~1~
~1~
~1~
แนวคิด บทบาท และปัจจัยความสาเร็จ ในการทางานของ “นักสังคมสงเคราะห์” องค์การบริหารส่วนตาบลนาดิบ อ.ป่าซาง จ.ลาพูน
นางสาวปรีดารัตน์ สีนวนดา เลขทะเบียน 5705615226 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
~1~
อะไรดีๆที่ตาบลนาดิบ อ.ป่าซาง จ.ลาพูน
การฝึกภาคปฏิบัติ 2 การฝึกครั้งสุดท้ายในคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาลัยธรรมศาสตร์ ตลอด ระยะเวลา 4 ปี ที่ได้ศึกษาศาสตร์ องค์ความรู้ แนวคิด เทคนิค ทักษะ ที่อยู่ภ ายใต้กรอบวิชาชีพทางสังคม สงเคราะห์จะได้ถูกงัดมาใช้ แต่ก็ยังเป็นที่สงสัย ฝึก 2 คืออะไร เราต้องทาอะไรบ้าง แล้ว เราต้องเผชิญกับอะไร ตลอดระยะเวลา 2 เดือน จุดประสงค์ในการฝึกครั้งนี้คือ “ชุมชน” ต้องใช้ชีวิต กินอยู่หลับนอนอยู่ภายในเพื่ อให้เห็นถึงวิถีชีวิต ของชาวบ้านอย่างแท้จริง ได้สัมผัสถึงความแตกต่างหลากหลาย ทั้งความเป็นอยู่ แนวคิด ความเชื่อ เชื้อชาติ ภาษาที่แปลกใหม่จากวัฒนธรรมเดิม และที่สาคัญมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นภายใต้การทางานของนัก สังคมสงเคราะห์วิชาชีพ แต่จะมีชุมชนไหนที่มีองค์ประกอบครบเช่นนี้ การค้นหาข้อมูลจึงเป็นปัจจัยสาคัญ ตาบลน้าดิบ อาเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน หนึ่งในหน่วยฝึกทางภาคเหนือ ทีม่ ีความน่าสนใจและตรงกับ ความต้องการที่อยากจะศึกษาเรียนรู้ ประเด็นแรกเลยคือ เป็นหมู่บ้านที่มีจานวนหมู่บ้านทั้งหมด 17 หมู่บ้าน ภายใต้การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลทั้งที่ควรจะเป็นการบริหารงานแบบเทศบาล เนื่องจากเป็น หมู่บ้านขนาดใหญ่ ประเด็นต่อมาคือ เป็นพื้นที่ที่มีการก่อตั้งมามากกว่า 1,400 ปี แสดงให้เห็นถึงความแตกต่าง หลากหลายทางเชื้อชาติ วัฒนธรรม ภาษา ต่อมาเป็นจังหวัดที่มีการส่งออกและผลิตลาไยส่งออกทั้งในและนอก ประเทศเป็นอันดับหนึ่ง นอกจากนั้นยังมีการเลี้ยงและส่งออกไก่ชนสายพันธุ์ดี ไก่ชนเหล่าป่าก๋อยที่มีมูลค่าสูงถึง เจ็ดหลัก และจุดที่น่าสนใจที่สุดคือ เป็นองค์กรที่มีตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ที่ได้รับใบอนุญาตผู้ประกอบ วิชาชีพทางสังคมสงเคราะห์เพียงแห่งเดียวในจังหวัดลาพูน
~1~
เพื่อนผู้ร่วมชะตากรรมในครั้งนี้มีทั้งหมด 6 คน ทั้งที่มาจากศูนย์รังสิต และศูนย์ลาปาง ถือเป็น อีกหนึ่ งความน่ าตื่น เต้น ของการฝึ กในครั้ ง นี้ และ เป็นครั้งแรกขององค์กรที่รับนักศึกษาฝึกงาน จึงเป็น ความแปลกใหม่ ทั้ ง ตั ว ของนั ก ศึ ก ษาและตั ว ของ องค์กรเอง ความกังวลจึงได้เกิดขึ้นตามมาว่า มันจะ รอดหรื อเปล่ า จะแก้ส ถานการณ์ปั ญหาที่อ าจจะ เกิดขึ้น ได้ห รื อไม่ เพราะครั้ งแรกของแต่ล ะคนยั ง ขาดกระบวนการเผชิญ ตัดสินใจการแก้ปัญหาต่าง ๆ แต่ความท้าทายนี้ถือเป็นการฝึกทักษะที่แท้จริง ทั้งด้านการสร้างสัมพันธภาพ การแก้ไขปัญหา การ ท างานร่ ว มกั น ที่ อ าจจะเป็ น การแลกเปลี่ ย นองค์ ความรู้ที่แตกต่างหลากหลาย และที่สาคัญจะได้เห็น กระบวนการท างานของนั ก สั ง คมสงเคราะห์ ที่ ปฏิบัติงานร่วมกับชุมชนที่แท้จริง
“
ใช้ฟรี ค่าน้าค่าไฟก็ไม่ต้องจ่ายมีรถมอเตอร์ไซค์ของ อบต.ให้ยืมใช้ บางวันก็มีกับข้าวฟรีจากการฝึกอบรม หรือการจัดโครงการต่างๆบ้าง มีการแบ่งปันจาก เจ้าหน้าที่ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ถือได้ ว่ า เป็ น การเริ่ ม ต้ น ฝึ ก ที่ ดี แต่ ด้ า นการทดลองกิ น อาหารเหนือนี่คงเป็นที่ลาบากใจมากจริงๆ เข้ามา วันแรกก็เริ่มโหยหา เคเอฟซี ร่างกายต้องการหมู กระทะ กว่าจะหาร้านอาหารตามสั่งได้เรียกได้ว่าขี่ รถจนหน้าสั่น การฝึกงานในสัปดาห์แรกได้เข้าพูดคุยกับ ท่ า นนายก มงคล หมื่ น อภั ย ผู้ บ ริ ห ารที่ ม ากทั้ ง ความสามารถและประสบการณ์ ก ารท างาน จึ ง ทราบถึงความเป็นมาของตาบลน้าดิบ วิถีชีวิตความ เป็นอยู่ ความแตกต่างของผู้คนในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้ เกิดการปรับตัว ผ่านทั้งการพูดคุยและศึกษาข้อมูล จากเอกสารและได้ ป รึ ก ษาเรื่ อ งการการลงพื้ น ที่ ศึกษาของนักศึกษาโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม แรกคื อ บ้ า นน้ าดิ บ หลวง อยู่ ภ ายในบริ เ วณที่ ตั้ ง องค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ และบ้านหนองผ้า ขาว ซึ่งอยู่ห่างออกไปจากองค์การบริหารส่วนตาบล ประมาณ 4 กิโ ลเมตร ก่อนการลงศึ ก ษาชุ ม ชนพี่ แพนได้พากลุ่มนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มลงพื้นที่เพื่อทา การแนะนาตัว แก่ผู้นาชุมชน ซึ่ งได้แก่ ผู้ ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อเป็นการ ประสานงานและฝากประชาสั ม พั น ธ์ใ ห้ ช าวบ้าน ได้รับทราบถึงจุดประสงค์การลงพื้นที่ของนักศึกษา
ความแปลกใหม่เป็น
บ่อเกิดของการเรียนรู้
”
วัน แรกที่เดิน ทางมาถึ ง ได้ รั บ การต้ อ นรั บ และดูแลจากเจ้าหน้าที่อย่างอบอุ่น ความกังวลที่คิด ว่าจะยากลาบากจึงหายไป แต่ขึ้นชื่อว่าชุมชนสังคม ที่ยังมีความเป็นชนบทสูงความเจริญยังไม่ทั่วถึงแต่ก็ มีเครื่องอานวยความสะดวกอยู่บ้าง เช่น 7-11 หรือ เทสโกโลตั ส แต่ ทั้ ง นี้ ต้ อ งเดิ น ทางไกลถึ ง 5 -10 กิ โ ลเมตร โดยรวมแล้ ว การฝึ ก ที่ นี่ ก็ ไ ม่ ถึ ง กั บ แย่ เพราะที่นอนให้เหมือนเป็นบ้านหลังหนึ่ง มีไวไฟให้ ~2~
จุดเริม่ ต้นการเรียนรู้
วันต่อมาได้พบกับ “พี่แพน” นักสังคมสงเคราะห์ชานาญการ อาจารย์ภาคสนามในการฝึกภาคปฏิบัติ ครั้งนี้ วันนี้ได้เห็นการทางานที่ถือเป็นงานใหญ่ของนักสังคมสงเคราะห์ที่สาคัญอีกงานหนึ่งเลยก็ว่าได้ งานที่ว่า คือ การแจกเบี้ยยังชีพ เหมือนจะเป็นงานที่ไม่หนักหนาอะไร แต่ในพื้นที่มีมีหมู่บ้านทั้งหมด 17 หมู่บ้าน และ เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุจึงมีผู้ได้รับเบี้ยทั้งหมด 2,722 ราย การจัดการด้านงบประมาณและการดูแล บริหารงานด้วยนักสังคมสงเคราะห์เพียงคนเดียว ทั้งนี้ยังต้องปฏิบัติงานภายใต้กรอบนโยบายของภาครัฐและ ข้อจากัดด้านระยะเวลา จึงดูเป็นงานที่หนักมาก นอกจากงานแจกเบี้ยยังชีพแล้ว งานของนักสังคมสงเคราะห์ไม่ได้มีเพียงเท่านี้ บทบาทของนักสังคม สงเคราะห์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคือการดูแลจัดการด้านสวัสดิการแก่ กลุ่มเป้าหมายซึ่งได้แก่กลุ่ ม ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ยากไร้ทั้ง 17 หมู่บ้าน ทั้งนี้จึงได้เห็นถึงการทางาน ร่วมกับผู้นาชุมชนที่เป็นผู้ประสานงานหลักระหว่างนักสังคมสงเคราะห์และชาวบ้าน นอกจากผู้นาชุมชนแล้ว การทางานที่ต้องเคารพทั้งกฎขององค์กร ต้องเผชิญกับความหลากหลายของผู้คน วัฒนธรรม ภาษา ระยะเวลา และความเปลี่ ย นของนโยบายภาครัฐ และถูกต้องตามแนวคิด วิธีการ กระบวนการปฏิบั ติงานทางสั งคม สงเคราะห์ผ่านเทคนิค ทักษะอะไรบ้านจึงประสบความสาเร็จในการทางานในระดับองค์กรการปกครองส่วน ท้องถิ่น ดังนั้นเราจะพาไปศึกษาว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่ทาให้พี่แพนประสบความสาเร็จในการทางานภายใต้การ ทางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
~3~
มารูจ้ กั นักสังคมสงเคราะห์กันเถอะ
ประวัติส่วนตัว ชื่อ – ชื่อสกุล
ระวีวรรณ เทพน้อย
วัน เดือน ปี เกิด
15 เมษายน พ.ศ. 2524 อายุ 36 ปี
เชื้อชาติ ไทย
สัญชาติ ไทย
ที่ทางานปัจจุบัน
องค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ เลขที่ 7 หมู่ที่ 7 บ้านน้าดิบหลวง ตาบลน้าดิบ อาเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน 51120
ศาสนา พุทธ
สถานภาพ สมรส
ตาแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน นักสังคมสงเคราะห์ชานาญการ คติประจาใจ
ซื่อสัตย์ เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนรวม บริการด้วยใจ ใช้หลักคุณธรรมนาทาง
นิสัยส่วนตัว
มองโลกในแง่ดี มีน้าใจ ทุ่มเทให้กับงาน รักครอบครัว
~4~
ประวัติการศึกษา
แนวคิดในการทางาน
พ.ศ.2537 ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ชั้ น ประถมศึกษา จากโรงเรียนอรพินพิทยา พ.ศ. 2543 ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จากโรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ พ.ศ. 2545 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จ า ก ค ณ ะ สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทางาน
การทางาน ..ใครๆ ก็อยากให้ เกิดผลงานที่ ออกมาดี หรือการทาหน้าที่ที่ตัวเองได้รับมอบหมาย ออกมาให้ ดี ที่ สุ ด จึ ง จะเรี ย กว่ า ท างานให้ ป ระสบ ความสาเร็จตามที่เราและผู้ บริหารคาดหวังเอาไว้ แต่ ก ารท างานให้ เ กิ ด ผลส าเร็ จ ได้ นั้ น ไม่ ใ ช่ ใ ครก็ สามารถทาได้ จาเป็นต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ เข้ามา กระตุ้นเป็นตัว ช่วยให้คุณประสบความสาเร็จ นัก สั ง คมสงเคราะห์ ใ นองค์ ก รแห่ ง นี้ ก็ เ ช่ น กั น มี ก าร สร้ า งแนวคิ ด ในการท างานที่ จะน าพาตนเองไปสู่ ความสาเร็จ ซึ่งมีดังต่อไปนี้
พ.ศ. 2548
• การคิดบวก การมองโลกในแง่ดี
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2560
ปัจจุบัน
ตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ระดับ 3 กลุ่ ม งานบ าบั ด แก้ ไ ข ฟื้ น ฟู สังกัดสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน จังหวัดนครราชสีมา กรมพิ นิ จ และคุ้ ม ครองเด็ ก และ เยาวชน กระทรวงมหาดไทย ตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ระดับ 4 สานักปลัด องค์การบริหารส่วน ตาบลน้าดิบ อ.ป่าซาง จ.ลาพูน ได้รับใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพ สังคมสงเคราะห์ รายแรก ของ จังหวัด ลาพูนในระดับการทางาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ ชานาญการ สานักปลัด องค์การ บริหารส่วนตาบลน้าดิบ อ.ป่าซาง จ.ลาพูน
เป็นแนวคิดที่สาคัญที่สุดในการทางานของพี่ แพน โดยได้ให้คานิยามแนวคิดนี้ว่า
“หัวเราะให้กับความผิดพลาด ฉลองให้กับความสาเร็จ” เป็ น ส่ ว นช่ ว ยให้ เ กิ ด การท างานได้ อ ย่ า งมี ความสุขมากยิ่งขึ้น เมื่อพบปัญหาหรืออุปสรรค์ต่าง ๆ ก็สามารถก้าวข้ามปัญหาเหล่านั้นได้โดยง่าย และ รวดเร็ว • ทุ่มเทกับการทางานแต่ต้องไม่ทิ้ งครอบครัว ตลอดระยะเวลาของการฝึกภาคปฏิบัติ 2 เดือน ที่ผ่ านมานี้จะเห็ นได้ถึงความทุ่มเทให้ กั บ การ ทางานของนักสังคมสงเคราะห์ เป็นอย่า งมาก โดยคิดอยู่เสมอว่า เวลาทางานไปแล้ว องค์กร จะได้ อ ะไร เห็ น ถึ ง ความตั้ ง ใจ ใส่ ใ จทุ ก รายละเอียด กลับบ้านคนสุดท้ายของฝ่ายเสมอ นอนดึกที่เรีย กได้ว่า เกื อบเช้า เพื่ อเตรี ย มงาน ของวันต่อไป ข้อมูล ที่จัดทาต้ องตรงกับความ เป็นจริงเสมอ นักสังคมสงเคราะห์ เล่าให้ ฟังว่า ~5~
ช่วงแรกที่เข้ามาทางานใหม่ๆ และได้รับหน้าที่ ในการดูแลจัดการเบี้ยยังชีพต่างๆ ตนเองต้อง มาจัดเรียงข้อมูลใหม่ทั้งหมดให้เป็นระบบและ ถู ก ต้ อ งที่ สุ ด ทั้ ง ที่ ช่ ว งนั้ น เป็ น ช่ ว งวั น หยุ ด สงกรานต์ เพื่อนร่วมงานคนอื่นๆออกไปเล่นน้า กั น อย่ า งสนุ ก สนาน แต่ ต นเองกลั บ ออกจาก หน้าคอมไม่ได้เมื่อเสร็จแล้ว จะทาการตรวจซ้า ไปซ้ามาเพราะอยากให้ ข้ อมูล เสร็ จ เรี ย บร้ อ ย และถูกต้องมากที่สุ ด จึ งจะเห็ น ได้ว่าลักษณะ นิ สั ย ข อ ง นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ เ ป็ น ค น ละเอียดอ่อน ทุกขั้นตอนต้องผ่านการตรวจสอบ ซ้า ป้องกันการผิดพลาดและการทางานซ้าซ้อน เนื่องจากแต่ละภาระงานต้องแข่งขันกับเวลาที่ มีอยู่อย่างจากัด “จะมามัวเช้าชาม เย็นชาม ไม่ ไ ด้ ” แม้ จ ะอุ ทิ ศ เวลาส่ ว นตนให้ กั บ งาน แล้วแต่ก็ต้องจัดสรรเวลาให้กับคุณแม่และสามี ไ ด้ อ ย่ า ง ล ง ตั ว เ พ ร า ะ เ ชื่ อ ว่ า เ บื้ อ ง ห ลั ง ความส าเร็ จ ของการท างานแล้ ว ได้ รั บ การ สนับสนุนที่ดีจากครอบครัว หากทุ่มเทกับงาน มากจนละเลยความสาคัญของคนในครอบครัว จะถือได้ว่าเป็นการทางานที่ประสบความสาเร็จ ได้อย่างไร
เพื่ อ นร่ ว มงาน ให้ ค วามเป็ น กั น เองกั บ ผู้ ค น ภายนอกและการแสดงความอ่อนน้อมถ่อมตน กับผู้อาวุโสกว่าจะช่วยให้การทางานมีความสุข และสามารถร่ ว มงานกั น ได้ อ ย่ า งสบายใจ เหมือนดังคากล่าวที่ว่า
“ทาตามหน้าที่เรียกว่าได้รับผิดชอบ ทามากกว่านั้นเรียกว่าน้าใจ” ทาให้ได้รับการยอมรับจากผู้บริหาร ผู้นาชุมชน ชาวบ้านที่มารับบริการและเพื่อนร่วมงาน • เก็บเกี่ยวประสบการณ์และพัฒนาตนเองอยู่ เสมอ หนึ่ ง ในจรรยาบรรณของนั ก สั ง คม สงเคราะห์ ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต นว่ า จะต้ อ งมี ก าร พัฒนาฝึกฝนตนเองอยู่เสมอเพื่อให้เท่า ทันต่ อ ความเปลี่ยนแปลง หาข้อบกพร่องและปรับปรุง ตนเองให้ดีขึ้น ศึกษาหาแนวทางในการพัฒนา ใหม่ ๆ ที่ เ หมาะสมกั บ ตั ว เอง เพื่ อ ให้ เ กิ ด กระบวนการทางานหรือการให้ความช่วยเหลือ ที่รวดเร็วมากยิ่งขึ้น แม้ว่าการทางานในองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นจะรูปแบบการทางานแบบ
• มีน้าใจ ให้กับเพื่อนร่วมงาน และการมีความ
การประสานงานเป็นส่วนมาก แนวทางในการ
อ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน แนวคิ ด ของนั ก สั ง คม สงเคราะห์เชื่อว่าความสาเร็จในหน้าที่การงาน ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับความสูงของตาแหน่ง แต่ การทางานอย่างมีความสุขถือเป็นเส้นทางแห่ง ความส าเร็ จ ในหน้ า ที่ ก ารงาน ไม่ ว่ า จะท า หน้ า ที่ อ ะไรก็ แ ล้ ว แต่ การมี น้ าใจกั บ ทุ ก คน เปรียบเสมือนการแลกเปลี่ยนกัน เมื่อเราช่วย เขา เขาก็ จ ะช่ ว ยเรา เพราะการท างานไม่ สามารถท าได้ เ พี ย งล าพั ง การเป็ น มิ ต รกั บ
พัฒนาตนเองของพี่แพนก็คือ การพัฒนาด้าน การติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ภาคเครื อ ข่ า ยที่ หลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยใช้ทักษะการสร้าง สั มพันธภาพ การอ่อนน้อมถ่อมตน ที่เป็นจุด แข็งของตนเองร่ว มด้ว ย รวมไปถึงการพัฒ นา องค์ความรู้ใหม่ๆที่เกี่ยวข้องกับงานสวัสดิการ สั งคม เช่น กองทุนผู้ สู ง อายุ เงินอุดหนุนเพื่ อ การเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด นโยบายการแจกเบี้ยยัง ~6~
ชีพ ที่มีการปรับเปลี่ยนอยู่เสมอ มาปรับใช้ใน
เข้ารับรับบริการ โดยให้ความไว้วางใจในการให้
การทางาน
ข้อมูล ต่างๆเพื่อประสานการให้ ความช่ว ยเหลื อ นอกจากนั้ น แล้ ว ความซื่ อ สั ต ย์ ยั ง เป็ น การ
ปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จ นั ก สั ง คมสงเคราะห์ เ ชื่ อ ที่ ว่ า งานที่ ดี จ ะ นาไปสู่ความสาเร็จและส่งผลต่อความก้าวหน้าใน หน้าที่การงาน ทั้งด้านรายได้และตาแหน่งที่สูงขึ้น เป็นคานิยามที่ก่อให้เกิดการกระตุ้น ต่อตนเอง หาก เราสามารถรักษาระดับการทางานให้มีผลงานอย่ าง ต่อเนื่องและเพิ่มมากขึ้น ย่อมส่งผลต่อความสาเร็จที่ มากขึ้ น ตามไปด้ ว ย และนั ก สั ง คมสงเคราะห์ ไ ด้ กล่าวถึงปัจจัยทีทาให้ตนเองประสบความสาเร็จใน การทางานมีปัจจัยดังต่อไปนี้
แสดงออกถึงความจริงใจ สามารถตรวจสอบได้ ภายใต้กรอบจรรยาบรรณของนักสังคมสงเคราะห์ และกรอบนโยบายขององค์กร • คานึงถึงผลประโยชน์ “เพราะเชื่อว่าการมองเห็น ประโยชน์ของส่วนรวมก่อนส่วนตนจะทาให้การ ทางานเป็นไปด้วยความรวดเร็ว เรียบร้อย ปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย หรืองานที่รับผิดชอบด้วย ความทุ่มเทและคานึงถึงผลส าเร็จของงาน เมื่ อ เกิ ด ผลส าเร็ จ แล้ ว หน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก ร จะได้ รับคาชื่นชม ซึ่งเหมือนกับตัวเราเราได้รับคาชื่นชม
• มองโลกในแง่ดี มีน้าใจ ซื่อสัตย์
ไปด้วย” นักสังคมสงเคราะห์ถือเป็นหนึ่งในทีมที่
“การมองทุกอย่างในด้านบวก เป็นส่วนหนึ่งที่ทา
ทาการขับเคลื่อนงานไปสู่ความสาเร็จ การทุ่มเท
ให้ การทางาน ณ อบต.น้ าดิบ แห่ งนี้ มีความสุ ข ”
ในการทางาน การเห็ นถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
นักสังคมสงเคราะห์ได้กล่าวเมื่อนักศึกษาสอบถาม
และเกิ ด การปฏิ บั ติ ร่ ว มกั น ท าให้ ง านประสบ
ถึงปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จในหน้าที่การ งาน “การมองโลกในแง่ ดี ท าให้ เ กิ ด การสร้ า ง สัมพันธภาพที่ดีสามารถเข้าถึงได้ง่าย เป็นกันเอง
ความสาเร็จและได้รับคาชื่นชม • บริการด้วยความเต็มใจ ถือเป็นหลักสาคัญในการ ให้บริการของนักสังคมสงเคราะห์ที่ต้องให้บริการ
เมื่อเจอกับปัญหาต่างๆก็สามารถจัดการกับปัญหา
ด้วยความเต็มใจ ปราศจากอคติ เพื่อให้ผู้ใช้บริการ
ได้ง่ายๆ มีความเครียดน้อยกว่าเพราะเชื่อว่าการ
ที่ประสบปัญหาได้รับความพึงพอใจหรือบรรเทา
ทางานที่ตนเองรักการเผชิญกับปัญหาต่างๆคือบท
ความเดือดร้อน “ถ้ามองในมุมกลับกัน เราเป็น
ทดสอบความสามารถของตนเอง นอกจากนั้นยัง
ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ที่ ป ระสบปั ญ หาความ
เป็นการกระตุ้นให้เกิดแนวคิดการทางานใหม่ ๆได้
เดือดร้อน ไม่สามารถหาแนวทางออกในการแก้ไข
ดียิ่งกว่าเดิม” แนวคิดเช่นนี้กรอปกับความมีน้าใจ
ได้ แต่ต้องมาเจอกับนักสังคมสงเคราะห์ที่มีอคติ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่การงาน
เพราะไม่ชื่นชอบในเชื้ อชาติ ข องผู้ ใช้บริ ก าร จึง
ทาให้นักสังคมสงเคราะห์เป็นที่ยอมรับของเพื่อน
ให้บริการด้วยความไม่เต็มใจ ทาหน้าบอกบุญไม่
ร่วมองค์กร ผู้บริหาร ผู้นาชุมชน และชาวบ้านที่ ~7~
รับ ใครจะอยากมาใช้บริการ” นักสังคมสงเคราะห์
เกิดขึ้น มีความเป็นธรรม และเคารพการ
ได้กล่าวให้นักศึกษาได้เห็นภาพด้านการให้บริการ
ตัดสินใจของผู้ใช้บริการเป็นหลัก
มากยิ่งขึ้น
“ •
o ครองงาน การทางานร่ว มกั บบุ ค ลากร ภายในองค์กรและภาคเครือข่าย ผ่านการ รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความกระตือรือร้น นักสังคมไม่ใช่ปลาทูแม่กลอง หน้าต้องไม่งอ คอต้องไม่หกั
มีคุณธรรม
ที่ จ ะพั ฒ นาฝึ ก ฝนตนเองอยู่ เ สมอ และ มองเห็ น ประโยชน์ ส่ ว นรวมมาก่ อ น
”
ประโยชน์ส่วนตน อย่างทุ่มเทและจริงใจ • การแสดงความรั บ ผิ ดชอบ “การรับผิ ด
o ครองตน ความเชื่อที่ว่าการทาดี ย่อมได้ดี
และการรับชอบ เป็นรูปแบบการทางานที่
ท าชั่ ว ได้ ชั่ ว การพึ่ ง พาตนเอง มี ค วาม
ท าให้ ต นเองประสบความส าเร็ จ การ
รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเอง ต่ อ หน้ า ที่ ก ารงาน
รับผิดชอบต่อตนเองนอกจากจะสามารถ
และต่อครอบครัว
รั บ ผิ ด ชอบต่อ ตั ว เองได้ แล้ ว ก็ จะสามารถ
o ครองคน หลั ก พรหมวิ ห าร 4 ซึ่ ง ได้ แ ก่
รับผิดชอบงานส่วนอื่นๆต่อไปได้ เพราะใน
เมตตา คื อ การช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ ให้ ผู้ อื่ น มี
ทุ ก ๆการท างานมั ก จะเจอกั บ ทั้ ง ความ
ความสุขโดยไม่หวังสิ่งใดตอบแทน กรุณา
ผิดพลาดและความสาเร็จอยู่เสมอ เมื่อเรา
คื อ การสงเคราะห์ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ที่ ป ระสบ
ทาผิดเราควรแสดงความรับผิดชอบต่องาน
ปัญหาทางสังคมให้พ้นจากความทุกข์หรือ
นั้นๆเพื่อแสดงถึงสปิริต และมองความผิด
ปั ญ ห า นั้ น ๆ แ ต่ ใ น ค ว า ม ก รุ ณ า นั้ น
นั้ น ให้ เ ป็ น บทเรี ย นในการพั ฒ นาตั ว เอง
จาเป็นต้องมีการวางตัวที่ดี เพื่อไม่ให้เกิด
และป้องกันการทาผิดในครั้งต่อไป แต่เมื่อ
การพึ่งพาอยู่ตลอดเวลาเมื่อต้องเผชิญกับ
รับชอบก็ต้องมีความถ่อมตน และนาความ
ปัญหา มุทิตา คือการยินดีที่ผู้ใช้บริการพ้น
ดีความชอบนั้นเป็นข้อ ควรพัฒ นาตนเอง
จากความทุกข์ภัยหรือปัญหาต่างๆอาจจะ
เพิ่มเติม”
เป็นการให้บริการในรูปแบบการเสนอแนะ
• ตั้งเป้าหมายในการทางาน การตัดสินใจ
ส่ ง เสริ ม หรื อ การสนั บ สนุ น ถึ งแนวทางที่
และการลงมื อ ปฏิบั ติ ร่ ว มกั บหน่ ว ยงาน
ผู้ใช้บริการเลือก อุเบกขา คือการวางตัว
อย่างเป็นทีม การมีเป้าหมายในการทางาน
วางใจเป็นกลาง ต่อปัญหาหรือผลสาเร็จที่
ก่อให้ เกิดการวางแผนเมื่ อมี การวางแผน งานที่จัดทาย่อมมีความเป็นระบบระเบียบ ~8~
ได้ อ ย่ า งปกติ สุ ข จึ ง สรุ ป ได้ ว่ า การใช้ ท ฤษฎี ก าร เรี ย นรู้ ก ลุ่ ม มนุ ษ ยนิ ย มมาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ ประกอบการทางานที่ดีที่ อัน จะนาไปสู่ ปัจจัยแห่ ง ความส าเร็ จ ในหน้ า ที่ ก ารงาน อี ก ทั้ ง การน าองค์ ความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาประยุกต์ใช้ในการทางาน ทั้ง ด้ า นหลั ก การ วิ ธี ก ารทางสั ง คมสงเคราะห์ และ กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
และสาเร็จได้ในที่สุด เมื่อมีเป้าหมายแล้ ว ย่ อ มต้ อ งมี ก ารตั ด สิ น ใจก่ อ นที่ จ ะลงมื อ ปฏิ บั ติ ต ามแผนงานและเพื่ อ ให้ เ กิ ด ผล สาเร็จดังที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ โดยใช้แนวคิด การบริหารแบบ 4M ได้แก่ คน (Man) วัสดุ (Material) เงิน (Money) และ การจัดการ (Management) หากขาดปั จ จั ย ใดปั จ จั ย
• แนวคิด การพัฒนาชุมชนแบบพึ่งตนเอง
หนึ่งอาจจะไม่สามารถดาเนินการ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิค ทักษะที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน
ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้า และคนอื่น ๆ .2534: 18 ได้ กล่าวว่า ชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่มีความตื่นตัวใน การที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุ มชนของตนมาก ขึ้น การกระจายอานาจลงสู่ชุมชนทาให้การพัฒนา ชุมชนขึ้นอยู่กับชาวบ้านในท้องถิ่น ดังนั้นจึงต้องมีผู้ ที่ทาหน้าที่สนับสนุน ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับแนวคิด และโครงการ วิชาการก็คือนักสังคมสงเคราะห์ ใน ชุมชน บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในชุมชนคือ การกระตุ้ น ให้ ช าวบ้ า นได้ รู้ ได้ เ ข้ า ใจ ถึ ง แนวคิ ด หลักการวิเคราะห์ ปัญหาของชุมชน และให้เกิดการ ตระหนักว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาร่วมกันของ ทุกคนในชุมชน มิใช่ของคนใดคนหนึ่ง การกระทา เช่นนี้จะทาให้ชาวบ้านมีความรู้สึกว่าตนเองได้เข้า มามี ส่ ว นร่ ว มในการอภิ ป ราย ถกเถี ย ง พิ จ ารณา ปัญหาต่างๆ ในชุมชนของตนเองด้วย จะรู้สึกร่วม รับผิดชอบในการดาเนินโครงการ เหมือนเป็นปัญหา ของตนโดยแท้จริงการพัฒนาชุมชนไม่ว่าจะเป็นการ พัฒนาด้วยการจัดกิจกรรมในด้านใดย่อมตั้งอยู่บน พื้นฐานการสนับสนุน ให้เกิดการพึ่งตนเองได้เ ป็น ประการสาคัญ หากสิ่งใดเกินกว่าความสามารถของ ชาวบ้ า นจนเกิ น ไป เช่ น ด้ า นวิ ช าการและวั ส ดุ ที่
• ทฤษฎีมนุษยนิยม (H u m a n i s m) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) นักคิดกลุ่มมนุษยนิย ม ให้ความสาคัญของการเป็น มนุ ษย์ และมองมนุ ษย์ ว่ามีคุณค่า มีความดีงาม มี ความสามารถ มีความต้องการ และมีแรงจูงใจภายใน ที่ จ ะพั ฒ นาศั ก ยภาพของตน หากบุ ค คลได้ รั บ อิ ส รภาพและเสรี ภ าพ มนุ ษ ย์ จ ะพยายามพั ฒ นา ตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ดังนั้นแล้วการมองเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่มี ศักดิ์ศรี ต้องได้รับการเคารพอย่างเท่าเทียมกันโดย ไ ม่ แ บ่ ง แ ย ก ช น ชั้ น ฐ า น ะ เ ชื่ อ ว่ า ม นุ ษ ย์ มี ความสามารถที่ จ ะพั ฒ นาตนเองได้ เพราะการ ทางานสั งคมสงเคราะห์ จ าเป็ น ต้องปฏิบั ติงานกับ บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทั้ ง เชื้ อ ชาติ ภาษา ความคิด ความสามารถ ฐานะ ความเป็นปัจเจกชน ที่ แ ตกต่ า งกั น ทั้ ง ความคิ ด พฤติ ก รรม นั ก สั ง คม สงเคราะห์หรือผู้ปฏิบัติงานกับกลุ่มคนเหล่านี้จึงต้อง ให้ความสาคัญกับความเป็นมนุ ษย์ เพื่อส่งเสริมให้ บุคคลเหล่านี้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมแวดล้อม ~9~
จาเป็น นักสังคมสงเคราะห์และภาคีเครือข่ายก็จะ เข้าให้การช่วยเหลือเพื่อให้โครงการหรือกิจ กรรม บรรลุ วัตถุป ระสงค์ด้ว ยดี โดยวิธีการ “ทางานกับ ประชาชน (work with people) • แนวคิดการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม นันทิยา หุตานุวัตร และณรงค์ หุตานุวัตร (2546) ได้กล่าวไว้ว่า การมีส่วนร่วมเกิดจาก แนวความคิดในการพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการ ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งคือ กลุ่มชาวบ้านในชุมชนได้มีโอกาสได้แสดงทัศนะและ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ ของประชาชน รวมถึงมีการนาความคิดเห็นดังกล่าว ไปประกอบการพิจารณา กาหนดนโยบายและการ ตัดสินใจของรัฐ ประกอบด้วยการให้ข้อมูลข่าวสาร ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การเปิดรับความคิดเห็นจาก ประชาชน การวางแผนร่วมกัน และการพัฒนา ศักยภาพของประชาชนให้สามารถเข้ามามีส่วนร่วม ได้โดยมีหลักการดังนี้คือ
การท างานร่ ว มกั น ก็ อ าจจะท าให้ ม องไม่ เ ห็ น ถึ ง ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่เกิดการแก้ปัญหาร่วมกัน ไม่มี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันก็จะทาให้ไม่สามารถ เข้าไปจัดทาโครงการหรือกิจกรรมต่างๆได้ รวมไป ถึงอาจจะไม่ตรงตามความต้องการที่อยากให้จัดขึ้น เช่น การจัดกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ มีการวางแผน ร่วมกับประธานผู้สูงอายุของแต่ละหมู่บ้านในการ สอบถามถึงปัญหาและความต้ องการ แบ่งหน้ า ที่ การด าเนิ น งาน การเสนอแนะข้ อ คิ ด เห็ น ต่ า งๆ ร่วมกันโดยเคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกันอีกทั้ง ยั ง ค านึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของกลุ่ ม และ ท้ายที่สุดคือบรรลุวัตถุประสงค์ของการทางานหรือ การทากิจกรรมร่วมกันโดยสามารถตรวจสอบ
โดยสรุ ป หลั กการพัฒ นาชุมชนที่ส าคัญ คื อ การช่ ว ยเหลื อ ตนเองและการพึ่ ง พาตนเองของ ชาวบ้ า น อาจจะมี ก ารดึ ง การมี ส่ ว นร่ ว มของ หน่วยงานภาครัฐ เข้ามาช่วยผ่านการดึงทรัพยากร ท้องถิ่นและการประสานกับทรัพยากรภายนอกร่วม ด้วย เพื่อให้เกิดการมองเห็นภาพรวม บนฐานของ การเคารพวิถีวัฒนธรรมประเพณี เน้นการให้ชุมชน เป็ น ผู้ ตั ด สิ น ใจในการเปลี่ ย นแปลงและเคารพใน ศักดิ์ศรี ศักยภาพของการตัดสินใจ ซึ่งการทางาน ของนักสังคมสงเคราะห์ในการทางานร่วมกับชุมชน จ าเป็ น ต้องมีแ นวคิ ดนี้ เพื่ อ น ามาประกอบกั บ การ ทางาน เนื่องจากการทางานร่วมกับชุมชนหากขาด ~ 10 ~
บทบาทการทางานของนักสังคมสงเคราะห์
บทบาทด้านการปฏิบัติงานหลักและปฏิบัติหน้าที่ ตามนโยบายของหน่วยงานหรือองค์กร ด้านการปฏิบัติงาน ในด้ า นการปฏิ บั ติ ง านของนั ก สั ง ค ม สงเคราะห์จะมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการทาง สังคมสงเคราะห์ แบบรายบุคคล แบบกลุ่มชน และ การพัฒนานโยบาย โดยขั้นตอนแรกคือมีการสืบค้น ข้ อ เท็ จ จริ ง การแสวงหาข้ อ มู ล ผ่ า นทั ก ษะการ สังเกต การสัมภาษณ์ การเยี่ยมบ้าน เพื่อมาประเมิน วินิ จ ฉัย ก่อนจะวางแผนร่ ว มกับ เพื่อนร่ ว มองค์กร หรือทีมสหวิชาชีพอื่นๆ และดาเนินการช่วยเหลื อ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทั้งตัวบุคคล ครอบครัว กลุ่ม ชน และชุมชน ได้รับบริการที่
เหมาะสม ด้านต่อมาคือ การให้คาปรึกษา แนะน า ช่ ว ยเหลื อ บ าบั ด ป้ อ งกั น และพั ฒ นา กลุ่ ม เป้ า หมายให้ พ้ น จากความเสี่ ย งและพั ฒ นา ตนเองให้อยู่ในสังคมที่มีความแตกต่างหลากหลาย ได้อย่างปกติสุข ต่อมาคือการ ดาเนินงานช่วยเหลือ ร่ว มกับ ภาคีเครือข่าย ผู้ นาชุมชน จึงมีทักษะการ ประสานงานและทางานร่วมกันอย่างเป็นองค์รวม และสุดท้ายคือการประเมินผลและติดตามผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านการเยี่ยมบ้าน การประเมินจากผู้นา ชุมชน นอกจากนั้นแล้วยังมีการปฏิบัติงานในด้าน การพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ให้กลุ่มเป้าหมายมี คุณภาพชีวิตที่ดีผ่านการส่งเสริมด้านสวัสดิการแก่ ผู้ รับการสงเคราะห์ และกลุ่ มเป้าหมายอื่นๆ ให้ มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เหมาะสม สามารถพึ่งพาตนเอง ได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งได้แก่ เบี้ยยัง ชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการ เลี้ ย งดู เ ด็ ก แรกเกิ ด การขั บ เคลื่ อ นกลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ
~ 11 ~
เพื่อให้เกิดการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น และ ด้านต่อมาคือการศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล ทางวิชาการ สถานการณ์ เพื่อวางแผนแนวทางการ ช่ ว ยเหลื อ และพั ฒ นาก าหนดนโยบายให้ ร ะบบ สวัสดิการและงานสั งคมสงเคราะห์มีประสิทธิภาพ และเป็ น ที่ รู้ จั ก ของชาวบ้ า นมากขึ้ น และศึ ก ษา เทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการทางาน ทางสังคมสงเคราะห์ได้ดีขึ้น
นอกจากนั้ น ยั ง ให้ บ ริ ห ารในด้ า นจั ด ฝึ ก อบรม ถ่ า ยทอดความรู้ ด้ า นการจั ด สวั ส ดิ ก าร สังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ บุคลกร ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่ว ไป เพื่ อ พัฒนาศักยภาพและองค์ความรู้ในพื้นที่ หน่วยงาน ชุมชน และบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายโดยรวม เช่น การ ทากิจกรรมพัฒนาศักยภาพของชมรมผู้สูงอายุ
บทบาทด้านการให้บริการ
บทบาทด้านการวางแผน
บทบาทด้ า นการให้ บ ริ ก ารของนั ก สั ง คม สงเคราะห์ประจาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะ เป็นด้านการให้คาชี้แนะ แก้ไขปัญหา ให้บริการทาง วิชาการแก่เรื่องที่มีความซับซ้อน ต่อบุคคล ทั้งภาค ประชาชน ผู้นาชุมชน หน่วยงานและองค์กรต่างๆ เพื่อแก้ไข พัฒ นาความรู้ และน าไปปรั บ เป็นแนว ทางการแก้ไขปัญหาแก่ตนเอง และมีคุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้น นอกจากนั้นยังมีการให้บริการด้านการรับขึ้น ทะเบียนผู้พิการ และขึ้นทะเบียนอุดหนุนเด็กแรก เกิด โดยมีการจัดการระบบฐานข้อมูล สถิติ เอกสาร สื่อและคู่มือต่างๆที่เกี่ยวกับงานสวัสดิการและงาน สั งคมสงเคราะห์ เพื่อสนั บ สนุ น ให้ เกิดการเรียนรู้ และเกิ ด ประโยชน์ ใ นการบริ ห ารจั ด การด้ า นการ ช่ ว ยเหลื อ แก้ ไ ขปั ญ หาของครอบครั ว และชุ ม ชน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บทบาทของนั ก สั ง คม สงเคราะห์ คื อ ชี้ แ จงถึ ง ข้ อ มู ล ที่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารต้ อ ง รับทราบ พร้อมทั้งการจัดเตรียมเอกสารที่จะนามา ขึ้นทะเบียน ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนหรือสถานที่ที่ ผู้ใช้บริการต้องไปติดต่อ รวมไปถึงการส่งมอบข้อมูล ด้ า นสถิ ติ หรื อ ข้ อ มู ล เอกสารให้ แ ก่ ก ลุ่ ม ผู้ บ ริ ห าร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หนึ่ ง ในกระบวนปฏิบัติ ง านของนัก สั งคม สงเคราะห์แล้วมีขั้นตอนการวางแผน ซึ่งอาจจะเป็น การวางแผนการให้ความช่วยเหลือรายบุคคลที่นัก สังคมสงเคราะห์ให้การช่วยเหลือ และการวางแผน ร่ ว มกั บ ที ม สหวิ ช าชี พ อื่ น ๆ ตามแผนงานหรื อ โครงการของหน่วยงาน อีกทั้งยังเสนอแนะวิธีการ แก้ไข ปรับปรุงงานสังคมสงเคราะห์เพื่อให้เกิดการ พัฒนา ช่วยเหลือผู้ใช้บริการได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
~ 12 ~
บทบาทการด้านการประสาน การประสานงาน หมายถึง การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล องค์กร เพื่อให้เกิดการทางานร่วมกัน ไม่ ว่าจะเป็นการช่วยเหลือ การติดต่อ การนัดหมาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน และสามารถดาเนินงานที่ ตั้งเป้าหมายไว้ได้อย่างสาเร็จลุล่วง การทางานของนักสังคมสงเคราะห์ก็เช่นกัน “เพราะทุกการทางานไม่ สามารถทาได้เพียงลาพัง การมีเครือข่ายจึงเป็นสิ่งที่จาเป็น และสิ่งที่จาเป็นมากกว่าคือการประสานงาน ในการ ดาเนินการขั้นตอนต่างๆของกระบวนการทางสังคมสงเคราะห์จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ทักษะการประสานงาน เนื่องจากเป็นสื่อกลางระหว่างองค์กร หน่วยงานและชุมชน การประสานงานจึงเป็นตัวประสานความเข้าให้ ตรงกันและปฏิบัติงานลุล่วงเป้าหมาย หากขาดทักษะการประสานงานไปแล้ว แผนการดาเนินงานก็อาจจะไม่ สามารถขับเคลื่อนไปร่วมกันได้
~ 13 ~
มุมมองของผู้บริหารที่มตี อ่ งานสังคมสงสงเคราะห์ “สั ง คมคื อ การอยู่ ร่ ว มกั น สงเคราะห์ คื อ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ งานสั ง คม สงเคราะห์จึงเป็นการช่วยเหลือของคนในชุมชน กลุ่มเป้าหมายคือตั้งแต่เกิ ดจนตาย รูปแบบการทางานคือเป็นผู้รวบรวมและจาแนกข้อมูล เป็นผู้ส่งเสริม เป็นผู้ช่วยเหลือ และนักสงคมสงเคราะห์ท้องถิ่นเปรียบเสมือนนักประสานนาเอางบประมาณหรือ ทรัพยากรที่มีมา จัดสรรเพื่อเกิดคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชน ผู้ให้คาปรึกษารวม ไปถึงการเป็นผู้ตรวจสอบผ่านทักษะการสัมภาษณ์ การเยี่ยมบ้าน และนาปัญหาที่พบ - นายมงคล หมื่นอภัย นายกองค์การบริหาร มาปรับปรุงแก้ไขด้วยความรวดเร็ว และขยายบทบาทการทางานให้ครอบคลุมทั่วทุก ส่วนตาบลน้าดิบ กลุ่มเป้าหมาย”
“ งานสังคมสงเคราะห์ คือการช่วยเหลือกลุ่มผู้เปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็ก ผู้พิการ เมื่อมีนักสังคมสงเคราะห์ทาให้เกิดการช่วยเหลือที่ถูกต้องตาม กระบวนการมากขึ้น เพราะในอดีตดิฉันเป็นผู้ดูด้านการช่วยเหลือผูเปราะบาง เหลานี้แต่อาจจะเป็นการปฏิบัติหน้าที่อาจจะไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการมากนัก เมื่อเห็นถึงการทางานของนักสังคมสงเคราะห์แล้วคิดว่าเป็นสิ่งที่ดี เพราะงาน สังคมสงเคราะห์เปรียบเสมือน การต่อแขน ต่อขา ให้กับกลุ่มผู้เปราะบางได้มี - นางสาววิราภรณ์ ตันสม รองนายกองค์การบริหาร ส่วนตาบลน้าดิบ
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ”
มุมมองของผูน้ าชุมชนทีม่ ีต่องานสังคมสงสงเคราะห์ “งานสังคมสงเคราะห์เป็นงานที่ช่วยเหลือกลุ่มเด็กด้อยโอกาส คนแก่ คนพิการ คนยากจน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่นการเยี่ยมบ้าน การสร้าง บ้าน การสงเคราะห์ช่วยเหลือด้วยเงิน การให้คาแนะนา เมื่อทางานร่วมกัน ทาให้เห็นถึงการทางานและมีความเข้าใจมากขึ้น เมื่อมีผู้ประสบปัญหาใน หมู่บ้าน กระผมก็จะทาการประสานไปยังนักสังคมสงเคราะห์เพื่อเข้ามา ตรวจสอบและช่วยเหลือร่วมกันต่อไป” ~ 14 ~
- นายศรายุทธ จันกุนะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านหนองผ้าขาว
มุมมองของเจ้าหน้าทีท่ ี่มีตอ่ งานสังคมสงสงเคราะห์ รูปหัวหน้ ากองช่ าง
- นายณรงค์ ตันไชยา หัวหน้ากองช่าง
“งานสังคมสงเคราะห์เป็นหน่วยงานวิชาชีพที่คอยให้ความช่วยเหลือ แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ผู้ที่ประสบปัญหาความเดือดร้อน การทางานร่วมกับ หน่วยงานอื่นๆ มีบทบาทในด้านการประสานงาน เพื่อดาเนินการให้ความ ช่วยเหลือแนะนาแนวทางแก้ไข ซึ่งงานของนักสังคมสงเคราะห์และกองช่างมี การประสานงานการให้ความช่วยเหลือส่งเสริมด้านที่อยู่อาศัย ประเมินราคา ตรวจสอบสั่งก่อสร้าง การมีตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ในองค์กรแห่งนี้ถือว่าดี มาก ทาให้เกิดการช่วยเหลือเสนอแนวทางแก้ไขและดาเนินการอย่างถูกวิธี”
“งานนักสังคมสงเคราะห์เป็นการช่วยเหลือกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ผู้ ประสบปัญหาทางสังคม รวมไปถึงครอบครัว และชุมชน ที่มีปัญหาด้านการ ดารงชีวิต ให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น มีบทบาทการทางานในด้านการประสานงาน ทาให้กระบวนการทางานเก็บข้อมูลที่ละเอียดอ่อนได้ดีกว่าวิชาชีพทั่วไป แต่ยัง อยากให้มีการพัฒนางานด้านนี้ให้เพียงพอต่อความต้องการและภาระงานที่มี จานวนมากขึ้น เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในอนาคต” - นางสาววราพร ต๊ะแรง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
มุมมองของชาวบ้านทีม่ ีตอ่ งานสังคมสงเคราะห์ “งานสังคมสงเคราะห์เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน ด้วย การดูแลด้านปัจจัยสี่ ก่อนที่จะหาแนวทางในการช่วยเหลือระยะยาว เพื่อให้เกิดการ ช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่ใช่แค่การส่งเสริมทุนทรัพย์ แต่เป็นการส่งเสริมด้านคุณภาพชีวิตให้มี ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น”
- ปาริชาติ จันกุนะ -
“งานสังคมสงเคราะห์มีไว้เพื่อช่วยเหลือผู้คนที่มีความยากจน เช่น การให้เงิน สงเคราะห์ การสร้างบ้าน การประสนงานกับสามีซึ่งเป็นส.อบต.ในการทางานร่วมกัน เพื่อช่วยให้คนยากจนมีชีวิตที่ดีขึ้น ” - กัลยาณี ทองเพ็ญ -
~ 15 ~
ปัญหาจุดเริม่ ต้นของการพัฒนา
พัฒนา การปรับตัว ปรับอารมณ์ของมนุษย์ทุกคน
ผลกระทบต่อเวลาส่วนตัวหรือเกิดเป็นพอกหางหมู ได้ ซึ่ ง ผลกระทบที่ พ บในชี วิ ต ประจ าวั น คื อ มี เ วลานอนน้ อ ย กรอปกั บ ลั ก ษณะนิ สั ย ที่ มี ค วาม ทุ่มเทให้กับงาน ปัญหานี้จึงกระทบกับเวลาส่วนตัว
ไม่ใช่ความเก่งของใคร แต่ใครผ่านหรือเผชิญกับ
• จานวนบุคลากรไม่เพียงพอต่อภาระงาน
ปัญหาเหล่านี้ไปได้คือคนที่เก่ง การต่อสู้ด้วยความ
เนื่องจากเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทาให้มี ข้อจากัดการงบประมาณในการจ้างบุคลากรหรื อ ต าแหน่ ง ของบุ ค ลากรที่ จ ะมาช่ ว ยแบ่ ง เบาการ ท างาน โดยเฉพาะอั ต ราต าแหน่ ง ของนั ก สั ง คม สงเคราะห์ ต่อจานวนประชากรทั้ง 17 หมู่บ้านไม่ สอดคล้องกัน ทั้งนี้แม้จะมีตาแหน่งนักพัฒนาชุมชน ก็ตามแต่ก็ยังไม่ส ามารถรอรับกับปัญหาที่มีความ หลากหลายจากการทางาน
ในทุ ก ๆการท างานย่ อ มมี ปั ญ หา อุ ป สรรค ดังนั้น ปัญหา อุปสรรค เป็นเรื่องธรรมชาติที่เกิด เป็นธรรมดา เปรียบเสมือนเป็นเครื่องมือในการ
พยายาม สติ ปั ญ ญา ก่ อ ให้ เ กิ ด ทั ก ษะในการ แก้ปัญหา มีทางเลือก ทางออก ที่ดี ๆ หลายคนมี การฝึ กฝนพั ฒ นาตนเองเพื่ อเตรี ย มความพร้ อ ม พร้อมในการ เผชิญหน้ากับปัญหาผ่านการเรียนรู้ การหาประสบการณ์ ลองคิด ลองทา ศึกษา หา ความรู้ หาปัญหาที่จะฝึกแก้ ฝึกพัฒนา สนุกและมี ทัศนคติที่ดีกับการเจอปั ญหา ที่ เรียกว่า ท้าทาย เมื่อทาได้คือรางวัล คือความภาคภูมิใจ นักสังคม สงเคราะห์อย่างพี่แพนก็เช่นกัน ปัญหาอุปสรรคที่ เข้ า มาในการท างานที่ มี ค วามหลากหลาย โดย สามารถจาแนกได้เป็นประเด็นดังต่อไปนี้ • ภาระงานที่มีจานวนมากและเร่งด่วน เนื่องจากภาระงานที่ได้รั บ มอบหมายมี ทั้ ง งาน ตามหน้ าที่และงานที่ได้รั บ มอบหมายวันต่อวัน ที่ เป็นนโยบายหรือเอกสารเร่งด่วน ที่ในบางครั้งมีการ ดาเนินการหรือโครงการไปแล้วกลับมีการปรับแก้ กรอบนโยบายจึงส่งผลให้กระทบต่องานหรือตาราง อื่ น ๆที่ ไ ด้ ว างแผนไว้ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น หมู่ บ้ า นที่ มี ประชากรเป็นจานวนมาก ทาให้เกิดการทางานทับ ซ้อน งานจึ งมีมากขึ้น เรื่ อยๆ หากขาดการจัดการ หรือการบริหารเวลาให้ดีก็อาจจะทาให้เกิด
• ความแตกต่างหลากหลาย เปรียบเสมือนข้อท้าทายอีกอย่างหนึ่งของการ ทางานในพื้นที่ที่มี ความแตกต่า งหลากหลายทาง วัฒ นธรรม ที่มีทั้งกลุ่ มชาติ พันธุ์ ชนเผ่ า คนเมื อ ง การสื่ อ สารจึ ง อาจจะเป็ น อุ ป สรรคในการท างาน เล็ กน้อย และในบ้างครั้งทาให้ ต้องมีการศึกษาถึง ประเพณี กรอบปฏิบัติของกลุ่มคนเหล่านี้ก่อนที่จะ ดาเนินการช่วยเหลือเพื่อให้สอดคล้องกับประเพณี วิถีปฏิบัติของแต่ละชนชาติ ดังนั้นจึงจะเห็นได้ว่า ปัญหาอุปสรรคเป็นส่วน หนึ่ ง ในการพั ฒ นาตนเองให้ เ กิ ด องค์ ค วามรู้ ห รื อ แนวทางใหม่ๆในการหาทางออกร่วมกันกับองค์กร ชุมชนอย่างเป็นองค์รวมแบบมีส่วนร่วม
~ 16 ~
คุณภาพชีวิตที่เปลีย่ นแปลงไปของผูใ้ ช้บริการจากงานสังคม สถานการณ์ของการช่วยเหลือในงานสังคม สงเคราะห์ในปัจจุบัน หน่วยงานส่วนมากมีการ จัดการให้ความช่วยเหลือผู้ใช้บริการ แต่ความ ซับซ้อนของปัญหาอาจทาให้บริการที่มีอยู่เดิมไม่ พอเพียง หรือตรงกับประเด็นความต้องการ การ พัฒนาริเริ่มบริการใหม่เพื่อนามาตอบสนองต่อความ ต้องการหรือปัญหาที่เกิดขึ้นอาจเป็นไปด้วยความ ยากลาบากเรื่องงบประมาณ หรือผู้เชี่ยวชาญในการ ให้บริการนั้นๆ ทาให้เกิดการนาเอาแหล่งทรัพยากร หรือบริการที่มีอยู่แล้วเป็นหลักในการช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาให้มีความเหมาะสมกับการใช้บริการ มากกว่าการใช้ร่วมกับปัญหาหรือความต้องการที่ แท้จริงของผู้ใช้บริการ พร้อมทั้งแสวงหาบริการหรือ ทรัพยากรทีม่ ีอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง หากไม่มีหรือมีแต่ ขาดคุณภาพน้อยอาจะต้องมีการสร้างหรือปรับปรุง แก้ไขบริการ ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับ ปัญหาหรือความต้องการของผู้ใช้บริการ ทั้งนี้เห็น ได้จากการวิเคราะห์ผลงานที่ผ่านมาของการ ปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์ในองค์กรทั้งด้าน การให้บริการทั้งวิธีการทางสังคมสงเคราะห์เฉพาะ ราย วิธีการสังคมสงเคราะห์กลุ่มชน และการจัด ระเบียบชุมชน โดยสามารถจาแนกรายละเอียดได้ ดังต่อไปนี้
เดื อ ดร้ อ นด้ า นค่ า ครองชี พ ได้ รั บ การให้ ค วาม สงเคราะห์ ช่ ว ยเหลื อ ตามขั้ น ตอนกระบวนการทางสั ง คม
วิธีการทางสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย เมื่ อ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเข้ า รั บ บริ ก ารกั บ นั ก สั ง คม สงเคราะห์แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือมี
คุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มผู้พิการ ผู้ สู ง อายุ ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ย และผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ความ
สงเคราะห์ เช่น การสร้างสัมพันธภาพ การยอมรับ ความแตกต่าง การยอมรับการตัดสินใจต่างๆหรือ การส่งต่อการให้บริการไปยังภาคีเครือข่ายต่างๆ จน สามารถบรรเทาหรือแก้ไขปัญหาความเดือนร้อน ของปั ญ หาหรื อ ความต้ อ งการที่ ก าลั ง เผชิ ญอยู่ ได้ ผ่ า นการช่ ว ยเหลื อ ด้ า นเงิ น สงเคราะห์ การให้ คาปรึกษาเพื่อรับฟังปัญหาเพราะผู้ ใช้บริการบาง รายต้องการแค่ใครสักคนที่เข้าใจตนเอง ผ่านการรับ ฟังเรื่องราวและเก็บเรื่องราวเหล่านั้นเป็นความลับ ด้านการจัดการปัญหาหรือ ความต้ องการก็ มี แ นว ทางการช่ ว ยเหลื อ ที่ เ ป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น มี รอยยิ้ม มีเสียงหัวเราะ มีการแสดงออกทางสีหน้า ท่ า ทางที่ บ่ ง บอกถึ ง ความสุ ข จึ ง ถื อ ได้ ว่ า การ ให้ บริการตามวิธีก ารสั งคมสงเคราะห์ เ ฉพาะราย ประสบความสาเร็จ วิธีการสังคมสงเคราะห์กลุ่มชน การให้บริการตามวีการสังคมสงเคราะห์กลุ่มชน ของนักสั งคมสงเคราะห์ จะเป็นในรูปแบบ Focus Group เช่ น กลุ่ ม หรื อ ชมรมผู้ สู ง อายุ ผ่ า น ทั ก ษะ เทคนิค กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์เช่น การ สร้างการมีส่วนร่วม การกระตุ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม ศั ก ยภาพของกลุ่ ม โดยที่ นั ก สั ง คมสงเคราะห์ จ ะมี บทบาทเป็ น ผู้ ป ระสานงานให้ มี ก ารขั บ เคลื่ อ น กิ จ กรรมต่ า งๆตามที่ ไ ด้ มี ก ารวางแผนและการ ตั ด สิ น ใจของสมาชิ ก กลุ่ ม พร้ อ มทั้ ง มี ก ารสร้ า ง กระบวนการมีส่วนร่วมผ่านการแสดงความคิดเห็น การยอมรับและเคารพในศักดิ์ศรี ความสามารถของ
~ 17 ~
แต่ ล ะบุ ค คล เชื่ อ มั่ น ในศั ก ยภาพของกลุ่ ม ที่ จ ะ สามารถขั บ เคลื่ อ นการท างานร่ ว มกั น บนความ แตกต่างทั้งช่วงวัย ความรู้ ความเป็นปัจเจกชนและ วิถีชีวิตความเป็ น อยู่ ในพื้น ที่ที่มีความแตกต่า งกั น และมี ก ารเสริ ม สร้ า งพลั ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา ตนเองและสามารถนาพลังเหล่านี้ไปกระตุ้นบุคคลที่ อยู่ ร อบข้ า งมากขึ้ น ผลของการเปลี่ ย นแปลงที่ เกิดขึ้นคือ กระจัดทากระบวนการกลุ่มเกิดผลสาเร็จ สมาชิกกลุ่มมีความพึงพอใจในผลงาน ได้รับการดุ แลสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานภายนอกที่ นั ก สั ง คม สงเคราะห์ได้ประสานเพื่อช่วยเหลือและสนับสนุน เกิดการยอมรับและเตรียมความพร้อมของกลุ่มเพื่อ เป็นบุคลากรหลักในการทากิจกรรมเมื่อมีการจัดตั้ง โรงเรียนผู้สูงอายุในอนาคตได้อย่างเหมาะสม อย่าง มีความสุข และเกิดกระบวนการเรียนรู้ใหม่ๆควบคู่ กัน
ทางสังคม ทรัพยากร ที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับใช้ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด อาจจะเป็ น การท างานใน รูปแบบของการสารวจ การให้ความรู้ การสาธิต แต่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ความเป็ น ปั จ เจกชน ความแตกต่ า ง หลากหลาย และการเห็ น คุ ณ ค่ า ของความเป็ น มนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน เน้นให้เห็นถึงประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน ผลของการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นคือ คุณภาพชีวิตของชาวบ้านในชุมชนดีขึ้น สามารถเข้าถึงและได้รับบริการหรือสวัสดิการทาง สังคมอย่างเท่าเทียม และเหมือนเป็นการเผยแพร่ ศาสตร์ทางสังคมสงเคราะห์ให้ เป็นที่รู้จัก ยอมรับ อย่ า งแพร่ ห ลายมากขึ้ น การท างานหรื อ การ ประสานงานเพื่ อ ขอความร่ ว มมื อ จึ ง เป็ น ไปด้ ว ย ความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
การสังคมสงเคราะห์ชุมชน การปฏิบั ติห น้ า ในในองค์ กรการปกครองส่ ว น ท้องถิ่น การจัดสรรบริการหรือสวัสดิการทางสังคม สงเคราะห์เพื่อเป็นการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ของคนในชุมชนจึงเป็นสิ่งสาคัญ ผ่านกระบวนการ เรี ย นรู้ ถึ ง ปั ญ หาความต้ อ งการร่ ว มกั น มี ก ารใช้ ทั ก ษะการสร้ า งสั ม พั น ธภาพสร้ า งความเชื่ อ มั่ น พร้อมเข้าใจและยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่อาจจะ เกิดขึ้น โดยกระตุ้นให้สมาชิกในชุมชนตระหนักถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นว่าเป็นปัญหาของทุกคนมิใช่ของใคร คนใดคนหนึ่งและมีการวางแผนหาแนวทางออกของ ปัญหาร่วมกัน รวมไปถึงดาเนินการแก้ไข ดูแลซึ่งกัน และกัน แสดงให้เห็นถึงความสาคัญในการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถดึงศักยภาพของบุคคล ทุน ~ 18 ~
ผลสาเร็จทีพ่ ร้อมเป็นแบบอย่าง ในโลกของการทางาน ไม่มีใครไม่ตั้งเป้าหมายในชีวิต เพราะการตั้งเป้าหมายจะทาให้เราสามารถ กาหนดทิศทางการทางาน เพื่อให้ไปถึงจุดนั้ นได้อย่างประสบความสาเร็จ และทันกับระยะเวลาที่กาหนดไว้ จากการเรียนรู้ตลอดระยะเวลา 2 เดือนที่ผ่านมา ผ่านการสังเกต การสัมภาษณ์ การปฏิบัติงานร่วมกัน ทาให้ เห็นถึงปัจจัยความสาเร็จของนักสังคมสงเคราะห์ในองค์กรแห่งนี้คือ การนาคุณธรรมจริยธรรม เช่น หลักพรหม วิหาร 4 และหลักคุณธรรมจริยธรรมทางวิชาชีพมาปรับใช้อย่างลงตัว รวมไปถึงการมองโลกในแง่ดี แม้จะมี ภาระงานที่มากมีความซับซ้อนและมีความละเอียดอ่อน แต่กลับรู้สึกว่าการทางานในทุกๆวันมีความสนุกสนาน ทาให้เกิดการกระตุ้นตนเองมองความผิดพลาดเป็นเรื่องสนุกและฉลองให้กับความสาเร็จ เพื่อพยายามทา ผลงานให้ออกมาดีที่สุด โดยประสานกับความจริงจัง มุ่งมั่น ความเชื่อมั่น กล้าคิด กล้าลงมือทา มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ จึงมีการนาเสนอความคิดหรือข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ต่อการทางาน และเป็นที่ต้องการของ องค์กร อีกทั้งยังคิดในทางบวก มองข้อผิดพลาดหรือปัญหาอุปสรรคมาเป็นแรงผลักดันในการพัฒนาตนเอง เป็นบทเรียนของการทางานที่ดี ที่นอกจากจะไม่เกิดขึ้นซ้ายังเป็นสามารถปรับใช้กับงานอื่นๆในองค์กรภายใต้ การทางานที่มีกลุ่มเป้าหมายที่ แตกต่างหลากหลาย วัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ทั้งยังมีภาระงานเป็น จานวนมาก และความละเอียดอ่อน การใช้แนวคิด ทฤษฏี ทักษะ เทคนิค กระบวนการ หลักการ วิธีการทาง สังคมสงเคราะห์จึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทาให้การทางานในองค์กรแห่งนี้ประสบความสาเร็จ นอกจากนั้นยังมีบุคลิ กลักษณะนิสัยที่มีความเป็นระเบียบ ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎระเบียบขององค์กร อย่างเคร่งครัดอีกทั้งยังอยู่ภายใต้กรอบการทางานของความเป็นวิชาชีพ วางตัวอยู่บนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ มีน้าใจ ชอบช่วยเหลือผู้อื่นทั้งต่อหน่วยงาน ต่อผู้ใช้บริการและต่อชุมชน จนทาให้เกิดการยอมรับของคนภายใน และภายนอกองค์กร มีคนรักคนเอ็นดูและสนับสนุนอยู่เบื้องหลังกับ การอ่อนน้อมถ่อมตน สุภาพเรียบร้อย การ ประสานงานหรือการสื่อสารต่างๆเพื่อการถ่ายทอดแนวคิดหรือการขอความร่วมมือจึงเป็นผลแห่งความสาเร็จ แต่ทุกอย่ างจะเป็ น ผลส าเร็ จ ไม่ ได้ห ากมี การขับ เคลื่ อ นการทางานไปเพี ยงล าพัง การทางานเป็นที ม การ สนับสนุนการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทาให้การทางานเป็นไปได้ด้วยความราบรื่นและดูเป็นหนทางที่จะนาไปสู่ ความสาเร็จได้ง่ายขึ้นเช่นกัน จึงจะเห็นได้ว่า การทางานของนักสังคมสงเคราะห์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการเปิดรับตาแหน่งนั กสังคมสงเคราะห์จานวนไม่มาก แต่ก็ทาให้เกิดการยอมรับและเป็นตัวอย่างให้แก่ องค์กรอื่นๆในรูปแบบเดียวกัน สามารถนาไปใช้พัฒนาต่อยอดกับองค์กรของตนเองได้ อีกทั้งบทบาท การ ทางาน แนวคิดปัจจัยต่างๆที่ได้เก็บรวบรวมไว้ในการถอดบทเรียนฉบับนี้จะเป็นแรงบันดาลใจหรือเป็นตัวอย่ าง แนวทางในการปฏิบัติงานของตนเองให้ประสบความสาเร็จดังเช่นนักสังคมสงเคราะห์ในองค์การบริหารส่วน ตาบลน้าดิบ อาเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน แห่งนี้ได้ไม่มากก็น้
~ 19 ~
- GOOD LUCK -
“การฝึกงานครั้งทีส่ องน่าสนใจ ณ ลาพูนชื่อน้าดิบเป็นตาบล ได้พบเจอชาวบ้านเปรียบเหมือนครู คุณภาพชีวิตทั่วทุกที่ นักสังคม สงเคราะห์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้อยโอกาส คนยากจน ทั่วทิศา การทางาน ร่วมกับ คนหมู่มาก คอยดูแล ช่วยเหลือ อันดับหนึ่ง ความสาเร็จ ของการ ทางานนี้ ผู้คนสุข ปลาบปลื้ม ชืน่ ภิรมย์ ~ 20 ~
ฉันเข้าไปแหล่งเรียนรู้ในชุมชน แหล่งผู้คนคอยเกื้อกูลดูแลดี เพิ่มความรู้นอกห้องเรียนทุกอย่างนี้ ตาบลนี้ สามารถเป็นแหล่งศึกษา กลุ่มพิการ เด็กเล็ก หรือชรา พัฒนาและดูแล ให้ทั่วถึง แม้ลาบาก แต่สุขใจ คนได้พงึ่ คนคานึง ถึงพวกเรา นักสังคม ร่วมยินดี ปรีดา อย่างสุขสม นักสังคม สงเคราะห์ สุขใจเอย”
เอกสารอ้างอิง หนังสือ วันทนีย์ วาสิกะสิน, สุรางค์รัตน์ วศินารมณ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2557). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ สวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุรางค์รัตน์ วศินารมณ์. (2554). ทักษะการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 4 เว็บไซต์ MoneyHub. (2016). แนวคิดการพัฒนาตนเอง ให้ประสบความสาเร็จ. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2561, สืบค้นจาก : https://moneyhub.in.th/article/how-to-improve-yourself/ Thaihealthlife. พรหมวิหาร 4 ประการ และแนวทางปฏิบัติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2561, สืบค้นจาก : http://thaihealthlife.com/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B 8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A34/
~ 21 ~
5705615283
~ 22 ~
….หากพูดถึงล้าไย ผลไม้ที่มีรสชาติหวาน หอม เปลือกสีเหลืองนวล เนื้อขาวชุ่มไปด้วยน้้า หลายท่านคงจะนึก ถึงจังหวัดล้าพูน แหล่งผลิตล้าไยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ หรือในประเทศไทย….
เมื่อตอนฉันเดินทางมาศึ กษาที่จังหวัดลาปาง ฉันมักจะได้ยินอาจารย์ หรือชาวบ้านพูดถึงลาไย หรือ ผลผลิตจากลาไย ทุกคนมักจะพูดถึงจังหวัดลาพูน ทุกครั้งที่ฉันได้ยินฉันมักเต็มไปด้วยคาถามว่า ลาไยทาไมต้อง ลาพูน ทั้ง ๆ ที่จังหวัดอื่นก็ปลูกลาไยขายเหมือนกับจังหวัดลาพูน จนเมื่อฉันได้เดินทางเข้ามาฝึ กภาคปฏิบัติ 2 ที่บ้านหนองผ้าขาว ตาบลน้าดิบ จังหวัดลาพูน ในจินตนาการของฉัน ฉันคิดว่าชาวบ้านสวนใหญ่คงจะประกอบ อาชีพการทานา และมีการประกอบอาชีพทาสวนลาไยเป็นบางส่วน แต่เมื่อฉันเดินทางเข้าไปภายในหมู่บ้าน จากการสังเกตตลอดสองฝากฝั่งถนนเต็มไปด้วยสวนลาไย โรงงานรับซื้ อผลิตหรือโรงงานแปรรูปลาไย ที่นา บางส่วนถูกแปลงมาเป็นสวนลาไย และบริเวณบ้านเกือบทุกหลังจะปลูกต้นลาไยไว้ในบ้าน ในขณะที่ฉันเข้าไปศึกษาและเรียนรู้ชุมชนฉันมักจะได้ยินคาพูดที่ว่า “ประกอบอาชีพทาสวนลาไย ” “พึ่งกลับมาจากการใส่น้าลาไย” “ถ้าอยากสัมภาษณ์ลุงและป้าให้ม าตอนเช้าก่อนออกไปสวนลาไยหรือตอน เย็นหลังจากกลับมาจากสวนลาไย” และ “หนูตอนนี้มีใครอยู่ที่บ้านหรอกเขาไปสวนลาไยกันหมดแล้ว ”เมื่อฉัน ได้ยินคาพูดเหล่านี้ทุกครั้งที่ฉันเข้าไปในชุมชน ทาให้เกิดข้อสงสัยว่า ทาไมชาวบ้านต้องเลือกประกอบอาชีพทา สวนลาไยแทนการประกอบอาชีพทาการเกษตรชนิดอื่น และต้นกาเนิดที่ทาให้ชาวบ้านหันมาทาสวนลาไยคือ อะไร ฉันจึงเริ่มต้นการเดินทางเพื่อออกค้นหาคาตอบของคาถาม
~ 22 ~
ปัจจุบันลาไยเป็นพืชเศรษฐกิจของบ้านหนองผ้าขาว ที่ทาให้เกษตรกรหลายครอบครัวมีอยู่ มีกิน ส่ง เสียบุตรหลานของตนจนเรียนจบปริญญา และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างสะดวกสบาย แล้วเคยสงสัยกันไหม ว่าลาไยเข้ามาในบ้านหนองผ้าขาวได้อย่างไร ถ้าสงสัยไปร่วมหาคาตอบกันเลย เดิมที่บ้านหนองผ้าขาวเป็นพื้นที่ลุ่มติดกับแม่น้า ชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานา ปลูก ข้าวโพด ปลูกพริกและปลูกกระเทียม แต่เมื่อกานันแก้ว ผู้มีอิทธิพลและมีฐานะร่ารวยในสมัยก่อนได้นาต้นกล้า ลาไยและต้นมะพร้าวเข้ามาปลูกบริเวณสวนที่อยู่ข้างแม่น้าปิง ชาวบ้านในชุมชนเข้าไปพบและเห็นว่าลาไยปลูก ง่าย ออกลูกเยอะกว่าปลูกมะพร้าวจึงไปขอต้นกล้าลาไยจากกานันแก้วเข้ามาปลูก โดยได้ ถมที่นาให้สู งจาก แม่น้าเพื่อป้องกันน้าท่วมและเหมาะแก่การปลูกลาไย แต่ยังมีข้อโต้แย้งจากชาวบ้านบางท่านว่า คนที่นาลาไย เข้ามาในหมู่บ้านคนแรกไม่ใช่กานันแก้ว โดยท่านได้เล่าว่า ลาไยในจังหวัดลาพูนมีต้นกาเนิดที่บ้านหนองช้างคืน ซึ่งมีชาวจีนนาต้นกล้าลาไยจากบ้านหนองช้างคืนเข้ามาปลูกอยู่บริเวณริมแม่น้าปิง ชาวบ้านบ้านหนองผ้าขาวที่ ไปเป็นลูกจ้างในการปลูกลาไย เก็บลาไย และดูแลสวนลาไย จึงได้ขอต้นกล้าลาไยจากชาวจีนมาปลูกบนที่ดิน ของตน และได้แพร่ขายออกไปจนบ้านหนองผ้าขาวเต็มไปด้วยสวนลาไย จากข้อสันนิฐานทั้งสองประเด็นไม่ สามารถสรุปได้อย่างชัดเจนว่าการเข้ามาของลาไยบ้านหนองผ้าขาวเข้ามาโดยบุคคลใด เนื่องจากชาวบ้านแต่ ละท่านต่างได้รับต้นกล้าลาไยมาจากแหล่งที่ต่างกันจึงมีความเชื่อว่าบุคคลที่ตนไปขอต้นกล้าลาไยมาปลูก เป็น บุคคลแรกที่นาลาไยเข้ามาปลูก แต่ไม่ว่าจะเป็นบุคคลใดที่นาลาไยเข้ามาปลูกภายในหมู่บ้านเป็นบุคคลแรก แต่
~ 23 ~
การนาลาไยก็ส่งผลให้เกิดอาชีพใหม่แก่เกษตรกรจนกระทั่งเกษตรกรสามารถดารงชีวิตได้ด้วยการทาสวนลาไย และทาให้ลาไยกลายเป็นพืชเศรษฐกิจของบ้านหนองผ้าขาวและจังหวัดลาพูน “สมัยก่อนก้านันแก้วเพิ่นมีสวน ช่วงตรงข้ามน้้าปิง เพิ่นมีสวนนัก ชาวบ้านที่ไม่มีที่นักเพิ่นก็ไปเพาะเอากล้า มันเนอะ เอาต้นเอากิ่งมันอ่ะ เอากาบมะพร้าวไปครอบกิ่ง ครอบตามันให้มันแตกรากแล้วก็ตัดมาปลูก” (นายสมชาย นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) โดยเหตุผลที่ทาให้เกษตรกรเลือกปลูกลาไยแทนพื้นชนิดอื่น เนื่องมาจากพบเห็นคนที่ทาสวนล าไย ขายลาไยได้ราคาดี ได้เงินจานวนมาก เกษตรจึงเกิดความรู้สึกอยากมีฐานะที่ดีขึ้นจากการทาการเกษตร จึงหัน ไปปลูกลาไยแทนการทาการเกษตรชนิดอื่น และในการทาสวนลาไยมีตลาดในการรองรับผลผลิตทางการเกษตร ก่อให้เกิดความมั่นใจว่าหากตนทาสวนลาไย สามารถนาผลผลิตทางการเกษตรไปขายได้โดยไม่ต้องไปหาตลาด รองรับ เหมือนกับการปลูกข้าวโพดที่เกษตรกรต้องนาข้าวโพดมาต้มและนาไปขายที่ตลาดเพื่อให้ได้ราคาดี หรือ การปลูกพืชผักสวนครัวที่เกษตรกรต้องหาพ่อค้าคนกลางในการรับซื้อผักหรือนาผักไปขายที่ตลาด ซึ่งเป็นการ สิ้นเปลื้องเวลาและมีความยุ่งยากในการกาจัดสินค้าทางการเกษตรในแต่ละครั้ ง แตกต่างกับลาไยที่มีพ่อค้าเข้า มารับซื้อถึงสวน สอดคล้องกับระบบกลไกตลาดที่ว่า ผู้ผลิตจะเลือกผลิตสินค้าที่ตรงตามความต้องการของ ผู้บริโภคภายในตลาดและได้กาไรมากที่สุด “แต่ก่อนเอามะพร้าวมาปลูกกัน แต่เพิ่นบ่เอามันไม่มีตลาด” “เฮาท้าอย่างอื่นมันไม่มีตลาดให้เรา แต่ก่อนตอนยังเป็นหนุ่มน้อยยังไม่มีสวนล้าไย ก็จะปลูกกระเทียม พริก เอาไปขายที่ตลาด คนเฒ่าจะหาบไปขายที่ตลาด” “ปลูกข้าวสาลีมันท้าง่าย ยาก็ไม่มีแต่ก็ขายราคาถูก อายุประมาณสองเดือนกว่าก็เก็บขายได้แล้วไม่ใช่เอาไปขาย ดิบนะ พ่อค้าแม่ค้าไม่มารับ เราต้องเอามานึ่งแล้วเอาไปขายตลาด พ่อค้าแม่ค้าจะมารับ” (นายสมชาย นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) ในการทาสวนลาไยเกษตรกรสามารถเก็บผลผลิตได้ปีละ 2 ครั้งและเป็นพืชยืนต้นที่ให้ผลผลิตในระยะ ยาวประมาณ 20 ปีต่อการปลูกในหนึ่งครั้งขึ้นอยู่กับการดูแล การบารุงต้น ซึ่งแตกต่างกับการทาสวนพริก พืชผักสวนครัว ที่เกษตรกรต้องผลัดเปลี่ยนพืชพันธุ์ทางการเกษตรอยู่ตลอดเวลา เพราะผลผลิตจะออกน้อยซึ่ง เกิดจาก ความเสื่อมของหน้าดินที่ผ่านการใส่ปุ๋ยบารุงให้ผลผลิตเจริญเติบโต
~ 24 ~
“ท้าอย่างอื่นมันไม่ดี เมื่อก่อนปลูกพริกปลูกอะไรเนี้ย แล้วก็เราปลูกซ้้าที่เดิมมันไม่ดี ก็เลยเอาพืชยืนต้นมาใส่ ใส่ล้าไยอย่างเนี้ย ” (นายทองดี นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) พันธุ์ลาไยที่ชาวสวนลาไยบ้านหนองผ้าขาวปลูกในอดีตเป็นลาไยกะโหลกสายพันธุ์ อีดอ อีแห้วและสี ชมพู แต่ในปัจจุบันเกษตรกรปลูกเฉพาะลาไยพันธุ์อีดอ เพราะปลูกง่าย ให้ผลผลิตเยอะและเป็นที่ต้องการของ ตลาดในการรับซื้อลาไย แตกต่างจากลาไยพันธุ์อีแห้วและชมพูที่เกษตรกรตั้งฉายาว่า “ลาไยพันธุ์คุณนาย”อัน เนื่องมาจากดูแลยาก แมลงเยอะ ลาต้นแตกหักง่าย และไม่เป็นที่ต้องการของพ่อค้าในการนาไปแปรรูปผลผลิต
การทาสวนลาไยของเกษตรกรบ้านหนองผ้าขาวเปรียบเสมือนเป็นสวนหนึ่งในการดารงชีวิตประจาวัน ทุกเช้าหลังจากที่เกษตรกรรับประทานอาหาร จะเริ่มเตรียมเครื่องมือสาหรับการเพาะปลูกและดูแลสวนลาไย ออกเดินทางเข้าสวนลาไยตั้งแต่ฟ้าสางจนถึงฟ้ามืด หรือเมื่อคุณเข้าไปถามหาชาวบ้านสักคนในชุมชน คุณมักจะ ได้ยินคาพูดที่ว่า “ไปใส่น้าลาไยหรือไปสวนลาไย” การทาสวนลาไยจึงเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของนาฬิกาชีวิตของ ~ 25 ~
ชาวสวนลาไย ที่ทาให้ปากท้องของชาวสวนและครอบครัวได้กินอิ่มนอนหลับ ในการทาสวนลาไยในบ้านหนอง ผ้าขาวจะมีการทาลาไยในฤดูและลาไยนอกฤดู การทาลาไยนอกฤดูจะมีต้นทุนในการทาลาไยที่สูงแต่ ลาไยจะมี ราคาสูง ส่วนการทาลาไยในฤดูจะใช้ต้นทุนต่าแต่ราคาลาไยจะถูก อันเนื่องมาจากมีลาไยในท้องตลาดมาก ใน การเก็บเกี่ยวลาไยแต่ละครั้งเกษตรกรชาวสวนลาไย จะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือนในการดูแลบารุงลาไย จึงจะ สามารถเก็บผลผลิตได้ โดยจะอธิบายกระบวนการ การทาสวนลาไยของชาวสวนลาไยตั้งแต่เริ่มเตรียมหน้าดิน ในการเพาะปลูกจนกระทั่งการจัดจาหน่าย ดังนี้ ขั้นตอนแรก ชาวสวนลาไยจะมีการเตรียมต้นกล้าที่ใช้ใน การเพาะปลูก โดยในอดีตชาวสวนลาไยจะเตรียมต้นกล้าโดยการ เอากาบมะพร้าวไปครอบบริเวณกิ่งล าไยจนกระทั่งแตกราก จึง สามารถน ามาปลู ก ในดิ น ได้ ซึ่ ง วิ ธี นี้ เ รี ย กว่ า การตอนกิ่ ง ล าไย เนื่องจากกล้าลาไยยังไม่มีการแพร่ขยายในตลาดชาวสวนจึงต้องใช้ ความรู้จากการลองผิดลองถูก หรือเลียนแบบบุคคลอื่นที่ทามาก่อน มาใช้ในการทาการเกษตร แต่ในปัจจุบันเมื่อลาไยเป็นพืชเศรษฐกิจ จึงทาให้เกษตรกรที่ต้องการทาสวนลาไยมีความสะดวกสบายเพิ่ม มากขึ้น ชาวสวนลาไยจึงนิยมซื้อต้นกล้ามาปลูกแทนการตอนกิ่ง ล าไย และปรั บ หน้ า ดิ น โดยการถมดิ น ให้ มี ค วามสม่ าเสมอกั น เหมาะสาหรับการปลูกลาไย และป้องกันน้าท่วมสวนลาไย ซึ่งใน ขั้นตอนนี้เกษตรกรบางคนที่ไม่มีต้นทุนในการทาที่มากเพียงพอจะ ใช้มือในการเกลี่ยหน้าดินให้มีความเสมอกัน แต่เกษตรกรบางคนที่ มีต้นทุนเยอะจะใช้รถสาหรับปรับหน้าดิน ขั้นตอนที่สอง หลังจากเตรียมกล้าลาไยและปรับหน้าดิน ให้ มี ค วามสม่ าเสมอ ชาวสวนล าไยจะขุ น หลุ ม ให้ ลึ ก และกว้ า ง พอประมาณสาหรับการใช้ปุ๋ยหมักปุ๋ยคอกรองรองก้นหลุม และจะ ปลูกห่างกันประมาณ 6-7 เนื่องจากลาไยเป็นไม่ยืนต้นที่มีพุ่มขนาด ใหญ่หากปลูกชิดกันเกิดไป จะทาให้กิ่งก้านที่แตกแขนงเบียดเสียด “ถ้ า ปลู ก ถี่ เ วลามั น โตมั น กิ น แหนง ล้ า ไยมั น โตแล้ ว จะฟั น ทิ้ ง ก็ เสียดายไม่ฟันออกก็ไม่ได้” (นายสมชายนามสมมติ, 2 มีนาคม 61)
~ 26 ~
ขั้น ตอนที่สาม ชาวสวนลาไยจะนาต้นกล้าที่เพาะเลี้ ยง หรือซื้อจากร้านจาหน่ายลงสู่ พื้นดิน เมื่อต้น นาล าไยลงสู่ พื้นดิน เกษตรกรจาเป็นต้องขยันรดน้า พรวนดิน ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 ในการบ ารุ ง ให้ แ ก่ ต้ น ล าไยเพื่ อ ให้ ต้ น ล าไยเจริญ เติ บโตจนออก ผลผลิต โดยจะใช้เวลาประมาณสี่ ถึงห้ าปีขึ้นอยู่กับการดูแลของ เกษตรกร ลาไยจึงจะผลิดอกออกผลให้แก่เกษตรกรได้หายเหนื่อย ซึ่งเกษตรกรหนองผ้าขาวในการปลูกลาไยช่วงต้นชาวสวนจะนิยม ปลูกพืชผักสวนครัวล้อมรอบบริเวณต้นลาไย เนื่องจากเวลาใส่ปุ๋ย ใส่ น้ าพื ช ผั ก ล าไยจะได้ ดู ด ซึ ม น้ าและปุ๋ ย พร้ อ มกั บ ผั ก และเป็ น วิธีการในการกาหนดระยะเวลาในการใส่น้า ใส่ปุ๋ยต้นลาไย ซึ่งทา ให้เกษตรกรได้รับประโยชน์สองทาง คือ ดูแลต้นลาไยและสร้าง รายจากการขายผักสวนครัว “ช่วงแรกปลูกผักสวนครัว เอาล้าไยไปใส่ กินปุ๋ย ใส่ยา ใส่น้า จะ สม่้าเสมอ ล้าไยมันก็จะได้กินปุ๋ยด้วย มันโตไว้ ถ้าเราแปลง เวลาใส่ ปุ๋ยก็หว่านปุ๋ยไป เพระล้าไยอยู่ช่วงกลางจะได้กินน้้ากินปุ๋ยสม่้าเสมอ ดี มันเป็นประโยชน์สองอย่าง ถ้าเราไม่ปลูกผผักสวนครัวมันก็จะรด น้้าแค่ต้นล้าไย” (นายสมชาย นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) ขั้น ตอนที่สี่ ล าไยเจริญเติบโตแตกกิ่งก้านคลุ มอณาบริ เวณที่ปลูกพร้อมผลิดอกออกผล ชาวสวนลาไยจะเลิกปลูกพืชผัก สวนครัว เนื่องจากผักสวนครัวจะไม่สวย และหันมาดูแลเพียงลาไย อย่างเดียวผ่านการใส่น้าใส่ปุ๋ยเร่งให้ลาไยออกผล เมื่อลาไยออกผล เกษตรกรจะใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 25-7-7 เพื่อเร่งให้ลูกใหญ่พร้อมทั้งใส่ น้า พ่นยากันแมลงและใส่ฮอร์โมน โดยในการใส่น้าลาไยจะขึ้นอยู่ กับฐานะของครอบครัวเกษตรกรในแต่ละคน หากคนที่ร่ารวยอาจ ใช้การติดหัวสปิงเกอร์ในการรดน้าลาไย แต่เกษตรกรที่ไม่มีต้นทุน มากนักจะใช้การทาคันดินรอบต้นและต่อสายยางหรือท่อปล่อยน้า ให้ท่วมขังต้นลาไย เพื่อให้ต้นลาไยดูดซึมน้า ซึ่งระยะเวลาในการ ปล่ อ ยน้ าส าหรั บ คนที่ ไ ม่ มี บ่ อ น้ าบาดาลในสวนขึ้ น อยู่ กั บ ~ 27 ~
กาหนดเวลาในการปล่อยน้าของกรมชลประทาน แต่เกษตรกรที่มี บ่อน้าบาดาลในสวนสามารถใส่น้าลาไยได้ตามความสะดวกของ เกษตรกรคนนั้น ขั้น ตอนที่ห้า ลาไยออกผลจนเติบใหญ่ เกษตรกรจะใส่ ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 เพื่อให้ผลลาไยมีรสชาติหวาน เนื้อหนา เมื่อ ล าไยมี เ นื้ อ เกษตรกรจะเลิ ก พ่ นยาฆ่ า แมลงเพื่ อ เป็น การลดสาร ตกค้างในผลลาไย แต่ฮอร์โมนยังจาเป็นต้องใส่เพื่อให้ผิวบริเวณ เปลือกลาไยมีสีเหลืองนวลน่ารับประทาน หากไม่ใส่ฮอร์โมนจะทา ให้ผิวลาไยมีสีหมน ดา และขั้นตอนที่สาคัญที่สุดก่อนการเก็บเกี่ยว คือ เกษตรต้องใส่น้าเป็นประจาประมาณ 4-5 วันขึ้นอยู่กับความ ชุ่มชื่นของดิน เพื่อให้หน้าดินมีความชุ่มชื่นและเป็นการป้องกันการ แตกของลาไย และเกษตรกรจะเลิกใส่น้าลาไยเมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิต เรียบร้อย ยกตัวอย่างเช่น หากอีกสองวันจะมีการเก็บผลผลิต ใน วันถัดไปเกษตรกรต้องไปใส่น้าให้ลาไย เพราะกว่าที่จะเก็บล าไย หมดต้นดินก็หมดความชุ่มชื่นพร้อมกับลาไย ในส่วนของการค้ากิ่ง ลาไยขึ้นอยู่กับลักษณะของต้นลาไย หากกิ่งหย่อน ใกล้แตกหักหรือ มีลูกเยอะจาเป็นต้องใช้ไม้ค้า ขั้นตอนที่หก การเก็บเกี่ยวผลผลิต ชาวสวนลาไยจะใช้ วิธีการเก็บเกี่ยวอยู่สองลักษณะคือ การขายแบบแหมาสวนให้แก่ พ่อค้าแม่ค้าที่มารับซื้อ ซึ่งชาวสวนลาไยจะได้รับเงินค่าตอบแทน จากการประเมินราคาลาไยทั้งหมดภายในสวน การขายลักษณะนี้ ชาวสวนลาไยไม่ต้องจ้างแรงงานหรือใช้แรงในการเก็บเกี่ยวเพราะ หน้าที่ในการเก็บลาไยเป็นหน้าที่ของพ่อค้าที่เหมาสวนลาไย อีกวิธี คือการเก็บล าไยจาหน่ายโดยตัว เกษตรกร ซึ่งวิธีการนี้ช าวสวน ลาไยจาเป็นต้องจ้างแรงงานที่ใช้ในการเก็บลาไย แต่หากในช่วงที่ ราคาลาไยสูง ชาวสวนลาไยจะได้เงินจากการจาหน่ายลาไยจานวน มาก โดยในการเก็บลาไยจะมีไม้ค้ายันบริเวณกิ่งของลาไย และมี บันไดที่ชาวสวนลาไยไต่ขึ้นไปเก็บลาไยที่อยู่สูง และใช้มือหั กกิ่ง ~ 28 ~
ลาไยแต่ละกิ่งใส่ตะกร้าซึ่งต้องอาศัยความชานาญเป็นอย่างมากใน การเก็บลาไย เนื่องจากเป็นงานที่เสี่ย งต่อการพลัดตกแต่ชาวสวน ล าไยจ าเป็ น ต้ อ งท าเนื่ อ งจากเป็ น อาชี พ ที่ ส ร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่ ครอบครัว โดยค่าจ้างในการเก็บลาไยจะอยู่ที่ประมาณ 300-350 บาทต่อวัน ขั้นตอนที่เจ็ด การจาหน่ายลาไย หลังจากการที่เก็บเกี่ยว ล าไยชาวสวนล าไยจะมี วิ ธี ใ นการจั ด หน่ า ยอยู่ ส องวิ ธี คื อ การ จาหน่ายแบบเหมาสวน และการจาหน่ายให้ โรงงานที่รับซื้อลาไย โดยเกษตรกรจะจาหน่ายลาไยโดยการจัดลาไยใส่ตะกร้าสีชมพูและ สี ข าว ซึ่ ง จะขายได้ ร าคาดี ใ นช่ ว งล าไยนอกฤดู โดยเฉพาะช่ ว ง เทศกาลตรุษจีนที่ลาไยจะเป็นที่ต้องการของท้องตลาดและขายได้ ราคาสูง ลาไยที่นามาจัดในตะกร้าจะเป็นลาไยเกรดเอเอ เกรดเอ และลาไยเกรดบี ส่ วนลาไยเกรดซีชาวสวนลาไยจะจาหน่ายโดย การชั่งน้าหนักในแก่โรงงานลาไย ซึ่งราคาในการจัดหน่ายจะขึ้นอยู่ กับราคาตลาดใน ณ ขณะนั้น ในขั้นตอนนี้ชาวสวนลาไยที่ยังไม่ได้ เก็บผลผลิตในส่วนของตนจะออกมารับจ้างจัดลาไยใส่ตะกร้าเพื่อ หารายระหว่างรอขายลาไยในสวนของตน ซึ่งค่าจ้างในการนาลาไย ใส่ตะกร้าจะอยู่ที่ราคา 200-250 บาทต่อวัน ขั้นตอนที่แปด การตัดแต่งกิ่งลาไย เมื่อมีการเก็บลาไยจน หมดสวน ชาวสวนลาไยจะตัดแต่งกิ่งลาไย โดยจะตัดกิ่งลาไยที่ไม่ แตกออก เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดเชื้อราและเชื้อโรคในลาต้น ลาไย หลังจากตัดแต่งกิ่งชาวสวนลาไยจะทาการใส่ปุ๋ย พรวนดิน ใส่น้า ใส่ฮอร์โมนเพื่อให้ลาไยออกผลจนสามารถเก็บผลผลิตได้อีก ครั้ง จะเห็ น ได้ ว่ า กระบวนการในการท าสวนล าไยของ เกษตรกร ตั้ ง แต่ ป ลู ก ล าไยจนกระทั่ ง จั ด จ าหน่ า ยล าไยออกสู่ ท้องตลาด เกษตรกรต้องใช้ทั้งแรงกาย แรงใจ เงิน ความอดทนใน การดูแล บารุงต้นลาไยจนกระทั่งต้นลาไยออกผลผลิต การปลูก ~ 29 ~
ลาไยจึงเปรียบเสมือนการเลี้ยงบุตรคนหนึ่ง ที่บิดามารดาของเด็กต้องใช้ทั้งแรงกาย แรงใจ เงิน ในการฟูมฟัก เด็กทารกให้เจริญเติบใหญ่เป็นคนดีของสังคม และสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งในการทาสวนลาไยไม่มีอะไร รับประกันว่าผลตอบแทนที่เกษตรกรชาวสวนลาไยจะได้รับจะเท่ากับการลงทุนหรือไม่ ตัวตัดสินที่สาคัญที่ สาคัญคือระบบตลาดในปัจจุบัน ความมั่นคงทางรายได้ของภาคการเกษตรจึงมีความมั่นคงในระดับต่า
เกษตรกรเป็นอาชีพที่ต้องเผชิญกับความไม่มั่นคงทางรายได้ ความไม่ มั่นคงทางผลผลิต อาชีพการทา การเกษตรกรรมจึงเปรียบเสมือนการเสี่ยงโชคที่มีต้นทุนเดิมพันในระดับสูง หรือเป็นการเดิมพันของความ เป็นอยู่ของคนในครอบครัว เกษตรกรหลายท่านจึงพยายามก้าวผ่านความไม่มั่นคงโดยการพยายายามส่งเสียให้ บุตรหลานเรียนสูงที่สุดเท่าที่ตนเองและบุตรหลานจะสามารถทาได้ แล้วเกษตรกรสวนลาไยในบ้านหนองผ้า ขาวมีความคิดเห็นหรือความคาดหวังอย่างไรต่ออนาคตของบุตรหลานในการประกอบอาชีพสวนลาไย “บ่ค่อยอยากให้เขามา พ่อแม่อดทุกข์อดอยากท้างานส่งให้เรียน พ่อแม่ส่งไปขอให้ตั้งใจเรียน ไม่อยากให้มา ทุกข์อย่างพ่อแม่ ถ้ามาทุกข์อย่างพ่ออย่างแม่ มันเหนื่อย มันก็อย่างเงี้ยก็อยู่ไป” (นายสมชาย นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) “เขาก็มีอาชีพที่มั่นคงแล้ว ไม่อยากให้เขามาท้า ท้าสวนล้าไยเนี้ยมันเหนื่อย” (นางนวลทอง นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) จากคาบอกเล่าของเกษตรกรสวนลาไย มีความรู้สึกและความคาดหวังที่ไม่ต้องการให้บุตรหลานของ ตนกลับมาประกอบอาชีพทาสวนลาไย เนื่องจากเป็นอาชีพที่ไม่มีความมั่นคง ขาดโอกาสในการก้าวหน้าใน หน้าที่การงาน และต้องอาศัยความอดทนในการทางานเป็นอย่างมาก เกษตรกรสวนลาไยจึงพยายามที่จะหา เงินส่งเสียบุตรหลานของตนให้เรียนต่อในระดับชั้นที่สูงที่เท่าที่จะมีความสามารถ ถึงแม้การส่งเสียบุตรหลานใน ระดับชั้นที่สูงจะต้องแลกมาด้วยความยากลาบาก และหยาดเหงื่อจากการทางาน แต่เพื่ออนาคตที่ดีของบุตร หลานท่านสามารถยอมแลกได้ แต่ท่านหวังเพียงอย่างเดียวคือให้บุตรหลานตั้งใจเรียนหนังสือ เนื่องจากท่านมี ความเชื่อว่าการศึกษาจะเป็นหนทางหรือประตูในการก้าวไปสู่การมีชีวิตที่ดี พร้อมทั้งโอกาสในการประกอบ อาชีพที่ได้รับเกียรติจากบุคคลในสังคม ดังเช่นคาพูดที่ผู้ใหญ่มักอวยพรบุตรหลานของตนว่า “โตขึ้นขอให้เป็น เจ้าคนนายคน” หรือคาพูดที่ว่า “จับปากกาดีกว่าจับเสียมจับมีด ” และความรู้ที่ท่านมอบให้มีความจีรังยั่งยืน
~ 30 ~
มากกว่าทรัพย์สินเงินทอง อีกทั้งบุตรหลานของเกษตรกรบางท่านมีอาชีพการงานที่มั่นคง และเป็นอาชีพที่ ได้รับเกียรติจากคนในสังคม ท่านจึงไม่อยากที่จะให้บุตรหลานกลับมาประกอบอาชีพเกษตรเหมือนอย่างกับตน ในขณะที่เกษตรกรสวนลาไยบางท่านไม่ต้องการให้บุตรหลานของตนกลับมาประกอบอาชีพเกษตรกร แต่ยังมีเกษตรกรบางท่าน ที่มีความต้องการจะให้บุตรหลานของตนกลับมารับช่วงในการทาอาชีพเกษตรกร สวนลาไยสืบต่อจากตน เนื่องจากท่านมองว่าอาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่บุตรหลานของตน มากกว่าการเป็ น ลู กจ้ างในโรงงาน และในปัจจุบันการประกอบอาชีพอาชีพ ทาสวนล าไยเจ้าของสวนไม่ จาเป็นต้องลงมือทาสวนลาไยด้วยตัวเอง แต่อาศัยการจ้างแรงงานภายในชุมชนหรือแรงงานข้ามชาติที่หลั่งไหล เข้ามาประกอบอาชีพรับจ้างภายในชุมชน ซึ่งเจ้าของสวนลาไยมีหน้าที่ในการควบคุมและสั่งการการทางาน ภายในสวนลาไย อีกทั้งหากไม่มีบุตรหลานมารับช่วงต่อในการทาสวนลาไยหลังจากที่เกษตรกรสวนลาไยไม่ สามารถทาสวนลาไยได้ด้วยตนเอง จะทาให้ที่ดินบริเวณสวนลาไยกลายเป็นที่รกร้าง ดังคาพูดต่อไปนี้ “ก็อยากให้มาท้าเหมือนกัน เพราะเราท้าไว้แล้วถ้าไม่มีใครมาสานต่อ เราก็ปล่อยร้างไป ลูกหลานมันไม่มาท้า หรอก มันไปท้างานนะ มันเรียนไปมันก็ท้างานของมันไป มันไม่มาตากแดดหรอก อยู่สวนมันร้อนอยู่ห้องแอร์ มันเย็น” (นายทองดี นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) “อยากให้กลับมาท้าสวนล้าไย มันได้เงินเยอะกว่า ท้างานอยู่สวนมันไม่พอกิน เดียวก็โทรมาขอเงินอีกแล้ว สู้มา ท้าสวนดีกว่าท้าสวนมันง่ายจ้างเขาท้าก็ได้” (นางผ่องศรี นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) จะเห็นได้ว่าเกษตรกรชาวสวนลาไยมีความคาดหวังหรือความต้องการอยากจะให้บุตรหลานของตน กลับมารับช่วงต่อในการประกอบอาชีพสวนลาไย และไม่ต้องการให้บุตรหลานของตนกลับมาประกอบอาชีพ สวนลาไย ซึ่งขึ้นอยู่กับมุมมองของเกษตรกรบุคคลนั้น หรือประสบการณ์ที่ท่านได้เผชิญในปัจจุบัน แต่ถึงแม้ว่า ความคิดเห็นและมุมมองจะแตกกต่างกันออกไปตามหลักการปัจเจกบุคคล แต่สิ่งหนึ่งที่ทาให้นักศึกษาสัมผัสได้ จากคาบอกเล่า คือความต้องการ ความปรารถนาที่จะให้บุตรหลานของตนมีสภาพความเป็นที่ดีและมีความ มั่นคงในอนาคต
~ 31 ~
ความไม่แน่นอนของอาชีพการทาการเกษตรมาจากความไม่แน่นอนในราคาสินค้าทางการเกษตรที่จะ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามลักษณะของระบบเศรษฐกิจ ที่ต้องมีการปรับราคาไปตามกลไกการตลาด แล้วความผันผวนของราคาสินค้าทางการเกษตร เกษตรกรชาวสวนลาไยมีวิธีการรับมือหรือจัดการอย่างไรกับ ราคาผลผลิตตกต่า และองค์การบริหารส่วนตาบลที่เป็นหน่วยงานจากภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิดระชาชนมากที่สุดจะ เข้ามาช่วยเหลือเกษตรกรอย่างไร เพื่อให้บุคคลกลุ่มนี้ไม่ได้รับความเดือดร้อนหรือได้รับความเดือดร้อนน้ อย ที่สุดจากราคาผลผลิตตกต่า
การรับมือหรือการจัดการกับราคาผลผลิตลาไยมีความตกต่า เกษตรกรสวนลาไยบ้านหนองผ้าขาวจะ นิยมขายลาไยแบบรูดลาไยออกจากพวง และนาลาไยไปล่อนเพื่อคัดลาไยขายตามเกรดส่งขาย ซึ่งจะทาให้ เกษตรกรประหยัดต้นทุนและเวลาในการเก็บเกี่ยวลาไยเพื่อส่งขายให้แก่พ่อค้าคนกลาง เนื่องจากในการขาย ลาไยแบบตะกร้าสีขาวหรือตะกร้าสีชมพู เกษตรกรจาเป็นต้องใช้ต้นทุนในการผลิตที่ค่อนข้างสูง อาทิ การซื้อ ตะกร้าสาหรับใส่ลาไย การจ้างแรงงานในการจัดลาไยใส่ตะกร้าและแรงงานในการขึ้นเก็บลาไย โดยอัตรา ค่าจ้างแรงงานรายวันจะอยู่ที่ 200 บาท ถึง 350 บาท ตามลักษณะงาน ทาให้ต้นทุนที่เสียไปไม่คุ้มกับกาไรที่จะ ได้รับ อีกทั้งการขายลาไยแบบใส่ตะกร้าในช่วงราคาลาไยตกต่าจะทาให้เกษตรกรขาดทุนมากกว่าการได้ต้นทุน ที่เสียไป ดังคาพูดต่อไปนี้ “ถ้าราคาใกล้กันเนอะเลือกรูดดีกว่า ขายได้มากกว่าใส่ตะกร้า มันประหยัดคนด้วย ถ้าใส่ตะกร้า สมมุติจ้างคน ใส่ตะกร้าห้าคน คนขึ้นล้าไยอีกสองคน ก็เป็นเจ็ดคนแล้ว ถ้าอย่างเรารูดล้าไยหนา จ้างคนรูดสองคน ขึ้นอีกหนึ่ง คน ล้าไยตะกร้ามันเปลื้องคน แต่ราเรารูดมันไม่ใช้คนเยอะแต่นานเสร็จ แต่ถ้าราคาดีจะใส่ตะกร้า ” (นายสมชาย นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) แต่เกษตรกรสวนลาไยที่มีต้นทุนในการประกอบอาชีพค่อนข้างสูง เกษตรกรจะเลือกขายลาไยโดยการ แปรรูปลาไยผ่านการแปรรูปจากลาไยสดเป็นลาไยอบแห้ง ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและยืดระยะเวลาใน การเก็บ รั กษาสิ น ค้า ทาให้ เกษตรกรสามารถขายสิ นค้าได้ในราคาที่สู งขึ้น แต่ในการทาล าไยอบแห้ ง ของ เกษตรกรยังมีข้อจากัด คือ คุณภาพของสินค้าและความต้องการของผู้บริโภค กล่าวคือในการทาลาไยของ เกษตรกรรายย่อยจะใช้การอบลาไยด้วยเตาขนาดเล็กและเชื้อเพลิงเป็นแก๊ส ส่งผลให้เนื้อลาไยมีสีแดง แต่ใน การแปรรูปลาไยอบแห้งของโรงงานขนาดใหญ่จะใช้การอบด้วยไอน้า ส่งผลให้เนื้อลาไยมีสีเหลืองทอง ผู้บริโภค จึงนิยมซื้อผลิตภัณฑ์ลาไยอบแห้งจากโรงงานขนาดใหญ่มากกว่าการซื้อจากเกษตรกรรายย่อย ทาให้เกษตรกร หลายท่านเลิกผลิตลาไยอบแห้งขาย และหันกลับมาขายลาไยแบบรูดลูกแทน ดังคาบอกเล่าบางช่วง
~ 32 ~
“แต่ก่อนถ้าราคาตกแปรรูปขายเอง แต่เลิกไปแล้ว สู่ของจีนไม่ได้เขาอบไอน้้า เราอบเตาเล็กอบแก๊ส ถ้าอบแก๊ส เนื้อมันจะออกแดงๆ แต่ถ้าอบไอน้้ามันจะเป็นสีเหลืองทอง ผิวมันสวยกว่า” (นายทองดี นามสมมติ, 2 มีนาคม 61)
ลาไยเป็นพืชทางเศรษฐกิจของประชาชนในชุมชนตาบลน้าดิบ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีหน้าที่ ในพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน จึงต้องมีบทบาทสาคัญในการรับนโยบายจากส่วนกลางมาปรับใช้ ในการส่งเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของเกษตรกรชาวสวนลาไย โดยโครงการที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กาลังให้ความสาคัญและส่งเสริมการพัฒนาอาชีพของเกษตรกรชาวสวนลาไยในตาบล คือ การส่งเสริมการทา เกษตรแปลงใหญ่ของชาวสวนลาไยในพื้นที่ตาบลน้าดิบ เพื่อให้ชาวสวนลาไยเกิดการร่วมกลุ่มในการประกอบ ธุรกิจและจดทะเบียนเป็นวิสาหกิ จชุมชน ในการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรชาวสวนลาไยจะก่อให้เกิดการลด ต้นทุนในการผลิต ความสามารถในการต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง การพึ่งพาตนเองและการช่วยเหลือกัน และกันของเกษตรกร ซึ่งทางองค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบจะมีหน้าที่ในการประสานกับองค์กรภาครัฐ อาทิ เจ้าหน้าที่จากสานักงานเกษตรอาเภอป่าซางในการเข้ามาให้ความรู้เกษตรกรในการทาเกษตรแปลงใหญ่ ทั้ง การอบรบเกี่ยวกับการลดต้นทุนการผลิต ซึ่งจะมีการอบรมเกี่ยวกับการทาสารเคมีที่ใช้ในการพ่นยาลาไย การ อบรมเกี่ยวกับการผสมปุ๋ย เป็นต้น การจัดทาบัญชีครัวเรือน บัญชีสหกรณ์ในการบันทึกรายละเอียดทั้งหมดใน การทาสวนลาไยในแต่ละครั้ง ยกตัวอย่างเช่น นายเขียวไปใส่ปุ๋ยลาไยจานวน 25 กรัม นายเขียวต้องบันทึก จานวนการใส่ปุ๋ย การส่งเสริมระบบการพัฒนาคุณภาพของลาไย เพื่อให้ได้มาตรฐาน GAP คือการที่ผลผลิตมี ~ 33 ~
ระดับการใช้สารเคมีที่เหมาะสม ปลอดภัย ผลผลิตมีคุณภาพ และการสร้างเครือข่ายทางการตลาด โดยการเปิด โอกาสให้พ่อค้ากับเกษตรกรสวนลาไยวางแผนร่วมกันในการผลิตลาไย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาเพื่อ พึ่ ง ตนเอง (มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา สื บ ค้ น จากhttp://www. chaipat. or.th/site_content/70-3/283-selfreliance.html) ที่ว่าการพัฒนาต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ โดยการดึงทุนทางสังคมที่สาคัญของ มาใช้ในการพัฒนาผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การให้ความรู้จากภาครัฐ เพื่อให้คนในชุมชน สามารถช่วยเหลือตนเองได้และลดการพึ่งพารัฐ อีกทั้งองค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบยังมีการส่งเสริมการทา หมูหลุม และการเลี้ยงกบให้แก่เกษตรกร ซึ่งเป็นการประกอบอาชีพที่ใช้ต้นทุนและเกษตรกรยังได้รับประโยชน์ อย่างอื่นนอกเหนือจากการรายได้ ยกตัวอย่างเช่น ในการเลี้ยงหมูหลุมเกษตรกรสามารถลดขยะจาพวกเศษผัก ผลไม้ และได้ปุ๋ยคอกชั้นดีที่เกิดจากการหมักของเศษอาหาร สิ่งปฏิกูลภายในหลุม ไปบารุงต้นลาไย ซึ่งเป็นการ ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยและสร้างรายได้เพิ่มเติมและเพิ่มความมั่นทางรายได้ให้แก่เกษตรชาวสวนลาไยตาบลน้า ดิบ ในส่วนของการส่งเสริมอาชีพของกลุ่มสตรีภายในชุมชน จะมีการจัดอบรมและส่งเสริมให้เกิดการประกอบ อาชีพ อาทิ การทาจักสานพลาสติกติก ที่จะมี การเชิญวิทยากรจากศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน มาให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีในการประดิษฐ์ การขึ้น รูปทรงของจักสานพลาสติก
บทบาทการปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์ประจาองค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของเกษตรกรสวนล าไย นั กสั งคมสงเคราะห์ จะดูแลในกลุ่ มผู้ ที่มีปัญหาทางสังคม อาทิ กลุ่ ม ผู้สูงอายุและกลุ่ มผู้ พิการที่ต้องการได้รั บเงินในการสนับสนุนการประกอบอาชีพ นักสังคมสงเคราะห์ จ ะมี บทบาทในการประสานทรัพยากรทางเพื่อขอเงินสนับสนุนการประกอบอาชีพ อาทิ กองทุนผู้สูงอายุ สาหรับ เกษตรกรสวนลาไยสูงอายุที่ต้องการเงินทุนในการประกอบอาชีพ สามารถกู้ยืมได้สูงสุดจานวน 30,000 บาท และกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ สาหรับผู้พิการที่ต้องการเงินทุนในการประกอบอาชีพ สามารถกู้ยืมได้สูงสุดจานวน 40,000 บาท ทั้งสองกองทุนผู้กู้ยืมเงินต้องชาระเงินคืนเดือนละ 800-840 บาท โดยนักสังคมสงเคราะห์จะรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ความครบถ้วน ของข้อมูล การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเตรียมเอกสาร สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ข้อจากัดในการขอรับสิทธิ และ การสัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อจัดทาข้อมูลและเอกสารให้มีถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของกองทุนผู้สูงอายุ และกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ
~ 34 ~
การประกอบอาชีพทาสวนลาไยของเกษตรกรบ้านหนองผ้าขาว ต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนทาง ระบบเศรษฐกิจ ซึ่งชาวบ้านได้แก้ปัญหาโดยการลดต้นทุนการผลิตให้มากที่สุด หรือภาครัฐมีนโยบายเพื่อ ช่วยเหลือผ่านการสนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่ม หรือการให้เงินสงเคราะห์ช่วยเหลือ แต่เกษตรกรหลายท่านยัง ไม่ห ลุ ดพ้น จากกั บ ดั ก ความไม่ มั่น คงทางด้านเศรษฐกิ จ ซึ่งท่านได้เลื อ กที่จ ะยอมรั บความไม่ แน่น อนและ ประกอบอาชีพการทาสวนลาไยต่อไป อันเนื่องมาจากความขัดสนทางด้านการเงินของครอบครัว ลักษณะของ ครอบครัวที่มีจานวนประชากรในครัวเรือนมาก ทาให้บิดามารดาไม่สามารถส่งเสียบุตรหลานของตนให้ได้รับ การศึกษาในระดับสูง และการศึกษายัง ไม่มีการขยายโอกาสให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านเหมือนในปัจจุบัน หลาย ท่านจึงจาเป็นต้องเลือกที่จะสานต่อการทาการเกษตรต่อจากครอบครัว “มันไม่ได้ชอบ ถ้ามีเงินมีทองมันก็ต้องได้เรียนหนังสือ เพราะว่าพ่อแม่ส่งเราไม่ไหว ลูกเยอะ” (นายสมชาย นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) “มันไม่มีทางเลือกท้าอย่างอื่น ท้าเกษตรอย่างเดียวเรามีสวนมีนาต้องท้า เราไม่ท้าก็ไม่มีกิน” (นายทองดี นามสมมติ, 2 มีนาคม 61) ถึงแม้ว่าการประกอบอาชีพทาสวนลาไยของเกษตรหลายท่านจะมีสาเหตุมาจากความเป็นอยู่ของ ครอบครัว การขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา แต่เกษตรกรบ้านหนองผ้าขาวไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไข หรือหลีกเลี่ยงจากข้อจากัดในอดีตที่ผ่านมาได้ สิ่งเดียวที่ท่านทาได้คือ ท่านต้องตั้งใจทางานและแบกรับความ ~ 35 ~
กดดันจากความไม่แน่นอน เพื่ อหวังว่าในอนาคตครอบครัว บุตรหลานจะมีชีวิตที่ดีขึ้น เพียงแค่นี้ความเหน็ด เหนื่อยที่ต้องเผชิญจะกลายเป็นความสุขในชีวิตของท่าน ดังคาพูดที่มักได้ยิน “แค่เห็นลูกประสบความสาเร็จ พ่อแม่ก็มีความสุขแล้วถึงแม้ว่าจะเหนื่อยสักแค่ไหน” ดังนั้นปลายทางของชีวิตที่ทาให้ท่านมี ความสุข มิใช่การ เปลี่ ย นแปลงทางด้ านอาชี พ หรื อการเปลี่ ยนแปลงวิ ถีชีวิ ตผ่ านการโยกย้ายถิ่ นฐาน แต่คือการเห็ น คนใน ครอบครัวมีความมั่นคงในชีวิต ทั้งหน้าที่การงาน การได้รับเกียรติจากสังคม และการประสบผลสาเร็จในด้าน การครองเรือน วิถีชีวิตของเกษตรกรจึงเปรียบเสมือนเรือจ้างที่ต้องพยายามประคับประคองเรือให้ผ่านมรสุม อัน ตรายจากการลอบทาร้ าย การปล้ น สะดมระหว่างการเดินทาง เพื่อให้ ผู้ โ ดยสารที่เปรียบเสมือนคนใน ครอบครัว เดินทางถึงจุดหมายปลายทางอย่างปลอดภัย
เอกสารอ้างอิง มูลนิธิชัยพัฒนา.(ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์). แนวคิดการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกรอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ(Self Reliance).(ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2561, จาก http://www.chaipat.or.th/ site_content/70-3/283-self-reliance.html
~ 36 ~
~ 37 ~
::: ก้าวแรกในชุมชน :::
มีคนเคยบอกว่า…… ชีวิต คือ การเดินทาง เพื่อเปิดประสบการณ์ การเลือกพื้นที่ฝึกครั้งนี้คือ "การเดินทาง" พร้อมกับ "การตัดสินใจ" การเดินทางของฉันมีจุดเริ่มต้นจากความไม่ตั้งใจและการตัดสินใจที่ลังเล หลังจากนั้นแปรเปลี่ยนเป็นความมุ่งมั่นและเชื่อมั่นในตนเอง ในบางครั้งจุดเริ่มต้นอาจไม่สาคัญเท่า "วิธีการเดินทาง" และ "จุดหมายปลายทาง" ท้ายที่สุดแล้วหากเราย้อนเวลากลับไป การตัดสินใจลงมือทาในตอนนั้นเราก็ยังเคารพในการตัดสินใจดังกล่าว
~ 37 ~
บทนา : เพื่อนร่วมทาง เด็กหญิง1 : ทุกคนรู้หรือยังว่าสัปดาห์หน้าอาจารย์จะประกาศว่ามีสถานที่ฝึกไหนเปิดบ้าง เด็กหญิง2 : เฮ้ยจริงหรอ จะไปที่ไหนกันดี และแต่ละที่เป็นยังไงบ้าง บทสนทนาดังกล่าวเกิดขึ้นในชั้นเรียนของนักศึกษาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 หลายคน ตื่นเต้นกับการฝึกภาคปฏิบัติครั้งที่ 2 ที่กาลังมาถึง แต่คิดในอีกแง่มุมหนึ่งนี่คือสนามทดสอบความเป็นผู้ใหญ่ ครั้งสุดท้ายในรั้วมหาวิทยาลัย ความรู้สึกในใจของฉันแบ่งเป็นสองช่วงอารมณ์คือดีใจที่จะจบการศึกษา อีกใจ คือรู้สึกใจหายและไม่อยากก้าวข้ามช่วงวัยรุ่น(ตอนปลาย)สู่วัยทางาน หากย้อนไปในอดีตความรู้สึกนี้เกิดขึ้นกับ ฉันตอนที่สอบติดมหาวิทยาลัยและต้องย้ายมาเรียนและใช้ชีวิตที่ภาคเหนือ แต่สุดท้ายฉันต้องก้าวเดินต่อไป สู้เว้ยยยยยย! เป็นคาที่ฉันตะโกนก้องในใจ ไม่มีอะไรที่เราต้องกังวล ในที่สุดวันแห่งโชคชะตา หรือ วันที่ฉั นกาหนดชีวิตตัวเองที่ต้องตัดสินใจครั้งใหญ่ได้มาถึง เชียงราย หรือ ลาพูน เป็นสองตัวเลือกที่อยู่ในใจ อยากฝึกบนดอย อยากสูดอากาศบริสุทธิ์ อยากไปใช้ชีวิตที่ยากลาบาก สอนหนังสือเด็กบนดอย อยากทานั่น อยากทานี่ อยากทาไปสักทุกอย่าง…….เงื่อนไขทีตั้งไว้ให้กับตัวเองมีเยอะ มากกว่าสรรพคุณของยาแก้ปวดลดไข้ แต่โชคชะตาไม่เคยเข้าข้าง สิ่งที่หวังมักจะไม่ได้เมื่อเพื่อนในกลุ่มบางส่วน เลือกไปภาคใต้ จาก 4 คน เหลือ 2 คน สุดท้ายแล้วจึงตัดสินใจที่จะลงองค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ จังหวัด ลาพูน ยังไม่จบแค่นี้ ปัญหาต่อไป ใครหนอจะเป็นเพื่อนทุกข์ เพื่อนยากของเราตลอดการฝึกงานชุมชน ติ๊กต่อก ติ๊กต่อก ติ๊กต่อก…… คิดถูกแล้ว เพื่อนสนิทฉันเอง หากจะไปสองคนก็กลัวว่าจะเป็นดังสุภาษิตไทยที่กล่าวว่า “คนเดียวหัว หาย สองคนเพื่อนตาย สามคนกลับมาได้ ” สุดท้ายแล้วการฝึกงานที่จังหวัดลาพูนจึงมีสมาชิกทั้งหมดสามคน เพื่อนทั้งสองคนนี้มีความแตกต่างกับฉันมากเนื่องจากอยู่กันคนละภูมิภาค คนแรกอยู่ภาคเหนือ คนที่สองภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนฉันภาคกลาง ความแตกต่างในครั้งนี้ไม่ได้เป็นอุปสรรคแต่อย่างใด ฉันต้องเชื่อมโยง หลั กการทางสั งคมสงเคราะห์ ในเรื่ อ งของการยอมรั บและความแตกต่า งของบุ ค คล ในการทางานสั ง คม สงเคราะห์เราไม่สามารถเลือกที่จะทางานกับใครได้ เราต้องเจอผู้คนที่หลากหลาย ทุกคนล้วนมีความปัจเจกชน ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม ความเชื่อ ไม่มีใครเหมือนกันไปสักทุกอย่างต่อให้สนิทกันมากแค่ไหน หากสิ่งที่จะ อยู่ร่วมกันได้คือ “การปรับตัว” + “การยอมรับ” และการทางานอยู่บนฐานคิดมนุษยนิยมว่าทุกคนมีความเท่า เทียม มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลง/พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น #การเดินทางของฉันพึ่งเริ่มต้นพร้อมกับความคาดหวัง ~ 38 ~
::: ก้าวแรกในชุมชน ::: ล้าพูน ล้าพูน ล้าพูน หลายคาถามและคาอุทานเกิดขึ้นกับคน รอบตัวของฉันว่าเหตุใดถึงเลือกฝึกงานใกล้กับมหาวิทยาลัย อะไรเป็น สาเหตุให้ตัดสินใจเลือกลาพูน หลังจากฉันฟังคาถามเหล่ านี้ ฉัน ตอบ คาถามพร้อมกับความมั่นใจว่าเพราะฉันต้องการศึกษาถึงวัฒนธรรม ของล้านนา อีกทั้งฉันได้หาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับจังหวัดลาพูน และ องค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบว่ามีจุดเด่นด้านใดบ้าง เมื่อคุณค้นข้อมูลอินเทอร์เน็ต คุณจะพบกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต เมื่อตัดสินใจอะไรไปแล้ว ต้อง ทาให้สุดความสามารถ ถึงแม้คนรอบข้างจะแปลกใจ ในการตัดสินใจของคุณ หาก เชื่อว่าทาได้ จงพิสูจน์ให้ ทุกคนเห็น
ผ้าฝ้าย และภาษาของชาวยอง มิติ ประวัติศาสตร์ของเมืองลาพูนสมัย เจ้าแม่จามเทวี และตาบลน้าดิบคุณจะพบกับ ไก่เหล่าป่าก๋อย ลาไย จะเห็นได้ว่าเมืองลาพูนและตาบลน้าดิบมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง มี เสน่ห์เฉพาะตัว ซึ่งล้วนแล้วแต่ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทางวัฒนธรรม ที่สะท้อนให้เห็นถึงการดาเนินชีวิตและคุ ณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ ไม่ แปลกใจเลยที่ฉันจะตัดสินใจเลือกพื้นที่ฝึกที่นี่พร้อมกับความคาดหวัง ว่าอยากเรียนรู้วิถีชีวิตกึ่งเมืองและชนบท วิถีคนตาบลน้าดิบ ความคาดหวังที่มีต่อชุมชนและองค์กรเริ่มก่อตัวตั้งแต่รู้ว่าได้ ฝึกที่นี่ ความคาดหวังแรกแน่นอนคาตอบคลาสสิค ที่หลายคนเมื่อนึก อะไรไม่ออกก็มักจะตอบคาตอบแบบนี้ คือ ต้องการประสบการณ์ที่เพิ่ม มากขึ้น ต้องการเรียนรู้วิถีชีวิตกึ่งเมืองและกึ่งชนบท แต่ฉันมีความ ต้องการอีกสองประการคือ ประการแรก ฉันต้องการศึกษาคือการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ในอดี ต ว่ า เป็ น อย่ า งไร และเปรี ย บเที ย บกั บ ปั จ จุ บั น ว่ า มี สิ่ ง ใด เปลี่ ย นแปลงไปบ้ า ง โดยให้ ค วามสนใจในประเด็ น ด้ า นสั ง คมและ วัฒนธรรม เช่น ความเชื่อ ประเพณี วิถีชีวิต ระบบเครือญาติ กลุ่มทาง สังคม ที่ส่งผลต่อบทบาทของผู้สูงอายุในการมองเห็นคุณค่าในตนเอง ประการที่สอง ที่ฉันสนใจคือ “ผู้สูงอายุ” เนื่องจากประเทศ ไทยจะกลายเป็ น สั ง คมสู ง อายุ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ใ นอี ก ประมาณ 5 ปี ข้างหน้าเมื่อสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง ร้อยละ 20 ~ 39 ~
ผู้สูงอายุ = คุณค่า หรือ ภาระ ?
จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559 พบว่า ใน พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งหมดประมาณ 68.9 ล้านคน ในจานวนนี้เป็นประชากรไทย 65.9 ล้านคน และเป็นแรงงาน ข้ามชาติอีกประมาณ 3 ล้านคน ในจานวนประชากรไทยทั้งหมด 65.9 ล้านคน มีผู้สูงอายุ ที่อายุ 60 ปีขึ้นไปประมาณ 11 ล้านคน หรือคิดเป็น ร้ อ ยละ 16.5 เป็ น ผลมาจากอั ต ราการเกิ ด ลดน้ อ ยลง ดั ง นั้ น ภาระ ทั้งหมดจึงตกอยู่ที่จานวนประชากรวัยแรงงานต้องแบกรับภาระในการ ดูแลผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น จากจานวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทาให้ ฉันตั้งคาถามต่อชุมชนและสังคมไทยโดยภาพรวมว่าทัศนคติ มุมมองใน การมองผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่
~ 22 ~
::: เรื่องเล่าในความทรงจา :::
มีคนเคยบอกว่า….. ความทรงจา คือ เครื่องบันทึกเวลาของตัวเรา เป็นสิ่งที่ตอกย้าเราว่ามันผ่านมาแล้ว มีทั้งเหตุการณ์ดีและร้ายปะปนกันไป บางอย่างเป็นสิ่งที่น่าประทับใจจนยากจะลืมเลือน เสมือนความทรงจาที่มีสีสัน บางอย่างเป็นสิ่งที่ไม่ดีจนอยากจะลืมเลือน เสมือนความทรงจาสีขาวดา บางอย่างคือความคิดถึงที่อยากจะกลับไป #หนองผ้าขาวที่คิดถึง ❤
~ 23 ~
ในช่วงปีพุทธศักราช 2504 – 2509 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 25042509) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาประเทศจากสังคมเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรม โดยเน้นให้ทุกชุมชนมีระบบ สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ระบบน้าประปา ทาให้ ชุมชนหนองผ้าขาวจากเดิมในเรื่องของ เศรษฐกิจและสังคมได้รับอิทธิพลจากระบบทุนนิยมและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้รากฐานการผลิตจาก ครัวเรือนที่พอกินพอใช้ แปรเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรม มีการส่งออกสินค้าทางการเกษตรไปยังพื้นที่อื่น ๆ หรือ การเข้ามาของกลุ่มนายทุน พ่อค้าคนกลางเพื่อรับซื้อ ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ลาไย ผักสวนครัว รวมถึงมี การเปลี่ยนแปลงในเรื่องของวัฒนธรรม เช่น ความเชื่อ ประเพณี วิถีชีวิต ระบบเครือญาติ กลุ่มทางสังคม ดัง ทฤษฎี โ ครงสร้ างหน้ าที่ เปรี ย บสั งคมเหมือนร่างกายมนุษย์ที่ประกอบด้ว ยระบบอวัยวะต่าง ๆ สั งคม คือ เครือข่ายความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน เสมือนกับชุมชนบ้านหนองผ้าขาวเมื่อระบบเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลง ระบบต่าง ๆ ภายในชุมชนตั้งแต่ระบบครอบครัว วิถีชีวิตจากเดิมต้องได้รับผลกระทบ ทาให้ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อรักษาสมดุลของระบบต่าง ๆ ให้ดาเนินการอยู่ได้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม ทาให้เกิดปัญหาตามมาคือ การมีหนี้สินของ ชาวบ้าน เนื่องจากหากต้องการให้มีผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น จาเป็นต้องมีเงินทุนสนับสนุน ชาวบ้านจึงต้องกู้หนี้สิน ทั้งในระบบและนอกระบบ โดยมีความหวังว่าผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของตนเอง และการเข้า มาของการคมนามคมทาให้ ห มู่บ้ านหนองผ้ าขาวจากเดิมที่สั ญจรโดยขัว ไม้ (สะพานไม้) เปลี่ ยนเป็นถนน คอนกรีต ทาให้เป็นหมู่บ้านเปิดและติดต่อกับชุมชนใกล้เคียงได้สะดวกมากขึ้น ในด้านของการศึกษาส่งผลให้ เด็กและเยาวชนในชุมชนเข้าถึงการศึกษา ในด้านของระบบสาธารณสุขมีการเปลี่ยนแปลงไปตามการพัฒนา ของเทคโนโลยี จากการรักษาตามภูมิปัญญา หรือ หมอชาวบ้านที่รักษาด้วยสมุนไพรเปลี่ยนแปลงเป็นการรักษา แผนปัจจุบัน หรือ ทางวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น จากการสอบถามผู้สูงอายุถึงการพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมที่ เกิดขึ้นในชุมชนหนองผ้าขาว ผู้สูงอายุรู้สึกได้รับผลกระทบอย่างไรและรู้สึกชอบแบบใด ผู้สูงอายุกล่าวว่า “…อุ๊ยชอบสมัยก่อนมากกว่าที่มีขัวไม้และคนจะพากันเดินไปหมู่บ้านป่ารกฟ้าเพื่อไปขาย ของที่ ต ลาด แต่ พ อมี ถ นนตั ด ผ่ า นอุ๊ ย ก็ ช อบ เพราะมั น ไปไหนมาไหนสะดวก เวลาไปโรงยา (โรงพยาบาล)ก็ไปสะดวกไม่ลาบากเหมือนตอนก่อน….” (คุณยายทองมี (นามสมมติ), 2561) “สาหรับป้านะ ป้าชอบอดีตมากกว่า มันเห็นถึงความช่วยเหลือของเพื่อนบ้าน สมัยก่อน คนในหมู่บ้านยังไม่เยอะเท่านี้ เดี๋ยวนี้มีแต่ผู้สูงอายุและก็พวกไทใหญ่เข้ามารับจ้างบ้านเรากัน มาก เพราะบ้านเรามีสวนลาไย แต่ถ้าป้าเลือกนะป้าชอบอดีต ตอนป้าสาว ๆ ป้าต้องเดินไปฝั่งเชียงใหม่ เพื่อไปซื้อของ และถ้าอยากไปตรงหนองงู (ทางไปหมู่บ้านป่ารกฟ้า หมู่ที่9) ต้องเดินบนขัวไม้นะ โอ๊ย สนุกมากบางวันที่ฝนตกต้องเดินเท้าเปล่าเลย เด็กรุ่นนี้ไม่มีทางเข้าใจเลย แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ตอนนี้ไม่ดีนะ ตอนนี้มันก็ดีที่ทุกอย่างมันสะดวกไปหมด ” (คุณป้าปาน (นามสมมติ), 2561) ~ 42 ~
การเข้ามาของความเจริญทางวัตถุส่งผลดีต่อการดาเนินชีวิตของคนในชุมชน และการกลืนวัฒนธรรม ความเชื่อบางอย่างให้สูญหาย ดังเช่นการรักษาด้วยสมุนไพร หากจะมองในเรื่องของความเจริญเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ ต้องพิจารณาถึงคนในชุมชนที่เป็นผู้กาหนดวิถีชีวิตของตนเอง ดังนั้นการสูญหายของอาชีพ ความเชื่อ ภูมิ ปัญญาบางอย่างมาจากรูปแบบการดาเนินวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป จากรูปแบบเรียบง่ายสู่ความสลับซับซ้อน ดังเช่น ในเรื่องของความเชื่อที่เป็นส่วนหนึ่งในสังคมไทยมาช้านาน โดยเฉพาะความเชื่อเรื่องศาสนา การนับถือ ผีบรรพบุรุษในสังคมล้านนา ซึ่งมีความสาคัญในระดับของปัจเจกและกลุ่มชน สิ่งหนึ่งที่ฉันแปลกใจเป็นอย่างมากของชุมชนบ้านหนองผ้าขาว คือ เรื่องของศาสนา เหตุใดคนใน ชุมชนจึงให้ความเคารพและศรัทธาในตัวเจ้าอาวาสเป็นอย่างมาก ตลอดระยะเวลาเกือบสองเดือนในการฝึก ภาคปฏิบัติฉันเห็นถึงความเชื่อในเรื่องของศาสนาตั้งแต่ในอดีตและปัจจุบันแทบจะไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ความ เจริญหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจแทบจะทาอะไรไม่ได้ เป็นเพราะสาเหตุใด ? “…เธอเคยเห็นใครพูดอะไรแล้วทาในสิ่งที่พูดไหม สาหรับลุงนะไม่เคยเห็น แต่พอมาเจอตุ๊ลุงที่ ท่านพูดอะไรแล้วคาไหนคานั้น ชาวบ้านจะเกรงใจท่านมาก เวลาใครมีเรื่องอะไรเดือดร้อน ท่านก็ พร้อมช่วยเหลือเสมอ เวลาใครทะเลาะกันท่านก็จะเป็นคนกลาง ท่านใช้ชีวิตสมถะ ไม่ติดหรูหรา เป็น เหตุผลที่ลุงและชาวบ้านเคารพ ถ้าตุ๊อยากให้ชาวบ้านทาอะไรนะ แค่พูด ทุกคนก็ทาให้ แต่นี่ไม่เลย ท่านไม่เคยขออะไร ท่านมีแต่ให้…” (นายสมชาย (นามสมมติ), 2561)
~ 43 ~
::: การดูแลในวัยลืมเลือน :::
มีคนเคยบอกว่า….. การดูแลที่ดีที่สุด คือ การทาความเข้าใจและยอมรับในตัวตนของคนนั้น ช่วงวัยเด็ก เมื่อถึงวันเกิดทุกคนรู้สึกดีใจที่ได้รับคาอวยพรจากคนที่รัก และรู้สึกว่าตัวเองเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขึ้น การเติบโตขึ้น…คือการนับถอยหลังเข้าสู่ความสูงอายุ ความสูงอายุแลกมาด้วยความถดถอยของร่างกาย และการเพิ่มขึ้นของประสบการณ์ ความรู้ ยิ่งสูงอายุยิ่งโดดเดี่ยว…เพราะไม่มีคนเข้าใจ
~ 44 ~
::: การดูแลในวัยลืมเลือน ::: ครอบครัวเป็นสถาบันแรกสุดของสังคม สร้างขึ้นมาจากความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปอาจ มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดหรือไม่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือด สถาบันครอบครัวมีหน้าที่หลักในการขัดเกลา อบรมสั่งสอนสมาชิกในครอบครัวให้มีความประพฤติที่ดี ดังทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม ที่มาร์วิน.อี.ออ ลเซน(Marvin E. Olsen) ได้อธิบายไว้ว่า การจัดระเบียบสังคมเป็นกระบวนการ ที่นาไปสู่ความมีระเบียบใน การดารงชีวิตของมนุษย์ในสังคม 1 กล่าวคือ การจัดระเบียบทางสังคมต้องอาศัยบรรทัดฐานทางสังคม เช่น กฎ ระเบียบ แบบแผนความประพฤติ และการขัดเกลาทางตรงและอ้อมจากสถาบันครอบครัวเข้ามามีบทบาทใน การขัดเกลาสมาชิกให้มีความประพฤติตามบรรทัดฐานของสังคม อีกทั้งครอบครัวมีหน้าที่ในการจัดหาความ ต้องการขั้นพื้นฐานให้แก่สมาชิก ที่ส่งผลให้สมาชิกในครอบครัวได้รั บสวัสดิการที่ดี มีความมั่นคงในชีวิต ความ มั่นคงทางสังคม ดังนั้น ครอบครัวจึงเป็นสถาบันแรกสุดของสังคมที่มีความสาคัญและเชื่อมโยงไปยังสถาบันอื่น ๆ ในสังคม ไม่สามารถแยกขาดกันได้
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย สถานการณ์ปัจจุบัน สังคมไทยได้รับอิทธิพลค่านิยมและวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเป็นแบบอย่างใน การดาเนิ น ชีวิตทาให้ ส ถาบั น ครอบครั ว แต่ เดิ ม ของสั งคมไทยที่ อาศัย อยู่ กัน เป็ นครอบครัว ใหญ่ กลายเป็ น ครอบครัวและสังคมที่มีลักษณะของความเป็นปัจเจกบุคคลมากยิ่งขึ้น คนรุ่นใหม่ได้ออกมาสร้างครอบครัวของ ตนเองและให้ผู้อาวุโสในครอบครัว เช่น ปู่ย่า ตายาย หรือ พ่อแม่อาศัยอยู่ในภูมิลาเนาเดิม ตลอดจนครอบครัว ไทยก้าวเข้าสู่ครอบครัวแหว่งกลางมากยิ่งขึ้น ที่ผู้สูงอายุต้องอาศัยอยู่กับเด็ก ขณะที่พ่อแม่ที่อยู่ในวัยแรงงานมี ภาระหน้าที่ในการทางาน โดยมีปัจจัยดึงดูดและมีปัจจัยผลักคือ การอยู่ภูมิลาเนาเดิมได้ค่าครองชีพต่า หรือ น้อยกว่าการเข้ามาทางานในเมือง หรือ ทางานต่างประเทศที่มีความก้าวหน้า ค่าแรงสูงกว่าประเทศของตน จึง จาเป็นต้องทิ้งบุตรหลานให้กับผู้สูงอายุดูแลเพื่อให้ตนเองมีความก้าวหน้าในชีวิตการทางาน และการมีคุณภาพ ชีวิตที่ดียิ่ งขึ้น จากข้อมูล ของส ามะโนประชากรและการเคหะ พบว่ารูปแบบการอยู่ อาศัยของคนไทยได้ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในรอบ 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมานี้ คนไทยอาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีขนาดเล็กลงอย่าง ใน อดีตครัวเรือนในประเทศไทย มีขนาดประมาณ 5 คนต่อครัวเรือน หากในปัจจุบันขนาดครัวเรือนได้เล็กลงเหลือ 4 คน ในปีพุทธศักราช 2543 และในปีพุทธศักราช 2558 ประมาณว่าครัวเรือนไทยมีขนาดเฉลี่ยเพียง 3 คน เท่านั้น ในด้านของประชากรผู้สูงอายุตาบลน้าดิบ อาเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน พบว่า จานวนประชากรมี 1
การจัดระเบียบทางสังคม (social organization). สืบค้นจาก , http://ar7155kunjo.blogspot.com/
~ 45 ~
ทั้งหมด 9,423 คน โดยมีผู้สูงอายุจานวน 2,293 คน คิดเป็นร้อยละ 24.33 ชุมชนหนองผ้าขาวเองมีจานวน ผู้สูงอายุ 201 คน จากจานวนประชากรทั้งหมด 728 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 8 มกราคม 2561 จากสานักทะเบียน อาเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน) การเพิ่มขึ้นของจานวนผู้สูงอายุที่ไม่สอดคล้องกับวัยเด็กและวัยแรงงาน ส่งผลต่อ รูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพังมากยิ่งขึ้น หรือ การอยู่กับคู่สมรสของตนเอง รูปแบบครอบครัวในชุมชนหนองผ้าขาวเอง ได้เปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตและการรับวัฒนธรรมความ เจริญ ในอดีตนิยมแต่งงานกันในวัฒนธรรมเดียวกัน หรือ หมู่บ้านใกล้เคียง หากในปัจจุบันสิ่งที่นักศึกษาเห็นถึง ปรากฎการณ์ คือ การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม ซึ่งการแต่ งงานข้ามวัฒ นธรรมในอดีตไม่เป็นที่นิยมมากนั ก เนื่องจากแต่งงานข้ามวัฒนธรรมเป็นอันตรายต่อความมั่นคง วัฒนธรรม ประเพณี ความดีงาม ยกตัวอย่างเช่น รูปแบบการดาเนินชีวิตของชุมชนหนองผ้าขาวมีความเรียบง่าย ผู้คนมีน้าใจ มีความช่วยเหลือ หากแต่งงานกับ วัฒนธรรมภาคใต้ จะมีลักษณะความต่าง คือ คนภาคใต้จะมีลักษณะการพูดที่รวดเร็ว และมีวิถีชีวิตที่ตรงข้าม กับภาคเหนือ ทาให้ในอดีตไม่นิยมแต่งงานข้ามวัฒนธรรม ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการ พัฒนาทางคมนาคมที่เชื่อมหมู่บ้านแต่ละที่เข้าด้วยกัน ดังนั้น การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมจึงไม่ใช่ เรื่องแปลกอีก ต่อไป จากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุชุมชนหนองผ้าขาว ถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวจากครอบครัวขยาย สู่ครอบครัวเดีย่ วมากยิ่งขึ้นส่งผลกระทบต่อตนเองอย่างไรบ้าง ผู้สูงอายุกล่าวว่า “…สมัยนี้ลูกหลานไปทางานกันหมด อย่างหลานอุ๊ยก็ไปเรียนที่จังหวัดลาปาง ส่วนลูก ๆ ก็ ทางานกันหมด เวลาอยู่บ้านคนเดียวอุ๊ยก็เหงา ไม่รู้จะทาอะไร เปิดโทรทัศน์ดูไม่เข้าใจ อุ๊ยเลยต้อง อยู่บ้านคนเดียว ถ้าวันไหนป้าปา(ปาริชาติ จันกุนะ, ประธานกลุ่มจักสาน) มีกิจกรรมอุ๊ยก็จะบอกให้ คนที่บ้านไปส่ง อยากไปฟังเขาพูดกัน…” (คุณยายทองมี (นามสมมติ), 2561) “…ตอนกลางวั น จะไม่ มี ค นอยู่ บ้ า น เขาไปท างานกั น หมด ยายเลยเดิ น มาหาป้ าหล้ า (น้องสาว) เขาเปิดร้านขายของ มานั่งคุย ช่วยเขาทาดอกไม้จันทน์จะได้ไม่เหงา บางวันไม่ได้มา เพราะต้องเลี้ยงหลานอยู่บ้าน พ่อแม่มันก็ไปทางานกันหมด แต่เดี๋ยวนี้สุขภาพยายไม่ค่อยดี เจ็บหัว เข่าก็เลยไม่ได้เลี้ยง …” (คุณยายมะลิ (นามสมมติ), 2561) จากคาพูดบางตอนในระหว่างการสัมภาษณ์ในข้างต้นจะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของคุณยายและ ครอบครัว ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หากมีปัจจัยขัดขวางคือเรื่องของการประกอบอาชีพ ทาให้ไม่มีเวลาใน การพูดคุยกันมากนัก ก่อให้เกิ ดช่องว่างระหว่างวัยมากขึ้น และเกิดความรู้สึกเบื่อหน่าย เหงา เห็นคุณค่าใน ตนเองลดลงเมื่ออยู่บ้านเฉย ๆ ทาให้ผู้สูงอายุเลือกที่จะไปวัดเมื่อมีกิจกรรมทางศาสนา การออกไปพูดคุยกับ เพื่อนที่วัยใกล้เคียงกัน หรือ การทากิจกรรมทางสังคม เช่น การเข้าร่วมกลุ่มจักสาน การรับ ฟังการอบรมการ ดูแลสุขภาพ ~ 46 ~
อีกประเด็นที่ทิ้งไปไม่ได้ เมื่อประชากรของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป ความไม่สมดุลของวัยเด็ก วัย แรงงาน และวัยผู้สูงอายุ ทาให้วัยแรงงานถูกคาดหวังในการรับผิดชอบ หรือ ดูแลผู้สูงอายุ หากบุคคลใดไม่ดูแล จะถูกวาทกรรมของสังคมไทยประณามว่า “อกตัญญู” วาทกรรมในเรื่องของความกตัญญู และ อกตัญญูเป็น เสมือนดาบสองคมให้ลูกหลาน พวกเขาเลือกที่จะเกิดไม่ได้และเลือกที่จะไม่เกิดไม่ได้ หากเขาอยากมีชีวิตเป็น ของตัวเอง ผิดด้วยหรือที่เขาจะทาตามฝันโดยละทิ้งการดูแลพ่อแม่ หรือ ผิดด้วยหรือที่เขากาลังสร้างความ มั่นคงให้แก่ตนเองในอนาคตโดยต้องทิ้งพ่อแม่ หรือ ผู้สูงอายุไว้เบื้องหลัง วาทกรรมในเรื่องของความกตัญญู ของสังคมไทยถูกท้าทายโดยคนรุ่นใหม่ ที่พยายามสลัดตนเองออกจากสังคมแบบเก่าเพื่อแสวงหาทางเลือก ให้กับชีวิตของตน ในขณะที่สังคมเก่าพยายามรักษาประเพณี ความเชื่อ ฯลฯ ดั้งเดิมเอาไว้ จึง ก่อให้เกิดความ ขัดเเย้งระหว่างกลุ่มคนรุ่นเก่าและกลุ่มคนใหม่ ความขัดแย้งระหว่างบทบาทหน้าที่ที่ตนเองมีต่อครอบครัว สุดท้ายแล้วความกตัญญูที่แท้จริงคืออะไร และผู้สูงอายุมีความต้องการต่อลูกหลานอย่างไร “…ให้เขาไปทาตามความฝัน ดูแลครอบครัวของเขาเอง ไม่ต้องมาดูแลอุ๊ ยหรอก อุ๊ยยังมี เบี้ยผู้สูงอายุ เดือนละ 800 บาท อาจขอให้เขาช่วยบ้าง แต่ก็เกรงใจเขาไม่อยากรบกวนเยอะ…” (คุณยายทองมี (นามสมมติ), 2561) “…แม่คนเดียวเราดูแลไม่ได้ก็ไม่รู้จะพูดยังไงแล้ว ขนาดแม่มีลูก 8 คน แม่กับพ่อเรายังดูแล เรา และในสมัยนั้นนะการเดินทางก็ลาบาก แม่เราก็อุ้มท้องน้อง เดินหาบของไปขาย พอตอนท่าน แก่แค่นี้ เราเป็นลูกเราต้องเลี้ยงท่านได้ซิ…” (คุณป้าปาน (นามสมมติ), 2561) จากคาพูดในบางตอนระหว่างการสัมภาษณ์ของผู้สูงอายุแต่ละท่าน จะทาให้เราได้เห็นว่า วาทกรรม เรื่องของความกตัญญูเป็นสิ่งที่ฝังรากลึกอยู่ในสังคมไทยมาช้านาน ผู้สูงอายุแต่ละท่านมีความคิด และมุมมองใน เรื่อความกตัญญูแตกต่างกันออกไป แต่ทุกคนล้วนมีความคาดหวังในเรื่องของการได้รับการดูแล และการตอบ แทนความรัก ความห่วงใยออกไปในรูปแบบต่างกัน ซึ่งความกตัญญูในรูปแบบของคุณยายปา ไม่จาเป็นว่า ลูกหลานต้องมาดูแลตนเองตลอดเวลา เพราะคิดว่าช่วยเหลือตนเองได้ ไม่อยากเป็นภาระหรือทาให้ลูกหลาน ลาบากใจ ทั้งหมดที่ฉันได้กล่าวไป คือ ผลกระทบที่ชุมชนบ้านหนองผ้าขาวได้รับจากการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม ในประเด็นต่อไปฉันจะอธิบายถึงข้อท้าทายในเรื่องสถานการณ์ผู้สูงอายุของชุมชนหนองผ้าขาวจาก จุดเริ่มต้นของรูปแบบครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยายสู่ครอบครัวเดี่ยว และการอยู่บ้านคนเดียว ของผู้สูงอายุที่ส่งผลต่อสุขภาพจิต จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลง การรวมตัวของผู้สูงอายุในการทากิจกรรม ทางสังคม และการเรียนรู้และเข้าใจ การเข้ามามีบทบาทของครอบครัว ชุม ชน องค์กรต่าง ๆ ในการดูแล ผู้สูงอายุ จากการสอบถามผู้สูงอายุหลายท่าน สรุปข้อมูลได้ว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทาให้ผู้สูงอายุต้อง เผชิญกับสิ่งใหม่ๆ ซึ่งนับเป็นสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด ในขณะที่ความสามารถในการปรับตัวของ ผู้สูงอายุลดลง อันเนื่องมาจากปัจจัยสาคัญ คือ มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ส่งผลให้ผู้สูงอายุเห็นคุณค่า ~ 47 ~
ในตนเองน้อยลง กลัวการถูกทอดทิ้งจากคนที่ตนรัก บางรายมีการหลีกหนีสังคม ดังทฤษฎีทฤษฎีแยกตนเอง หรือทฤษฎีการถอยห่าง ทฤษฎีที่ว่าผู้สูงอายุและสังคมจะลดบทบาทซึ่งกันและกันอย่างค่อยเป็นค่อยไปตาม ความต้องการของร่างกายและไม่อาจหลีกเลี่ยงได้เนื่องจากยอมรับว่าตนเองมีความสามารถลดลง สุขภาพเสื่อม ลงจึงถอยหนีจากสังคมเพื่อลดความเครียด การประสบความสาเร็จของการรวมกลุ่มผู้สูงอายุ ? ข้อท้าทายของชุมชนหนองผ้าขาว คือ เรื่องของการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เนื่องจากเป็ นสังคมกึ่ง เมืองและชนบท ทาให้การรวมตัวเป็นไปได้ยากเพราะเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงการมีปัญหาความขัดแย้งในเรื่อง ผลประโยชน์ทางการเมืองเกิดขึ้น ซึ่งบุคคลที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ คือ ป้าปาริชาติ จันกุนะ เล็งเห็นถึงสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นของชุมชนหนองผ้าขาว และเมื่อตนเองไปทาบุญที่วัดสังเกตเห็ นว่า ผู้สูงอายุไม่มีกิจกรรมอะไรทานอกจากการเข้าวัด ถ้าวันไหนไม่ใช่วันพระผู้สูงอายุจะไม่เกิดการรวมตัว การอยู่ บ้านเฉยๆ บางคนมีความรู้สึกเบื่อหน่าย และปัจจัยสาคัญอีกอย่างของการเกิดการรวมกลุ่ม คือ มารดาของป้า ปาล้มป่วย ทาให้ป้าปารู้สึกว่า ชุมชนควรจะตื่นตัวในการหันมาดูแลผู้สูงอายุ ข้อท้าทายลาดับที่สอง คือเรื่องของการประสานทรัพยากรทุน เช่น ทุนที่เป็นปัจจัยเงิน ทุนเรื่องความรู้ ทุนเรื่องสถานที่ โดยป้าปาได้สอบถามความคิดเห็นจากผู้สูงอายุถึงการทากิจกรรม ซึ่งทุกคนเห็นด้วย จึ งได้ตก ลงที่จะทากิจกรรมโดยใช้สถานที่บ้านป้าปา ในเรื่องของเงินที่จะมาดาเนินการในช่วงแรกป้าปาใช้ทุนของตนเอง เป็นหลัก และขอความช่วยเหลือจากผู้สูงอายุในเรื่องของการสนับสนุนอาหาร น้าดื่ม และการประสานไปยัง ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในการให้ เจ้าหน้าที่มาสอนการทาจักสาน การดาเนินกิจกรรมในครั้งนั้นเป็นไปได้ด้วยดี ปัจจุบันครอบครัวของผู้สูงอายุ เข้ามามีบทบาท ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุ โดยสรุป ปัจจัยความสาเร็จของการเกิดกิจกรรมทางสังคม มาจากความร่วมมือของคนภายในชุมชนที่ ตระหนักถึงปัญหาของผู้สูงอายุทั้งสุขภาพกาย สุขภาพใจ โดยผู้นาและกลุ่มชาวบ้านได้ใช้ทุนทางสังคมที่มี ประสานให้เกิดการรวมกลุ่มและขับเคลื่อนไปได้ ในปัจจุบันผู้สูงอายุจะมีการทากิจกรรมทุกเดือน โดยเน้นใน เรื่องของการอบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมสุข ภาพ และการพัฒนา เพิ่มทักษะทางด้านอาชีพให้แก่ผู้สู งอายุ เช่น การจักสาน ทาเหรียญโปรยทาน ทาน้าพริก จุดมุ่งหมายที่สาคัญที่สุดคือต้องการให้ผู้สูงอายุมีความสุข เมื่อมา พบปะกับ เพื่ อ น ๆ ดังนั้ น การเข้าร่ ว มกิ จ กรรมทางสั ง คมของผู้ สู ง อายุ สะท้อนให้ เห็ น ถึง มุม มอง ทัศนคติ ข้อจากัด ที่ทาให้ผู้สูงอายุเลือกหรือไม่เลือกที่จะเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม และการมองเห็นคุณค่าในตนเอง ของผู้สูงอายุผ่านการทากิจกรรมทางสังคม รวมถึงสะท้อนถึงการดูแลของครอบครัวที่ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ ในการ ให้การสนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ ตลอดจนการจัดหาความต้องการขั้นพื้นฐานที่ จาเป็นให้แก่ผู้สูงอายุในการดารงชีพ (ปัจจัย 4) สามารถเชื่อมโยงกับทฤษฎีกิจกรรม กล่าวคือ เมื่อบุคคลมีอายุ ~ 48 ~
มากขึ้น สถานภาพ และบทบาททางสังคมจะลดลง แต่บุคคลยังมีความต้องการทางสังคมเหมือนบุคคลในวัย กลางคน ซึ่งทฤษฎีนี้เชื่อว่า ผู้สู งอายุมีความต้องการที่จะเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อความสุ ขและการมีชีวิ ต ที่ดี เช่นเดียวกับวัยผู้ใหญ่ และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่ตนเองสนใจได้ สถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น จากที่ฉันตั้งคาถามในตอนต้นว่า ผู้สูงอายุ = คุณค่า หรือ ภาระ ? จากการสัมภาษณ์ ฉันได้ข้อมู ลว่า ชุมชนหนองผ้าขาวยังคงมีความเหนียวแน่นในเรื่องของความสัมพันธ์แบบ ครอบครัวใหญ่ และคนในชุมชนโดยส่วนมากเป็นเครือญาติกัน ส่งผลให้มีความผูกพัน รู้จักกันอย่างทั่ว ถึง ลูกหลานจึงมีทัศนคติต่อผู้สูงอายุในด้านบวกมากกว่าด้านลบ รวมถึงการถูกปลูกฝังในเรื่องวัฒนธรรม ความเชื่อ เรื่องความกตัญญู ทาให้ทัศนคติของคนสองช่วงวัยทั้งวัยเด็กและวัยแรงงานมองว่าผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีคุณค่า เป็นเสมือนศูนย์กลางของคนในบ้าน รวมถึงผู้สูงอายุมีแนวทางในการปฏิบัติให้ลูกหลานแสดงความเคารพโดย การทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดี และการยึดมั่นหลักการในการดาเนินชีวิต คือ การซื่อสัตย์ การขยันพากเพียร ความอดทน จะส่งผลให้ประสบความสาเร็จในการดาเนินชีวิต เมื่อถามถึงความรู้สึกของการเป็นผู้สูงอายุ สรุป ได้ว่า มีความสุขในช่วงวัยผู้สูงอายุมากกว่าวัยหนุ่มสาว/วัยแรงงาน เนื่องจากวัยผู้สูงอายุ ลูกหลาน บุคคลใน ครอบครัวให้ความเคารพตนเอง เมื่อถึงเทศกาลสาคัญทุกคนจะมารวมตัวและมาให้ตนเองอวยพร ตนรู้สึกได้รับ ความรัก ความใส่ใจ และความสาคัญจากคนในครอบครัว
~ 49 ~
::: บทสรุป : หนองผ้าขาวที่คิด(ไม่)ถึง :::
มีคนเคยบอกว่า….. สิ่งที่เห็น..อาจไม่ใช่สิ่งที่เป็น ก้าวแรกในชุมชน ฉันตั้งคาถามทั้งต่อตนเองและชุมชน ความคิดที่ว่าเป็นไปไม่ได้ อยู่ในความคิดฉันเสมอ สุดท้ายแล้วความคิดและข้อคาถามที่ฉันตั้งไว้ในตอนต้น ถูกทลายลงด้วย “ระยะเวลา” และ “ทัศนคติ” ของคนในชุมชน ฉันรู้สึกเป็นผู้รับมากกว่าผู้ให้
~ 50 ~
การเพิ่มขึ้นของจานวนผู้สู งอายุในประเทศไทยเป็นผลมาจาก ยุค Baby Boom ช่วงปี 2506-2526 เหตุผลที่จานวนเพิ่มขึ้นมาจาก วิวัฒ นาการของเทคโนโลยี ทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข ที่ พั ฒ นา หลังจากผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งการพัฒนาดังกล่าวช่วยลด อั ต ราการเจ็ บ ป่ ว ย การตายของทาราและเด็ ก ในปั จ จุ บั น จ านวน ประชากรจากยุคBaby Boom เริ่มเข้าสู่วัยเกษียณ ทาให้ภาครัฐ และ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งตื่ น ตั ว กั บ ประเด็ น ผู้ สู ง อายุ เพราะจ านวน ประชากรจะเกิดความไม่สมดุล ภาครัฐต้องใช้งบประมาณจานวนที่มาก ขึ้น และวัยแรงงานต้องแบกรับเรื่องของภาษีที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น ทัศนคติ การทางานกับบุคคล กลุ่มชน
และมุมมองที่มีต่อผู้สูงอายุจึงถูกท้าทายว่าเป็นคุณค่า หรือ ภาระ
และชุมชนมีความท้าทายเป็น
หากจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า สังคมไทยยังคงมี
อย่างมาก เนื่องจากทุกคนมี
ความเชื่อที่ฝังรากลึกในเรื่องของการแสดงความเคารพต่อผู้สู งอายุใน
ความแตกต่างกัน
ครอบครั ว โดยเฉพาะในมิ ติข องชุ มชนสามารถเห็ น ถึ งความเคารพ ผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุได้ดีกว่าในมิติของสังคมเมือง ตลอดจนการ มองเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ บางส่วนเห็นคุณค่าในตนเองลด น้ อยลง เป็นผลมาจากการถูกลดบทบาทลง ทาให้ ผู้ สู งอายุห ลี กหนี สังคม มีภาวะของการเกิดโรคซึมเศร้า และปัจจัยเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย สูง ดังนั้นครอบครัว และชุมชนจึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหา โดยชุมชนหนองผ้าขาวได้ตระหนักในส่วนนี้และเกิดการรวมกลุ่มเพื่อ แก้ปั ญหาดังกล่ าวมีจุด มุ่งหมายเพื่ อให้ เ กิด การรวมตัว ของผู้ สู ง อายุ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุข ปัจจัยความสาเร็จ ของการเกิดกลุ่มดังกล่าวเป็นผลมาจากความร่วมมือ และเห็นพ้องของ กลุ่มผู้สูงอายุ การสนับสนุนจากครอบครัว และการมีเครือข่ายภายนอก ชุ ม ชนในการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทั้ ง ความรู้ ท างด้ า นวิ ช าการ การ สนับสนุนเรื่องทุน หรือ การเพิ่มพูนทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถพึ่งตนเองได้
~ 51 ~
โดยสรุป การทางานกับบุคคล กลุ่มชน และชุมชนมีความท้า ทายเป็นอย่างมาก เนื่องจากทุกคนมีความแตกต่างกัน เช่น ความ ต้องการของแต่ละคนในการได้รับการช่วยเหลือ หรือ การสนับสนุน โดยเฉพาะในประเด็นที่ นักศึกษาศึกษาคือเรื่องของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุมีความแตกต่างกันในเรื่องของความต้องการ เป็นผลมาจาก การมีสุขภาพร่างกายที่แตกต่าง การสนับสนุนขอครอบครัว ฐานะทาง เศรษฐกิ จ ที่ เ ป็ น ปั จ จั ย ในการเข้ า ถึ ง การดู แ ล การช่ ว ยเหลื อ สิ่ ง ที่ ผู้ สู ง อายุ มี เ หมื อ นกั น คื อ เรื่ อ งของประสบการณ์ ความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถที่พร้อมถ่ายทอดให้แก่ลูกหลาน บุคคลในชุมชน การ เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่คนในครอบครัวตลอดจนผู้สูงอายุต้องการมี คุณภาพชีวิตที่ดี ต้องการได้รับการเอาใจใส่จากบุคคลในครอบครัว การได้รับโอกาสและ การผลักดันในเรื่องของการเข้าร่วมกิจกรรมทาง สังคมโดยชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายต้อง เข้ามามีบทบาทในการสนับสนุน ดังนั้นการตอบสนองความต้องการ ของผู้สูงอายุต้องเข้าใจบริบทแต่ละพื้นที่ หากการดาเนินงานดังกล่าว ล้วนมีข้อจากัดในการพัฒนาและข้อท้าทายอยู่มาก
ข้อจากัดในการพัฒนา การดาเนิ น งานแก้ไขปั ญหาผู้ สู งอายุในชุมชนบ้านหนองผ้ าขาว ยังเป็นข้อท้าทายแก่คนในชุมชน องค์การบริหารส่วนตาบล และภาครัฐเป็นอย่างมาก ข้อจากัดที่เกิดขึ้นของแต่ละพื้นที่ล้วนมีบริบทที่แตกต่าง กันออกไป แต่ฉันคิดว่าทุกพื้นที่สามารถก้าวข้ามข้อจากัดต่าง ๆ ได้โดยอาศัยการตระหนักในปัญหาที่เกิดขึ้น อาศัยความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรม โครงการ นโยบายต่าง ๆ ไปได้ โดยข้อจากัดที่นักศึกษาพบและจาก การศึกษาจากหนังสือที่เกี่ยวข้องมีข้อจากัดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. การขาดการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุบางส่วน ครอบครัว และชุมชนในการสนับสนุนกิจกรรมทาง สังคมของผู้สูงอายุ ด้วยข้อจากัดในเรื่องของงบประมาณและกฎระเบียบ 2. ครอบครัวของผู้สูงอายุยังขาดความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุอย่างถูกต้อง และการ ปรับปรุงสถานที่ สภาพแวดล้อมในการดูแลผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม ~ 52 ~
3. คนในสังคมยังมีทัศนคติด้านลบต่อแรงงานข้ามชาติ ว่า เป็นส่วนหนึ่งของการเกิดปัญหาในสังคม เช่น ปัญหาอาชญากรรม ยาเสพติด หรือ การเข้ามาแย่งงาน เพราะท้ายที่สุดแล้วแรงงานข้ามชาติ เป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย 4. ภาครั ฐ และภาคีเครื อข่ายที่เกี่ยวข้องยังคงให้ ความส าคัญกับการดูแลและให้ ความช่ว ยเหลื อ ผู้สูงอายุในประเด็นของสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาวะที่ดี การสนับสนุนการอบรมด้านอาชีพ หากยังขาดมิติเรื่องการดูแลทางจิตใจ 5. ข้อจากัดในเรื่องของบุคลากร งบประมาณ และการสนับสนุนทางวิชาการอย่างจริงจังขององค์กร ปกครองส่ ว นท้ องถิ่น เป็ น ระบบราชการท าให้ มี ความล่ าช้า และมีกฎระเบี ยบกาหนดดั ง เ ช่ น พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ตามมาตรา 16 กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอานาจในการจัดระบบบริการ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตน โดยในเรื่องของผู้สูงอายุ ข้อที่ 10 การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒ นาคุณภาพชีวิตเด็ก แสตรี คนชรา และผู้ ด้อยโอกาส การตีความของการสั งคม สงเคราะห์ทาให้ต้องช่วยเหลือเฉพาะคนที่ยากลาบากเพียงเท่านั้น ซึ่งการตีความ และแนวคิดของ การช่วยเหลือยังมีข้อจากัดอยู่มาก
แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเด็นดังกล่าว แนวทางในการแก้ไขปัญหาสังคมผู้สูงอายุในชุมชนหนองผ้าขาว ไม่ใช่ปัญหาในระดับท้องถิ่นเพียง เท่านั้นหากสะท้อนถึงปัญหาในระดับของสังคมที่ต้องเร่งแก้ไขปัญหา สังคมผู้สูงอายุในขณะนี้เป็นเสมือน ระเบิ ดเวลาให้ แก่ภ าครั ฐ ภาคประชาชนและภาคีเครื อ ข่ายที่เกี่ ยวข้ องได้ ตระหนัก และตื่นตัว จากข้อ มู ล ประเทศไทยกาลังจะกลายเป็นสั งคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ในเวลา อีกประมาณ 5 ปีข้างหน้า หรือปี 2566 รัฐบาลจึงต้องรีบวางนโยบายและหามาตรการต่าง ๆ เพื่อรองรับสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ แนวทางในการ พัฒนาที่ยั่งยืนในประเด็นดังกล่าวที่นักศึกษาพบและจากการศึกษาจากหนังสือที่เกี่ยวข้องสามารถสรุปประเด็น ดังต่อไปนี้ 1. การแก้ไขปัญหาการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และองค์กรภาครัฐควรจัดกิจกรรมที่ มีลักษณะของการให้ความรู้ การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างความสัมพันธ์ของคนสามวัยเพื่อกระตุ้น ให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี
~ 53 ~
2. การแก้ไขปั ญหา การขาดความรู้ในการดูแลผู้ สูงอายุ โรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพตาบลและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนครอบครัวของ ผู้สูงอายุ เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในการดูแลผู้สูงอายุและการชี้ให้เห็น ประโยชน์ ของการปรับปรุงสถานที่ และสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ เช่น การปรับปรุง จากโถ สุขภัณฑ์แบบนั่งยองเป็นโถชักโครก 3. มีการจัดอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ บุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความรู้ และทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับ แรงงานข้ามชาติ ว่าไม่ได้เป็นปัญหาของสังคม หากเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ ภายในประเทศ รวมถึงการลดวาทกรรมในเรื่องของผู้สูงอายุ คือภาระของสังคมและวัยแรงงาน
บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในองค์การบริหารส่วนตาบล โดยส่วนมากการทางานด้านการพัฒนา ชุมชนและคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยส่วนมากจะเป็นหน้าที่ของนักพัฒนาชุมชน ในจังหวัดลาพูนมีเพียง องค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบเท่านั้นที่มีนักสังคมสงเคราะห์และนักพัฒนาชุมชน เนื่องจากองค์การบริหาร ส่วนตาบลน้าดิบมีเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 17 หมู่บ้าน ดังนั้นตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์จึงมีความจาเป็น ในการเข้ามาช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในตาบลให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างยั่งยืน โดย ประยุกต์ศาสตร์การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ สาหรับบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในองค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ นักสังคมสงเคราะห์จะมุ่ง ให้ความสาคัญเกี่ยวกับกลุ่มเด็กและเยาวชน และกลุ่มผู้สูงอายุ ในเรื่องของสตรี และการพัฒนาทางด้านอาชีพ จะเป็นหน้าที่ของนักพัฒนาชุมชน บทบาทหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนตาบลน้าดิบของนัก สังคมสงเคราะห์ โดยนักศึกษาขอระบุที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้สูงอายุมีดังนี้ 1. การรับผิดชอบเรื่องเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุทุกเดือน 2. การรับผิดชอบเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาทางสังคมและได้รับ ผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ สังคม การขาดโอกาสที่จะเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ 3. ร่วมจัดการฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่ ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่ายและประชาชนทั่วไปเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านสวัสดิการสังคม และสังคมสงเคราะห์ หรือ การให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการจัดตั้งกลุ่มผู้สูงอายุร่วมกับ ภาคีเครือข่าย ~ 54 ~
4. การดูแลเรื่องเงินสงเคราะห์สาหรับผู้สูงอายุและประสบปัญหาทางสังคม โดยหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 5. รับผิดชอบโครงการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย สาหรับคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่อยู่ในระยะ ที่จาเป็นต้องได้รับการ โดยนักสังคมสงเคราะห์มีหน้าที่ในการแสวงหาข้อเท็จจริง สืบค้นข้อมูล เพื่อประเมินสภาพปัญหาและวินิจฉัยปัญหาทางสังคม เมื่อสืบค้นข้อมูลนักสังคมสงเคราะห์จะนา ข้อมูลที่ได้มากาหนดเป้าหมายและแผนบริการ ดาเนินการช่วยเหลือตามความเหมาะสม เมื่อ สิ้นสุดกระบวนการนักสังคมสงเคราะห์จะติดตามประเมินผล ในกรณีที่ผู้ใช้บริการยังคงประสบ ปัญหา นักสังคมสงเคราะห์จะประสานทรัพยากร หรือ ส่งต่อไปยังหน่วยงานอื่นที่มีทรัพยากรใน การให้ความช่วยเหลือ จนกระทั่งยุติกระบวนการทางานเมื่อผู้ใช้บริการสามารถช่วยเหลือตนเอง ได้ 6. เพื่อประกอบการพิจารณาให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือโดยถูกต้องและเหมาะสม บทบาทในการ พิทักษ์สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุที่ได้รับการกระทาความรุนแรงในครอบครัว โดยการเสริมพลัง ให้แก่ผู้เสียหายที่บอบช้าทางร่างกายและจิตใจ รวมถึงการประสานงานไปยังเครือข่ายต่าง ๆ ใน การให้ความช่วยเหลืออบ่างเหมาะสม โดยสรุป การทางานกับกลุ่มผู้สูงอายุ นักสังคมสงเคราะห์ต้องพิจารณาในการให้ความช่วยเหลืออย่าง องค์ร วม โดยการดึงครอบครั ว และชุมชนเข้ามามีบทบาทเพื่อ เปลี่ ยนแปลงพฤติ กรรม เป็นกาลั งใจให้ แ ก่ ผู้ใช้บริการ และการใช้ทุนทางสังคมเข้ามาสนับสนุนในการแก้ไขปัญหา เช่น การส่งเสริมทางด้านอาชีพ การ ประสานข้อมูล/ข่าวสารที่ส าคัญ การส่งเสริมทางด้านสุขภาพ รวมถึงนักสั งคมสงเคราะห์ต้องตระหนัก ใน บทบาท เนื่องจากการทางานของนักสังคมสงเคราะห์ที่ต้องทางานร่วมกับมนุษย์ ที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา การทางานจึงมีข้อจากัดในหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นภาษา ศาสนา อคติด้านชาติพันธ์ วาทกรรม ทางสังคม และค่านิยมในการมองวิชาชีพสังคมสงเคราะห์เป็นการช่วยเหลือเรื่องเงินเพียงเท่านั้น ซึ่งเป็นข้อท้า ทายและอุปสรรคอย่างมากในการทางานที่ต้องทาให้บุคคล ครอบครัวและชุมชนเข้าใจถึงบทบาทที่แท้จริงของ นักสังคมสงเคราะห์ อีกทั้งในการตัดสินปัญหาที่ผู้ใช้บริการเข้ามารับบริการเพื่อขอความช่วยเหลือ นักสังคม สงเคราะห์ต้องมองทุกอย่างเชื่อมโยงเป็นองค์รวม ทุกการกระทามีเหตุและผล เมื่อมองเห็นประเด็นต่าง ๆ ภายในตัวบุคคล ครอบครัว และชุมชนอย่างเชื่อมโยง จะทาให้นักสังคมสงเคราะห์เข้าใจ เคารพซึ่งความ แตกต่าง นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง/พัฒนาเพื่อการช่วยเหลือให้เข้าถึงโอกาส สวัสดิการจากภาครัฐได้อย่างเท่า เทียม อีกนัยที่สาคัญ ในการทางานด้านสังคมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนนักสังคมสงเคราะห์ไม่ สามารถน าข้อมูล บางส่ว นมาเปิดเผยต่อสาธารณะชนได้ เพราะ ข้อมูล บางอย่างหากเผยแพร่ออกไปอาจ ~ 55 ~
ก่อให้เกิดผลกระทบในเชิงลบต่อ บุคคล ครอบครัว ชุมชน ดังนั้น นักสังคมสงเคราะห์จึงจาเป็นต้องมีจริยธรรม จรรณยาบรรณทางวิชาชีพเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน มีสานึกและตระหนักเสมอว่า การกระทาที่ก่อให้เกิด ผลกระทบเป็นความรับผิดชอบของตน
เอกสารอ้างอิง หนังสือ วันทนีย์ วาสิกะสิน, สุรางค์รัตน์ วศินารมณ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2557). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมและ สังคมสงเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ก า ร จั ด ร ะ เ บี ย บ ท า ง สั ง ค ม ( social organization) . สื บ ค้ น เ มื่ อ 20 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2561, สื บ ค้ น จ า ก , http://ar7155kunjo.blogspot.com/ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). ( 2558). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2558. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2561, สืบค้นจาก http://thaitgri.org/?p=37841 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2561, สืบค้นจาก http://social.nesdb.go.th/
ภาพปกโดย : นางสาววรณัฎฐ งามกาละ
~ 56 ~
~ 57 ~