Thai Histor Book
1
2
3
คำ�นำ� หนั ง สื อ คู่ มื อ เล่ ม นี้ มี เ นื้ อ หา สาระเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ประเทศไทยทีเ่ มหาะสมสำ�หรับ เด็กในวัย 9-10ปี โดยเนื้อหา ของหนังสือเล่มนี้จะบรรยาย เนื้ อ หาออกมาในรู ป แบบที่ เข้าใจง่ายกระฉับและมีความ น่าสนใจ
4
โดยจะเน้นไปที่ภาพประกอบ แนวการ์ ตู น ที่ ทำ � ให้ เ ด็ ก เกิ ด ความคิ ด และจิ น ตนาการ กว้ า งไกล โดยผู้ จั ด ทำ � คาด หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ตัวเด็กเป็นอย่างยิ่ง
5
สต
ิศา
ัย ุโขท
ุงส
9 ากร /2 าปน 28 รสถ กา
ะวัต
ร์
3 งปร ย /2 นทา ร์ไท 22หลักฐา สต ิศา ต ั ร์ 1 ประว สต ร์ /2 ทาง ิศา สต ะวัต 12ยุคสมัย ัิศา ปร ง ทา ระว 1 เวลา งป ทา /1 ช่วง มัย 10การนับ ุคส ะย แล
9 ลา 8/ งเว 1 ช่ว ที่ บท
6
ๆ
ัติศ
พัฒ
นา ย าส ตร ์ไท
ขอ าปน ทท งส าแ ี่ 2 ุโขท ละก ัย าร
28 ก / ต่า ารส 29 ง ถ บ
ระว งป ุคส มัย ทา
/2 1ย 20
กล นิ เก าง ่า
ุคห
15 14 ยุค 13 ยุคห หินให ิน ม่ ย
กา
รด
้าน
แห คำ�
ง
ง ็เคีย ใกล
ักร
าจ 1 ราม น ุ ณ อา /4 ่อข กับ 40 ะวัติพ าย ้าข ปร ่อค 9 ติดต ทัย สุโข /3 การ ทัย ย ั สม สุโข 38 ทาง ๆ มัย เส้น ่าง งส 7 ด้านต หัวเมือ /3 การ อง 34 นา คร พัฒ ปก าร 3 จัดก /3 การ 30รูปแบบ
7
47
าง ิปัญ ญ าท ภูม
าง ัญ ญ าท
าษ นภ ด้า
าษ นภ ด้า
ย าไท
ย าไท
สุโข ทัย ญ ท าไท ท่ี ยใน 3 46 สม ภูม ัย ิป
44 ภูม /4 ิปัญ 5 บ
8
เน
9
10
ช่วงเวลา และ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เป็ น ยุ ค ที่ ม นุ ษ ย์ เ ริ่ ม รู้ จั ก การ ใ ช้ ชี วิ ต ที่ อ ยู้ ร่ ว ม กั น เ ป็ น แบ บสั ง คมที่ ใหญ่ มาก ขึ้ น จนเกิ ด การบั น ทึ ก เรื่อ งราว กลายเป็ น ประวั ติ ศ าสตร์
11
การนับช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ ทศวรรษ
Decade
คือ การนับช่วงเวลาในรอบ 10 ปีเริ่มนับศักราชที่ลงท้ายด้วย 0 ไปจนถึงศักราชที่ลงท้ายด้วย 9 นิยมใช้บอกทางคริสต์ศักราช
ศตวรรษ
ค.ศ. 1950 - ค.ศ. 1959
Century
พ.ศ. 1101 - พ.ศ. 1200
คือ การนับช่วงเวลาในรอบ 100 ปี เริ่มนับจากศักราชที่ลงท้าย ด้วย 1 ไปจนถึงศักราชที่ลงท้ายด้วย 100 นิยมใช้บอกเวลาทาง พุทธศักราช
สหัสวรรษ
Millennium
คือ การนับช่วงเวลาในรอบ 1,000 ปี เริ่มนับจากศักราชที่ ลงท้ายด้วย 1,000
12
ค.ศ. 1950 - ค.ศ. 1959
10 ปี
ทศวรรษ 50 100 ปี
ศตวรรษ 12 1,000 ปี
สหัสวรรษ 3 13
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของไทย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหิน 500,000 - 4,000 ปี ยุคโลหะ 4,000 - 2,500 ปี เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักดัดแปลง วั ส ดุ จ ากธรรมชาติ ม า ใ ช้ ประโยชน์ ใ นการดำ � รงชี วิ ต โ ด ย ยั ง ไ ม่ มี ตั ว ห นั ง สื อ เพื่ อ ที่ จ ะใช้ ในการสื่ อ สาร
ยุคหิน ยุคหินเก่า
ยุคสำ�ริด
ยุคหินกลาง
ยุคเหล็ก
ยุคหินใหม่ 14
ยุคโลหะ
ยุคหินเก่า 500,000 - 10,000 ปีมาแล้ว มนุ ษ ย์ รู้ จั ก การใช้ ไ ฟมาทำ � อาหาร รวมถึงนำ�หนังวัตว์ มาเป็นเครื่องนุ่งห่ม มนุ ษ ย์ รู้ จั ก ทำ � เครื่ อ งใช้ จ าก หินที่มีลักษณะหยาบๆ ส่วน ใหญ่ จ ะทำ � จากหิ น กรวด แม่น้ำ�
มนุ ษ ย์ ดำ � รงชี วิ ต ด้ ว ยการ ล่ า สั ต วต่ า งๆ์ โดยจะไม่ ตั้ ง ถิ่นฐานเป็นที่
15
ยุคหินกลาง 10,000 - 6,000 ปีมาแล้ว มนุ ษ ย์ รู้ จั ก ทำ � เครื่ อ งใช้ จ าก หิ น กะเทาะซึ่ ง มี ค วามปราณี ตในการขึ้ น รู ป ทรงที่ ห ลาก หลายกว่ า การใช้ หิ น กรวด แม่น้ำ� มนุษย์อาศัยอยู่ในถ้ำ� เพื่อปกป้องตัวเอง
มนุ ษ ย์ รู้ จั ก การเพาะปลู ก พืชพันธุ์อย่าง่ายๆ
16
มนุ ษ ย์ เ ริ่ ม อยู่ ร่ ว มกั น เป็ น สังคมที่ใหญ่มากขึ้น
มนุษย์ดำ�รงชีวิตด้วยการล่า สัตว์ต่างๆ
ยุคหินใหม่ 6,000 - 4,000 ปีมาแล้ว มนุ ษ ย์ รู้ จั ก การเลี้ ย งสั ต ว์ เพื่อเป็นอาหาร และ พาหนะ แต่ยังคงดำ�รงชีวิตอยู่ในถ้ำ�
มนุ ษ ย์ รู้ จั ก ทำ � เครื่ อ งมื อ เครื่องใช้ที่มีค วามประณี ต มากขึ้นจากหินขัดเช่นขวาน หินขัด
มนุ ษ ย์ รู้ จั ก การทำ� เครื่ อ งใช้ ดินเผา จากเตาทุงเรียง
มนุษย์รู็จักทำ�การเพาะปลูก เพื่อกักเก็บอาหาร
17
ยุคสำ�ริด 4,000 - 1,500 ปี
ดีบุก ทองแดง
สำ�ริด มนุษย์รู้จักนำ�โลหะต่างๆ คือ ทองแดง และ ดีบุกมาหลอม รวมกั น แล้ ว ทำ � เป็ น เครื่ อ ง มือเครื่องใช้ เรียกว่า สำ�ริด นอกจากนั้นมนุษย์ยังมีการ อยู่ร่วมกันเป็นสังคมมากขึ้น มีการแบ่งความสัมพันธ์กัน ตามความสามรถเช่ น กลุ่ ม ของอาชีพ
18
จ.อุดรธานี จังหวัดนี้ตั้งอยู่ ในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ
บ้านเชียง แหล่ ง โบราณคดี บ้ า นเชี ย ง ได้ จ ดทะเบี ย น เป็ น มรดก โลกเมื่อปีพ.ศ.2535 ในการ ประชุมคณะกรรมการมรดก โลกสมั ย สามั ญ ครั้ ง ที่ 16 ที่ เ มื อ ง แ ซ น ต า เ ฟ ป ร ะ เ ท ศ สหรัฐอเมริกา
19
ยุคเหล็ก 2,500 - 1,500 ปี
แร่เหล็ก
เหล็ก
กรรมวิธีการนำ�แร่เ หล็กมา ใช้ นั้ น จะต้ อ งใช้ ค วามร้ อ น สูงมาหลอมแร่เ หล็ก ซึ่งเป็น กรรมวิ ธี ที่ ยุ่ ง ยากแต่ ก็ มี ความแข็ ง แรง และ ทนทาน กว่าสำ�ริดเช่นกัน
20
มนุษย์รู้จักนำ�โลหะต่างๆ คือ ทองแดง และ ดีบุกมาหลอม รวมกั น แล้ ว ทำ � เป็ น เครื่ อ ง มือเครื่องใช้ เรียกว่า สำ�ริด นอกจากนั้นมนุษย์ยังมีการ อยู่ร่วมกันเป็นสังคมมากขึ้น มีการแบ่งความสัมพันธ์กัน ตามความสามรถเช่น กลุ่ม ของอาชีพ
สังคมที่เป็นชุมชนขนาดเล็ก เริ่ ม รวมตั ว กั ย เป็ น ขนาดที่ ใหญ่ขึ้นเรียกว่า รัฐ
รัฐ
เหล็ก มนุษย์นำ�เหล็กมาใช้ ในการเส ริมสร้างรัฐโดยการนำ�เหล็ก มาผิตอาวุธ จนเกิดเป็นกอง ทัพ เพื่อป้องกันรัฐของตน
21
ก่อนสุโขทัย
สุโขทัย Sukhothai
อยุธยา Ayuthaya
เ ป็ น ยุ ค โ บ ร า ณ ข อ ง ไ ท ย ก่ อ นการก่ อ ตั้ ง กรุ ง สุ โ ขทั ย ใช้ จ ารึ ก ที่ี ป ราสาทเขาน้ อ ย จ.สระแก้วเป็นเกณฑ์
พ.ศ. 1180 - 1792
มี ร ะยะเวลาที่ เ ป็ น ราชธานี ถึ ง 200 ปี ปกครองโดย ราชวงศ์พระร่วง มีกษัตริย์ ทั้งสิ้น 9 พระองค์
พ.ศ. 1792 - 2006 214 ปี
มีระยะเวลาที่เป็นราชธานีถึง 417 ปี มีกษัติย์ทั้งสิ้น 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์
ธนบุรี Thonburi
รัตนโกสินทร์ 22
มี ร ะยะเวลาที่ เ ป็ น ราชธานี เ พี ย ง 15 ปี มี ก ษั ต ริ ย์ เ พี ย ง พ ร ะ อ ง ค์ เ ดี ย ว คื อ พระเจ้าตากสินมหาราช มี ร าชวงศ์ จั ก รี ป กครอง จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี ก ษั ต ริ ย์ ทั้ ง สิ้น 9 พระองค์
พ.ศ. 1893 - 2310 417 ปี พ.ศ. 2310 - 2325 15 ปี พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน
ยุคประวัติศาสตร์ เริ่ ม ต้ น ขึ้ น เมื่ อ มนุ ษ ย์ เ ริ่ ม มี การประดิ ษ ฐ์ ตั ว อั ก ษรเพื่ อ ใ ช้ บั น ทึ ก ข้ อ ค ว า ม ต่ า งๆ และ ใช้ติดต่อในการสื่อสาร
ปั จ จั ย ที่ สำ � คั ญ ข อ ง ก า ร เลื อ กทำ � เลที่ ตั้ ง ราชธานี หากเราดู จ ากประวั ติ ข อง ร า ช ธ า นี ไ ท ย จ ะ ส า ม า ร ถ สังเกตุได้ว่า สิ่งสำ�คัญที่สุด ของการเลื อ กที่ ตั้ ง เมื อ ง นั้นก็คือแม่น้ำ�เพราะแม่น้ำ�ใน สมัยนั้นเปรียบเหมือนได้กับ
เ ส้ น ท า ง ก า ร เ ดิ น ท า ง คมนาคม และ ยั ง เป็ น ชั ย ภู มิ ที่ดีต่อการป้องกันราชธานี ต่ อ ศั ต รู น อกจากนั้ น การ อ อ ก สู่ ท ะ เ ล ไ ด้ ง่ า ย ก็ เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ สำ � คั ญ ต่ อ ก า ร ค้ า ขายกั บ อาณาจั ก รอื่ น ๆ ที่ห่างไกลออกไป
23
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึง หลักฐานที่เกิดจาก การบั น ทึ ก เรื่ อ งราวต่ า งๆ ไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร ได้แก่ ศิลาจารึก,พงศาวดาร, วรรณกรรม,ชีวประวัติ,
ยกตัวอย่างเช่น พงศาวดาร ที่ เ ขี ย นเรื่ อ งราวของพระ มหากษัตริย์
24
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ , ว า ร ส า ร นิตยสาร รวมถึงการบันทึก ไว้ ต ามสิ่ ง ก่ อ สร้ า งโบราณ สถาน,โบราณวั ต ถุ , แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเป็น หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
ยกตั ว อย่ า งเช่ น ศึ ร าจารึ ก ของพ่อขุนรามคำ�แหง
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า ง ขึ้ น ทั้ ง ห ม ด ที่ ไ ม่ เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ไ ด้ แ ก่ สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง , โ บ ร า ณ ส ถ า น โบราณวัตถุ,ศิลปการแสดง คำ�บอกเล่า,นาฏศิลป์,ดนตรี และ จิตรกรรม
ยกตัวอย่างเช่น ซากปราสาทโบราณ
อาวุธสงครามสมัยก่อน ที่ทำ�ด้วยวัตถุที่แข็งแรง เช่นปืนใหญ่
25
26
เน
27
28
การสถาปนา และ พัฒนาการ ด้านต่างๆ ของสุโทัย
เ ป็ น ยุ ค ข อ ง ก า ร เ ริ่ ม ต้ น เ กิ ด สิ่ ง ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย ของราชธานี แ ห่ ง แรกของ ใ น ยุ ค ข อ ง ร า ช ธ า นี นี้ ประวั ติ ศ าสตร์ ค นไทยเป็ น ราชธานี ที่ มี ค วามสำ � คั ญ ท า ง ด้ า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
29
การสถาปนากรุงราชธานีสุโขทัย 30
กษั ต ริ ย์ ข องขอมได้ เ กณฑ์ ไพร่ พ ลคนไทยไปสร้ า งเทว สถานต่างๆจำ�นวนมากทำ�ให้ ผู้คนต่างแอบหลบหนีมาได้
พ่ อ ขุ น บ า ง ก ล า ง ห า ว ไ ด้ รวบรวมผู้ ค นขั บ ไล่ ข อม ออกจากเมื อ งศรี สั ช นลั ย และเมืองขลังพร้อมยกเมือง ศรี สั ช นาลั ย ให้ พ่ อ ขุ น ผา เมืองปกครอง
ข อ ม มี ส ง ค ร า ม ติ ด พั น กั บ อ า ณ า จั ก ร จ า ม ป า (เวียดนามตอนเหนือ)ส่งผล ให้มีกำ�ลังอ่อนแอลง
พ่ อ ขุ น ผาเมื อ งได้ ร วบรวม ผู้ ค นขั บ ไล่ ข อมออกจาก สุโขทัยได้และยกเมืองสุโขทัย ใ ห้ พ่ อ ขุ น บ า ง ก ล า ง ห า ว ปกครอง
อาณษจั ก รไทยเข้ ม แข็ ง ขึ้ น ได้ ร วบรวมคนที่ ห ลบหนี ไ ด้ จำ�นวนมาก โดยมีผู้นำ�สอง คนคือ พ่อขุนบางกลางหาว และ พ่อขุนผาเมือง
31
รูปแบบการจัดการปกครองหัวเมืองสมัยสุโขทัย เมืองลูกหลวง ศรีสัชนาลัย พื้นที่เมืองประเทศราช พื้นที่เมืองพระยามหานคร พื้นที่เมืองลูกหลวง
เมืองลูกหลวง สองแคว กำ�แพงชั้นที่1 กำ�แพงชั้นที่2 กำ�แพงชั้นที่3 32
หมายถึงสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษรได้แก่สิ่ง
เมืองหลวง กรุงสุโขทัย หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า ง ขึ้ น ทั้ ง ห ม ด ที่ ไ ม่ เ ป็ น ล า ย ลักษณ์อักษรได้แก่สิ่ง
33
รูปแบบการจัดการปกครองหัวเมืองสมัยสุโขทัย กำ�แพงชั้นที่ 1 มรระยะห่างจากตัวเมืองหล วงไม่เกิน 50 กิโลเมตร โดยมี เมืองลูกหลวงอยู่ ในบริเวณ ขอบกำ � แพงชั้ น นี้ คื อ เมื อ ง ศรีสัชนาลัย,เมืองสระหลวง,
กำ�แพงชั้นที่ 2
กำ�แพงชั้นที่ 3 เมื อ งพระยามหานครเป็ น หัวเมืองของคนไทยที่ตั้งอยู่ ใบริเวณกำ�แพงชั้นที่ 2 โดย จะแบ่ ง เรี ย งตามำ � ดั บ ความ สำ�คัญคือ เมืองเอก เมืองโท เมืองตรี
34
เมืองนครชุม,เมืองสองแคว โดยมี เ มื อ งศรี สั ช นาลั ย เป็ น เมื อ งเอก เมื อ งลู ก หลวง นั้ น กษั ต ริ ย์ มั ก ส่ ง พระโอรส หรือ ราชวงศ์ไปปกครอง
เมื อ งประเทศราชเป็ น หั ว เ มื อ งของชาวต่ า งชาติ ที่ ย อ ม ส ว า มิ ภั ก ดิ์ ต่ อ ก รุ ง สุ โ ขทั ย โดยจะต้ อ งส่ ง ของ เครื่ อ งบรรณาการณ์ ม า ถวายอยู่เรื่อยๆ
ล้านนา ล้านช้าง
N W
E S
มอญ เมาะตะมะ
ขอม จามปา
อโยธยา มาลายู
35
พัฒนาการด้านการเมือง การปกครอง และ เศรษฐกิจของสุโขทัย ด้านการเมืองการปกครอง
36
ระยะแรก รัชกาลที่ 1-5
ระยะสอง พระมหาธรรมราชาที่ 1-4
เป็ น การปกครองแบบพ่ อ ปกครองลูก กษัตริย์มีความ ใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชน เ มื่ อ เรียกการปกครองแบบนี้ว่า ปิตุลาธิปไตย
มี ก ารเปลี่ ย รู ป แบบไปจาก เดิ ม โดยพระราชฐานะของ กษัตริย์จะเปลี่ยนจากพ่อไป เป็นกษัตริย์ผู็ทรงธรรม โดย เรียกแตกต่างจากเดิมคือ
เ ป ลี่ ย น จ า ก เ รี ย ก พ่ อ ขุ น เป็ น พระมหาธรรมราชา ประชาชนเปลี่ ย นจากฐานะ ลูกเป็นผู้ถูกปกครอง ระบบ นี้ทำ�ให้ความสัมพันธุ์ระหว่าง กษั ต ริ ย์ และ ประชาชนมี ความห่างเหินกันมากขึ้น
พ่อขุน
ส มั ย พ่ อ ขุ น ร า ม คำ � แ ห ง จะนำ � กระดิ่ ง แขวนไว้ ห น้ า พระราชวังเพื่อให้ประชาชน มาร้องทุกข์แล้วจึงจำ�ทำ�การ พิจารณาความให้ประชาชน
ธรรมราชา
การปกครองแบบนี้ เ ริ่ ม ตั้ ง แต่ พ ระมหาธรรมราชาที่ 1 โดยใช้หลักของศาสนาเข้ามา คือ เปรียบกษัตริย์ดั่งเทพ
37
ด้านเศรษฐกิจ รูปแบบการค้าขาย เป็นการค้าแบบเสรี โดยรัฐไม่ มีการเก็บจังกอบ(ภาษี) โดย การค้ า มี ค วามเจริ ญ สู ง สุ ด ในสมัยพ่อขุนรามคำ�แหง
38
ด้านการเงิน และ ส่งออกสินค้า มี เ ส้ น ทางค้ า ขายที่ สำ � คั ญ อยู่สองทางคือ ทางบก และ ทางน้ำ� โดยทางบกจะใช้ถนน สายพระร่วง
ทางแม่ น้ำ � จะใช้ แ ม่ น้ำ � ปิ ง ,ยม และ น่ า น ส่ ว นทางทะเลจะมี เมื อ งเมาะตะมะเป็ น เมื อ งท่ า ที่ สำ � คั ญ ทางฝั่ ง ตะวั น ตก ส่วนฝั่งตะวันออกจะติดต่อ ค้ า ขายกั บ จี น เป็ น หลั ก โดย ผ่านแม่น้ำ�เจ้าพระยาออกสู่ อ่าวไทย
สุโขทัย สุโขทัย
สุโขทัย
ถนนสายพระร่วง
แม่น้ำ�ปิง
เหนือ
ใต้
สุโขทัย แม่น้ำ�ยม/น่าน
แม่น้ำ�เจ้าพระยา ล้านนา
อโยธยา/อ่าวไทย 39
เส้นทางการติดต่อค้าขายกับอาณาจักรใกล้เคียง เมืองเมาะตะมะ - ตะนาวศรี ถือเป็นเมืองท่าที่ส�ำ คัญที่สุด ในด้านตะวันตก มีทางออก สู่ทะเลเพื่อทำ�การค้าขายกับ ชาติฝั่งตะวันตก รวมทั้งศรี ลังกา และ อินเดีย
สุโขทัย
ขอม 3. 2. 40
จีน เป็ น อาณาจั ก รที่ มี ก ารทำ � ค้ า ขาย และ มี อิ ท ธิ พ ลมาก กับอาณาจักรสุโขทัย
อ ขนสิ น ค้ า จำ � พวกเครื่ อ งชาม 1. เรืเบญจรงค์ แ ละนำ � เงิ น ที่ เ ป็ น ต้ น แบบ
1.
เงินพดด้วงมาค้าขายในอาณาจักร สุโขทัย
ค้าเดินทางเข้าอาณาจักร 2. เรืสุโอขทัขนสิยผ่นานทางอ่ าวไทแลต่อด้วยแม้ น้ำ�เจ้าพระยา
ก ารนำ � ศานาพุ ท ธลั ท ธิ ลั ง กาวงศ์ 3. มีมาจากประเทศศรี ลังกา
41
42
พ่อขุนรามคำ�แหง
43
เมื่ อ มี พ ระชนพรรษาได้ 1 9 พรรษา ได้ รั บ ชั ย ชนะจาก การทำ�ยุทธหัตถีกับขุนสาม ชนเจ้าเมืองฉอด มีการนำ�เครื่องเบญจรงค์ของ จีนมาดัดแปลงเป็น เครื่องชาม สั ง โลกเป็ น สิ น ค้ า ส่ ง ออกที่ สำ�คัญ
ได้ มีก ารผลิ ต อั ก ษรในปี พ.ศ. 1826 และ ออกกฎหมายเรื่อง มรดก,ที่ดิน,พิจารณาคดี และ บทฎีกา
มี ก ารสร้ า งทำ � นบพระร่ ว ง หรือ สรีดภงส์ ซึ่งเป็นเขื่อนดิน ที่ใช้กักน้ำ�มาใช้ ในการเกษตร
มีการปรับระเบียบหัวเมืองและ ทำ�การผูกมิตรกับอาณาจักร ใกล้เคียงเช่นล้านนา
มี ก ารติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ ค้ า ขาย กับประเทศจีนโดยมีการนำ�รูป แบบเงิ น ของจี น มาใช้ เ รี ย กว่ า พดด้วง
ได้ อั น เชิ ญ พระพุ ท ธศาสนา นิ ก ายหิ น ยานลั ท ธิ ลั ง กาวงศ์ มาจากนครศรีธรรมราช
44
เน
45
46
ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย
ภู มิ ปั ญ ญาไทยในสมั ย สุ โ ขทั ย เป็นสิ่งที่ชาวสุโขทัยได้ประดิษฐ์ คิ ด ค้ น ขึ้ น มาเพื่ อ นำ � มาใช้ ใน การดำ �เนินชีวิตประจำ �วัน และ เป็ น มรดกทางวั ฒ นธรรม ที่ สื บ ทอดมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น
47
ภูมิปัญญาทางด้านภาษาไทย
48
ระยะแรก
ระยะสอง
โดยในระยะแรกของการใช้ ภาษาไทยนั้ น การเขี ย นทั้ ง สระ และ พยั ญ ชนะจะไม่ อ ยู่ ในบรรทั ด เดี ย วกั น และ รู ป วรรณยุ ก ต์ มี ส องรู ป คื อ ไม้เอก และ ไม้โท ยังไม่มีการ ใช้ไม้หันอากาศ
ครั้ น มาถึ ง ในในรั ช สมั ย ของ พระมหาธรรมราชาที่1(ลิไท) จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงโดย การเขียนสระ และ พยัญชนะ จะไม่ อ ยู่ ใ นบรรทั ด เดี ย วกั น โดยได้ เ ริ่ ม ใช้ ไ ม้ หั น อากาศ แทนตัวสะกด
ภูมิปัญญาทางด้านศิลปกรรม เครื่องสังคโลก
เกษตรกรรม
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม
เครื่ อ งชามสั ง คโลกได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากจี น โดยนำ � มาดัด แปลงแล้วพัฒนาเป็น เอกลักษณ์เฉพาะแบบคนไทย โดยเผาจากเตาทุ เ รี ย งถื อ เป็นสินค้าส่งออกที่สำ�คัญ
การทำ�เกษตรกรรมถือเป็น อาชี พ ที่ สำ � คั ญ เนื่ อ งจาก สภาพพื้ น ที่ ๆ เหมาะสมคื อ ตั้ ง อยู่ ที่ ร าบอุ ด มสมบู ร ณ์ ของแม่ น้ำ � ปิ ง ,ยมและน่ า น โดยมี ภู มิ ปั ญ ญาทางด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ สำ � คั ญ คื อ ทำ�นบพระร่วง สร้างขึ้นเพื่อ กักเก็บน้ำ�ไว้ทำ�การเพาะปลูก
เอกลั ก ษณ์ ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ของ สถาปั ต ยกรรมสมั ย สุ โ ขทั ย คื อ เจดี ย์ ท รงพุ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ นอกจากนั้ น ยั ง มี เ จดี ย์ ท รง ลังกา หรือ แบบโอคว่ำ�
แบ่ ง ออกเป็ น 4 ยุ ค โดยยุ ค แ ร ก นิ ย ม ส ร้ า ง พ ร ะ พุ ท ธ รู ป แ บ บ ต ร ะ ก ว น ต่ อ ม า ได้ พั ฒ นามาเป็ น สกุ ล ช่ า ง สุโขทัยโดยนิยมปั้นปางมาร วิ ชั ย และ ปางลี ล า และ ยุ ค กลางที่มีความปราณีตมาก ขึ้ น และประติ ม ากรรมยุ ค สุ ด ท้ า ยของสุ โ ขทั ย นิ ย ม สร้างพระพุทธรูปยืน
49
50
51
52