GEN441
“เจริ ญ กรุ งร� ำ ลึ ก ”
“อยากรู้จักกรุ งเทพฯ ต้องเดินตามตรอก ไม่ใช่ นัง่ รถดู“
“ welcome ”
บทบรรณาธิการ “อยากรู้จักกรุ งเทพฯ ก็ต้องเดินตามตรอก ไม่ใช่ นัง่ รถดู” เป็นค�ำพู ดของ รศ.วราพร สุรวดี ผู ้ก่อตัง้ พิพธิ ภัณฑ์ชาวบางกอก ค�ำพู ดนีเ้ ป็นค�ำพู ดทีท่ ำ� ให้เราประทับใจในการมาท�ำกิจกรรมเดินเท้าศึกษาประวัตศิ าสตร์ ย่านเก่าในเมืองกรุ ง หรือทริปที่มีชื่อเรียกสัน้ ๆว่าทริป “เจริญกรุ งร�ำลึก” สถานที่แต่ละที่ย่อมมีเรื่องราวประวัติ ความเป็นมา ย่านเจริญกรุ งเป็นย่านหนึ่งที่มีเรื่องราวมากมายที่น่าสนใจ เป็นทัง้ จุ ดเริม่ หรือแม้กระทัง่ จุ ดเปลี่ยน ของประวัติศาสตร์ของไทย การเดินเท้าท่องเที่ยวนี่เองที่จะท�ำให้เราได้เห็น สัมผัส และเรียนรู้สงิ่ ที่พบเจอตลอด ข้างทางในที่ท่ีเราได้ไป การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไม่ใช่ เป็นเพียงการเรียนรู้เพื่อให้อยู ่ในความทรงจ�ำ แต่เป็นการ เรียนรู้เพื่อให้เกิดบทเรียนและวิสัยทัศน์ท่จี ะสามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ต่อไปได้ในอนาคต การเดินเท้าครัง้ นีจ้ ึงไม่ใช่ เป็นเพียงการเดินชมเมือง แต่เป็นการเดินเพือ่ ร�ำลึกถึงความเป็นมาและรากเหง้าของความเจริญที่เป็นมาให้อดีต กับย่านที่มีชื่อว่า “เจริญกรุ ง” คณะผู ้จัดท�ำ
สารบัญ
11
15
HISTORY
รถราง รางรถ
27
29
MISSIONARY
INSIGHT
01 THE FIRST
05
09
EXPLORE
PHOTO BATTLE
17
21
CULTURE
PEOPLE
31 DON’T FORGET
1 st
OF
CHAROEN KRUNG
เรื่อง > ณัฐพงษ์ หาญศิริวัฒนกิจ
ถ้าพู ดถึง ”เจริญกรุ ง” ในตอนนีบ้ างคนอาจจะ นึกถึง Asiatique The Riverfront ซึ่งเป็นสถานที่ท่อง เทีย่ วยอดฮิตประจ�ำย่านเจริญกรุ งไปแล้ว แต่ในบทความนี้ เราจะไม่กล่าวถึง Asiatique The Riverfront เราจะมอง มุ มต่างที่คนยุ คใหม่ๆ ไม่เคยรู้มาก่อนว่าในย่านเจริญกรุ ง มีหลายสิ่งหลายอย่างที่เป็นสิ่งแรกที่ยังคงอยู ่จากอดีต จนถึงปั จจุ บันอยู ่หลายอย่าง ถนนเจริญกรุ ง เป็นถนนรุ ่นแรกที่ใช้ เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ซึ่ งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ ซึ่ งในยุ คสมัยนัน้ เริ่มมีชาวต่างชาติเข้ามาอยู ่ มากขึน้ จึงต้องการถนนที่จะใช้ ส�ำหรับการเดินทางการ ใช้ พาหนะที่เป็นม้าหรือรถม้าได้เดินทางให้สะดวกสบายขึน้
01 | เจริญกรุงร�ำลึก | 1
st
OF CHAROEN KRUNG
ถนนเจริญกรุ ง กับรถรางสายแรกในอดีต ถนนสายนี้น� ำ พาความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งมาให้ แ ก่ กรุ งเทพมหานครฯ เหมือนดัง่ ชื่อที่ว่า “เจริญกรุ ง” ที่มี การพัฒนาการขนส่งผู ้โดยสารด้วย “รถราง” ตามแบบ ตะวันตกที่วงิ่ จาก ถนนตก ไปถึง ท่าเตียน ไปกลับ ซึ่ง ต่อมาก็ได้มกี ารพัฒนาให้มคี วามทันสมัยขึน้ กลายมาเป็น รถเมล์สาย 1 ที่เราเห็นกันในปั จจุ บันนัน่ เอง
สถานทูตแห่งแรกในประเทศไทย สถานทูตโปรตุเกสเป็นสถานทูตของชาวต่าง ชาติท่ีแรกที่เข้ามาก่อตัง้ ภายในประเทศไทย สร้างขึน้ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๑ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุ ทธเลิศหล้า นภาลัย ซึ่งตัง้ อยู ่ท่ตี รอกกัปตันบุ ช บริเวณริมฝั่ ง แม่น�ำ้ เจ้าพระยา โปรตุเกสเป็นชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามา ติดต่อค้าขายกับไทยตัง้ แต่สมัยอยุ ธยา
03 | เจริญกรุงร�ำลึก | 1
st
OF CHAROEN KRUNG
อธิบดีกรมเจ้าท่าคนแรก ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัวได้ท�ำการแต่ง ตัง้ ยศให้ กัปตันจอร์น บู ช (John bush) เป็นพระยาวิสูตรสาครดิษฐและ เป็นอธิบดีกรมเจ้าท่าคนแรก เนื่องจากกัปตันจอร์น บู ช มาเปิ ดอู ่ต่อเรือ ในประเทศไทย จึงต้องซ่ อมเรือรบให้ประเทศไทยเป็นค่าตอบแทน และยังเป็น บุ คคลที่พฒ ั นาอู ต่ อ่ เรือแห่งแรกในประเทศไทยอีกด้วย แสดงให้เห็นถึงชาว ต่างชาติท่มี ีความซื่อสัตย์และความจงรักภักดีต่อประเทศไทย ซึ่งในปั จจุ บันที่เจริญกรุ งซอย ๓๐ ได้ตัง้ ชื่อว่า “ตรอกกัปตันบุ ช”เพื่อให้ เกียรติแก่กัปตันจอร์น บุ ช สิง่ ต่างๆ ที่เกิดขึน้ บนถนนสายนีท้ ่ีมีชื่อว่า “เจริญกรุ ง” ยังคงมี เรื่องเล่าในอดีตอีกมากมายที่คนส่วนใหญ่ไม่เคยรู้มาก่อน ถ้าคุณอยาก จะลองท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ ผมก็อยากจะให้คณ ุ ลองมาเทีย่ วทีย่ า่ น “เจริญกรุ ง” สักครัง้ คุณอาจจะหลงรักที่น่กี ็ได้
1st OF CHAROEN KRUNG | เจริญกรุ งร�ำลึก |
04
เอ็กซโ์ พเลอร์ ROAD TO CHAROENKRUNG เรื่อง > ชัชวาลย์ มู ลถา
ส�ำรวจตะลุย สมบุ กสมบัน นัน้ คือคอนเซปของการ ออกส�ำรวจทริปย่านเจริญกรุ งในครัง้ นี การตะลุยครัง้ นีเ้ รา จะใช้ สองขาคู่ใจเดินส�ำรวจไปทัว่ แต่ส�ำหรับคนที่ขเี้ กียจเดินก็ สามารถใช้ สองล้อคูใ่ จ ไปปั่ นได้นะ ถือว่าเป็นทริปจักรยานที่ดี เลยแหละ เราจะเริม่ กันที่แถวสะพานตากสิน ช่ วงเวลาเช้ าๆ เราจะ เห็นคนไทยชาวพุ ทธออกมาใส่บาตรด้วย ถ้ามีโอกาสก่อนไป เที่ยวก็น่าจะท�ำบุ ญสักหน่อยนะ…สาธุ พอเราอิม่ บุ ญเราก็ไป หาของกินกันตรงข้ามโรบินสันบางรัก แถวนัน้ จะมีของกินชื่อ ดังเยอะมากๆ ทัง้ โจ๊กปรินซ์ ซาลาเปา น�ำ้ ขม และร้าน เบเกอรี่ปั้นลี่แห่งแรกของไทย เมื่อเรากินอิม่ มีแรงก็เดินหน้าลุยต่อไปที่โรงเรียนอัส สัมชัญ (ไม่ได้ให้ดู นักเรียน นะ) ที่มาตรงนีเ้ ราจะมาดู สถาปั ตยกรรมของตึกที่นกี้ ัน ว่าสวยมัย้ ? พอมาถึงก็ถึง กับตะลึงไปสักแปบเพราะว่ามันสวยจริงๆ ถึงแม้ว่าจะปิ ด ปรับปรุ งก็เหอะ เดินต่อไปอีกนิดจะเจอตึกร้างเก่าๆซึ่งจะยัง คงความสวยงามไว้อยู ่ ได้สืบมาว่าตึกนีเ้ นีย้ เป็นตึกของ ส�ำนักงานเอเชียทีชเก่า : )
05 | เจริญกรุงร�ำลึก | EXPLORE
เป้ าหมายต่อไปจะเป็นสถานีดับ เพลิงบางรักขอบอกก่อนว่าตึกที่น่เี ป็น เอกลักษณ์สวยงามมากๆ จนถึงขัน้ ที่ว่า คู่รักหลายคู่มาถ่าย Pre-wedding ที่น่ี จากนัน้ เราก็จะเดินผ่านถนนชุ มชน มุ สลิมเพื่อไปยังพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก ระหว่างทางก็ไปเจอ กระหรี่ปับ๊ และ มะตะบะพู ดแล้วก็หิวเลย ก่อนจะถึงพิพิธภัณฑ์จะเจอไปรษณีย์ กลาง(ตึกที่มีครุ ฑ 2 ตัว) ซึ่ งแวะเข้าไป เที่ยวชมถ่ายรูปได้นะ
EXPLORE | เจริญกรุ งร�ำลึก |
06
้ ิพิธภัณฑ์ชาว และก็มาถึงไฮไลท์ของทริปนีพ บางกอก ซึ่งเป็นบ้านไม้เก่าๆแต่น่าอยู ่ ภายใน พิพิธภัณฑ์จะเจอข้าวของที่ใช้ กันในสมัยก่อน เก็บรวบรวมให้เราดูครบเกือบทุกชิน้ ซึ่งเป็นสิง่ ที่มคี ณ ุ ค่ามาก ต่อไปเราจะ เดินเท้าต่อไปยังวัด อภัยราชบ�ำรุ ง
07 | เจริญกรุงร�ำลึก | EXPLORE
ระหว่างเดินไปจะแวะชิมไอติม โบราณรสหวานหอมหืม... อร่อย อย่าลืมแวะกินกันก่อนล่ะ เดินต่อไปเรื่อยๆ ผ่านสถาน ทูตแห่งแรกในประเทศไทย นัน้ คือ สถานทูตโปรตุเกส และ ก่อนจะ ผ่าน ชุ มชมตลาดน้อย ซึ่งที่แห่ง นีเ้ ป็นสวรรค์ของคนที่ชอบอะไหล่ รถยนต์เก่า (จะเยอะไปไหนเนีย้ )
พอมาถึงหน้าวัดก็จะเจอกับรางรถ ของรถราง ที่เหลือไว้ให้ดูร�ำลึกถึงรถ รางสายแรก ถึงแม้เราจะถึงปลายทางแล้วก็ตาม แต่การเดิทางในแต่ละครัง้ สิง่ ที่อยู ่ ระหว่างทางนัน้ มีค่าและมีความหมาย ไม่แพ้ปลายทาง ไม่ว่าที่ไหนๆ จงอย่าง หลงลืมสิง่ นัน้ เป็นอันขาด
แค่ดูรูปก็สนุกแล้ว :D
EXPLORE | เจริญกรุ งร�ำลึก |
08
P H O T
B A T T L E เรื่อง > ภานุวัฒน์ สังเกตกิจ
เมือ่ นึกถึงการท่องเที่ยว มีสงิ่ หนึ่งที่ช่วยเก็บความทรงจ�ำให้ท่ที ่ีเราไปและคูก่ นั กับการท่องเที่ยว นัน่ คือการ ถ่ายรูป รูปหนึ่งรูปอาจบอกความหมายหรือเรือ่ งราวแทนตัวอักษรและค�ำพู ดได้เป็นพันๆค�ำ รูปหนึ่งรูปถ่ายในทีเ่ ดียวกัน เวลาเดียวกันก็อาจจะให้ความหมายหรือความรู้สึกกับผู ้ท่ีถ่ายและผู ้ท่ีได้ดูได้ชมต่างไปด้วยเช่ นกัน ดังนัน้ เราจึงเห็น ได้ว่าการถ่ายรูปนัน้ มีความส�ำคัญและความหมายกับการท่องเที่ยวมากจริงๆ ผมเป็นอีกคนหนึ่งที่ชื่นชอบการถ่าย รูป การถ่ายรูปเป็นสิง่ ที่ท�ำให้เราได้รู้สักสังเกตสิง่ ที่อยู ่รอบตัว ได้มองเห็นมุ มบางมุ มที่หลายคนมองไม่เห็น เป็นเหมือน แรงกระตุน่ ให้เราอยากไปพบเจอสถานที่ใหม่ๆ เพือ่ ที่จะได้ถา่ ยรูปในมุ มใหม่ๆ และรูปนัน้ ก็เป็นเหมือนวิธหี นึ่งที่ใช้ บอกเล่า เรื่องราวในสิง่ ที่เราได้พบเจอมาได้เป็นอย่างดี แน่นอนไม่ใช่ เราคนเดียวเท่านัน้ ที่มีกล้องถ่ายรูป หลายๆคนก็มีและถ่าย เป็นเช่ นกัน เมื่อต่างคนต่างมีสงิ่ ที่จะตามมาคือการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เทคนิควิธีการถ่ายรูปสิง่ เหล่านีก้ ็จะก่อ ให้เกิดมิตรภาพ ซึ่งก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ท�ำให้ผมชื่นชอบการถ่ายรูป นอกเหนือจากนัน้ แล้ว สิง่ ที่เกิดขึน้ ตามมาคือ “การแข่งขัน” เป็นปกติของมนุษย์ท่จี ะชอบการแข่งขันและเอาชนะ ในการถ่ายรูปก็มีความท้าทายเหล่านีอ้ ยู ่เช่ นกัน ทริปเจริญกรุ งร�ำลึกไม่ได้มีกลุ่มผมเพียงกลุ่มเดียวแต่ยังมีเพื่อนร่วมทริปอีกหลายคนหลายกลุ่ม แต่ละ กลุ่มก็ต้องมีการถ่ายรูปเก็บเรื่องราวเช่ นเดียวกันกับผม จนท�ำให้ผมรู้สึกว่ามันกลายเป็นการแข่งขันการถ่ายรูปหรือ “Photo Battle” ตามหัวข้อคอลัมน์นนี้ นั ้ เอง การแข่งขันท�ำให้การท่องเที่ยวและการถ่ายรูปมีความสนุกเพิม่ ขึน้ เพราะ เมือ่ เราไปสถานที่เดียวกัน และถ่ายรูปสถานที่ท่เี ดียวกันเราจะท�ำยังไงให้รูปที่เราถ่ายมามีความแตกต่าง ดังนัน้ เราต้อง คิดต่างและมองต่างจากเพื่อนๆที่ร่วมทริป บางมุ มที่เพื่อนๆมุ งถ่ายกันผมก็อาจจะถอยออกมาและถ่ายในมุ มอื่นๆดู บ้าง บางมุ มที่หลายคนเดินผ่านไปก็หยุ ดและลองมองขึน้ ไปก็ท�ำให้ได้มุมต่างจากคนอื่นๆได้เช่ นกัน โอกาสและจังหวะ ที่ดีก็ท�ำให้เราได้เปรียบหรือได้รูปที่ต่างได้จากเพื่อนๆที่พลาดจังหวะนัน้ ไป
HISTORY ประวัติศาสตร์
เรื่อง > สุชาติ ซาสุดสี
ตามรอย เจริญกรุ ง เป็น 1 ในกรุ งเทพมหานคร สวัสดีครับท่านผู ้อ่าน วันนีผ้ มจะพามาศึ กษาและค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสถานที่แห่งหนึ่ง ซึ่ งอยู ่ใน กรุ งเทพมหานครฯของเรานีเ้ อง สถานที่แห่งนีก้ ็คือ เขตเจริญกรุ ง ก่อนอื่นผมขออธิบายให้เข้าใจก่อนนะครับว่า ค�ำว่า เจริญกรุ ง นัน้ เป็นชื่อเรียกของถนนเส้นหนึ่ง ซึ่งคนทัว่ ๆไปเรียกกัน ว่า ถนนเจริญกรุ ง และยังเป็นชื่อที่ใช่ เรียกย่านที่อยู ่อาศัยในปั จจุ บันอีกด้วยครับ คนทัว่ ไปก็จะเรียกกันว่า ย่านเจริญกรุ ง “ถนนเจริญกรุ ง” เป็นถนนที่ไม่ธรรมดาเลยน่ะครับ เพราะว่าเป็นถนนที่มีรูปแบบตะวันตก และยังเป็นถนนสายแรกของประเทศไทย อีกด้วย ซึ่งก็ได้มีการแบ่งออกเป็นสองตอนครับ คือ ถนนเจริญกรุ งตอนใน และถนนเจริญกรุ งตอนนอก (ตอนใต้)
11 | เจริญกรุงร�ำลึก | HISTORY
แล้วรู้ไหมครับว่า เจริญกรุ ง หมายความว่าอะไร ? ช่ วงสมั ย แรกๆ (สมั ย โบราณน่ ะ ครั บ ) คนมั ก จะ เรียกถนนเส้นนีว้ ่า “ถนนใหม่” ครับ แต่ฝรัง่ เค้าจะเรียกกัน ว่า “New Road” ส่วนชาวจีนเค้าก็จะเรียกว่า “ ชินพะโล้ ว” ชื่อเริม่ จะเยอะแล้วครับ เอาง่ายๆน่ะครับคือชื่อที่บอกมา ทัง้ หมดนัน้ มันก็มีความหมายเดียวกันครับ นัน้ ก็คือ “ถนน ใหม่” ครับ แต่ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อใหม่ครับ ซึ่งรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว ได้พระราชทานชื่อ ให้ใหม่ ชื่อว่า “ถนนเจริญกรุ ง” ซึ่งก็มีความหมายตามตัว เลยครับ คือ บอกถึงความเจริญรุ ่งเรืองของบ้านเมือง และไม่ให้เรียนชื่ออื่นอีกต่อไปด้วย
แล้วรู้ไหมครับว่า ถนนเจริญกรุ ง สร้างต่อไหนครับ ? ถนนเจริญกรุ ง ถูกสร้างขึน้ ในรัชการที่ 4 เมื่อปี พ.ศ. 2404 - 2407 ครับ ซึ่งในสมัยนัน้ ถือว่าเป็นถนนที่ ยาวที่สุดในเมืองไทยเลยก็ว่าได้ครับ ยาวประมาณ 8,585 เมตร โดยจะเริม่ ตัง้ แต่ คูเมืองชัน้ ในไปจนถึงริมแม่นำ� ้ ทีต่ ำ� บล บางคอแหลมเลยครับ โดยได้มี พระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่ วง บุ นนาค) ได้เป็นผู ้ท่ีท�ำการดูแลการก่อสร้าง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง เป็นนายงาน นายเฮนรี่ อาลาศเตอร์ (ต้นตระกูลเศวตศิลา) เป็นผู ้ส�ำรวจแนวถนน และเขียนแบบ โดยได้ใช้ เทคนิคการก่อสร้างแบบตะวันตก โดยการเอาอิฐปู เรียงตะแคง แล้วให้ตรงกลางนูนครับ จะท�ำให้นำ� ้ ไม่ขังนองที่ตัวถนนนัน้ เอง
13 | เจริญกรุงร�ำลึก | HISTORY
แล้วรู้ไหมครับว่า ถนนเจริญกรุ ง เกิดขึน้ ได้อย่างไร ? จากข่าววงในที่ผมทราบมาน่ะครับ เค้าบอกว่าถนนเส้นนีเ้ กิดจากชาวต่างชาติท่อี ยู ่ในประเทศไทยในขณะนัน้ เข้าได้ท�ำเรื่อง ถวายว่า.... เดิมชาวยุ โรปขี่รถขี่ม้าเที่ยวตากอากาศเป็นกิจวัตรขณะอยู ่ประเทศเดิมของตน ซึ่งเป็นการพักผ่อนและออกก�ำลังกาย ที่ดีต่อสุขภาพอย่างยิง่ ท�ำให้ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย แต่เมื่อเข้ามาพักอาศัยในกรุ งเทพ ปรากฏว่าไม่มีถนนหนทางแบบทันสมัยส�ำหรับขี่รถ ขี่ม้าตากอากาศ จึงเกิดอาการเจ็บไข้ได้ป่วยตามกัน (แต่ผมคิดว่าการเดินออกก�ำลังกายก็น่าจะท�ำให้รางกายแข่งแรงมากกว่าการ นัง่ รถป่ าวครับแต่ก็ไม่แน่ 555) แต่ก็ดีแล้วครับที่มีถนนใหม่เกินขึน้ มา ไม่งัน้ ปั จจุ บันนีก้ ็คงไม่พัฒนามาถึงตอนนีค้ รับ เป็นไงบ้างครับตอนนีก้ ็คงรู้แล้วน่ะครับว่า เจริญกรุ ง เป็น 1 ในกรุ งเทพมหานครได้อย่างไร
ย้อนความ
เรื่อง > สุชาติ ซาสุดสี
รางรถ...รถราง รถรางได้เกิดขึน้ จากฝรัง่ หัวใส 2 คน ชื่อ จอห์น และ ลอฟตัส เป็นชาวอังกฤษ ซึ่งมีความคิดเห็นว่าถ้าเปิ ดเดินรถโดยสาร ในถนนสายเจริญกรุ งนี้ ก็จะเป็นธุ รกิจที่ดีไม่ น้อย ซึ่งวิธกี ารฝรัง่ ทัง้ 2 ชาติ เอามาส�ำรวจคือเอาเม็ดมะขามใส่ชามใหญ่วางไว้ตรงกลาง แล้วเอาชามเล็ก 2 ใบ วางไว้ดา้ นข้างละใบ เมือ่ คนเดินไปทางขวา ก็หยิบเม็ดมะขามใส่ลงไป ในชามขวา เมื่อคนเดินไปทางซ้ าย ก็หยิบเม็ดมะขามใส่ลงไปในชามซ้ าย ท�ำการส�ำรวจอยู ่ แบบนีอ้ ยู ่ถึง 3 วัน จึงได้ตัวเลขของคนขึน้ ลงใน “นิวโรด” เขาจึงร่วมกัน ยื่นขอสัปทาน เดินรถรางหรือ “แตรมเวย์” (Tramway) คนไทยเรียกว่า “รถแตรม” ในปี พ.ศ. 2430 โดยยื่นรวม 7 สายทัว่ กรุ ง เพื่อกันคนอื่นตามด้วย รัฐบาลได้ให้สัมปทานเป็นเวลา 50 ปี โดยมีเงื่อนไขว่า จะต้องสร้างสายที่ 1 ให้เสร็จภายในเวลา 5 ปี ส่วนอีก 6 สาย ต้อง สร้างให้เสร็จในเวลา 7 ปี รถรางสายแรกเปิ ดบริการในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2431 โดยใช้ รถเล็ก 4 ล้อ เทียมด้วยม้า 2 คู่ และมีสถานีเปลี่ยนม้าเป็นระยะ ต่อมาคนก็ขนึ้ รถรางน้อยลงเพราะ สงสารม้า และค่ารถรางก็แพงไม่เบา เก็บ 6 อัฐต่อระยะ 3 ไมล์ ชัน้ พิเศษเก็บ 12 อัฐ จึงท�ำให้คนหายเห่อรถแตรมกัน ต่อมาได้มกี ารพัฒนาจากบริษัทของคนเดนมาร์ก ได้ใช้ได้ใช้ไฟฟ้ ามาแทนม้าลาก เมือ่ เปิ ดเดิน เครือ่ งจะมีไอ และแสงพุ ง่ แปลบออกมาที่หน้ารถ ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า “รถ ไอ” สมัยรัชการที่ 5 ถนนที่เรียงด้วยอิฐแดง หน้าแล้ง มีฝุ่นคลุ้งกระจาย รัฐบาลจึง มีเงื่อนไขในสัญญาสัมปทาน ให้บริษัท รถรางบรรทุกน�ำ้ ไปฉีดถนนให้ด้วย ต่อมาได้เกิด เพลิงไหม้กรุ งเทพฯ บ่อยครัง้ ในการไหม้แต่ละครัง้ ผู ้เดินรถราง จึงได้ตงั ้ หน่วยดับเพลิง ขึน้ โดยดัดแปลงรถบรรทุกน�ำ้ ราดถนนเป็นรถดับเพลิงไปด้วย เพือ่ ช่ วยทางราชการผจญ ไฟไหม้ในเส้นทางที่รถรางผ่าน ต่อมาเมือ่ กรุ งเทพฯ เจริญขึน้ มีรถยนต์วงิ่ กันขวักไขว่ รถราง ก็กลายเป็นเครือ่ ง กีดขวางการจราจร ถูกยุ บลงทีละสายสองสาย จนเลิกเด็ดขาดเมื่อวันพุ ธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2511 รถรางไฟฟ้ าจึงสูญพันธุ ไ์ ปจากเมืองไทย ส่วนตัวรถปั จจุ บัน ได้นำ� มาใช้ในการ ท่องเที่ยว โดยติดเครื่องยนต์ราก เช่ น ในกรุ งเทพฯ ก่อนจะเกิดใหม่มาเป็นเป็นรถไฟฟ้ า ลอยฟ้ าในปั จจุ บัน
15 | เจริญกรุงร�ำลึก | ย้อนความ
ย้อนความ | เจริญกรุ งร�ำลึก |
16
CULTURE เรื่อง > ชัชวาลย์ มู ลถา
เจริญกรุ ง...ย่านที่แปดเปื้ อนด้วยวัฒธรรม
ย่านเจริญกรุ งที่เราได้ไปสัมผัส มานั ้น มี ค วามหลากหลายของ ทางวัฒนธรรมปะปนกันอยู ่ แต่ละ วัฒนธรรมก็มีความน่าสนใจในตัว เองอยู ่ เปรียบเสมือนกับไอศครีม ก้อนที่มีหลากหลายรสชาติ แต่ละ รสมีความอร่อยแตกต่างกัน ซึ่ ง อยู ่ ใ นถ้ ว ยเดี ย วกั น รอให้ เ รารั บ ประทาน.... หึมมมมๆๆ มาที่เรื่องของเรากันดีกว่า จะว่าไปเจริญกรุ งเนี้ยเป็ นย่านที่ มี ชาวต่างชาติเข้ามาอยู ่กันเยอะโดย แต่ละชนชาติก็จะน�ำวัฒนธรรมติด มาเผยแพร่
17 | เจริญกรุงร�ำลึก | CULTURE
จนท�ำให้ย่านเจริญกรุ งนัน้ มีหลาย เชือ้ ชาติหลายวัฒนธรรมปะปนกัน ไปก็อย่างที่เห็นได้ง่ายๆ สองข้าง ทางถนนเจริญกรุ ง (บริเวณห้าง สรรพสินค้าโรบินสัน) จะเต็มไปด้วยร้านค้าของชาวจีน ที่มีทัง้ นข้าวปลา อาหาร สิ่งของ เครื่ อ งใช้ จ นท� ำ ให้ ช าวไทยแถวนัน้ ชอบอาหารจี น ใช้ ข องจี น ไปแบบ ไม่รู้ตัว
ชาวตะวันตกก็มีอิทธิพลในการเผยแพร่วัฒนธรรมเยอะเลยทีเดียว สังเกต ได้จากตึกรามบ้านช่ องที่มีหน้าต่างโค้งครึ่งวงกลม ตึกท�ำด้วยหินอ่อน กระจก เป็นสีๆ ตึกไปรษณีย์กลางก็ใช่ นะ นัน้ ก็เพราะว่าชาวตะวันตกได้เข้ามามีบทบาท พัฒนาประเทศไทยและได้น�ำพาความทันสมัยเหล่านีเ้ ข้ามาด้วย นอกจากนัน้ ยังมี เทคโนโลยี ทัง้ รถ เรือ อู ่ต่อเรือ หรือรวมไปถึงเครื่องปรับอากาศที่ใช้ อยู ่ทุกวัน
CULTURE | เจริญกรุ งร�ำลึก |
18
แต่ท่ขี าดไม่ได้ในเจริญกรุ งคือวัฒนธรรมของไทยเราเอง ไม่ว่าจะมีชาวต่างชาติมากแค่ไหนก็ยังมีวัฒนธรรมความเป็น ไทยอยู ่ เราจะเห็นทุกๆเช้ าที่มีการใส่บาตร รอยยิม้ ของผู ้คน การไหว้ การเอือ้ เฟื้ อเพื่อแผ่ สิง่ เหล่านีค้ ือวัฒนธรรมไทยที่ อยู ่คู่กับคนไทยมานาน และสิง่ เหล่านีย้ ังท�ำให้คนหลายเชือ้ ชาติ หลายวัฒนธรรมอยู ่ร่วมกันได้
P E O P L E
เรื่อง > ภานุวัฒน์ สังเกตกิจ
หนึ่ง ต่อ หนึ่ง หลายคนยังสงสัย ว่าเกีย่ วอะไรกับการท่องเทีย่ วเจริญกรุ งใน ครัง้ นี้ หนึ่ง ต่อ หนึ่ง เป็นวิธีการจ�ำชื่อ วิทยากรทัง้ สองของเราให้ในทริปนี้ นัน้ คือ พี่ต่อ ระพีพัฒน์ เกษโกศล และ พี่หนึ่ง ณพัดยศ เอมะสิทธิ์ ผู ้ท่พ ี าเราเที่ยวและ บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้เราได้รับรู้
หนึ่ง ต่อ หนึ่ง การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมสั ม ผั ส วิ ถี ท้ อ งถิ่ น เริ่ ม เป็ น ที่ นิยมมากขึ้นในสังคมไทย นอกเหนือจากการพักผ่อนหย่อนใจยัง สามารถใช้ เป็นเครื่องมือให้การพัฒนาชุ มชนและท้องถิ่นได้อีกด้วย พี่ ต่ อ และพี่ ห นึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของคณะท� ำ งานของส� ำ นั ก วัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ที่เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของ สิง่ ที่น่าสนใจในชุ มชน ไม่ว่าจะเป็นสถานที่หรือเรื่องราวความเป็นมา ซึ่งสิง่ เหล่านีเ้ องจะกลายเป็นจุ ดแข็งที่ใช้ ในการพัฒนาชุ มชนต่อไป พี่ ต่อเป็นหัวแรงหลักส�ำคัญในการก่อตัง้ เครือข่ายการท่องเที่ยวภาค ประชาสังคม ซึ่งเป็นการรวมตัวกันขององค์กรชุ มชนกว่า 40 กลุ่ม เพื่อผลักดันงานพัฒนาการท่องเที่ยวชุ มชน โดยพี่ต่อและพี่หนึ่งมี การจัดทริปและเป็นวิทยากรพาเทีย่ วตามชุ มชนต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ
พี่หนึ่ง
PEOPLE | เจริญกรุ งร�ำลึก |
22
ในสายตาของพี่ต่อ ระพีพัฒน์ เสน่ห์ของการท่องเที่ยวชุ มชนคือการได้สัมผัสวิถีชิวิตที่เป็นของจริงของแท้ แต่ถ้ามองในมุ มของนักพัฒนาแล้ว เขาชีว้ ่าสิง่ นีค้ ือการท�ำเมืองให้น่าอยู ่
ที่มา: http://www.greenworld.or.th/greenworld/interview/2282
การเดินท่องกรุ งในครัง้ นี้ ท�ำให้ผมได้พบเจอวิถชี ีวติ หนึ่งทีไ่ ม่เคยเห็นมาก่อน นัน้ คือวิถชี ีวติ ของพีน่ อ้ งชาวมุ สลิมในชุ มชนมัสยิด ฮารูณ วันที่เราไปเที่ยวกันตรงกับศุกร์พอดี วันศุกร์ถอื ว่าเป็นวันประมุ ขของชาวมุ สลิม ซึ่งจะมีการละหมาดใหญ่ บริเวณรอบ มัสยิดจะมีผู้คนจับจองที่นงั่ รอ ผู ้ใจบุ ญที่เสร็จจากการละหมาดให้ทาน ภาพเหล่านีท้ �ำให้รู้ว่าท่ามกลางเมืองหลวงที่วุ่นวายก็ ยังมีวิถีชีวิตเช่ นนีซ้ ่ อนอยู ่ ถ้าเราไม่เดินของมา เราก็คงไม่มีวันได้สัมผัสสิง่ ต่างๆเหล่านีเ้ ลย
PEOPLE | เจริญกรุ งร�ำลึก |
24
รศ.วราพร สุรวดี
ผู ้ก่อตัง้ พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
ในย่านเจริญกรุงยังมีบ้านโบราณสไตล์ชาวบางกอก ที่ยังคงอยู่ผ่านกาลเวลาของความความเจริญและไม่ถูก ขายให้กับนายทุนนายหน้าอยู่หลังหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันกลายเป็น “พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก” ที่คอยบอกเล่าเรื่องราวความ เป็นบางกอกในอดีต ผ่านบรรยากาศในรั้วบ้าน ข้าวของเครื่องใช้ และตัวเจ้าของบ้าน อาจารย์วราพร หรือ รศ.วราพร สุรวดี อาจารย์วราพรนีเ่ องคือผูอ้ ยูเ่ บือ่ งหลังของบ้านหนังนี้ ท่านไม่อยากเก็บบ้านหลังนีไ้ ว้โดยไม่กอ่ ให้เกิดประโยชน์ จึง ตั้งใจทำ�บ้านหลังนี้ให้เป็นพิพิธภัณฑ์สำ�หรับให้ความรู้กับชนรุ่นหลัง อาจารย์กล่าวว่า เกิดเป็นคนนี้ยากที่จะทำ�ให้เกิดความสุขกับคนอื่นได้ อาจารย์คิดว่าอาจารย์โชคดี เพราะฉะนั้น การทำ�พิพิธภัณฑ์นี่ก็ถือว่า อาจารย์มีโอกาส และได้ทำ�สิ่งที่อาจารย์พอใจ และคนที่มาชมก็พอใจ เมื่อเรามี เราก็ต้องรู้จัก พอ และก็ต้องรู้จักให้ อย่างการทำ�พิพิธภัณฑ์ก็มีจุดประสงค์เพื่อให้เรารู้จักตัวเอง เพราะการที่เราจะรักษาบ้านเมืองของ เราไว้ได้ เราต้องรู้จัก บ้านเมืองของเราเสียก่อน เพื่อเป็นพื่นฐาน เพื่อให้รู้ว่าเรามีอะไรดี มีอะไรต้องรักษา ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เองได้แอบแฝงไว้ในการชมพิพธิ ภัณฑ์ “ต้องรูว้ า่ เราคือใคร ต้องการอะไรในชีวติ นี”้ พิพธิ ภัณฑ์ไม่ใช่สมบัตขิ องใคร แต่ เป็นของพวกเราทุกคน และเราทุกคนต้องรักษาไว้ แม้แต่เรื่องง่ายๆอย่างการรักษาความสะอาด ถ้าทุกคนทำ�เรื่องเล็กๆ ส่วนตัวแค่นี้ไม่ได้ จะไปทำ�เรื่องที่ใหญ่กว่านี้ให้สำ�เร็จได้อย่างไร การทำ�พิพิธภัณฑ์นี้ก็เป็นสิ่งที่ตัวอาจารย์เองพอจะทำ�ได้ และเป็นสิ่งที่อาจารย์อยากให้มันเกิดขึ้น ทัง้ หมดนีเ้ ป็นแนวคิด และสิง่ ดีๆทีอ่ าจารย์ฝากไว้กบั พวกเราและคนรุน่ ต่อไป รศ.วราพร สุรวดี จึงเป็นอีกคนหนึง่ ที่ไม่ใช่เป็นเพียงบุคคลสำ�คัญที่สร้างประโยชน์ให้กับย่านเจริญกรุง แต่เป็นบุคคลเสียสละที่มีแนวคิดเล็กๆ ที่จะสามารถ สร้างประโยชน์ต่อคนรุ่นหลัง และต่อประเทศชาติ ในอนาคตข้างหน้า พวกเราจึงขอขอบพระคุณ รศ.วราพร สุรวดี ไว้ ใน ณ ที่นี้
25 | เจริญกรุงร�ำลึก | PEOPLE
“พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก บอกความเป็นมา ประเทืองปัญญา ชมพฤกษา น่าเพลินใจ”
PEOPLE | เจริญกรุ งร�ำลึก |
26
Missionary เรื่อง > ชาญวุ ฒิ สันเพชรเวสสกุล
มิชชันนารี
สวัสดีครับท่านผู อ้ า่ นทุกท่าน วันนีผ้ มจะมาน�ำเสนอประวัตขิ องคณะมิชชันนารีโปรเตสแตนต์ ทีเ่ ข้ามายัง ประเทศไทยในยุ คแรกๆถึงปั จจุ บัน ว่าคณะเหล่านีไ้ ด้เคยท�ำอะไรเอาไว้ในอดีต และมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร จนถึงมาปั จจุ บัน เริม่ สนใจแล้วหรือยังครับ ถ้าสนใจเชิญอ่านกันได้เลยครับผม ในช่ วงยุ คบุ กเบิกของ คณะ มิชชันนารีโปรเตสแตนต์ นัน้ เริม่ เข้ามาในช่ วง ค.ศ 1828 (ช่ วงรัชกาลที่ 3) และหลังจาก นัน้ ก็มคี ณะมิชชันนารี ต่างๆเข้ามาอีกมากมาย โดยจุ ดประสงค์ ของการเข้ามาของคนกลุ่มนีค้ ือในช่ วงแรกๆ คือการเผยแพร่ คริสต์ศาสนาภายในประเทศไทย แต่การเข้ามาในช่ วงแรกของ คณะมิชชันนารี เหล่านีท้ �ำได้ยากล�ำบากด้วยเหตุของโรคในเขต ร้อนท�ำให้ คณะมิชชันนารีโปรเตสแตนต์ บางกลุ่มจ�ำเป็นที่จะ ต้องยกเลิก การประกาศศาสนาในประเทศไทย ในช่ วงต่อมาได้มีการเข้ามาของกลุ่มมิชชันนารีคณะ อเมริกนั เพรสไบเรียน(เป็นรากฐานของการก่อตัง้ สภาคริสตจักร แห่งประเทศไทย) โดยคณะนีม้ แี นวคิดในการผลักดันในการสร้าง คริสจักรที่เป็นคนในชาติ โดยคณะอเมริกันเพรสไบเรียน
27 | เจริญกรุงร�ำลึก | MISSIONARY
นีม้ ีอิทธพลในการเปลี่ยนแปลงของประเทศมากมาย ในที่นผ ี้ มจะยกตัวอย่างใน แต่ละด้านอย่างเช่ น เรื่องแรก คือการเข้ามาของหมอแมตตูน และหมอเฮาส์ โดยคนในสมัยก่อนจะเรียกหมอทัง้ สองว่า “หมอมะตูม” และ “หมอเหา”
จำ�แนก 5 พันธกิจ
- พันธกิจการเผยแพร่และพัฒนาคริสตจักร มีหน้าที่หลักในการสนับสนุนส่งเสริมให้คริสตจักรภาค คริสตจักรท้องถิน่ หมวดคริสเตียน ศาลาธรรม และสถาบัน - พันธกิจการอภิบาลชีวิตคริสเตียน มีหน้าที่หลักในการให้การบ�ำบัดรักษาพยาบาล ทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณแก่บุคคลทัว่ ไป - พันธกิจการคลังและทรัพย์สิน มีหน้าที่หลักเกี่ยวกับการบริหารงานด้าน การเงิน การคลัง การบัญชี งบประมาณและทรัพย์สินทัง้ ปวงของสภาฯและมู ลนิธิฯ - พันธกิจการศึกษา มีหน้าที่หลักในการพัฒนาเยาวชนคริสเตียน และบุ คคลทัว่ ไปให้ได้รับการศึ กษาในระบบ นอก ระบบ และการศึ กษาตามอัธยาศัย - พันธกิจการแพทย์ มีหน้าที่หลักในการให้การบ�ำบัดรักษาพยาบาล ทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ แก่บุคคลทัว่ ไป
แต่นอกจากการเป็นหมอรักษาคนและ ยังเป็นคนสอนศาสนา – สอนภาษาอังกฤษ ภายในพระราชวัง ร่วมไปถึงแปล คัมภีร์ใหม่ (New Testament)ให้เป็นภาษาไทย เรื่องที่สอง การสร้างโรงเรียนโดยคณะอเมริกันเพรสไบเรียน ซึ่งอันได้แก่ โรงเรียนกรุ งเทพคริสเตียนวิทยาลัย,โรงเรียน อัสสัมชัญ และอีกมากมายกว่า 26 แห่ง ซึ่งโรงเรียนเหล่านี้ ยังมีมาอยู ่ถึงปั จจุ บันและยังมีชื่อเสียงมากอีกด้วย และอื่นๆอีกมากมายอย่างเช่ นโรง พยาบาลเป็นต้น ซึ่งสิง่ ต่างๆเหล่านีท้ ท่ี างคณะอเมริกนั เพรสไบเรียน หรือแม้กระทัง่ บุ คคลทีร่ ว่ มเดินทางมากับคณะทีไ่ ด้สร้างผลประโยชน์ให้แก่ประเทศไทย โดยในท้ายที่สุดของ คณะอเมริกันเพรสไบเรียน นัน้ ก็ได้สลายตัวออกจากประเทศไทยไปในปี ค.ศ. 1957 เป็นการเสร็จสิน้ การวางรากฐานตามเจตจ�ำ นงสร้างคริสจักรที่เป็นคนในชาติ ในท้ายที่สุดแล้ว การเข้ามาของ คณะอเมริกันเพรสไบเรียน นัน้ ได้น�ำความเจริญมาสู่ประเทศไทยไม่น้อยและยังคงอยู ่จนถึงทุกวันนี้ (กลาย มาเป็น สภาคริสตจักรแห่งประเทศไทย) โดยได้ฝากเจตจ�ำนงทัง้ 5 ไว้ให้คนรุ ่นหลังได้พัฒนาสืบต่อไป โดยผู ้เขียนคิดว่า การที่คนเราถึงแม้ว่าจะต่าง ชนชาติตางศาสนา แต่ถา้ มีใจรักและมีความเชื่อมีใจทีเ่ ผือ่ แพร่แล้วละก็ ถึงแม้ยากล�ำบากเพียงใดก็ตอ้ งส�ำเร็จในทีส่ ดุ เหมือนคณะอเมริกนั เพรสไบเรียน วางรากฐานการเผยแพร่ศาสนา การศึกษา และการแพทย์ มายาวนานกว่า 180 ปี นับเป็นองค์กรคริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์ที่มกี จิ กรรมด้าน ต่างๆ ที่สร้างประโยชน์แก่สงั คมไทยมาโดยตลอด ทัง้ นีถ้ อื เป็นพันธกิจที่ตอ้ งปฏิบตั เิ พือ่ น�ำสังคมไทยไปสูค่ วามเจริญและเป็นสังคมแห่งศีลธรรมจรรยา
MISSIONARY | เจริญกรุ งร�ำลึก |
28
Insight เรื่อง > ชาญวุ ฒิ สันเพชรเวสสกุล
เรือ และ เจริญกรุ ง สวัสดีครับท่านผู ้อ่านทุกท่าน วันนี้ ผมจะมาน�ำเสนอเรื่องราวของการคมมาคม ทางน�ำ้ และความเจริญในยุ คสมัยก่อนในเขต “บางรัก” ว่าในสมัยก่อนเขตบางรักเป็นอย่างไร และส่งผลมาถึงปั จจุ บันอย่างไร เริม่ สนใจแล้ว หรือยังครับ ถ้าสนใจเชิญอ่านกันได้เลยครับ
29 | เจริญกรุงร�ำลึก | INSIGHT
อินไซท์
Insight อินไซท์ การคมนาคมทางน�ำ้ ในยุ คแรกของ เจริญกรุ งจะใช้ เพื่อติดต่อ ค้าขายหรือการขนส่งทางเรือไปตามริมแม่นำ�้ เจ้าพระยาและการใช้ชีวติ กัน ในเจริญกรุ ง ก่อนภายหลังการพัฒนาได้กลายมาเป็นถนนแทน กิจกรรม หรือร้านค้าส่วนใหญ่จะถูกตัง้ ติดอยู ่กับริมแม่น�ำ้ เพราะด้วยที่ส่วนใหญ่ ตัง้ แต่ปากคลองผดุงกรุ งลงไปถึงแม่น�ำ้ เจ้าพระยา ได้รบั พระราชทานจาก รัชกาลที่ 4 เพือ่ ท�ำการเปิ ดเสรี(สนธิสญ ั ญา เบาริง่ ) ทางการค้าขายให้แก่ ประชาชนทัว่ ไป ได้ทำ� การค้ากับต่างโดยตรงไม่จำ� เป็นต้องผ่านหลวง ท�ำให้ ผู ้คนได้รับที่เข้ามาท�ำมาหากิน ในอดีตรถรางเข้ามามีบทบาทในเจริญกรุ งมากขึน้ เมื่อมีการใช้้ ถนนแทนการจราจรทางน�ำ้
ซึ่ ง นั่น ร่ ว มไปถึ ง ชาวต่ า งชาติ ท่ี เ ข้ า มาท� ำ การค้ า กั บ ประเทศไทยของเราด้วย อย่างเช่ นสถานกงสุลชาวต่างชาติ ประกอบไปด้วย โปรตุเกส เยอรมัน อังกฤษ อเมริกา ฝรัง่ เศส และ ออสเตรเลีย จนท�ำให้การค้าขายเริม่ มีการขายตัวมากขึน้ ท�ำให้เริม่ มีการตัดถนนครัง้ แรกในประเทศไทยคือถนนเจริญกรุ ง (ความคิดของชาวต่างชาติท่ีเสนอต่อหลวง) จนท�ำให้แม่น�ำ้ บริเวณนีต้ ้องถูกขยายตัวอย่างรวดเร็วเพื่อรับกับการท�ำการ ค้าขายที่เพิ่มมากขึ้น (เป็นที่มาของคลองสาทรเพื่อท�ำการ เชื่อมต่อทางการค้าเพือ่ ให้สามารถติดต่อซือ้ ขายได้งา่ ยขึน้ ) ซึ่ง เมื่อมีการขยายที่ดินของคลองก็ท�ำให้เกิดจัดสรรที่ดินครัง้ แรก ของสยามเกิดขึ้นบริเวณคลองสาทรนี้ เมื่อเวลาผ่านไปจาก การเข้ามาของต่างชาติท่ีเพิ่มขึน้ ท�ำให้เกิดบริษัทห้างร้านและ อุ ตสาหกรรมใหม่ในเมืองหลายประเภท เช่ น อู ่ต่อเรือ โรงสีข้าว โรงแรม ฯลฯ อันเนื่องมาจากชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนท�ำการ ค้าขายในไทย ซึ่ งเป็นที่มาของ การเข้ามาของชาติตะวันตกที่ มากขึน้
การเดินทางในยุ คแรกภายในเจริญกรุ งจะเป็นการเดินทางทาง น�ำ้ เพราะว่า การเดินทางเท้ามีความล�ำบากเพราะเป็นป่ าจึง ท�ำให้การเดินทางทางน�ำ้ สะดวกกว่า INSIGHT | เจริญกรุ งร�ำลึก |
30
Don’t forget เรื่อง > ณัฐพงษ์ หาญศิริวัฒนกิจ
ที่แต่ละที่ ซอยแต่ละซอยที่มีชื่อเรียกเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ย่อมมีเรื่องราว ความเป็นมาที่ท�ำให้เราระลึกถึงคุณค่าในสิง่ เหล่านัน้ เราพึงควรรักษามันไว้ แต่คน ยุ คสมัยปั จจุ บันมัวหมกมุ ่นก้มหน้าก้มตาเล่นจนหลงลืมความเป็นมา ประวัติศาสตร์ ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับประเทศของเรา ซึ่งท�ำให้คุณค่าของประวัติศาสตร์จางหายไป ในภาพเป็นภาพที่ชาวต่างชาติคนหนึ่งนัง่ อ่านประวัติศาสตร์ของประเทศเรา ด้วย”ความตัง้ ใจ” มันท�ำให้ตัวผมเองกลับมามองย้อนดูตัวเองว่าเป็นคนของ ประเทศนีแ้ ท้ๆ แต่กลับไม่ได้สนใจ กลับเพิกเฉยกับสิง่ เหล่านี้ ที่ผมได้กล่าวมาก็เป็นเรื่องใกล้ตัวของผมเอง ถ้ามีชาวต่างชาติเข้ามาถาม ว่าที่น่มี ที ่มี าอย่างไร หรือ ใครเป็นคนริเริม่ ชักชวนชาวต่างชาติเข้ามาร่วม” ผมก็ตอบ ไม่ได้เหมือนกัน ถ้าในประเทศของเรามีคนอย่างผมจ�ำนวนมาก คุณลองคิดดูซิครับ ว่าใคร กันที่จะเป็นคนเล่าประวัติศาสตร์เหล่านีต้ ่อไปให้กับรุ ่นลูก รุ ่นหลานของคุณกัน หรือจะให้ชาวต่างชาติเป็นคนเล่าให้เราฟังแทน ?
DON’T FORGET | เจริญกรุ งร�ำลึก |
32
MEMBER นายชัชวาลย์ มู ลถา 54261505 . นายชาญวุ ฒิ สันเพชรเวสสกุล 54261506 . นายณัฐพงษ์ หาญศิริวัฒนกิจ 54261508 . นายภานุวัฒน์ สังเกตกิจ 54261520 . นายสุชาติ ซาสุดสี 54261526 . คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมระบบควบคุมและเครื่องมือวัด . . .
“ thank you ”