี ้หากพิจทารณาดู วนรายได้ งถิ่นต่พ.ศ. อรัฐบาล พ.ศ.25.20 2551เพิคิด่มขึ้น อยละ29.42 25.20ในปี เพิ่มพ.ศ. ขึ้นเป็2561 นร้อยละ ว่าในช่ 10 ทปี้อทงถิ ี่ผ่า่นนมา ส่วน ่ม เป็นเป็ร้นอร้ยละ กล่า29.42 วได้ว่าในปี ในช่วพ.ศ. งเวลา2561 10 กล่ ปีทาี่ผวได้ ่านมา สัดวส่งเวลา วนรายได้ ต่อรัสัฐดบาลเพิ ท้องถิ16.74 ่นต่อรัดัฐบาลเพิ ่มสูงขึ้นร้อยละ 16.74 สูงขึรายได้ ้นร้อยละ งแผนภาพและตารางต่ อไปนี้ ดังแผนภาพและตารางต่อไปนี้ แผนภาพที่แผนภาพที 2-43 รายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น วตันท้ ้งแต่อปงถิี พ.ศ. 2551-2561 ่ 2-43 รายได้ ขององค์กรปกครองส่ ่น ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2551-2561

ที่มา:ที่มคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่ องถิ่น, “ตารางเปรี ยบเที บสัดส่วนรายได้ ให้แยก่บสั องค์ดกส่รปกครองส่ บประมาณ พ.ศ. า: คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้ แก่องค์วกนท้ รปกครองส่ วนท้องถิ ่น, ย“ตารางเปรี ยบเที วนรายได้วในท้ ห้แอก่งถิอ่นงค์ปีกงรปกครอง 2556-2562,” http://www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 ่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562. ส่ ว นท้ อ งถิสืบ่ นค้นปีจาก ง บประมาณ พ.ศ. 2556-2562,” สื บ ค้ น จาก เมืhttp://www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 เมื่ อ วั น ที่

14 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

87

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


88

สถาบันพระปกเกล้า

ร้อยละ 9.35 34.16 17.25 39.24 100 100 25.20 ร้อยละ 9.04 32.74 17.51 40.71 100 100 27.37

พ.ศ.2552 38,746 140,679 71,900 163,057 414,382 1,604,640 414,382 พ.ศ.2558 61,458 218,222 109,000 257,663 646,343 2,325,000 646,343

ร้อยละ 9.35 33.95 17.35 39.35 100 100 25.82 ร้อยละ 9.51 33.76 16.86 39.86 100 100 27.80

พ.ศ.2553 29,110 126,590 45,400 139,895 340,995 1,350,000 340,995 พ.ศ.2559 70,000 218,940 109,000 258,298 656,238 2,330,000 656,238

ร้อยละ 8.54 37.12 13.31 41.03 100 100 25.26 ร้อยละ 10.67 33.36 16.61 39.36 100 100 28.16

พ.ศ.2554 38,746 148,109 70,500 173,950 431,305 1,650,000 431,305 พ.ศ.2560 112,000 218,800 111,000 246,091 687,892 2,343,000 687,892

ร้อยละ 8.98 34.34 16.35 40.33 100 100 26.14 ร้อยละ 16.28 31.81 16.14 35.77 100 100 29.36

พ.ศ.2555 46,530 175,457 86,900 221,092 529,979 1,980,000 529,979 พ.ศ.2561 112,000 229,900 115,000 263,922 720,822 2,450,000 720,822

ร้อยละ 8.78 33.11 16.40 41.72 100 100 26.77 ร้อยละ 15.54 31.89 15.95 36.61 100 100 29.42

พ.ศ.2556 50,281 187,988 97,900 236,500 572,670 2,100,000 572,670

ร้อยละ 8.78 32.83 17.10 41.30 100 100 27.27

ที่มา: คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้ อ งค์กรปกครองส่ วนท้อ งถิ่น, “ตารางเปรียบเที ให้แก่องค์ก รปกครองส่วนท้องถิ่น ปังบประมาณ พ.ศ. 2551-2561,” สืบค้น จาก http:// สืบค้นจากแ ก่http://www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 เมื่อวัยนบสั ที่ 14ด ส่กุวมนรายได้ ภาพันธ์ 2562. www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562.

ที่มา: คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, “ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปังบประมาณ พ.ศ. 2551-2561,”

ประเภทรายได้/ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 1. รายได้ท้องถิ่นจัดเก็บเอง 35,224 2. รายได้ทรี่ ัฐบาลจัดเก็บให้ 128,676 3. รายได้ทรี่ ัฐบาลแบ่งให้ 65,000 4. เงินอุดหนุน 147,840 รวมรายได้ท้องถิ่นทั้งสิ้น 376,740 รายได้รัฐบาล 1,495,000 สัดส่วนรายได้ท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาล 376,740 ประเภทรายได้/ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 1. รายได้ท้องถิ่นจัดเก็บเอง 56,306 2. รายได้ทรี่ ัฐบาลจัดเก็บให้ 203,818 3. รายได้ทรี่ ัฐบาลแบ่งให้ 109,000 4. เงินอุดหนุน 253,500 รวมรายได้ท้องถิ่นทั้งสิ้น 622,625 รายได้รัฐบาล 2,275,000 สัดส่วนรายได้ท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาล 622,625

85

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-44 แสดงการเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับรายได้ของรัฐระหว่าง พ.ศ. 2551-2561 แผนภาพที่ 2-44 แสดงการเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับรายได้ของรัฐระหว่าง พ.ศ. 2551-2561

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย


0

500,000

1,000,000

1,500,000

2,000,000

2,500,000

3,000,000

86

ทีhttp://www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 ่มา: คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่อเมืงค์่อกวัรปกครองส่ วนท้ งถิ่น, “ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปังบประมาณ พ.ศ. 2551-2561,” สืบค้นจาก http:// นที่ 14 กุมภาพั นธ์อ2562. www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562.

ที่มา: คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, “ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปังบประมาณ พ.ศ. 2551-2561,” สืบค้นจาก

พ.ศ.2551 พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 รวมรายได้ท้องถิ่นทั้งสิ้น 376,740 414,382 340,995 431,305 529,979 572,670 622,625 646,343 656,238 687,891 720,822 1,495,000 1,604,640 1,350,000 1,650,000 1,980,000 2,100,000 2,275,000 2,325,000 2,330,000 2,343,000 2,450,000 รายได้รัฐบาล

จานวนรายได้รวมของ อปท. และรัฐบาล

แผนภาพที่ 2-45 เปรียบเทียบรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาลระหว่างปี พ.ศ. 2551-2561 แผนภาพที่ 2-45 เปรียบเทียบรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาลระหว่างปี พ.ศ. 2551-2561

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

89

รายงานสถานการณ์

สถาบันพระปกเกล้า


87

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้สูงสุด-ต่ำสุด 2. องค์ รปกครองส่ องถิ่นทีข่มององค์ ีรายได้กสรปกครองส่ ูงสุด-ต่าสุดวนท้องถิ่นแต่ละประเภท (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร กหากเปรี ยบเทีวนท้ ยบรายได้ ยบเที ยบรายได้ ององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิม่นากที แต่ล่สะประเภท กรุงเทพมหานครและเมื และเมืหากเปรี องพัทยา) องค์ การบริหขารส่ วนตำบลมี สัดส่วนรายได้ ุด คิดเป็นร้อ(ยกเว้ ยละน37.86 ของรายได้องค์กร อง พัทยา) องค์ การบริ วนตและมี าบลมีสสัดัดส่ส่ววนรายได้ คิดเป็นร้คิอดยละ องค์ก่อรปกครอง ปกครองส่ วนท้ องถิ่นหทัารส่ ้งหมด นที่ใกล้เมคีากที ยงกั่สบุดเทศบาล เป็นร้37.86 อยละของรายได้ 34.80 ขณะที งค์การ ส่วหนท้ ้งหมด สัดส่วนที กล้่สเคีุดยคิงกัดบเป็เทศบาล ดเป็นร้ของรายได้ อยละ 34.80 ่องค์การบริ บริ ารส่อวงถินจั่นทังหวั ดมีสและมี ัดส่วนรายได้ น้อ่ใยที นร้อยละคิ11.59 องค์ขณะที กรปกครองส่ วนท้หอารส่ งถิ่นวน หวัดมี สัดส่วนรายได้น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 11.59 ของรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ทัจั้งงหมด ส่วนรายได้ ขององค์ขกององค์ รปกครองส่ วนท้องถิว่นนท้แต่อลงถิะประเภทในปี 2559 2559 แผนภาพที ่ 2-46 สั่ ด2-46 แผนภาพที สัดส่วนรายได้ กรปกครองส่ ่นแต่ละประเภทในปี

ที่มา: กรมส่ งเสริมงเสริ การปกครองท้ องถิ ององค์กรปกครองส่ กรปกครองส่ งถิ่นประจำปี งบประมาณ พ.ศ.สื2559,” ที่มา: กรมส่ มการปกครองท้ องถิ่น่น, ,“ข้ “ข้ออมูมูลลรายได้ รายได้ขขององค์ วนท้วอนท้ งถิ่นอประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” บค้นจาก สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp กุมภาพั นธ์ 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมืเมื่อวั่อนวัทีน่ ที20่ 20 กุมภาพั นธ์ 2562.

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ กรุงเทพมหานคร โดยมี องค์ งถิ่นที่คิมีดรายได้ ที่สุดในปี งบประมาณ อ กรุงเทพมหานคร รายได้ รายได้รวมกรปกครองส่ 88,319.94วนท้ ล้าอนบาท เป็นร้สอูงยละ 15.12 ของรายได้2559 องค์กคืรปกครองส่ วนท้องถิ่นโดยมี ทั้งหมด

รวมและองค์ 88,319.94 ล้านบาท เป็่นนทีร้่มอีรยละ องค์หการส่ รปกครองส่ และองค์ กรปกครองส่ วนท้คิอดงถิ ายได้15.12 ต่ำสุด คืของรายได้ อ องค์การบริ วนตำบลวัวงนท้ เหนืองถิ อ จั่นงทัหวั้งหมด ดลำปาง โดยมีก ร ปกครองส่ นท้อ15.83 งถิ่นทีล้่มาีรนบาท ายได้ตคิ่าสุดดเป็คืนอร้อองค์ หารส่ของรายได้ วนตาบลวัองงค์ เหนืกรปกครองส่ อ จังหวัดลวาปาง โดยมี รายได้รววม ยละการบริ 0.00271 นท้องถิ ่นทัร้งายได้ หมด รวม 15.83 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.00271 ของรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด

90

สถาบันพระปกเกล้า


88 88 แผนภาพที 2-47 องค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ นท้ งถิ่น่นทีทีส่ม่มูงีรีรสุายได้ ายได้ ูงสุสุดดบ10 10 าดับบแรกในปี แรกในปี 2559 แผนภาพที ่ 2-47 องค์ กรปกครองส่ วนท้องถิว่นวนท้ ที่มอีรองถิ ายได้ ด 10สสูงลำดั แรกในปี 2559 2559 แผนภาพที ่ ่ 2-47 องค์ ลลาดั รายงานสถานการณ์ ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มา:ทีกรมส่ เสริมการปกครองท้ องถิ่น, “ข้ออมูงถิ ลรายได้ ขององค์กรปกครองส่ วนท้กรปกครองส่ องถิ่นประจาปีวนท้ งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากพ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ่มา: งกรมส่ งเสริมการปกครองท้ ่น, “ข้ ององค์ องถิ่นประจำปี งบประมาณ http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่ออวัมูนลทีรายได้ ่ 20 กุมขภาพั นธ์ 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุเมื มภาพั http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ่อวันนทีธ์่ 2562. 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที ่ 2-48 องค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นวนท้ ที่มีรายได้ ด 10ตลำดั แรกในปี 2559 2559 แผนภาพที 2-48 องค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ งถิ่น่นทีทีต่ม่ม่ำีรีรสุายได้ ายได้ ่าสุดดบ10 10 าดับบแรกในปี แรกในปี แผนภาพที ่ ่ 2-48 องค์ วนท้อองถิ ต่าสุ ลลาดั 2559

่มา: กรมส่ งเสริมการปกครองท้ , “ข้ขอององค์ มูลรายได้ ขององค์วนท้ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มา:ทีกรมส่ งเสริมการปกครองท้ องถิ่น, “ข้อองถิ มูล่นรายได้ กรปกครองส่ องถิ่นประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก ที่มา:http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ประจ าปี ง บประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บ ค้ น จาก วันนทีธ์่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุเมืม่อภาพั 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

91


1.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด รายงานสถานการณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครราชสีมา โดยมีรายได้รวม 3,609.42 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.33 ของรายได้องค์การ บริ ห ารส่ ง นจั ง หวั ด ทั้ ง หมด ขณะที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ที่ มี ร ายได้ ต่ ำ ที่ สุ ด คื อ องค์ ก ารบริ ห าร

ส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม มีรายได้รวม 233.76 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.35 ของรายได้องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดทั้งหมด แผนภาพที่ 2-49 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

รายได้ (ล้านบาท) 3,609.42 3,295.90 2,360.28 2,280.62 2,062.69 1,931.53 1,864.01 1,684.99 1,591.57 1,505.53

ร้อยละของรายได้ อบจ.ทั้งหมด (67,670.50) 5.33 4.87 3.48 3.37 3.04 2.85 2.75 2.49 2.35 2.22

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-50 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม องค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสิงห์บุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน องค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ องค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา องค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร

รายได้ (ล้านบาท) 233.76 245.12 268.26 284.96 291.01 296.46 328.46 340.30 343.33 345.33

ร้อยละของรายได้ อบจ.ทั้งหมด (67,670.50) 0.35 0.36 0.40 0.42 0.43 0.44 0.49 0.50 0.51 0.51

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

92

สถาบันพระปกเกล้า


1.2 เทศบาล รายงานสถานการณ์

เทศบาลที่ มี ร ายได้ สู ง ที่ สุ ด ปี ง บประมาณ 2559 คื อ เทศบาลนครนนทบุ รี มี ร ายได้ ร วม 2,335.70 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.14 ของรายได้เทศบาลทั้งหมด ขณะที่เทศบาลที่มีรายได้ต่ำที่สุด คือ เทศบาลตำบลศรีโพธิ์เงิน จังหวัดเชียงราย มีรายได้รวม 16.73 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0082 ของรายได้ เทศบาลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-51 เทศบาลที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ

เทศบาลนครนนทบุร ี เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

จังหวัด

รายได้ (ล้านบาท)

นนทบุรี สงขลา เชียงใหม่ นนทบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา อุดรธานี ชลบุรี ชลบุรี นครศรีธรรมราช

2,335.70 2,038.82 1,525.28 1,515.32 1,491.16 1,429.64 1,380.40 1,236.61 1,206.47 1,171.32

ร้อยละของรายได้ เทศบาลทั้งหมด (203,200.51) 1.14 1.00 0.75 0.74 0.73 0.70 0.67 0.60 0.59 0.57

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-52 เทศบาลที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลศรีโพธิ์เงิน เทศบาลตำบลบางผึ้ง เทศบาลตำบลหนองไผ่ เทศบาลตำบลคำก้าว เทศบาลตำบลบางกระบือ เทศบาลตำบลนาแพง เทศบาลตำบลเชียงขวัญ เทศบาลตำบลธาตุพนมใต้ เทศบาลตำบลหนองแวงโนนสะอาด เทศบาลตำบลบางยี่รงค์

จังหวัด เชียงราย ฉะเชิงเทรา มหาสารคาม กาฬสินธุ์ สมุทรสงคราม ขอนแก่น ร้อยเอ็ด นครพนม อุดรธานี สมุทรสงคราม

รายได้รวม (ล้าน บาท) 16.73 17.84 18.31 18.35 19.08 19.36 20.30 20.58 20.93 21.26

ร้อยละของรายได้ เทศบาลทั้งหมด (203,200.51) 0.0082 0.0088 0.0090 0.0090 0.0094 0.0095 0.0101 0.0101 0.0103 0.0105

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

93


รายงานสถานการณ์

๏ เทศบาลนคร เทศบาลนครที่มีรายได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ เทศบาลนครนนทบุรี

มีรายได้รวม 2,335.70 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.62 ของรายได้เทศบาลนครทั้งหมด ขณะที่เทศบาลนคร

ที่มีรายได้ต่ำที่สุด คือ เทศบาลนครอ้อมน้อย มีรายได้รวม 475.05 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.55 ของรายได้ เทศบาลนครทั้งหมด แผนภาพที่ 2-53 เทศบาลนครที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนคร เทศบาลนครนนทบุร ี เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

จังหวัด นนทบุรี สงขลา เชียงใหม่ นนทบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา อุดรธานี ชลบุรี ชลบุรี นครศรีธรรมราช

รายได้ (ล้านบาท) 2,335.70 2,038.82 1,525.28 1,515.32 1,491.16 1,429.64 1,380.40 1,236.61 1,206.47 1,171.32

ร้อยละของรายได้ เทศบาลนคร (30,650.04) 7.62 6.65 4.97 4.94 4.86 4.66 4.50 4.03 3.93 3.82

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-54 เทศบาลนครที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8

94

เทศบาลนคร เทศบาลนครอ้อมน้อย เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลนครพระนครศรีอยุธธา เทศบาลนครสมุทรสาคร เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลนครลำปาง เทศบาลนครรังสิต

สถาบันพระปกเกล้า

จังหวัด สมุทรสาคร ตาก สกลนคร พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร สมุทรปราการ ลำปาง ปทุมธานี

รายได้รวม (ล้านบาท) 475.05 477.98 499.24 554.01 615.54 653.04 696.19 705.08

ร้อยละของรายได้ เทศบาลนคร (30,650.04) 1.55 1.56 1.63 1.81 2.01 2.13 2.27 2.30


ลำดับ

เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครระยอง

จังหวัด พิษณุโลก ระยอง

รายได้รวม (ล้านบาท) 717.35 721.16

ร้อยละของรายได้ เทศบาลนคร (30,650.04) 2.34 2.35

รายงานสถานการณ์

9 10

เทศบาลนคร

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

๏ เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองที่มีรายได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ เทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง มีรายได้รวม 985.13 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.10 ของรายได้เทศบาลเมืองทั้งหมด ขณะที่ เทศบาลเมืองทีม่ รี ายได้ตำ่ ทีส่ ดุ คือ เทศบาลเมืองหนองปลิง จังหวัดกำแพงเพชร มีรายได้รวม 59.70 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.12 ของรายได้เทศบาลเมืองทั้งหมด แผนภาพที่ 2-55 เทศบาลเมืองที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลเมืองหัวหิน เทศบาลเมืองท่าโขลง เทศบาลเมืองสระบุรี เทศบาลเมืองลัดหลวง เทศบาลเมืองปู่เจ่าสมิงพราย เทศบาลเมืองหนองปรือ เทศบาลเมืองป่าตอง เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ เทศบาลเมืองชะอำ

จังหวัด ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ ปทุมธานี สระบุรี สมุทรปราการ สมุทรปราการ ชลบุรี ภูเก็ต อุตรดิตถ์ เพชรบุรี

รายได้ (ล้านบาท) 985.13 773.88 755.26 699.73 690.07 681.20 628.41 582.53 571.47 516.77

ร้อยละของรายได้ เทศบาลเมือง (46,857.52) 2.10 1.65 1.61 1.49 1.47 1.45 1.34 1.24 1.22 1.10

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

95


แผนภาพที่ 2-56 เทศบาลเมืองที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 รายงานสถานการณ์

ลำดับ

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองหนองปลิง เทศบาลเมืองกระนวน เทศบาลเมืองโนนสูง-น้ำคำ เทศบาลเมืองม่วงงาม เทศบาลเมืองแจระแม เทศบาลเมืองนครปฐม เทศบาลเมืองผักไห่ เทศบาลเมืองพิชัย เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เทศบาลเมืองปรกฟ้า

จังหวัด กำแพงเพชร ขอนแก่น อุดรธานี สงขลา อุบลราชธานี นครปฐม พระนครศรีอยุธยา ลำปาง สงขลา ชลบุรี

รายได้รวม (ล้านบาท) 59.70 61.95 63.78 66.40 67.64 69.36 79.10 82.85 85.88 88.45

ร้อยละของรายได้ เทศบาลเมือง (46,857.52) 0.12 0.13 0.13 0.14 0.14 0.14 0.16 0.17 0.18 0.18

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

๏ เทศบาลตำบล เทศบาลตำบลที่มีรายได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ เทศบาลตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ มีรายได้รวม 982.55 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของรายได้เทศบาลตำบลทั้งหมด ขณะทีเ่ ทศบาลตำบลทีม่ รี ายได้นอ้ ยทีส่ ดุ คือ เทศบาลศรีโพธิเ์ งิน จังหวัดเชียงราย มีรายได้รวม 16.73 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.012 ของรายได้เทศบาลตำบลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-57 เทศบาลตำบลที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลตำบล

จังหวัด

เทศบาลตำบลบางปู เทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลด่านสำโรง เทศบาลตำบลธัญบุรี เทศบาลตำบลปลายบาง เทศบาลตำบลสำโรงเหนือ เทศบาลตำบลวิชิต เทศบาลตำบลรัษฎา เทศบาลตำบลแพรกษา เทศบาลตำบลหลักห้า

สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ ภูเก็ต ภูเก็ต สมุทรปราการ สมุทรสาคร

รายได้ (ล้านบาท) 982.55 790.35 458.95 383.73 370.44 341.65 330.09 302.56 281.30 272.83

ร้อยละของรายได้ เทศบาลตำบล (125,689.96) 0.78 0.62 0.36 0.30 0.29 0.27 0.26 0.24 0.22 0.21

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

96

สถาบันพระปกเกล้า


แผนภาพที่ 2-58 เทศบาลตำบลที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559

เทศบาลตำบลศรีโพธิ์เงิน เทศบาลตำบลบางผึ้ง เทศบาลตำบลหนองไผ่ เทศบาลตำบลคำก้าว เทศบาลตำบลบางกระบือ เทศบาลตำบลนาแพง เทศบาลตำบลเชียงขวัญ เทศบาลตำบลธาตุพนมใต้ เทศบาลตำบลหนองแวงโนนสะอาด เทศบาลตำบลบางยี่รงค์

จังหวัด เชียงราย ฉะเชิงเทรา มหาสารคาม กาฬสินธุ์ สมุทรสงคราม ขอนแก่น ร้อยเอ็ด นครพนม อุดรธานี สมุทรสงคราม

รายได้รวม (ล้านบาท) 16.73 17.84 18.31 18.35 19.08 19.36 20.30 20.58 20.93 21.26

ร้อยละของรายได้ เทศบาลตำบล (125,689.96) 0.013 0.014 0.0.14 0.014 0.015 0.015 0.016 0.016 0.016 0.016

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล

รายงานสถานการณ์

ลำดับ

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

1.3 องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้สูงที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ องค์การบริหาร

ส่วนตำบลบางพลีใหญ่ จังหวัดสมุทรปราการ มีรายได้รวม 574.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.25 ของรายได้ องค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด ขณะที่องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ต่ำที่สุด คือ องค์การบริหาร ส่วนตำบลวังเหนือ จังหวัดลำปาง มีรายได้ 15.83 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0027 ของรายได้องค์การ บริหารส่วนตำบลทั้งหมด

สถาบันพระปกเกล้า

97


รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-59 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้สูงสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนตำบล

จังหวัด

องค์การบริหารส่วนตำบลบางพลีใหญ่ สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลราชาเทวะ สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลบางโฉลง สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสาม ปทุมธานี องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลในคลอง สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร ระยอง องค์การบริหารส่วนตำบลบางบัวทอง นนทบุรี องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลบางรั ก นนทบุรี

รายได้ (ล้านบาท) 574.50 421.51 406.69 376.87 362.50 359.57 341.62 268.89 262.99 256.10

ร้อยละของ รายได้ อบต. (221,065.00) 0.25 0.19 0.18 0.17 0.16 0.16 0.15 0.12 0.11 0.11

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-60 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ต่ำสุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนตำบลวังเหนือ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองโดน องค์การบริหารส่วนตำบลวังกระโจม องค์การบริหารส่วนตำบลวังกรด องค์การบริหารส่วนตำบลบางตะบูน องค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช องค์การบริหารส่วนตำบลคำแมด องค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุ องค์การบริหารส่วนตำบลพระหลวง องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทราย

จังหวัด ลำปาง สระบุรี นครนายก พิจิตร เพชรบุรี สุพรรณบุรี ขอนแก่น ร้อยเอ็ด แพร่ ร้อยเอ็ด

รายได้ (ล้านบาท) 15.83 16.10 16.52 16.58 16.62 16.81 16.99 17.08 17.11 17.26

ร้อยละของ รายได้ อบต. (221,065.00) 0.00271 0.11276 0.00283 0.00284 0.00285 0.00288 0.00291 0.00293 0.00293 0.00295

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

98

สถาบันพระปกเกล้า


3. รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามแหล่งรายได้ รายงานสถานการณ์

โครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท 17 ดังนี้ 3.1 รายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง ๏ รายได้ จ ากภาษี อ ากรที่ ท้ อ งถิ่ น เก็ บ เอง ประกอบด้ ว ย 6 รายการ ได้ แ ก่ ภาษี

โรงเรือนและที่ดิน, ภาษีบำรุงท้องที่, ภาษีป้าย, อากรฆ่าสัตว์, อากรรังนกอีแอ่น และ ภาษีท้องถิ่นจากยาสูบ น้ำมันและโรงแรม 18

๏ รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร ประกอบด้วย 4 รายการ ได้แก่ ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และ ใบอนุญาต, รายได้จากทรัพย์สิน, รายได้จากสาธารณูปโภค และรายได้เบ็ดเตล็ด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

3.2 รายได้จากภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บให้ ประกอบด้วย 10 รายการ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 19, ภาษีธุรกิจเฉพาะ, ภาษีสุรา และเบียร์, ภาษีสรรพสามิต, ภาษี และค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน, ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนอสังหาริมทรัพย์, ภาษีการพนัน, ค่าภาคหลวงแร่, ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม และอื่นๆ 20 3.3 รายได้จากภาษีที่รัฐบาลแบ่งให้ ประกอบด้ ว ย 1 รายการ ได้ แ ก่ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้ น ตอน

การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.4 เงินอุดหนุน ประกอบด้วย 3 รายการ ได้แก่ เงินอุดหนุนทั่วไป, เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ 21 และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ

17 ดวงมณี เลาวกุล. (2552). การปฏิรูปการกระจายอำนาจการคลังสู่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: เปนไท, น. 65-66. 18 เป็นรายได้เฉพาะของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเท่านั้น ยกเว้นภาษีโรงแรมที่ กทม.มีสิทธิจัดเก็บได้. 19 รวมที่จัดสรรให้ตาม พระราชบัญญัติจัดสรรรายได้ประเภทภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2534 (1 ใน 9) พระราชบัญญัติ เมืองพัทยา และ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด. 20 รวมรายได้ตามกฎหมายอุทยานฯ ค่าภาคหลวงป่าไม้ ค่าธรรมเนียมน้ำบาดาล และอาชญาบัตรประมง. 21 ถูกยุบรวมเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551.

สถาบันพระปกเกล้า

99


97

อบต.

กทม.

    

    

  

เมือง พัทยา

เทศบาล

ประเภทรายรับ

อบจ.

รายงานสถานการณ์

3.4 เงินอุดหนุน ประกอบด้วย 3 รายการ ได้แก่ เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ , 21 และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ แผนภาพที ่ 2-61 ่ โครงสร้ างประเภทรายได้ ขององค์ขกององค์ รปกครองส่ วนท้องถิว่นนท้ ในประเทศไทย แผนภาพที 2-61 โครงสร้ างประเภทรายได้ กรปกครองส่ องถิ่นในประเทศไทย

1. รายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1.1 รายได้จากภาษีอากรที่ท้องถิ่นเก็บเอง ภาษีโรงเรือนและทีด่ ิน ภาษีบารุงท้องที่ ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์ อากรรังนกอีแอ่น ภาษีท้องถิ่นจากยาสูบ น้ามันและโรงแรม1) 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต รายได้จากทรัพย์สิน รายได้จากสาธารณูปโภค รายได้เบ็ดเตล็ด 2. รายได้จากภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บให้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2) ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุราและเบียร์ ภาษีสรรพสามิต ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ ภาษีการพนัน ค่าภาคหลวงแร่ ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม อื่นๆ 3) 3. รายได้รัฐบาลแบ่งให้ ภาษีมูลค่าเพิ่มตามพระราชบัญญัติ 4. เงินอุดหนุน ทั่วไป ทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ 4) เฉพาะกิจ

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. 21

ถูกยุบรวมเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551.

100

สถาบันพระปกเกล้า

    

  

*    

   

   

   

   

   

   

 

   

    

        

  

  

  

  

  

   


อบต.

กทม.

    

  

    

เมือง พัทยา

เทศบาล     

  

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

1. รายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง 1.1 รายได้จากภาษีอากรที่ท้องถิ่นเก็บเอง ภาษีโรงเรือนและทีด่ ิน ภาษีบารุงท้องที่ ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์ อากรรังนกอีแอ่น ภาษีท้องถิ่นจากยาสูบ น้ามันและโรงแรม1) 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต รายได้จากทรัพย์สิน รายได้จากสาธารณูปโภค รายได้เบ็ดเตล็ด 2. รายได้จากภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บให้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2) ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุราและเบียร์ ภาษีสรรพสามิต ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ ภาษีการพนัน ค่าภาคหลวงแร่ ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม อื่นๆ 3) 3. รายได้รัฐบาลแบ่งให้ ภาษีมูลค่าเพิ่มตามพระราชบัญญัติ 4. เงินอุดหนุน ทั่วไป ทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ 4) เฉพาะกิจ

รายงานสถานการณ์

ประเภทรายรับ

อบจ.

98

*    

   

   

   

   

   

   

 

   

    

        

  

  

  

  

  

   

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

สถาบันพระปกเกล้า

101


102

สถาบันพระปกเกล้า รายได้รวม

2552 337988.5 35881.63 151687.28 150419.59

2554 411259.7 40604.83 204919.75 165735.12

รายได้จัดเก็บเอง

2553 361252.94 38151.08 192053.53 131048.33

รายได้รัฐจัดสรร

2555 481304.24 43745.41 222410.76 215148.07

2557 535745.81 52489.71 259018.1 224238 เงินอุดหนุน

2556 535368.87 48326.55 265909.21 221133.1

2559 583865.71 58115.73 279004.33 246745.65 Linear (รายได้รวม)

2558 591309.2 56700.93 274820.28 259787.99

99

index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, จาก หนังสือ “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, จาก หนังสือ “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

2551 รายได้รวม 335369.05 รายได้จัดเก็บเอง 34744.05 รายได้รัฐจัดสรร 157884.21 เงินอุดหนุน 142740.79

0

100000

200000

300000

400000

500000

600000

700000

2560 603111.83 62033.98 302333.41 238744.45

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-62 รายได้ขององค์ กรปกครองส่ วนท้อขงถิององค์ น่ จำแนกตามประเภทรายได้ พ.ศ. 2551-2561 แผนภาพที ่ 2-62 รายได้ กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีจาแนกตามประเภทรายได้ ปี พ.ศ.2551-2561

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย


100

3.1 รายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง

แผนภาพที ที่องค์กวรปกครองส่ งถิ่นจัอดรายได้ เก็บเองต่ รายได้ ัฐบาล2551-2560 แผนภาพที่ 2-63 รายได้ท่ 2-63 ี่องค์กรายได้ รปกครองส่ นท้องถิ่นจัวดนท้ เก็บอเองต่ รัฐอบาล ปี รพ.ศ.

รายงานสถานการณ์

3.1 รายได้สำนั ที่องค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง ก งานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้ แ ก่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ มี

การประมาณการรายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ ว่ า มี แ นวโน้ ม เพิ ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยในปี

สานักงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้ แก่อ งถิ งค์ก่ นรปกครองส่ วนท้ องถิ่ ม่นขึได้ มีการประมาณการรายได้ 2559 า วกระโดด พ.ศ. 2560 องค์ ก รปกครองส่ อ งถิม่ นเพิจะมี ายได้ ขึ้ น จากปีพ.ศ. พ.ศ. ขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นว่าวมีนท้ แนวโน้ ่มขึ้นรอย่ างต่เอพิเนื่ ม่อสูงงโดยในปี 2560 องค์แบบก้ กรปกครองส่ วนท้องถิถึ่นง

42,000 อคิดเป็ น 15.54 าวกระโดด ถึง 42,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น 15.54 จะมีรายได้ล้าเพินบาท ่มสูงขึ้นหรืจากปี พ.ศ. 2559 แบบก้ ปี พ.ศ. 2551-2560

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

30000 25000 20000 15000 10000 5000 0 2555 2556 2557 2558 2559 2560

อบจ. 5028.39 5549.41 6133.11 6212.07 5735.15 6004.07

เทศบาล 16658.42 19020.55 20473.89 21941.55 23014.58 23997.82

อบต. 7796.69 8766.78 9750.2 10960.24 11480.36 12096.21

เมืองพัทยา 459.24 540.54 623.85 630.54 653.35 736.02

กทม. 13802.68 14449.27 15508.66 16956.54 17232.29 19199.85

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, จาก หนังสือ “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2559.

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, จาก หนังสือ “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2559. อย่างไรก็ตาม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้เปิดเผยข้อมูลตัวเลขรายได้ทั้งหมดขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นทั่วประเทศ พบว่า ในปี พ.ศ. 2559 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศมีรายได้ (จัดเก็บเอง, รัฐจัดสรร, ตาม กรมส่ล้งาเสริ มการปกครองท้ งถิ่น ได้จัดเปิเก็ดบเผยข้ มูลตัวเลขรายได้ ทั้งหมดของ เงินอุดหนุ น) รวมทัอย่้ง สิางไรก็ ้น 583,865.71 นบาท แบ่งออกเป็นอรายได้ เอง อ58,115.73 ล้านบาท รายได้รัฐ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ทั ่ ว ประเทศ พบว่ า ในปี พ.ศ. 2559 องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ทั ่ ว ประเทศ

จัดสรร 279,004.33 ล้านบาท และเงินอุดหนุน 246,745.65 ล้านบาท มีรายได้ โดยรายได้ (จัดเก็บเอง,ขององค์ รัฐจัดสรร, เงินอุดหนุ น)อรวมทั ง้ สิน้ 583,865.71 นบาท้น แบ่ ออกเป็58,115.73 น รายได้จดัล้าเก็นบาท บเอง กรปกครองส่ วนท้ งถิ่น ประเภทรายได้ จัดเก็ล้บาเองนั มีจงานวน 58,115.73 นบาท รายได้รัฐ11,885 จัดสรร 279,004.33 ล้านบาท และเงิน่ทอุี่ ด70,000 หนุน 246,745.65 ล้านบาท้ยัง พบว่า ซึ่งน้อยกว่าตัล้วาเลขประมาณการ ล้าบาท (ตัวเลขประมาณการอยู ล้านบาท) นอกจากนี องค์กรปกครองส่ นท้องถิ่นที่มขีสององค์ ัดส่วนรายได้ ที่จัดเก็บเองสู งทีอ่สงถิ ุด คื่ นอ ประเภทรายได้ เทศบาล คิดเป็นร้จอั ดยละ ก รปกครองส่ ว นท้ เก็ บ39.60 เองนั้ นของรายได้ มี จ ำนวนที่ วโดยรายได้ จัดเก็บเองทั้งล้หมด รองลงมาคื อ องค์าตักวารบริ หารส่วนตาบล 11,885 ร้อยละ 19.75 การบริหารส่วนจังหวั่ทดี่ 70,000 ร้อยละ 58,115.73 านบาท ซึ่งน้อยกว่ เลขประมาณการ ล้าบาทและองค์ (ตัวเลขประมาณการอยู (ขณะที ่เมืองพัทยามี สัดส่าวนรายได้ ที่จัดเก็บเองวนท้ 653.35 และกรุงทเทพฯ ัดส่วนรายได้ เก็บเอง ล้9.86 านบาท) นอกจากนี ้ยังพบว่ องค์กรปกครองส่ องถิ่นทีล้า่มนบาท ีสัดส่วนรายได้ ี่จัดเก็มีบสเองสู งที่สุด คืทอี่จัดเทศบาล 17,232.29 ล้านบาท) ดังแผนภาพต่อไปนี้

คิดเป็นร้อยละ 39.60 ของรายได้ที่จัดเก็บเองทั้งหมด รองลงมาคือ องค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ 19.75 และองค์การบริหารส่วนจังหวัด ร้อยละ 9.86 (ขณะทีเ่ มืองพัทยามีสดั ส่วนรายได้ทจี่ ดั เก็บเอง 653.35 ล้านบาท และกรุงเทพฯ มีสัดส่วนรายได้ที่จัดเก็บเอง 17,232.29 ล้านบาท) ดังแผนภาพต่อไปนี้

สถาบันพระปกเกล้า

103


101

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ที่องค์ รปกครองส่ วนท้อวงถินท้่นแต่ ดเก็บเองดเก็ ปี บ2559 แผนภาพที่ 2-64 ่ 2-64สัดสัส่ดวส่นรายได้ วนรายได้ ที่อกงค์ กรปกครองส่ องถิละประเภทจั ่นแต่ละประเภทจั เอง ปี 2559

ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, จาก หนังสือ “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” หน้า 6 - 10. ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, จาก หนังสือ “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” หน้า 6 - 10.

องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี ร ายได้ จั ด เก็ บ เองมากที่ สุ ด ในปี ง บประมาณ 2559 คื อ เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี โดยมีรายได้ที่จัดเก็บเองจำนวน 648.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.11 ของรายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเองทั้งหมด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนตำบลยามู และองค์การบริหารส่วนตำบลแป้น จังหวัดปัตตานี โดยมีรายได้ที่จัดเก็บเองเท่ากันคือ จำนวน 0.06 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.000103 ของรายได้ที่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเองทั้งหมด 104

สถาบันพระปกเกล้า


องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ เทศบาลนครแหลม ฉบัง จังหวัดชลบุรี โดยมีรายได้ที่จัดเก็บเองจานวน 648.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.11 ของรายได้ที่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเองทั้งหมด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ องค์การ บริหารส่วนตาบลยามู และองค์การบริหารส่วนตาบลแป้น จังหวัด ปัตตานี โดยมีรายได้ที่จัดเก็บเองเท่ากันคือ จานวน 0.06 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.000103 ของรายได้ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเองทั้งหมด รายงานสถานการณ์

แผนภาพที แผนภาพที่ 2-65 ่ 2-65องค์ องค์กรปกครองส่ กรปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่น่นทีที่มีร่มายได้ ีรายได้จัดจเก็ ัดเก็บบเองมากที เองมากที่สุด่สุด1010ลำดั ลาดับบแรกในปี แรกในปี2559 2559

2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

105

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่ มา: กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น, จาก หนั งสื อ “ข้ อมู ลรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ นจาก ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเมื, ่อจาก “ข้นอธ์ มู2562. ลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp วันที่หนั 20 งกุสืมอภาพั


103

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-66 ่ 2-66องค์ องค์กรปกครองส่ กรปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่น่นทีที่ม่มีรายได้ ีรายได้จัดจัเก็ ดเก็บบเองน้ เองน้อยที อยที่ส่สุดุด1010ลำดั ลาดับบแรกในปี แรกในปี2559 2559 แผนภาพที

ที่ มา: กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น, จาก หนั งสื อ “ข้ อมู ลรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ นจาก ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเมื, ่อจาก “ข้นอธ์มู2562. ลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp วันทีหนั ่ 20 งกุสืมอภาพั

2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

106

สถาบันพระปกเกล้า


1) องค์การบริการส่วนจังหวัด รายงานสถานการณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุดในปี 2559 คือ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดภูเก็ต โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 487.62 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.50 ของรายได้ที่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดเก็บเองทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 11.44 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.19 ของรายได้ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดเก็บเองทั้งหมด แผนภาพที่ 2-67 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ที่จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา

รายได้ (ล้านบาท) 487.62 393.14 296.35 267.89 209.53 199.89 181.95 179.34 139.85 121.41

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ร้อยละ (5,735.21) 8.50 6.85 5.17 4.67 3.65 3.49 3.17 3.13 2.44 2.12

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-68 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล องค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส องค์การบริหารส่วนจังหวัดสิงห์บุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดอำนาจเจริญ องค์การบริหารส่วนจังหวัดน่าน องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี

รายได้ (ล้านบาท) 11.44 12.40 14.15 14.93 15.45 16.25 16.56 17.38 18.86 19.14

ร้อยละ (5,735.21) 0.19 0.21 0.24 0.26 0.26 0.28 0.28 0.30 0.32 0.33

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

107


รายงานสถานการณ์

2) เทศบาล เทศบาลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุดในปี 2559 คือ เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัด ชลบุรี โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 648.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.81 ของรายได้ที่เทศบาลจัดเก็บ เองทั้งหมด และเทศบาลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ เทศบาลตำบลพ่อมิ่ง จังหวัดปัตตานี โดยมีรายได้ จัดเก็บเอง จำนวน 0.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.000782 ของรายได้ที่เทศบาลจัดเก็บเองทั้งหมด แผนภาพที่ 2-69 เทศบาลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลเมืองป่าตอง เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครเกาะสมุย เทศบาลนครภูเก็ต

จังหวัด ชลบุรี ระยอง สงขลา นนทบุรี ชลบุรี ภูเก็ต เชียงใหม่ นนทบุรี สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 648.45 2.81 554.85 2.41 444.12 1.92 438.14 1.90 403.96 1.75 365.07 1.58 353.53 1.53 310.89 1.35 291.09 1.26 282.07 1.22

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-70 เทศบาลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลพ่อมิ่ง เทศบาลตำบลตอหลัง เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง เทศบาลตำบลบ้านบาก เทศบาลตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ เทศบาลตำบลไพล เทศบาลตำบลหนองสระ เทศบาลตำบลลิ้นฟ้า เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ เทศบาลตำบลปทุมวาปี

จังหวัด ปัตตานี ปัตตานี ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ นครราชสีมา อุทัยธานี ร้อยเอ็ด อุดรธานี สกลนคร

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 0.18 0.000782 0.23 0.000999 0.24 0.001043 0.24 0.001043 0.26 0.001130 0.26 0.001130 0.26 0.001130 0.27 0.001173 0.28 0.001217 0.28 0.001217

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

108

สถาบันพระปกเกล้า


๏ เทศบาลนคร รายงานสถานการณ์

เทศบาลนครที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุดในปี 2559 คือ เทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 648.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.81 ของรายได้ที่เทศบาล

จัดเก็บเองทั้งหมด ขณะที่เทศบาลนครที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีรายได้จัดเก็บเองจำนวน 56.65 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของรายได้ที่ เทศบาลจัดเก็บเองทั้งหมด แผนภาพที่ 2-71 เทศบาลนครที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 เทศบาลนคร เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครเกาะสมุย เทศบาลนครภูเก็ต เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครขอนแก่น

จังหวัด ชลบุรี สงขลา นนทบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ นนทบุรี สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต นครราชสีมา ขอนแก่น

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 648.45 2.81 444.12 1.92 438.14 1.90 403.96 1.75 353.53 1.53 310.89 1.35 291.09 1.26 282.07 1.22 260.39 1.13 256.94 1.11

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-72 เทศบาลนครที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนคร เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลนครสมุทรสาคร เทศบาลนครยะลา เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลนครอ้อมน้อย เทศบาลนครตรัง เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครระยอง

จังหวัด รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) พระนครศรีอยุธยา 59.65 0.24 ตาก 62.37 0.27 สกลนคร 62.94 0.27 สมุทรสาคร 67.94 0.29 ยะลา 83.78 0.36 สมุทรปราการ 86.23 0.37 สมุทรสาคร 87.81 0.38 ตรัง 105.64 0.45 สงขลา 111.23 0.48 ระยอง 117.58 0.51

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

109


รายงานสถานการณ์

๏ เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด คือ เทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 554.85 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.41 ของรายได้ที่เทศบาลจัดเก็บเอง ทั้งหมด ขณะที่เทศบาลเมืองที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ เทศบาลเมืองหนองปลิง จังหวัดกำแพงเพชร โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 1.51 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0065 ของรายได้ที่เทศบาลจัดเก็บเอง ทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-73 เทศบาลเมืองที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลเมืองป่าตอง เทศบาลเมืองท่าโขลง เทศบาลเมืองหัวหิน เทศบาลเมืองลัดหลวง เทศบาลเมืองปู่เจ่าสมิงพราย เทศบาลเมืองคลองหลวง เทศบาลเมืองกระบี่ เทศบาลเมืองศรีราชา เทศบาลเมืองแสนสุข

จังหวัด ระยอง ภูเก็ต ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี กระบี่ ชลบุรี ชลบุรี

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 554.85 2.41 365.07 1.58 261.92 1.13 250.55 1.08 138.11 0.60 136.35 0.59 100.88 0.43 93.03 0.40 88.94 0.38 88.92 0.38

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-74 เทศบาลเมืองที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองหนองปลิง เทศบาลเมืองแกนพัฒนา เทศบาลเมืองปางมะค่า เทศบาลเมืองบางระจัน เทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย เทศบาลเมืองม่วงงาม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เทศบาลเมืองดอกคำใต้ เทศบาลเมืองผักไห่ เทศบาลเมืองปรกฟ้า

จังหวัด กำแพงเพชร เชียงใหม่ กำแพงเพชร สิงห์บุรี สุโขทัย สงขลา สงขลา พะเยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 1.51 0.0065 2.37 0.010 2.50 0.010 2.66 0.011 2.67 0.011 3.13 0.013 3.73 0.016 3.73 0.016 4.08 0.017 5.17 0.022

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

110

สถาบันพระปกเกล้า


๏ เทศบาลตำบล รายงานสถานการณ์

เทศบาลตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ เทศบาล ตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีรายได้ที่จัดเก็บเอง จำนวน 200.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.87 ของรายได้ที่เทศบาลจัดเก็บเองทั้งหมด ขณะที่เทศบาลตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ เทศบาล ตำบลพ่อมิ่ง จังหวัดปัตตานี โดยมีรายได้ที่จัดเก็บเองทั้งหมด จำนวน 0.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0007 ของรายได้ที่เทศบาลจัดเก็บเองทั้งหมด แผนภาพที่ 2-75 เทศบาลตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 เทศบาลตำบล เทศบาลตำบลบางปู เทศบาลตำบลดอนหัวฬ่อ เทศบาลตำบลกะรน เทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลบางเสาธง เทศบาลตำบลสำโรงเหนือ เทศบาลตำบลแพรกษา เทศบาลตำบลวิชิต เทศบาลตำบลรัษฎา เทศบาลตำบลด่านสำโรง

จังหวัด สมุทรปราการ ชลบุรี ภูเก็ต สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ ภูเก็ต ภูเก็ต สมุทรปราการ

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 200.50 0.87 174.18 0.75 133.49 0.58 112.92 0.49 84.17 0.36 70.32 0.30 70.32 0.30 67.43 0.29 65.04 0.28 58.25 0.25

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-76 เทศบาลตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลพ่อมิ่ง เทศบาลตำบลตอหลัง เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง เทศบาลตำบลบ้านบาก เทศบาลตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ เทศบาลตำบลไพล เทศบาลตำบลหนองสระ เทศบาลตำบลลิ้นฟ้า เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ เทศบาลตำบลปทุมวาปี

จังหวัด ปัตตานี ปัตตานี ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ นครราชสีมา อุทัยธานี ร้อยเอ็ด อุดรธานี สกลนคร

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (23,014.58) 0.18 0.000782 0.23 0.000999 0.24 0.001043 0.24 0.001043 0.26 0.001130 0.26 0.001130 0.26 0.001130 0.27 0.001173 0.28 0.001217 0.28 0.001217

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

111


รายงานสถานการณ์

3) องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุดในปีงบประมาณ 2559 คือ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร จังหวัดระยอง โดยมีรายได้จัดเก็บเอง จำนวน 154.12 ล้านบาท

คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 1.34 ของรายได้ ที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลจั ด เก็ บ เองทั้ ง หมด ขณะที่ อ งค์ ก ารบริ ห าร

ส่วนตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน จังหวัดปัตตานี โดยมีรายได้ จัดเก็บเองจำนวน 0.03 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.00026 ของรายได้ที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเก็บเอง ทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-77 องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้จัดเก็บเองมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร ระยอง องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลราชาเทวะ สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลบางพลีใหญ่ สมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนตำบลพานทอง ชลบุรี องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเก่า ชลบุรี องค์การบริหารส่วนตำบลปลวกแดง ระยอง องค์การบริหารส่วนตำบลเชิงทะเล ภูเก็ต องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว สมุทรปราการ

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (11,480.36) 154.12 1.34 147.99 1.28 144.73 1.26 136.85 1.19 132.98 1.15 120.90 1.05 108.86 0.94 108.80 0.94 99.90 0.87 75.38 0.65

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

112

สถาบันพระปกเกล้า


110

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-78 องค์การบริหารส่วนตาบลที่มีรายได้จัดเก็บเองน้อยที่สุด 10 ลาดับแรกในปี 2559 ลาดับ องค์การบริหารส่วนตาบล จังหวัด รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (11,480.36) 1 แผนภาพที องค์การบริ าบลประจั น ่มีรายได้จัดเก็ปับตเองน้ ตานีอยที่สุด 10 ลำดั 0.03 ่ 2-78หารส่ องค์วกนต ารบริ หารส่วนตำบลที บแรกในปี 2559 0.00026 2 องค์บก ารบริหองค์ ารส่กวารบริ นตหาบลยะมู 0.06 ร้อยละ (11,480.36) 0.00052 ลำดั ารส่วนตำบล จังหวัดปั ตตานี รายได้ (ล้านบาท) 3 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลประจั าบลแป้นน 1 การบริ องค์กหารบริ ปัตตานี ปัตตานี 0.03 0.06 0.00026 0.00052 2 การบริ องค์กหารบริ ปัตตานี นราธิวาส 0.06 0.06 0.00052 0.00052 4 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลยะมู าบลเฉลิม 3 การบริ องค์กหารบริ น ปัตตานี ปัตตานี 0.06 0.07 0.00052 0.00061 5 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลแป้ าบลกระหวะ 4 องค์การบริหารส่วนตำบลเฉลิม 6 องค์ การบริหารส่วนตาบลโคกสะตอ นราธิวาส นราธิวาส 0.06 0.07 0.00052 0.00061 5 องค์การบริหารส่วนตำบลกระหวะ ปัตตานี 0.07 0.00061 7 องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลกระเสาะ ปั ต ตานี 0.08 0.00069 6 องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสะตอ นราธิวาส 0.07 0.00061 8 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลกระเสาะ าบลลาโละ 7 การบริ องค์กหารบริ ปัตตานี นราธิวาส 0.08 0.08 0.00069 0.00069 9 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลลาโละ าบลตะโละไกรทองนราธิวาส ปัตตานี 0.08 0.10 0.00069 0.00087 8 การบริ องค์กหารบริ 9 การบริ องค์กหารบริ ปัตตานี ปัตตานี 0.10 0.11 0.00087 0.00095 10 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลตะโละไกรทอง าบลสะนอ 10 การบริ องค์กหารบริ 11 องค์ ารส่หารส่ วนตวนตำบลสะนอ าบลคอลอตันหยงปัตตานี ปัตตานี 0.11 0.11 0.00095 0.00095

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

11 องค์การบริ วนตำบลคอลอตั ตานี กรปกครองส่ วนท้ องถิ 0.11 0.00095 ที่ มา: กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ นห,ารส่ จาก หนั งสื อ “ข้ อนมูหยง ลรายได้ปัขตององค์ ่ นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ นจาก ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อเมืงถิ่อวั่ นน, ทีจาก ง สื อน“ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp ่ 20 หนั กุมภาพั ธ์ 2562. พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

3.2 รายได้ รัฐบาลจั ดสรรให้ 3.2 รายได้ รัฐบาลจัดสรรให้ รายได้ที่ร ัฐบาลจัดรายได้ สรรให้ ง รายได้ จากภาษี ที่รจัฐากภาษี บาลจัดทเก็ ให้แดละรายได้ ที่รัฐบาลแบ่ งให้ ซึ่งในช่วง ที่รัฐหมายถึ บาลจัดสรรให้ หมายถึ ง รายได้ ี่รัฐบบาลจั เก็บให้และรายได้ ที่รัฐบาล แบ่ง–ให้2560 ซึ่งในช่รายได้ วงปี พ.ศ. – 2560 รายได้ ี่รัฐบาลจั นวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาโดยตลอด ปี พ.ศ. 2551 ที่ร2551 ัฐบาลจั ดสรรให้ มีแทนวโน้ มเพิด่มสรรให้ สูงขึม้นีแมาโดยตลอด แผนภาพที่ 2-79 ่ 2-79 รายได้ รายได้ขขององค์ วนท้วอนท้ งถิ่นอทีงถิ ่รัฐบาลจั สรรให้ดพ.ศ. 2551พ.ศ. – 2561 แผนภาพที ององค์กรปกครองส่ กรปกครองส่ ่นที่รัฐดบาลจั สรรให้ 2551 – 2561

ที่ มา: กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น, จาก หนั งสื อ “ข้ อมู ลรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ นจาก ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

113


111

แผนภาพที ่ 2-80สัดสัส่ดวส่นรายได้ วนรายได้ทที่รี่รัฐัฐบาลจั บาลจัดดสรรให้ วนท้วอนท้ งถิ่นอแต่ ปี 2559 แผนภาพที ่ 2-80 สรรให้อองค์งค์กรปกครองส่ กรปกครองส่ งถิล่นะประเภท แต่ละประเภท ปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

ประเภทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ยกเว้นกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) ที่มีสัดส่วนรายได้ที่รัฐบาล ประเภทองค์ วนท้อคิงถิ ่น (ยกเว้ นกรุงเทพมหานครและเมื ที่มดีสัดสรรให้ ส่วน อ งค์กร บาลจั จัดสรรให้ สู ง ที่ส ุ ด คือ องค์ การบริ หกรปกครองส่ ารส่ ว นตาบล ดเป็ น ร้ อยละ 35.28 ของรายได้อทงพัี่รทั ฐยา) รัฐบาลจัดสรรให้สูงที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนตำบล คิดเป็นร้อยละ 35.28 ของรายได้ที่รัฐบาล ปกครองส่รายได้ วนท้อที่งถิ ่นทั้งหมด ซึ่งใกล้เคียงกับเทศบาล คิดเป็นร้อยละ 31.16 ขณะที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดมี จั ด สรรให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทั้ ง หมด ซึ่ ง ใกล้ เ คี ย งกั บ เทศบาล คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 31.16 ขณะที่

สัดส่วนรายได้ ี่รัฐบาลจั ดเป็นทร้อี่รัฐยละ บาลจั ดสรรให้ องค์ทกี่รรปกครองส่ วน องค์กทารบริ หารส่วดนจัสรรต่ งหวัดาที มีส่สัดุดส่วคินรายได้ บาลจั13.49 ดสรรต่ำของรายได้ ที่สุด คิดเป็นทร้ี่รอัฐยละ 13.49 ของรายได้ ัฐบาล ท้องถิ่นทั้งจัหมด ดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด

่ ม า:มการปกครองท้ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิง่สืนอ, จาก ง สื อ “ข้ขององค์ อ มู ล รายได้ ข ององค์วกนท้ รปกครองส่ ว นท้าปีองงถิ ่ น ประจำปีพ.ศ. ง บประมาณ ที่ มา: กรมส่ งทีเสริ องถิ่ น, จาก หนั “ข้ อหนั มู ลรายได้ กรปกครองส่ องถิ่ นประจ บประมาณ 2559,” สื บค้ นจาก พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

114

สถาบันพระปกเกล้า


112

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

115

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่ มา: กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น, จาก หนั งสื อ “ข้ อมู ลรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ นจาก ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

รายงานสถานการณ์

องค์ กรปกครองส่ นท้องถิ่นที่มวีรนท้ ายได้ ดสรรให้ มากทีด่สสรรให้ ุด คือ องค์ การบริ งหวัดหชลบุ องค์กวรปกครองส่ องถิท่นี รัฐทีบาลจั ่มีรายได้ ที่รัฐบาลจั มากที ่สุด คืหอารส่ องค์วนจั การบริ าร รี ส่วรนจั งหวัจดานวน ชลบุรี 2,353.55 โดยมีรายได้ล้าจำนวน ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ที่รกัฐรปกครองส่ บาลจัดสรรวน โดยมี ายได้ นบาท คิ2,353.55 ดเป็นร้อยละ 0.84 ของรายได้ ที่รัฐ0.84 บาลจัของรายได้ ดสรรให้องค์ ให้่นอทังค์้งกหมด รปกครองส่ วนท้ องถิ่นทั้งหมด นท้องถิ ่นที่มีรายได้ ดสรรให้ น้อหยทีารส่ ่สุดวน ท้องถิ และองค์ กรปกครองส่ วนท้และองค์ องถิ่นทีก่มรปกครองส่ ีรายได้ที่รัฐวบาลจั ดสรรให้ น้อยทีท่สี่รุดัฐบาลจั คือ องค์ การบริ คือ งองค์ วนตำบลวั หวัดลำปาง รายได้ 9.790.00350 ล้านบาทของรายได้ คิดเป็นร้ทอี่รยละ ตาบลวั เหนืกอารบริ จังหวัหารส่ ดลาปาง โดยมีงรเหนื ายได้อ จัจงานวน 9.79 ล้โดยมี านบาท คิดเป็จำนวน นร้อยละ ัฐบาล 0.00350 ที่รวัฐนท้ บาลจั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด จัดสรรให้ องค์ของรายได้ กรปกครองส่ องถิด่นสรรให้ ทั้งหมด แผนภาพที่ 2-81 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก แผนภาพที่ 2-81 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลาดับแรกในปี 2559 ในปี 2559


113

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-82 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก แผนภาพที ่ 2-82 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลาดับแรกในปี 2559 ในปี 2559

ที่ มทีา:่ มกรมส่ งเสริ มง เสริ การปกครองท้ องถิ่ น, จาก สื อ “ข้หนัอมูงลสืรายได้ กรปกครองส่ องถิ่ นประจวาปีนท้งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ น จาก า: กรมส่ ม การปกครองท้ อ งถิหนั ่ น , งจาก อ “ข้ อขององค์ มู ล รายได้ ข ององค์วกนท้รปกครองส่ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ที่ มี ร ายได้ ที่ รั ฐ บาลจั ด สรรให้ ม ากที่ สุ ด คื อ องค์ ก ารบริ ห าร

ส่วนจังหวัดชลบุรี โดยมีรายได้ จำนวน 2,353.55 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.24 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรร ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีรายได้ จำนวน 128.71 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.34 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด

116

สถาบันพระปกเกล้า


องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี

รายได้ (ล้านบาท) 2,353.55 1,894.16 1,578.23 1,482.56 1,238.98 1,237.52 1,206.17 1,071.86 1,045.26 901.92

ร้อยละ (37,665.20) 6.24 5.02 4.19 3.93 3.28 3.28 3.20 2.84 2.77 2.39

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-83 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรก ในปี 2559

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-84 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรายได้รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรก ในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน องค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอำนาจเจริญ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล องค์การบริหารส่วนจังหวัดสิงห์บุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา องค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด

รายได้ (ล้านบาท) 128.71 139.36 142.61 145.56 147.53 150.48 162.14 166.45 179.07 180.95

ร้อยละ (37,665.20) 0.34 0.36 0.37 0.38 0.39 0.39 0.43 0.44 0.47 0.48

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

117


รายงานสถานการณ์

2) เทศบาล เทศบาลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด คือ เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี โดยมีรายได้ จำนวน 1,258.32 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.44 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้เทศบาลทั้งหมด และเทศบาลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด คือ เทศบาลตำบลเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมี รายได้ จำนวน 9.98 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0114 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้เทศบาลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-85 เทศบาลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรกปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลตำบลบางปู เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลตำบลบางเมือง

จังหวัด นนทบุรี นนทบุรี สงขลา เชียงใหม่ ชลบุรี นครราชสีมา สมุทรปราการ อุดรธานี ขอนแก่น สมุทรปราการ

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 1,258.32 1.44 820.11 0.94 757.42 0.87 657.26 0.75 605.64 0.69 555.69 0.63 554.54 0.63 513.79 0.59 510.96 0.58 482.46 0.55

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-86 เทศบาลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลเกาะเต่า เทศบาลตำบลบางผึ้ง เทศบาลตำบลบางคลาน เทศบาลตำบลเกาะยาวใหญ่ เทศบาลตำบลมโนรมย์ เทศบาลตำบลบางสน เทศบาลตำบลดอนทราย เทศบาลตำบลดอนหวาย เทศบาลตำบลทางพระ เทศบาลตำบลหนองน้อย

จังหวัด สุราษฎร์ธานี ฉะเชิงเทรา พิจิตร พังงา ชัยนาท ชุมพร พัทลุง นครราชสีมา อ่างทอง ชัยนาท

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 9.98 0.0114 11.14 0.0128 11.97 0.0139 12.16 0.0141 12.29 0.0141 12.30 0.0141 12.32 0.0141 12.41 0.0142 12.44 0.0143 12.57 0.0144

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

118

สถาบันพระปกเกล้า


๏ เทศบาลนคร รายงานสถานการณ์

เทศบาลนครที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด คือ เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัด นนทบุ รี โดยมี ร ายได้ จำนวน 1,258.32 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 1.44 ของรายได้ ที่ รั ฐ บาลจั ด สรรให้ เทศบาลทั้งหมด ขณะที่เทศบาลนครที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด คือ เทศบาลนครแม่สอด จังหวัด ตาก โดยมีรายได้ จำนวน 144.70 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.16 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้เทศบาล ทั้งหมด แผนภาพที่ 2-87 เทศบาลนครที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 เทศบาลนคร เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครยะลา

จังหวัด นนทบุรี นนทบุรี สงขลา เชียงใหม่ ชลบุรี นครราชสีมา อุดรธานี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี ยะลา

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 1,258.32 1.44 820.11 0.94 757.42 0.87 657.26 0.75 605.64 0.69 555.69 0.63 513.79 0.59 510.96 0.58 474.24 0.54 469.07 0.53

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-88 เทศบาลนครที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนคร เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครสกลนคคร เทศบาลนครพระนครศรีอยุธธา เทศบาลนครสมุทรสาคร เทศบาลนครอ้อมน้อย เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครเชียงราย เทศบาลนครลำปาง เทศบาลนครเชียงราย เทศบาลนครระยอง

จังหวัด ตาก สกลนคร พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร สมุทรสาคร สงขลา เชียงราย ลำปาง เชียงราย ระยอง

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 144.70 0.16 191.38 0.22 204.23 0.23 224.02 0.25 228.65 0.26 240.50 0.27 243.35 0.27 265.16 0.30 271.75 0.31 272.46 0.31

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

119


รายงานสถานการณ์

๏ เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด คือ เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีรายได้ จำนวน 376.68 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.43 ของรายได้ที่รัฐบาล จั ด สรรให้ เ ทศบาลทั้ ง หมด และเทศบาลเมื อ งที่ มี ร ายได้ ที่ รั ฐ บาลจั ด สรรให้ น้ อ ยที่ สุ ด คื อ เทศบาลเมื อ ง

หนองปลิง จังหวัดกำแพงเพชร โดยมีรายได้ จำนวน 25.86 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.029 ของรายได้ที่ รัฐบาลจัดสรรให้เทศบาลทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-89 เทศบาลเมืองที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองปู่เจ่าสมิงพราย เทศบาลเมืองลัดหลวง เทศบาลเมืองท่าโขลง เทศบาลเมืองบ้านสวน เทศบาลเมืองคลองหลวง เทศบาลเมืองหัวหิน เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทสบาลเมืองหนองปรือ เทศบาลเมืองสระบุรี เทศบาลเมืองเบตง

จังหวัด สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี ชลบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี ชลบุรี สระบุรี ยะลา

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 376.68 0.43 372.80 0.42 324.32 0.37 300.11 0.34 295.62 0.33 293.66 0.33 291.83 0.33 276.23 0.31 247.94 0.28 239.39 0.27

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-90 เทศบาลเมืองที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองหนองปลิง เทศบาลเมืองแจระแม เทศบาลเมืองม่วงงาม เทศบาลเมืองปางมะค่า เทศบาลเมืองโนนสูง-น้ำคำ เทศบาลเมืองนครปฐม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เทศบาลเมืองกำแพงเพชร เทศบาลเมืองขลุง เทศบาลเมืองชุมเห็ด

จังหวัด กำแพงเพชร อุบลราชธานี สงขลา กำแพงเพชร อุดรธานี นครปฐม สงขลา สงขลา จันทบุรี บุรีรัมย์

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 25.86 0.029 28.15 0.032 31.18 0.035 32.47 0.037 34.07 0.039 34.46 0.039 35.70 0.041 36.30 0.041 37.72 0.043 38.52 0.044

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

120

สถาบันพระปกเกล้า


๏ เทศบาลตำบล รายงานสถานการณ์

เทศบาลตำบลที่ มี ร ายได้ ที่ รั ฐ บาลจั ด สรรให้ ม ากที่ สุ ด คื อ เทศบาลตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีรายได้ จำนวน 554.54 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.63 ของรายได้ที่รัฐบาล จัดสรรให้เทศบาลทั้งหมด และเทศบาลตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด คือ เทศบาลตำบล

เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีรายได้ จำนวน 9.98 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0114 ของรายได้

ที่รัฐบาลจัดสรรให้เทศบาลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-91 เทศบาลตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 เทศบาลตำบล เทศบาลตำบลบางปู เทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลด่านสำโรง เทศบาลตำบลธัญบุรี เทศบาลตำบลสำโรงเหนือ เทศบาลตำบลวิชิต เทศบาลตำบลรัษฎา เทศบาลตำบลหลักห้า เทศบาลตำบลปลายบาง เทศบาลตำบลเขตอุดมศักดิ์

จังหวัด สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี สมุทรปราการ ภูเก็ต ภูเก็ต สมุทรสาคร นนทบุรี ชลบุรี

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 554.54 0.63 482.46 0.55 280.51 0.32 240.40 0.27 201.51 0.23 183.14 0.21 162.71 0.18 158.60 0.18 157.76 0.18 155.17 0.17

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-92 เทศบาลตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลเกาะเต่า เทศบาลตำบลบางผึ้ง เทศบาลตำบลบางคลาน เทศบาลตำบลเกาะยาวใหญ่ เทศบาลตำบลมโนรมย์ เทศบาลตำบลบางสน เทศบาลตำบลดอนทราย เทศบาลตำบลดอนหวาย เทศบาลตำบลทางพระ เทศบาลตำบลหนองน้อย

จังหวัด สุราษฎร์ธานี ฉะเชิงเทรา พิจิตร พังงา ชัยนาท ชุมพร พัทลุง นครราชสีมา อ่างทอง ชัยนาท

รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (86,960.89) 9.98 0.0114 11.14 0.0128 11.97 0.0139 12.16 0.0141 12.29 0.0141 12.30 0.0141 12.32 0.0141 12.41 0.0142 12.44 0.0143 12.57 0.0144

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

121


รายงานสถานการณ์

3) องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้มากที่สุด คือ องค์การบริหาร

ส่วนตำบลบางพลีใหญ่ จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีรายได้ จำนวน 348.92 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.35 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้องค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้ที่ รัฐบาลจัดสรรให้น้อยที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนตำบลวังเหนือ จังหวัดลำปาง โดยมีรายได้ จำนวน 9.79 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0035 ของรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้องค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-93 องค์การบริหารส่วนตำบลทีม่ รี ายได้ทรี่ ฐั บาลจัดสรรให้มากทีส่ ดุ 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ องค์การบริหารส่วนตำบล 1 องค์การบริหารส่วนตำบลบางพลีใหญ่ 2 องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว 3 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสาม 4 องค์การบริหารส่วนตำบลในคลองบางปลากด 5 องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง 6 องค์การบริหารส่วนตำบลราชาเทวะ 7 องค์การบริหารส่วนตำบลบางโฉลง 8 องค์การบริหารส่วนตำบลบางปลา 9 องค์การบริหารส่วนตำบลบางบัวทอง 10 องค์การบริหารส่วนตำบลบางบ่อ

จังหวัด สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ นนทบุรี สมุทรปราการ

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (98,458.13) 348.92 0.35 269.58 0.27 235.69 0.23 225.01 0.22 212.17 0.21 195.48 0.19 183.82 0.18 175.44 0.17 163.98 0.16 141.89 0.14

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-94 องค์การบริหารส่วนตำบลทีม่ รี ายได้ทรี่ ฐั บาลจัดสรรให้นอ้ ยทีส่ ดุ 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลวังเหนือ เทศบาลตำบลเกาะเต่า องค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล องค์การบริหารส่วนตำบลสามเงา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยหิน องค์การบริหารส่วนตำบลปึกเตียน องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะคอเขา องค์การบริหารส่วนตำบลโพธิ์ตรุ องค์การบริหารส่วนตำบลย่านซื่อ องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยโรง

จังหวัด ลำปาง สุราษฎร์ธานี เพชรบุรี ตาก ลพบุรี เพชรบุรี พังงา ลพบุรี สตูล เพชรบุรี

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (279,004.33) 9.79 0.00350 9.98 0.00357 10.41 0.00373 10.81 0.00387 11.21 0.00401 11.22 0.00402 11.23 0.00402 11.38 0.00407 11.43 0.00409 11.60 0.00415

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

122

สถาบันพระปกเกล้า


120

3.3 รายได้จากเงินอุดหนุน

รายงานสถานการณ์

3.3 รายได้ จากเงิ นอุดหนุน สำนั ก งานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้ แ ก่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ มี

สานักงานคณะกรรมการการกระจายอ แก่กอรปกครองส่ งค์กรปกครองส่ ่นได้มพ.ศ. ีการประมาณการรายได้ ประเภทเงินอุดหนุนานาจให้ ขององค์ วนท้วนท้ องถิองถิ ่นในปี 2559 พบว่าจะมี

การประมาณการรายได้ ประเภทเงิ นอุนดอุหนุ นขององค์ กรปกครองส่วนท้่ทอี่ งถิ ่นในปี พ.ศ. 2559 ซึพบว่ าจะมีราายได้ จากเงิานเพีอุดยหนุ รายได้ จากเงิ ดหนุ นโดยประมาณการอยู 259,360 ล้านบาท ่งมากกว่ ปีก่อนหน้ งเล็นกโดยประมาณ น้อย การอยู่ที่ 259,360 ล้านบาท ซึ่งมากกว่าปีก่อนหน้าเพียงเล็กน้อย แผนภาพที่ 2-95 ประมาณการเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ปี 2551 – 2560

แผนภาพที่ 2-95 ประมาณการเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ปี 2551 – 2560 300,000

221,091

200,000 150,000

147,840

257,664

259,360

2557

2558

2559

236,500

263,922

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

250,000

253,500

246,092

173,950

163,057 139,895

100,000 50,000 -

2551

2552

2553

2554

จานวนเงินอุดหนุน

2555

2556

2560

2561

2 per. Mov. Avg. (จานวนเงินอุดหนุน)

ที่มา: คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, “ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ.

ที2556-2562,” ่มา: คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วเมืนท้ สืบค้นจาก http://www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 ่อวัอนทีงถิ่ 1่นมี, น“ตารางเปรี าคม 2562. ยบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2562,” สืบค้นจาก http://www.odloc.go.th/web/?page_id=1562 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2562. อย่างไรก็ตาม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้เปิดเผยข้อมูลตัวเลขรายได้ทั้งหมดขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นทั่วประเทศ พบว่า ในปี พ.ศ. 2559 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศมีรายได้ (จัดเก็บเอง, รัฐจัดสรร, อย่้งาสิงไรก็ ตาม กรมส่ล้างนบาท เสริมการปกครองท้ องถิ่นจัดได้เก็เบปิเอง ดเผยข้ อมูลตัวเลขรายได้ ทั้งหมด

เงินอุด หนุน) รวมทั ้น 583,865.71 แบ่งออกเป็น รายได้ 58,115.73 ล้านบาท รายได้ รัฐ ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ทั ่ ว ประเทศ พบว่ า ในปี พ.ศ. 2559 องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ทั ่ ว ประเทศ

จัดสรร 279,004.33 ล้านบาท และเงินอุดหนุน 246,745.65 ล้านบาท มีรายได้ (จัโดยรายได้ ดเก็บเอง,ขององค์ รัฐจัดสรร, เงินอุดหนุ น) อรวมทั ง้ สิน้ 583,865.71 แบ่งออกเป็ น รายได้ ดั เก็บเอง กรปกครองส่ วนท้ งถิ่น ประเภทเงิ นอุดหนุนล้นัานบาท ้น มีจานวน 246,745.65 ล้าจนบาท ซึ่ง 58,115.73 ล้ า นบาท รายได้ ร ฐ ั จั ด สรร 279,004.33 ล้ า นบาท และเงิ น อุ ด หนุ น 246,745.65 ล้ า นบาท น้อยกว่าตัวเลขประมาณการ 12,615 ล้าบาท (ตัวเลขประมาณการอยู่ที่ 259,360 ล้านบาท) นอกจากนี้ยังพบว่า องค์กรปกครองส่ นท้องถิ่นทีข่มององค์ ีสัดส่วนเงิ นอุดหนุนสูวงนท้ ที่สอุดงถิคื่นอ องค์ การบรินหอุารส่ วนตนนัาบล เป็นร้อ246,745.65 ยละ 45.02 ประเภทเงิ ดหนุ ้น มีคิจดำนวน วโดยรายได้ กรปกครองส่ นร้อยละ 37.78 และองค์ หารส่(ตัววนจั งหวัด ร้อยละ 9.83 (ขณะที ่เมืองพัล้ทายาได้ รับ ล้รองลงมาคื านบาท ซึอ่งน้เทศบาล อยกว่าคิตัดวเป็เลขประมาณการ 12,615การบริ ล้าบาท เลขประมาณการอยู ่ที่ 259,360 นบาท) เงินอุดหนุน้ยัง1615.49 ล้านบาท และกรุวงเทพฯ ดังแผนภาพต่ ไปนีว้ นตำบล นอกจากนี พบว่า องค์ กรปกครองส่ นท้องถิได้่นรทีับ่มเงิีสนัดอุส่ดวหนุ นเงินน16,544.16 อุดหนุนสูงล้ทีา่สนบาท) ุด คือ องค์ การบริหอารส่

คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 45.02 รองลงมาคื อ เทศบาล คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 37.78 และองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด

ร้อยละ 9.83 (ขณะที่เมืองพัทยาได้รับเงินอุดหนุน 1615.49 ล้านบาท และกรุงเทพฯ ได้รับเงินอุดหนุน 16,544.16 ล้านบาท) ดังแผนภาพต่อไปนี้

สถาบันพระปกเกล้า

123


แผนภาพที ่ 2-96 วนรายได้จจากเงิ ากเงินนอุอุดดหนุ หนุนนขององค์ วนท้วอนท้ งถิอ่นงถิ แต่​่นละประเภท ปี 2559 แผนภาพที ่ 2-96 สัดสัส่ดวส่นรายได้ ขององค์กรปกครองส่ กรปกครองส่ แต่ละประเภท ปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

121

ที่ มา: กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น, จาก หนั งสื อ “ข้ อมู ลรายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2559,” สื บค้ นจาก ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

124

สถาบันพระปกเกล้า


รายงานสถานการณ์

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 2,192.56 ล้านบาท คิดเป็น

ร้อยละ 0.88 ของเงินอุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ

เงิ น อุ ด หนุ น จากรั ฐ บาลน้ อ ยที่ สุ ด คื อ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลหนองโดน จั ง หวั ด สระบุ รี โดยได้ รั บ

เงินอุดหนุนจากรัฐบาล จำนวน 2.46 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.000997 ของเงินอุดหนุนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นทั้งหมด แผนภาพที่ 2-97 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกปี 2559 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครหาดใหญ่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนครศรีธรรมราช องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ เทศบาลนครอุดรธานี

จังหวัด รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (246,745.65) นครราชสีมา 2,192.56 0.88 ศรีสะเกษ 1,283.07 0.51 ชัยภูมิ 997.15 0.40 ขอนแก่น 885.91 0.35 สงขลา 837.28 0.33 อุบลราชธานี 784.99 0.31 ขอนแก่น 723.26 0.29 นครศรีธรรมราช 670.90 0.27 กาฬสินธุ์ 668.13 0.27 อุดรธานี 654.81 0.26

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-98 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลหนองโดน องค์การบริหารส่วนตำบลบางตะบูน องค์การบริหารส่วนตำบลสำมะโรง องค์การบริหารส่วนตำบลวังกระโจม องค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทราย องค์การบริหารส่วนตำบลวัดโบสถ์ องค์การบริหารส่วนตำบลยางหวาย องค์การบริหารส่วนตำบลไผ่ใหญ่ องค์การบริหารส่วนตำบลนามะตูม

จังหวัด สระบุรี เพชรบุรี เพชรบุรี นครนายก ร้อยเอ็ด ลพบุรี ปราจีนบุรี ชัยภูมิ ลพบุรี ชลบุรี

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (246,745.65) 2.46 0.00099 2.58 0.00104 2.86 0.00115 2.95 0.00119 3.37 0.00136 3.45 0.00139 3.48 0.00141 3.53 0.00143 3.57 0.00144 3.60 0.00145

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

125


รายงานสถานการณ์

1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ องค์การบริหาร ส่ ว นจั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยได้ รั บ เงิ น อุ ด หนุ น จำนวน 2,192.56 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 9.03

ของเงินอุดหนุนองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด ขณะที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเงินอุดหนุน

จากรั ฐ บาลน้ อ ยที่ สุ ด คื อ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม โดยได้ รั บ เงิ น อุ ด หนุ น จำนวน

78.28 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.322 ของเงินอุดหนุนองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-99 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร

รายได้ (ล้านบาท) 2,192.56 1,283.07 997.15 885.91 784.99 668.13 581.37 549.21 536.92 485.91

ร้อยละ (24,270.15) 9.03 5.28 4.10 3.65 3.23 2.75 2.39 2.26 2.21 2.00

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-100 องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม องค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสิงห์บุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด องค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐม องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบุรี

รายได้ (ล้านบาท) 78.28 82.94 89.56 90.46 113.24 118.57 119.55 121.25 123.77 131.18

ร้อยละ (24,270.15) 0.322 0.341 0.369 0.372 0.466 0.488 0.492 0.499 0.509 0.540

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

126

สถาบันพระปกเกล้า


2) เทศบาล รายงานสถานการณ์

เทศบาลที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ เทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน 837.28 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.89 ของเงินอุดหนุนเทศบาลทั้งหมด ขณะที่เทศบาลที่ได้รับเงินอุดหนุน จากรัฐบาลน้อยที่สุด คือ เทศบาลตำบลคำชะโนด จังหวัดมุกดาหาร โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 3.96 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0042 ของเงินอุดหนุนเทศบาลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-101 เทศบาลที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกปี 2559 เทศบาล เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนครศรีธรรมราช เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครปฐม เทศบาลนครภูเก็ต

จังหวัด สงขลา ขอนแก่น นครศรีธรรมราช อุดรธานี นนทบุรี นครราชสีมา นครสวรรค์ เชียงใหม่ นครปฐม ภูเก็ต

เงินอุดหนุน (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) 837.28 0.89 723.26 0.77 670.90 0.71 654.81 0.70 639.24 0.68 613.56 0.65 599.21 0.64 514.49 0.55 493.35 0.52 462.02 0.49

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-102 เทศบาลที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลชะโนด เทศบาลตำบลคำก้าว เทศบาลตำบลธาตุพนมใต้ เทศบาลตำบลหนองไผ่ เทศบาลตำบลแสลงพัน เทศบาลตำบลนาแพง เทศบาลตำบลหนองแวงโนนสะอาด เทศบาลตำบลบางกระบือ เทศบาลตำบลเชียงขวัญ เทศบาลตำบลโพสังโฆ

จังหวัด มุกดาหาร กาฬสินธุ์ นครพนม มหาสารคาม สระบุรี ขอนแก่น อุดรธานี สมุทรสงคราม ร้อยเอ็ด สิงห์บุรี

เงินอุดหนุน (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) 3.96 0.0042 3.97 0.0042 4.64 0.0049 4.68 0.0050 4.78 0.0051 4.94 0.0052 5.21 0.0055 5.30 0.0056 5.68 0.0060 5.95 0.0063

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

127


รายงานสถานการณ์

๏ เทศบาลนคร เทศบาลนครที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 837.28 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.89 ของเงินอุดหนุนเทศบาล ทั้งหมด ขณะที่เทศบาลนครที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลน้อยที่สุด คือ เทศบาลนครอ้อมน้อย จังหวัด สมุทรสาคร โดยได้รับเงินอุดหนุนจำนวน 158.59 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของเงินอุดหนุนเทศบาล ทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-103 เทศบาลนครที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนคร เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนครศรีธรรมราช เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครนครปฐม เทศบาลนครภูเก็ต

จังหวัด สงขลา ขอนแก่น นครศรีธรรมราช อุดรธานี นนทบุรี นครราชสีมา นครสวรรค์ เชียงใหม่ นครปฐม ภูเก็ต

เงินอุดหนุน (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) 837.28 0.89 723.26 0.77 670.90 0.71 654.81 0.70 639.24 0.68 613.56 0.65 599.21 0.64 514.49 0.55 493.35 0.52 462.02 0.49

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-104 เทศบาลนครที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลนคร เทศบาลนครอ้อมน้อย เทศบาลนครรังสิต เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครเกาะสมุย เทศบาลนครสกลนคร เทศลบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลนครพระนครศรีอยุธธา เทศบาลนครลำปาง

จังหวัด รายได้รวม (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) สมุทรสาคร 158.59 0.17 ปทุมธานี 161.11 0.17 ชลบุรี 196.87 0.21 สุราษฎร์ธานี 200.53 0.21 สกลนคร 244.92 0.26 ชลบุรี 266.46 0.28 ตาก 270.91 0.29 สมุทรปราการ 291.22 0.31 พระนครศรีอยุธยา 293.13 0.31 ลำปาง 310.04 0.33

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

128

สถาบันพระปกเกล้า


๏ เทศบาลเมือง รายงานสถานการณ์

เทศบาลเมืองที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 381.13 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.40 ของเงินอุดหนุน เทศบาลทั้งหมด และเทศบาลเมืองที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลน้อยที่สุด คือ เทศบาลเมืองกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 11.47 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.014 ของเงินอุดหนุน เทศบาลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-105 เทศบาลเมืองที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ เทศบาลเมืองสระบุรี เทศบาลเมืองพัทลุง เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เทศบาลเมืองหนองปรือ เทศบาลเมืองราชบุรี เทศบาลเมืองนราธิวาส เทศบาลเมืองทุ่งสง เทศบาลเมืองมหาสารคาม เทศบาลเมืองชลบุรี

จังหวัด อุตรดิตถ์ สระบุรี พัทลุง ร้อยเอ็ด ชลบุรี ราชบุรี นราธิวาส นครศรีธรรมราช มหาสารคาม ชลบุรี

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เงินอุดหนุน (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) 381.13 0.40 377.14 0.40 337.34 0.36 319.42 0.34 309.06 0.33 298.61 0.32 285.98 0.30 277.07 0.29 274.98 0.29 265.93 0.28

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-106 เทศบาลเมืองที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลเมือง เทศบาลเมืองกระนวน เทศบาลเมืองนครปฐม เทศบาลเมืองโนนสูง-น้ำคำ เทศบาลเมืองแจระแม เทศบาลเมืองท่าช้าง เทศบาลเมืองเสนา เทศบาลเมืองพิชัย เทศบาลเมืองม่วงงาม เทศบาลเมืองหนองปลิง เทศบาลเมืองต้นเปา

จังหวัด เงินอุดหนุน (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) ขอนแก่น 13.06 0.014 นครปฐม 19.98 0.021 อุดรธานี 22.99 0.024 อุบลราชธานี 27.52 0.029 จันทบุรี 29.05 0.031 พระนครศรีอยุธยา 29.54 0.031 ลำปาง 30.23 0.032 สงขลา 32.09 0.034 กำแพงเพชร 32.33 0.034 เชียงใหม่ 33.96 0.036

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

129


รายงานสถานการณ์

๏ เทศบาลตำบล เทศบาลตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ เทศบาลตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 227.51 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของเงินอุดหนุน เทศบาลทั้งหมด และเทศบาลตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลน้อยที่สุด คือ เทศบาลตำบลชะโนด จังหวัดมุกดาหาร โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 3.96 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.0042 ของเงินอุดหนุน เทศบาลทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

แผนภาพที่ 2-107 เทศบาลตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาลตำบล เทศบาลตำบลบางปู เทศบาลตำบลหมอนนาง เทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลปลายบาง เทศบาลตำบลหนองแค เทศบาลตำบลด่านสำโรง เทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ เทศบาลตำบลหลักห้า เทศบาลตำบลงิ้ว เทศบาลตำบลธัญบุรี

จังหวัด สมุทรปราการ ชลบุรี สมุทรปราการ นนทบุรี สระบุรี สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสาคร เชียงราย ปทุมธานี

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) 227.51 0.24 223.30 0.23 194.97 0.20 168.12 0.18 159.51 0.17 120.18 0.12 107.09 0.11 106.24 0.11 104.45 0.11 102.47 0.10

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-108 เทศบาลตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เทศบาล เทศบาลตำบลชะโนด เทศบาลตำบลคำก้าว เทศบาลตำบลธาตุพนมใต้ เทศบาลตำบลหนองไผ่ เทศบาลตำบลแสลงพัน เทศบาลตำบลนาแพง เทศบาลตำบลหนองแวงโนนสะอาด เทศบาลตำบลบางกระบือ เทศบาลตำบลเชียงขวัญ เทศบาลตำบลโพสังโฆ

จังหวัด มุกดาหาร กาฬสินธุ์ นครพนม มหาสารคาม สระบุรี ขอนแก่น อุดรธานี สมุทรสงคราม ร้อยเอ็ด สิงห์บุรี

เงินอุดหนุน (ล้านบาท) ร้อยละ (93,225.04) 3.96 0.0042 3.97 0.0042 4.64 0.0049 4.68 0.0050 4.78 0.0051 4.94 0.0052 5.21 0.0055 5.30 0.0056 5.68 0.0060 5.95 0.0063

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

130

สถาบันพระปกเกล้า


3) องค์การบริหารส่วนตำบล รายงานสถานการณ์

องค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมากที่สุด คือ องค์การบริหาร ส่วนตำบลท่ากระดาน จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 111.08 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.099 ของเงินอุดหนุนองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุน จากรัฐบาลน้อยที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองโดน จังหวัดสระบุรี โดยได้รับเงินอุดหนุน จำนวน 2.46 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.00099 ของเงินอุดหนุนเทศบาลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-109 องค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนมากที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ลำดับ องค์การบริหารส่วนตำบล 1 องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระดาน 2 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสาม 3 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าศาลา 4 องค์การบริหารส่วนตำบลบางพลีใหญ่ 5 องค์การบริหารส่วนตำบลป่าตึง 6 องค์การบริหารส่วนตำบลเชิงทะเล 7 องค์การบริหารส่วนตำบลละงู 8 องค์การบริหารส่วนตำบลในคลองบางปลากด 9 องค์การบริหารส่วนตำบลคลองขาม 10 องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว

จังหวัด รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (111,090.80) ฉะเชิงเทรา 111.08 0.099 ปทุมธานี 98.50 0.088 นครศรีธรรมราช 94.99 0.085 สมุทรปราการ 92.60 0.083 เชียงราย 87.69 0.078 ภูเก็ต 86.63 0.077 สตูล 86.17 0.077 สมุทรปราการ 78.85 0.070 กาฬสินธุ์ 78.52 0.070 สมุทรปราการ 76.55 0.068

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.

แผนภาพที่ 2-110 องค์การบริหารส่วนตำบลที่ได้รับเงินอุดหนุนน้อยที่สุด 10 ลำดับแรกในปี 2559 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลหนองโดน องค์การบริหารส่วนตำบลบางตะบูน องค์การบริหารส่วนตำบลสำมะโรง องค์การบริหารส่วนตำบลวังกระโจม องค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทราย องค์การบริหารส่วนตำบลวัดโบสถ์ องค์การบริหารส่วนตำบลยางหวาย องค์การบริหารส่วนตำบลไผ่ใหญ่ องค์การบริหารส่วนตำบลนามะตูม

จังหวัด สระบุรี เพชรบุรี เพชรบุรี นครนายก ร้อยเอ็ด ลพบุรี ปราจีนบุรี ชัยภูมิ ลพบุรี ชลบุรี

รายได้ (ล้านบาท) ร้อยละ (246,745.65) 2.46 0.00099 2.58 0.00104 2.86 0.00115 2.95 0.00119 3.37 0.00136 3.45 0.00139 3.48 0.00141 3.53 0.00143 3.57 0.00144 3.60 0.00145

ที่ ม า: กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น , จาก หนั ง สื อ “ข้ อ มู ล รายได้ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี ง บประมาณ

พ.ศ. 2559,” สืบค้นจากhttp://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

131


129

รายงานสถานการณ์

˝ ด้านการบริหารงานบุคคล

 ด้านการบริ หารงานบุ คคล คคลแสดงให้เห็นถึงจำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานการณ์ ด้านการบริ หารงานบุ สถานการณ์คลากรขององค์ ด้านการบริหารงานบุ คคลแสดงให้ ถึงจ่นานวนบุ คลากรขององค์ วนท้อคงถิลากร

่น ทั้งหมดและจำนวนบุ กรปกครองส่ วนท้เห็อนงถิ แต่ละประเภท รวมถึกรปกครองส่ งสัดส่วนของบุ หมดและจ คลากรขององค์ กรปกครองส่ องถิ่นแต่ละประเภท รวมถึงสัวดนท้ ส่วอนของบุ องถิ่น ท้องถิทั่น้งเที ยบกับบุานวนบุ คลากรภาครั ฐ ตลอดจนสั ดส่วนบุวนท้ คลากรขององค์ กรปกครองส่ งถิ่นทีค่จลากรท้ ำแนกตามเพศ เทียบกับบุคลากรภาครั ฐ ตลอดจนสั ส่วนบุคลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้วยข้ องถิอ่นมูทีล่จาแนกตามเพศและประเภท และประเภทตำแหน่ ง สถานการณ์ ด้าดนการบริ หารงานบุคคล ประกอบด้ 4 ส่วน ได้แก่ ตาแหน่ง สถานการณ์ด้านการบริหารงานบุคคล ประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วน ได้แก่

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

จานวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาแนกตามเพศ จานวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาแนกตามประเภทตาแหน่ง จานวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาแนกตามกลุ่มตาแหน่ง จานวนบุคคลากรขององค์ ลากรขององค์กกรปกครองส่ วนท้ องถิอ่นงถิ่น 1. 1.จำนวนบุ รปกครองส่ วนท้

ในปี 2560 องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น มีบุคลากร (ข้าราชการ/พนั กงานส่ว นท้องถิ่น ลู กจ้ างประจา

ในปีาง)2560 องค์กรปกครองส่ องถิ ่นมีวบนตุคลากร (ข้าราชการ/พนั วนท้ งถิ่น30.85 ลูกจ้าง พนั กงานจ้ รวม 231,339 คน โดยองค์วกนท้ ารบริ หารส่ าบลมีจานวนบุ คลากรมากทีก่สงานส่ ุด คิดเป็ นร้ออยละ ประจำของบุ พนัคกลากรท้ งานจ้อางถิง)่นรวม ารส่ว25.23 นตำบลมี จำนวนบุ คิดเป็น ทั้งหมด231,339 รองลงมาคน คือ โดยองค์ เทศบาล กคิดารบริ เป็นร้หอยละ และองค์ การบริคหลากรมากที ารส่วนจังหวัด่สมีุดจานวน ร้อยละ 30.85อยที ของบุ องถิ4.27 ่นทั้งหากเปรี หมด รองลงมา เป็กนรปกครองส่ ร้อยละ 25.23 บุคลากรน้ ่สุด คิคดลากรท้ เป็นร้อยละ ยบเทียบกับคืหน่อวเทศบาล ยงานภาครัคิฐ ดองค์ วนท้องถิและองค์ ่นมีสัดส่วนการ บริหารส่ วนจังคิหวั ำนวนบุ คลากรน้ ยที่สุด คิฐดทัเป็้งหมด นร้อยละ 4.27 หากเปรียบเทียบกับหน่วยงานภาครัฐ บุคลากร ดเป็ดนมีร้อจยละ 17.55 ของบุคอลากรภาครั องค์กรปกครองส่วนท้องถิแผนภาพที ่นมีสัดส่ว่ นบุ คลากร คิดเป็คนลากรขององค์ ร้อยละ 17.55 ของบุคลากรภาครั 2-111 จานวนบุ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ฐทั้งหมด ตาแหน่ง วนท้องถิ่น จำนวนบุ กรปกครองส่ แผนภาพที่ 2-111 องค์กรปกครองส่ วนท้คอลากรขององค์ นถิน่ กรุงเทพมหานคร การบริหารส่ววนท้ นจังอหวันถิด ่น องค์องค์ กรปกครองส่ องค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาล กรุงเทพมหานคร ท้องถิ่น องค์การบริหครูารส่ วนจังหวัด อปท.ทั้งหมด องค์การบริหเทีารส่ ยบกัวนตำบล บบุคลากรภาครัฐ บุ ค ลากรภาครั ฐทั้งหมด เทศบาล

จานวนบุคลากรปัจจุบนั จานวน % จานวน % 39,021 12.68 35,169 15.20 ตำแหน่ง จำนวนบุคลากรปัจจุบัน 14,735 4.79 9,871 4.27 จำนวน 34.30 % 105,500 71,370จำนวน 30.85 % 85,786 39,021 27.8912.68 58,35635,169 25.23 15.20 62,580 14,735 20.34 4.79 56,573 9,871 24.45 4.27 307,622 100 231,339 100 105,500 34.30 71,370 307,622 20.85 231,339 17.55 30.85 1,475,483 100 27.89 1,318,314 85,786 58,356 100 25.23

ที่มา: สานักงานพัฒนาระบบจาแนกตาแหน่งและค่าตอบแทน สานักงาน ก.พ. “กาลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562.

ครูท้องถิ่น อปท.ทั้งหมด เทียบกับบุคลากรภาครัฐ บุคลากรภาครัฐทั้งหมด

62,580 307,622 307,622 1,475,483

20.34 100 20.85 100

56,573 231,339 231,339 1,318,314

24.45 100 17.55 100

ที่มา: สำนักงานพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน สำนักงาน ก.พ. “กำลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก

เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562.

132

สถาบันพระปกเกล้า


130

แผนภาพที่ 2-112 จำนวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ ่น แผนภาพที ่ 2-112 จานวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น

รายงานสถานการณ์

คลากรขององค์ กรปกครองส่ ่นจำแนกตามเพศ 2. จ2. จำนวนบุ านวนบุคลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิอ่นงถิ จาแนกตามเพศ ในปี 25602560 บุคลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ ่นส่อวนใหญ่ นเพศหญิ มีสัดส่วงนคิมีดสเป็ อยละ ในปี บุคลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้ งถิ่นส่เวป็นใหญ่ เป็นงเพศหญิ ัดส่นวร้นคิ ดเป็65.19 น

เมืร้่ออพิยละ จารณาองค์ วนท้อกงถิรปกครองส่ ่นแต่ละประเภท พบว่ า กรุ งเทพมหานครมี ัดส่งวเทพมหานครมี นบุคลากรหญิงสสูัดงส่ทีว่สนุด คิด 65.19 กเมืรปกครองส่ ่อพิจารณาองค์ วนท้องถิ ่นแต่ ละประเภท พบว่าสกรุ เป็บุนคร้ลากรหญิ อยละ 63.48 ลากรกรุ งเทพมหานครทั และทั ้งกรุงเทพมหานคร การบริหารส่วน งสูงทีของบุ ่สุด คิดคเป็ นร้อยละ 63.48 ของบุ้งคหมด ลากรกรุ งเทพมหานครทั ้งหมดเทศบาล และทั้งกรุองค์ งเทพมหานคร จังเทศบาล หวัด และครู นท้อหงถิารส่ ่น มีวนจั สัดส่งหวั วนของบุ คลากรหญิ อยละ 60 องค์สก่วารบริ ด และครู ส่วนท้องงถิสูง่นเกิมีนสกว่ ัดส่าวร้นของบุ คลากรหญิงสูงเกินกว่าร้อยละ 60

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่มา: สานักงานพัฒนาระบบจาแนกตาแหน่งและค่าตอบแทน สานักงาน ก.พ., “กาลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก

ที่มา: สำนัhttp://www.ocsc.go.th กงานพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่ และค่ ตอบแทน สำนักงาน ก.พ., “กำลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก เมื่อวันที่ 21 กุมงภาพั นธ์า2562. http://www.ocsc.go.th เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

133


131 รายงานสถานการณ์

คลากรขององค์ กรปกครองส่ จำแนกตามประเภทตำแหน่ 3. 3. จำนวนบุ จานวนบุคลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้วนท้ องถิอ่นงถิจ่นาแนกตามประเภทต าแหน่ง ง 2560 องค์องค์ กรปกครองส่ วนท้วนท้ องถิอ่นงถิมี่นสมีัดสส่ัดวนบุ คลากรประเภทพนั กงานจ้ างสูางงสูที่สงทีุด่สคิุดดคิเป็ดนเป็ร้นอ ยละ ในปีในปี 2560 กรปกครองส่ ส่วนบุ คลากรประเภทพนั กงานจ้ ร้อยละของบุ 55.52 ของบุองถิ คลากรท้ องถิซึ่น่งทัเป็้งนหมด เป็่เนกิสันดกึส่​่งหนึ วนที่งของบุ ่เกินกึค่งลากรท้ หนึ่งของบุ ่นทั้งสหมด และ

55.52 คลากรท้ ่นทั้งหมด สัดส่ซึว่งนที องถิค่นลากรท้ ทั้งหมดองถิ และมี ัดส่วนบุ คลากร มีสัดส่วนบุ อยที4.68 ่สุด คิดของบุ เป็นร้คอลากรท้ ยละ 4.68 คลากรท้องถิ่นทั้งหมด ประเภทลู กจ้คาลากรประเภทลู งประจาน้อยที่สกุดจ้าคิงประจำน้ ดเป็นร้อยละ องถิ่นของบุ ทั้งหมด แผนภาพที่ 2-113 ภาพรวมกำลั คนภาครัฐาลั ส่วงนท้ องถิ่น ฐตัส่้งวแต่นท้ปอี 2553 2560 แผนภาพที ่ 2-113งภาพรวมก คนภาครั งถิ่น ตั–้งแต่ ปี 2553 – 2560

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

300,000 250,000 200,000

150,000 100,000 50,000 ข้าราชการ พนักงานจ้าง ลูกจ้างประจา ลูกจ้างชั่วคราว

2553 194,804 123,649 53,482 18,711

2554 192,508 180,134 57,693 15,026

2555 195,395 193,298 61,138 2,399

2556 197,048 183,487 56,098 18,411

2557 203,021 190,800 55,384 14,030

2558 208,984 200,902 54,933 17,836

2559 211,158 197,150 52,632 17,113

2560 231,339 246,562 50,031 16,779

ที่ ม า: ส านั ก งานพั ฒ นาระบบจ าแนกต าแหน่ ง และค่ า ตอบแทน ส านั ก งาน ก.พ. , “ก าลั ง คนภาครั ฐ ฝ่ า ยพลเรื อ น 2560,” สื บ ค้ น จาก http://www.ocsc.go.th เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ง2562. ที่มา: สำนักงานพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่ และค่าตอบแทน สำนักงาน ก.พ., “กำลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก

http://www.ocsc.go.th เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562.

134

สถาบันพระปกเกล้า


132 รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ ่ 2-114 2-114 จำนวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิวนท้ ่นจำแนกตามประเภทตำแหน่ ง าแหน่ง แผนภาพที จานวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ องถิ่นจาแนกตามประเภทต

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่ ม า: สทีานั ฒ นาระบบจ าแนกต าแหน่ ง และค่ ส านั ก งาน าลั ง คนภาครั ฐ ฝ่ าอยพลเรื อ น สื2560,” ่มา:ก งานพั สำนักงานพั ฒนาระบบจำแนกตำแหน่ งและค่าาตอบแทน ตอบแทน สำนั กงาน ก.พ.,ก.พ., “กำลั“ก งคนภาครั ฐฝ่ายพลเรื น 2560,” บค้นจากสื บ ค้ น จาก http://www.ocsc.go.th กุมภาพั นธ์ 2562. http://www.ocsc.go.th เมื่อวันเมืที่อ่ วั21นทีกุ่ 21 มภาพั นธ์ 2562. สถาบันพระปกเกล้า

135


4. จำนวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ ่นจำแนกตามกลุ ตำแหน่ 4. จานวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิอ่นงถิจาแนกตามกลุ ่มต่มาแหน่ ง ง ในปี 25602560 องค์กองค์ รปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิอ่นงถิ มีส่นัดมีส่สวัดนบุ ่มต่มาแหน่ งวิชงวิาการสู งทีง่สทีุด่สุดคิดคิเป็ ในปี กรปกครองส่ ส่วคนบุลากรกลุ คลากรกลุ ตำแหน่ ชาการสู ดเป็นนร้อยละ 35.05 ของบุ35.05 คลากรท้ องถิค่นลากรท้ ทุกกลุ่มองถิ ตาแหน่ ง และมี สัดส่งวนบุ คลากรกลุ งผู่ม้บตำแหน่ ริหารท้องผูงถิ้บ่นริน้หอารท้ ยทีอ่สงถิ ุด ่นคิด เป็น ร้อยละ ของบุ ่นทุกกลุ ่มตำแหน่ และมี สัดส่วนบุ่มตคาแหน่ ลากรกลุ น้อยที ่สุด ของบุ คิดเป็นคร้ลากรท้ อยละ อ9.81 ร้อยละ 9.81 งถิ่นทุของบุ กกลุค่มลากรท้ ตาแหน่องงถิ่นทุกกลุ่มตำแหน่ง แผนภาพที ่ 2-115่ 2-115 จำนวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิวนท้ ่นจำแนกตามกลุ ่มตำแหน่​่มงต าแหน่ง แผนภาพที จานวนบุ คลากรขององค์ กรปกครองส่ องถิ่นจาแนกตามกลุ ที่ ตาแหน่งประเภท ระดับ (อัตรา) จานวน (อัตรา) ร้อยละ สูง 254 0.16 กลาง 6,411 4.00 1 บริหารท้องถิ่น ต้น 5,510 3.41 รวมบริหารท้องถิ่น 12,175 7.57 สูง 259 0.16 กลาง 3,318 2.07 2 อานวยการท้องถิ่น ต้น 34,727 21.57 รวมอานวยการท้องถิ่น 38,304 23.80 ทรงคุณวุฒิ 2 0.001 เชี่ยวชาญ 106 0.18 ชานาญการพิเศษ 2,193 1.37 3 วิชาการ ชานาญการ 32,830 20.48 ปฎิบัติการ 24,765 15.50 รวมวิชาการ 59,896 37.53 อาวุโส 2,199 1.35 ชานาญงาน 30,621 19.10 4 ทั่วไป ปฎิบัติงาน 17,106 10.65 รวมทั่วไป 49,926 31.10 รวมทั้งสิ้น 160,301 100.00

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

133

ที่มา: สานักงานพัฒนาระบบจาแนกตาแหน่งและค่าตอบแทน สานักงาน ก.พ., “กาลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก เมื่อวันที่ 21 กุมภาพั นธ์ 2562. ที่มhttp://www.ocsc.go.th า: สำนักงานพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่ งและค่ าตอบแทน สำนักงาน ก.พ., “กำลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก http://www.ocsc.go.th เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562.

136

สถาบันพระปกเกล้า


134 สถิ ารชี้ม้มูลูลความผิ ความผิดดขององค์ ขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิ งถิ่น่นเป็เป็นนสิสิ่ง่งหนึ หนึ่ง่งทีที่ส่สามารถ ามารถวัด สถิตติกิการร้ ารร้อองเรี งเรียยนและกรณี นและกรณีทที่มี่มีกีการชี และสะท้อนความเป็นองค์กรแห่งธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ สถานการณ์ด้านธรรมาภิบาลของ วั ด และสะท้อนความเป็นองค์กรแห่ ง ธรรมาภิ บ าลขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ สถานการณ์ ด้ า น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วน ได้แก่ ธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วน ได้แก่ สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดยสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.)

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

สถิติเรื่องร้องเรียนและการชี้มูลความผิด โดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) สถิติเรื่องร้องเรียนและการชี้มูลความผิด โดยศาลปกครอง

1. สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดยสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) 1.1 เรื่องร้องเรียน ในช่วงปี 2551 – 2560 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกร้องเรียนต่อสตง. จำนวน 24,084 เรื่อง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท (ยกเว้นกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) พบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลถูกร้องเรียนมากที่สุด จำนวน 12,644 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 52.50 ของเรื่องร้อง เรียนทั้งหมด และองค์การบริหารสว่วนจังหวัดถูกร้องเรียนน้อยที่สุด จำนวน 1,735 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 7.20 ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับหน่วยงานราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเรื่องร้องเรียนจำนวนมากกว่า 9,089 เรื่อง หรือมากกว่าร้อยละ 60.61

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

สถานการณ์ บาลขององค์ กรปกครองส่  สถานการณ์ดด้านธรรมาภิ นธรรมาภิบาลขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น วนท้องถิ่น

137


รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-116 สถิติการรับเรื่องร้องเรียนจำแนกตามประเภทหน่วยงาน ปีพ.ศ.2561

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ประเภทหน่วยงาน

จำนวนหน่วยงาน

จำนวนเรื่องร้องเรียน

ราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

395

514

ราชการส่วนท้องถิ่น

85

104

- องค์การบริหารส่วนจังหวัด

3

3

- เทศบาล

44

58

- องค์การบริหารส่วนตำบล

36

39

- เมืองพัทยา

2

4

รัฐวิสาหกิจ

20

25

กองทุนและเงินหมุนเวียน

4

4

หน่วยงานอื่นของรัฐ

17

20

ไม่ระบุ

-

187

521

854

รวมทั้งสิ้น

ที่มา: ข้อมูลการรับเรื่องร้องเรียนจากระบบบริหารงานตรวจสอบ สำนักตรวจสอบพิเศษ 1-3 และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ภูมิภาค ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2562.

138

สถาบันพระปกเกล้า


1 146 4 41 5,278

- ท้องถิ่นอื่นๆ

รัฐวิสาหกิจ

กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน

หน่วยงานอื่นของรัฐ

รวมทั้งหมด 4,658

32

4

114

1

55

1,723

1,010

180

4,220

25

4

106

1

47

1,452

953

142

3,986

35

1

106

1

69

1,254

873

145

3,740

45

2

95

2

36

1,127

754

136

3,224

28

1

101

5

43

973

728

144

2,957

24

1

91

8

50

868

666

152

3,703

28

115

3

56

1,031

938

192

194

4,054

24

116

7

42

1,134

1,076

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2560.

ที่มา: สานักนโยบายและยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผ่นดิน สานักงานการตรวจเงินแผนดิน. ข้อมูล ณ วันที่ 2560 กันยายน 30.

3

- เมืองพัทยา

1,929

- องค์การบริหารส่วนตาบล

43

1,063

- เทศบาล

- กรุงเทพมหานคร

225

- องค์การบริหารส่วนจังหวัด

แผนภาพที่ 2-117 จำนวนเรื่องร้องเรียนต่อสตง. จำแนกตามประเภทหน่วยงานปี 2551-2560 แผนภาพที่ 2-117 จานวนเรือ่ งร้องเรียนต่อสตง. จาแนกตามประเภทหน่วยงานปี 2551-2560 ปีงบประมาณ ประเภทหน่วยงาน 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 ราชการส่วนกลางและส่วน 1,823 1,539 1,490 1,502 1,543 1,201 1,097 1,340 1,461 ภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น 3,264 2,969 2,595 2,342 2,055 1,893 1,744 2,220 2,453

4,787

30

1

208

20

46

1,153

1,105

40,607

312

18

1,198

1

51

487

12,644

9,166

1,735

24,084

2,549 225

149.95

14,995

646.91

3.12

0.18

11.98

0.01

0.51

4.87

126.44

91.66

17.35

240.84

ร้อยละ

รวม

2560 1,999

136

รายงานสถานการณ์

สถาบันพระปกเกล้า

139


ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

137

1.2 เรื่องตรวจสอบสืบสวน 137 1.2 เรื่องตรวจสอบสืบสวน ในช่2551 วงปี –2551 2561 สตง.พบเรื งที่เข้าอข่งลงพื ายและต้ องลงพื้นทีบสวนองค์ ่ตรวจสอบสื บสวนองค์ ในช่วงปี 2561–สตง.พบเรื ่องที่เข้าข่า่ อยและต้ ้นที่ตรวจสอบสื กรปกครองส่ วน ก ร 1.2 เรื อ ่ งตรวจสอบสื บ สวน ว นท้1,033 อ งถิ่ นเรืจำนวน เรื่ อ ง เป็ โดยตั แต่จปานวนเรื ี 2557่อเป็ ต้ น มามลดลง จำนวนเรื ่ อ งมี แ นวโน้ ท้ปกครองส่ องถิ่น จานวน ่อง โดยตั1,033 ้งแต่ปี 2557 นต้น้ งมา งมีนแนวโน้ โดยเฉพาะปี 2560มมีลดลง

ในช่ ว งปี 2551 – 2561 สตง.พบเรื อ ่ งที เ ่ ข้ า ข่ า ยและต้ อ งลงพื น ้ ที ต ่ รวจสอบสื บ สวนองค์ ก รปกครองส่ วน จำนวนเรื จโดยเฉพาะปี านวนเรื่องน้อ2560 ยที่สุดมี22 เรื่อง ่องน้อยที่สุด 22 เรื่อง ท้องถิ่น จานวน 1,033 เรื่อง โดยตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา จานวนเรื่องมีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะปี 2560 มี แผนภาพที่ 2-118 จำนวนเรื่องตรวจสอบสืบสวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย สตง. ปี 2551-2561 จานวนเรื ่องน้อยที่ ส2-118 ุด 22 เรืจานวนเรื ่อง อ่ งตรวจสอบสืบสวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย สตง. ปี 2551-2561 แผนภาพที แผนภาพที่ 2-118 จานวนเรือ่ งตรวจสอบสืบสวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย สตง. ปี 2551-2561

ที่มา: สานักนโยบายและยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผนดิน สานักงานการตรวจเงินแผนดิน. ข้อมูล ณ วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560.

ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผนดิน สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน. ข้อมูล ณ วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560.

แผนภาพที่ 2-119 จานวนเรือ่ งตรวจสอบสืบสวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทโดยสตง. ปี 2561 ที่มา: สานั่ ก2-119 นโยบายและยุ ทธศาสตร์่อกงตรวจสอบสื ารตรวจเงินแผนดินบสสวนองค์ านักงานการตรวจเงิ นแผนดิน.วข้นท้ อมูลอณ ่ 20ลธัะประเภทโดย นวาคม พ.ศ. 2560.สตง. แผนภาพที จำนวนเรื กรปกครองส่ งถิวั่นนทีแต่ การบริหารส่วน ปี 2561 ่ 2-119 จานวนเรือ่ งตรวจสอบสืบสวนองค์องค์กรปกครองส่ แผนภาพที วนท้องถิ่นแต่ละประเภทโดยสตง. ปี 2561 จังหวัด 11% องค์การบริหารส่วน ตาบล องค์การบริหารส่วน 40% จังหวัด 11% เทศบาล องค์การบริหารส่วน 49% ตาบล 40%

องค์การบริ หารส่วนจังหวัด

เทศบาล

เทศบาล องค์การบริ หารส่วนตาบล 49%

ที่มา: รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปีงบประมาณ 2561 องค์การบริ หารส่วนจังหวัด

เทศบาล

องค์การบริ หารส่วนตาบล

ที่มา: รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปีงบประมาณ 2561

ที่มา: รายงานผลการปฏิบัติงานของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2561

140

สถาบันพระปกเกล้า


138

ทุ2.1 จริตแห่เรืง่อชาติ (ป.ป.ช.) งร้องเรี ยน

ตั้งแต่ปี 2550 – 2559 แผนภาพที่ 2-120 สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช. ตั้งแต่ปี 2550 – 2559 3,500 3,067

3,000

2,611

2,500 2,000

1,895

1,848

1,866

1,842

2550

2551

2552

2553

2,027

2,001

2554

2555

2,335

2,201

1,500 1,000 500 -

จานวนผู้ถูกกล่าวหาร้องเรียน (ราย)

2556

2557

2558

2559

Poly. (จานวนผู้ถูกกล่าวหาร้องเรียน (ราย))

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “รายงานประจาปีงบประมาณ 2560”

ท ี่มา: สำนั องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “รายงานประจำปีงเมืบประมาณ สืบค้นจาก https:/ สืบกค้งานคณะกรรมการป้ นจาก https://www.nacc.go.th/download/article/article_20181221120718.pdf อ่ วันที่ 8 มีน2560” าคม 2562. /www.nacc.go.th/download/article/article_20181221120718.pdf เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

141

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

2.1 งร้องเรีตยิสนถานการณ์ด้านการปราบปรามการทุจริตในภาครัฐส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เรื่อจากสถิ – 2559 องค์กจากสถิ รปกครองส่ วนท้องถิด่น้าถูนการปราบปรามการทุ กร้องเรียนต่อ ป.ป.ช.จริมากกว่ าหนึฐส่​่งหมื พ.ศ.2550 2559–

ติสถานการณ์ ตในภาครั วนท้่นอเรืงถิ่อ่นง โดยในปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. มีจำนวนเจ้ าหน้าที่องค์ กรปกครองส่ นท้ยอนต่ งถิอ่นถูป.ป.ช. กร้องเรีมากกว่ ยนต่อาหนึ ป.ป.ช. 3,067 ราย ม

2559 องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นถูกร้อวงเรี ่งหมื่นมากถึ เรื่อง งโดยในปี พ.ศ. และมี 2559แมีนวโน้ จานวน องเรียนทีว่เนท้ พิ่มอขึงถิ้นอย่ เนื่อยง นต่อ ป.ป.ช. มากถึง 3,067 ราย และมีแนวโน้มการถูกกล่าวหา เจ้การถู าหน้ากทีกล่ ่องค์าวหาร้ กรปกครองส่ ่นถูากงต่ ร้อองเรี ร้อแผนภาพที งเรียนที่เพิ่ม่ ขึ2-120 ้นอย่างต่ สถิอตเนืิเรื่อ่องงร้องเรียนการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช.

รายงานสถานการณ์

2. สถิติเรื่องร้องเรียนและการชี้มูลความผิด โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ

2. สถิ ปราบปรามการทุ จริตแห่้มงูลชาติ ติเรื่องร้องเรียนและการชี ความผิ(ป.ป.ช.) ด โดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ


รายงานสถานการณ์

139 แผนภาพที่ 2- 121 สถิติจำนวนเรื่องร้องเรียนทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช. แผนภาพที ่ 2- 121 สถิติจานวนเรื่องร้องเรียนทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อ ป.ป.ช. ในปี 2553-2557 ในปี 2553-2557 จานวนเรื่องร้องเรียนทุจริต อปท .ต่อ ป.ป.ช. ในช่วงปี 2553-2557 ไม่ระบุหน่วยงาน

25

อันดับที่ 7 เมืองพัทยา

10 164

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

อันดับที่ 6 เทศบาลนคร

207

อันดับที่ 5 กรุงเทพมหานคร

387

อันดับที่ 4 เทศบาลเมือง

430

อันดับที่ 3 องค์การบริหารส่วนจังหวัด

1809

อันดับที่ 2 เทศบาลตาบล

3376

อันดับที่ 1 องค์การบริหารส่วนตาบล 0

500

1000

1500

2000

2500

3000

3500

4000

จานวนเรื่องร้องเรียนทุจริต อปท .ต่อ ป.ป.ช.

ที่มา: สถิติร้องเรียนทุจ ริตองค์การบริหารส่ว นท้อ งถิ่ นในมือ ป.ป.ช.สืบ ค้นจาก https://thaipublica.org/2014/09/statistics-local-governmentยนทุจริต2562. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในมือป.ป.ช.สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2014/09/statistics-localfraud/ที่มเมืา:่อวัสถิ นทีต่ ิร24้องเรี กรกฎาคม

สถิติเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นสะท้อนให้เห็นถึงความไม่ชอบ มาพากลในการบริ การทุจจริริตตขององค์ ในการจักดรปกครองส่ ซื้อจัดจ้างภาครั งมาก หารงานท้ สถิติเรื่อองร้งถิอ่นงเรีโดยเฉพาะอย่ ยนที่เกี่ยวข้อางกังยิบ่งการทุ วนท้ฐอทีงถิ่ม่นีจานวนสู สะท้อนให้ เห็นเมื่อ เทียบกั บเรื่องร้อชงเรี ยนที่อยู่ระหว่างการด าเนินการของ ป.ป.ช. กว่า 7,000 เรื่องจนอกจากนี อมูลฐการ างยิ่งการทุ ริตในการจั้ยดังซืไม่้อนจั​ับดจ้รวมข้ างภาครั

ถึงความไม่ อบมาพากลในการบริ หารงานท้ องถิ่น โดยเฉพาะอย่ ป้องปราบการตรวจสอบบั ญชียทบกัรัพบย์เรืส่อินงร้ของผู หารท้ งถิ่นางการดำเนิ รองผู้บริหารท้ องถิ่น ป.ป.ช. ผู้ช่วยผู้บกว่ริาหารท้ องถิเรื่น่อและ ที่มีจำนวนสูงมาก เมื่อเที องเรี้บยรินที ่อยู่รอะหว่ นการของ 7,000 ง สมาชินอกจากนี กสภาท้อ้ยงถิังไม่ ่นขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ น ่ นับรวมข้อมูลการป้องปราบการตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินของผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหาร ท้องถิ่น ผู้ช่ว่ 2-122 ยผู้บริหารท้ กสภาท้กอรปกครองส่ งถิ่นขององค์วกนท้ รปกครองส่ นท้องถิ่นในช่ วงปี 2553-2556 แผนภาพที สถิตอิเรืงถิ่อ่นงร้และสมาชิ องเรียนขององค์ องถิ่นต่อวป.ป.ช. เรื่อ่ 2-122 งร้องเรีสถิ ยนติเรื่องร้องเรียนขององค์ ปี 2553 ปี 2555 ปี 2556 แผนภาพที กรปกครองส่วปีนท้2554 องถิ่นต่อ ป.ป.ช. ในช่วงปี 2553-2556 เรื่องรับใหม่ 1,154 1,173 1,182 1,376 เรื่องร้องเรียน ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ค้างจากปีที่แล้ว 2,656 3,309 3,881 4,197 เรื อ ่ งรั บ ใหม่ 1,154 1,173 1,182 1,376 ชี้มูล 30 31 1 ค้ า งจากปี ท แ ่ ี ล้ ว 2,656 3,309 3,881 4,197 ตีตก 381 466 462 328 ชี ม ้ ล ู 30 31 1 - ไม่รับไว้พิจารณา 43 58 59 25 ก กงานสอบสวน 381 466 462 328 18 ส่งคืตีนตพนั 30 28 34 ไม่รวับยงานอื ไว้พิจารณา 58 59 25 133 ส่งหน่ ่น 1343 18 310 ส่งคือนพนักงานสอบสวน 30 28 34 18 n/a คงเหลื 3,309 3,881 n/a government-fraud/ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2562.

ที่มา: สถิ ิร้อวงเรี ยนทุจ่นริ ตองค์การบริหารส่ว นท้อ งถิ่ นในมือ ป.ป.ช.สื ส่งตหน่ ยงานอื 13 บค้นจาก https://thaipublica.org/2014/09/statistics-local-government18 310 133 fraud/ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2562.

คงเหลือ

3,309

3,881

n/a

n/a

ที่มา: สถิติร้องเรียนทุจริตองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในมือป.ป.ช.สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2014/09/statistics-localgovernment-fraud/ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2562.

142

สถาบันพระปกเกล้า


แผนภาพที ่ 2-123 จำนวนเรื ่องชีอ่ ้มงชี ูลความผิ ดขององค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิอ่นงถิ จาก ป.ป.ช. ในปีในปี 2560 แผนภาพที ่ 2-123 จานวนเรื ้มูลความผิ ดขององค์ กรปกครองส่ ่นจาก ป.ป.ช. 2560

จานวนอปท.

จานวนการชี้มูล ความผิด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา

76 30 179 2,233 5,330 1 1

2 4 10 29 76 2 0

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “รายงานประจาปีงบประมาณ 2560”

ที่มา: สำนัสืบกค้งานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “รายงานประจำปีงบประมาณ ค้นจาก https:/ นจาก https://www.nacc.go.th/download/article/article_20181221120718.pdf เมื่อวันที่ 82560” มีนาคมสืบ2562. /www.nacc.go.th/download/article/article_20181221120718.pdf เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2562.

3. สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน

และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) 3.1 เรื่องร้องเรียน ในช่วงปี 2551 – 2561 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกร้องเรียนต่อป.ป.ท. จำนวน 10,065 เรื่อง โดยจำนวนเรื่องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปี 2560 มีจำนวนเรื่องร้องเรียนกล่าวหาภาครัฐมากถึง 31,761 เรื่อง

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

140 2.2 เรื่องชี้มูลความผิด 2.2 เรืในปี ่องชี้มพ.ศ. ูลความผิ 2560ด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกชี้มูลความผิดจาก ป.ป.ช. จำนวน 123 เรื่อง พ.ศ. 2560 องค์กรปกครองส่ นถูกชี้มดูลมากที ความผิ่สุ ดจำนวน จาก ป.ป.ช. 123่องค์ เรืก่อารบริ ง โดยองค์ โดยองค์ในปี การบริ หารส่ วนตำบลมี จำนวนเรื่อวงถูนท้กชีอ้มงถิูล่ความผิ 76 เรืจ่อานวน ง ขณะที หาร การ บริส่วหนจั ารส่งหวั วนตดและกรุ าบลมีจงานวนเรื ่องถูกชี้มจูลำนวนเรื ความผิ่อดงถู มากที จานวนดเท่ 76าเรื ง ขณะที2่อเรืงค์่อกงารบริ หารส่ งหวัมดี และ เทพมหานครมี กชี้ม่สูลุดความผิ กัน่อจำนวน และเมื องพัวนจั ทยาไม่ งถูกชี้มูลความผิ ดเลย ่องถูกชี้มูลความผิดเท่ากันจานวน 2 เรื่อง และเมืองพัทยาไม่มีเรื่องถูกชี้มูลความผิดเลย กรุเรืง่อเทพมหานครมี จานวนเรื

143


รายงานสถานการณ์

3. สถิติเรื่องร้องเรียนและเรื่องตรวจสอบสืบสวน โดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) 3.1 เรื่องร้องเรียน ในช่วงปี 2551 – 2561 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกร้องเรียนต่อป.ป.ท. จานวน 10,065 เรื่อง โดย จานวนเรื่องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปี 2560 มีจานวนเรื่องร้องเรียนกล่าวหาภาครัฐมากถึง 31,761 เรื่อง แผนภาพที่ 2-124 จำนวนเรื่องร้องเรียนกล่าวหาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตือ ป.ป.ท. ปี 2551-2561 แผนภาพที่ 2-124 จานวนเรือ่ งร้องเรียนกล่าวหาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตือ ป.ป.ท. ปี 2551-2561 35,000 30,000 25,000 20,000

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

15,000 10,000 5,000 -

2551 เรื่องร้องเรียนกล่าวหา อปท. 26 เรื่องร้องเรียนกล่าวหาภาครัฐ 413

2552 334 882

2553 419 882

2554 611 1,442

2555 813 3,428

2556 930 3,410

2557 623 3,030

2558 1,318 3,659

2559 1,470 4,908

2560 557 31,761

2561 376 2,964

ที่มา: ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน กองบริหารคดี สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562.

ที่มา: ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน กองบริหารคดี สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่

27 กุมภาพันธ์ 2562.

เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท ในปี 2561 พบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลถูก จารณาองค์ นท้อ30.32 งถิ่นแต่ ละประเภท 2561และเมื พบว่อางพัองค์ การบริ หาร

ร้องเรีย นมากทีเมื ่สุด่อพิจานวน 114 เรืก่อรปกครองส่ ง คิดเป็นร้อวยละ ของเรื ่องร้องเรียในปี นทั้งหมด ทยาถู กร้องเรี ยน กร้องเรี 114ของเรื เรื่อ่อง งร้คิอดงเรี เป็นยนทั ร้อยละ น้ส่อวนตำบลถู ยที่สุด จานวน 1 เรืย่อนมากที ง คิดเป็่สนุดร้อจำนวน ยละ 0.26 ้งหมด30.32 ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด และ เมืองพัทยาถูกร้องเรียนน้อยที่สุด จำนวน 1 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด

แผนภาพที่ 2-125 จำนวนเรื่องร้องเรียนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทต่อ ป.ป.ท. ปี 2559 – 2561 ปีงบประมาณ ประเภทหน่วยงาน องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา ไม่แน่ชัด รวม

พ.ศ. 2559 จำนวน ร้อยละ 4.31 24 183 32.85 213 38.24 50 8.98 3 0.54 84 15.08 557 100.00

พ.ศ. 2560 จำนวน ร้อยละ 12 3.20 91 24.20 114 30.32 31 8.24 1 0.26 127 33.78 376 100.00

ที่มา: ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน กองบริหารคดี สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่

27 กุมภาพันธ์ 2562.

144

สถาบันพระปกเกล้า


183 32.85 91 24.20 เทศบาล 213 38.24 114 30.32 องค์การบริหารส่วนตาบล 50 8.98 31 8.24 กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา 3 0.54 1 0.26 ไม่แน่ชัด 84 15.08 127 33.78 รวม 557 100.00 376 100.00 งชีย้มน ูลกองบริ ความผิ ด สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562. ที่มา: ศูน3.2 ย์รับเรื่อเรื งร้อ่องเรี หารคดี

รายงานสถานการณ์

3.2 ในช่ วงปี้มูล2559 เรื่องชี ความผิ- ด2561 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นถูกชี้มูลความผิดจาก ป.ป.ท. จำนวน

50 เรื่อง เมื ่อเปรี ่องที่ถองค์ ูกชี้มกูลรปกครองส่ ความผิดกับวเรืนท้่องร้ า เรื่อดงที ่ถูกชีป.ป.ท. ้มูลความผิ ดมีจ50 ำนวน

ในช่ วงปียบเที 2559ยบเรื - 2561 องถิองเรี ่นถูยกนชี้มพบว่ ูลความผิ จาก จานวน เรื่อง เมื่อ มากขึ้น เปรียบเทียบเรื่องที่ถูกชี้มูลความผิดกับเรื่องร้องเรียน พบว่า เรื่องที่ถูกชี้มูลความผิดมีจานวนมากขึ้น แผนภาพที่ 2-126 จำนวนเรื่องชี้มูลความผิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย ป.ป.ท. ปี 2557 – 2561 แผนภาพที่ 2-126 จานวนเรือ่ งชี้มูลความผิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดย ป.ป.ท. ปี 2557 – 2561 25 15 10 5 0 2557 2558 2559 2560 2561

1. ผิดอาญาและ 2. ผิดวินัยแต่ไม่ วินัย ผิดอาญา 10 1 13 0 8 1 10 0 18 0

3. ส่ง ป.ป.ช. 0 6 5 1 9

4. ส่งพนักงาน สอบสวน 0 1 4 0 0

5. ยุติเรื่อง 0 0 0 0 23

ที่มา: ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน กองบริหารคดี สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562.

ที่มา: ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน กองบริหารคดี สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่

27 กุมภาพันธ์ 2562.

4. สถิติเรื่องร้องเรียนและชี้มูลความผิด โดยสำนักงานศาลปกครอง 4.1 คดีที่มีการยื่นฟ้ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อศาลปกครอง ในปี 2555 – 2561 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจำนวนคดีที่มีการยื่นฟ้องต่อศาลปกครอง จำนวน 9,792 คดี

สถาบันพระปกเกล้า

145

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

20


143

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

4. สถิติเรื่องร้องเรียนและชี้มูลความผิด โดยสานักงานศาลปกครอง 4.1 คดีที่มีการยื่นฟ้ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อศาลปกครอง ในปี 2555 – 2561 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจานวนคดีที่มีการยื่นฟ้องต่อศาลปกครองจานวน 9,792 คดี แผนภาพที่ 2-127 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น กรณีที่หน่วยงานถูกฟ้องคดีเป็นองค์กร ่ 2-127 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น ปกครองส่วนท้องถิ่น ปีแผนภาพที 2555-2561 กรณีที่หน่วยงานถูกฟ้องคดีเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2555-2561

4,203 คดี

661 คดี

4,847 คดี

ที่มา: สานักบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์ขอ้ มูลบริหารยุทธศาสตร์ สานักงานศาลปกครอง. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2562.

ที่มา: สำนักบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานศาลปกครอง. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2562.

แผนภาพที่ 2-128 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้นกรณีที่หน่วยงานถูกฟ้องคดีเป็นองค์กรปกครองส่วน แผนภาพที่ 2-128 ข้ อท้มูอลงถิ คดี่นรัจบาแนกเป็ เข้ า ของศาลปกครองชั น กรณี ี่ ห น่ ว ยงานถู ก ฟ้ อ งคดี เ ป็ น องค์ ก ร นแต่ละประเภทท้​้ นอต้งถิ ่น ปี ท2555-2561 ปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกเป็นแต่ละประเภทท้องถิ่น ปี ปี2555-2561 พ.ศ. ประเภทท้องถิ่น รวม 2555 2556 2557 ปี2558 2559 2560 2561 พ.ศ. อบจ.ประเภทท้องถิ่น 76 2555 702556 51 52 85 2560 131 2561 196 รวม 661 2557 2558 2559 เทศบาล 706 76 65370 52951 778 750 713 196 718 661 4,847 52 85 131 อบจ. อบต. 523 706 585653 353 667 713 515 718 790 4,847 4,203 เทศบาล 529 770 778 750 อบจ.อบต. และเทศบาล 1 523 3 585 3353 770 1 2 667 515 790 - 4,203 10 อบจ.อบจ.และอบต. 1 1 3 3 2 3 3 - 10 9 และเทศบาล 1 2 - - เทศบาล และอบต. 12 6 4 11 8 9 11 61 อบจ. และ อบต. 1 3 2 - 3 - - 9 อบจ. เทศบาล และอบต. 1 1 เทศบาล และ อบต. 12 6 4 11 8 9 11 61 รวม 1,319 1,320 942 1,613 1,515 1,368 1,715 9,792

และ อบต. - - 2562.- ที่มา: สอบจ. านักบริเทศบาล หารยุทธศาสตร์ ศูนย์ขอ้ มูลบริหารยุท- ธศาสตร์ สานั- กงานศาลปกครอง. สืบค้1 นวันที่ 9 เมษายน รวม

1,319 1,320

942

- 1 1,613 1,515 1,368 1,715 9,792

ที่มา: สำนักบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานศาลปกครอง. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2562.

146

สถาบันพระปกเกล้า


4.2 เรื่องที่ฟ้อง รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-129 ข้อมูลคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น จำแนกตามประเภทเรื่องที่ฟ้อง ปี 2555-2561 ประเภทเรื่องที่ฟ้อง

217

305

139

209

244

317

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

การบริหารงานบุคคล วินัยฯ การควบคุมอาคาร

ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การเวรคืนอสังหาริมทรัพย์

ละเมิด/รับผิดอย่างอื่น การพัสดุ สัญญาทางปกครอง ที่ดิน สาธารณสมบัติแผ่นดิน การปกครอง การบริหารราชการแผ่นดิน การคมนาคม พาณิชย์ อุตสาหกรรม การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม อื่นๆ รวม

ปี พ.ศ. รวม 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 311 272 252 528 468 328 359 2,518 236 264 203 375 264 229 313 1,884 373 1,804

263 284 210 208 251 313 214 1,743 69 56 39 73 54 42 65 398 76 76 34 53 53 21 27 340 21 21 22 25 23 14 38 164 9 7 9 17 26 25 15 108 123 52 38 133 153 90 318 907 1,325 1,337 946 1,621 1,536 1,379 1,722 9,866

หมายเหตุ : ในแต่ละคดีอาจมีประเภทเรื่องที่ฟ้องมากกว่า 1 เรื่อง ดังนั้นผลรวมของจำนวนคดีจำแนกตามเรื่องที่ฟ้องจะมีจำนวนมาก กว่าจำนวนคดีรับเข้าจริง ที่มา: สำนักบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานศาลปกครอง. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

147


ด้านความพึงงพอใจต่ อองค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น วนท้องถิ่น ด้านความพึ พอใจต่ อองค์ กรปกครองส่

สถานการณ์ความพึงพอใจต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แสดงให้เห็นถึงความพึงพอใจของประชาชนใน งพอใจต่อกองค์ กรปกครองส่ ่นแสดงให้ ห็น่ยถึวกังความพึ การใช้บริกสถานการณ์ ารและการให้คบวามพึ ริการขององค์ รปกครองส่ วนท้อวนท้ งถิ่นองถิ ความคิ ดเห็นเเกี บการมีงสพอใจของประชาชน ่วนร่วมของประชาชน ในการใช้ บ ริ ก ารและการให้ บ ริ ก ารขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น ความคิ ด เห็ น เกี ่ ย วกั บ การมีส่วนร่วมของ และเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน และเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานการณ์ความพึงพอใจต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งข้อมูลออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ สถานการณ์ความพึงพอใจต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งข้อมูลออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ประชาชน

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

145

ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนและการใช้บริการองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น

การร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1. ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ประชาชน 1.1 ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ ความคิดเห็นของประชาชนโดยรวมเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่น จัดให้ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่พึงพอใจต่อการจัดบริการไฟฟ้าาร้อยละ 90.8 รองลงมา ได้แก่ โรงเรียน

ร้ อ ยละ 89.3 ถนนร้ อ ยละ 85.1 ศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก ร้ อ ยละ 84.6 การบริ ก ารสาธารณสุ ข และศู น ย์ อ นามั ย

ร้อยละ 83.3 ประปาร้อยละ 82.6 การดูแลคนชราร้อยละ 76.7 การดูแลผู้พิการและการจัดเก็บขยะมูลฝอย มี สั ด ส่ ว นของความพึ ง พอใจเท่ า กั น ร้ อ ยละ 75.1 การรั ก ษาความปลอดภั ย แก่ ป ระชาชนร้ อ ยละ 73.7

148

สถาบันพระปกเกล้า


60.4

26.8

57.8

26.0

59.1

30.6

58.7

9.0

1.5 3.7

2.5

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

22.9

สาธารณสุข 4.8 0.6 3.8

6.2

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.4 0.8

11.7

ถนน 0.6 2.5

โรงเรียน

4.1

3.5 28.7

62.1

7.2

ไฟฟ้า 0.0 พอใจมาก

20.0 ค่อนข้างพอใจ

40.0 ไม่ค่อยพอใจ

รายงานสถานการณ์

1. ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ประชาชน 1.1 ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ ความคิดเห็นของประชาชนโดยรวมเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่พึงพอใจต่อการจัดบริการไฟฟ้าาร้อยละ 90.8 รองลงมา ได้แก่ โรงเรียนร้อยละ 89.3 ถนนร้อยละ 85.1 ศูนย์เด็กเล็กร้อยละ 84.6 การบริการสาธารณสุขและศูนย์อนามัยร้ อยละ 83.3 ประปาร้อยละ การจัการดู ดการจราจร 69.6 การดู การศึแกลผู ษาผู หญ่ร้อยละ ด68.0 สิ่งแวดล้ อมในชุ (ป่า/น้ำ) งร้พอใจเท่ อยละ 67.6 82.6 แลคนชราร้ร้ออยละ ยละ 76.7 ้พิก้ใารและการจั เก็บขยะมู ลฝอยมี สัดส่มวชน นของความพึ ากัน การน้การรั ำเสียกร้ษาความปลอดภั อยละ 64.8 ระบบขนส่ งมวลชนอยละ (รถประจำทาง) อยละ 57.55 และการฝึ กอาชีกพษาผู ร้อยละ ร้อการจั ยละ ด75.1 ยแก่ประชาชนร้ 73.7 การจัดร้การจราจร ร้อยละ 69.6 การศึ ้ใหญ่ ในขณะที ่ ค วามพึ ง พอใจต่ ก ารอิ น เตอร์ ต ชุ ม ชนอยู ว นน้ระบบขนส่ อ ยที่ สุ ด ร้ องมวลชน ยละ 35.6 ร้อ55.5 ยละ 68.0 สิ่งแวดล้ อมในชุ มชน (ป่อาการจั /น้า) ดร้บริ อยละ 67.6 การจัเ น็ดการน้ าเสียร้่ ใอนสั ยละด ส่64.8 (รถ

เมื่อาทาง) เปรียบเที บกับ57.55 การให้และการฝึ บริการสาธารณะประเภทอื ่นๆ ในขณะที่ความพึงพอใจต่อ การจัดบริการอินเตอร์เน็ต ประจ ร้อยยละ กอาชีพร้อยละ 55.5 ชุมแผนภาพที ชนอยู่ในสัด่ ส่2-130 วนน้อยที ุดร้อยละ 35.6 เมื่อเปรี ยบเทียบกับการให้บงริพอใจต่ การสาธารณะประเภทอื ่นๆ ร้อ่สยละของประชาชน จำแนกตามความพึ อการจัดบริการสาธารณะของรั ฐ และท้องถิ่น แผนภาพที่ 2-130 ร้อยละของประชาชน จาแนกตามความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณะของรัฐและท้องถิ่น

1.1 0.9

60.0

80.0

100.0

ไม่พอใจเลย

ไม่มีความเห็น

ยังไม่มีบริการนี้

120.0

ที่มา : สถาบันพระปกเกล้า, ความเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุปผลการสารวจ พ.ศ.2545-2560.

ที่ ม า : สถาบั น พระปกเกล้ า , ความเชื่ อ มั่ น ต่ อ สถาบั น ต่ า งๆ และความพึ ง พอใจต่ อ การบริ ก ารสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุ ป

ผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560.

1.2 ความต้องการให้มีการปฏิรูปการบริการสาธารณะ ผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชนตั้งแต่ปี 2548 – 2560 พบว่า การบริการสาธารณะ

ที่ ป ระชาชนต้ อ งการให้ รั ฐ ปฏิ รู ป มากที่ สุ ด คื อ ด้ า นเศรษฐกิ จ เช่ น การมี ง านทำมี ร ายได้ ร้ อ ยละ 81.6

รองลงมาคือ ด้านคุณภาพชีวิต เช่น การดูแลสุขภาพ สาธารณสุข การกีฬา ร้อยละ 61.4 ด้านสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา ขนส่งสาธารณะ ร้อยละ 45.3 ด้านการศึกษา ร้อยละ 33.3 ด้านความปลอดภัย

ในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 33.2 ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 7.9 และ

ด้านศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 5.5 ตามลำดับ

สถาบันพระปกเกล้า

149


ผลสารวจความคิดเห็นของประชาชนตั้งแต่ปี 2548 – 2560 พบว่า การบริการสาธารณะที่ประชาชน ต้องการให้รัฐปฏิรูปมากที่สุด คือ ด้านเศรษฐกิจ เช่น การมีงานทามีรายได้ ร้อยละ 81.6 รองลงมาคือ ด้านคุณภาพ ชีวิต เช่น การดูแลสุขภาพ สาธารณสุข การกีฬา ร้อยละ 61.4 ด้านสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา ขนส่ง สาธารณะ ร้อยละ 45.3 ด้านการศึกษา ร้อยละ 33.3 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 33.2 ด้าน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 7.9 และด้านศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 5.5 ตามลาดับ รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 2-131 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการบริ การสาธารณะที ่ต้องการให้ รัฐปฏิ ูป รูป แผนภาพที ่ 2-131 ร้อยละของประชาชน จาแนกตามการบริ การสาธารณะที ่ต้องการให้ รัฐรปฏิ บริการสาธารณะทีต้องการให้ปฏิรูป

81.6

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

61.4 45.3 33.3

33.2 7.9

เศรษฐกิจ

คุณภาพชีวิต

สาธารณูปโภค

การศึกษา

5.5

ความปลอดภัยฯ ทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม

ที่มา : สถาบันพระปกเกล้า, ความเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุปผลการสารวจ พ.ศ.2545-2560.

ที่ ม า : สถาบั น พระปกเกล้ า , ความเชื่ อ มั่ น ต่ อ สถาบั น ต่ า งๆ และความพึ ง พอใจต่ อ การบริ ก ารสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุ ป

ผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560.

2. ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถิ ติเกี่ยวกับการใช้บริการองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นของประชาชน ตั้งแต่ปี 2548 – 2560 พบว่า ประชาชนร้อยละ 60.5 เป็นผู้ไม่เคยติดต่อหรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่ผู้ที่เคยติดต่อหรือใช้ 2. ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการใช้บริการ

บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเพียงร้อยละ 39.5 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สาหรับความพึงพอใจของผู้ ที่เคยมาติดต่อ หรื อใช้บริ การองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่น มี ความพึง พอใจ สถิติเกี่ยงพอใจมาก) วกับการใช้บร้อริกยละ ารองค์ วนท้ ่นของประชาชน ตั้งวแต่ 2548 – 2560 พบว่า ่ (ค่อนข้างพอใจถึ 93.1กรปกครองส่ ของบริการที ่ได้รอับงถิจากองค์ กรปกครองส่ นท้ปอี งถิ ่น ขณะที ่ ประชาชนที 60.5งไม่เป็พนอใจเลย) ผู้ไม่เคยติร้อดยละ ต่อหรื5.9 อใช้ของบริ บริการองค์ องถิ่น ขณะที ู้ที่เ่นคยติ ดต่อมี ไม่ประชาชนร้ พอใจ (ไม่คอ่อยละ ยพอใจถึ การทีก่ได้รปกครองส่ รับจากองค์วกนท้ รปกครองส่ วนท้อ่ผงถิ และไม่ หรือใช้ดเห็ บรินกเกีารองค์ รปกครองส่ วนท้1.0 องถิ่นมีเพียงร้อยละ 39.5 ความคิ ่ยวกับกบริ การ ร้อยละ สำหรับความพึงพอใจของผู้ที่เคยมาติดต่อหรือใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพึงพอใจ (ค่ อ นข้างพอใจถึงพอใจมาก) ร้อยละ 93.1 ของบริ ก ารที่ ไ ด้ รั บ จากองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ขณะที่ ประชาชนที่ไม่พอใจ (ไม่ค่อยพอใจถึงไม่พอใจเลย) ร้อยละ 5.9 ของบริการที่ได้รับจากองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น และไม่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการ ร้อยละ 1.0

นอกจากนี้สถิติเกี่ยวกับการเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนหรือเคยเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 72.8 ระบุว่าไม่เคยเข้าไปมีส่วนร่วม ขณะที่ ประชาชนที่เคยเข้าไปมีส่วนร่วมมีเพี ย งร้ อ ยละ 27.2 โดยผู้ ที่ เ คยเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มระบุ ว่ า เคยเข้ า ไปทำ กิจกรรมการประชุมหมู่บ้านถึงร้อยละ 95.9 วางแผนพัฒนาท้องถิ่น ร้อยละ 24.1 อีกร้อยละ 0.3 เคยร่วมกิจ กรรมอื่นๆ และร้อยละ 0.4 ไม่ระบุ

150

สถาบันพระปกเกล้า


ปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 72.8 ระบุว่าไม่เคยเข้าไปมีส่วนร่วม ขณะที่ประชาชนที่เคย เข้าไปมีส่วนร่วมมีเพียงร้อยละ 27.2 โดยผู้ที่เคยเข้าไปมีส่วนร่วมระบุว่า เคยเข้าไปทากิจกรรมการประชุมหมู่บ้าน ถึงร้อยละ 95.9 วางแผนพัฒนาท้องถิ่น ร้อยละ 24.1 อีกร้อยละ 0.3 เคยร่วมกิจกรรมอื่นๆ และร้อยละ 0.4 ไม่ระบุ

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที่ 2-132 ร้อ่ ยละของประชาชน จาแนกตามการใช้ บริกบารองค์ กรปกครองส่ นท้อองถิงถิ่น่นหรืหรือ อมีส่วนร่วม แผนภาพที 2-132 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการใช้ ริการองค์ กรปกครองส่ววนท้ ภายในระยะเวลา มีส่วนร่วม ภายในระยะเวลา 12 เดือนที่ผ่านมา 12 เดือนที่ผ่านมา

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่มา : สถาบันพระปกเกล้ า, ความเชื ่อมั่นต่อาสถาบั นต่า่ องๆมั่ นและความพึ อการบริงกพอใจต่ ารสาธารณะ และสรุพ.ศ.2560 ปผลการสและสรุ ารวจ ปพ.ศ.2545-2560. ที่ ม า : สถาบั น พระปกเกล้ , ความเชื ต่ อ สถาบั น ต่งาพอใจต่ งๆ และความพึ อ การบริพ.ศ.2560 ก ารสาธารณะ

ผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560.

สถาบันพระปกเกล้า

151


รายงานสถานการณ์ ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

3. การร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

149

ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการร้องเรียนการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรอบ 3. การร้ งเรียา นเกี ่ยวกับการให้ บริรก้อารขององค์ รปกครองส่ ปีที่ผ่านมา อพบว่ ประชาชนส่ วนใหญ่ ยละ 98.8 กระบุ ว่าไม่เคยร้วนท้ องเรีองถิ ยน่นขณะที่ประชาชนร้อยละ 1.2 ระบุ นของประชาชนเกี ยนการให้ กรปกครองส่ องถิ่น ในรอบปี ว่าเคยร้ความคิ องเรียดนเห็โดยประเด็ นที่เคยร้่ยอวกั งเรีบยการร้ นนั้นอส่งเรี วนใหญ่ ระบุวบ่าริร้กอารขององค์ งเรียนด้วยวิ ธีบอกเล่าด้ววนท้ ยวาจามากที ่สุด ที่ ผ่านมา พบว่45.5 า ประชาชนส่ ว่าไม่อเคยร้ งเรียนงหน่ ขณะที ่ประชาชนร้ ยละ 1.2 ระบุ ขณะที่ผู้ร้อวนใหญ่ งเรียนส่ร้อวยละ นใหญ่98.8 ระบุระบุ ว่า เคยร้ งเรียอนไปยั วยงานที ่เกี่ยวข้อองโดยตรง สำหรัว่าบเคย

ร้อยละ ร้องเรี ยน โดยประเด็ ่เคยร้ องเรียนนัว้นยงานนั ส่วนใหญ่ ว่า อร้งเรี องเรียยนได้ นด้รวับยวิการตอบรั ธีบอกเล่าบด้วร้ยวาจามากที ุด ร้อยละ อยละ 73.4 ่สและไม่ ได้รับ45.5

การตอบรั บเรื่องร้นอทีงเรี ยนจากหน่ ้น รผูะบุ ้เคยร้ ขณะที ่ผู้ ร้ องเรี ย นส่ ร ะบุ ว ่า เคยร้องเรียนไปยังหน่ว ยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง ส าหรับการตอบรับเรื่อง การตอบรั บกลั บร้วอนใหญ่ ยละ 26.6 ร้องเรี ยนจากหน่​่ 2-133 วยงานนัร้​้นอยละของประชาชน ผู้เคยร้องเรียนได้รับการตอบรั บร้อยละ อ73.4 ได้รบับริการตอบรั บกลักบรปกครอง

ร้อยละ 26.6 จำแนกตามการร้ งเรียและไม่ นการให้ การขององค์ แผนภาพที แผนภาพที ่ 2-133 ส่วนท้องถิ ่น ร้อยละของประชาชน จาแนกตามการร้องเรียนการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ที่มา : สถาบันพระปกเกล้า, ความเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุปผลการสารวจ พ.ศ.2545-2560.

ที่ ม า : สถาบั น พระปกเกล้ า , ความเชื่ อ มั่ น ต่ อ สถาบั น ต่ า งๆ และความพึ ง พอใจต่ อ การบริ ก ารสาธารณะ พ.ศ. 2560 และสรุ ป

ผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560.

152

สถาบันพระปกเกล้า


150 สถานการณ์ด้านการได้รับรางวัลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแสดงให้เห็นถึงจานวนองค์กรปกครอง สถานการณ์ ด้ า นการได้ รั บ รางวั ล ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง จำนวนองค์ ก ร ส่วนท้องถิ่นได้ที่รับรางวัลด้านการบริหารงานและธรรมาภิบาลจากหน่วยงานต่างๆ ในระดับประเทศ ซึ่งสะท้อนให้ ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ ที่ รั บ รางวั ล ด้ า นการบริ ห ารงานและธรรมาภิ บ าลจากหน่ ว ยงานต่ า งๆ ในระดั บ เห็นประเทศ ถึงศักยภาพขององค์ วนท้องถิ่น กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งสะท้อนให้กเรปกครองส่ ห็นถึงศักยภาพขององค์ สถานการณ์ ได้แแก่ก่ สถานการณ์ดด้า้านการได้ นการได้รรับับรางวั รางวัลลขององค์ ขององค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิงถิ่น่นประกอบด้ ประกอบด้ววยข้ ยข้ออมูมูลล33ส่ส่ววนน ได้

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รางวัลของสถาบันพระปกเกล้า รางวัลของสานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

รางวัลของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) 1. รางวัลของสถาบันพระปกเกล้า รางวัลจากสถาบันพระปกเกล้าหรือรางวัลพระปกเกล้า ประกอบด้วยรางวัลพระปกเกล้าและรางวัล พระปกเกล้าทองคำ 22 ในช่วง ปี 2550 – 2561 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพระปกเกล้า รวม 142 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ที่มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 43.33 ของเทศบาลนครทั้งหมด และ องค์การบริหารส่วนตำบล เคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.81 ขององค์การบริหารส่วนตำบล ทั้งหมด

22 รางวัลพระปกเกล้า เป็นรางวัลและใบประกาศกิตติคุณที่จัดขึ้นโดยสถาบันพระปกเกล้าเพื่อมอบให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่เป็นเลิศในประเภทต่างๆ ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยแบ่งเป็นประเภทรางวัล ได้แก่ 1) รางวัลส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจการท้องถิ่น 2) การเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ในท้องถิ่น และ 3) การเสริมสร้าง

เครือข่ายจากภาคส่วนต่างๆ ในการดำเนินงานพัฒนาท้องถิ่น รางวัลพรปกเกล้าทองคำ เป็นรางวัลที่ริเริ่มขึ้นเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยได้รับรางวัล

พระปกเกล้า มีการพัฒนาต่อยอดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการบริหารงานท้องถิ่นอยู่เสมอ และ

ยังเป็นการเชิดชูเกียรติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสุดยอดด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ และด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม โดยมีเงื่อนไข คือ ต้องเป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยได้รับรางวัลพระปกเกล้าในประเภทเดียวกันมาแล้ว 2 ครั้ง ในระยะเวลา 5 ปี ย้อยหลัง เพื่อเป็นแบบ อย่างที่ดีแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ในประเทศไทย.

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

สถานการณ์ ับรางวั ลขององค์ กรปกครองส่  สถานการณ์ด ด้านการได้ นการได้รับรรางวั ลขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น วนท้องถิ่น

153


รางวัล จากสถาบัน พระปกเกล้าหรือรางวัลพระปกเกล้ า ประกอบด้ว ยรางวัล พระปกเกล้าและรางวัล พระปกเกล้าทองคา 22 ในช่วง ปี 2550 – 2561 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพระปกเกล้า รวม 142 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วนเคย ได้รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 43.33 ของเทศบาลนครทั้งหมด และองค์การบริหารส่วน ตาบล เคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.81 ขององค์การบริหารส่วนตาบลทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที แผนภาพที่ 2-134 ่ 2-134จำนวนองค์ จานวนองค์กรปกครองส่ กรปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่น่นทีที่ได้่ไรด้ับรับรางวั รางวัลพระปกเกล้ ลพระปกเกล้า าปีปี2550 2550– –2561 2561

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้าสถาบันพระปกเกล้า.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้าสถาบันพระปกเกล้า.

สำหรับรางวัลพระปกเกล้าทองคำ ในช่วง ปี 2550 – 2561 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ รางวัลพระปกเกล้าทองคำ รวม 55 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี สั ด ส่ ว นเคยได้ รั บ รางวั ล มากที่ สุ ด คื อ เทศบาลนคร คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 33

ของเทศบาลนครทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนตำบล เคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.16

ขององค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด 22

รางวัลพระปกเกล้า เป็นรางวัลและใบประกาศกิตติคุณที่จัดขึ้นโดยสถาบันพระปกเกล้าเพื่อมอบให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นเลิศ ในประเภทต่างๆ ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยแบ่งเป็นประเภทรางวัล ได้แก่ 1) รางวัลส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนใน กิจการ ท้องถิ่น 2) การเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ในท้องถิ่น และ 3) การเสริมสร้างเครือข่ายจากภาคส่วนต่างๆ ในการดาเนินงานพัฒนาท้อ งถิ่น รางวัลพรปกเกล้าทองคา เป็นรางวัลที่ริเริ่มขึ้นเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยได้รับรางวัลพระปกเกล้า มีก ารพัฒนาต่อ ยอดการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง และสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการบริหารงานท้องถิ่นอยู่เสมอ และยังเป็นการเชิดชูเกียรติขององค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่นที่เป็นสุดยอดด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ และด้านกา รเสริมสร้าง เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม โดยมีเงื่อนไข คือ ต้องเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยได้รับรางวัลพระปกเกล้าในประเภทเดียวกั นมาแล้ว 2 ครั้ง ในระยะเวลา 5 ปี ย้อยหลัง เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ในประเทศไทย.

154

สถาบันพระปกเกล้า


152

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้าสถาบันพระปกเกล้า.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้าสถาบันพระปกเกล้า.

2. รางวัลของสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รางวัลของสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือรางวัล องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ กี ารบริหารจัดการทีด่ ี 23 ในช่วง ปี 2555 – 2561 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ได้รับรางวัล รวม 247 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 46.66 ของเทศบาลนคร ทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนตำบลเคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 2.17 ขององค์การบริหาร ส่วนตำบลทั้งหมด

23 รางวัลที่จัดขึ้นโดยสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือรางวัลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี เป็นรางวัลจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของท้องถิ่น และจัดสรร

เงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

สาหรับรางวัลพระปกเกล้าทองคา ในช่วง ปี 2550 – 2561 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัล พระปกเกล้าทองคา รวม 55 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 33 ของเทศบาลนครทั้งหมด และ องค์การบริหารส่วนตาบล เคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.16 ขององค์การบริหารส่วนตาบลทั้งหมด แผนภาพที่ 2-135 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั รางวัลพระปกเกล้าทองคำ ปี 2550 – 2561 แผนภาพที่ 2-135 จานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคา ปี 2550 – 2561

155


รางวัลของสานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือรางวัลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี 23 ในช่วง ปี 2555 – 2561 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ ได้รับ รางวัล รวม 247 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 46.66 ของเทศบาลนครทั้งหมด และองค์การ บริหารส่วนตาบลเคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 2.17 ขององค์การบริหารส่วนตาบลทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 2-136 จำนวนองค์ ก รปกครองส่ รางวัลลองค์ องค์กรปกครองส่ ก รปกครองส่ แผนภาพที ่ 2-136 จานวนองค์ กรปกครองส่ววนท้ นท้อองถิ งถิ่ น่นทีที่​่ไได้ด้รรับั บรางวั วนท้ว นท้ องถิอ่นงถิ่ น ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ปี 2555 – 2561 ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ปี 2555 – 2561

สำนั กงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้ ก่องค์กรปกครองส่ ่น,ก“เรื ่ององค์กวนท้ รปกครองส่ นท้อหงถิารจั ่นทีด่มการที ีการ่ดี,” ทีที่ม่มา า: ส: านั กงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กแรปกครองส่ วนท้องถิ่นว, นท้ “เรือ่ งถิ งองค์ รปกครองส่ องถิ่นที่มีกวารบริ สืบริ บค้หนจาก เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562. เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562. ารจัดhttp://www.odloc.go.th/web/?page_id=411 การที่ดี,” สืบค้นจาก http://www.odloc.go.th/web/?page_id=411

3. รางวัลของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) รางวัลของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือรางวัลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการป้องกันการทุจริต ซึ่งแบ่งเป็นรางวัลระดับดีเด่นและระดับดี 24 ในช่วงปี 2552 2559 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลระดับดีเด่น รวม 90 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 14.47 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด และองค์การ 23 รางวัลที่จัดขึ้นโดยสานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี บริ ห ารส่ วนตำบล เคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.71 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด การบริหารจัดการที่ดี เป็นรางวัลจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของท้องถิ่น และจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจัดขึ้นเป็นประจาทุกปี

24 รางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ดี เ ด่ น และที่ ดี ด้ า นการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต เป็ น รางวั ล ที่ จั ด ขึ้ น โดยสำนั ก งาน

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่มอบให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เป็นองค์กรต้นแบบแห่ง

การเรียนรู้และขยายผลเครือข่ายด้านการป้องกันการทุจริตไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ในประเทศไทย. สำนักงาน

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “รายละเอียดของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมการประเมินรางวัลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น ด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี 2559,” สืบค้นจาก https://www.nacc.go.th/article_attach/ Detail_Project_%CD%BB%B7.2559.pdf เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2561.

156

สถาบันพระปกเกล้า


ส่วนท้องถิ่นด้านการป้ องกันการทุจริต ซึ่งแบ่งเป็นรางวัลระดับดีเด่นและระดับดี ในช่วงปี 2552 - 2559 มี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลระดับดีเด่น รวม 90 แห่ง เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละ ประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด คิด เป็นร้อยละ 14.47 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนตาบล เคยได้รับรางวัลน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.71 ขององค์การบริหารส่วนตาบลทั้งหมด รายงานสถานการณ์

แผนภาพที นท้อองถิ งถิ่น่นทีที่ไ่ได้ด้รรับับรางวั รางวัลลองค์ องค์กกรปกครองส่ รปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ แผนภาพที่ ่2-137 2-137 จำนวนองค์ จานวนองค์กรปกครองส่วนท้ ่นดี่นเดีด่เนด่น ด้านการป้องกันการทุจริต ปี 2552 – 2559 ด้านการป้ องกันการทุจริต ปี 2552 – 2559

ด้านการป้องกันทุจริต,” สืบค้นจาก https://www.nacc.go.th/main.php?filename=index เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560.

ในช่ ว ง ปี 2552 - 2559 มี อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ระดั บ ดี รวม 64 แห่ ง

เมื่อพิจารณาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วน

เคยได้24รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 20 ของเทศบาลนครทั้งหมด และองค์การบริหาร รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดีเด่นและที่ดี ด้านการป้องกันการทุจริต เป็นรางวัลที่จัดขึ้นโดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและ ส่วนตำบลจริเคยได้ รับทีรางวั ลน้แก่ออยที ุด คิดเป็วนนท้ร้ออยละ ารบริงหการเรี ารส่ยวนรูนตำบลทั ้งหมด อข่ายด้านการป้องกัน ปราบปรามการทุ ตแห่งชาติ ่มอบให้ งค์ก่สรปกครองส่ งถิ่น เพื0.39 ่อให้เป็ขององค์ นองค์กรต้นกแบบแห่ ้และขยายผลเครื

การทุจริตไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ในประเทศไทย. สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ , “รายละเอียดของ แผนงาน/โครงการ/กิ จ กรรมการประเมิ น รางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ดี เ ด่ น ด้ า นการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต ประจ า ปี 2559,” สื บ ค้ น จาก https://www.nacc.go.th/article_attach/Detail_Project_%CD%BB%B7.2559.pdf เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2561.

สถาบันพระปกเกล้า

157

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

ที่มา : สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “เรื่องผลการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น ด้านการป้องกัน ทุจทีริต่ม,”า สื: บสำนั ค้นจาก https://www.nacc.go.th/main.php?filename=index เมื่อวั,น“เรื ที่ 20 ธันวาคม 2560. กงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ่องผลการคั ดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น


ในช่วง ปี 2552 - 2559 มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลระดับดี รวม 64 แห่ง เมื่อพิจารณา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสัดส่วนเคยได้รับรางวัลมากที่สุด คือ เทศบาลนคร คิดเป็นร้อยละ 20 ของเทศบาลนครทั้งหมด และองค์การบริหารส่วนตาบล เคยได้รับรางวัลน้อย ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.39 ขององค์การบริหารส่วนตาบลทั้งหมด

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

รายงานสถานการณ์

แผนภาพที ่ 2-138 รางวัลลองค์ องค์กกรปกครองส่ รปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ แผนภาพที ่ 2-138จำนวนองค์ จานวนองค์กกรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ นท้อองถิ งถิ่น่นทีที่ไ่ได้ด้รรับับรางวั ่นที่น่ดที​ี ่ดี ด้านการป้องกันการทุจริต ปี 2552 – 2559 ด้านการป้ องกันการทุจริต ปี 2552 – 2559

ที่มา : สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “เรื่องผลการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น ด้านการป้องกัน ทุจทีริ่มตา,”:สืสำนั บค้นกได้งานคณะกรรมการป้ จาก https://www.nacc.go.th/main.php?filename=index วัน่อทีงผลการคั ่ 20 ธันวาคม องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเมื, ่อ“เรื ดเลื2560. อกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น

ด้านการป้องกันทุจริต,” สืบค้นได้จาก https://www.nacc.go.th/main.php?filename=index เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560.

นอกจากนี้สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ดำเนินกิจกรรมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ด้านการป้องกัน ทุ จ ริ ต เพื่ อ พั ฒ นาองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ดี แ ละดี เ ด่ น

ด้านการป้องกันการทุจริต ให้เป็นองค์กรต้นแบบแห่งการเรียนรู้และขยายผลเครือข่ายไปยังองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ซึ่งได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2557 โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ดังนี้

158

สถาบันพระปกเกล้า


156

รายงานสถานการณ์

นอกจากนี้สานักงาน ป.ป.ช. ได้ดาเนินกิจกรรมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ด้านการป้องกันทุจริต เพื่อพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดีและดีเด่น ด้านการป้องกันการ ทุจริต ให้เป็นองค์กรต้นแบบแห่งการเรียนรู้และขยายผลเครือข่ายไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ซึ่งได้เริ่ม ดาเนินการตั้งแต่ปี 2557 โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ดังนี้ แผนภาพที่ 2-139 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ตั้งแต่ปี 2557 – 2560 แผนภาพที่ 2-139 จานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ตั้งแต่ปี 2557 – 2560 16 14 12 10 8

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

6 4 2 0

องค์การ บริหารส่วน จังหวัด 2557 2 2559 2 2560 3

เทศบาล

8 15 12

เทศบาล นคร

1 2 2

เทศบาล เมือง

1 5 3

องค์การ เทศบาล กรุงเทพมหา เมืองพัทยา บริหารส่วน ตาบล นครฯ ตาบล 6 6 0 0 8 6 0 0 7 10 0 0

ที่มา : สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “เรื่องผลการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น ด้านการป้องกัน ทุจทีริ่มตา,”: สืสำนั บค้นกได้งานคณะกรรมการป้ จาก https://www.nacc.go.th/main.php?filename=index เมื่อวั,น“เรื ที่ 20่องผลการคั ธันวาคม 2560. องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น

ด้านการป้องกันทุจริต,” สืบค้นได้จาก https://www.nacc.go.th/main.php?filename=index เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560.

สถาบันพระปกเกล้า

159


รายงานสถานการณ์

บรรณานุกรม Eremenko M. (2562, สิ ง หาคม 5). Political Participation. Retrieved from http://www. culturaldiplomacy.org/academy/content/pdf/ John Dewey. On Democracy. [Online]. (n.d.). Available from: https://wolfweb.unr.edu/homepage/ lafer/dewey%20dewey.html [2018, September 17]

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562. กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, “ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,” สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562. คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, “ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2561,” สืบค้นจาก http://www.odloc. go.th/web/?page_id=1562 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2561. คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, “ตารางเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ให้แก่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2562,” สืบค้นจาก http://www.odloc.go.th/ web/?page_id=1562 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562. ดวงมณี เลาวกุล. (2552). การปฏิรูปการกระจายอำนาจการคลังสู่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: เปนไท, น. 65-66. ปธาน สุวรรณมงคม. (2560, มิถุนายน). ประชาธิปไตยท้องถิ่น. Retrieved from https://goo.gl/U8ut5i แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 1. แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รายงานผลการปฏิบัติงานของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2561. วิทยาลัยพัฒนาการ ปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้าสถาบันพระปกเกล้า. สถาบันพระปกเกล้า, ความเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ.2560 และสรุป ผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560. สถิติร้องเรียนทุจริตองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในมือ ป.ป.ช. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2014/09/ statistics-local-government-fraud/ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2562. สภานักพัฒนาเพื่อประชาธิปไตย. คลังบทความ ระบอบประชาธิปไตย. [ออนไลน์]. 2553. แหล่งที่มา: http:// article-spadmc.blogspot.com/2010/11/democracy-system.html [11 กันยายน 2561] 160

สถาบันพระปกเกล้า


สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2560. รายงานสถานการณ์

สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, “เรื่ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ มีการบริหารจัดการที่ดี,” สืบค้นจาก http://www.odloc.go.th/web/?page_id=411 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562. สำนั ก บริ ห ารการคลั ง กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น . ข้ อ มู ล รายได้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2559.

ส่วนที่ 2 สถิติและข้อมูล : สถานการณ์การกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, “รายงานประจำปีงบประมาณ 2560” สืบค้น จาก https://www.nacc.go.th/download/article/article_20181221120718.pdf เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2562. สำนั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ , “เรื่ อ งผลการคั ด เลื อ กองค์ ก รปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ดี เ ด่ น ด้ า นการป้ อ งกั น ทุ จ ริ ต ,” สื บ ค้ น จาก https://www.nacc.go.th/main.php? filename=index เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560. สำนักงานพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน สำนักงาน ก.พ. “กำลังคนภาครัฐฝ่ายพลเรือน 2560,” สืบค้นจาก เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2560. สำนักบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานศาลปกครอง. สืบค้นวันที่ 9 เมษายน 2562. ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน กองบริหารคดี สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. สืบค้น เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562.

สถาบันพระปกเกล้า

161



ภาคผนวก



รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถาม

ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น การศึกษาวิจัยประเมินการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประจำปี 2561 (decentralization report 2018) เป็ น การสำรวจสถานการณ์ ค วามเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น ของประเทศ

ในปัจจุบนั โดยสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรทีเ่ ป็นตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทั่วประเทศ และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นในมิติต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียดของระเบียบวิธีการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูล25 ดังนี้

î กลุ่มประชากรเป้าหมาย สำหรับหน่วยในการสำรวจครั้งนี้ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ จำนวน 7,852 แห่ง โดยในการตอบแบบสอบถามนั้นได้ขอความร่วมมือในการกรอกข้อมูลจากบุคลากร สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยมีตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งละ 1 คน ได้แก่ ปลัด รองปลัด หรือผู้อำนวยการฝ่าย/กอง/สำนัก ซึ่งดำรงตำแหน่งในองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม

î เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ การสำรวจสถานการณ์ความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นในครั้งนี้ ได้แบ่งกระบวนการ ดำเนิ น งานออกเป็ น 2 ขั้ น ตอน ได้ แ ก่ การสำรวจข้ อ มู ล และการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล จาก แบบสอบถาม 1). การสำรวจข้อมูล ใช้แบบสอบถามความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ประกอบด้วย

ข้อคำถามจำนวน 77 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 8 ข้อ ส่ ว นที่ 2 ข้ อ มู ล ความคิ ด เห็ น ของผู้ ต อบแบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ความเป็ น ประชาธิปไตยท้องถิ่น ในมิติความเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 35 ข้อ ส่ ว นที่ 3 ข้ อ มู ล ความคิ ด เห็ น ของผู้ ต อบแบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ความเป็ น ประชาธิปไตยท้องถิ่น ในมิติการมีส่วนร่วมของประชาชน จำนวน 34 ข้อ สำหรับข้อคำถามในส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เป็นข้อคำถามเกี่ยวกับระดับความคิด เห็น โดยให้เลือกตอบ 4 ระดับ คือ ไม่เห็นด้วย เห็นด้วยน้อย เห็นด้วยมาก และเห็นด้วยมาก ที่สุด 2). ก ารวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล จากแบบสอบถาม ใช้ โ ปรแกรมในการวิ เ คราะห์ SPSS (Statistical package for social science) ในการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจาก แบบสอบถามที่เก็บรวบรวมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 25 หากต้องการรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม สามารถศึกษาได้ในรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลความเป็น ประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์)

สถาบันพระปกเกล้า

165


ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

161 ตัวอย่างแบบสอบถามที่ใช้สารวจ

แบบสอบถามความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คาชี้แจง : โปรดระบุข้อมูลและทาเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับข้อมูลทั่วไปของท่านและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่าน ขอความกรุ ณ าให้ ป ลั ด หรื อ รองปลั ด ที่ ด ารงต าแหน่ ง มาแล้ ว อย่ า งน้ อ ย 3 ปี เป็ น ผู้ ต อบ แบบสอบถาม หากปลัดหรือรองปลัดไม่มีคุณสมบัติดังกล่าว ให้ผู้อานวยการที่ดารงตาแหน่งมาแล้ว อย่างน้อย 3 ปี เป็นผู้ตอบ 1. ตาแหน่งผู้ตอบแบบสอบถาม 1.1 ปลัด ที่ดารงตาแหน่งมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี 1.2 รองปลัด ที่ดารงตาแหน่งมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี 1.3 ผู้อานวยการฝ่าย/กอง/สานัก.....................................................ที่ดารงตาแหน่งมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี 2. ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...................................................................................................................... 3. ที่ตั้ง (อปท.) อาเภอ..................................................... จังหวัด...................................................................

166

1) ภาคกลาง

2) ภาคเหนือ

3) ภาคใต้

4) ภาคตะวันออก

5) ภาคตะวันตก

6) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถาบันพระปกเกล้า


162 4. จานวนประชากรในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่าน (เลือกตอบประเภทใดประเภทหนึ่ง) รายงานสถานการณ์

(1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด จานวนประชากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดของท่าน (1.1 ไม่เกิน คน 500,000 คน 1,000,000 – 500,001 (1.2 คน ขึ้นไป 1,000,001 (1.3

ภาคผนวก

(2 เทศบาลนคร จานวนประชากรของเทศบาลนครของท่าน (2.1 ไม่เกิน 70,000 คน คน 90,000 – 70,001 (2.2 คน ขึ้นไป 90,001 (3.3 (3 เทศบาลเมือง จานวนประชากรของเทศบาลเมืองของท่าน (3.1 ไม่เกิน คน 20,000 คน 50,000 – 20,001 (3.2 คน ขึ้นไป 50,001 (3.3 (4 เทศบาลตาบล จานวนประชากรของเทศบาลตาบลของท่าน (4.1ไม่เกิน คน 10,000 คน 30,000 – 10,001 (4.2 คน ขึ้นไป 30,001 (4.3 (5องค์การบริหารส่วนตาบล จานวนประชากรขององค์การบริหารส่วนตาบลของท่าน 5.1) ไม่เกิน 10,000 คน 5.2) 10,001 – 30,000 คน 5.3) 30,001 คน ขึ้นไป

สถาบันพระปกเกล้า

167


5. รายได้รวม (จัดเก็บเอง, รัฐจัดสรร, เงินอุดหนุน) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2559 (1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด รายได้รวมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดของท่าน (1.1 ไม่เกิน ล้านบาท 600 900 – ล้านบาท 601 (1.2 ล้านบาท ล้านบาท ขึ้นไป 901 (1.3 (2 เทศบาลนคร รายได้รวมของเทศบาลนครของท่าน (2.1 ไม่เกิน ล้านบาท 700 800 – ล้านบาท 701 (2.2 ล้านบาท 900 – ล้านบาท 801 (2.3 ล้านบาท ล้านบาท ขึ้นไป 901 (2.4

ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

163

(3 เทศบาลเมือง รายได้รวมของเทศบาลเมืองของท่าน (3.1 ไม่เกิน ล้านบาท 100 300 – ล้านบาท 101 (3.2 ล้านบาท 600 – ล้านบาท 301 (3.3 ล้านบาท ล้านบาท ขึ้นไป 601 (3.4 (4 เทศบาลตาบลองค์การบริหารส่วนตาบล/ รายได้รวมของเทศบาลตาบล/องค์การบริหารส่วนตาบลของท่าน (4.1ไม่เกิน ล้านบาท 50 100 – ล้านบาท 51 (4.2ล้านบาท 200 – ล้านบาท 101 (4.3ล้านบาท ล้านบาท ขึ้นไป 201 (4.4 6. วาระการดารงตาแหน่งของนายกฯ 1) นายกฯ ของท่านดารงตาแหน่งต่อเนื่องมาแล้วไม่เกิน 1 วาระ (สมัย) 2) นายกฯ ของท่านดารงตาแหน่งต่อเนื่องมาแล้วไม่เกิน 2 วาระ (สมัย) 3) นายกฯ ของท่านดารงตาแหน่งต่อเนื่องมาแล้วไม่เกิน 3 วาระ (สมัย) 4) นายกฯ ของท่านดารงตาแหน่งต่อเนื่องมาแล้วตั้งแต่ 4 วาระ (สมัย) ขึ้นไป

168

สถาบันพระปกเกล้า


164 7. รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาแนกตามประเภทรายได้ ปีงบประมาณ 2559 รายงานสถานการณ์

1) รายได้จัดเก็บเอง จานวน ..................................................... บาท 2) รายได้จากเงินจัดสรร จานวน ..................................................... บาท 3) รายได้จากเงินอุดหนุนทั่วไป จานวน ..................................................... บาท 8. การได้รับรางวัลในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ 2558 – 2560) 1) เคยได้รับรางวัล ดังนี้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ภาคผนวก

1.1) รางวัลพระปกเกล้า โดยสถาบันพระปกเกล้า (หมายถึง ใบประกาศ รางวัลพระปกเกล้า และรางวัลพระปกเกล้าทองคา) 1.2) รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นด้านการป้องกันทุจริต โดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (หมายถึง รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นด้านการป้องกันทุจริตที่ดี และดีเด่น) 1.3) รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยส านั กงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้ แ ก่ องค์ กรปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (หมายถึง รางวัลประเภทโดดเด่น และทั่วไป ) 2) ไม่เคยได้รับรางวัลใด ๆ กรุณาระบุชื่อผู้ประสานงานเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มเติม (หากจาเป็น) ชื่อ...................................................................สกุล.............................................................................. ตาแหน่ง..........................................................เบอร์โทรศัพท์...............................................................

สถาบันพระปกเกล้า

169


ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คาชี้แจง : โปรดทาเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านต่อภาพรวม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านมากที่สุด ท่านเห็นด้วยหรือไม่กับข้อความดังต่อไปนี้ ?

ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

165

ไม่เห็น ด้วย

ข้อความ ด้านความเป็นตัวแทน

ความใกล้ชิดกับประชาชน 1. ผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่นของท่าน รับฟังปัญหาและ ความต้องการ รวมถึงพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เรื่องต่างๆ กับประชาชน ผ่านช่องทางการสื่อสารใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) โทรศัพท์ ไลน์ เฟสบุ๊ค อีเมล การลงพื้นที่พบปะพูดคุย การประชาคม การประชุม อื่น ๆ โปรดระบุ................. 2. ผู้ บ ริ ห ารและสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ของท่ า นเปิ ด โอกาสให้ ประชาชนเข้าพบหรือติดต่อได้โดยง่าย 3. สมาชิกสภาท้องถิ่นของท่าน นาปัญหา ความต้องการ หรือ ความคิดเห็นของประชาชนมานาเสนอต่อนายกฯ เพื่อรับทราบ และจัดการแก้ไขปัญหาต่อไป 4. สมาชิกสภาท้องถิ่นของท่านทาหน้าที่ในการตรวจสอบการ ทางานของนายกฯ ในฐานะที่เป็นตัวแทนของประชาชน 5. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ของท่ า นรายงานผลการ ดาเนินงานให้ประชาชนทราบ การตอบสนองความต้องการของประชาชน 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านสอบถามความต้องการ และปัญหาของประชาชนในพื้นที่ ก่อนจะเริ่มดาเนินกิจกรรม หรือโครงการต่าง ๆ

170

สถาบันพระปกเกล้า

เห็น ด้วย น้อย

เห็น ด้วย มาก

เห็น ด้วย มาก ที่สุด


166 เห็น ด้วย มาก ที่สุด

ภาคผนวก

2. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ของท่ า นน าข้ อ เสนอแนะและ ความคิดเห็นของประชาชนมาปรับใช้ในการดาเนินงาน 3. นายกฯ ของท่านมีนโยบายที่ช่วยแก้ไขปัญหาหรือนโยบาย การพั ฒ นาที่ ต อบสนองต่ อ ปั ญ หาและความต้ อ งการ ของ ประชาชน 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านจัดทากิจกรรม/โครงการ ที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของประชาชน 5. สมาชิกสภาท้องถิ่นของท่านนาปัญหาและความต้องการของ ประชาชนเข้าสู่ที่ประชุมสภาท้องถิ่น ด้านความเป็นมืออาชีพ ศักยภาพผู้บริหาร 1. นายกฯ ของท่านมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา สิ่งใหม่ ๆ ให้กับชุมชนท้องถิ่น 2. นายกฯ ของท่านมีความสามารถในการประเมินเหตุการณ์ ต่าง ๆ เช่น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต แนวโน้มในอนาคต ความ เปลี่ยนแปลงระดับโลก/ระดับประเทศ แล้วนาผลการประเมินมา ใช้กาหนดเป็นนโยบายในการพัฒนาท้องถิ่น 3. นายกฯ ของท่านมีความสามารถในการสื่อสารให้ผู้ฟังเข้าใจ ได้อย่างชัดเจน 4. นายกฯ ของท่านมักลงพื้นที่สารวจชุมชนท้องถิ่นด้วยตนเอง เพื่อรับรู้สภาพปัญหาและเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างถ่องแท้ 5. นายกฯ ของท่านเป็นผู้ที่ใฝ่หาความรู้ และนาความรู้ที่ได้มา ปรับใช้ในการทางาน 6. นายกฯ ของท่านมักแสวงหาความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และร่วมมือกันดาเนินโครงการ/กิจกรรม 7. นายกฯ ของท่านมีความกระตือรือร้น ในการทางานเพื่อ ให้ บรรลุเป้าหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8. นายกฯ ของท่านมีความสามารถในการตัดสินใจและลงมือ แก้ไขปัญหาที่สาคัญได้อย่างรวดเร็ว 9. นายกฯ ของท่านแสดงความเป็นผู้นาด้วยการปฏิบัติตัวเป็น ตัวอย่างที่ดีให้แก่ประชาชน

ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย มาก

รายงานสถานการณ์

ข้อความ

เห็น ด้วย น้อย

สถาบันพระปกเกล้า

171


ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

167

ข้อความ ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านสามารถดาเนินงานให้ บรรลุเป้าหมายได้ตามที่กาหนดไว้ 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เพื่อให้บริการประชาชนอย่างมีคุณภาพ และตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชนได้มากยิ่งขึ้น 3. องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่นของท่านสามารถประสานงาน หรื อร่ วมมือ กับ องค์ก ร/หน่ ว ยงาน/กลุ่ ม อื่น ๆ ในการดาเนิ น โครงการหรือกิจกรรมในชุมชน 4. องค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นของท่ านมีน โยบาย และจัดทา โครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 5. บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านมักทางานเป็น ทีม และช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี 6. บุคลากรขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นของท่านมีค วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงาน 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านมีความสามารถในการ จัดสรรงบประมาณในการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล

172

สถาบันพระปกเกล้า

ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย น้อย

เห็น ด้วย มาก

เห็น ด้วย มาก ที่สุด


168

ด้านการส่งเสริมความเป็นพลเมือง

เห็น ด้วย มาก

เห็น ด้วย มาก ที่สุด

รายงานสถานการณ์

ไม่เห็น ด้วย

ข้อความ

เห็น ด้วย น้อย

ภาคผนวก

การเปิดพื้นที่การมีส่วนร่วม 1. องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่นของท่านมีการเผยแพร่ ข้อมูล ข่ า วสารขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ ป ระชาชนรับรู้ รับทราบ ผ่านช่องทางใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ป้ายประกาศ เสียงตามสายหรือหอกระจายข่าว เฟสบุ๊ค ไลน์ วารสารท้องถิ่น เว็บไซต์ อื่น ๆ โปรดระบุ........................... 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านมีช่องทางในการรับฟัง ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของประชาชน ผ่านช่องทางใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) อีเมล เฟสบุ๊ค ไลน์ โทรศัพท์ กล่องแสดงความคิดเห็น การประชาคม/การประชุม อื่น ๆ โปรดระบุ.......................... 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งส าคั ญ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ชุมชนท้องถิ่น 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการดาเนินงาน 5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการลงมื อ ท ากิ จ กรรม/โครงการ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดขึ้น 6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านส่งเสริมให้ประชาชน รวมกลุ่มกันทาประโยชน์ให้แก่ชุมชนท้องถิ่นของตนเอง เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาสาสมัคร กลุ่มเด็กและเยาวชน ฯลฯ

สถาบันพระปกเกล้า

173


ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

169

ข้อความ 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามาติดตามตรวจสอบการทางานขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เพื่อแสดงถึงความโปร่งใส การสนับสนุนเครือข่าย 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของท่านส่งเสริมหรือสนับสนุน การทางานในรู ปแบบเครื อข่า ยร่ วมกับภาครั ฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม 2. องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ของท่ า นส่ ง เสริ ม ให้ ก ลุ่ ม / เครือข่ายต่าง ๆ ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนใน การดาเนินงานร่วมกัน

174

สถาบันพระปกเกล้า

ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย น้อย

เห็น ด้วย มาก

เห็น ด้วย มาก ที่สุด


170

รายงานสถานการณ์

ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน คาชี้แจง : โปรดทาเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านต่อภาพรวมของ ประชาชนในพื้นที่ของท่านมากที่สุด ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า ประชาชนในพื้นที่ของท่านมีพฤติกรรมดังข้อความต่อไปนี้ ?

ด้าน Concerned Citizen

เห็น ด้วย มาก

เห็น ด้วย มาก ที่สุด

ภาคผนวก

ไม่เห็น ด้วย

ข้อความ

เห็น ด้วย น้อย

การรู้สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ 1. ประชาชนในพื้น ที่ของท่านตระหนัก ถึง สิ ทธิ แ ละหน้า ที่ ข อง พลเมืองในการมาใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหาร ท้องถิ่น 2. ประชาชนในพื้นที่ของท่านตระหนักถึงหน้าที่ของตนเองในการ เสียภาษี/ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. ประชาชนในพื้นที่ของท่านตระหนักและรู้ถึงสิทธิของผู้อื่น ให้ ความเคารพศักดิ์ ศ รีค วามเป็นมนุษย์ของผู้อื่น และเคารพต่อ ความแตกต่างหลากหลายในชุมชนท้องถิ่น 4. ประชาชนในพื้นที่ของท่านตระหนักและรู้ถึงสิทธิของพลเมือง ในการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง เช่น การเข้าชื่อ ถอดถอนผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น การเสนอ ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ การออกเสียงประชามติ ฯลฯ 5. ประชาชนในพื้นที่ของท่านรู้ว่าตนเองควรปฏิบัติตามกฎหมาย การรู้จักชุมชนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ประชาชนในพื้นที่ของท่านรู้ เกี่ยวกับความเป็นมาของชุมชน ท้องถิ่นตนเอง หรือรู้จักชุมชนท้องถิ่นของตนเอง 2. ประชาชนในพื้นที่ของท่านสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับจุดอ่อน จุดแข็งของชุมชนท้องถิ่นตนเองได้ 3. ประชาชนในพื้นที่ของท่านรู้ ถึงอัตลักษณ์แ ละความโดดเด่น ของชุมชนท้องถิ่นตนเอง 4. ประชาชนในพื้นที่ของท่านรู้และเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สถาบันพระปกเกล้า

175


ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

171

ข้อความ 5. ประชาชนในพื้นที่ของท่านรู้ถึงนโยบาย โครงการ หรือกิจกรรม ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาลังดาเนินงานอยู่ การรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชนท้องถิ่น 1. ประชาชนในพื้ น ที่ ข องท่า นเชื่ อว่ า ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชุ ม ชน ท้องถิ่นต้องแก้ไขด้วยตัวประชาชนเอง 2. ประชาชนในพื้นที่ของท่านให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์และ การเผยแพร่ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ดารงอยู่คู่ ชุมชนท้องถิ่นต่อไป 3. ประชาชนในพื้นที่ของท่านรู้สึก หวงแหนทรัพย์สินส่วนรวมใน ชุมชนท้องถิ่น 4. ประชาชนในพื้นที่ของท่านเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้น ในกิจกรรมที่ชุมชนท้องถิ่นจัดขึ้น 5. ประชาชนในพื้นที่ของท่านมีความรักในบ้านเกิดเมืองนอนของ ตน และช่วยกันปกป้องประโยชน์ของชุมชนท้องถิ่นจากการกระทา ที่เป็นการทุจริตหรือส่อทุจริตทุกรูปแบบ

176

สถาบันพระปกเกล้า

ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย น้อย

เห็น ด้วย มาก

เห็น ด้วย มาก ที่สุด


172 เห็น ด้วย

ภาคผนวก

ด้าน Active Citizen การติดตามข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ประชาชนในพื้ น ที่ ข องท่ า นติ ด ตามข้ อ มู ล ข่ า วสาร และ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศ 2. ประชาชนในพื้นที่ของท่านติดตามข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น แผนพัฒนาท้องถิ่น, ข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติ, งบประมาณรายจ่าย, รายงานผลการดาเนิน งาน, รายงานการใช้จ่ ายงบประมาณ, การประชุมสภาท้องถิ่น, การ จัดซื้อจัดจ้าง, ข้อมูลการจัดเก็บภาษี, กฎหมาย, ระเบียบ, คาสั่ง, ข่าวสารราชการ ฯลฯ โดยประชาชนมักติดตามผ่านช่องทางใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ป้ายประกาศ เสียงตามสาย/หอกระจายข่าว เฟสบุ๊ค ไลน์ วิทยุ เว็บไซต์ วารสารท้องถิ่น ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร อื่น ๆ โปรดระบุ.......................................................................... 3. ประชาชนในพื้นที่ของท่านเข้ามาร่วมรับฟังการประชุมสภา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อรับทราบทิศทางการทางาน และการตัดสินใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. ประชาชนในพื้ น ที่ ข องท่ า นพบปะ/ติ ด ต่ อ กั บ นายกฯ หรื อ สมาชิกสภาท้องถิ่น ของท่า น เพื่อพูดคุยสอบถามถึงกิจ กรรม/ โครงการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาลังทาอยู่ การแสดงความคิดเห็น สะท้อนปัญหา และความต้องการ 1. ประชาชนในพื้นที่ของท่านเข้าร่วมประชาคม เพื่อแสดงความ คิดเห็น ความต้องการ และสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนท้องถิ่น ตนเองให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ 2. ประชาชนในพื้นที่ของท่านมักมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้นกับ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในการพิ จ ารณาประเด็ นที่ ส่ งผล กระทบต่อชุมชนท้องถิ่นหรือกระทบต่อตัวเอง

ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย มาก ที่สุด

รายงานสถานการณ์

ข้อความ

เห็น ด้วย น้อย

สถาบันพระปกเกล้า

177


ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

173

ข้อความ 3. ประชาชนในพื้นที่ของท่านมักเสนอโครงการ/กิจกรรมที่ช่วย แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น 4. ประชาชนในพื้น ที่ของท่านมัก มี การร้ อ งเรี ยนหรื อร้ อ งทุ ก ข์ เกี่ยวกับปัญหาการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การลงมือทาโครงการ/กิจกรรม 1. ประชาชนในพื้นที่ของท่านเสียภาษีอากร/ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกาหนด 2. ประชาชนในพื้น ที่ ข องท่านสมทบทุน หรื อ บริ จาคเงิน ให้ แ ก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น 3. ประชาชนในพื้ น ที่ ข องท่ า นมี ส่ ว นร่ ว มในการวางแผนงาน โครงการ/กิจกรรมที่เป็นการช่วยแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง 4. ประชาชนในพื้ น ที่ ข องท่ า นร่ ว มเป็ น คณะกรรมการหรื อ คณะทางานในชุดต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเต็ม ใจ 5. ประชาชนในพื้นที่ของท่านมักเข้าร่ วมเป็นอาสาสมัครหรื อจิต อาสาในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ท้องถิ่น เช่น อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน อาสาสมัครด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ 6. ประชาชนในพื้นที่ของท่านมักแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน ท้องถิ่นด้วยตนเองหากสามารถทาได้ โดยไม่พึ่งความช่วยเหลือ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7. ในพื้น ที่ของท่านมัก มีผู้น าหรื อแกนน าประชาชน (ทั้งที่เป็น ทางการหรือไม่เป็นทางการ) เพื่อดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น

178

สถาบันพระปกเกล้า

ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย น้อย

เห็น ด้วย

เห็น ด้วย มาก ที่สุด


174 ไม่เห็น ด้วย

เห็น ด้วย

ภาคผนวก

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง 1. จากการเลือกตั้ งระดั บชาติ แ ละระดับท้องถิ่น ครั้ งที่ผ่า นมา ประชาชนในพื้ น ที่ ข องท่ า นติ ด ตามการรณรงค์ห าเสี ย งอย่า ง จริงจังเพื่อมีข้อมูล ที่ชัดเจนสาหรับการตัดสินใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง 2. ประชาชนในพื้นที่ของท่านกระตือรื อร้ น ที่จะมาลงสมัค รรั บ เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 3. ประชาชนในพื้นที่ของท่านกระตือรือร้นที่จะนาเสนอนโยบาย สาธารณะที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ต่อหน่ว ยงานที่ เกี่ยวข้อง 4. ประชาชนในพื้นที่ของท่านเคยรวมกลุ่มกันเพื่อดาเนินกิจกรรม ทางการเมือง เช่น การร้องเรียนร้องทุกข์ การติดตามตรวจสอบ ภาครั ฐ การประท้ ว ง การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ การเข้าชื่อถอดถอนนายกฯ หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น การฟ้องร้อง หน่วยงานรัฐต่อศาลปกครอง ฯลฯ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ร้องเรียนร้องทุกข์ การติดตามตรวจสอบภาครัฐ การประท้วง การเสนอร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ การเข้าชื่อถอดถอนนายกฯ หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น การฟ้องร้องหน่วยงานรัฐต่อศาลปกครอง อื่น ๆ โปรดระบุ..........................................................

เห็น ด้วย มาก ที่สุด

รายงานสถานการณ์

ข้อความ

เห็น ด้วย น้อย

***ขอขอบคุณทีใ่ ห้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม และขอความกรุณาส่งแบบสอบถามกลับมายัง วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า *** 1) ทางไปรษณีย์ โดยจ่าหน้าซอง ดังนี้ วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพ 10210 (แบบสอบถามความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น) 2) ทางอีเมล โดยแสกนแบบสอบถามและส่งไฟล์มาที่ Wilawan@kpi.ac.th และ Suchao@kpi.ac.th 3) ทางโทรสารหมายเลข 02-143-8175

สถาบันพระปกเกล้า

179


รายงานสถานการณ์

î การเก็บรวบรวมข้อมูล วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า ได้ขอความร่วมมือจากองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น โดยการส่งแบบสอบถามให้กรอกข้อมูลแล้วตอบกลับมาทางช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ได้แก่

ทางไปรษณีย์ ทางอีเมลล์ของผู้ประสานงาน หรือทางโทรสาร

î การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงสถิติ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

ภาคผนวก

1). การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จากแบบสอบถามโดยใช้ ส ถิ ติ เชิ ง พรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ของข้อมูลที่ได้รับตอบกลับมาจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด 2). การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ระดั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยท้ อ งถิ่ น จากข้ อ มู ล ส่ ว นที่ 2 และส่ ว นที่ 3

ของแบบสอบถาม ซึ่งได้มีการกำหนดค่าคะแนนระดับความคิดเห็นของแต่ละข้อคำถาม ดังนี้ ระดับความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย เห็นด้วยน้อย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมากที่สุด

ค่าคะแนน 1 2 3 4

ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินและแปลความหมายระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นรายมิติ จะใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนระดับความคิดเห็นของข้อคำถามในแต่ละมิติ จากนั้นมานำเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด โดยแบ่งระดับเกณฑ์ออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น ระดับสูงมาก ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับต่ำ ระดับต่ำมาก

ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.41 – 4.00 2.81 – 3.40 2.21 – 2.80 1.61 – 2.20 1.00 – 1.60

การวิเคราะห์ระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น จะวิเคราะห์ในภาพรวมของทุกมิติ รวมทั้งจำแนก ตามตัวแปรอิสระแต่ละตัวที่กำหนดตามกรอบการศึกษา โดยรายละเอียดกรอบการศึกษาปรากฎดังแผนภาพ ต่อไปนี้

180

สถาบันพระปกเกล้า


ศักยภาพของผู้บริหาร

ศักยภาพขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น

การตอบสนองความ ต้องการของประชาชน

ความเป็นมืออาชีพ

ความใกล้ชิดกับ ประชาชน

ความเป็นตัวแทน (ผู้บริหาร สมาชิกสภา)

มิติเชิงสถาบัน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

การสนับสนุนเครือข่าย

การเปิดพื้นที่ การมีส่วนร่วม

การส่งเสริม ความเป็นพลเมือง

แสดงความคิดเห็น ปัญหา ความต้องการ ลงมือทากิจกรรม/ โครงการ

รู้จักชุมชนท้องถิ่น และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นของตน ตระหนักถึงความเป็น เจ้าของและประโยชน์ ของชุมชนท้องถิ่น

การมีส่วนร่วมใน กิจกรรมทางการเมือง

ติดตามข้อมูลข่าวสาร ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น

การลงมือปฏิบัติ (Active Citizen)

176

รู้สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบของตน

การตระหนักรู้ (Concerned Citizen)

มิติการมีส่วนร่วม ของประชาชน

ภาคผนวก

ประชาธิปไตยท้องถิ่น

รายงานสถานการณ์

สถาบันพระปกเกล้า

181


177

มพันธ์ 5 ระดับ ดังนี้ ระดัระดั บ ดับงนีความสั ้

ตัวแปรอิสระ

ภาคผนวก

รายงานสถานการณ์

177

3). การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมิติความเป็นสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับ ตัวแปรมิติการมี ส่วนร่เคราะห์ วเคราะห์ มของประชาชน เาทคนิ การวิ คราะห์ คสถาบั วามถดถอย กับอองถิ การวิ 3).3). การวิ การวิ หาความสั ธ์นรธ์ะหว่ งตั ตติคเิความเป็ นนขององค์ กกรปกครองส่ หาความสัมพัมพันโดยใช้ ระหว่ างตัวแปรมิ วคแปรมิ วามเป็นนสถาบั ขององค์(regression) รปกครองส่ววนท้ นท้ งถิ่น่นกับเคราะห์ วตแปรมิ ารมีวมของประชาชน โดยใช้ คการวิ คราะห์ ความถดถอย (regression) กับ มพันธ์ 5 สหสัมตัพัวแปรมิ นกัธ์บตั(correlation) ซึส่งวมีนร่คว่ามของประชาชน สัมประสิโดยใช้ ทธิ์สหสั มพัคนการวิ ธ์เตทคนิ ั้งแต่ -1 ถึคงเวามถดถอย 1 โดยใช้ เกณฑ์ ประเมิ นกัระดั บความสั ิการมีสต่วิกนร่ เทคนิ เคราะห์ (regression) บการวิ เคราะห์ สหสัมพันซึธ์่ง(correlation) มีคม่าพัสัมนประสิ นธ์ตั้งแต่ -1 ปถึระเมิ ง 1 โดยใช้ ประเมิ มนีพั้ นเธ์คราะห์ (correlation) มีค่าสัมประสิทธิซึ์ส่งหสั ธ์ตั้งแต่ทธิ-1์สหสั ถึงม1พัโดยใช้ เกณฑ์ นระดับเกณฑ์ ความสั มพันนธ์ 5 ระดับสหสั ดังการวิ ตัวแปรอิ สระ วนท้องถิ่น ความเป็นสถาบันขององค์ กรปกครองส่ ความเป็ นสถาบันตันขององค์ 1. ความเป็ วแทน กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความเป็ วแทน 2. 1.ความเป็ นมือนตัอาชี พ 2. ความเป็นมืออาชีพ 3. การส่งเสริมความเป็นพลเมือง

ตัวแปรตาม

แปรตาม การมีสตั่ววนร่ วมของประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน

3. การส่งเสริมความเป็นพลเมือง

ระดั บความความสั บความความสั ระดั บระดั ความความสั มพันมมธ์พัพั นนธ์ธ์ ความสั ความสั นธ์ธ์รบระดั บสูสูงมาก ความสั มพัมนพัมธ์พัรนะดั สูะดังบมาก ความสั นธ์ธ์รบระดั ความสั ความสั มพัมนมพัธ์พัรนะดั สูะดังบ บสูง ความสั นธ์รธ์บระดั ะดับบปานกลาง ปานกลาง ความสั ความสั มพัมนพัมธ์พัรนะดั ปานกลาง ความสั นธ์ธ์รบระดั ความสั ความสั มพัมนมพัธ์พัรนะดั ต่ะดัำบ บต่ต่าา ความสัมพันธ์ระดับต่ามาก ความสั ธ์รบะดั ต่ามาก ความสั มพัมนพัธ์รนะดั ต่ำบมาก

หสั ค่าค่สัค่ามาสัประสิ ทธิ์สททหสั พัมนมพัธ์พันนธ์ ธ์ สัมมประสิ ประสิ ธิธิ์ส์สมหสั ±0.81 ถึงง ±1.00 ±0.81 ถึง ถึ±1.00 0.81 1.00 ±0.61 ถึง ถึ±0.80 ±0.61 ถึงง ±0.80 0.61 0.80 ±0.41 ถึง ถึ±0.60 ±0.41 ถึงง ±0.60 0.41 0.60 ±0.21 ถึง ถึ±0.40 ±0.21 ถึงง ±0.40 0.21 0.40 ±0.00 ถึง ±0.20 ±0.00 0.00 ถึถึงง ±0.20 0.20

จากการส ารวจข้อมูอลมูโดยการส่ งแบบสอบถามไปยั งองค์งองค์ กรปกครองส่ วนท้วอนท้ งถิ่นอทังถิ่ว่นประเทศ จานวน 7,850 จากการสำรวจข้ ลโดยการส่ งแบบสอบถามไปยั กรปกครองส่ ทั่วประเทศ จำนวน

จากการส ารวจข้ อมูลโดยการส่ งแบบสอบถามไปยั งองค์เศษ กรปกครองส่ วนท้อองถิ ่นทัอ่วงค์ ประเทศ จานวน 7,850 แห่ง7,850 (ไม่รวมองค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นรูวปนท้ แบบพิ คือ กทม.และเมื องพัทยา) พบว่ กรปกครองส่ แห่ง (ไม่ รวมองค์กรปกครองส่ องถิ่นเศษ รูปแบบพิ คือ กทม.และเมื งพัาทมียา) พบว่ ามีองค์กรวน แห่ง ท้(ไม่ รวมองค์ รปกครองส่ วนท้บมาจำนวน อชุดงถิคิ่นดรูเป็ปนแบบพิ อของจ ทยา)่ส่งพบว่ มีองค์กรปกครองส่ วน องถิ ่นตอบกลั 2,906 ด คิคืดเป็ นกทม.และเมื รอยละ 37.02องพั ของจำนวนแบบสอบถามที ่ส่งไป องถิปกครองส่ ่นตอบกลักวบนท้ มาจ านวน 2,906 รอยละเชุศษ 37.02 านวนแบบสอบถามที ไปทั้งาหมด ท้องถิ่นตอบกลั ทั้งหมดบ มาจานวน 2,906 ชุด คิดเป็นรอยละ 37.02 ของจานวนแบบสอบถามที่ส่งไปทั้งหมด แบบสอบถามที่ส่งไป ทั้งหมด, 100%

แบบสอบถามที่ส่งไป ทั้งหมด, 100% แบบสอบถามที่ได้รับ การตอบกลับ, 37.02%

แบบสอบถามที่ได้รับ การตอบกลับ, 37.02% ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 10.

ที่มา: ทีวิท่มยาลั ฒนาการปกครองท้ องถิน่ อสถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดับความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ องถิอ่นงถิ(ฉบั บสมบู รณ์)ร,ณ์หน้ า: วิทยพัยาลั ยพัฒนาการปกครองท้ งถิ่น สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ ่น (ฉบั บสมบู ), า 10. หน้า 10.

182

สถาบันพระปกเกล้า


178

เทศบาลเมือง, 3.20% เทศบาลตาบล, 29.01% เทศบาลตาบล, 29.01%

เทศบาลนคร, 0.55% อบต., 65.69% อบต., 65.69%

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 11-13.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้ ที่มา:า 11-13. วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 11-13.

รูปที่ 1.2 ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทที่ตอบแบบสอบถาม รูปที่ 1.2 ร้รูอปยละขององค์ วนท้อกงถิ ่นวนท้ แต่อลงถิ ะประเภทที เทียบกับจำนวน เทีกยรปกครองส่ บกับจานวนองค์ รปกครองส่ ว่นนท้ ่น่ตทัอบแบบสอบถาม ่วประเทศ ที่ 1.2 ร้อยละขององค์ กรปกครองส่ แต่อลงถิ ะประเภทที ่ตอบแบบสอบถาม องค์กรปกครองส่ ่นทั่วประเทศ 70.00% วนท้องถิเที ยบกับจานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ 60.00% 70.00% 50.00% 60.00% 40.00% 50.00% 30.00% 40.00%

59.21%

59.21%

53.33%

52.25%

53.33%

52.25%

37.75%

35.80%

37.75%

35.80%

20.00% 30.00% 10.00% 20.00% 0.00% 10.00%

อบจ. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล อบต. 0.00% ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้ พระปกเกล้า, รายงานสเทศบาลเมื ารวจระดัอบงความเป็นเทศบาลต ประชาธิปาบล ไตยท้องถิ่น (ฉบับอบต. สมบูรณ์), หน้า 11-13. อบจ.องถิน่ สถาบันเทศบาลนคร ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 11-13.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 11-13. สถาบันพระปกเกล้า

183

ภาคผนวก

เทศบาลเมือบจ., อง, 3.20% 1.55%

รายงานสถานการณ์

178 จากการวิ จ าแนกตามประเภทองค์กรปกครองส่ ก รปกครองส่ ว นท้ ่ ต อบ จากการวิเเคราะห์ คราะห์ขข้ อ้อมู ล ของแบบสอบถาม ของแบบสอบถาม จำแนกตามประเภทองค์ วนท้ องถิอ งถิ ่นที่ น่ตทีอบ แบบสอบถามกลั มา ามูจำนวนแบบสอบถามที ด้ตอบกลั รับตอบกลั บจากองค์ กกรปกครองส่ นท้ ่นะประเภท แต่ แบบสอบถามกลั บมาเบคราะห์ พบว่พบว่ าขจ้ อานวนแบบสอบถามที ่ได้รจับ่ไาแนกตามประเภทองค์ บจากองค์ กรปกครองส่ วนท้อวงถิ นอแต่งถิ จากการวิ ล ของแบบสอบถาม รปกครองส่ ว ่นท้ อลงถิ ่ น ทีล่ ตะอบ เรียงลำดั จากมากไปน้ อย่สุดโดยมากที ่สุด่ไคืด้อรหองค์ กวารบริ ารส่ วนตำบล เรีแบบสอบถามกลั ยประเภท งลาดับจากมากไปน้ อย าโดยมากที คือองค์การบริ นตาบล รองลงมาคื อรองลงมาคื เทศบาลต เทศบาลเมื อง บมาบพบว่ จานวนแบบสอบถามที ับารส่ ตอบกลั บหจากองค์ กรปกครองส่ วนท้ออาบล งถิเทศบาลตำบล ่นแต่ ละประเภท เทศบาลเมื องวองค์ หารส่วนจังหวัด ซึและเทศบาลนคร ซึ่งมีจำนวนเท่ ากับ451,909, 843,ตามล 93,าดั45บ และ องค์ การบริ ารส่ นจังกหวัารบริ ่งมีกจารบริ านวนเท่ 843, 93, และ 16 คิดเป็อนง เรียงล าดับหจากมากไปน้ อดย และเทศบาลนคร โดยมากที่สุดคือองค์ หารส่ากัวบนต1,909, าบล รองลงมาคื อ เทศบาลต าบล เทศบาลเมื 16 ตามลำดั บ คิดเป็น3.20, ร้อยละ 29.01,ของจ 3.20, 1.55 และ 0.55 ของจำนวนแบบสอบถามที ่รวบรวมได้ ร้องค์ อยละ 65.69, 1.5565.69, และ 0.55 วบรวมได้ การบริ หารส่29.01, วนจังหวัด และเทศบาลนคร ซึ่งมีจานวนแบบสอบถามที านวนเท่ากับ 1,909, ่ร843, 93, 45 และ 16 ตามลาดับ คิดเป็น ที่ 1.1 3.20, ร้อยละขององค์ รปกครองส่ ว่นนท้ ่นแต่ละประเภทที ่ตอบแบบสอบถาม ปที่ 65.69, 1.1 ร้รูอป29.01, ยละขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิานวนแบบสอบถามที แต่อลงถิ ะประเภทที ่ต่รอบแบบสอบถาม เทียบกับจำนวน ร้อรูยละ 1.55 และก0.55 ของจ วบรวมได้ เทียบกับกจรปกครองส่ านวนแบบสอบถามที บทั้งหมด่ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามที อบกลั ทั้งหมด รูปที่ต่ 1.1 ร้อบยละขององค์ วนท้องถิ่น่ตแต่อบกลั ละประเภทที อบจ., 1.55% เทียบกับจานวนแบบสอบถามที ่ตอบกลั เทศบาลนคร, 0.55%บทั้งหมด


179 179 รายงานสถานการณ์

ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามตาแหน่งผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามตาแหน่งผู้ตอบแบบสอบถาม 17.14% 17.14% 55.20%

27.67%

55.20%

ภาคผนวก

27.67%

ปลัด

รองปลัด

ผู้อานวยการ/กอง/นัก

ปลั ด รองปลั ด ารวจระดั ผู้อานวยการ/กอง/นั ก ปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 9-11. ที่มา: วิทีท่มยาลั ฒนาการปกครองท้ องถิน่ สถาบั พระปกเกล้ า, รายงานส บความเป็ นประชาธิ า: วิยทพัยาลั ยพัฒนาการปกครองท้ องถิ่นนสถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 9-11. ที่มา: วิทยาลั นาการปกครองท้ นพระปกเกล้า,จรายงานส ารวจระดั ความเป็นประชาธิ ปไตยท้อวงถินท้ ่น (ฉบั รณ์), หน้ 9-11. ในส่ยพัวฒนของลั กษณะข้องถิอมูน่ ลสถาบั แบบสอบถาม าแนกตามที ่ตั้งบขององค์ กรปกครองส่ องถิบสมบู ่น พบว่ า จา านวน

แบบสอบถามที ่ได้รวับกนของลั การตอบกลั บมาสามารถจั ดจเรีาแนกตามที ยงลาดั บจากมากไปน้ อกยรปกครองส่ คือ ภาคตะวั นออกเฉี ในส่ กอษณะข้ อ มู ล แบบสอบถาม จำแนกตามที ่ ตั้ ง ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อพบว่ งถิ่ นาอ จภาค ในส่วนของลั ษณะข้ มูลแบบสอบถาม ่ตั้งขององค์ วนท้ องถิ ่นยงเหนื านวน พบว่ า่ได้จำนวนแบบสอบถามที รั บ การตอบกลั บบมาสามารถจั ย งลำดั บ จากมากไปน้ อยยงเหนื คื อ14.01,

อ ภาค กลาง ภาคเหนื อรับภาคใต้ ภาคตะวั นตก่ ไ ด้และภาคตะวั ออก โดยคิดเป็นร้ดออเรียยละ 23.19, 14.80, แบบสอบถามที การตอบกลั บมาสามารถจั ดเรียงลนาดั จากมากไปน้ คือ34.51, ภาคตะวั นออกเฉี ภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนือ ภาคกลาง อ ภาคใต้ ภาคตะวันตก นออก โดยคิ้ ดเป็นร้อยละ 6.092 และ 6.57 ของแบบสอบถามที ับภาคเหนื การตอบกลั ทั้งหมดตามล าดัและภาคตะวั แผนภาพต่ กลาง ภาคเหนื อ ภาคใต้ ภาคตะวันตก่ได้รและภาคตะวั นบออก โดยคิดเป็ นบร้ดัองยละ 34.51,อไปนี 23.19, 14.80, 14.01, 34.51, 23.19, 14.80, 14.01, 6.092 และ 6.57 ของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับทั้งหมดตามลำดับ

6.092 และดัง6.57 ของแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลั บทั้งหมดตามลาดับ ดังแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพต่ อไปนี้ ร้อยละของแบบสอบถามที ่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามภูมิภาค ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามภูมิภาค 34.51%

34.51% 6.92% 6.57%

ภาคกลาง

ภาคเหนือ

23.19%

23.19% 14.80% 14.01%

14.80%

6.92% 6.57% 14.01% ภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 13-14. ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

อย่ างไรก็ตาม เมื่อเทียบจานวนแบบสอบถามตามที่ตั้งองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น กับจ านวนองค์กร ที่มา: วิทยาลั องถิน่ สถาบั น่ พระปกเกล้ ากลั , รายงานส ารวจระดั บความเป็ นประชาธิ ปไตยท้่ ไปอด้ไตยท้ งถิรั บ่น อการตอบกลั (ฉบั ณ์), บ ปกครองส่ องถิ ้งหมดในแต่ มิภ าค บ พบว่ า จ านวนแบบสอบถามที จาก ที่มยา:วพันท้ วิฒทนาการปกครองท้ ยาลั ยพั่ นฒทั นาการปกครองท้ อลงถิะภู สถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิ งถิ่นบสมบู (ฉบับรสมบู รหน้ ณ์มา )า, 13-14. อย่หน้ เมื่อเทีย บจอ านวนแบบสอบถามตามที ่ตั้งองค์นออก กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นนกัออกเฉี บจานวนองค์ ภาคเหนื อามีางไรก็ ม13-14. ากทีต่สาม ุด รองลงมาคื ภาคตะวันตก ภาคกลาง ภาคตะวั ภาคใต้ และภาคตะวั ยงเหนือกร ปกครองส่ ว นท้องถิ่น ทั้งหมดในแต่ล ะภูมิภ าค กลั บ พบว่า จ านวนแบบสอบถามที่ได้รั บ การตอบกลั บมา จาก ภาคเหนือมีมากที่สุด รองลงมาคือ ภาคตะวันตก ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 184

สถาบันพระปกเกล้า


ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับ จาแนกตามภูมิภาค (เปรียบเทียบกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาค) 50.00% 40.00%

47.67% 37.34%

ภาคผนวก

60.00%

44.77%

34.20%

35.57%

33.81%

30.00% 20.00% 10.00% 0.00%

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 13-14.

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ จาแนก 2559ตามประเภท หน้า 13-14.

รายได้ ได้แก่ รายได้จัดเก็บเอง รายได้จากเงินจัดสรร และรายได้จากเงินอุดหนุนทั่วไป ,ปรากฎข้อมูลดังนี้ ้ ง นีย้ เมื บรายได้ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ปี ง บประมาณ 2559 จำแนกตาม เปรียทับเที บค่​่ อาต่เปรี าสุดย บเที สูงสุดยและค่ าเฉลีข่ยององค์ ของรายได้ จัดเก็บเอง จาแนกตามประเภทขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ประเภทรายได้ ได้แก่ รายได้จัดเก็บเอง, รายได้ จากเงินจักดรปกครองส่ สรร และรายได้ รายได้ ประเภทองค์ วนท้องถิ่นจากเงินอุดหนุนทั่วไป ปรากฎ อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต. ข้อมูล(บาท) ดังนี้

รายได้จัดเก็บเอง 11,442,138.89 40,804,393.23 2,674,728.56 120,000.00 101,988.46 - ต่าสุด 487,622,490.93 786,053,068.96 554,854,282.98 112,922,560.51 113,143,515.98 - สูงสุด 75,318,284.41 292,512,335.97 44,327,405.03 4,957,031.71 2,065,688.94 - เฉลี่ย รายได้จากเงินจัดสรร 142,606,273.30 145,131,422.51 32,473,432.15 2,121,045.75 1,317,210.26 - ต่าสุด 1,482,560,017.76 1,258,323,771.47 443,120,000.00 482,286,329.58 269,681,551.23 - สูงสุด 463,339,517.27 454,014,010.37 108,219,353.65 26,830,697.99 18,706,276.61 - เฉลี่ย รายได้จากเงินอุดหนุนทั่วไป 45,503,762.00 106,353,595.00 11,413,730.00 1,800,000.00 1,406,721.83 - ต่าสุด 1,320,682,250.00 456,020,000.00 324,000,000.00 223,300,000.00 90,568,718.00 - สูงสุด 174,934,088.77 284,791,498.17 87,708,752.83 17,381,113.70 11,799,202.04 - เฉลี่ย ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 19-20.

สถาบันพระปกเกล้า

รายงานสถานการณ์

อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบจำนวนแบบสอบถามตามที่ตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับจำนวนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในแต่ละภูมิภาค กลับพบว่า จำนวนแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับมา

180 จากภาคเหนือมีมากที่สุด รองลงมาคือ ภาคตะวันตก ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคตะวันออก เฉียดงเหนื โดยคิ47.67, ดเป็นร้44.77, อยละ 47.67, 35.57, 34.20 และก33.81 ขององค์ รปกครอง

โดยคิ เป็นร้ออยละ 37.34, 44.77, 35.57, 37.34, 34.20 และ 33.81 ขององค์ รปกครองส่ วนท้อกงถิ ่นในแต่ละ ส่ ว นท้ อ งถิ น ่ ในแต่ ล ะภู ม ภ ิ าค ตามลำดั บ ดั ง แผนภาพต่ อ ไปนี ้ ภูมิภาค ตามลาดับ ดังแผนภาพต่อไปนี้

185


รายงานสถานการณ์

เปรียบเทียบค่าต่ำสุด สูงสุด และค่าเฉลี่ยของรายได้จัดเก็บเอง จำแนกตามประเภทขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ประเภทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

รายได้ (บาท)

อบจ.

ทน.

ทม.

ทต.

อบต.

- ต่ำสุด

11,442,138.89

40,804,393.23

2,674,728.56

120,000.00

101,988.46

- สูงสุด

487,622,490.93

786,053,068.96

554,854,282.98

112,922,560.51

113,143,515.98

- เฉลี่ย

75,318,284.41

292,512,335.97

44,327,405.03

4,957,031.71

2,065,688.94

- ต่ำสุด

142,606,273.30

145,131,422.51

32,473,432.15

2,121,045.75

1,317,210.26

- สูงสุด

1,482,560,017.76 1,258,323,771.47

443,120,000.00

482,286,329.58

269,681,551.23

- เฉลี่ย

463,339,517.27

454,014,010.37

108,219,353.65

26,830,697.99

18,706,276.61

ภาคผนวก

รายได้จัดเก็บเอง

รายได้จากเงินจัดสรร

รายได้จากเงินอุดหนุนทั่วไป - ต่ำสุด

45,503,762.00

106,353,595.00

11,413,730.00

1,800,000.00

1,406,721.83

- สูงสุด

1,320,682,250.00

456,020,000.00

324,000,000.00

223,300,000.00

90,568,718.00

- เฉลี่ย

174,934,088.77

284,791,498.17

87,708,752.83

17,381,113.70

11,799,202.04

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 19-20.

จากการวิ เ คราะห์ ลั ก ษณะของข้ อ มู ล แบบสอบถาม จำแนกตามวาระการดำรงตำแหน่ ง ของ

นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาพรวมพบว่า นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 45.49) ดำรงตำแหน่งต่อเนื่องมาแล้วไม่เกิน 1 วาระ รองลงมาดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่เกิน 2 วาระ, ตั้งแต่ 4 วาระ และไม่เกิน 3 วาระ โดยคิดเป็นร้อยละ 25.84, 14.87 และ 13.80 ของแบบสอบถามทั้งหมด ตามลำดับ

186

สถาบันพระปกเกล้า


จากการวิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลแบบสอบถาม จาแนกตามวาระการดารงตาแหน่งของนายกองค์กร ปกครองส่ ปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่น่นภาพรวมพบว่ ภาพรวมพบว่า านายกองค์ นายกองค์กรปกครองส่ กรปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่น่นส่วส่นใหญ่ วนใหญ่ (45.49 (45.49ร้อร้ยละ อยละ)ด)ารงต ดารงตาแหน่ าแหน่ง ง ต่อต่เนื อเนื่องมาแล้ ่องมาแล้วไม่ วไม่เกิเนกิน วาระ วาระ1รองลงมาด 1รองลงมาดารงต ารงตาแหน่ าแหน่งมาแล้ งมาแล้วไม่ วไม่เกิเนกินวาระ วาระ4 4ตั้งตัแต่ ้งแต่,วาระ ,วาระ2 2และไม่ และไม่เกิเนกินวาระ วาระ3 3 โดยคิ โดยคิดเป็ ดเป็นร้นอร้ยละ อยละ14.87 14.87,25.84 ,25.84และ และ13.80 13.80ของแบบสอบถามทั ของแบบสอบถามทั้งหมด ้งหมดตามล ตามลาดัาดับบ ร้อร้ยละของแบบสอบถามที อยละของแบบสอบถามที่ได้่ไรด้ับรับตอบกลั ตอบกลับบจากองค์ จากองค์กรปกครองส่ กรปกครองส่วนท้ วนท้องถิ องถิ่น่น จาแนกตามวาระการด งของนายกท้ ร้อยละของแบบสอบถามที ่ได้รับตอบกลัารงต บจากองค์ กรปกครองส่ วนท้อองถิ จาแนกตามวาระการด ารงตาแหน่ าแหน่ งของนายกท้ องถิงถิ่น่นในภาพรวม ในภาพรวม

รายงานสถานการณ์

จำแนกตามวาระการดำรงตำแหน่งของนายกท้องถิ่นในภาพรวม

ภาคผนวก ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), ที่มา: วิทยาลั ยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 21-23. ที่มา: วิทหน้ ยาลัา ย21-23. พัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 21-23.

ร้อร้ยละของแบบสอบถามที รด้ับรับตอบกลั บบจากองค์ กรปกครองส่ ร้อยละของแบบสอบถามที ่ได้รับตอบกลั่ไบด้่ไจากองค์ กรปกครองส่ วนท้ งถิ่น วนท้ อยละของแบบสอบถามที ตอบกลั จากองค์ กอรปกครองส่ วนท้องถิ องถิ่น่น จาแนกตามวาระของนายกองค์ นท้ งถิ กรปกครองส่ จำแนกตามวาระของนายกองค์กกรปกครองส่ อองถิ ่น่นและประเภทขององค์ กรปกครองส่ วนท้อวงถินท้ ่น องถิ จาแนกตามวาระของนายกองค์ กรปกครองส่ รปกครองส่ววนท้ วนท้ องถิ ่นและประเภทขององค์ และประเภทขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น่น

ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 21-23. ที่มา: วิททียาลั นาการปกครองท้ องถิน่ สถาบั พระปกเกล้ า, รายงานส ารวจระดับความเป็ นประชาธิ ปไตยท้ปอไตยท้ งถิ่นอ(ฉบั ณ์), รหน้ ่มา:ยวิพัทฒยาลั ยพัฒนาการปกครองท้ องถิ่นนสถาบั นพระปกเกล้ า, รายงานสำรวจระดั บความเป็ นประชาธิ งถิ่นบสมบู (ฉบับรสมบู ณ์)า, 21-23. หน้า 21-23.

สถาบันพระปกเกล้า

187


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.