รายงานการฝึกภาคปฏิบัติ2 ข้อมูลชุมชน #ชุมชนบ้านหนองผ้าขาว

Page 1


คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการฝึกภาคปฏิบัติ 2 (สค.301) มี วัตถุประสงค์เพื่อนาวิธีการ หลักการ ทฤษฎี แนวคิดทางสังคมสงเคราะห์ เฉพาะรายและกลุ่มชนมาประยุกต์ใช้ในการทางานร่วมกับชุมชน รวมถึงการ ถ่ายทอดเรื่องราวของกลุ่มนักศึกษาในการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ ชุมชนในมิติต่าง ๆ ทั้งมิติประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ผ่าน การคิด วิเคราะห์บนฐานคิดของงานสังคมสงเคราะห์ที่ให้ความสาคัญใน เรื่องของสวัสดิการทั้งต่อบุคคล ชุมชน สังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี และการช่ ว ยเหลื อ ให้ บุ ค คล ชุ ม ชนสามารถพึ่ ง พาตนเองได้ อย่ า งยั่ ง ยื น รวมถึงบทบาทของนักศึกษาในการทางานประสานทรัพยากรร่วมกับองค์การ บริ ห ารส่ ว นต าบลที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง สวั ส ดิ ก าร พั น ธกิ จ ขององค์ ก ร หน่วยงานภาครัฐ และภาคีเครือข่ายในการเข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนา ชุมชน ในการจั ด ท ารายงานครั้ ง นี้ คณะผู้ จั ด ท าขอขอบคุ ณ อาจารย์ ภาคสนาม นางระวีวรรณ เทพน้อย อาจารย์นิเทศงานอาจารย์ปรียานุช โชคธนวณิชย์ ในการให้คาปรึกษาและแนวทางในการศึกษาทาให้นักศึกษา ได้แง่คิด มุมมองในการวิเคราะห์และสรุปผลการปฏิบัติงานได้อย่างสาเร็จ ลุล่วง และขอขอบคุณชาวบ้านชุมชนบ้านหนองผ้าขาวทุกคนที่มีส่วนร่วมใน การให้ ข้อมูลรวมถึงการเข้ าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนขอบคุณเพื่อ น ร่วมงานของนักศึกษาทั้งเพื่อนในกลุ่มและเพื่อนจากกลุ่มรังสิตเป็นอย่างมาก คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชน องค์การบริหาร ส่วนตาบลน้าดิบ และผู้ที่ให้ความสนใจ


สำรบัญ ประวัตหิ มูบ่ ้ำน

1

ปฏิทนิ ชุมชน

10

ด้ำนสังคม เศรษฐกิจ 16 กำรเมืองและสิ่งแวดล้อม ภำวะสุขภำพอนำมัย

20

กำรศึกษำ

22

ทุนทำงสังคม

23

สวัสดิกำรสังคมในชุมชน 26


บ้ำนหนองผ้ ำ ขำว ม.5 ต.นำดิบ อ.ป่ำซำง จ.ลำพูน ประวัติควำมเป็นมำ ตามคาบอกเล่าของผู้สูงอายุ และปราชญ์ชาวบ้านกล่าวว่า บ้านหนองผ้าขาว เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ก่อตั้งมาในสมัยเมืองหริภุญชัย มีประวัติความเป็นมาไม่น้อย กว่า 1,400 ปี อาชีพเดิมคือ ทานาปลูกข้าว และการเกษตรอื่น ๆ แรกเริ่มเดิมที เรียกว่า “บ้านหนอง” เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นหนองน้า มีแม่น้าปิงไหลผ่าน ด้วย เหตุนี้ในสมัยก่อนจึงมีการคมนาคมทางน้า โดยอาศัยเรือเป็นพาหนะ สมัยก่อนมี พ่อค้าเรื อสาเภาจากทางตอนใต้บรรทุกก้อนหินผาสีขาวขนาดใหญ่ เพื่อนาไป ถวายพระนางจามเทวี เจ้าผู้ครองนครหริ ภุญชัย หิ นผาสี ข าวนี้เป็นหิ นวิเศษมี อิทธิฤทธิ์ พอเรือสาเภาแล่นมาถึงบริเวณบ้านหนอง เรือได้เกิดเหตุล่มทาให้หินผา สีขาวตกลงไปในแม่น้า ชาวบ้านจึงได้ขัดตั้งอารามและวัดอยู่ตรงบริเวณที่หินผาสี ขาวตกอยู่ ชื่ อ ว่ า “วั ด หนองผาขาว” ชื่ อ หมู่ บ้ า นจากบ้ า นหนองก็ เ ปลี่ ย นเป็ น “หนองผาขาว” และมีกานัน ผู้ใหญ่บ้านปกครองสืบต่อกันมา จนกระทั่งต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้มาสร้างโรงเรียนขึ้นชื่อว่า “โรงเรียน บ้านหนองผ้าขาว” และมีธงประจาโรงเรียนเป็นสีขาวตามชื่อหมู่บ้าน หลังจากนั้น ชาวบ้านได้เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านจาก “บ้านหนองผาขาว” เป็น “บ้านหนองผ้าขาว” เพราะธงโรงเรียนเป็นสีขาว ปัจจุบันโรงเรียนหนองผ้าขาวได้ไปรวมกับโรงเรียน เหล่าป่าก๋อยในปีพุทธศักราช 2560 ตามมติกระทรวงศึกษาธิการ 4


ข้อมูลพืนฐำนของบ้ำนหนองผ้ำขำว สภาพทางกายภาพ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ 24-25 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิอากาศ สภาพอากาศโดยทั่วไปของบ้านหนองผ้าขาว ประกอบด้วย 3ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึง เดือนตุลาคม และฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์

ที่ตั้งและอาณาเขต บ้านหนองผ้าขาว หมู่ที่ 5 ตาบลน้าดิบ อาเภอป่าซาง เป็นหมู่บ้านที่มีอายุมา ยาวนานกว่า 1,400 ปี โดยเป็นสังคมกึ่งเมือง-ชนบท ตั้งอยู่ในเขตความรับผิดชอบ ขององค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ บ้านหนองผ้าขาวห่างจากอาเภอเมืองลาพูน ระยะทาง 31 กิโลเมตร การเดินทางมาบ้านหนองผ้าขาว ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 106คื อ สายดอนไชย–อุ โ มงค์ และขั บ ตรงมาเส้ น ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1156 คือ สบทา-ท่าลี่ โดยบ้านหนองผ้าขาวตั้งอยู่กิโลเมตรที่ 20-22

อาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดกับ บ้านท่าไม้ ม.13 ต.น้าดิบ อ.ป่าซาง ติดกับ บ้านวังผาง ม. 4 ต.วังผาง อ.กิ่งเวียงหนองล่อง ติดกับ บ้านป่ารกฟ้า ม. 9 และ บ้านเหล่าป่าก๋อย ม. 1 ต.น้าดิบ อ.ป่าซาง ติดกับ แม่น้าปิง

5


6


จำนวนประชำกรบ้ำนหนองผ้ำขำว

728 คน หญิงมำกกว่ำชำย 37 คน หญิง

ชำย

>

382 คน

345 คน

ที่มำ : สำนักทะเบียนอำเภอป่ำซำง จังหวัดลำพูน ข้อมูล ณ วันที่ 8 มกรำคม 2561

แบ่งตำมช่วงอำยุ 36

78

112

อำยุ 0-5 ปี

อำยุ 6-19 ปี

อำยุ 20-29 ปี

108

67

148

อำยุ 30-39 ปี

อำยุ 40-49 ปี

อำยุ 50-59 ปี

36

22

อำยุ 70-79 ปี

อำยุ 80-89 ปี

ที่มำ : สำนักทะเบียนอำเภอป่ำซำง จังหวัดลำพูน ข้อมูล ณ วันที่ 8 มกรำคม 2561

113 อำยุ 60-69 ปี

7 อำยุ 90 ปีขึนไป

หน่วย : คน


กำรประกอบอำชีพ ประชากรส่วนใหญ่ในบ้านหนองผ้าขาว ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ ทาสวนลาไย ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพหลัก เนื่องจากชุมชนหนองผ้าขาวมี พื้นที่ทางการเกษตรเป็นจานวนมาก อาชีพเสริมภายในชุมชน คือ การทาน้าพริก การรับจ้างทั่วไป การทานาโดยผลผลิตจากการทานาส่ วนมากเพื่อบริ โภคใน ครัวเรือนและบางส่วนเพื่อไว้ขาย ประชากรบางส่วนในชุมชนรับราชการ เช่น ครู ตารวจ แพทย์ พยาบาล ข้าราชการท้องถิ่น เป็นต้น ▪ รายได้เฉลี่ย ไม่ต่ากว่า 20,000 บาท/คน/ปี ▪ ผลผลิตที่ได้จาหน่ายในและนอกชุมชน ได้แก่ ลาไย พืชผัก น้าพริกแกง ไข่เค็ม จักสาน

ข้อมูลสภำพทั่วไปของชุมชน ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪

วัดประจาหมู่บ้าน (วัดหนองผาขาว) 1 แห่ง ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน 1 แห่ง ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน 1 แห่ง ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง ตู้หยอดเหรียญกดน้าดื่ม 1 แห่ง ตู้น้ามันหยอดเหรียญ 1 แห่ง หอกระจายข่าว 14 แห่ง

▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪

ร้านค้า 5 แห่ง ร้านอาหาร 4 แห่ง โรงสีข้าว 3 แห่ง โรงงานลาไย 4 แห่ง ร้านขายสินค้าการเกษตร 3 แห่ง ตู้ยามตารวจ 1 แห่ง

8


ด้ำนระบบสำธำรณูปโภค บ้านหนองผ้าขาว ทุกครัวเรือนมีระบบประปาและน้าใช้ รวมถึงแหล่งน้าเพื่อ การเกษตรมาจากแหล่งน้าธรรมชาติ (แม่น้าปิง ) และแหล่งน้าที่สร้างขึ้น การ คมมนาคมมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1156 คือ สบทา-ท่าลี่ ตัดผ่านทางเหนือ ของหมู่บ้าน

สถำบันและองค์กรทำงศำสนำ ประชากรหนองผ้าขาวโดยส่วนมากนับถือ ศาสนาพุทธ เห็นได้จากการที่ชาวบ้านมีความ ศรัทธา เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เมื่อถึงวัน พระชาวบ้านหนองผ้าขาวโดยเฉพาะผู้สูงอายุจะ เข้ าร่ วมกิ จ กรรมสม่าเสมอ และเมื่อ มีง านบุ ญ ประเพณี ต่ า ง ๆ เช่ น การฟั ง เทศน์ งานบวช ชาวบ้านจะรวมตัวเพื่อจัดกิจกรรมดังกล่าว และ มีชาวบ้านจากหมู่บ้านอื่นมาร่วมด้วย ตลอดจน มีอ งค์กรจากภาครัฐให้ก ารสนับสนุน อ านวย ความสะดวกในการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี

9


10


ประวัตศิ ำสตร์ชมุ ชน ปีพุทธศักราช 2460 สร้างวัดหนองผาขาว โดยคณะศรัทธา ของพ่ออุ๊ยคาเอ้ย มูลรัตน์

ปีพุท ธศักราช 2481 กระทรวงศึกษาธิการได้ขยายโอกาส ทางการศึกษาจากเมืองสู่ชนบทและจัดตั้งโรงเรียน “บ้านหนอง ผ้าขาว” และมีธงตราสัญลักษณ์ประจาโรงเรียนเป็นสีขาวตาม ชื่อหมู่บ้าน ปีพุทธศักราช 2510 ก่อตั้งกลุ่มฌาปนกิจศพ เพื่อให้การช่วยเหลือสมาชิกภายในชุมชน ที่เสียชีวิต โดยเมื่อมีบุคคลใดภายในชุมชนเสียชีวิตแต่ละครัวเรือนจะช่วยเหลือสงเคราะห์ศพ ปีพุทธศักราช 2542 ก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์แม่บ้าน ปีพุทธศักราช 2544 ก่อตั้งกองทุนหมู่บ้าน ตามนโยบายของภาครัฐในการพัฒนาและ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจแบบฐานราก ซึ่งกองทุนหมู่บ้านมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเงินกู้ยืมสาหรับการ พัฒนาอาชีพ การลงทุนในการประกอบอาชีพของสมาชิกภายในชุมชน เพื่อให้สมาชิกภายใน ชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ปีพุทธศักราช 2545 แยกหมู่บ้านหนองผ้าขาวบางส่วนออกเป็นบ้านท่าไม้ หมู่ที่ 13 เนื่องจากในอดีตบ้านหนองผ้าขาวเป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ ทาให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่าง ยากลาบากจึงมีการแยกหมู่บ้านเพื่อให้ง่ายต่อการจัดการดูแลทุกข์ บารุงสุขประชาชนภายใน หมู่บ้าน ปีพุทธศักราช 2553 ก่อตั้งกลุ่มน้าพริก ปีพุทธศักราช 2556 ก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์บทบาทสตรี ปีพุทธศักราช 2558 ก่อตั้งกลุ่มจักสาน ปีพุทธศักราช 2560 ได้ยุบโรงเรียนบ้านหนองผ้าขาว ตามมติของกระทรวงศึกษาธิการไปรวมกับโรงเรียนเหล่าป่าก๋อย หมู่ท1ี่ เนื่องจากเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียนน้อยกว่า 60 คน 11


ด้ำนศำสนำ ควำมเชือ่ บ้านหนองผ้าขาว ประชากรภายในหมู่บ้านนับถือศาสนาพุทธ ส่งผลให้ได้รับ อิทธิพลความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิตมาจากศาสนาพุทธ และบางอย่าง ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์ เช่น พิธีสืบชะตา ภายในชุมชนหนองผ้าขาวมี องค์กรทางศาสนา คือ วัดหนองผาขาว เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนชุมชน และผู้มีจิต ศรัทธา เลื่อมใสในศาสนา โดยวัดหนองผาขาวได้มีพระภิกษุได้อยู่จาพรรษาและ ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันดังรายนามต่อไปนี้ 1. พระคาหลวง ประมาณพุทธศักราช 2398-2403 2. พระหลวง ประมาณพุทธศักราช 2403-2406 3. พระทา ประมาณพุทธศักราช 2406-2411 4. พระมา ประมาณพุทธศักราช 2411-2424 5. พระครูบาจันตา พุทธศักราช 2424-2486 6. พระแปง จนฺทิมา พุทธศักราช 2486-2489 7. พระติ๊บ พุทธศักราช 2489-2491 8. พระคาตั๋น พุทธศักราช 2492-2493 9. พระทองคา จนฺทรสี พุทธศักราช 2497-2500 10. พระประสิทธิ์ ปญญาทีโป พุทธศักราช 2501-2505 11. พระอธิการสุวรรณ ติกฺขวีโร พุทธศักราช 2508-2525 12. พระครูสถิตสารคุณ พุทธศักราช 2525-ปัจจุบัน

12


13


ปฏิทินชุมชนมีประโยชน์อย่ำงไร ? จากแผนภาพปฏิทินชุมชนหนองผ้าขาว จะเห็นว่า การนับเดือนของภาคเหนือ หรือ ชาวล้านนา จะนับเดือนตามจันทรคติ ที่อาศัยการสังเกตลักษณะรูปร่างของ ดวงจันทร์ในตอนกลางคืนเพื่อการนับเวลา มีลักษณะคล้ายคลึงกับปฏิทินของชาติ ต่างในทวีปเอเชีย ปฏิทินไทเดิมนั้นใช้คาแบบโบราณดั้งเดิม ซึ่งบางอย่างยังคงตก ทอดมาถึงปัจจุบันในทางโหราศาสตร์ และศาสนา แต่อย่างไรก็ตาม ปฏิทินแบบนี้ ยังคงใช้กันในหมู่คนไทยกลุ่มอื่น ๆ เช่น ลาว ล้านนา ไทใหญ่ ไทลื้อ เป็นต้น (วิ กิพิเดีย สารานุกรมไทยเสรี, 2560) โดยปฏิทินชุมชนเป็นเครื่องมือสาคัญใน การศึกษาและเข้าใจวิถีชีวิตของชุมชนเป็นอย่างมาก ว่ามีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้างใน รอบวัน รอบเดือน รอบปี หรือ แต่ละฤดูกาล เพื่อให้กลุ่มนักศึกษาวางแผนในการ ปฏิบัติงานได้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตของคนในชุมชน

ภาพกิจกรรมฝาผนังวัดหนองผาขาวแสดงวัฒนธรรม ประเพณีของคนในชุมชน


กิจกรรมปฏิทนิ ชุมชน เดือนมกราคม (เดือนสี่) ประเพณี ตั ก บาตรข้ า วใหม่ (ป๋ า เวณี ต านข้ า วใหม่ ) ในช่วงของประเพณีเดือน 4 เมื่อชาวบ้านนาข้าวเปลือกเข้ายุ้ง ฉางแล้วจะนาข้าวนั้นไปทาบุญข้าวใหม่ เรียกว่า “ทานขันข้าว ใหม่” เพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลไปถึงเทวดาขุนน้า ปู่ย่าตายาย ปัจจุบันหมู่บ้านหนองผ้าขาวยังมีการทาบุญทานข้าวจี่ ข้าวหลาม ชาวบ้านจะนาข้าวที่ได้จากท้องนามาประกอบอาหารประเภทต่าง ๆ เช่น ข้าวจี่ ข้าวหลาม โดยนาอาหารเหล่านี้ไปถวายพร้อมกับอาหารคาวประเภทอื่น ๆ ในขณะเดียวกันก็ ถือโอกาสทานขันข้าว คือถวายอาหารเพื่ออุทศิ ส่วนกุศลไปให้ญาติพี่น้องที่ลว่ งลับไปแล้ว เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ชาวพุทธเมืองเหนือล้านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ากรรม ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จน เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ถือเป็นประเพณีมาจนกระทั่งตราบถึงปัจจุบัน ประเพณีดังกล่าวนี้จะเลือกเอาสถานทีต่ ามวัดวาอาราม ประเพณี ารเข้ากรรมปฏิ ัติธรรม(รุ เดือนเข้า5โสสานกรรม” เหนือ ของทุกปัปีจจุชาว เรียกว่า “เข้ากรรมรุ กขมูล”กและใช้ บริเวณสุสบานป่ าช้า เรีกยขมูกว่ลากรรม) “ประเพณี บัน พุ ท ธเมื อ งเหนื อ ล้ า นนาจะนิ ย มจั ด กิ จ กรรม เข้ า กรรม ปฏิ บ ั ต ิ ธ รรมของพระสงฆ์ และศรั ท ชาวบ้านหนองผ้าขาวสืบทอดประเพณีเข้ากรรมปฏิบัติธรรมไม่เป็นประจาทุกปี เนื่องจากชาวบ้านส่วธา นใหญ่ อเป็นประเพณี มาจนกระทั ่งตราบถึ งปัจจุบันอปันข้จาจุงมากจึ บันชาวบ้ าขาวสื บ า อยู่ในฤดูกประชาชน าลเก็บเกี่ยจนถื วลาไยและท่ านพระครู สถิตสารคุ ณมีภาระงานค่ งร่าวนหนองผ้ มจัดประเพณี การเข้ บัติธ่นรรมไม่ เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่อยู่ใน กรรมปฏิบทอดประเพณี ัติธรรมร่วมกัเบข้วัาดกรรมปฏิ หรืออารามอื ๆ เช่นเป็สนานัประจ กสงฆ์าทุกู่แกก้ปีวนาคราช ฤดู ก าลเก็ บ เกี่ ย วล าไยและท่ า นพระครู ส ถิ ต สารคุ ณ มี ภ าระงานค่ อ นข้ า งมากจึ ง ร่ ว มจั ด ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรมร่วมกับวัดหรืออารามอื่นๆ เช่น สานักสงฆ์กู่แก้ววนาราม

เดือนมีนาคม (เดือนหก)

งานปอยหน้ อ ย แห่ ลู ก แก้ ว บวช ขะโยม (บวชเณ ร อุปสมบท) การแห่ลูกแก้วเป็นการแห่เด็กชายซึ่งจะบรรพชา เป็นสามเณรในพุทธศาสนา ส่วนมากอายุไม่เกิน 15 ปี ถือ ปฏิบัติทุกปีในช่วงระหว่างเดือน 6 – 8 เหนือ (มีนาคม – พฤษภาคม) ปัจจุบันประเพณีแห่ลูกแก้ว บวชขะโยมไม่เป็นที่ นิยมเนื่องจากใช้เวลาหลายวัน และใช้งบประมาณค่อนข้างสูง จึงเปลี่ยนมาเป็นการบวชเณรภาคฤดูร้อนแทน

12


กิจกรรมปฏิทนิ ชุมชน เดือนเมษายน (เดือนเจ็ด )

ประเพณีสงกรานต์

(ปี๋ใหม๋เมือง) ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย (ต๋านเจ๋ดีย์ทราย) การ แห่ไม้ค้าต้นศรีมหาโพธิ์(แห่ไม่ก้าสะหลี) เป็นประเพณีสาคัญของ ชาวเหนือ หรือชาวล้านนา มักจะตรงกับวันที่ 13หรือ 14เมษายน ของแต่ละปี ปัจจุบันประเพณีสงกรานต์ถือเป็นประเพณีที่สาคัญ ของชาวบ้านหนองผ้าขาว เนื่องจากเป็นวันหยุดที่ยาวนานที่สุดของ ปี มีการรวมตัวของญาติพี่น้องเพื่อทาบุญสรงน้าพระ รดน้าดาหัว ผู้เฒ่าผู้แก่ ขนทรายเข้าวัด แห่ไม้ค้าศรี เพื่อร่วมทานุบารุง เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี อนพฤษภาคม นแปด) ชาวพุทธเมืเดื องเหนื อล้านนาจะนิยมจั(เดื ดกิจอกรรม เข้ากรรม ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จน งานยอตานสิ ่ งก่ อ สร้ดาังงกล่ถาวรวั ต ถุอใกเอาสถานที นวั ด งานบุต่ ญามวั ที่ยดิ่ งวาอาราม ใหญ่ข องคน ถือเป็นประเพณีมงานปอยหลวง าจนกระทั่งตราบถึ งปัจจุบัน ประเพณี าวนี้จะเลื ภาคเหนื อ กซึขมู ่งจัลด”เป็และใช้ นประจ ๆ าปีช้าเป็เรีนยงานฉลองที ่ยิ่งใหญ่ หรืองานฉลองที เรียกว่า “เข้ ากรรมรุ บริาของทุ เวณสุสกานป่ กว่า “ประเพณี เข้าโสสานกรรม” ปัจ่ใจุหญ่ บันโต มักจะจัาดขาวสื ขึ้นในช่ วงเดือน 5 ไปจนถึ งเดือน7 อ ซึเ่งป็ก็นตประจ รงกับาทุ เดืกอปีนกุเนื มภาพั นธ์ ไปจนถึ อน ชาวบ้านหนองผ้ บทอดประเพณี เข้ากรรมปฏิ บัติธเหนื รรมไม่ ่องจากชาวบ้ านส่งวเดืนใหญ่ อยู่ในฤดูกเมษายน าลเก็บเกี่ยระยะเวลาการจั วลาไยและท่านพระครู สารคุณมี3-7วั ภาระงานค่ งร่วมจัาดขาวไม่ ประเพณี ารเข้ ดงานจะมีสถิตประมาณ น ปัอจนข้ จุบาันงมากจึ บ้านหนองผ้ มีกการจั ดา กรรมปฏิบประเพณี ัติธรรมร่ปวอยหลวง มกับวัดหรืสาเหตุ ออารามอื ่นๆ เช่านอาวาสไม่ สานักสงฆ์ นาคราช ดเป็นประจาทุกปีเช่นใน มาจากเจ้ เห็กนู่แด้ก้ววยเพราะหากจั สมัยก่อนจะทาให้แบกรับค่าใช้จ่ายเยอะ

เดือนมิถุนายน (เดือนเก้า) เลี้ยงผีบ้าน เลี้ยงผีปู่ย่า หมายถึงผีประจาตระกูล หรือ ที่เรียกกันว่าผีบรรพบุรุษ กล่าวคือถ้า ปู่ ย่า ตา ยาย ล่วงลับ ไปแล้วพวกลูกหลานก็จะสร้างหอไว้ทางเบื้องทิศหัวนอนหรือใน สถานที่ที่เห็นว่าปัจจุบันความเชื่อดังกล่าวยังคงหลงเหลือให้ได้ เห็ น ในชุ ม ชน คื อ บางบ้ า นจะท าศาลให้ แ ก่ ผี ปู่ ผี ย่ า โดย หลักเกณฑ์การทาศาลนั้นมีความเชื่อว่าลูกผู้หญิงคนโตต้องเป็น คนสร้างศาล


กิจกรรมปฏิทนิ ชุมชน เดือนกรกฎาคม (เดือนสิบ) ประเพณี เ ข้ า พรรษาเป็ น วั น ส าคั ญ วั น หนึ่ ง ในทาง พระพุทธศาสนา มีธรรมเนียมของสงฆ์อยู่ว่า พระสงฆ์ทุกรูป ต้องทาพิธีอธิษฐานพรรษา กล่าวคืออธิษฐานเพื่ออยู่ประจา ในวัดใดวัดหนึ่งที่ตนทาพิธีอธิษฐานนั้น ตลอดเวลา 3เดือน ในฤดู ฝ น ประเพณี เ ข้ า พรรษาของที่ วัด หนองผาขาวใน ปัจจุบันจะมีญาติโยมจัดการอุปสมบทบุตรหลานเพื่อร่วมจา พรรษาและพระสงฆ์ที่จาวัดอยู่นั้นจะต้องปฏิบัติตนให้อยู่ใน ธรรมเนียมที่ได้อธิษฐาน เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ชาวพุทธเมืองเหนือล้านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ากรรม ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จน เดือนสิงหาคม (เดือนสิบเอ็ด) ถือเป็นประเพณีมาจนกระทั่งตราบถึงปัจจุบัน ประเพณีดังกล่าวนี้จะเลือกเอาสถานทีต่ ามวัดวาอาราม เนื่องจากบ้ วนมากประกอบ เรียกว่า “เข้ากรรมรุ กขมูลา” นหนองผ้ และใช้บาริขาวโดยส่ เวณสุสานป่ าช้า เรียกว่า “ประเพณีเข้าโสสานกรรม” ปัจจุบัน อาชี พเกษตรกรรม เมื่อเข้า สูเข้่ฤาดูกรรมปฏิ ฝนอย่างเป็ ทางการ ชาวบ้านหนองผ้ าขาวสืบทอดประเพณี บัติธนรรมไม่ เป็นประจาทุกปี เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่ านส่วนมากจะด าเนิสนถิการเตรี และ อนข้างมากจึงร่วมจัดประเพณีการเข้า อยู่ในฤดูในเดื กาลเก็อนนี บเกี้ช่ยาวบ้ วลาไยและท่ านพระครู ตสารคุณยมดิ มีภนาระงานค่ กรรมปฏิหว่ บัตาิธนกล้ รรมร่ วมกั วัดหรื อารามอื านักสงฆ์ กู่แก้วนาคราช าไว้ ก่อบนแล้ ว อในเดื อนนี่น้จๆะเริเช่​่มนดสานา โดยคน หนุ่มสาวหรือลูกหลาน ส่วนคนเฒ่าคนแก่หรือผู้สูงอายุ จะไปทาบุญใส่บาตร ถือศีลอยู่วัดเป็นหลัก

เดือนกันยายน (เดือนสิบสอง)

ประเพณีตานก๋ วยสลาก(สลากภัต ) นิยมจัดกันในช่วงเดือน 12 เหนือถึงเดือนยี่ เหนือ หรือตั้งแต่เดือนกันยายนจนถึงเดือนตุลาคมของทุกปี โดยมากแล้วชาวล้านนาจะจัด งานตานก๋ ว ยสลากในช่ ว งที่ ท านาเสร็ จ แล้ ว ก่ อ นที่ จ ะถึ ง วั น งานตานก๋ ว ยสลาก ทาง ภาคเหนือจะเรียกว่า “วันดาหรือวันสุกดิบ” ชาวบ้านจะจัดเตรียมอาหาร ข้าวของเครื่องใช้ ต่างๆ แล้วนามาจัดใส่ก๋วยสลาก (ชะลอมไม้ไผ่) ซึ่งบ้านหนองผ้าขาวได้ปฏิบัติประเพณีนี้ มาตั้งแต่อดีตกาลจนถึงปัจจุบัน


กิจกรรมปฏิทินชุมชน เดือนตุลาคม (เดือนเกีย๋ ง) ประเพณี ป วารณาออกพรรษาและตั ก บาตรเท โว คือ วันที่สิ้นสุดระยะการจาพรรษาเป็นเวลา 3 เดือน (นั บ ตั้ง แต่วัน เข้า พรรษา) เรียกอีก อย่า งหนึ่ง ว่ า “วัน มหา ปวารณา” ตรงกั บ วั น ขึ้ น 15 ค่ า เดื อ น 11 หลั ง วั น เข้ า พรรษา 3 เดื อ น ตามปฏิ ทิ น จั น ทรคติ ไ ทย วั น ออก พรรษา นี้พุทธศาสนิกชนถือว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะกระทา การบาเพ็ญกุศล โดยชาวบ้านในชุมชนจะไปวัดเพื่อทาบุญ ฟังพระธรรมเทศนา ร่วมกิจกรรมตักบาตรเทโว อุทิศส่วน เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี กุศลให้แก่ญาติผู้ล่วงลับ ชาวพุทธเมืองเหนือล้านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ากรรม ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จน ถือเป็นประเพณีมาจนกระทั่งตราบถึงปัจจุบัน ประเพณีดังกล่าวนี้จะเลือกเอาสถานทีต่ ามวัดวาอาราม เดือกขมู นพฤศจิ กายน (เดื อนยี เรียกว่า “เข้ากรรมรุ ล” และใช้ บริเวณสุ สานป่ าช้า่) เรียกว่า “ประเพณีเข้าโสสานกรรม” ปัจจุบัน ประเพณี ลอยยี่เป็งเ(ลอยกระทง) านนาจะเริ ่มประเพณี ป็งตั้งแต่วันาขึนส่ ้น ว13 ชาวบ้านหนองผ้าขาวสื บทอดประเพณี ข้ากรรมปฏิบัตชาวล้ ิธรรมไม่ เป็นประจ าทุกปี เนืย่อี่เงจากชาวบ้ นใหญ่ า จะเป็ นวันเตรี ยมข้าวของส าหรัณบมีทภาบุาระงานค่ ญที่วัดในวั ้น 14 งร่ค่วามจัดและในคื น า อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยค่วล าไยและท่ านพระครู สถิตสารคุ อนข้นาขึงมากจึ ประเพณีนกวัารเข้ า อจะน ากระทงไปลอยในแม่ น้าเพื คงคา บูชาองค์พระ กรรมปฏิบัติธรรมร่ขึว้นมกั15 บวัดค่หรื อารามอื ่นๆ เช่น สานักสงฆ์ กู่แก้่อวขอขมาพระแม่ นาคราช สัมมาสัมพุทธเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวล้านนา และเข้าวัดทาบุญ เพื่อความเป็นสิริมงคลกับตนเองและครอบครัว โดยชุมชนหนองผ้าขาวในวันลอย กระทงตามบ้านจะประดับตกแต่งโคมและจุดประทีปเพราะมีความเชื่อว่าแสง สว่างดังกล่าวจะส่งผลให้ประสบความสาเร็จในชีวิต

เดือนธันวาคม (เดือนสาม) ประเพณีตั้งธรรมหลวง (การเทศน์มหาชาติ) การฟังพระธรรมเทศนาเวสสันดรชาดก เป็นเรื่องราวชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ก่อนจะได้มาประสูติและตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใน ชาติต่อมา ก่อนการจัดพิธีตั้งธรรมหลวงพระเณรและชาวบ้านหนองผ้าขาวจะช่วยกันเตรียม งานล่วงหน้าอย่างน้อยเป็นเดือนเพราะต้องเตรียมการในหลายส่วน เช่น การตกแต่งสถานที่ การหาพระเสียงดีมาเทศน์ การหางบประมาณในการสนับสนุน ฯลฯ


ด้ำนสังคม เศรษฐกิจ และกำรเมือง ด้านสังคม บ้านหนองผ้าขาวเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่ งชนบท อาศัย การทากสิ กรรมในการ ดารงชีวิต ชาวบ้านภายในชุมชนจะมีการอยู่อาศัยแบบเครือญาติ คือ ภายในพื้นที่ บริเวณเดียวกันจะมีบ้านหลายหลังซึ่งล้วนเป็นบุตรและลูกหลานที่แยกครอบครัว ออกมาหลั ง จากแต่ ง งานหรื อ บ้ า นหลั ง เดี ย วกั น แต่ มี ห ลายทะเบี ย นบ้ า น ท าให้ ชาวบ้านภายในชุมชนบ้านหนองผ้าขาวมีความใกล้ชิดสนิทสนมกัน อีกทั้งในอดีตบ้าน หนองผ้าขาวจะมีการแต่งงานกันภายในหมู่บ้าน ทาให้ชาวบ้านหนองผ้าขาวมีความ เป็นเครือญาติกันเกือบทั้งชุมชน และประชาชนภายในบ้านหนองผ้าขาวส่วนมากจะ อยู่ในช่วงวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุ

เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ชาวพุทธเมืองเหนือล้านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ากรรม ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จน ด้านเศรษฐกิ จ งปัจจุบัน ประเพณีดังกล่าวนี้จะเลือกเอาสถานทีต่ ามวัดวาอาราม ถือเป็นประเพณี มาจนกระทั่งตราบถึ เรียกว่า “เข้ากรรมรุก” และใช้บริเวณสุสานป่าช้า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวลาไยและท่านพระครูสถิต ประกอบอาชี พเกษตรกรรม อาทิการเข้ การท าสวนลาไย การทวานา วงกู่แก้ว สารคุณมีภาระงานค่ อนข้างมากจึ งร่วมจัดประเพณี ากรรมปฏิ บัติธรรมร่ มกับวัการปลู ดหรือสกานัมะม่ กสงฆ์ นาคราช และการปลู ก ผั ก สวนครั ว ซึ่ ง รายได้ จ ะขึ้ น อยู่ กั บ ราคาของผลผลิ ต ณ ขณะนั้ น

นอกจากนี้ชาวบ้านบางส่วนยังมีรายได้จากการรับจ้างทั่วไป อาทิ รับจ้างเก็บลาไย รับจ้างนาลาไยใส่ตะกร้า รับจ้างก่อสร้าง มีรายได้ตั้งแต่ 200-400nบาท ขึ้นอยู่กับ ลักษณะงาน การประกอบอาชีพค้าขาย รับราชการ หรือเป็นพนังงานบริษัท ในส่วน หนี้ สิ น ชาวบ้ า นบ้ า นหนองผ้ า ขาวเกื อ บทุ ก ครั ว เรื อ นมี ห นี้ สิ น จากการกู้ ยื ม เงิ น จาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารออมสิน กองทุนหมู่บ้าน เพื่อนาเงินมาใช้ หมุนเวียนในการทาการเกษตร โดยฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนมีตั้งแต่ฐานะ ยากจน จนถึงฐานะร่ารวย นอกจากนี้ชาวบ้านบางส่วนยังมีรายได้จากการเข้าร่วม กลุ่มอาชีพของทางชุมชน อาทิ กลุ่มทองม้วน กลุ่มจักสาน กลุ่มน้าพริกและพริกแกง ซึ่ง จะเป็นในรูปแบบของเงินปันผลจากการเข้าร่วมกลุ่ม เงินออม และเงินกู้ยืม


ด้ำนสังคม เศรษฐกิจ และกำรเมือง ด้านการเมืองการปกครอง บ้านหนองผ้าขาว อยู่ในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วน ตาบลน้าดิบ ตั้งแต่อดีตบ้านหนองผ้าขาวอยู่กันอย่างสงบสุข เนื่องจากคนใน ชุมชนมีการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ ผู้ใหญ่บ้านที่ดูแลทุกข์ บารุงสุขของชาวบ้านจะมาจากการเลือกตั้งโดยจะยึดเสียงข้างมากเป็นหลัก หาก เกิดการทุจริต หรือ ไม่โปร่งใส ชาวบ้านทุกคนมีสิทธิตรวจสอบการทางานได้ โดยมีร ายนามของผู้ใหญ่บ้านและก านันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันดังรายนาม ต่อไปนี้ 1. นายต๋า ปาปวน ผู้ใหญ่บ้าน เดือนกุมภาพันธ์ (เดื2.อนห้ านายสิ ) ประเพณี ากรรมปฏิ ลกรรม) งห์ การเข้วงศ์ ษายะ บตั ิธรรม(รุกผูขมู ้ใหญ่ บ้าน เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ชาว พุทธเมืองเหนือล้ านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ ากรรม ปฏิบตั ิธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จนถือเป็ น 3. นายบุญยืน อุดมสม ผู้ใหญ่บ้าน ประเพณีมาจนกระทัง่ ตราบถึงปั จจุบนั ประเพณีดงั กล่าวนี ้จะเลือกเอาสถานที่ตามวัดวาอาราม เรี ยกว่า “เข้ า 4. สานป่นายอ้ ผู้ใาไยและท่ หญ่บ้านานพระครูสถิตสารคุณมีภาระ กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุ าช้ า าส่ยวนใหญ่ปาปวน อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวล นายแก้กวารเข้ ากรรมปฏิ ปาปวนบตั ิธรรมร่วมกับผูวั้ใดหญ่ งานค่อนข้ างมากจึงร่ว5.มจัดประเพณี หรื อบส้าานันและก กสงฆ์กานั ่แู ก้นวนาคราช 6. นายดวงคา ปาปวน ผู้ใหญ่บ้านและกานัน 7. นายสันติสุข ชัยวงศ์ กานัน 8. นายดวงแก้ว ขันคา ผู้ใหญ่บ้าน 9. นายณรงค์ มหานันต์ ผู้ใหญ่บ้าน 10. นายศรายุทธ จันกุนะ ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน


ด้ำนสังคม เศรษฐกิจ และกำรเมือง ด้านสิ่งแวดล้อม บ้านหนองผ้าขาวมีพื้นที่บริเวณโดยรอบหมู่บ้านเป็นพื้นที่ทางการเกษตร มีแม่น้า ปิงไหลผ่านบริเวณหน้าหมู่บ้าน และบริเวณโดยรอบหมู่บ้านมีลาน้าขนาดเล็กใหญ่ผ่าน ทาให้เป็นพื้นที่ที่เหมาะแก่ การทาการเกษตร และภายในชุมชนบ้านหนองผ้าขาวขาดร ระบบการจัดการขยะที่เหมาะสม ชาวบ้านภายในชุมชนจะกาจัดขยะภายในครัวเรือนผ่าน การเผาขยะในพื้ น ที่ ข องตนเอง แต่ ห ากในช่ ว งระยะเวลาที่ รั ฐ บาลประกาศห้ า มเผา ชาวบ้านภายในชุมชนจะกาจัดขยะภายในครัวเรือนด้วยการกองขยะไว้ในพื้นที่ของตน ทาให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของเชื้อโรค ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสภาวะแวดล้อมเชิงลบ ภายในชุมชนบ้านหนองผ้าขาว เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้ า) ประเพณีการเข้ ากรรมปฏิบตั ิธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ชาว พุทธเมืองเหนือล้ านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ ากรรม ปฏิบตั ิธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จนถือเป็ น ประเพณีมาจนกระทัง่ ตราบถึงปั จจุบนั ประเพณีดงั กล่าวนี ้จะเลือกเอาสถานที่ตามวัดวาอาราม เรี ยกว่า “เข้ า กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุสานป่ าช้ า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวลาไยและท่านพระครูสถิตสารคุณมีภาระ งานค่อนข้ างมากจึงร่วมจัดประเพณีการเข้ ากรรมปฏิบตั ิธรรมร่วมกับวัดหรื อสานักสงฆ์ก่แู ก้ วนาคราช

18


ภำวะสุขภำพอนำมัย สมำชิกภำยในชุมชนบ้ำนหนองผ้ำขำวส่วนมำกมีร่ำงกำยสมบูรณ์แข็งแรง อันเนื่องมำจำกชำวบ้ำนมีกำรดูแลรักษำสุขภำพร่ำงกำยของตนเองผ่ำนกำรออก กำลังกำยไปพร้อมกับกำรทำงำน กำรกินยำตำมแพทย์สั่ง กำรปลูกผักสวนครัว รับประทำนเองโดยไม่ใส่สำรเคมี เช่น ต้นหอม ผักกำด กะหล่ำ เป็นต้น และ กำรประกอบอำหำรรั บ ประทำนเอง เนื่ อ งจำกบ้ ำ นหนองผ้ ำ ขำวเป็ น ชุม ชนที่ ประกอบเกษตรกรรมและอยู่ ใ กล้กั บตลำดท ำให้ มี ควำมสะดวกในกำรจัด หำ วัตถุดิบในกำรประกอบอำหำร โดยอำหำรที่ชำวบ้ำนรับประทำนจะเป็นอำหำร จำพวกต้มและรสชำติค่อนข้ำงจืด จึงทำให้ชำวบ้ำนส่วนมำกมีสุขภำพที่ดี เดือนกุมภาพันธ์ (เดื า) ตประเพณี ิธรรม(รุ กขมูบลป่กรรม) อน 5 เหนือ ของทุ อย่อำนห้ งไรก็ ำมยังมีกชารเข้ ำวบ้าำกรรมปฏิ นบำงส่บวตั นมี กำรเจ็ วยด้วเดื ยภำวะโรคไม่ ติดต่กอปี ชาว พุทธเมืองเหนืเรืออรั ล้ านนาจะนิ ยมจัดกิจกรรม เข้ ากรรม ปฏิบdiseases:NCDs) ตั ิธรรมของพระสงฆ์ และศรัอัทนธาประชาชน ง (Non-Communicable ประกอบด้จนถื ว ย อเป็ น ประเพณีมาจนกระทัง่ ตราบถึงปั จจุบนั ประเพณีดงั กล่าวนี ้จะเลือกเอาสถานที่ตามวัดวาอาราม เรี ยกว่า “เข้ า โรคเบำหวำน โรคควำมดัน โรคไขมันในเลือดสูง โรคไต โรคมะเร็ง โรคข้อเสื่อม กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุสานป่ าช้ า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวลาไยและท่านพระครูสถิตสารคุณมีภาระ โรคภูมิแพ้ โรคอัลไซเมอร์ และโรคเส้นเลือดในสมองแตกและโรคเส้นเลือดใน งานค่อนข้ างมากจึงร่วมจัดประเพณีการเข้ ากรรมปฏิบตั ิธรรมร่วมกับวัดหรื อสานักสงฆ์ก่แู ก้ วนาคราช

สมองตีบ โดยโรคไม่ติดต่อเรือรังมักพบในกลุ่มวัยทำงำนและกลุ่มผู้สูงอำยุ ซึ่งมี สำเหตุมำจำกพฤติกรรมทำงสุขภำพเชิงลบของแต่ละบุคคลที่กระทำในอดีต อัน ประกอบด้วย กำรรับประทำนอำหำรกึ่งสุกกึ่งดิบ กำรรับประทำนอำหำรรสจัด กำรดื่มสุรำหรือสูบบุหรี่ และกำรใช้ยำฆ่ำแมลงหรือปุ๋ยเคมีในกำรทำกำรเกษตร หรื อ บำงท่ ำ นอำจมี ภ ำวะโรคที่ เ กิ ด จำกกรรมพั น ธุ์ แ ละกำรเกิ ด โรคตำมกำร เปลี่ยนแปลงของช่วงวัย อำทิ กลุ่มผู้สูงอำยุมักจะมีภำวะโรคเกี่ยวกับควำมดัน และกำรเจ็บตำมข้อต่อของร่ำงกำยมีสำเหตุมำจำกควำมเสื่อมถอยของร่ำงกำย และโรคติดต่อ (Communicable diseases: CDs) ที่มีสำเหตุมำจำกกำรรับเชือ ไวรัส อำทิ กำรติดเชือ HIV และโรคโปลิโอ


ภำวะสุขภำพอนำมัย

ในการรักษาสุขภาพของสมาชิกในชุมชนบ้านหนองผ้าขาว ในอดีตชาวบ้านจะ เดือนกุมภาพัรันกธ์ษาอาการเจ็ (เดือนห้ า)บประเพณี การเข้ ากรรมปฏิ บตั ิธรรม(รุกขมู้นลบ้กรรม) เดือนาพิ5 ธเหนื อ ของทุกปี ชาวพุทธ ป่วยด้วยการใช้ สมุนไพรโดยหมอพื าน การท ีกรรมทางไสย เมืองเหนือล้ านนาจะนิ มจัดากิงทรง จกรรมเพืเข้่อขัาบกรรม รรมของพระสงฆ์ และศรั ทธาประชาชน จนถืขภาพ อเป็ น ศาสตร์โยดยร่ ไล่สิ่ปฏิ งไม่บดตั ีอิธอกจากร่ างกาย หรื อการรั กษาและดูแลสุ ประเพณีมาจนกระทั ง่ ตราบถึ งปั จจุสบุ รนั าและบุ ประเพณี วนี ้จะเลือกเอาสถานที ามวัดาวาอาราม เรี ยกว่า “เข้ า ของตนด้ วยการใช้ ห รีด่ งั เนืกล่​่ อางจากในอดี ต ความก้ า่ตวหน้ ทางวิ ท ยาศาสตร์ กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุยสังานป่ า ส่วานใหญ่ ยู่ในฤดู กาลเก็ บเกี่ยกวล าไยและท่านพระครู สถิตสารคุ ณมีภาระงาน การแพทย์ ไม่มาีคช้วามก้ วหน้าอชาวบ้ านจึ งมีการรั ษาตามความเชื ่อและการรั บรู้ของแต่ ค่อนข้ างมากจึละบุ งร่วคมจัคลดประเพณี ากรรมปฏิ บตั ิธรรมร่วมกัมบีควัวามก้ ดหรื อาสวหน้ านักสงฆ์ ก่แู ก้ วนาคราช ชิด แต่เมื่อวิกทารเข้ ยาศาสตร์ ทางการแพทย์ าและขยายออกมาใกล้ ชาวบ้านมากขึ้น ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่ว่า “ใกล้บ้าน ใกล้ใจ” ชาวบ้านหนองผ้าขาวจึงมีการดูแลรักษาสุขภาพของตนผ่านการซื้อยารับประทาน เองตามร้านขายยา การพบแพทย์ตามคลินิก การรักษาในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ส่วนต าบลบ้ านวั งสวนกล้ วย และโรงพยาบาลส่ง เสริ ม สุข ภาพส่ วนต าบลนครเจดี ย์ สาหรับชาวบ้านที่ไม่สะดวกในการเดินทาง หรือหากชาวบ้านบุคคลใดมีอาการรุนแรง หรือมีความสะดวกในการเดินทางจะเดินทางเข้าไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลป่าซางซึ่ง เป็นโรงพยาบาลประจาอาเภอ และโรงพยาบาลลาพูนซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจาจังหวัด แต่ยังมีชาวบ้านบางท่านที่ยังมีความเชื่อในการดูแลสุขภาพของตนเองโดยการใช้ยา สมุนไพร หรือการเป่าคาถา เช่น การเป่าคาถาควักซุย ซึ่งสามารถแสดงแผนภาพระบบ สุขภาพภายในชุมชนหนองผ้าขาวได้ ดังนี้


24


กำรศึกษำและกำรเรียนรูข้ องสมำชิกในชุมชน ด้ ำ นกำรศึ ก ษำ

ในอดี ต บ้ ำ นหนองผ้ ำ ขำวมี

โรงเรียนประจำหมู่บ้ำนชื่อ “โรงเรียนบ้ำนหนองผ้ำ ขำว” มี กำรเปิ ด กำรเรี ย นกำรสอนตั งแต่ ร ะดั บ ชั น ประถมศึกษำปีที่ 1- 6 แต่เมื่อปีพุทธศักรำช 2560 โรงเรียนบ้ำนหนองผ้ำขำวได้ยุบไปร่วมกับโรงเรียนบ้ำ เหล่ำป่ำก๋อยตำมมติของกระทรวงศึกษำธิกำร เด็ก และเยำวชนในบ้ำนหนองผ้ำขำวจึงย้ำยไปศึกษำอยู่ที่ โรงเรียนบ้ำนเหล่ำป่ำก๋อย ซึ่งจะมีรถตู้รับส่งนักเรียน ไปรับ-ส่ โรงเรีกยขมู นนลกรรม) ำดิบหลวงวิ เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้ า) ประเพณีการเข้ ากรรมปฏิ บตั งิธรรม(รุ เดือนท5ยำคม เหนือ โรงเรี ของทุกยปีน ชาว นห้บวตั ยอ้ อ เป็นต้น ส่วนเด็ กและเยำวชนที ่มีฐำนะ พุทธเมืองเหนือล้ านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ ากรรมบ้ำปฏิ ิธรรมของพระสงฆ์ และศรั ทธาประชาชน จนถือเป็ น ประเพณีมาจนกระทัง่ ตราบถึงปั จจุบนั ประเพณีดงั ทำงครอบครั กล่าวนี ้จะเลือวกเอาสถานที ามวังดบุวาอาราม เรี ยกว่ า “เข้ า ดี ครอบครัว่ตจะส่ ตรหลำนไปศึ กษำ กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุสานป่ าช้ า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดู ่ยวลาไยและท่ นพระครู สถิตสารคุ ณมีนภาระ อยู่ทกี่สาลเก็ ถำนศึบเกี กษำในอ ำเภอป่ำาซำง อำเภอเมื องลำพู งานค่อนข้ างมากจึงร่วมจัดประเพณีการเข้ ากรรมปฏิ วมกับและจั วัดหรืงอหวั สานั สงฆ์กอำทิ ่แู ก้ วนาคราช จังบหวัตั ิธดรรมร่ เชียงใหม่ ดลกำปำง โรงเรียน

ป่ ำ ซำง โรงเรี ย นจั ก รค ำคณำทร โรงเรี ย นส่ ว นบุ ญ โญปถั ม ภ์ มหำวิ ท ยำลั ย เชี ย งใหม่ มหำวิทยำลัยรำชภัฏลำปำง เป็นต้น ส่วนเด็กอำยุตังแต่ 4-6 ปีจะศึกษำในศูนย์พัฒนำเด็ก เล็กตำบลนำดิบ ซึ่งอยู่ภำยใต้กำรดูแลขององค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำดิบ เพื่อพัฒนำ พัฒนำกำรตำมช่วงวัยของเด็กที่ผู้ปกครองไม่สำมำรถดูแลได้ในเวลำกลำงวันหรือไม่มีทุน ทรัพย์เพียงพอที่จะส่งเด็กเล็กไปศึกษำในตัวเมืองอำเภอลำพูน นอกจำกนีชำวบ้ำนบ้ำนหนองผ้ำขำวบำงท่ำนยังมีกำรศึกษำเรียนรู้โดยกำรบวชเรียน กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยสำหรับผู้ที่ขำดแคลนทุนทรัพย์หรือไม่มี เวลำที่จะศึกษำเรียนในระบบ หรือกำรเรียนรู้จำกกำรประกอบวิชำชีพจนได้รับกำรยกย่อง และนับถือเป็นปรำชญ์ชำวบ้ำน หรือเป็นผู้เชี่ยวชำญในสำขำอำชีพนัน เช่น ปรำชญ์ชำวบ้ำน ด้ำนกำรเกษตร ปรำชญ์ชำวบ้ำนด้ำนสมุนไพร


ทุนทำงสังคม ทุนทางสั งคม หมายถึง ทุน ที่เกิ ดจากการปฏิสั มพันธ์ร่ วมกั นระหว่า ง บุคคลสองคน ไปจนถึงระดับกลุ่ม โดยมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนระหว่างกันเพื่อเกิด ประโยชน์ทางด้านต่าง ๆ เพื่อให้ เกิ ดการพัฒ นาคุณภาพชีวิตและการสร้ าง เครือ ข่าย โดยทุนทางสังคมสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ทุนทาง สั ง คมภายใน และ ทุ น ทางสั ง คมภายนอก ทุ น ทางสั ง คมภายในเป็ น สิ่ ง ที่ มองเห็นยาก หรือ ประเมินได้ยาก เช่น ความรู้สึก ความคิด จิตใจ ความเชื่อ ทัศนคติ ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความผูกพัน ในขณะที่ทุนทางสังคมภายนอกเป็น สิ่ ง ที่ ม องเห็ น ได้ ง่ า ย สามารถประเมิ น ได้ ง่ า ยกว่ า เช่ น พฤติ ก รรม ความสัมพันธ์ของบุคคล วัตถุสิ่งของต่าง ๆ เช่น ยานพาหนะ เครื่องมืออานวย เดือนกุมภาพั นธ์ (เดือนห้ า) ประเพณี ความสะดวกทางด้ านต่ากง ารเข้ ๆ ากรรมปฏิบตั ิธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ชาว พุทธเมืองเหนือล้ านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ ากรรม ปฏิบตั ิธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จนถือเป็ น โดยในชุมชนหนองผ้าขาว ประเพณีมาจนกระทัง่ ตราบถึงปั จจุบนั ประเพณีดงั กล่าวนี ้จะเลือกเอาสถานที่ตามวัดวาอาราม เรี ยกว่า “เข้ า กลุ่มนักศึกษาได้ศึกษาทุนทางสังคมด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นประโยชน์ในการ กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุสานป่ าช้ า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวลาไยและท่านพระครูสถิตสารคุณมีภาระ เข้าใจชุ ชนดประเพณี และทราบถึ อข่ายบตั ความช่ วยเหลื อของชุ ชน กจากการศึ กษา งานค่อนข้ างมากจึ งร่วมมจั การเข้งาเครื กรรมปฏิ ิธรรมร่วมกั บวัดหรื อสานัมกสงฆ์ ่แู ก้ วนาคราช ข้ อ มู ล ตลอดระยะเวลาการฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ และการท าประชาคม นั ก ศึ ก ษา สามารถวิเคราะห์ ไ ด้ว่า ชุมชนหนองผ้าขาวมีทุนทางสั งคม โดยแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ทุนบุคคลคือ บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และ ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม โดยบุคคลเหล่านี้เป็นบุคคลที่คนในชุมชนให้ ความเคารพนับถือ เป็นแหล่งความรู้และผู้ทรงคุณค่าในชุมชนเป็นอย่างมาก ทุ น เครื อ ข่ า ย/องค์ ก ร คื อ เครื อ ข่ า ยภายในและภายนอกชุ ม ชนที่ ใ ห้ ค วาม ช่วยเหลือ สนับสนุน การจัดหาทรัพยากรมาสนับสนุนการขับเคลื่อนของชุมชน หรือ ให้ความช่วยเหลือทางด้านต่าง ๆ และทุนทางกายภาพ เป็นสิ่งที่มนุษย์ สร้ า งขึ้ น เพื่ อ อ านวยความสะดวกให้ แ ก่ ก ารด ารงชี วิ ต และเกิ ด ขึ้ น เองตาม ธรรมชาติ สามารถสรุปตามตารางได้ดังนี้


ทุนทางสังคม 1. ทุนทางจิต วิญญาณ

2. ทุนทางภูมิ ปัญญาและ วัฒนธรรม

ที่มาของทุนทางสังคม

ตัวอย่างทุนทางสังคม

ทุนทางสังคม ส่งผลต่อชุมชนอย่างไร ▪ ทุนจิตวิญญาณเกิดจาก ▪ การนับถือศาสนาพุทธ ▪เป็นที่พึ่งทางจิตใจ และกรอบใน ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใ จ ▪ การนั บ ถื อ เจ้ า แม่ ก าลี การด าเนิ น ชี วิ ต ของสมาชิ ก ใน ค ว า ม รู้ สึ ก ก า ร เ ป็ น หรือ เทพต่าง ๆ ชุมชน ทาให้ชุมชนเกิดความเป็น เจ้ า ของที่ มี ต่ อ ชุ ม ชน ▪ การนั บ ถื อ ผี ปู่ ผี ย่ า /ผี ระเบี ย บ และเกรงกลั ว ต่ อ การ ตนเอง บรรพบุรุษ กระทาผิดศีลธรรม ▪ เกิ ด จากทุ น ที่ มี อ ยู่ ใ น ท้ อ ง ถิ่ น แ ต่ เ ดิ ม เชื่อมโยงกับทุนทางจิต วิ ญ ญ า ณ แ ล ะ ประเพณี วั ฒ นธรรม ที่มีในชุมชน

▪ การรักษาด้วยสมุนไพร ▪ส่งผลต่อวิถีชีวิต ของคนในชุมชน ▪ ประเพณีตานข้าวใหม่ ด้ า น กา รป ระ พ ฤติ ตน อ ยู่ ใ น ▪ ป ร ะ เ พ ณี แ ห่ ลู ก แ ก้ ว วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามที่ บวชขะโยม ชุ ม ชนก าหนด รวมถึ ง เป็ น การ ▪ ประเพณีสรงน้าพระธาตุ สร้างความเป็นหนึ่งเดียว/ความ ▪ พิธีแฮกนาหว่านกล้า สามัคคีผ่านการเข้าร่วมกิจกรรม เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี ▪ ประเพณีปอยข้าวสงค์ ประเพณีต่าง ๆ ภายในชุมชน ชาวพุทธเมืองเหนือล้านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ากรรม ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จน ▪ ประเพณีเทศน์มหาชาติ

ถือเป็นประเพณีมาจนกระทั่งตราบถึงปัจจุบัน ประเพณีดังกล่าวนี้จะเลือกเอาสถานทีต่ ามวัดวาอาราม เรียกว่า “เข้ากรรมรุก” และใช้บริเวณสุสานป่าช้า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวลาไยและท่านพระครูสถิต สารคุณมีภาระงานค่อนข้างมากจึงร่วมจัดประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรมร่วมกับวัดหรือสานักสงฆ์กู่แก้ว นาคราช3. ทุนบุคคล ▪ ทุ น บุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ ▪ เจ้ า อาวาสวั ด หนองผา ▪ ทาให้เกิดความเข้มแข็งภายใน มี ค ว า ม รู้ ส ติ ปั ญ ญ า ทั ศ นคติ ที่ ดี มี ใ จที่ จ ะ ท าประโยชน์ส่ ว นรวม มีทักษะ ประสบการณ์ สามารถถ่ า ยทอดให้ สมาชิกในชุมชนได้และ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การ พัฒนาชุมชน

▪ ▪ ▪ ▪ ▪

ขาว ชุม ชนและท าให้ เ กิ ด การพั ฒ นา ผู้อาวุโส ชุมชนอย่างมี ผู้ ใ หญ่ บ้ า นและผู้ ช่ ว ย ประสิทธิภาพ ผู้ใหญ่บ้าน ▪เกิดการรวมกลุ่มและ เครือข่าย สมาชิ ก สภาองค์ ก าร ภายในชุ ม ชนที่ เ ข้ ม แข็ ง น าไปสู่ บริหารส่วนตาบลน้าดิบ การขั บ เคลื่ อ นชุ ม ชนที่ ร่ ว มกั น คณะกรรมการหมู่บ้าน ป้องกันและแก้ไขปัญหา ก ลุ่ ม อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ป ร ะ จ า หมู่บ้าน ปราชญ์ ด้ า นสมุ น ไพร และเกษตร


ทุนทางสังคม

ที่มาของทุนทางสังคม

4.ทุนทรัพยากร ▪ ปั จ จั ย / ทุ น ที่ มี อ ยู่ ธรรมชาติและทุน ภายในชุมชน ที่ ส่ง ผล กายภาพ ต่อการพัฒนาทางด้าน การด าเนิ น ชี วิ ต และ อ า ชี พ ร ว มถึ ง สิ่ ง ที่ มนุ ษย์ ส ร้ า ง ขึ้ น เ พื่ อ อานวยความสะดวกใน การดารงชีวิต

ตัวอย่างทุนทางสังคม

▪ อานวยความสะดวกให้แก่สมาชิก ใน ชุ มชน ใ น ด้ า น กา รด า เ นิ น ชี วิ ต ประจ าวั น การประกอบ อาชี พ และการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร น าไปสู่ ก ารพั ฒ นาชุ ม ชนให้ มี ความเจริญก้าวหน้าเท่าทันการ เปลี่ยนแปลง ▪ เป็นพืชผลทางการเกษตรที่สร้าง รายได้ ห ลั ก ให้ แ ก่ ค นในชุ ม ชน โดยพั น ธ์ ที่ นิ ย มปลูก คื อ “อี ด้อ ” เนื่ อ งจากมี ร สหวาน เนื้ อ หนา เล็กอน 5 เหนือ ของทุกปี ชาว เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้ า) ประเพณีการเข้ ากรรมปฏิบตั ิธรรม(รุกขมูลกรรม)เม็ดเดื 5. กองทุน ▪ การจั ด การทุ น ที่ เ ป็ น ▪ กลุ่มสายน้าปิง (น้าพริก ▪ ส่งเสริมการประกอบอาชีพ การมี พุทธเมืองเหนือล้ านนาจะนิยมจัดกิจกรรม เข้ ากรรม ปฏิบตั ิธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จนถือเป็ น สาธารณะชุมชน ทุ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ และจักสาน) งานทา และการสร้างหลักประกัน ประเพณีมาจนกระทัง่ ตราบถึภ งาปัยจจุใบนนั ชุประเพณี ด ง ั กล่ า วนี ้จะเลื อ กเอาสถานที ่ ต ามวัดวาอาราม เรี ยกว่า “เข้ า ม ช น ▪ กลุ่มทองม้วน ในการดาเนินชีวิตของสมาชิกใน กรรมรุก” และใช้ บริเวณสุสานป่ าช้่ อานโดยสมาชิ ส่วนใหญ่กอยู▪่ในฤดู าลเก็พบย์เกี่ยวลาไยและท่ชุมาชนนพระครู สถิสต่วสารคุ มีภาระ ขั บ เคลื กลุ่มกออมทรั ผ่ านการมี นร่ วมณการ งานค่อนข้ างมากจึงร่วมจัดประเพณี ั ฌาปนกิ ิธรรมร่จวสงเคราะห์ มกับวัดหรื อสานั สงฆ์ก่แู ก้ วนาคราช ในชุมชน การเข้ ากรรมปฏิ ▪ กลุบ่มต พึ่ งกตนเองและการช่ ว ยเหลื อ กั น ศพ และกันของคนในชุมชน 6. ทุนเครือข่าย ▪ ทุ น ที่ ค นในชุ ม ชนมี ทั้ ง ▪ วัดหนองผาขาว ▪ เป็ น แหล่ ง ทรั พ ยากรในการ ในชุมชนและนอกชุมชน ▪ อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น พั ฒ นา สนั บ สนุ น การประกอบ ในการประสาน ตาบลน้าดิบ อาชี พ การให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ทรั พ ย า กรเ พื่ อ กา ร ▪ โรง พย า บ า ลส่ ง เ ส ริ ม อาชีพ หรือการดูแลสุขภาพ การ พั ฒ นาชุ ม ชน ในด้ า น สุ ข ภ า พ ต า บ ล วั ง ส ว น รั ก ษาพยาบาล และการจั ด ต่าง ๆ เช่น ด้านอาชีพ กล้วย สวั ส ดิก ารเพื่ อ ความเป็ น อยู่ ข อง ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ▪ การศึก ษานอกระบบและ ชุมชน คุณภาพชีวิต การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ตาบลน้าดิบ ▪ ศู น ย์ เ รี ย นรู้ ก ารพั ฒ นา สตรี และครอบครั วเฉลิ ม พระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชิ นี น าถ จั ง หวั ด ลาพูน ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪

ทรัพยากรที่ดิน แม่น้าปิง การคมนาคมขนส่ง ระบบไฟฟ้า ประปา การสื่อสาร ลาไย

ทุนทางสังคม ส่งผลต่อชุมชนอย่างไร


สวัสดิกำรสังคมในชุมชน สวั ส ดิ ก ารสั ง คม เป็ น หลั ก ประกั น ความมั่ น คงในการด าเนิ น ชี วิ ต ของ ประชาชาชนภายในประเทศ ทาให้ประชาชนในประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่ง การจั ด สวั ส ดิ ก ารมี ก ารจั ด สวั ส ดิ ก ารจากหลายภาคส่ ว นประกอบด้ ว ย สวัสดิการของคนในชุมชนที่จัดขึ้นโดยชุมชน บนพื้นฐานของการช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน และการพึ่งพาตนเองของสมาชิกใน ชุมชน การจัดสวัสดิการโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นให้แก่คนในชุมชน และการจัดสวัสดิการโดยการออกนโยบายจากภาครัฐบาลส่วนกลาง

สวัสดิกำรในชุมชนทีจ่ ัดโดยสมำชิกในชุมชน เดือนกุมภาพันธ์ (เดือนห้า) ประเพณีการเข้ากรรมปฏิบัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี สวัดสกิดิจกกรรม ารในชุเข้มากรรม ชนทีจ่ ดั ปฏิโดยสมาชิ กในชุมชน และศรัทธาประชาชน จน ชาวพุทธเมืองเหนือล้านนาจะนิยมจั บัติธรรมของพระสงฆ์ ถือเป็นประเพณี มาจนกระทั งปัจศจุพบันเป็ประเพณี กล่าวนี ้จะเลื อกเอาสถานที ามวัดวาอาราม ▪ กองทุ นฌาปณกิ่งตราบถึ จสงเคราะห์ นกองทุนทีด่ช่วังยเหลื อญาติ ของผู ้เสียในการจัดต่ การศพ โดยสมาชิกใน ชุมชนทุกกครั เรือนต้อบงเสี ยค่าฌาปณกิ ผู้เสียชีวอิตยูครั วเรือกนละ โดยบ้านของผู ้เสียชีวิต สถิต เรียกว่า “เข้ากรรมรุ ” วและใช้ ริเวณสุ สานป่จาศพเมื ช้า ส่​่อวมีนใหญ่ ่ในฤดู าลเก็100 บเกีบาท ่ยวลาไยและท่ านพระครู จะได้รับอเงินข้ นจากกองทุ สารคุณมีภาระงานค่ างมากจึนงจร่านวน วมจัด66,000 ประเพณีบาการเข้ากรรมปฏิบัติธรรมร่วมกับวัดหรือสานักสงฆ์กู่แก้ว นาคราช ▪ กลุ่มสายน้าปิง ประกอบด้วยกลุ่มน้าพริก พริกแกง และจักสาน เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของแม่บ้าน และกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน โดยสมาชิกกลุ่มจะมีการออมเงินเดือนละ 100 บาทต่อคน ซึ่งสมาชิกภายในกลุ่ม จะได้รับค่าตอบแทนในรูปของเงินปันผลจากการดาเนินกิจกรรมภายในกลุ่มเป็นรายปี และเงินสวัสดิการ ประกอบด้วย 1. ค่ารักษาพยาบาล กรณีนอนโรงพยาบาลและมีใบรับรองแพทย์ คืนละ 100 บาท สูงสุด 300 บาท 2. มีกองทุนเงินยืมสาหรับสมาชิกภายในกลุ่มสูงสุด 10,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.50 บาท ซึ่งสมาชิกที่กู้ยืมต้องชาระหนี้ภายในหกเดือนหลังจากที่ยืมเงิน นอกจากนี้กลุ่มสายน้าปิง มีการประสานงานกับเจ้าหน้าที่ รพสต. กศน. ในการเข้ามาให้ความรู้ทั้งด้านการ ประกอบอาชีพ และการดูแลสุขภาพให้แก่สมาชิกที่สนใจภายในชุมชน อาทิ กิจกรรมการให้ความรู้ในการดูแลแก่ ผู้สูงอายุ ▪ ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย และอานวยความสะดวกให้แก่ สมาชิกในชุมชน ▪ เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน (อสม.) ในการตรวจสุขภาพประจาเดือนหรือการดูแลสุขภาพ คนในชุมชน 29


สวัสดิกำรจำกองค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำดิบ สวัสดิการจากองค์การบริหารส่วนตาบลน้าดิบ กองทุนสวัสดิการชุมชน เป็นการจัดสวัสดิการขององค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อสร้างหลักประ กินให้แก่ประชาชนในตาบลโดยประชาชนที่เข้าร่วมจะต้องออมเงินเดือนละ 10 บาท สมาชิก ภายในกองทุนสวัสดิการชุมชนจะได้รับสิทธิประโยชน์ 1. ค่ารักษาพยาบาล กรณีนอนพักษาตัวที่โรงพยาบาล ได้รับเงินคืนละ 100 บาท สูงสุด 500 บาท (ต้องมีใบรับรองแพทย์) 2. แต่งงาน ได้รับเพียงครั้งเดียวจานวน 1,000 บาท 3. คลอดบุตรคนแรก ได้รับเงิน 1,000 บาท งแรกได้รกับารเข้ เงิน า500 บาท บัติธรรม(รุกขมูลกรรม) เดือน 5 เหนือ ของทุกปี เดือนกุมภาพันธ์ (เดื4.อนห้บ้าานหลั ) ประเพณี กรรมปฏิ เสียชีวิตยมจั ได้รดับกิเงิจนกรรม 10 เท่เข้าของเงิ นออม นที่จะได้รับ และศรั 7,000ทบาท ชาวพุทธเมืองเหนือล้5.านนาจะนิ ากรรม ปฏิแต่ บัตมิธีเพดานเงิ รรมของพระสงฆ์ ธาประชาชน จน ▪ มสวั ส ดิการส่งาหรั บผู้ยงากไร้ การจัดบริดกังารเพื ่อตอบสนองความต้ องการและความจ าเป็น ถือเป็นประเพณี าจนกระทั ตราบถึ ปัจจุบเป็ันนประเพณี กล่าวนี ้จะเลือกเอาสถานที ต่ ามวัดวาอาราม ให้แก่กก”ลุ่มและใช้ ผู้ที่มีความยากไร้ เรียกว่า “เข้ากรรมรุ บริเวณสุสานป่าช้า ส่วนใหญ่อยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวลาไยและท่านพระครูสถิต ก ที่ ก าลังร่งวศึมจั ก ษาอยู ่ ใ นศู นกย์ารเข้ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ตบาบลน้ าดิ บวมกั มี ตบู้ รวั​ั บด-ส่ เ สี ยกู่แก้ว สารคุณมีภาระงานค่1.อนข้เด็างมากจึ ดประเพณี ากรรมปฏิ ัติธรรมร่ หรืง อโดยไม่ สานักสงฆ์ ค่าใช้จ่าย นาคราช 2. ผู้ ป่ ว ยที่ จ าเป็ น ต้ อ งเดิ น ทางเข้ า รั บ การรั ก ษาที่ โ รงพยาบาลมี ร ถจากเจ้ า หน้ า ที่ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนจัดให้บริการ ▪ ผู้ประสบปัญหาทางสังคม นักสังคมสงเคราะห์ชานาญการประจาอบต. จะประสานทรัพยากรใน การให้ความช่วยเหลือและเยียวยาหรือลงเยี่ยมบ้านในกรณีที่มีความจาเป็น ยกตัวอย่าง การ กู้ยืมเงินกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ นักสังคมสงเคราะห์จะรวบรวมเอกสาร สัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้น ให้คาแนะนาและส่งต่อเอกสารไปยังกองทุน ▪ การส่งเสริมอาชีพ สาหรับประชาชนที่ต้องการจัดตั้งกลุ่มในการประกอบอาชีพ ซึ่งทาง อบต. จะมีเครื่องมือในการประกอบชีพและเงินทุนให้ยืม พร้อมทั้งวิทยากรในการให้ความรู้เกี่ยวกับ การประกอบอาชีพนั้น ▪


สวัสดิกำรจำกนโยบำยภำครัฐ สวัสดิการจากนโยบายภาครัฐ สวัสดิการจากนโยบายของภาครัฐ จะเน้นการดูแลคุณภาพชีวิตของประชากรจากครรภ์มารดา สู่เชิงตะกอน ในยุคของรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มีการจัดสวัสดิการภายในประเทศดังนี้ ▪ เด็กและทารกในครรภ์มารดา : โครงการส่งเสริมสาวไทยแก้มแดง มีลูกเพื่อชาติ ด้วยวิตามิน แสนวิเศษ ผ่านการวางแผนครอบครัวและการแจกธาตุเหล็กสาหรับผู้ที่ต้องการมีบุตร ▪ เด็กทารก : โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ตั้งแต่อายุ 0-3 ปี จะได้รับ เงินเดือนละ 600 บาท ▪ การศึกษา : สวัสดิการการศึกษาถ้วนหน้าเรียนฟรี 15 ปี ▪ ค่าครองชีพในการดาเนินชีวิต : โครงการบัตรประชารัฐสาหรับผู้มีรายได้น้อย ซึ่งจะได้รับเงิน เดือนกุมภาพันสธ์าหรั (เดืบอซื้อนห้ บตั ิธรรม(รุบาท กขมูและค่ ลกรรม) เดือน 5 เหนื อ ของทุกปี ชาว เครืา่อ)งอุประเพณี ปโภคบริกโารเข้ ภคเดืาอกรรมปฏิ นละ 200-300 าโดยสารขนส่ งสาธารณะโดย พุทธเมืองเหนือล้ไม่านนาจะนิ เสียค่าใช้จย่ามจั ย ดกิจกรรม เข้ ากรรม ปฏิบตั ิธรรมของพระสงฆ์ และศรัทธาประชาชน จนถือเป็ น ประเพณีม▪าจนกระทั ง่ ตราบถึ งปั จจุบนั ประเพณี ้จะเลืเพือ่อกเอาสถานที เรี ยกว่ ผู้สูงอายุ : โครงการสละสิ ทธิ์เบี้ยยัดงงั ชีกล่ พผูา้สวนี ูงอายุ นาเงินไปให้ก่ตลุามวั ่มผู้สดูงวาอาราม อายุที่มีรายได้ น้อาย “เข้ า กรรมรุก” และใช้และน บริเวณสุ านป่ าช้บาาป* ส่วนใหญ่ าลเก็าบกองทุ เกี่ยวลนผูาไยและท่ ถิตผู้สสารคุ าเงินสจากภาษี ร้อยละอยู2่ในฤดู จัดกสรรเข้ ้สูงอายุ เพืานพระครู ่อเพิ่มเบี้ยสให้ ูงอายุณทมี​ี่มีภาระ งานค่อนข้ างมากจึ งร่วนมจั้อยตามที ดประเพณี ารเข้ยานสวั กรรมปฏิ บตั ิธงรรมร่ วมกั วัดอหรื านักสงฆ์ รายได้ ่ได้ขึ้นกทะเบี สดิการแห่ รัฐ เพิ ่มขึ้นบเดื นละอส100 บาทก่แู ก้ วนาคราช

*ภาษีบาป คือ ภาษีสรรพสามิตที่เป็นสินค้าสุรา บุหรี่



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.