I
II
หลักการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพ เพื่อการเรียนรู้คุณธรรมสาหรับเด็ก เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร. อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง โดย นายภานุวฒ ั น์ บุตรเรียง 568 42257 27
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการออกแบบสารเพื่อการเรียนการสอน สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
III
IV
สารบัญ หลักการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพเพื่อการเรียนรู้คุณธรรมสาหรับเด็ก หน้า 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์................................................................................................................... 1 2. นิทานภาพ.................................................................................................................................... 3 3. หลักการออกแบบหนังสือนิทานภาพ............................................................................................ 5 4. มโนทัศน์ หลักการ และผลผลิต.................................................................................................... 18 5. แบบประเมินหนังสือนิทานภาพประกอบการเรียนรู๎คุณธรรม...................................................... 25
1
หลักการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพเพื่อการเรียนรู้คุณธรรมสาหรับเด็ก 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2540) ได๎ให๎ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วํา รูปแบบของการจัดเก็บ และนาเสนอข๎อมูลหลากหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นข๎อความ ตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงตําง ๆ ข๎อมูล เหลํ านี้ มีวิธีเก็ บ ในลั กษณะพิเศษ นั่ นคือ จากแฟ้มข๎อมูล หนึ่งผู๎ อํานสามารถเรียกดูข๎อมูล อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข๎องได๎ทันที โดยที่ข๎อมูลนั้นอาจจะอยูํ ในแฟ้มเดียวกัน หรืออาจจะอยูํในแฟ้มอื่น ๆ ที่อยูํหํางไกลก็ได๎ หากข๎อมูลที่กลําวมานี้เป็นข๎อความที่เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข เรียกวํา ข๎อความหลายมิติ (hypertext) และ หากข๎อมูลนั้นรวมถึงเสียงและภาพเคลื่อนไหวด๎วย ก็เรียกวํา สื่อประสมหรือสื่อหลายมิติ (hypermedia) ไพฑูรย์ ศรีฟ้า (2551:14) ได๎ให๎ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วํา อีบุ๏ค (e-book , e-Book eBook , EBook) เป็นคาภาษาตํางประเทศ ยํอมาจากคาวํา Electronic Book หมายถึง หนังสือที่สร๎างขึ้น ด๎วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติ มักจะเป็นแฟ้มข๎อมูลที่สามารถ อํานเอกสารผํานทางหน๎าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ กิดานันท์ มลิทอง (2548:27) ได๎ให๎ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วํา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ได๎รับการแปลงลงบนสื่อบันทึกด๎วยระบบดิจิทัล เชํน CD-ROM หรือหนังสือที่พิมพ์ลงบนสื่อ บั น ทึ ก ด๎ ว ยระบบดิ จิ ทั ล แทนที่ จ ะพิ ม พ์ ล งบนกระดาษเหมื อ นสิ่ ง พิ ม พ์ ธ รรมดา เชํ น นิ ต ยสารนอทิ ลุ ส (Nautilus) ที่ผลิตออกมาด๎วยการบันทึกบทความ ภาพ และเสียงลงบน CD-ROM และสํงให๎สมาชิกตามบ๎าน เชํนเดียวกับนิตยสารทั่วไป กระทรวงศึกษาธิการ (2555) ได๎ให๎ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว๎วํา หนังสือหรือเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู๎อํานสามารถอํานผํานทางอินเทอร์เน็ต หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆได๎ สาหรับ หนังสือ หรือ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์นี้ จะมีความหมายรวมถึงเนื้อหาที่ถูกดัดแปลง อยูํ ในรูปแบบที่สามารถ แสดงผลออกมาได๎ โดยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์แตํก็ให๎มีลักษณะการนาเสนอที่สอดคล๎องและคล๎ายคลึงกับ การอํานหนังสือ ทั่วๆไปในชีวิตประจาวัน แตํจะมีลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็ว ในการค๎นหา และ ผู๎อํานสามารถอําน พร๎อมๆ กันได๎โดยไมํต๎องรอให๎อีกฝ่ายสํ งคืนห๎องสมุด เชํนเดียวกับหนังสือในห๎องสมุด ทั่วๆ ไป สรุป หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง หนังสือที่สร๎างขึ้นด๎วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็น เอกสารอิเล็ กทรอนิกส์ โดยสามารถนาเสนอเป็นได๎ในรูปแบบข๎อความ ภาพ ภาพเคลื่ อนไหว เสี ยง ใน ลักษณะวีดิทัศน์ สื่อประสมเพื่อสร๎างปฏิสัมพันธ์กับผู๎อํานผํานทางหน๎าจอคอมพิวเตอร์ได๎
2 1.2 ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) กับหนังสือทั่วไป หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไมํใช๎กระดาษ (อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม๎) สามารถสร๎างให๎มีภาพเคลื่อนไหวได๎ สามารถใสํเสียงประกอบได๎ สามารถแก๎ไขและปรับปรุงข๎อมูล (update) ได๎งําย สามารถสร๎างจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปยังข๎อมูลภายนอกได๎ มีต๎นทุนในการผลิตหนังสือต่า ไมํมีขีดจากัดในการจัดพิมพ์ สามารถทาสาเนาได๎งํายไมํจากัด สามารถอํานผํานคอมพิวเตอร์ และสั่งพิมพ์ผลได๎ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เลํม สามารถอํานพร๎อมกันได๎จานวน มาก (ออนไลน์ผํานระบบเครือขํายอินเทอร์เน็ต) สามารถพกพาสะดวกได๎ครั้งละจานวนมากในรูปแบบของไฟล์ คอมพิวเตอร์ และสามารถเข๎าถึงโดยไมํจากัดเรื่องสถานที่และ เวลา
หนังสือทั่วไป ใช๎กระดาษ มีข๎อความและภาพประกอบธรรมดา ไมํมีเสียงประกอบ สามารถแก๎ไขปรับปรุงได๎ยาก มีความสมบูรณ์ในตัวเอง มีต๎นทุนการผลิตสูง มีขีดจากัดในการจัดพิมพ์ สามารถเปิดอํานจากเลํม อํานได๎อยําง เดียว สามารถอํานได๎ 1 คนตํอหนึ่งเลํม พกพาลาบากและต๎องเดินทางไปใช๎ที่ ห๎องสมุดและศูนย์สารนิเทศตําง ๆ
1.2 โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction) ลักษณะโครงสร๎างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล๎ายคลึงกับหนังสือทั่วไป ที่พิมพ์ด๎วย กระดาษ หากจะมีความแตกตํางที่เห็นได๎ชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอํานหนังสือ สรุปโครงสร๎างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด๎วย 1) หน๎าปก (Front Cover) 2) คานา (Introduction) 3) สารบัญ (Contents) 4) สาระของหนังสือ (Pages Contents) 5) อ๎างอิง (Reference) 6) ดัชนี (Index) 7) ปกหลัง (Back Cover) สาหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพสํวนใหญํจะประกอบด๎วย 1) หน๎าปก 2) สาระของหนังสือ และ 3) ปกหลัง เทํานั้น
3
สํวนประกอบสาคัญในแตํละหน๎า ที่ปรากฏภายในเลํม ประกอบด๎วย 1) หน๎าหนังสือ (Page Number) 2) ข๎อความ (Texts) 3) ภาพประกอบ (Graphics) นามสกุล .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff เป็นต๎น 4) เสียง (Sounds) นามสกุล .mp3, .wav, .midi เป็นต๎น 5) ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) นามสกุล .mpeg, .wav, .avi เป็นต๎น 6) จุดเชื่อมโยง (Links) 2. นิทานภาพ 2.1 ลักษณะของนิทานภาพ ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์ (2527: 13) ได๎ให๎ความหมายของ นิทานภาพสาหรับเด็ก หมายถึง นิทาน ภาพที่มีจุดมุํงหมายในการจัดทาขึ้นสาหรับเด็กอํานโดยเฉพาะ หรืออาจให๎ผู๎ใหญํอํานให๎ฟังก็ได๎ ถ๎าเป็นเด็ก เล็กๆ อาจเป็นนิ ทานภาพล๎ว นๆ หรือนิทานที่มีเนื้อเรื่องและรูปภาพหรือหนังสือการ์ตูนก็ได๎ นิทานภาพ ส าหรั บ เด็ ก จะต๎ อ งจั ด ท าขึ้ น ให๎ มี เ นื้ อ หาสาระรู ป เลํ ม และตั ว อั ก ษรที่ เ หมาะสมกั บ วั ย ความรู๎ และ ความสามารถของเด็กด๎วย รูปแบบหรือลักษณะของนิทานภาพสาหรับเด็กจะมีหลายลักษณะ โดยเฉพาะ นิทานภาพสาหรับเด็กเล็กๆ จะมีลักษณะตํางๆ ไมํเล็กหรือใหญํจนเกินไป จับถือได๎สะดวก วินัย รอดจําย (2540: 14) ได๎กลําวถึ งความหมายของหนังสือภาพ หมายถึง หนังสือที่เน๎นแสดง เรื่องราวด๎วยภาพประกอบให๎เห็นเดํนชัดมากกวําเรื่องราวที่นาเสนอ ดังนั้นสํวนใหญํจึงเต็มไปด๎วยภาพวาด หรือภาพประกอบอื่นๆ ตลอดทั้งเลํม เรื่องหรือตัวหนังสือเป็นเพียงสํวนขยายให๎ภาพสมบูรณ์มากขึ้นเทํานั้น สรุป นิทานภาพ คือ หนังสือภาพสาหรับเด็กเป็นหนังสือที่ นาเสนอด๎วยภาพเป็นหลัก อาจมีเรื่อง และคาบรรยายเล็กน๎อยประกอบภาพ เพื่อใช๎เลําเรื่องให๎เด็กฟังและให๎เด็กได๎ดูภาพไปพร๎อมกัน โดยมุํงหวัง ให๎สร๎างเรื่องราวเพื่อให๎ความเพลิดเพลินสนุกสนาน พัฒนาการทางภาษา ความรู๎ คุณธรรมและจริยธรรม 2.2 ลักษณะของนิทานที่ดีสาหรับเด็ก หนังสือที่ดีสาหรับเด็กนั้นควรจะเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระที่ตรงกับความสนใจและมีความหมาย สาหรับเด็กมีรูปภาพที่สวยงามสะดุดตา เชิญชวนให๎อยากหยิบอําน ดังที่ รัญจวน อินทรกาแหง (2521: 100) และ ชุติมา สัจจานนท์ (2523: 51-56) กลําวถึงวรรณกรรมที่ดีสาหรับเด็กวํา หมายถึง วรรณกรรมหรือ หนังสือที่เด็กอํานได๎ด๎วยความเพลิดเพลิน สนุกสนานโดยไมํมีการบังคับให๎อํานเพราะมีเนื้อหาสาระที่ตรงกับ ความสนใจมีรูปเลํมที่สวยงามสะดุดตาและการจัดหนังสืออยํางเชิญชวนให๎หยิบอํานไมํวําจะเป็นหนังสือให๎ ความบันเทิงหรือเป็นหนังสือที่ให๎ความรู๎แกํเด็กอีกด๎วยซึ่งสอดคล๎องกับแนวความคิดของ
4 ฉวีวรรณ กินาวงค์ (2526: 127-128) ได๎ให๎แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของหนังสือนิทานที่ดีสาหรับเด็ก ดังตํอไปนี้ 1. รูปภาพจะต๎องครบถ๎วนไมํตัดขาดหายไป 2. เป็นหนังสือที่มีภาพเกี่ยวกับสิ่งที่เด็กรู๎จักและเคยเห็นทั่วๆ ไป 3. สีสันของภาพต๎องสวยสดงดงาม เพราะเด็กๆ ชอบรูปภาพที่มีสีสวยงามมากกวําภาพขาวดาและ ภาพควรเป็นสีที่ชัดเจนไมํพรํามัวเลอะเทอะ เพราะรูปภาพจะชํวยให๎เด็กเข๎าใจเรื่องราวได๎ดีขึ้น 4. ภาพประกอบดูแล๎วมีชีวิตจิตใจ เหมือนความเป็นจริง เหมาะสมกับเรื่องและถูกสัดสํวน เชํน นําตานํารัก สวยงาม ไมํพิการหัวโต ตัวเล็ก 5. รูปเลํมเปิดออกอํานได๎เต็มที่และสันหนังสือควรหุ๎มด๎วยผ๎า กระดาษที่ใช๎เขียนไมํควรเป็นกระดาษ มันและไมํควรขาวกระจํางจนสะท๎อนแสงได๎ 6. ปกหนังสือไมํควรหํอปกเพราะต๎องการจะให๎เด็กได๎ดูรูปภาพหน๎าปกเพื่อจะทราบได๎วําเป็นเรื่อง อะไร 7. ควรเลือกหนังสือนิทาน ที่มีตัวอักษรโตพอสมควร ไมํใหญํมากหรือเล็กเกินไปตัวอั กษรและภาษา จะต๎องเขียนอยํางถูกต๎อง เพื่อเด็กจะได๎เอาแบบอยํางและเข๎าใจได๎งําย ชํองวํางระหวํางบรรทัดจะต๎องมี ขนาดพอดี ริมกระดาษเว๎นไว๎ประมาณ 1 นิ้ว 8. หนังสือนิทานสามารถจัดได๎ที่มุมหนังสือ และกระเป๋าผนังสาหรับวางหนังสือ บันลือ พฤกษะวัน (2524: 69) ได๎กกลําววํา ลักษณะที่ดีของหนังสือนิทานภาพเพื่อการเรียนรู๎ คุณธรรม ดังนี้ 1. เรื่องที่มีเค๎าโครงเรื่องจริง ได๎แกํ เรื่องที่แสดงให๎เห็นถึงสภาพแหํงการดาเนินชีวิต ดารงชีวิต กิจวัตรประจาวัน 2. เรื่องประเภทเพ๎อฝัน สร๎างความเชื่อ เชํน สัตว์พูดได๎ ต๎นไม๎พูดได๎ ซึ่งหนังสือประเภทนี้ชํวย ปลูกฝังคุณธรรมได๎ดี 3. เรื่องที่เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี บุญที่มุํงปลูกฝังให๎มีความละอายตํอการทาชั่ว 4. นิทานชาวบ๎าน นิทานประจาถิ่น เป็นเรื่องเลําสืบตํอกันมากและอาจมีหลักฐานอ๎างอิงที่ทาให๎เชื่อ ได๎บ๎าง 5. เทพนิยาย เป็นเรื่องเกี่ ยวกับอิทธิปาฏิหารย์ เกี่ยวกับนางฟ้า เทวดา แมํมด เป็นเรื่องที่แฝง คุณธรรมและแสดงให๎เห็นคุณคําแหํงความเป็นคนดี 6. นิทานที่ใช๎เหตุการณ์และตัวละครเปรียบเทียบ 7. นิทานประจาชาติ เชํน เรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติ สถานที่สาคัญ 8. นิยายประจาชาติ ที่เลําสืบทอดตํอๆ กันมาในวงกว๎าง 9. นิทานเกี่ยวกับการทํองเที่ยวผจญภัย โดยมากจะแสดงให๎เห็นแบบอยํางในการแก๎ปัญหา การตัดสินใจที่ใช๎ความสุขุมรอบคอบ
5 2.2 ความสาคัญของนิทานภาพ นิทานภาพมีความสาคัญตํอการพัฒนาความพร๎อมทางภาษาเพราะเด็กมักจะชอบนิทาน เนื่องจาก นิทานมีภาพสวยงาม มีเรื่องราวที่เกี่ย วกับชีวิตของเด็ก แล๎วก็ยังมีตัวละครในนิทานที่เด็กคุ๎นเคย มีสีสั น สวยงาม ชํวยให๎ผู๎อํานเกิด พัฒนาการทางความคิดและสติปัญญาความสามารถในการรับรู๎ พัฒนาการทาง บุคลิกภาพ พัฒนาการทางสังคม รวมถึงสามารถสร๎างคุณธรรมให๎กับเด็กได๎อีกด๎วย กลําวสรุป วินัย รอดจําย (2534: 12) ได๎กลําวถึงความสาคัญของหนังสือภาพวํา สามารถที่จะ พัฒนาเด็กได๎ตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 1. พัฒนาการทางความคิดและสติปัญญาความสามารถในการรับรู้ ความสามารถในการมองเห็น การสังเกต การเปรียบเทียบ การจัดอันดับความหมายของเรื่องราว หรือเนื้อหาสาระที่ปรากฏให๎เห็น สามารถใช๎หนังสือนิทานที่มีขนาดใหญํ มีสีสันที่สะดุดตามาให๎เด็กดู และ จะต๎องกระตุ๎นให๎สังเกตสิ่งที่อยูํในภาพ สังเกตความสัมพันธ์ของคน สัตว์ และสิ่งของที่ปรากฏในภาพ เด็กใน วัยตํางๆ สามารถพัฒนาความสามารถในการสังเกตโดยพิจารณารายละเอียดตํางๆ ในภาพได๎ 2. พัฒนาการทางบุคลิกภาพ ในขณะที่เด็กได๎อํานหนังสือตามภาพ เด็กได๎มีโอกาสสัมผัส เรียนรู๎เกี่ยวกับบุคคล และเหตุการณ์ ตลอดจนปัญหา อุปสรรค ทาให๎รู๎จักการเปรียบเทียบกับตัวเองทั้งในแงํของความคิด ความรู๎สึก และการ ประพฤติปฏิบัติ ทาให๎เด็กเข๎าใจคนอื่น เข๎าใจตนเองนับถือตนเอง รู๎จักยอมรับและนับถือผู๎อื่น 3. พัฒนาการทางสังคม การได๎ฟังนิทานชํวยให๎เด็กเข๎าใจความสัมพันธ์ระหวํางกัน รู๎จักที่จะปฏิบัติตนอยํางไรกับผู๎อื่น เข๎าใจ ความรู๎สึกของผู๎อื่น ยอมรับความคิดเห็นที่แตกตํางจากของตน รู๎วําอะไรผิดอะไรถูก 4. พัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม (ลา ไยบัวพิทักษ์, 2543: 3) กลําววํา การใช๎นิทานก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่นิยมนามาเป็นสื่อในการพัฒนา จริยธรรม เพราะนิทานเป็นเรื่องที่ทุกเพศ ทุกวัย มีความต๎องการที่จะฟังและอําน ซึ่งนอกจากนิทานจะให๎ ความสนุกสนานเพลิดเพลินแล๎ว นิทานแตํละเรื่องยังแฝงคติสอนใจคุณธรรม จริยธรรม ที่ดีงามเข๎ าไปสูํจิตใจ ของเด็กอีกด๎วยหนังสือภาพประกอบเป็นหนังสือที่มีภาพประกอบที่สวยงาม มีเรื่องราวสั้น มีคาพูดที่เข๎าใจ งํายสนุกสนานและเสริมจินตนาการแล๎วการสร๎างหนังสือในรูปลักษณะตํางๆ ที่เพิ่มความสนุกสนานนําจับ ต๎องยังเป็นเสนํห์อีกอยํางหนึ่งที่ทาให๎เด็กเกิดความรักผูกพั นกับหนังสือได๎ดียิ่งขึ้นภาพประกอบหนังสือชํวย อธิบายให๎เรื่องนั้นชัดเจนยิ่งขึ้น
6 3. หลักการออกแบบหนังสือนิทานภาพ ในหัวข๎อนี้ ผู๎เขียนนาหลักการออกแบบนิทานภาพโดยใช๎หลักการออกแบบสารเพื่อการเรียนการ สอน (Instructional Message Design) ตามแนวคิดของ Malcolm Fleming และ W. Howard Levie (1993) เป็นหลักการสาคัญในการนาเสนอ ทั้งนี้ประกอบ 4 หลักการ ดังนี้ 3.1) การรับรู๎รูปภาพ (Perception of Pictures) 3.2) การรับรู๎ข๎อความ (Perception of Text) 3.3) การรับรู๎ภาพประกอบกับข๎อความ (Illustration and Text Together) 3.4) การรับรู๎เสียง (Perception of Sounds) ทั้งนี้ หลักการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพเพื่อการเรียนรู๎คุณธรรมสาหรับเด็ก ฉบับนี้ จะนาเสนอเฉพาะหลักการจานวน 4 หลักการตามที่กลําวมาข๎างต๎น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 การรับรู้รูปภาพ (Perception of Pictures) 3.1.1 รูปภาพช่วยให้จาได้ง่ายกว่าข้อความ (Pictures are usually more memorable than words) Flemming และ Levie (1993: 86) ได๎กลําววํา วัตถุและภาพของวัตถุจะทาให๎ผู๎เรียนจาได๎ดีกวํา กวําการใช๎ชื่อของวัตถุนั้น ทั้งในแงํของการรู๎จักและการระลึกได๎ การนาเสนอข๎อมูลเป็นรูปภาพจะทามนุษย์เกิดกระบวนการจาโดยมีการเข๎ารหัสความจาสองครั้ง ครั้งแรก คือ จดจาออกมาเป็นรูปภาพ ครั้งที่สอง คือ จดจาออกมาเป็นข๎อความบรรยายใต๎ภาพ ซึ่งเป็นผลมา จากทฤษฎีรหัสคูํ (Ducal Coding) (Paivio,1971,1983) และทฤษฎีการเก็บข๎อมูลรํวมกัน (Conjoint Retention) (Kulhavy,Lee & Caterino,1985;Schwartz,1988) โดยทฤษฎีทั้งสองแสดงให๎เห็นวํา การจา จะเกิดขึ้นได๎ต๎องมีการรับรู๎ภาพควบคูํไปกับภาษา ได๎มีการวิจัยทดลองเพื่อสนับสนุนเหลักการการชํวยจาวิธีนี้ ดังนี้ 1) การศึกษาการนาเสนอรูปภาพและถ๎อยคาที่มีผลตํอความคงทนในการจารูปภาพและคา พบวํา นักเรียนระดับประถมศึกษาจะจาทั้งคาและภาพ สูงกวํากลุํมที่ได๎รับการเสนอด๎วยรูปภาพเพียงอยํางเดียว 2) ปวีณา ศรีวิพัฒน์ อุดมศักดิ์ สาริบุตร และจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี (2556) การออกแบบ ภาพประกอบด๎ว ย เทคนิ คคอมพิว เตอร์ ทาให๎ เร๎าความสนใจของเด็กได๎เป็นอยํางดี และจะชํว ยให๎ เด็ก สามารถเรียนรู๎ จดจาได๎งําย เนื่องจากสามารถให๎ภาพและสีที่คมชัด 3) รุํงนภา ผลพฤกษา (2550) ทาการศึ กษาและออกแบบภาพประกอบหนังสือการ์ตูนเพื่อสํงเสริม การเรียนรู๎และเพื่อเปรียบเทียบการรับรู๎และการจา จากการเรียนด๎วยภาพประกอบหนังสือการ์ตูน เพื่อ สํงเสริมการเรียนรู๎ สาหรับเด็กปฐมวัย เรื่องของสี ที่มีรูปทรงการ์ตูนตํางกันและ การระบายสีตํางกัน พบวํา ภาพประกอบหนังสือการ์ตูนรูปทรงที่สร๎างขึ้นมาใหมํระบายสีด๎วยคอมพิวเตอร์จากโปรแกรมสาเร็จรูปมี ระดับคําเฉลี่ยด๎านการรับรู๎อยูํในระดับมากที่สุดและมีระดับคําเฉลี่ยด๎านการจาอยูํในระดับมากที่สุด
7 3) กิตติกรณ์ มีแก๎ว (2546) ได๎ทาการศึกษาเกี่ยวกับการเสนอภาพการ์ตูนที่มีรายละเอียดพื้นหลังที่ แตกตํางกัน พบวํา นักเรียนจะมีความจาในการเรียนคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากภาพการ์ตูนที่ไมํมีรายละเอียด พื้นหลังมากที่สุด แตํการ์ตูนที่มีรายละเอียดพื้นหลังเกี่ยวกับภาพ และรายละเอียดพื้นหลังไมํเกี่ยวกับภาพ ความจาภาษาอังกฤษไมํแตกตํางกัน 4) เกริก ยุ๎นพันธ์ (2543: 28) กลําววําภาพประกอบหนังสือสาหรับเด็กยังมีรายละเอียดอื่นๆ ใน ภาพที่จะชํวยให๎เด็กเกิดความคิดจินตนาการตํอเนื่องได๎ หนังสือภาพประกอบยังเป็นสื่อสาคัญกระตุ๎นให๎เกิด พัฒนาการด๎านตํางๆ ของเด็กไมํวําจะเป็น สติปัญญา ภาษา และจินตนาการ นอกเหนือจากความเพลิดเพลิน ที่ได๎รับจากการอํานหรือฟังผู๎ใหญํอํานให๎ฟังแล๎วภาพประกอบยังชํวยให๎เด็กเข๎าใจความสัมพันธ์ระหวําง ตัวเองกับสิ่งแวดล๎อมรอบตัว เพราะหนังสือภาพประกอบนอกจากจะนาเสนอแกํนสาระซึ่งเป็นประเด็นใน การพัฒนาเด็ก ได๎แกํ การชํวยเหลือตัวเอง การรู๎จักถูกผิด รู๎จักอดทนอดกลั้นฯลฯ ซึ่งเป็นทักษะการดารงชีวิต หรือคํานิยมที่พึงสร๎างเสริมแล๎วยังเป็น “บทเรียน” สาหรับให๎เด็กรู๎จักและเข๎าสังคมรอบตัว และเตรียมความ พร๎อมสูํสังคมที่กว๎างขึ้น จากการวิเคราะห์แกํนสาระและสุนทรียภาพหนังสือเด็กปฐมวัย “ภาพ” เป็นหัวใจสาคัญของหนังสือสาหรับเด็ก โดยเฉพาะเด็กวัยกํอนเข๎าเรี ยนหรือวัยอนุบาล เพราะเด็กในวัยนี้ อํานหนั งสือด๎ว ยภาพมากกวําอํานด๎ว ยตัว หนังสื อ ภาพทาให๎ เด็กเกิดความสนุกสนาน เพลิ ดเพลิน ถึงแม๎จะอยูํ ในวัยที่สูงขึ้นก็ยังคงชอบหนังสือที่มีภาพประกอบเชํนกัน ภาพประกอบหนั งสื อ สาหรับเด็กจะเป็นภาพในรูปลักษณะใดก็ได๎ เชํน จะเป็นภาพวาดสี ภาพลายเส๎น ภาพถําย ฯลฯ แตํสิ่งที่ สาคัญที่สุดคือ ภาพจะต๎องเป็นภาพที่มีชีวิตชีวา มีความเคลื่อนไหว สอดคล๎องกับเนื้อเรื่อง และใช๎อธิบาย เรื่องได๎ การเขียนภาพประกอบนิทานสาหรับเด็กจึงนับวํามีความสาคัญมาก ณรงค์ ทองปาน (2526: 71) ได๎เสนอเกี่ยวกับหลักในการสร๎างหนังสือภาพสาหรับเด็กปฐมวัย ดังนี้ ขนาดของรูปภาพ มีขนาดภาพประมาณ 3–4 นิ้ว สีสดสะดุดตา ภาพและสีไมํจาเป็นต๎องคานึง ข๎อเท็จจริงแตํต๎องเป็นภาพที่เดํนชัด ถ๎าเป็นหนังสือภาพล๎วนก็ให๎ภาพแสดงความหมายที่เด็กสามารถตีความ ได๎งําย จินตนา ใบกาซูยี (2534: 16) รูปภาพเป็นสิ่งสาคัญ เด็กเล็กควรมีรูปภาพ อาจเป็นภาพการ์ตูน คือ ภาพลายเส๎น ภาพถําย หรือภาพวาดเหมือนจริง ภาพจะต๎องเน๎นภาพสี โดยเฉพาะเด็กเล็กๆ ภาพจะต๎อง ชัดเจนถูกต๎องไมํเลอะเลือน ณรงค์ ทองปาน (2523: 81– 82) ได๎กลําวถึงลักษณะของภาพประกอบที่ดีสาหรับเขียนหนังสือเด็ก ไว๎ดังนี้ 1. ลักษณะของภาพประกอบที่ดี 1.1 เด็กชอบภาพที่มีลักษณะงํายๆ ไมํซับซ๎อน แตํเมื่ออายุสูงขึ้นจะชอบภาพที่ซับซ๎อน 1.2 เด็กชอบภาพประกอบที่แสดงการกระทาและการผจญภัย 1.3 เด็กสนใจภาพที่อยูํข๎างขวามากกวําภาพที่อยูํข๎างซ๎าย 1.4 เด็กชอบภาพประกอบมาก มากกวําภาพประกอบน๎อย 1.5 เด็กชอบภาพตรงกับข๎อความมากกวําภาพที่ไมํตรงกับข๎อความ
8 2. แบบของภาพ แบบในที่นี้หมายถึง ภาพที่ใช๎เป็นภาพที่ทาขึ้นมาในลักษณะใดก็ได๎ เชํน ภาพถําย ภาพวาดแรเงา ภาพลายเส๎น 3. ภาพวาดแรเงา ภาพลายเส๎น สีของภาพ สีมีอิทธิพลตํอความชอบและความสนใจของเด็กตํอหนังสือมาก นิทานหรือหนังสือภาพสาหรับ เด็กควรจะมีสีสันสดใส นําสนใจและเป็นสีที่เป็นไปตามธรรมชาติ 4. ขนาดของภาพ ผู๎ออกแบบภาพประกอบหนังสือสาหรับเด็กควรจะทราบวําภาพขนาดใดที่เด็กจะชอบ หรือขนาด ของภาพมีผลตํอความชอบของเด็กเพียงใด 5. อารมณ์ของภาพ อารมณ์ที่เด็กได๎รับจากภาพมีอยูํ 3 อารมณ์ คือ 5.1 อารมณ์ที่นําพอใจ 5.2 อารมณ์ที่ไมํนําพอใจ 5.3 อารมณ์กลาง ๆ โดยสรุปแล๎ว นักออกแบบภาพประกอบหนังสือสาหรับเด็กจะต๎องศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของภาพที่จะ นามาทาหนังสือสาหรับเด็กให๎เข๎าใจอยํางละเอียด เพราะภาพเป็นสิ่งที่ สาคัญในการสํงเสริมการเรียนรู๎ของ เด็กและควรจะหาวิธีการในการออกแบบและเทคนิคตํางๆในการจัดพิมพ์ให๎ดีด๎วยเชํนกัน สาหรับหนังสือเด็กเล็กบางครั้งอาจตัดหน๎าคานาออกได๎เพราะจะทาให๎เด็กไมํสนใจเนื้อหา ถ๎าจะมี หน๎าคานาจะมีก็ได๎แตํควรสั้น ๆ และควรจะมีภาพประกอบอยูํหน๎าคานาด๎ว ยเพื่อดึงความสนใจของเด็ก หน๎าปกในก็เชํนเดียวกันถ๎าเป็นหนังสือเด็กเล็ก ๆ ควรจะมีภาพประกอบที่สวยงามด๎วย เพื่อให๎เด็กสนใจ ติดตามอําน ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2527: 128–143) กลําววํา การทาหนังสือสาหรับเด็กนั้นความงามเป็นสิ่ง สาคัญที่จะเป็นการสํงเสริมวิชาสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) โดยให๎ความงามเข๎าไปในจิตใจเมื่อยังเป็นเด็ก อยูํหนังสือเด็กจะมีความงามขึ้นอยูํกับศิลปะตํางๆ 1. การจัดภาพ อาจทาภาพเต็มหน๎า หนึ่งในสาม หนึ่งในสอง หรือหนึ่งในสี่ของหน๎าข๎อสาคัญต๎อง รักษาความสมดุลของภาพ 2. การวางหน๎าหนังสือ ควรอาศัยหลักเกณฑ์ทางศิลปะในการวางภาพกับตัวหนังสือ ประกอบด๎วย 2.1 หลักสมดุล 2.2 หลักเอกภพ 2.3 หลักการเน๎นหรือศูนย์ความสนใจ 2.4 การเว๎นวําง (ชํองวําง)
9 3. ลักษณะการวางหน๎าหนังสือสาหรับเด็ก 3.1 การวางภาพกับตัวหนังสือหน๎าเดียวกัน 1) ภาพอยูํบน ตัวหนังสืออยูํลําง (รูปเลํมแนวตั้ง) จะมองด๎านบนกํอน 2) ภาพอยูํข๎างหนึ่ง ตัวหนังสืออยูํข๎างหนึ่ง (รูปเลํมแนวนอน) 3) ตัวหนังสืออยูํตามชํองวํางระหวํางภาพ 3.2 ภาพกับตัวหนังสือหน๎าเดียวกัน ตัวหนังสือพิมพ์ทับภาพ โดยใสํภาพเต็มหน๎า ตัวหนังสือก็ ทับลงไปตามความเหมาะสม ด๎านศิลปะ เชํน เรื่องของความสมดุล 3.3 ภาพกับตัวหนังสืออยูํคนละหน๎า เชํน จะให๎ตัวหนังสืออยูํด๎านซ๎าย ภาพอยูํด๎านขวา เพราะ คนเรามักจะมองด๎านขวากํอน ดังนั้นเราจึงให๎ความสนใจกับภาพด๎านขวามากกวํา 3.4 ภาพกับตัวหนังสือที่ใช๎สองหน๎าเป็นเหมือนหน๎าเดียวกันเป็นหนังสือที่ออกแบบนําสนใจ การ พิมพ์ก็ยาก การเข๎าเลํมควรให๎รอยตํอภาพสนิทกัน มีการเว๎นชํองวํางขาวๆ รอบๆ ด๎าน เพราะผู๎เขียนสามารถ แทรกตัวอักษรคาอธิบายในสํวนที่เป็นชํองวํางได๎อยํางนําสนใจ ซึ่งเป็นจุดที่ดึงความสนใจของผู๎อํานได๎เป็น อยํางดี และการเว๎นชํองวํางทั้งด๎านข๎างด๎านบนทาให๎เกิดความสวยงามและทาให๎เด็กไมํเมื่อยสายตาด๎วย 3.1.2 รูปภาพมีหน้าที่ดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน Levie และคณะ ได๎นาเสนอบทบาท ของภาพ ดังนี้ 1) ใช๎ตกแตํง (Decoration) รูปภาพชํวยดึงดูดความสนใจในเนื้อหาได๎ เมื่อจาเป็นต๎องใช๎ ข๎อความอธิบายเป็นสํวนใหญํ 2) ใช๎นาเสนอตัวอยําง (Reprentation) รูปภาพสามารถชํวยนาเสนอแทนเนื้อหาหรือ ประกอบการบรรยายในเนื้อหาได๎ 3) ใช๎ น าเสนอโครงสร๎ าง (Organization) รูป ภาพใช๎ นาเสนอเนื้อหาที่ เป็น ลั ก ษณะ ความสัมพันธ์หรือสิ่งที่เป็นกระบวนการหรือขั้นตอน 4) ใช๎ตีความหรือแปลความหมาย (Interpletion) รูปภาพใช๎สร๎างความเป็นรูปธรรมให๎กับ เนื้อหาได๎ เมื่อเนื้อหาเป็นนามธรรม 5) ใช๎เชื่อมโยงหรือสื่อทางอ๎อม (Transform) รูปภาพชํวยเอื้อให๎เกิดกระบวนการเรียนรู๎ มากกวําใช๎เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน 4.5b รูปภาพที่ใช๎แสดงตัวอยํางควรยึดหลักความเป็นจริง โดยคานึงถึงประสบการณ์เดิม ของผู๎เรียน ประสบการณ์เดิมของผู๎เรียนจะสํงผลตํอการออกแบบและลงรายละเอียดในภาพประกอบ ภาพที่ใช๎ประกอบการเรียนการสอนนั้นต๎องสามารถชํวยให๎ผู๎รียนเกิดการเชื่อมโยงจาก สิ่งของจริงได๎ กังนั้น รูปประกอบควรมีรูปทรง รายละเอียด ขนาด สี และเนื้อหาให๎เหมือนกับต๎นฉบับมาก ที่สุด อยํางไรก็ตาม มีข๎อควรระวังเกี่ยวกับการใช๎ภาพจริง กลําวคือ ความรู๎ผู๎เรียนไมํเพียงพอตํอการเข๎าใจ ภาพ นักออกแบบจึงจาเป็นต๎องออกแบบให๎สอดล๎องกับประสบการณ์เดิมของผู๎เรียนเสียกํอน
10 โดยมีวิจัยสนับสนุนหลักการ ดังนี้ เปรื่อง กุมุท ได๎ให๎ข๎อมูลเกี่ยวกับการวิจัยและหลักการในการออกแบบหนังสือสาหรับเด็ก ใน บทความเรื่อง “การออกแบบหนังสือสาหรับเด็กกับผลการวิจัยบางประการ” (อ๎างถึงใน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์, 2527: 86-88) โดยสามารถสรุปได๎ดังนี้ ลักษณะของภาพที่เด็กชอบ คือ ภาพที่มีลักษณะงํายๆ ไมํซับซ๎อนและอายุสูงขึ้นจะชอบภาพที่ ซับซ๎อนมากขึ้น เด็กชอบภาพที่แสดงการกระทา เด็กชอบภาพสีมากกวําภาพขาวดา เด็กอายุ 8 ปี สนใจ การ์ตูนประกอบวรรณคดีหรือนิทานมากที่สุด อายุ 9-10 ปี ชอบภาพประกอบมากกวําภาพประกอบน๎อย ภาพใหญํมากกวําภาพเล็ก ตรงกับ ข๎อความมากกวําไมํตรงกับข๎อความ ภาพสีน้าชํวยให๎เกิดจินตนาการ มากกวําภาพอื่นๆ เด็กหญิงและเด็กชาย อํานเกํงหรือไมํเกํง ชอบภาพในลักษณะเดียวกัน เด็กสนใจภาพที่อยูํ ด๎านขวามากวําด๎านซ๎าย 3.1.3 การจัดรูปเล่ม ปกนิทาน และขนาดหนังสือ ณรงค์ ทองปาน (2526: 71) ได๎เสนอเกี่ยวกับหลักในการสร๎างหนังสือภาพสาหรับเด็กปฐมวัยไว๎ ดังนี้ 1) ขนาดของหนังสือ เด็กในวัยนี้กล๎ามเนื้อที่มือและที่นิ้วยังไมํแข็งแรงพอที่จะจับสิ่งของ เล็กๆ ได๎ถนัด ดังนั้นขนาดของหนังสือต๎องมีขนาดโตพอสมควร คือ ขนาด 10 x 7 นิ้ว หรือ 12 x 8 นิ้ว แตํ ไมํควรมีน้าหนักมากนัก 2) ความหนาของหนังสือไมํควรเกิน 14 หน๎า เพราะเด็กในวัยนี้มีชํวงความสนใจไมํนานนัก 3) กระดาษที่ใช๎เขียนควรเป็นกระดาษที่หนาและเหนียวพอสมควร เพื่อมิให๎ฉีกขาดงํายปก หนังสือควรเป็นกระดาษแข็ง หรือเป็นกระดาษที่ผนึกกับผ๎า จินตนา ใบกาซูยี (2534ข: 16) ได๎กลําวถึงสิ่งที่ควรรู๎สาหรับการเขียนหนังสือสาหรับเด็กซึ่งสรุป ได๎วํารูปเลํม ควรกะทัดรัด ไมํใหญํหรือเล็กจนเกินไป วัยเด็กประถมศึกษาปีที่ 1–4 ควรมีความหนาระหวําง 10–30 หน๎า มีการจัดหน๎าให๎เหมาะสมกับรูปเลํม ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2527: 128–143) กลําววํา การทาหนังสือสาหรับเด็กนั้นความงามเป็นสิ่ง สาคัญที่จะเป็นการสํงเสริมวิชาสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) โดยให๎ความงามเข๎าไปในจิตใจเมื่อยังเป็นเด็ก อยูํหนังสือเด็กจะมีความงามขึ้นอยูํกับศิลปะตํางๆ ซึ่งประกอบด๎วย 1) การออกแบบปกหนังสือ การออกแบบปกนั้นนักเขียนและบรรณาธิการ ควรรํวมปรึกษาหารือกัน ควรออกแบบปก ให๎ทันสมัย ไมํเป็นการดูถูกสติปัญญาของเด็ก เพราะเด็กสมัยใหมํฉลาดมาก การออกแบบปกถ๎าเป็นหนังสือที่ เป็นชุดมีหลายเลํม ภาพบนปกแตํละเลํมไมํควรออกแบบให๎เหมือนกันจะทาให๎เด็กเบื่อ สาหรับหน๎าปกที่ คล๎ายแบบเรียนนั้น ไมํควรทาเพราะเด็กเบื่อการเรียนอยูํแล๎วก็จะทาให๎เด็กไมํอยากอําน บนปกควรเขียนชื่อหนังสือ ชื่อผู๎แตํง และผู๎วาดภาพประกอบให๎ตัวโตสะดุดตากวําอักษรใน เนื้อเรื่อง ไมํควรใช๎อักษรประดิษฐ์จะทาให๎อํานยาก สีบนปกควรเป็นสีทีฉูดฉาด เชํน สีเขียว สีแดง สีดา เป็นต๎น
11 ปกหนังสือ อาจเป็นปกแข็งหรือปกอํอนก็ได๎ แตํถ๎าเป็นปกแข็งหนังสือก็จะมีความทนทาน ราคาแพง ถ๎าเป็นปกอํอนราคาก็ถูกลง แตํหนังสือปกแข็งก็มีความจาเป็นสาหรับเด็กเล็กๆ ที่จะทาให๎เด็ก สนใจ เด็กชอบหนังสือสวยๆ ไมํขาดงําย เพราะเด็กยังไมํรู๎จักระมัดระวังหนังสือมักจะทาให๎ขาดได๎งําย ถ๎ า หนั งสื อทนทานไมํขาดงํายเด็กก็จ ะอยากอําน ส าหรับหนังสือปกอํอนนั้นก็ไมํควรให๎ ปกอํอนมากเกินนัก จะต๎องทาให๎หนังสือทนทานพอสมควรและราคาก็พอสมควรด๎วย ภาพปกไมํควรเป็นภาพตื่นเต๎น หวาดเสียว สยองขวัญ ผิดความจริงจนนํากลัว นําเกลียด แขยงหรือยั่วยุอารมณ์ทางเพศ ปวีณา ศรีวิพัฒน์ อุดมศักดิ์ สาริบุตร และจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี (2556) ได๎ศึกษาและออกแบบ หนังสือนิทานภาพประกอบการเรียนรู๎คุณธรรม ดังนี้ 1) ความหนาของหนังสือรวมปก คือ 16 หน๎าคูํ (32 ยก) 2) กระดาษที่ใช๎ คือ กระดาษอาร์ตมัน 150 แกรม เทคนิคและรูปแบบในการนาเสนอ ภาพประกอบ วินัย รอดจําย (2540: 14) ได๎กลําวถึง รูปแบบและความยาวของหนังสือนิทาน การแบํงรูปแบบ และความยาวของหนังสื อนิทานมักยึดถืออายุของเด็กเป็นส าคัญ เพราะรูปแบบและความยาวของเรื่อง สมควรที่จะสอดคล๎องกับจิตวิทยาในการรับรู๎ของเด็กด๎วย หนังสือที่ยาวเกินไป หรือสั้นเกินไป ไมํใชํ สิ่งที่ เหมาะสมสาหรับเด็กในวัยตํางๆ กัน เราสามารถแบํงรูปแบบและความยาวของหนังสือนิทานตามอายุได๎ดังนี้ 1) เด็ ก อายุ 3-5 ขวบ นิ ย มใช๎ ห นั ง สื อ ขนาด 17x18.50 ซม. จ านวน 12 หน๎ า พร๎ อ ม ภาพประกอบ ไมํรวมปกหน๎าและปกหลัง มีภาพชัดเจน มีตัวอักษรน๎อย 2) เด็กอายุ 6-8 ขวบ นิยมใช๎หนังสือขนาด 14.50 x21 ซม. หรือที่เรียกวําขนาด 16 หน๎า ยก จานวน 16 หน๎า พร๎ อมภาพประกอบ ไมํรวมปกหน๎าและปกหลัง หรือขนาด 18.50x26 ซม. หรือที่ เรียกวําขนาด 8 หน๎ายก จานวน 16 หน๎า พร๎อมภาพประกอบ ไมํรวมปกหน๎าและปกหลัง 3) เด็กอายุ 9-11 ขวบ นิยมใช๎หนังสือขนาด 18.50x26 ซม. หรือที่เรียกวําขนาด 8 หน๎า ยก จานวน 24 หน๎า พร๎อมภาพประกอบ ไมํรวมปกหน๎าและปกหลัง เปรื่อง กุมุท ได๎ให๎ข๎อมูลเกี่ยวกับการวิจัยและหลักการในการออกแบบหนังสือสาหรับเด็ก ใน บทความเรื่ อ ง “การออกแบบหนั ง สื อส าหรับเด็ กกับผลการวิ จัยบางประการ” (อ๎างถึง ใน ฉวีว รรณ คูหาภินันทน์, 2527: 86-88) โดยสามารถสรุปได๎ดังนี้ 1) ปกเป็นสิ่งสะดุดตาสาหรับเด็ก เพราะปกและภาพมีอิทธิพลตํอการเลือกมาก เนื้อเรื่อง เพียงปานกลาง ปกหนังสือเป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของเด็ก ภาพสีและตัวอักษร การวางหน๎าที่ดึงดูดสายตา และยิ่งถ๎าออกแบบให๎เด็กเลํนกับปกได๎ก็จะยิ่งดี 2) รูปเลํม ลักษณะของเลํมหนังสือสามารถออกแบบให๎ดึงดูดความสนใจได๎ รูปสี่เหลี่ยม ทรงเรขาคณิต รู ปหลายเหลี่ ยม วงกลม หรือทาเป็นรูปของสิ่ งที่ห นังสือนั้นกลํ าวถึง เชํน รูปสั ตว์ ผลไม๎ รองเท๎า หัวรถไฟ
12 3) เนื้อใน หมายถึง หน๎าหนังสือที่บรรจุภาพและอักษรที่เป็นเรื่องราว มีทั้งหน๎าซ๎ายมือและ หน๎าขวามือ มีภาพกับตัวหนังสืออยูํด๎วยกัน อาจเป็นแบบที่แยกกัน ทับกันหรือแทรกอักษรหรือตัวหนังสือไว๎ ระหวํางภาพ 4) ขนาดของหนังสือ ได๎แกํ หลักเกณฑ์ที่เด็กจะหยิบถือกลางเปิดได๎สะดวก 3.2 การรับรู้ข้อความ (Perception of Text) Flemming และ Levie (1993: 105) ได๎กลําวเกี่ยวกับหลักการออกแบบสารสาหรับข๎อความ ดังนี้ 6.1 การรั บ รู๎ ด๎ ว ยคาของแตํล ะคาที่มีค วามหมาย ทาให๎ ข๎อความมีคุณ สบบัติใ นการสื่ อ ความหมายได๎เหมือนกับสื่ออื่นๆ ข๎อความสื่อความหมายได๎เหมือนกับรูปภาพ แผนภาพ หรือแผนภูมิ ที่ใช๎ สํงสารที่อยูในตัวมันเอง เชํน การขีดเส๎นใต๎ หรือ ตัวหนา เป็นการสื่อวําข๎อความเป็นนั้นเป็นข๎อความสาคัญ ภายในข๎อความ หากต๎องการให๎เป็นจุดสนใจต๎องทาให๎ข๎อความนั้นเดํนออกมา มีหลายปัจจัย เชํน การขนาด ข๎อความ สี รูปแบบตัวอักษร (font) เป็นต๎น 6.2 การใช๎ขนาดข๎อความจะใช๎เมื่อขึ้นหัวเรื่อง และไมํนิยมนามาใช๎การเน๎นในประโยค ด๎วย การกาหนดขนาดให๎เดํนภายในประโยคเดียวกัน สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง สาหรับการเน๎นข๎อความ คือ การใช๎รูปแบบตัวอักษรที่ตํางจากที่ใช๎อยูํ หรือการใช๎ตัวหนา ภายในประโยคเดียวกัน 6.3a การจัดข๎อความที่ดีจะชํวยให๎ผู๎อํานสามารถจัดการความคิดความเข๎าใจจากข๎อความที่ อํานได๎เข๎าใจได๎งํายมากขึ้น สามาถชํวยจัดระเบียบความคิดขณะอํานข๎อความได๎งําย 6.3b การขึ้นบรรทัดใหมํควรคานึงเนื้อหาในบทความมากกวําการคานึงจานวนบรรทัดที่ นาเสนอ การนาเสนอข๎อความข๎อความที่ถูกแบํงบรรทัดตามเนื้อความของบทความ ซึ่งอํานแล๎วทาให๎อํานได๎ งําย เข๎าใจในเนื้อมากกวําการเขียนเรียบเรียงติดกันทาให๎ยากตํอากรเข๎าใจ 6.3c โครงสร๎างยํอหน๎าของข๎อความควรเน๎นมากกวําการเยื้องบรรทัดของแตํละยํอหน๎า 6.3d การใสํข๎อความหรือการใสํคาอธิบายประกอบไว๎ที่หัวกระดาษ สามารถชํวยให๎ผู๎อําน เข๎าใจได๎ได๎วํากาลังอํานเรื่องอะไร ไมํหลุดประเด็น เนื่องจากเนื้อหามีหลายประเด็น หลายหน๎า 6.4a เพื่อให๎งํายตํอการอําน นักออกแบบควรคานึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้ รูปแบบอักษร ชํองวํางระหวํางบรรทัด ชนิดและสีพื้นหลัง และความสวําง 6.4c การนาเสนอข๎อความภาษาอังกฤษควรนาเสนอตัวพิมพ์เล็ก จะอํานงํายกวําตัวพิมพ์ ใหญํ 6.4d ตัวหนังสือสีดาเหมาะกับพื้นหลังสีขาวซึ่งจะชํวยให๎อํานได๎งํายลักษณะโทนสีของ ตัวอักษรและพื้นหลังควรมีความแตกตํางกันมากที่สุด เชํน ตัวอักษรโทนสวําง พื้นหลังควรสีโทนมืด
13 โดยมีงานวิจัยสนับสนุนหลักการออกแบบสารสาหรับข๎อความ ดังนี้ ณรงค์ ทองปาน (2526: 71) ได๎เสนอเกี่ยวกับหลักในการสร๎ างหนังสือภาพสาหรับเด็กปฐมวัย ด๎าน ขนาดตัวอักษร กล๎ามเนื้อที่ตาของเด็กยังไมํเจริญพอที่จะกลับกลอกนัยน์ตาหรือเพํงสายตาจับจ๎องตัวอักษร ดังนั้นตัวอักษรควรมีขนาดโต วางชํองไฟให๎หํางพอสมควรหรือเขียนเป็นคาๆ มีความชัดเจน เขียนด๎วยน้า หมึกสีดาหรือสีน้าเงิน ขนาดโต 1 นิ้ว ถึง 1 ½ นิ้ว หน๎าหนึ่งๆ ไมํควรมีอักษรเกิน 10 คา สมทรง สีตลายัน (2515) ได๎ศึกษาถึงลั กษณะหนังสือที่เด็กชอบ ผลการวิจัยพบวํ า ขนาดของ ตัวอักษร ขนาด 20 point ตัวเรียงหําง เป็นแบบที่เด็กชอบ เด็กจะถือความชัดเจนของตัวอักษร และถือ ความนําอํานเป็นอันดับรองลงมา วรางคณา ศิริปโชติ (2542: 33) ได๎ศึกษาการใช๎ตัวอักษรสาหรับเด็กควรคานึงการใช๎ตัวพิมพ์หรือ ตัวเขียนที่เหมาะสมกับวัยเด็กซึ่งมีข๎อควรคานึง ดังนี้ 1) ตัวอักษรมีขนาดโต เส๎นหนา เหมาะกับสายตาของเด็ก 2) ตัวหนังสือเป็นแบบที่เหมาะสมกันทั้งสํวนสูงและความหนา 3) น้าหนักของตัวอักษรต๎องสม่าเสมอ มีหัวชัดเจน 4) ตัวอักษรต๎องเรียงตัวติดกัน เพื่อเป็นคาที่สามารถได๎อํานงําย 5) ตัวอักษรต๎องมีลักษณะอํานแล๎วสบายตา 6) ขนาดตัวอักษรมีสัมพันธ์กับระดับวัย กลําวคือ เด็กเล็กควรมีขนาดตัวอักษรโตและมี ขนาดเล็กลงตามวัย เชํน เด็กอายุ 5-7 ปี ควรใช๎ตัวอักษรขนาด 22 point เด็กอายุ 7-10 ปี ควรใช๎ตัวอักษรขนาด 20 point
ตะวันสีรงุ้ 22 point ราชสีห์กับหนู
20 point
7) การใช๎แบบอักษร (Font) ในหนังสือสาหรับเด็กควรคานึงถึงการอํานที่งําย เป็นตัวอักษร ที่เด็กคุ๎นเคย จะชํวยให๎เด็กสามารถอํานได๎ดี ราบรื่นควรพิจารณาชํองไฟ สี การตัดกันของสีตัวอักษรกับพื้น หลังควรให๎แตกตํางกันมากที่สุด ทศศิริ พลูนวล (2544) ได๎กลําวเกี่ยวกับตาแหนํงการจัดวางตัวอักษรที่เหมาะสาหรับเด็ก คือ การจัด วางตัวอักษรควรให๎พอดีกับเนื้อที่ของหนังสือจนดูอึดอัด ไมํควรให๎ตัวอักษรเบียดกับภาพ และประการสาคัญ คือ ไมํควรวางตัวอักษรซ๎อนทับภาพบริเวณที่มีจุดสาคัญของภาพที่มีรายละเอียดภาพและสีสันมาก จนทาให๎ ตัวอักษรเลือนไปกับภาพจนทาให๎มองไมํเห็นตัวอักษร
14 เปรื่ อง กุมุท ได๎ให๎ ข๎อมู ล เกี่ย วกับการวิจัยและหลั กการในการออกแบบหนังสื อส าหรับเด็ก ใน บทความเรื่ อ ง “การออกแบบหนั ง สื อส าหรับเด็ ก กับผลการวิ จัยบางประการ” (อ๎างถึง ใน ฉวีว รรณ คูหาภินันทน์, 2527: 86-88) โดยสามารถสรุปได๎ดังนี้ ตัว อั ก ษรหรื อ ตั ว หนั ง สื อเป็ น สํ ว นประกอบที่ ส าคัญ ของหนั ง สื อ ยิ่ ง เด็ กอายุ น๎ อ ยลง ขนาดของ ตัวอักษรก็จะโตขึ้นเป็นปฏิภาคกัน สีของอักษรสาหรับเด็กคือสีดา สีเขียว และสีน้าเงิน 3.2.1 ลักษณะเนื้อหาและการใช้ภาษา ณรงค์ ทองปาน (2526: 71) ได๎เสนอเกี่ยวกับหลักในการสร๎างหนังสือภาพสาหรับเด็กปฐมวัยไว๎ดังนี้ 1) คาที่ใช๎เหมาะกับระดับความรู๎ และความสนใจของเด็กอาจใช๎คาจากบัญชีคาพื้นฐานของ กรมวิชาการก็ได๎ ไมํควรมีตัวหนังสือมากนัก ให๎มีภาพมากๆ เพื่อให๎เด็กแปลความหมายจากภาพ 2) เรื่องที่เขียน เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับสัตว์ตํางๆ และควรเป็นสัตว์ที่แวดล๎อมตัวเด็กเชํน ลูกไกํพูดได๎ ลูกเป็ดแสนซนฯลฯ จินตนา ใบกาซูยี (2534: 16) ได๎กลําวถึงสิ่งที่ควรรู๎สาหรับการเขียนหนังสือสาหรับเด็กซึ่งสรุปได๎ ดังนี้ 1) เนื้อหา วัตถุประสงค์ชัดเจนเพียงเรื่องเดียว เนื้อเรื่องชัดเจนไมํสับสนยุํงยาก ความยาก งํายให๎เหมาะสมกับวัยของเด็ก เนื้อหาสนุกสนานเพลิดเพลิน ตัวละครแสดงความเคลื่อนไหวใช๎ตัวละครไมํ มาก ใช๎ภาพดาเนินเรื่องแทน ไมํมีบทบรรยายมากเกินไป 2) รูปแบบการเขียนเนื้อหา มีทั้งนิทาน นิยาย นิทานพื้นเมือง เรื่องสั้น สารคดี บทความ บทละครฯลฯ รวมทั้งฉันทลักษณ์ทุกรูปแบบจะมีเรื่องราวอยูํด๎วย และใช๎รูปแบบอยํางเหมาะสมกลมกลืน อํานเข๎าใจงํายและรู๎เรื่อง 3) ภาษาและสานวนที่ใช๎งํายๆ ประโยคสั้นๆ คาซ้าชํวยในการเรียนภาษา ใช๎ภาษาพูดที่ ถูกต๎องตามอักขรวิธีภาษาไทย ไมํใชํภาษาเขียน 4) มีเทคนิคการเขียนที่สนุกสนาน ให๎ความสุขใจ เสริมสร๎างจินตนาการในทางสร๎างสรรค์ ให๎ความรู๎หรือได๎อารมณ์ที่พึงปรารถนา มีจุดคิดที่แนํนอน เค๎าโครงเรื่องชวนติดตาม สานวนภาษาดี ตรงกับ รสนิยมของเด็ก นอกจากนั้นควรตั้งชื่อที่นําสนใจสั้นๆ มีความหมายสมบูรณ์ในตัว การสร๎างฉาก ระยะเวลา ตัวละครที่เหมาะสม จุดเริ่มต๎นในการเขียนต๎องรู๎กํอนวําจะเขียนเรื่องอะไร เขียนให๎ใครอําน เพื่อให๎ได๎ประโยชน์ อะไร ในการเขียนควรดาเนินตามหลักการเขียนหนังสือ คือผูกเรื่องให๎สมจริง มีความเป็นสากล ทาให๎ผู๎อําน ได๎รับความรู๎จากการอํานหนังสือนั้นๆ ทาให๎เกิดความประทับใจ และสามารถจดจาได๎แม๎จะเติบโตเป็นผู๎ใหญํ แล๎ว นอกจากนั้นยังต๎องพิจารณาเกี่ยวกับการใช๎ภาษา ภาพ ตัวอักษร ขนาดของรูปเลํมที่เหมาะสมกับเด็ก
15 ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (2523: 22) ได๎กลําวถึงภาษาที่ใช๎ในการเขียนหนังสือสาหรับเด็กไว๎ วํา ภาษา ที่ใช๎ในการจัดทาหนังสือเด็กนั้นสามารถเขียนได๎ทั้งร๎อยกรองและร๎อยแก๎วตามความถนัดของผู๎เขียน แตํถ๎า เป็นเด็กเล็กมักจะชอบบทร๎อยกรองที่มีความหมายงํายๆ หรือคาคล๎องจองมากกวําร๎อยแก๎ว หรืออาจเป็น ร๎อยแก๎วสลับกับร๎อยกรองก็ได๎ ดังนี้ 1) ภาษาที่ใช๎ในร๎อยแก๎ว ถ๎อยคาเป็นสิ่งเดียวที่สามารถแลกเปลี่ยนความคิดกับผู๎อื่นและกับตัว เราเอง ชื่อสิ่งของ ตํางๆ พฤติกรรมทั้งมวลและเหตุการณ์ทั้งหลายของโลกล๎วนแตํบรรยายผํานถ๎อยคาทั้ งสิ้น สิ่งที่เราต๎องการก็ คือรักษาความคิดภาษาพูดให๎อยูํภายใต๎กฎเกณฑ์ของความหมาย จ านวนค าที่ ใ ช๎ ไ มํ ส าคั ญ แตํ จ านวนของค าทั้ ง หมดที่ ใ ช๎ แ ตํ ล ะค านั้ น ทุ ก ค าจะต๎ อ งมี ความหมายประทับใจ พลังของคาที่เลือกใช๎อยํางถูกต๎องนั้นยิ่งใหญํมาก สิ่งที่จะแสดงความแจํมชัดได๎ดีที่สุดก็ คือใช๎ถ๎อยคาที่ถูกต๎องเทํานั้น วลี ย าวไมํ ค วรน ามาใช๎ หากมี ค าโดดที่ ใ ช๎ แ ทนได๎ นั่ น คื อ วลี ที่ ไ มํ จ าเป็ น และถ๎ อ ยค าไร๎ ประโยชน์ไมํควรนามาใช๎เลย ภาษาที่ดีที่สุดในการเขียนเรื่องสาหรับเด็กก็คือภาษาพูด 2) ภาษาที่ใช๎ในร๎อยกรอง หนั ง สื อ ส าหรั บ เด็ ก ประเภทร๎ อ ยกรองยั ง มี น๎ อ ยโดยเฉพาะส าหรั บ เด็ ก เล็ ก และเด็ ก ประถมศึกษาจึงนําจะมีการเขียนหนังสือประเภทนี้กันออกมาให๎มากขึ้นโดยอาจเขียนเป็นบทร๎อยกรองสั้นๆ มีภาพประกอบ หรือเป็นนิทานที่มีภาพประกอบทั้งที่เป็นศิลปะแบบไทยและแบบสากล ภาษาที่ใช๎ในการ เขียนร๎อยกรองมีวิธีการเขียนสั้นๆ 5 วิธี คือ 2.1 ใช๎คางํายๆ คาไทยพยางค์เดียว หรือสองพยางค์ คาประสมสองพยางค์ หรือสาม พยางค์ คาซ๎อนสองพยางค์ คาซ้าที่มีความถี่สูง ล๎วนเป็นคาที่ควรนามาใช๎แตํงบทร๎อยกรองสาหรับเด็ก เพราะ จะชํวยให๎เด็กเข๎าใจความหมายได๎ทันที 2.2 ความหมายเดํน หมายถึง ความหมายของคา และความหมายของเนื้อความในบท ร๎อยกรอง ร๎อยกรองแตํละบทควรใช๎คาที่มีความหมายเดํนชัด เข๎าใจได๎ทันทีและควรเรียงคาเป็นเนื้อความที่ เข๎าใจงํายไมํสับสน ไมํกากวม 2.3 เลํนเสียงหลาก ในที่นี้หมายรวมถึงการใช๎คาที่มีเสียงวรรณยุกต์ตํางๆ หลากเสียง สลับกัน และจังหวะในการออกเสียงด๎วย เพื่อให๎บทร๎อยกรองมีเสียงที่ไพเราะและมีจังหวะชวนสนุก 2.4 ฝากข๎อคิด บทร๎อยกรองบางบทอาจฝากข๎อคิดเล็กๆ น๎อยๆ ที่มีคุณคําทางใจให๎แกํ เด็กได๎ เชํน ข๎อคิดในการเอื้อเฟื้อชํวยเหลือ หรือความมีน้าใจตํอกัน 2.5 จูงจิตเพลิน คือ การทาให๎เด็กเกิดความบันเทิงรําเริงใจ หรือเพลิดเพลินด๎วยการ อํานบทร๎อยกรอง
16 สมทรง สีตลายัน (2515) ได๎ศึกษาถึงลักษณะหนังสือที่เด็กชอบ ผลการวิจัยพบวํา ขนาดรูปเลํม เด็ก ชั้นประถมศึกษาตอนปลายชอบรูปเลํมขนาด 6x8.5 นิ้ว ประเภท upright มากที่สุด ขนาดหนังที่เด็กชอบ น๎อยที่สุด เป็นขนาด 7.5x10.25 นิ้ว เด็กชอบความกระทัดรัดในการเปิดอํานเป็นเกณฑ์ 3.3 การรับรู้ภาพประกอบกับข้อความ (Illustration and Text Together) Flemming และ Levie (1993: 115) ได๎กลําวเกี่ยวกับหลักการออกแบบสารสาหรับ ภาพประกอบ กับข๎อความ ดังนี้ 1) ภาพประกอบชํว ยให๎ เกิดการอํ านเพื่อเรียนรู๎ ไมํใชํเรียนรู๎เ พื่อการอําน (Illustrations help in reading to learn, not learning to read) 2) ภาพประกอบจาเป็นต๎องสัมพันธ์กับข๎อความของเนื้อหา (Illustrations need to be closely related to the text’s content) 3) ระดับความเข๎าใจตํอของภาพที่ใช๎ประกอบข๎อความ เป็นผลมาจากชนิดของภาพประกอบ ที่สํงผลลัพธ์ตามความมุํงหมายและลักษณะของผู๎เรียน (The degree to which illustrations facilitate the comprehension of text is the result of the type of illustration, the outcome intended and the student’s characteristics) 4) ภาพประกอบที่ดี น ามาซึ่ งความเข๎า ใจในข๎ อความที่ดีด๎ ว ย เมื่ อภาพประกอบสามารถ นาเสนอแทนเนื้อหาได๎ดีที่สุด (Illustrations bring about the greatest text comprehension when they represent content that is spatial) 5) ภาพประกอบนาไปใช๎ประโยชน์ตํอการสร๎างจินตภาพตํอเนื้อหาได๎ (Illustrations are least useful with content which can readily create mental images) โดยมีงานวิจัยสนับสนุนการออกแบบสารสาหรับภาพประกอบกับข๎อความ ดังนี้ เปรื่ อง กุมุท ได๎ให๎ ข๎อมู ล เกี่ย วกับการวิจัยและหลั กการในการออกแบบหนังสื อส าหรับเด็ก ใน บทความเรื่ อ ง “การออกแบบหนั ง สื อส าหรั บเด็ กกับผลการวิ จัยบางประการ” (อ๎างถึง ใน ฉวีว รรณ คูหาภินันทน์, 2527: 86-88) โดยสามารถสรุปได๎ดังนี้ การวางหน๎าที่สาคัญ คือ หลักสมดุล หลักเอกภาพ หลักการเน๎นหรือศูนย์สนใจ การเว๎นชํองวําง หลักการนาสายตา การวางหน๎าในแตํละหลักเกณฑ์ไปพร๎อมกัน 1) ภาพกับตัวหนังสือหน๎าเดียวกันไมํทับกัน ภาพอยูํบนตัวหนังสืออยูํลําง ภาพอยูํข๎างหนึ่ง ตัวหนังสืออยูํข๎างหนึ่ง ตัวหนังสืออยูํตามชํองวํางระหวํางภาพ 2) ภาพกับตัวหนังสือหน๎าเดียวกัน ตัวหนังสือพิมพ์ทับผ๎า 3) ภาพกับตัวหนังสืออยูํคนละหน๎า 4) ภาพกับตัวหนังสือที่ใช๎ทั้งสองหน๎าเป็นเหมือนหน๎าเดียวกัน
17 3.4 การรับรู้เสียง (Perception of Sounds) Flemming และ Levie (1993: 115) ได๎กลําวเกี่ยวกับหลักการออกแบบสารสาหรับเสียง ดังนี้ 1) เสียงที่ได๎ การจัดการตามเวลาและรูปแบบที่ดีชํวยสื่อความหมายถึง ภาพประกอบและ ข๎อความได๎เป็นอยํางดี (Sounds are organized, in time, in ways analogous to the organization of illustrations and text in space) 2) คาพูดที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารความคิดจะต๎องได๎รับการจัดลาดับเป็นอยํางดีมาแล๎ว (Speech is effective in communicating ideas that have to be understood in a particular sequence) 3) ข๎อความจะมีประสิทธิภาพเหนือกวําการใช๎เสียงพูด เมื่อเนื้อหามีความซับซ๎อนและภาพที่ ไมํชัดเจน (Text is more effective than speech when the content is complex and visuals are not available) 4) เสียงพูดของมนุษย์เป็นสื่อที่มีความหมายและประสิทธิภาพมากที่สุด (Human speech is the most powerful and expressive medium) เมื่อกลําวถึงรายละเอียดของหลักการออกแบบสารสาหรับภาพ ข๎อความ ภาพประกอบและเสียง สาหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพ รวมกับงานวิจัยที่สนับสนุนหลักการแล๎ว เพื่อให๎เห็นผลลัพธ์ของ การออกแบบผู๎เขียนจึงนาเสนอ มโนทัศน์ (Concept) หลักการ (Principle) และผลผลิต (Product) ที่ สาคัญและพบได๎ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานภาพเพื่อการเรียนรู้คุณธรรมสาหรับเด็ก ลาดับตํอไป
18 มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้รูปภาพ (Perception of Pictures) หลักการ (Principle) 3.1 รูปภาพสามารถจาได้ง่ายกว่าข้อความ Flemming และ Levie (1993) กลําววํา การนาเสนอข๎อมูลเป็นรูปภาพ จะทามนุษย์เกิดกระบวนการจาโดยมีการเข๎ารหัสความจาสองครั้ง ครั้งแรก คื อ จดจ าออกมาเป็ น รู ป ภาพ ครั้ ง ที่ ส อง คื อ จดจ าออกมาเป็ น ข๎ อ ความ บรรยายใต๎ ภ าพ ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากทฤษฎี ร หั ส คูํ (Ducal Coding) (Paivio,1971,1983) และทฤษฎี ก ารเก็ บ ข๎ อ มู ล รํ ว มกั น (Conjoint Retention) (Kulhavy,Lee & Caterino,1985;Schwartz,1988) โดยทฤษฎี ทั้งสองแสดงให๎ เห็ น วํา การจ าจะเกิดขึ้นได๎ต๎องมีการรับรู๎ภ าพควบคูํไปกับ ภาษา ปวีณา ศรีวิพัฒน์ อุดมศักดิ์ สาริบุตร และจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี (2556) การออกแบบภาพประกอบด๎วยเทคนิคคอมพิวเตอร์ ทาให๎เกิดสีที่คมชัด ชํวย เร๎าความสนใจของเด็กได๎เป็นอยํางดี และจะชํวยให๎เด็กสามารถเรียนรู๎ จดจา ได๎งําย สอดคล๎องกับงานวิจัยของรุํงนภา ผลพฤกษา (2550:บทคัดยํอ) ทาการศึกษาและออกแบบภาพประกอบหนังสือการ์ตูนเพื่อสํงเสริมการเรียนรู๎ สาหรับเด็กปฐมวัย เรื่องของสี ที่มีรูปทรงการ์ตูนตํางกันและ การระบายสี ตํางกัน พบวํา ภาพประกอบหนังสือการ์ตูนรูปทรงที่สร๎างขึ้นมาใหมํระบายสี ด๎วยคอมพิวเตอร์จากโปรแกรมสาเร็จรูปมีระดับคําเฉลี่ยด๎านการรับรู๎อยูํใน ระดับมากที่สุดและมีระดับคําเฉลี่ยด๎านการจาอยูํในระดับมากที่สุด
ผลผลิต (Product) นิทาน เรื่อง กระพรวนผูกคอแมว
ที่มา : http://www.saengdao.com/e-book/index.php?id=795
19 มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้รูปภาพ (Perception of Pictures) หลักการ (Principle) ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2527: 128–143) ลักษณะการวางหน๎าหนังสือ สาหรับเด็ก 1) การวางภาพกับตัวหนังสือหน๎าเดียวกัน 1.1) ภาพอยูํบน ตัวหนังสืออยูํลําง (รูปเลํมแนวตั้ง) จะมองด๎านบนกํอน 1.2) ภาพอยูํข๎างหนึ่ง ตัวหนังสืออยูํข๎างหนึ่ง (รูปเลํมแนวนอน) 1.3) ตัวหนังสืออยูํตามชํองวํางระหวํางภาพ 2) ภาพกับตัวหนังสือหน๎าเดียวกัน ตัวหนังสือพิมพ์ทับภาพ โดยใสํภาพเต็ม หน๎า ตัวหนังสือก็ทับลงไปตามความเหมาะสม ด๎านศิลปะ เชํน เรื่องของความ สมดุล 3) ภาพกับตัวหนังสืออยูํคนละหน๎า เชํน จะให๎ตัวหนังสืออยูํด๎านซ๎าย ภาพอยูํ ด๎านขวา เพราะคนเรามักจะมองด๎านขวากํอน ดังนั้นเราจึงให๎ความสนใจกับ ภาพด๎านขวามากกวํา 3.2 รูปภาพมีหน้าที่ดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน Levie และคณะได๎นาเสนอ บทบาท ของภาพ ดังนี้ 1) ใช๎ตกแตํง (Decoration) 2) ใช๎นาเสนอตัวอยําง (Reprentation) 3) ใช๎นาเสนอโครงสร๎าง (Organization) 4) ใช๎ตีความหรือแปลความหมาย (Interpletion) 5) ใช๎เชื่อมโยงหรือสื่อทางอ๎อม (Transform)
ผลผลิต (Product) นิทาน เรื่อง น้าใจดีปราณีปราศรัย
ที่มา : http://issuu.com/panuwatedtech/docs/maner_b5
20 มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้รูปภาพ (Perception of Pictures) หลักการ (Principle) Flemimg และ Levie (1993) 4.9 การใช๎สีมี 2 วัตถุประสงค์ คือ ใช๎แสดงสีที่เป็นของจริงกับใช๎เพื่อดึงดูด ความสนใจตัวสารที่ต๎องการสื่อ และการใช๎สีเพื่อดึงดูดความสนใจในสาร โดย ธรรมชาติของสีประกอบด๎วย เนื้อสี (Hue) และความสวําง (Brighness) ด๎วย ลักษณะ ดังกลําว สามารถสร๎างการตัดกันของสีเพื่อให๎สิ่งที่ต๎องการเน๎น เดํน ออกมาจากมาจากภาพ ณรงค์ ทองปาน (2523: 81– 82) ได๎กลําวถึงลักษณะของภาพประกอบที่ดี สาหรับเขียนหนังสือเด็กไว๎ดังนี้ 1. ลักษณะของภาพประกอบที่ดี คือ เด็กชอบ ภาพประกอบที่แสดงการกระทาและการผจญภัย 2. ขนาดของรูปภาพ มี ขนาดภาพประมาณ 3–4 นิ้ว สีสดสะดุดตา ภาพและสีไมํจาเป็นต๎องคานึง ข๎อเท็จจริงแตํต๎องเป็นภาพที่เดํนชัด ถ๎าเป็นหนังสือภาพล๎วนก็ให๎ภาพแสดง ความหมายที่เด็กสามารถตีความได๎งําย เปรื่อง กุมุท ได๎ให๎ข๎อมูลเกี่ยวกับหลักการในการออกแบบหนังสือสาหรับ เด็ก ดังนี้ ลักษณะของภาพที่เด็กชอบ คือ ภาพที่มีลักษณะงํายๆ ไมํซับซ๎อน และอายุสูงขึ้นจะชอบภาพที่ซับซ๎อนมากขึ้น เด็กชอบภาพสีมากกวําภาพขาว ดา เด็กอายุ 8 ปี สนใจการ์ตูนนิทานมากที่สุด อายุ 9-10 ปี ชอบ ภาพประกอบมากกวําภาพประกอบน๎อย ภาพใหญํมากกวําภาพเล็ก
ผลผลิต (Product) นิทาน เรื่อง ลูกกวางกล้าหาญ
ที่มา : https://docs.google.com/file/d/0B3L0TtimdTSbd0xxTHFTMzA4WVE/preview
21 มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้ข้อความ (Perception of Text) หลักการ (Principle) Flemming และ Levie (1993) 6.1 การรับรู๎ด๎วยคาของแตํละคาที่มีความหมาย ทาให๎ข๎อความมีคุณสมบัติใน การสื่อความหมายได๎เหมือนกับสื่ออื่นๆ ข๎อความสื่อความหมายได๎เหมือนกับ รูปภาพ แผนภาพ หรือแผนภูมิ ที่ใช๎สํงสารที่อยูในตัวมันเอง เชํน การขีดเส๎น ใต๎ หรือ ตัวหนา เป็นการสื่อวําข๎อความเป็นนั้นเป็นข๎อความสาคัญภายใน ข๎อความ หากต๎องการให๎เป็นจุดสนใจต๎องทาให๎ข๎อความนั้นเดํนออกมา มี หลายปัจจัย เชํน การขนาดข๎อความ สี รูปแบบตัวอักษร (font) เป็นต๎น 6.2 การใช๎ขนาดข๎อความจะใช๎เมื่อขึ้นหัวเรื่อง และไมํนิยมนามาใช๎การเน๎นใน ประโยค ด๎วยการกาหนดขนาดให๎เดํนภายในประโยคเดียวกัน สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง สาหรับการเน๎นข๎อความ คือ การใช๎รูปแบบตัวอักษรที่ ตํางจากที่ใช๎อยูํ หรือการใช๎ตัวหนา ภายในประโยคเดียวกัน
ผลผลิต (Product) นิทาน เรื่อง ราชสีห์กับหนู
ที่มา : http://issuu.com/panuwatedtech/docs/___________________________
22 มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้ข้อความ (Perception of Text) หลักการ (Principle) 6.3a การจัดข๎อความที่ดีจะชํวยให๎ผู๎อํานสามารถจัดการความคิดความเข๎าใจ จากข๎อความที่อํานได๎เข๎าใจได๎งํายมากขึ้น สามารถชํวยจัดระเบียบความคิด ขณะอํานข๎อความได๎งําย 6.3b การขึ้นบรรทัดใหมํควรคานึงเนื้อหาในบทความมากกวําการคานึง จานวนบรรทัดที่นาเสนอ การนาเสนอข๎อความข๎อความที่ถูกแบํงบรรทัดตาม เนื้อความของบทความ ซึ่งอํานแล๎วทาให๎อํานได๎งําย เข๎าใจในเนื้อมากกวําการ เขียนเรียบเรียงติดกันทาให๎ยากตํอการเข๎าใจ 6.3d การใสํข๎อความหรือการใสํคาอธิบายประกอบไว๎ที่หัวกระดาษ สามารถ ชํวยให๎ผู๎อํานเข๎าใจได๎ ได๎วํากาลังอํานเรื่องอะไร ไมํหลุดประเด็น เนื่องจาก เนื้อหามีหลายประเด็น หลายหน๎า 6.4a เพื่อให๎งํายตํอการอําน นักออกแบบควรคานึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้ รูปแบบอักษร ชํองวํางระหวํางบรรทัด ชนิดและสีพื้นหลัง และความสวําง 6.4c การนาเสนอข๎อความภาษาอังกฤษควรนาเสนอตัวพิมพ์เล็ก จะอํานงําย กวําตัวพิมพ์ใหญํ 6.4d ตัวหนังสือสีดาเหมาะกับพื้นหลังสีขาวซึ่งจะชํวยให๎อํานได๎งําย วรางคณา ศิริปโชติ (2542: 33) ขนาดตัวอักษรมีสัมพันธ์กับระดับวัย กลําวคือ เด็กเล็กควรมีขนาดตัวอักษรโตและมีขนาดเล็กลงตามวัย น้าหนักของตัวอักษรต๎องสม่าเสมอ มีหัวชัดเจน
ผลผลิต (Product)
นิทาน เรื่อง ตารวจ ที่มา : https://drive.google.com/folderview?id=0B3L0TtimdTSbdllTNWdSZnkydVE#
23
มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้ภาพประกอบกับข้อความ (Illustration and Text Together) หลักการ (Principle) Flemming และ Levie (1993) กลําววํา ภาพประกอบที่ดนี ามาซึ่งความ เข๎าใจในข๎อความที่ดีด๎วย เมื่อภาพประกอบสามารถนาเสนอแทนเนื้อหาได๎ดี ที่สุด (Illustrations bring about the greatest text comprehension when they represent content that is spatial)
ผลผลิต (Product)
นิทาน เรื่อง บวกลบคูณหารก็ได้ง่ายจัง
ที่มา : http://issuu.com/panuwatedtech/docs/_______________________________eboo
24 มโนทัศน์ (Concept) เรื่อง การรับรู้เสียง (Perception of Sounds) หลักการ (Principle) • เสียงที่ได๎การจัดการตามเวลาและรูปแบบที่ดีชํวยสื่อความหมายถึงภาพประกอบ และข๎อความได๎เป็นอยํางดี (Sounds are organized, in time, in ways analogous to the organization of illustrations and text in space) • คาพูดที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารความคิดจะต๎องได๎รับการจัดลาดับเป็นอยํางดี มาแล๎ว(Speech is effective in communicating ideas that have to be understood in a particular sequence) • ข๎อความจะมีประสิทธิภาพเหนือกวําการใช๎เสียงพูด เมื่อเนื้อหามีความซับซ๎อนและ ภาพที่ไมํชัดเจน (Text is more effective than speech when the content is complex and visuals are not available) • เสียงพูดของมนุษย์เป็นสื่อที่มีความหมายและประสิทธิภาพมากที่สุด (Human speech is the most powerful and expressive medium)
ผลผลิต (Product)
ที่มาของภาพ: นิทานเรื่อง Anna and Her Bike http://api.ning.com/files/LL90u1BOL4PJMemarkLaAywAGyVLYjxWiQnQk4XZzpe6uSn3EIfko QoGxC50hyVG6MiDqkNIf3N2fU63hrGRIod3T1dWIRuX/01Ana_and_Her_Bike.pdf
เมื่อผู๎อํานได๎ชมตัวอยํางการออกแบบหน๎าจอของหนังสืออิเล็กทริกส์นิทานภาพแล๎ว หากต๎องการประเมินหนังสือนิทานภาพประกอบการเรียนรู๎คุณธรรม เพื่อใช๎ แบบประเมินงานวิจัยของปวีณา ศรีวิพัฒน์ อุดมศักดิ์ สาริบุตรและจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี. (2555) ในรายการหน๎าตํอไป
25
แบบประเมินหนังสือนิทานภาพประกอบการเรียนรู้คุณธรรม คุณลักษณะที่ใช้ประเมิน 1. ลักษณะของเนื้อหา 1. ความยาวเนื้อเรื่องเหมาะสมกับวัยและความสนใจของเด็ก ปฐมวัย 2. เนื้อเรื่องงําย ตํอการทาความเข๎าใจ 3. เนื้อเรื่องเสริมสร๎างความรู๎ให๎แกํเด็กปฐมวัย 4. เนื้อเรื่องมีความตํอเนื่องสัมพันธ์กัน 5. เด็กปฐมวัยสามารถจับใจความสาคัญของเรื่องได๎ 6. เนื้อหาสนุก นําอําน ชวนติดตาม 7. เรื่องราวสอดคล๎องกับชีวิตประจาวันและการเรียนรู๎ตามวัย ของเด็กปฐมวัย 8. เด็กปฐมวัยได๎ความรู๎ความเข๎าใจ จากหนังสือในระดับที่ เหมาะสม 9. เนื้อเรื่องมีประโยชน์เหมาะสาหรับเป็นหนังสือสํงเสริมการ เรียนรู๎ 10. เนื้อหาชํวยสํงเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็ก ปฐมวัย 11. เนื้อเรื่องชวนติดตาม และทาให๎อยากเรียนรู๎เพิ่มเติม 12. สามารถถํายทอดเนื้อหา เพื่อสร๎างความตระหนักในเรื่อง คุณธรรมให๎กับเด็กปฐมวัย 2. ลักษณะของการใช้ภาษา 1. ใช๎ภาษาได๎อยํางถูกต๎อง เข๎าใจงํายเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย 2. การใช๎ภาษาสื่อความหมายได๎ชัดเจน 3. เค๎าโครงเรื่องไมํซับซ๎อน 4. การเกริ่นนามีความสอดคล๎องกับเนื้อหา 5. ประโยคสั้น เข๎าใจงําย เหมาะสมกับการสื่อสารของเด็ก ปฐมวัย 6. การจัดวรรคตอน ถูกต๎อง เหมาะสม 7. ภาษาและภาพมีความสอดคล๎องกัน
ระดับความคิดเห็น มากที่สุด
มาก
ปาน กลาง
พอใช้
ควร ปรับปรุง
26 คุณลักษณะที่ใช้ประเมิน 8. ภาษาจูงใจให๎เด็กสนใจติดตาม 9. มีการใช๎คาได๎อยํางเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง 10. ความถูกต๎องของคาและตัวสะกด 3. ลักษณะการจัดภาพประกอบ 1. ภาพปกมีความเหมาะสมกับชื่อเรื่อง 2. ภาพปกสวยงาม นําสนใจ 3. ขนาดของสมุดภาพกับหน๎ากระดาษและขนาดตัวอักษร เหมาะสมกัน 4. ภาพประกอบชํวยขยายข๎อความ สํงเสริมให๎เข๎าใจเนื้อเรื่อง 5. ภาพประกอบ และข๎อความแตํละหน๎าสอดคล๎องกัน 6. ภาพมีขนาดเหมะสมกับวัย สวยงาม ดึงดูดให๎อยากดู และ ชํวยเสริมจินตนาการ 7. ภาพสวยงามเหมาะสมกับวัยของเด็ก ลายเส๎นไมํซับซ๎อนจน เข๎าใจยาก 8. สัดสํวนภาพมากกวําครึ่งของรูปเลํมหรือเนื้อเรื่อง 4. ลักษณะการจัดรูปเล่ม 1. รูปเลํมภายนอกสวยงามดึงดูดความสนใจ 2. ขนาดและความหนาของหนังสือสามารถจับถือได๎สะดวก 3. การเข๎ารูปเลํมมีความแข็งแรง เด็กสามารถเปิดอํานได๎ สะดวก 4. ขนาดของตัวอักษรเหมาะสมกับระดับชั้นและวัยของเด็ก 5. ตัวอักษรมองเห็นชัดเจน สวยงาม อํานงําย เป็นระเบียบ สม่าเสมอ 6. ตัวสะกด การันต์ การใช๎เครื่องหมายตํางๆ ถูกต๎อง 7. วัสดุที่ใช๎ไมํกํออันตราย เชํน กระดาษไมํบางหรือคมจนอาจ บาดมือเด็ก 8. มีเทคนิคพิเศษ ชวนให๎เด็กอํานและรักการอํานมากขึ้น 9. การพิมพ์ชัดเจน กระจํางตา ตัวอักษรอํานงําย 10. สีของกระดาษพื้นไมํเป็นอันตรายตํอสุขภาพตาของผู๎อําน
ระดับความคิดเห็น มากที่สุด
มาก
ปาน กลาง
พอใช้
ควร ปรับปรุง
27 คุณลักษณะที่ใช้ประเมิน
ระดับความคิดเห็น มากที่สุด
มาก
ปาน กลาง
พอใช้
ควร ปรับปรุง
11. สีของตัวอักษรไมํเป็นอันตรายตํอสุขภาพตาของผู๎อําน 5. คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ 1. สอดคล๎องกับเรื่องคุณธรรม 2. ปลูกฝังให๎เด็กเห็นคุณคําในเรื่องคุณธรรม 3. สามารถนาเอาความรู๎ที่ได๎จากหนังสือไปใช๎กับ ชีวิตประจาวันได๎ 4. เนื้อเรื่องชํวยให๎เด็กปฐมวัยมีความรู๎ความเข๎าใจในเรื่อง คุณธรรม 5. เนื้อเรื่องมีสาระ ประโยชน์เหมาะสมที่จะใช๎เป็นหนังสือ สํงเสริมการอํานสาหรับเด็กปฐมวัย 6. เนื้อเรื่องชํวยปลูกฝังให๎เด็กเกิดความรู๎สึกคล๎อยตาม และ อยากเรียนรู๎เพิ่มเติม เฉลี่ย ค่าเฉลี่ยโดยรวม ที่มา : ปวีณา ศรีวิพัฒน์ อุดมศักดิ์ สาริบุตรและจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี. (2555)
28
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). E-book คืออะไร. [ออนไลน์]. แหลํงที่มา: http://210.246.188.51 [28 มิถุนายน 2555]. กิดานันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แหํงจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. กิตติกรณ์ มีแก๎ว. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลอินปัญญา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการ สอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เกริก ยุ๎นพันพันธ์. (2543). การออกแบบและเขียนภาพประกอบสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. ครรชิต มาลัยวงศ์. (2540). ทัศนะไอที. กรุงเทพฯ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหํงชาติ. จินตนา ใบกาซูยี. (2542). การจัดทาหนังสือสาหรับเด็ก. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. ปวีณา ศรีวิพัฒน์ อุดมศักดิ์ สาริบุตรและจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี. (2555, ตุลาคม – มีนาคม). ศึกษาและ ออกแบบหนังสือนิทานภาพประกอบการเรียนรู๎คุณธรรม. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 3(2). ลา ไย บัวพิทักษ์. (2543). การใช้นิทานพื้นบ้านอีสานในการจัดกิจกรรมส่งเสริมจริยธรรมสา หรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านกุดหูลิง และโรงเรียนบ้านโนนโพธิ์ จังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วรพงศ์ วรชาติอุดมพงษ์. (2531). การเปรียบเทียบความชอบและไม่ชอบของเด็กและผู้ปกครองที่มีต่อ รูปแบบภาพและภาพประกอบหนังสือภาพ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา ศิลปศึกษา.ภาควิชาศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ศึกษา. คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วินัย รอดจําย. (2534). การเขียนและจัดทาหนังสือสาหรับเด็กและเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ตะเกียงทอง. วินัย รอดจําย. การ์ตูนศาสตร์แห่งศิลป์และจินตนาการ. กรุงเทพฯ : ต๎นอ๎อ แกรมมี่. 2540. สกุณี นิยม.(2556). สร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Desktop Autror. [ออนไลน์]. แหลํงที่มา: http://tc.mengrai.ac.th/kruyuy/e-learning/desktop/WEBPAGE/page/unit1/ page1_2.html[5 ตุลาคม 2556]