การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Page 1







การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์ฉบับนี ้ ส�ำเร็จลุล่วงได้มาจากความช่วยเหลือ การสนับสนุนของทัง้ หน่วยงานและบุคคลหลายท่าน ซึง่ จะไม่มีทางประสบความส�ำเร็จได้ หากปราศจากบุคคล เหล่านี ้ ได้แก่ สถาบันอาศรมศิลป์ ที่ได้มอบโอกาสให้ผมได้ทนุ การศึกษาในการเล่าเรียนจนจบ ท�ำให้ขา้ พเจ้าได้พบกัลยาณมิตร พบครูอาจารย์ท่ีอบรมสั่งสอนให้เกิดสัมมาทิฏฐิ และเห็น คุณค่าของส่วนรวม ครอบครัวเมนะเนตร อันเป็ นที่รกั ทัง้ คุณพ่อธนชาติ เมนะเนตรและคุณแม่สพุ ทิ กั ษ์ เมนะเนตรที่เป็ นผูใ้ ห้กำ� เนิด คุณลุงเกษม สืบสิงห์ คุณป้ารัตนา สืบสิงห์ ที่ตรวจทานงานเขียน ให้ขา้ พเจ้า และน้องสาว ศุภกานต์ เมนะเนตร ที่คอยให้กำ� ลังใจ เป็ นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ ข้าพเจ้ามาโดยตลอด อาจารย์ธีรพล นิยม รองอธิการบดีฯ ที่เมตตาตรวจวิทยานิพนธ์แม้จะมีภาระหน้าที่ เป็ นอันมาก และหากอาจารย์ไม่ยำ้� เตือนให้ไปส�ำรวจข้อคิดเห็นของการออกแบบผังแม่บท และวิหารวัดด้ามพร้าอีกครัง้ จากชุมชน ก็จะขาดการเรียนรูใ้ นส่วนนีซ้ ง่ึ ส�ำคัญอย่างยิ่ง อาจารย์ศมประสงค์ ชาวนาไร่ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ท่ีเป็ นมากกว่าที่ ปรึกษา เพราะเป็ นเเรงบันดาลใจในการท�ำวิทยานิพนธ์ ให้ความเมตตาในการอบรม ขัดเกลา ข้าพเจ้ามาโดยตลอด ทัง้ ที่มีภาระหน้าที่เป็ นอันมาก มากกว่าการสั่งสอนให้ความรูอ้ าจารย์ ท�ำให้ขา้ พเจ้าเกิดปั ญญา น�ำไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต อาจารย์รชั ดาพร คณิตพันธ์ และอาจารย์กณ ั ฑรัตน์ กุสมุ ภ์ ทัง้ สองท่านเห็นพัฒนาการ ของข้าพเจ้ามาโดยตลอด เมตตา เข้มงวดเเละเตือนสติขา้ พเจ้าอยูเ่ สมอ ให้คำ� แนะน�ำ และให้ ก�ำลังใจท�ำให้ขา้ พเจ้ามีความมั่นใจในการท�ำงานของตนเอง คณาจารย์สถาบันอาศรมศิลป์ ทุกท่านที่กระตุน้ เตือนถึงคุณค่าความส�ำคัญของ การท�ำวิทยานิพนธ์ ท�ำให้ขา้ พเจ้ามีหลักคิด เเละได้กลับมาทบทวนตนเองอยูเ่ สมอ พระครูวิจิตรศาสนการ (พูล ถาวโร) เจ้าอาวาสวัดด้ามพร้า ที่ให้ขอ้ มูลอันเป็ น ประโยชน์และมีความเมตตาต่อข้าพเจ้าอย่างมาก พ่อ เเม่ พี่นอ้ ง ลุง ป้า น้า อา ชาวบ้านด้ามพร้าทุก ๆ ท่าน ที่ให้ความอนุเคราะห์ ในการไปเก็บข้อมูลภาคสนามของข้าพเจ้า พี่ ๆ ทีบ่ ริษทั กังวาน สตูดโิ อ ทุกท่านที่คอยช่วยเหลือให้ทกั ษะความรู ใ้ ห้คำ� ปรึกษามาโดยตลอด เเละเพื่อน ๆ ของข้าพเจ้าที่เเวะเวียนมาช่วยท�ำหุ่นจ�ำลอง คงจะ ไม่สำ� เร็จหากขาดก�ำลังส�ำคัญกลุ่มนี ้ เพื่อน ๆ รุน่ ๑ ส�ำหรับค�ำเเนะน�ำและการต่อสูร้ ว่ มกันตลอด ๕ ปี ในการเรียนครัง้ นี ้

7



















การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๐๓ การวิเคราะห์ทตี่ งั้ ปั จจุบนั

๓.๑ การวิเคราะห์ทำ� เลทีต่ งั้

วิเคราะห์ทำ� เลที่ตงั้ ในปั จจุบนั พบว่า พืน้ ที่สีเขียว ต�ำแหน่งของวัดด้ามพร้าในระดับเมืองมีความสัมพันธ์กับพืน้ ที่ สีเขียวโดยรอบทัง้ สวนป่ าชุมชนและดอนปู่ ตา ในแง่ของการเป็ นพืน้ ที่ทางวัฒนธรรม เช่น การแห่ผา้ ผะเหวดจากป่ าดอนปู่ ตามายังวัด ทัง้ ยังมีพืน้ ที่สเี ขียวที่เริม่ มีขนึ ้ มาใกล้บริเวณวัด อย่างสวนอุบลวโนทยาน ส�ำหรับเป็ นพืน้ ที่สาธารณะให้คนได้พกั ผ่อนหย่อนใจ มีเเนวความคิดในการออกแบบ ดังนี ้ โปรแกรม วัดด้ามพร้านัน้ สามารถเป็ นอีกหนึง่ ในพืน้ ที่สเี ขียวให้กบั เมืองได้ แต่อาจจะอยูใ่ น รูปแบบอื่นที่ไม่ซำ้� ซ้อนกับพืน้ ที่สีเขียวอื่น ๆ ในเขตพืน้ ที่ เช่น เป็ นพืน้ ที่สีเขียวส�ำหรับเรียนรู ้ พันธุไ์ ม้พืน้ ถิ่นเพื่อสร้างสภาพเเวดล้อมทางภูมิวฒ ั นธรรม เป็ นต้น ผั ง ออกแบบให้ผังภายในวัด ด้ามพร้ามี พืน้ ที่ สีเ ขี ย วโดยใช้ตน้ ไม้ในพื น้ ถิ่ น เพื่ อสร้า ง บรรยากาศของความ สงบ ร่มรืน่ มีพืน้ ที่รองรับกิจกรรมงานบุญ โครงข่ายถนนในจังหวัดอุบลราชธานี วัดด้ามพร้าตัง้ อยูร่ มิ ถนนชยางกูร เป็ นถนน ที่เชื่อมต่อกับจังหวัดอ�ำนาจเจริญกับจังหวัดอุบลราชธานี ท�ำให้วดั มีศกั ยภาพมากในแง่ สถานที่ตงั้ วัดด้ามพร้าตัง้ อยูร่ มิ ถนนหลักท�ำให้สะดวกต่อการเข้าถึง มีเเนวความคิดในการออกแบบ ดังนี ้ ผัง ออกแบบให้ผงั การสัญจรภายในวัดด้ามพร้า ให้สอดคล้องกับทางเข้าถึงส�ำคัญทางด้าน ทิศตะวันตก ซึง่ ติดกับถนนชยางกูร และสร้างน�ำสายตาไปสูว่ หิ ารจากทางด้านทิศตะวันตก อาคาร ก�ำหนดที่ตงั้ วิหารให้สมั พันธ์กบั มุมมองการเข้าถึงทางทิศตะวันตก

รูปภาพที่ ๓.๐๑ การวิเคราะห์ทำ� เลที่ตงั้

๓. อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง จากภาพท�ำให้เห็นถึงอาคารสิ่งปลูกสร้างในตัวเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่เริ่มมีการกระจายตัวออกมาจากบริเวณเมืองเก่าที่ติดริมเเม่นำ้� มูล กระจายตัวขึน้ มาทางด้านทิศเหนือเเละตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็ นถนนที่เชื่อมต่อ ระหว่างจังหวัด ๔. การใช้ประโยชน์ทดี่ ิน พบว่าอาคารประเภทพาณิชยกรรมมักเกาะกลุม่ กัน ตามเส้นถนนหลัก คือ ถนนชยางกูรที่เชื่อมต่อกับหลายจังหวัด และพบว่า ห้างสรรพสินค้า เกาะกลุ่มตามเส้นเลี่ยงเมือง ห่างจากวัดด้ามพร้า ๔ กิโลเมตร และส่วนที่เป็ นอาคาร ที่พกั อาศัยกระจายตัวอยูโ่ ดยรอบ ๕. วัดในบริเวณใกล้เคียง จากภาพท�ำให้ทราบว่าวัดในบริเวณอ�ำเภอเมืองตัง้ อยู่ ใกล้ชิดกันมาก ต่างจากวัดที่หา่ งจากตัวเมืองออกไปมีการกระจายตัวไปตามหมูบ่ า้ น ทัง้ ๓ หัวข้อสุดท้ายมีเเนวความคิดในการออกแบบ ดังนี ้ ผัง วัดด้ามพร้าในอนาคตอาจจะเป็ นวัดที่ศนู ย์กลางของชุมชนขนาดใหญ่ มีผคู้ นอาศัยอยู่ อย่างหนาแน่น จึงมีเเนวทางในการออกแบบในการรักษาสภาพเเวดล้อมของวัดด้วยต้นไม้ท่ี ให้ความสงบร่มรืน่ การออกแบบผังให้เป็ นระเบียบ เเบ่งเขตพืน้ ที่พทุ ธาวาส สังฆาวาส เเละ เขตสาธารณะประโยชน์ให้ชดั เจน จะช่วยลดความพลุกพล่านในการท�ำกิจกรรม และรักษา ไว้ซง่ึ ความสงบ จากจ�ำนวนคนที่จะเข้ามาในวัดมากขึน้ ในอนาคต 25


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๓.๐๒ แผนที่แสดงต�ำแหน่งวัดในระดับย่าน 26


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ข้อมูลพืน้ ฐานทีต่ งั้ โครงการ สถานที่ตงั้ : วัดด้ามพร้า บ้านด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ขนาดที่ดนิ : ๑๘ ไร่ ๓๖ ตารางวา (๑๘,๙๔๔ ตารางเมตร) ทิศเหนือ : ติดกับซอย สาธารณะ ทิศใต ้ : ติดกับซอย ทุง่ ขาม ทิศตะวันออก : ติดกับซอย สาธารณะ ทิศตะวันตก : ติดกับถนน ชยางกูร ๓.๒ การวิเคราะห์สถานทีต่ งั้ วิเคราะห์สถานที่ตงั้ ในปั จจุบนั พบว่า มีความเป็ นศูนย์กลางของชุมชน วัดด้ามพร้าตัง้ อยูต่ ำ� แหน่งที่เป็ นศูนย์กลาง ของชุมชน ใกล้โรงเรียน ใกล้สถานที่ราชการ จากการศึกษาพบว่า เดิมเป็ นชุมชนที่อยู่ กันหลายครัวเรือน มีวดั ด้ามพร้าเป็ นศูนย์รวมจิตใจ หลังจากนัน้ ได้มีการกระจายตัวไป ตัง้ ชุมชนใหม่ ตามเเหล่งท�ำกิน เเต่ยงั คงกลับมาท�ำบุญที่วดั ด้ามพร้าด้วยความคุน้ เคย มีความผูกพันธ์ดา้ นจิตใจ ใกล้พนื้ ทีท่ างจิตวิญญาณของชุมชน ได้แก่ ดอนปู่ ตา ซึง่ มีการแห่ผา้ ผะเหวด จากดอนปู่ ตามาที่วดั อยู่เเล้ว ซึง่ สามารถส่งเสริมให้เส้นทางนีใ้ ห้ป็นเส้นทางทางประเพณี วัฒนธรรมได้ ตัง้ อยู่ในเส้นทางคมนาคมทีเ่ ดินทางสะดวก เนื่องจากติดกับถนนชยางกูร ซึง่ เป็ นถนนที่ทำ� หน้าที่เชื่อมระหว่างจังหวัด และมีเเนวโน้มการเติบโตของเมือง ท�ำให้มีผคู้ น เข้ามาอยูอ่ าศัยใหม่ ในรูปแบบของหมูบ่ า้ นจัดสรร

อุโบสถ มณฑป ศาลาการเปรียญ อาคารพระปริยัตธิ รรม ศาลาสวด

เมรุ หอฉัน กุฏเิ จ้าอาวาส กุฏสิ งฆ์ ้ ำ้ ห้องน� อาคารพาณิชย์

รูปภาพที่ ๓.๐๓ แผนที่แสดงต�ำแหน่งอาคารในวัดด้ามพร้า

27


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๓.๐๖ แผนที่แสดงการสัญจรภายในวัด

๓.๒.๑ การสัญจรภายในวัด ทางเข้าหลักของวัดในปั จจุบนั คือ ประตูทางทิศตะวันตก ซึง่ เป็ นทางเข้าด้านติดกับถนนชยางกูร กลุม่ คนที่เข้าทางประตูนี ้ ส่วนใหญ่เป็ นกลุม่ คนจากชุมชนด้ามพร้าด้าน ทิศตะวันตก และกลุม่ คนนอกชุมชน ทางวัดได้ขยายประตูเพิ่มเพื่อก�ำหนดทางเข้าออกให้เป็ นสัดส่วน ข้อที่ควรค�ำนึงถึง คือ มุมมองการเข้าถึงที่มีอาคารพาณิชย์ ขนาบทางเข้า ท�ำให้ การเข้าถึงต้องผ่านช่องของตึกเข้าไปไปยังวัด ทางเข้ารอง ได้แก่ ทางเข้าจากซอยทุ่งขาม กลุม่ คนที่เข้าทางประตูนีส้ ว่ นใหญ่เป็ นกลุม่ คนที่มาใช้พืน้ ที่จดั งานศพบริเวณเมรุ และศาลาสวด มุมมองการเข้าถึงเป็ นประตู ที่มีความสัมพันธ์กบั ดอนเจ้าปู่ ทางทิศใต้ของวัด ทางเข้าย่อยจากชุมชน ได้แก่ ทางเข้าทางทิศตะวันออก เนื่องจากเป็ นประตูท่ีมีสว่ นติดกับชุมชน ที่ให้คนในชุมชนเดินเข้ามาทางนีไ้ ด้อย่างสะดวก ส่วนรถจักรยานยนต์ ที่เข้าทางนีจ้ ะเป็ นกลุม่ พ่อเเม่ผปู้ กครอง หลังจากส่งลูกไปโรงเรียนก็ใช้ทางนีม้ าวัด

28


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๓.๐๗ แผนที่แสดงมุมมองภายในวัด

๓.๒.๒ ต้นไม้สำ� คัญและพืน้ ทีล่ านโล่งภายในวัด ต้นไม้สำ� คัญ ส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มต้นไม้ท่ีมีมาเเต่เดิม หากเทียบปริมาณสัดส่วนกับต้นไม้ท่ีลอ้ มมาปลูก หรือที่เกิดขึน้ มาภายหลัง จะพบว่ามีตน้ ไม้จำ� นวนน้อยมาก ที่เหลือพบบริเวณริมฝั่งก�ำแพงวัดด้านทิศใต้ จ�ำพวกต้นตาลและต้นมะพร้าวที่เคยมีอย่มู ากในอดีต พืน้ ที่ลานโล่งภายในวัด ในปั จจุบนั พบว่า ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ให้เต็มศักยภาพ ส่วนใหญ่ปล่อยเป็ นพืน้ ที่โล่ง ไม่สง่ เสริมให้เกิดการสร้างความสง่างามให้กบั อาคารและ พืน้ ที่ เช่น บริเวณเเนวแกนของพระอุโบสถ บริเวณทิศตะวันออกของโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม เป็ นต้น ความส�ำคัญของข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นนีล้ ว้ นเป็ นข้อมูลที่สำ� คัญที่ทำ� ให้เข้าใจภาพของพืน้ ที่เพื่อพัฒนาให้พืน้ ที่มีคณ ุ ค่าเเละเติมเต็มศักภาพ เช่น การสร้างบรรยากาศวัด ให้สอดคล้องกับเป้าหมายคือ ความสงบ ให้ความรูส้ กึ เป็ นที่พง่ึ อย่างน้อยก็ได้พกั พิงใต้รม่ ไม้ได้ผอ่ นคลายจากความพลุกพล่านวุน่ วายภายนอกวัด

29


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๓.๐๔ แผนที่แสดงต�ำแหน่งอาคาร การใช้งาน ขนาดพืน้ ที่ใช้สอย

30


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๓.๒.๓ การแบ่งพืน้ ทีก่ ารใช้งาน (Zoning) ในปั จจุบนั ๑. ส่วนพุทธาวาส หรือในเขตแนวบูชาซึง่ เป็ นส่วนที่มีความส�ำคัญ ที่ตอ้ งเป็ นพืน้ ที่ท่ีให้คณ ุ ภาพของความส�ำรวมระวัง รักษากิรยิ า เป็ นระเบียบ การให้ค วามเคารพ ส่ ง เสริ ม ให้เ กิ ด อารมณ์ค วามรู ้สึ ก สงบ ร่ ม เย็ น ไม่พลุกพล่านเพื่อให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา ส�ำหรับวัดด้ามพร้านัน้ ส่วนพุทธาวาสในปั จจุบนั มีความกระจายตัว ตามความสะดวก มีการบริจาคสร้างสิ่งก่อสร้างโดยขาดการก�ำหนดที่ทางที่ เหมาะสม โดยเฉพาะต�ำแหน่งวิหารที่กำ� ลังก่อสร้างในปั จจุบนั ไม่ได้สง่ เสริม เเนวน�ำความรูส้ กึ ของการบูชา ทัง้ นีก้ ารวางต�ำเเหน่งของวิหารไม่เพียงต้องการ พืน้ ที่ท่ีพอดีกบั ตัวอาคารเพียงอย่างเดียว ตัวอาคารต้องอาศัยการขยายผังมี ขอบเขต บริเวณ แนว ขนาด ทางรูปธรรม และความรูส้ กึ ทางนามธรรม เช่น ความสงบ ร่มเย็น ความรู ส้ กึ สัมผัสทางจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงเพื่อสร้าง คุณค่าสาระของอาคารเท่านัน้ แต่รวมไปถึงคุณภาพของส่วนพุทธาวาสที่เป็ น หัวใจส�ำคัญของวัด

0

รูปภาพที่ ๓.๐๕ แผนที่แสดงการใช้งาน (Zoning) ในปั จจุบนั

5

10

20

30

40

50

๒. ส่วนสังฆาวาส ในปั จจุบนั หากวิเคราะห์จากการใช้งานจะเห็น ได้วา่ มีเเนวกุฏิกระจายตัวด้านทิศเหนือของผังวัด แทรกด้วยอาคารบริการ และอาคารประกอบกิจกรรมของชุมชน ท�ำให้บรรยากาศของการใช้งานที่ ต้องการความสงบเพราะเป็ นที่พกั ที่อาศัยของพระภิกษุสงฆ์ กลับท�ำให้เกิด ความพลุกพล่าน ที่เกิดจากการใช้งานที่ทบั ซ้อนกัน คือ หอฉัน ที่ชนั้ บนเป็ น ส่วนของกุฏิสงฆ์ชนั้ ล่างเป็ นหอฉัน เเละเป็ นที่ถือศีลของอุบาสก อุบาสิกา ในวันพระ ศาลาการเปรียญที่ใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ เนื่องจากผูส้ งู อายุไม่ สามารถ ขึน้ -ลง ได้โดยสะดวก จึงถูกใช้ในวันพระหรือวันส�ำคัญทางศาสนา เท่านัน้ ๓. ส่วนที่นอกเหนือจากเขตพุทธาวาสและสังฆาวาส ประกอบ ด้ว ยส่ ว นที่ เ ป็ นฌาปนสถาน เเละส่ ว นของโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม การใช้งานของศาลานาบุญมีความหลากหลายในการใช้งานแต่ส่วนใหญ่ เป็ นพืน้ ที่สำ� หรับรองรับงานศพที่มีประจ�ำ จากการสังเกตพบว่า การใช้งาน ศาลานาบุญหลังที่ ๑ ใช้งานเเละรองรับผูค้ นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ศาลา นาบุญหลังที่ ๒ ส่วนใหญ่ใช้ในการตัง้ ศพ จึงยังเหลือพืน้ ที่ว่างที่สามารถ รองรับผูค้ นได้อีกมาก หากมองโดยภาพรวมจะเห็นว่า เป็ นพืน้ ที่เกือบครึง่ หนึง่ ของพืน้ ที่วดั ส่วนหนึง่ เป็ นผลจากถนนภายในวัดเป็ นตัวก�ำหนดขอบเขต

31


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๓.๒.๔ การศึกษากลุ่มผู้ใช้งานพืน้ ทีว่ ัดและการใช้งานในเเต่ละช่วงเวลา

๐๔.๐๐ น.

๑๓.๐๐ น.

๐๘.๐๐ น.

๑๘.๐๐ น.

รูปภาพที่ ๓.๐๘ แผนที่แสดงประเภทของบุคคลกับการใช้สถานที่ในเเต่ละช่วงเวลา

32


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๓.๐๙ แผนที่แสดงระบบสาธารณูปโภคภายในวัด

๓.๒.๕ ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า : มีความเพียงพอต่อความต้องการ น�ำ้ ใช้ : เพียงพอต่อการใช้งาน โดยแบบน�ำ้ ใช้มี ๒ ประเภท ได้แก่ ใช้นำ้� ปะปาสูบขึน้ มาพักบนถังเก็บน�ำ้ และน�ำ้ บาดาลที่สบู ขึน้ มาใช้รดน�ำ้ ต้นไม้ หากในอนาคตจะมีตน้ ไม้ในวัดมากขึน้ ต้องค�ำนึงถึงความเพียงพอในการใช้ น�ำ้ ในการรดต้นไม้ดว้ ย การระบายน�ำ้ มีทางระบายน�ำ้ โดยรอบ ปั จจุบนั ท่อระบายน�ำ้ ด้าน ทิศตะวันออกมีการปรับปรุงท่อระบายน�ำ้ ใหม่ ส่วนแนวท่อระบายน�ำ้ ภายใน วัดวางตามแนวถนน การจัดการขยะ พบการแยกขยะประเภทขวดพลาสติกอยู่บา้ งที่ หอฉัน นอกจากนัน้ ที่จดุ อื่นไม่พบการเเยกขยะ ขยะส่วนใหญ่เป็ นขยะที่ได้ จากการบิณฑบาตร ที่บรรจุในภาชนะบรรจุช่ วั คราวแทบทัง้ สิน้ โดยเฉพาะถุง และขวดพลาสติก จุด ที่ ทิ ง้ ขยะเป็ น สิ่ ง ที่ ต ้อ งได้ร ับ การดูแ ละจัด การเพื่ อ ความเป็ น ระเบียบเรียบร้อยและถูกสุขลักษณะ 33


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๐๔ รายละเอียดโครงการ

๔.๑ ข้อมูลเบือ้ งต้นโครงการ ชื่อโครงการ

: การออกแบบผังแม่บทและวิหารด้ามพร้า Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design

ที่ตงั้ โครงการ

: วัดด้ามพร้า บ้านด้ามพร้า ต�ำบลขามใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

เจ้าของโครงการ : วัดบ้านด้ามพร้า ประเภทโครงการ : อาคารสาธารณะประเภทศาสนาคาร ๔.๒ ประวัตศิ าสตร์ความเป็ นมาของวัด วัดด้ามพร้าเป็ นวัดในสังกัดมหานิกาย นับเป็ นวัดศูนย์กลางชุมชนบ้านด้ามพร้าเป็ น วัดที่เป็ นที่ศรัทธาของทัง้ ๔ หมูบ่ า้ น คือ บ้านด้ามพร้า บ้านห้วยคุม้ บ้านหัวดูน บ้านนาดูน ซึง่ เดิมทัง้ ๔ หมูบ่ า้ นเป็ น หมูบ่ า้ นเดียวกันคือ บ้านด้ามพร้า ประวัติความเป็ นมายุคแรกเริ่มตัง้ วัดบริเวณที่ตงั้ วัดเป็ นพืน้ ที่สปั ปายะ เป็ นป่ าที่ อุดมสมบูรณ์ มีพระภิกษุสงฆ์มาปั กกลดเป็ นครัง้ คราว เมื่อชาวบ้านรวมกลุม่ เป็ นจ�ำนวน มากจึงอาราธนาพระภิกษุสงฆ์มาจ�ำพรรษาสร้างกุฏิเล็ก ๆ มุงด้วยหญ้าคา ใกล้บริเวณวัด มีหนองด้ามพร้าชาวบ้านด้ามพร้า และบ้านดอนกลางอาศัยหนองน�ำ้ แห่งนีท้ ำ� นา ท�ำสวน ปลูกผัก ตีมีด ตีพร้า มีเรื่องเล่าว่าในวันพระ ชาวบ้านมักพบเห็นพญานาคออกมาเล่นน�ำ้ เชื่ อ ว่ า เป็ น เทพยดาปกปั ก รัก ษาหนองด้า มพร้า แห่ ง นี ้จึ ง ตั้ง ชื่ อ วัด ให้ส อดคล้อ งกับ สถานที่ช่ือวัดหนองด้ามพร้า๑ หลวงปู่ ศรี อดี ต เจ้า อาวาสและเจ้า คณะต�ำ บลขามใหญ่ ด�ำรงต�ำแหน่ง ในปี พ. ศ. ๒๕๔๖ จนถึงมรณะภาพในปี พ. ศ. ๒๕๔๖๒ ระยะนีว้ ดั มีการเปลี่ยนแปลงมากมีการ ริเริม่ การก่อสร้างอาคารพระปริยตั ธิ รรม สร้างกุฏิสงฆ์ สาธารณูปโภคต่าง ๆ ในวัด อีกทัง้ ขณะด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลยังส่งเสริมการศึกษาพระปริยตั ิของวัดในการปกครอง สร้างศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดหนองปลาปาก สร้างศาลาการเปรียญ วัดหนองหว้า เป็ นต้น พระครูวิจิตรศาสนการ ( หลวงพ่อพูล ) เป็ นเจ้าอาวาสมาตัง้ เเต่ พ. ศ. ๒๕๔๖๓ ด�ำเนินงานสานต่อแนวทางที่หลวงปู่ ศรีได้วางไว้ ปี พ. ศ. ๒๕๕๗ ได้พบพระพุทธรูปโบราณ เนือ้ ทองส�ำริดศิลปะพืน้ บ้านไท - อีสาน ที่กะเทาะออกจากปูนที่โบกทับไว้ น�ำมาซึง่ ความ ศรัทธาความปิ ตยิ นิ ดีของคนในชุมชน และพุทธศาสนิกชนในพืน้ ที่ขา้ งเคียง จึงเกิดประเพณี การสมโภชและสรงน�ำ้ พระพุทธรูปเป็ นประจ�ำทุกปี อรวรรณ บับพิบลู , เอกสารประกอบการสอน ประวัตศิ าสตร์หมูบ่ า้ นด้ามพร้า, (อุบลราชธานี : ส�ำนักงานการ ประถมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี, ๒๕๔๗), ๓ (อัดส�ำเนา). ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๓. ๓ เรือ่ งเดียวกัน, ๔. ๑

34

รูปภาพที่ ๔.๐๑ ล�ำดับเหตุการณ์วดั ด้ามพร้า และเเผนที่แสดงความสัมพันธ์ของชุมชนโดยรอบวัด


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๔.๐๒ แผนที่และแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วัด ชุมชน โรงเรียน และดอนปู่ ตา

๔.๓ ข้อมูลพืน้ ฐาน ด้านกายภาพ วัดด้ามพร้าถือได้วา่ เป็ นวัดส�ำคัญของทัง้ ๔ ชุมชน วัดด้ามพร้า ตัง้ อยู่ระหว่างพืน้ ที่ทางจิตวิญญาณที่พึงระลึกถึงบรรพบุรุษ (ดอนปู่ ตา) และป่ าช้าเดิม ปั จ จุบัน ใช้เ ป็ น สถานที่ เ ผาศพอย่ า งสมัย โบราณคื อ เผากลางแจ้ง พื น้ ที่ ส่ ว นหนึ่ ง ถูก ปรับเปลี่ยนเป็ นสวนสุขภาพชุมชนทางวัดและชุมชนยังคงเข้าไปใช้งานทัง้ สามพืน้ ที่โดย กิจกรรมที่สำ� คัญในมิติดา้ นจิตวิญญาณ เช่น ในการแห่พระเวสสันดรเข้าเมืองใช้เส้นทาง เริ่มต้นจากดอนเจ้าปู่ ผ่านชุมชนจึงเข้ามาที่วดั แสดงให้เห็นถึงภูมิศาสตร์ในชาดกพระ เวสสันดรที่ชมุ ชนเป็ นคนสร้างมโนภาพขึน้ ให้สมจริงสมจังเป็ นสาระค�ำสอนที่สมมุติสถาน ที่ขนึ ้ มาเพื่อสร้างความเข้าใจต่อเรือ่ งราว ด้านการศึกษา โรงเรียนศรีศาสนวิทยาวัดด้ามพร้า เป็ นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษาสังกัดกองพุทธศาสนาแห่งชาติ สอนตัง้ แต่ระดับมัธยมศึกษาปี ท่ี ๔ - ๕ นับเป็ น ๑ ใน ๔ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมในเขตอ�ำเภอเมือง ปั จจุบนั มีพระภิกษุสงฆ์และ สามเณรก�ำลังศึกษาอยู่ ๑๒๐ รูป (ข้อมูลจากการส�ำรวจ ช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒) นับตัง้ แต่สมัยหลวงปู่ ศรีเป็ นเจ้าอาวาส มีดำ� ริให้สร้างอาคารปริยตั ิธรรมจวบจน สามารถเปิ ดท�ำการเรียนการสอนในปี พ. ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนศรีศาสนวิทยาคารผลิตพระ ภิกษุสงฆ์ และสามเณรที่มีความรูท้ างพระพุทธศาสนาจ�ำนวนไม่นอ้ ยนับเป็ นศูนย์กลางการ ศึกษาทัง้ ด้านปริยตั แิ ละปฏิบตั ขิ องเขตอ�ำเภอเมืองฝั่งเหนือที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ด้านกิจกรรม วัดแบ่งออกเป็ นกิจกรรมทางประเพณีฮีต ๑๒ คอง ๑๔ กิจกรรมวัน ส�ำคัญทางพุทธศาสนาและกิจกรรมอื่นๆ กิจกรรมประเพณีฮีต ๑๒ คอง ๑๔ บุญผะเหวด๑ บุญสงกรานต์ บุญสมโภชพระพุทธรูป กิจกรรมวันส�ำคัญทางศาสนางานทอดกฐิ นงาน วันเข้าพรรษา มหาสังฆทาน งาน วันออกพรรษา กิจกรรมตักบาตร ถวายเพล สวดมนต์ทำ� วัตรเย็น ฟั งธรรมรักษาศีล ด้านบุคลากร พระในวัดมีความเป็ นผูน้ ำ� ทางจิตวิญญาณของชุมชนสังคมโดย รอบยังคงมีวดั เป็ นศูนย์กลางชุมชน ในวัดมีพระภิกษุสงฆ์ ๑๖ รูป สามเณร ๓๐ รูป (ข้อมูล จากการส�ำรวจ ช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒) กลไกการบริหารงานในวัดประกอบด้วย เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาสฝ่ ายวิชาการ รองเจ้าอาวาสฝ่ ายปกครองพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และคณะกรรมการวัดไวยาวัจกร ด้านการเงิน วัดมีรายได้จากการท�ำบุญและค่าเช่าธรณีสงฆ์จากอาคารพาณิชย์ รายรับเพียงพอกับรายจ่าย ปั จจุบนั ยังคงมีการก่อสร้างอาคารวิหารโดยใช้ผรู้ บั เหมา การ ก่อสร้างเป็ นไปอย่างล่าช้าตามจ�ำนวนเงินศรัทธาในแต่ละปี

เป็ นส�ำเนียงชาวอีสานทีม่ าจากค�ำว่า “บุญพระเวส”หรือพระเวสสันดร มีการฟั งเทศน์มหาชาติ เพราะชาวอีสาน เชื่อตามคัมภีรใ์ นทางพุทธศาสนาว่าการฟั งเทศน์มหาชาติ (พระเวสสันดรชาดก) รวม ๑๓ กัณฑ์ ให้จบภายใน วันเดียวจะได้รบั อานิสงฆ์ผลบุญมาก,______, พจนานุกรมภาษาถิน่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, (กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์,๒๕๓๐), ๖๙. ๑

รูปภาพที่ ๔.๐๓ กลุม่ ผูใ้ ช้งาน

35


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔ การสัมภาษณ์ สอบถามความคิดเห็น ผู้ทม่ี คี วามเกีย่ วข้องกับวัดด้ามพร้า การลงพืน้ ที่เพื่อสัมภาษณ์ สอบถามความคิดเห็น ผูท้ ่ีมีความเกี่ยวข้องกับ วัดด้ามพร้าทัง้ เรื่องประวัติความเป็ นมาของวัด ข้อคิดเห็นในปั จจุบนั การพัฒนาวัด ในอนาคต กับผูท้ ่ีมีความเกี่ยวข้อง โดยมีขอ้ มูลสรุปได้ ดังนี ้ ๑. พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ได้แนะน�ำแนวทางในการพัฒนาวัด โดยให้ ค�ำนึงถึงความเป็ นวัดที่เป็ นที่พง่ึ ของชุมชน เป็ นวัดที่ สว่าง สะอาด สงบร่มเย็น ด้านสถาปั ตยกรรม มีความคิดเห็นว่า ให้มีความพอดี เรียบง่าย และเหมาะ สมกับพืน้ ที่ มีเอกลักษณ์ ๑ ๒. คนในชุมชน ได้แนะน�ำแนวทางในการพัฒนาวัด โดยให้คำ� นึงถึงการ พัฒนาคนโดยเฉพาะกลุม่ เยาวชน๒ ให้วดั เป็ นที่ศกึ ษาเรียนรูป้ ระเพณี วัฒนธรรม ของ ชุมชน ด้านสถาปั ตยกรรม อยากให้มีความสอดคล้องกับการใช้งาน ในการจัดงาน บุญประเพณี มีลาน มีพืน้ ที่โล่ง มีรม่ เงาของร่มไม้ ๑ ๒

พระครูวิจิตรศาสนการ,เจ้าอาวาส.สัมภาษณ,์ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒. รัชพร นิธิชตุ ติเดชา,ผูใ้ หญ่บา้ น.สัมภาษณ,์ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒.

36

รูปภาพที่ ๔.๐๔ ข้อมูลการสัมภาษณ์


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๔.๐๕ ตัวอย่างภาพจากกล้องฟิ ล์มที่กลุม่ เยาวชนท�ำกิจกรรม

๓. กลุม่ เยาวชนในพืน้ ที่ การลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ศึกษาข้อมูลได้ใช้กจิ กรรม “ภาพเล่าเรือ่ ง” โดยให้กล้องถ่ายภาพกับเด็ก ๆ และมีโจทย์วา่ ให้ถ่ายรูปพืน้ ที่ท่ีตนเองชอบภายในโรงเรียน แล้วมานั่งเล่าเรือ่ งที่ตนเองถ่ายภาพมาว่า ชอบเพราะอะไร ผลจากกิจกรรมนีพ้ บว่า รู ปสถานที่ท่ีเด็ก ๆ ถ่ายภาพมากที่สดุ คือ หลังโรงเรียน ซึง่ เป็ นป่ าที่เชื่อมกับสวนป่ าของชุมชน เด็ก ๆ ให้เหตุผลว่า เป็ นพืน้ ที่ท่ีไปเล่นบ่อย อากาศ ไม่รอ้ น มีรม่ เงา รองลงมาเป็ นห้องเรียนรูข้ องโรงเรียนและม้านั่ง เพราะเป็ นพืน้ ที่ท่ชี อบเข้าไป ใช้อนิ เทอร์เน็ต และเป็ นทีน่ ่งั พัก นั่งคุยกันกับเพือ่ น เด็ก ๆ มีทศั นคติทห่ี ลายหลาย แบ่งได้ ดังนี ้ ๗ ใน ๑๐ คน ชอบไปวัด โดยให้ขอ้ คิดเห็นว่า จะดีกว่านีห้ ากวัดมีพืน้ ที่ท่ีมีรม่ เงา ท�ำให้ไม่รอ้ น และมีพืน้ ที่ให้เข้าไปเรียนรูห้ รือท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ๓ ใน ๑๐ คน ไม่ชอบไป เพราะไม่มีกิจกรรมที่นา่ สนใจ และระยะทางจากบ้านกับ วัดห่างไกล จึงเดินทางไม่สะดวก และช่วงเวลาหลังเลิกเรียนใช้ไปกับการเรียนพิเศษ จากข้อสังเกตพบว่าปั จจัยที่ทำ� ให้เด็ก ๆ ในปั จจุบนั ไปวัดน้อยลง มีดงั นี ้ ๑. ขาดแรงจูงใจ และไม่รูว้ า่ จะไปท�ำกิจกรรมอะไร ๒. บ้านไกลจากวัด ๓. ไม่มีพืน้ ที่กิจกรรมภายในวัด อย่ า งไรก็ ต ามพบว่ า ถ้า สามารถปรับ เปลี่ ย นให้พื ้น ที่ ภ ายในวั ด ด้า มพร้า ให้มีพืน้ ที่ท่ีเยาวชนสามารถเข้าไปเรียนรู ้ หรือท�ำกิจกรรม จะส่งผลให้เยาวชนมีแรงจูงใจ ในการเข้าวัดมากขึน้ 37


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๕ กระบวนการการศึกษา การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล เพือ่ เป็ นแนวทางการก�ำหนดเป้ าหมาย

38


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

39


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๗ รายละเอียดโครงการด้านพืน้ ทีใ่ ช้สอย โปรแกรมและพืน้ ทีใ่ ช้สอย

40


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

41


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

42


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๐๕ อาคารในกรณีศกึ ษา / ๕.๑ เกณฑ์ในการเลือกศึกษากรณีศกึ ษา

บริบทที่ตงั้ ของโครงการ

แนวคิดในการออกแบบ

โปรแกรม

เกณฑ์ในการเลือกอาคารกรณีศกึ ษา เป็ นโครงการที่คำ� นึงถึงบริบทพืน้ ที่ รู ป แบบของสถาปั ต ยกรรมกลมกลื น กั บ เป็ น โครงการที่ ใ ห้ค วามส�ำ คัญ กั บ การออกแบบพื ้น ที่ ภ ายในวัด ให้เ กิ ด โดยรอบ ใกล้กบั บริเวณชุมชน สถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นหรือมีแนวคิดตามหลัก ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ เช่น ส่งเสริมการเรียนรู ้ อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม หรือ ธรรมค�ำสอนในพุทธศาสนา หรือมีเเนวคิดที่ รักษาบรรยากาศของความเป็ นวัดที่สงบ ร่มรืน่ มีเรียบง่าย

พืน้ ที่ เป็ นโครงการที่ คำ� นึงถึงการใช้งานของผูค้ นทั้งภายในและภายนอก อาคาร ภายในอาคารต้องเป็ นพืน้ ที่ท่ีสง่ เสริม ความสงบ ความศรัทธา ภายนอกอาคารเป็ นพืน้ ที่ท่ีสามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับการจัด กิจกรรม หรือจัดงานบุญประเพณี

ตารางที่ ๕.๐๑ ตารางอธิบายเกณฑ์ในการเลือกศึกษากรณีศกึ ษาในหัวข้อต่างๆ

หลักการเลือกประเภทศาสนาคาร เพื่อมาเป็ นกรณีศกึ ษา ก�ำหนดจาก ๔ ประเด็น ดังตารางข้างบน เพื่อท�ำการศึกษา โดย เเต่ละวัดที่เป็ นกรณีศกึ ษา มีความเน้นหนักในเเต่ละหัวข้อที่ตา่ งกัน แบ่งเป็ น ๒ กลุม่ ดังนี ้ ๑.วั ด ส�ำ หรั บ ศึ ก ษาสถาปั ตยกรรมที่ มี เ เนวคิ ด จาก สถาปั ต ยกรรมพื ้น ถิ่ น ได้แ ก่ วัด อรัญ วาสี จัง หวัด หนองคาย และวัดป่ ารัตนวัน จังหวัดนครราชสีมา ๒. แนวทางการออกแบบวัดให้สมสมัยในวิถีปัจจุบนั ได้แก่ วัดญาณเวศกวัน จังหวัดนครปฐม และวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก จังหวัดกรุงเทพมหานคร

43


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๕.๒ กรณีศกึ ษาสถาปั ตยกรรมทีม่ เี เนวคิดจากสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิน่ ๑. วัดอรัญวาสี จังหวัดหนองคาย ทีต่ งั้ ของวัด หมูท่ ่ี ๒ ต�ำบลท่าบ่อ อ�ำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย ปี ทีส่ ร้าง พ. ศ. ๒๕๒๗ สถาปนิก อาจารย์ประเวศ ลิมปรังษี ประวัตคิ วามเป็ นมาของวัดและสถาปั ตยกรรมทีท่ ำ� การศึกษา เป็ นวัดที่หลวงปู่ เทสก์ เทสรังสี เคยธุดงค์และตัง้ เป็ นวัดทางวัด ท่านมีความต้องการ ที่ จ ะสร้า งอุ โ บสถหลัง ใหม่ เ นื่ อ งจากหลัง เก่ า มี ค วามช�ำ รุ ด ทรุ ด โทรมเป็ น อย่ า งมาก หลวงปู่ เทสก์ จึงได้ให้อาจารย์ประเวศฯเป็ นผูอ้ อกแบบ๑ แนวความคิดในการออกแบบ สถาปนิกได้คำ� นึงถึงลักษณะของอาคารในท้องถิ่น เป็ นหลักโดยท�ำการศึกษาสิมอีสาน ตัง้ แต่ปรัชญาเริม่ ต้นในการออกแบบรูปทรงองค์ประกอบ ต่าง ๆ รวมถึงการประดับตกแต่งให้มีความแตกฉานเสียก่อน เพื่อสืบต่อวิวฒ ั นาการมาสู่ ปัจจุบนั ได้อย่างถูกต้องแต่ได้เปลีย่ นวัสดุ ซึง่ แต่เดิมสิมอีสานจะใช้โครงสร้าง และการประดับ ตกแต่งด้วยไม้ เปลี่ยนมาใช้คอนกรีตเสริมเหล็กทัง้ หมด เพื่อให้เหมาะสมกับเทคโนโลยีการ ก่อสร้างในปัจจุบนั และได้ลดทอนรายละเอียดให้รูปแบบมีความเหมาะสมกับธรรมชาติของ คอนกรีตเสริมเหล็ก การเลือกที่ตั้งอาคาร ที่ตงั้ ของอุโบสถหลังใหม่นีท้ างวัดมีแนวความคิดว่าจะ ให้รือ้ โบสถ์เก่าแล้วสร้างแทนที่ แต่สถาปนิกมีความเห็นว่าไม่ควรรือ้ โบสถ์เก่า แต่ควรจะ ท�ำการอนุรกั ษ์เอาไว้เพื่อเป็ นมรดกอันมีคณ ุ ค่าของวัดต่อไป จึงได้เลือกที่ตงั้ อยูบ่ ริเวณด้าน ข้างโบสถ์เก่าในลักษณะขนานกันโดยยึดการหันทิศทางไปทางถนนด้านหน้าเป็ นหลัก ซึง่ ที่ตงั้ ของอุโบสถนีอ้ ยูต่ ดิ กับเขตสังฆาวาส๒ แผนผังอาคารกับหน้าทีใ่ ช้สอย แผนผังอาคารเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็ นอาคาร ชัน้ เดียววางในแนวแกนทิศตะวันออก - ตะวันตก โดยหันด้านหน้าไปทางทิศตะวันออก ตัวอาคารแบ่งออกเป็ น ๕ ห้อง โดยทุกช่วงเสาจะมีชอ่ งหน้าต่างมีประตูทงั้ ด้านหน้าและด้าน หลัง ด้านละ ๑ ประตู มุขโถงประกอบด้วย เสาลอยรับหลังคาเหมือนกันทัง้ ด้านหน้าและ ด้านหลัง เช่น กันมีบนั ไดทางขึน้ ๒ ต�ำแหน่ง รอบอุโบสถล้อมรอบด้วยก�ำแพงแก้ว ประกอบด้วย ใบเสมาที่ตงั้ อยูบ่ นก�ำแพงแก้ว ซึง่ มีทงั้ หมด ๘ ต�ำแหน่ง และมีบนั ไดทางขึน้ สูล่ านประทักษิณ ๖ ต�ำแหน่งด้วยกัน รู ป แบบสถาปั ตยกรรม รู ป แบบโดยรวมเป็ น รู ป แบบที่ ผ สมผสานระหว่า ง สถาปัตยกรรมแบบท้องถิน่ อีสานกับสถาปัตยกรรมของภาคกลาง ดังจะเห็นได้จากหลายส่วน ได้แก่ มุขด้านหน้าและด้านหลังประกอบด้วย เสาลอย พนักระเบียงมีลกั ษณะปิ ดทึบ แบ่ง เป็ นช่องลูกฟั ก เพื่อความเหมาะสมกับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ระหว่างเสาช่วงกลาง ประดับด้วย โก่งคิว้ อันเป็ นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของสถาปั ตยกรรมแบบอีสาน แต่ทำ� การ ลดทอนรายละเอียดให้มีความเรียบง่าย ซุม้ ประตูเป็ นซุม้ แบบบันแถลง ซุม้ หน้าต่างเป็ นซุม้ ทรงปะร�ำ ค�ำ้ ยันเป็ นลักษณะที่ออกแบบขึน้ ใหม่เป็ นทรงปูน แต่ยงั คงเอกลักษณ์แบบอีสาน กล่าวคือ เป็ นทรงชลูด ค�ำ้ ตัง้ แต่ฐานขึน้ ไปรับชายคา๓ ศุภวัฒ หิรญ ั ธนวิวฒ ั น์, “การศึกษาเเนวทางการออกแบบพุทธศิลป์ สถาปั ตยกรรมไทย รัชกาลที่ ๙,” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสถาปั ตยรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐), ๕๐. ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๕๑. ๓ เรือ่ งเดียวกัน, ๕๑. ๑

44

รูปภาพที่ ๕.๐๑ ภาพสถาปั ตยกรรมและบรรยากาศภายในวัดอรัญวาสี

รูปภาพที่ ๕.๐๒ ผังอาคารและรูปด้านอุโบสถ วัดอรัญวาสี


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๒. วัดป่ ารัตนวัน จังหวัดนครราชสีมา ทีต่ งั้ ของวัด บ้านคลองปลากัง้ ต.วังหมี อ.วังเขียว จ.นครราชสีมา ปี ทีส่ ร้าง พ. ศ. ๒๕๒๗ สถาปนิก คุณลีลา เดชาวาศน์ ประวัตคิ วามเป็ นมาของวัดและสถาปั ตยกรรมทีท่ ำ� การศึกษา เป็ นวัดที่พระเดชพระคุณ พระอาจารย์สุเมโธ ท่านเคยไปจ�ำพรรษาเป็ นเวลา ยาวนาน จึงต้องการสร้างให้เป็ นที่ปฎิบตั ธิ รรมของพระสงฆ์และญาติโยม แนวความคิดในการออกแบบ สถาปนิกต้องการออกแบบอุโบสถ ซึ่งได้รบั แรงบัลดาลใจจากสถาปั ตยกรรมท้องถิ่นอีสาน เพื่อสร้างเนือ้ หาที่เกี่ยวเนื่องกับคณะสงฆ์ สายวัดหนองป่ าพง ซึง่ เป็ นป่ าวัดป่ าในภาคอีสาน ภายอุโบสถในประดิษฐานพระพุทธรู ป ประธานในซุม้ จระน�ำของเจดีย ์ จ�ำลองมาจากเจดียพ์ ระโพธิญาณเถร ที่วดั หนองป่ าพง การเลื อ กที่ตั้ง อาคาร ที่ตัง้ ของอุโบสถหลังนี ้ ทางด้านทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ มีสระน�ำ้ ขนาดใหญ่ ที่สอดคล้องกับรูปด้านยาวของอาคาร แผนผังอาคารกับหน้าทีใ่ ช้สอย แผนผังอาคารเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า เป็ นอาคาร โถง มีซอ้ นหน้า ๓ ซ้อน ซ้อนหลัง ๒ ซ้อน เป็ นอุโบสถโถงขนาดใหญ่ ที่รองรับกิจกรรมทาง พุทธศาสนา รู ปแบบสถาปั ตยกรรม รูปแบบโดยรวมเป็ นรูปแบบสถาปั ตยกรรมแบบท้องถิ่น อีสาน ดังจะเห็นได้จากหลายส่วน คือ การวางตับหลังคาในเเต่ละชัน้ ให้ความรูส้ กึ ต่อเนื่อง มีการใช้สว่ นแผงเเลคอสอง ซึง่ เป็ นโครงสร้างระหว่างตับบนและล่าง ถูกน�ำมาออกแบบส่ง ผลต่อรูปทรงอาคาร ท�ำให้รูส้ กึ ถึงอารมณ์ของอาคารพืน้ ถิ่นยิ่งขึน้ เสาของอาคาร ออกแบบเป็ นเสากลม ล้มสอบไม่มาก ขนาดของเสาไม่สมั พันธ์กบั ลักษณะของอาคารขนาดใหญ่สง่ ผลให้ไม่เกิดแนวน�ำความรูส้ กึ ในการรับน�ำ้ หนัก โดยเฉพาะ เสาบริเวณมุขหน้าทางเข้า ระยะห่างของเสาด้านสกัดมีระยะห่างเท่าๆกัน จึงไม่เกิดการเน้น น�ำการเข้าถึง เพราะต้องการขยายอาคารเพื่อเน้นพืน้ ที่การใช้สอยที่มากขึน้ สถาปนิกจึงแก้ ปั ญหาเรือ่ งการเน้นน�ำการเข้าถึงด้วย ราวบันไดทัง้ ๒ ข้าง ให้พญานาคเป็ นเเนวน�ำสายตา ไปสูท่ างเข้า

รูปภาพที่ ๕.๐๓ ภาพอุโบสถ วัดป่ ารัตนวัน

45


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๕.๓ กรณีศกึ ษาแนวทางการออกแบบวัดให้สมสมัยในวิถปี ั จจุบนั ๑. วัดญาณเวศกวัน๑ จังหวัดนครปฐม ทีต่ งั้ ของวัด เลขที่ ๑๐ หมู่ ๓ ต. บางกระทึก อ. สามพราน จ. นครปฐม ปี ทีส่ ร้าง พ. ศ. ๒๕๔๐ สถาปนิก รศ. ฤทัยใจ จงรัก ประวัตคิ วามเป็ นมาของวัดและสถาปั ตยกรรมทีท่ ำ� การศึกษา ชื่อวัด“ ญาณเวศกวัน” นีพ้ ระธรรมปิ ฎกได้ตงั้ ขึน้ โดยให้มีความหมายที่แสดงถึงจุด หมายแห่งการบ�ำเพ็ญศาสนกิจของวัดว่า มุง่ เน้นให้เป็ นแหล่งศึกษาค้นคว้าเพื่อเสริมสร้าง ความรู ใ้ นพระธรรมวินยั และปฏิบตั ิให้บรรลุญาณสูงขึน้ ไปตามล�ำดับ หรืออีกความหมาย หนึง่ หมายความว่าเป็ นวัดที่มีป่า และผูค้ นสามารถเข้าไปแสวงหาความรูไ้ ด้ อุโบสถได้สร้าง หลังจากศาลาการเปรียญและกุฏิ แต่เดิมเลือกพืน้ ที่กอ่ สร้างบริเวณกลางสระน�ำ้ ต่อมาทาง วัดซือ้ ที่ดนิ เพิ่มอีก ๔ ไร่ และด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ ณ ที่แห่งนัน้ แนวความคิดในการออกแบบ อุโบสถหลังนีเ้ ป็ นแนวความคิดของ รศ. ฤทัย ใจจงรัก ร่วมกับพระธรรมปิ ฎกเจ้าอาวาสซึง่ เป็ นนักวิชาการทางพุทธศาสนาได้ให้ความคิด ว่า อุโบสถโดยทั่วไปเป็ นอาคารชัน้ เดียวมีชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบัน คันทวยตกแต่ง ด้วยการลงรักปิ ดทองประดับกระจกซึ่งต้องใช้งบประมาณก่อสร้างสูงไม่เหมาะกับสภาพ เศรษฐกิจในปั จจุบนั แต่สถาปนิกต้องการให้พระอุโบสถที่เรียบง่าย ลมพัดผ่านได้ดีมีความ โปร่งและเบามี ๒ ชัน้ ชัน้ บนเป็ นทีท่ ำ� สังฆกรรม ชัน้ ล่างใช้งานเอนกประสงค์ เช่น การเลีย้ งพระ โดยสรุปแล้วมีแนวความคิดหลัก คือ สะอาด สว่าง สงบ๒ ลัก ษณะเด่ น ของอาคารนี ้คื อ การวางอาคารในแนวแกนทิ ศ เหนื อ ใต้ โดย สถาปนิกมีแนวความคิดว่าเพื่อเป็ นการระบายความร้อน ภายใต้โครงหลังคา ซึ่งอุโบสถ หลังนี ม้ ี ท่ี ว่างภายในโครงสร้างหลังคาเชื่ อมต่อกันทั้งหมด ตั้งแต่มุขด้านหน้าหลังคา ใหญ่ จนถึงมุขด้านหลังที่หน้าบันท�ำเป็ นบานเกล็ด และฝ้าเพดานภายนอกใต้ หลังคา มุขเป็ นตะแกรงโปร่งเพื่อให้ลมพัดผ่านจากด้านทิศใต้ไล่ความร้อนออกไปทางมุขด้าน ทิศเหนือ ผูอ้ อกแบบคิดว่าการระบายความร้อนในส่วนหลังคามีความจ�ำเป็ นอย่างมาก เพราะหากแบ่ ง อาคารออกเป็ น ๓ ส่ ว นคื อ ส่ ว นหลัง คา ส่ ว นตัว อาคารและส่ ว นชั้น ใต้ถุน ส่วนที่ ได้รบั ความร้อนมากที่ สุด คือ ส่วนหลังคา ดังนั้นถ้าสามารถขจัดความ ร้อนในส่วนนี ไ้ ปได้ก็จะไม่มีการแผ่ความร้อนลงมาสู่ส่วนต่อไป ส่วนปั ญหาความร้อน จากดวงอาทิ ต ย์ท่ี ส่อ งมาสู่พื น้ ที่ ตัว อาคารทางด้า นยาวนั้น ยัง สามารถใช้ต ้น ไม้ใ หญ่ ช่ ว ยบัง ได้เ มื่ อ พิ จ ารณาแล้ว สถาปนิ ก คิ ด ว่า การท�ำ เช่ น นี ส้ ามารถแก้ปั ญ หาได้ดี ก ว่า๓

แม้มิได้เป็ นการออกแบบในแนวทางสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นในภาคอีสาน แต่การออกแบบอุโบสถ วัดญาณเวศกวันท�ำให้เห็นแนวทางสร้างสรรค์ในการออกแบบรุ ปทรงของอาคารทางศาสนาที่มีความเรียบ ง่ายในปั จบุ นั ๒ ศุภวัฒ หิรญ ั ธนวิวัฒน์, “การศึกษาเเนวทางการออกแบบพุทธศิลป์ สถาปั ตยกรรมไทย รัชกาลที่ ๙,” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,คณะสถาปั ตยรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐), ๔๔. ๓ เรือ่ งเดียวกัน, ๔๕. ๑

46

รูปภาพที่ ๕.๐๔ ภาพสถาปั ตยกรรมและบรรยากาศภายในวัดญาณเวศกวัน


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

การเลือกทีต่ งั้ อาคาร การเลือกที่ตงั้ อาคารเป็ นแนวความคิดของทางวัด ซึง่ ก่อน หน้าที่จะสร้างอุโบสถทางวัดไม่มีท่ีดนิ แต่ตอ่ มาทางวัดได้ซอื ้ ที่เพิ่มเติมอีก ๔ ไร่ ทางด้านทิศ ตะวันตกของวัดอยูต่ ดิ กับสระน�ำ้ ๑ แผนผังอาคารกับหน้าทีใ่ ช้สอย อุโบสถนีม้ ีแผนผังเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าอาคาร วางไปตามแนวทิศเหนือ – ใต้ เป็ นอาคาร ๒ ชัน้ โดยชัน้ ล่างยกพืน้ ไม่สงู มากประมาณ ๑ เมตร มีลกั ษณะโล่งเสาลอยไม่มีผนัง ลมพัดผ่านได้สะดวก มีบนั ไดทางขึน้ สูพ่ ืน้ ชัน้ ล่างทาง ด้านข้าง ข้างละ ๒ ต�ำแหน่ง และมีบนั ไดขึน้ สูพ่ ืน้ ชัน้ บน ๒ ต�ำแหน่ง คือ บันไดทางขึน้ หลัก ทางด้านหน้า และบันไดทางด้านหลัง สาเหตุท่แี ยกทางขึน้ เนื่องจากผูอ้ อกแบบต้องการแยก ทางสัญจรระหว่างพระภิกษุสงฆ์กบั ฆราวาส ชัน้ ล่างใช้งานเอนกประสงค์ เช่น การเลีย้ งพระ หรือใช้เป็ นที่อบรมพระภิกษุสงฆ์ แผนผังชัน้ บนเป็ นห้องสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบ่งได้ ๕ ช่วงเสา ห้องพระพุทธรูปประธาน ย่อเป็ นมุขออกไปทางด้านหลังมีระเบียงโดยรอบ ภายในห้องใช้ เป็ นที่ทำ� สังฆกรรม ส่วนบริเวณระเบียงโดยรอบใช้เป็ นที่เดินทักษิณาวรรต หรือเดินจงกลม เป็ นการผ่อนคลายหลังจากการนั่งสมาธิ รู ปแบบสถาปั ตยกรรม รู ปแบบสถาปั ตยกรรมโดยรวมเป็ นแบบประยุกต์เน้น ความเรียบง่ายและประหยัดเป็ นหลักส่งผลให้รูปแบบของอาคารมีลกั ษณะ ดังนี ้ ชัน้ ล่างยกพืน้ ให้สงู ขึน้ เป็ นลักษณะใต้ถนุ แบบนีเ้ พื่อต้องการให้มีความโปร่ง และ โล่งท�ำให้เกิดที่วา่ ง (space) ในระดับสายตาสามารถมองทะลุผา่ น บันไดทางขึน้ มีลกั ษณะ เรียบง่าย พนักบันไดเจาะเป็ นช่องสี่เหลี่ยม ชัน้ บนมีเสาลอยรับหลังคา มุขทางด้านหน้าและ ด้านหลังเป็ นเสากลม ซุม้ ประตูและซุม้ หน้าต่างเป็ นลักษณะที่ออกแบบขึน้ ใหม่โดยดัดแปลง มาจากรูปทรงของสายบัว ๓ สายสื่อความหมายถึงการบูชา บานประตู - หน้าต่างเป็ นบาน ไม้ลกู ฟั กกระจก หลังคามี ๒ ซ้อน ซ้อนบนมี ๒ ตับ ซ้อนล่างมี ๑ ตับ ตับหลังคาทัง้ ๒ ซ้อน ไม่ได้ออกแบบให้มคี วามสัมพันธ์กนั ในเรือ่ งของขนาดเพราะเน้นเนือ้ ที่ใช้สอยมากกว่าคุณค่า ของสัดส่วน

รูปภาพที่ ๕.๐๕ ผังวัดและรูปด้านอุโบสถ วัดญาณเวศกวัน

ศุภวัฒ หิรญ ั ธนวิวัฒน์, “การศึกษาเเนวทางการออกแบบพุทธศิลป์ สถาปั ตยกรรมไทย รัชกาลที่ ๙,” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสถาปั ตยรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐), ๔๔. ๑

47


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๕.๓.๒ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก๑ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร ทีต่ งั้ ของวัด เลขที่ ๙๙๙ พระราม ๙ ที่ ๑๙ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ปี ทีส่ ร้าง พ.ศ. ๒๕๔๒ สถาปนิก นาวาอากาศเอกอาวุธ เงินชูกลิ่น ประวัตคิ วามเป็ นมาของวัดและสถาปั ตยกรรมทีท่ ำ� การศึกษา มูลเหตุในการสร้างพระอุโบสถหลังนีแ้ รกเริม่ การออกแบบอุโบสถ นาวาอากาศเอก อาวุธ เงินชูกลิ่น ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านสถาปั ตยกรรมสถาปนิก ๑๐ กรมศิลปากร (อดีต อธิบดีกรมศิลปากร) ผูอ้ อกแบบสถาปั ตยกรรมในวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกได้นำ� แบบ พระอุโบสถซึง่ มีขนาดความจุประมาณคน ได้ ๑๐๐ คน ขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั ทอดพระเนตร ทรงมีพระราชวินิจฉัยให้ย่อลงให้มีขนาดกะทัดรัดสอดคล้อง กับลักษณะของชุมชน ด้วยไม่โปรดสิ่งที่ใหญ่โตเกินความจ�ำเป็ น มีพระราชประสงค์ให้วดั นีเ้ ป็ นวัดของชุมชนพระราม ๙ เพื่อใช้ในประกอบศาสนกิจเหล่านีช้ ีใ้ ห้เห็นพระราชนิยมที่ ประหยัดเรียบง่าย เน้นเพียงการใช้ประโยชน์สงู สุดเป็ นส�ำคัญ เพื่อให้เป็ นตัวอย่างการสร้าง วัดให้เหมาะสมกับขนาดชุมชนอีกด้วย แนวความคิดในการออกแบบ เนื่องจากจ�ำเป็ นต้องออกแบบอุโบสถ ภายใต้ขอ้ จ�ำกัดทางงบประมาณจึงต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ในการใช้สอยอาคารอย่างคุม้ ค่า อุโบสถ มีขนาดไม่ใหญ่นกั เพียงพอต่อจ�ำนวนพระภิกษุสงฆ์รว่ มท�ำสังฆกรรมตามพระวินยั วัสดุ ก่อสร้างทัง้ หมดเป็ นของที่ผลิตในประเทศส่วนรู ปแบบทางศิลปกรรมเป็ นการผสมผสาน รู ปแบบสถาปั ตยกรรมไทยกับสถาปั ตยกรรมร่วมสมัยเน้นความเป็ นเฉพาะในแบบอย่าง สถาปั ตยกรรมปั จจุบนั โดยได้ตน้ เค้าจาก๒ - พระอุโบสถวัดราชาธิวาส จ.กรุงเทพมหานคร เช่น รูปทรงของเสาพระอุโบสถ - พระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย ์ จ.นครปฐม เช่น ความเรียบง่ายและมุขประเจิดใต้ข่ือก่อทึบ - พระอุโบสถวัดเฉลิมพระเกียรติ จ.นนทบุรี ซึง่ เป็ นต้นแบบในการผูกลายปูนปั้ นประดับหน้าบัน

การเลือกทีต่ งั้ อาคาร เนื่องจากเป็ นวัดที่สร้างใหม่และอาคารแต่ละหลังสร้างขึน้ ในระยะเวลาใกล้เคียงกันจึงเป็ นการวางผังรวมไว้ตงั้ แต่แรกอาคารทัง้ หมดในวัดมีอโุ บสถ เป็ นประธานตัง้ อยูต่ ดิ เขตวัดด้านทิศตะวันตกเว้นพืน้ ที่กว้างโดยรอบ

แม้มิได้เป็ นการออกแบบในแนวทางสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นในภาคอีสาน แต่การออกแบบอุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ให้เห็นแนวทางสร้างสรรค์ในการออกแบบรุปทรงของอาคารทางศาสนาที่มีความเรียบ ง่ายและมีการออกแบบผังให้มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตในปั จจุบนั เช่น การมีพืน้ ที่สำ� หรับเรียนรูก้ ารบ�ำบัด น�ำ้ ตามศาสตร์พระราชา เป็ นต้น ๒ ศุภวัฒ หิรญ ั ธนวิวัฒน์, “การศึกษาเเนวทางการออกแบบพุทธศิลป์ สถาปั ตยกรรมไทย รัชกาลที่ ๙,” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสถาปั ตยรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐), ๘๐. ๑

48

รูปภาพที่ ๕.๐๖ ภาพสถาปั ตยกรรมและบรรยากาศภายในวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

แผนผังอาคารกับหน้าทีใ่ ช้สอย แผนผังเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า อาคารวางในแนว ทิศตะวันออก - ตะวันตก เป็ นอาคารชัน้ เดียว ยกพืน้ สูงจากระดับดินประมาณ ๑.๐๐ เมตร มีบนั ไดทางขึน้ ๒ ทาง คือ ด้านหน้าและด้านหลัง แต่ทางด้านหลังเข้าสูภ่ ายในอาคารไม่ได้ อุโบสถแบ่งเป็ น ๕ ห้อง มีมขุ โถงทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง ไม่มีเสาใน ลานประทักษิณโดย รอบประกอบด้วยก�ำแพงแก้วซึง่ แบ่งออกเป็ นช่วง ๆ เพื่อความประหยัดแต่ยงั คงบ่งบอกถึง ขอบเขตได้อย่างชัดเจน รู ปแบบสถาปั ตยกรรม เนื่องจากอุโบสถมีขนาดค่อนข้างเล็ก และแนวความ คิดหลักต้องการให้ประหยัด และเรียบง่าย ฐานอาคารยกพืน้ ระดับเดียวกันรอบอาคาร ผนังอาคารตัง้ ตรง เสาเป็ นเสาสี่เหลี่ยมไม่ยอ่ มุมหัวเสา และฐานเสามีรูปแบบคล้ายกับเสา ของพระอุโบสถวัดราชาธิวาส ซุม้ ประตูและซุม้ หน้าต่างเป็ นคิว้ บัวคล้ายกรอบเช็ดหน้าของ เรือนไทย ส่วนตัวบานเป็ นกระจกกรอบอลูมิเนียม หลังคาเป็ นทรงจั่วไม่ซอ้ นชัน้ หลังคา ประกอบด้วย ตับหลังคาประธานและชัน้ กันสาด ยื่นมุขประเจิดใต้ข่ือก่อทึบ ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์และหน้าบัน ใช้เทคนิควิธีการปั้ นปูนสดแบบโบราณ เป็ นลวดลายดอกพุดตานเป็ น สีขาวไม่ปิดทอง และประดับกระจกยกเว้นที่บริเวณตราพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์ รัชกาลที่ ๙ บนหน้าบัน ที่ปิดทองเพื่อเน้นความส�ำคัญ๒

รูปภาพที่ ๕.๐๗ ผังวัดและรูปด้านอุโบสถ วัดพระราม ๙ กาญจณาภิเษก ศุภวัฒ หิรญ ั ธนวิวฒ ั น์, “การศึกษาเเนวทางการออกแบบพุทธศิลป์ สถาปั ตยกรรมไทย รัชกาลที่ ๙,” ด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสถาปั ตยรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐), ๘๐. ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๘๑. ๑

49


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

กรณีศกึ ษา

แนวคิดในการออกแบบสถาปั ตยกรรม

วิธีการออกแบบสภาพแวดล้อม

วัดอรัญวาสี จังหวัดหนองคาย

สถาปนิกได้คำ� นึงถึงลักษณะของอาคารในท้องถิ่นเป็ นหลักโดยท�ำการศึกษาสิมอีสาน แต่ได้เปลี่ยนวัสดุมาใช้ - สร้างบรรยากาศความสงบร่มรืน่ อาคารส่วนใหญ่ไม่สงู เกินระดับยอดไม้ คอนกรีตเสริมเหล็กทัง้ หมดเพื่อให้เหมาะสมกับเทคโนโลยีการก่อสร้างในปั จจุบนั และได้ลดทอนรายละเอียด - ปลูกต้นไม้ท่ีมีลกั ษณะสูงโปร่ง ปูพืน้ ด้วยทรายละเอียด ท�ำให้พืน้ ที่สว่าง สงบ เหมาะเเก่การ ให้รูปแบบมีความเหมาะสมกับธรรมชาติของคอนกรีตเสริมเหล็ก ปฏิบตั ิ

วัดป่ ารัตนวัน จังหวัดนครราชสีมา

สถาปนิกต้องการออกแบบอุโบสถ ซึง่ ได้รบั แรงบัลดาลใจจากสถาปั ตยกรรมท้องถิ่นอีสาน เพื่อสร้างเนือ้ หาที่ - สร้างบรรยากาศความร่มรืน่ ด้วยสระน�ำ้ ขนาดใหญ่ เกี่ยวเนื่องกับคณะสงฆ์สายวัดหนองป่ าพง ซึง่ เป็ นป่ าวัดป่ าในภาคอีสาน เเละเนื่องจากเป็ นอาคารขนาดใหญ่ - บริเวณทางเข้าเป็ นวงเวียนต้นโพธิ์ เพื่อชลอการเข้าถึงและสร้างการเปลี่ยนผ่านของมุมมอง จึงออกแบบให้เป็ นอาคารโถง ลดความทึบตันและท�ำให้เกิดการระบายอากาศได้ดี การเข้าถึง

วัดญาณเวศกวัน จังหวัดนครปฐม

แนวความคิดหลัก คือ สะอาด สว่าง สงบ - รูปทรงอาคาร มีความเรียบง่าย ลดทอนลวดลาย ไม่มีชอ่ ฟ้า ใบระกา - ออกแบบอาคารที่คำ� นึงถึงสภาพเเวดล้อม เช่น มีการยกใต้ถสุ งู หรือความคิดในการระบายอากาศใต้ หลังคา ภายใต้ขอ้ จ�ำกัดทางงบประมาณจึงต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ในการใช้สอยอาคารอย่างคุม้ ค่า - อาคารเล็กกระทัดรัด พอดี เรียบง่าย - ลดทอนรายละเอียดของลวดลายประดับ คงไว้เฉพาะส่วนส�ำคัญ เช่น หน้าบันใช้ส่อื ความหมาย

วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก จังหวัดกรุ งเทพมหานคร

- สร้างบรรยากาศความสงบร่มรืน่ ด้วยสัดส่วนของพืน้ ที่สีเขียวที่มากกว่าตัวอาคาร - ใช้อโุ มงค์ตน้ ไม้เพื่อเน้นน�ำการเข้าถึง -แบ่งเขตการใช้งานของฆราวาส และสังฆาวาส ด้วยแนวสระน�ำ้ - การใช้พืน้ ที่อย่างจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์ เช่น กิจกรรมตลาดนัด ที่ทำ� ให้คนเข้ามาวัดมากขึน้ - สร้างบรรยากาศความร่มรืน่ ด้วยสระน�ำ้ ที่เป็ นทัง้ เเหล่งเรียนรูใ้ นการบ�ำบัดน�ำ้ ด้วยวิธี ธรรมชาติ - แบ่งเขตการใช้งานของฆราวาส และสังฆาวาส ด้วยแนวต้นไม้เเละระยะการเข้าถึง

ตารางที่ ๕.๐๒ สรุปแนวความคิดในการออกแบบสถาปั ตยกรรม และวิธีการออกแบบสภาพแวดล้อมของทัง้ ๔ กรณีศกึ ษา

50


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๐๖ การออกแบบ ๖.๑ แนวความคิดในการออกแบบ

เป้ าหมายส�ำคัญของโครงการ

แนวความคิดในการออกแบบ

ทีม่ าของเเนวคิด

การออกแบบผัง ฟื ้ นฟูให้วดั ด้ามพร้ากลับมาเป็ นจิต “เป็ นวัดที่สงบ เรียบร้อย สมกับเป็ นศูนย์รวม - เกิ ด จากการศึก ษาปั ญ หาในการจัด การผัง วัด ด้า มพร้า และ วิญญาณของชุมชนอย่างที่เคยเป็ น จิตใจของชุมชน” วิเคราะห์หาแนวทางที่เหมาะสมในการออกแบบผังวัดเพื่อให้เกิด มาในอดีต ภายใต้ตวั เเปร เงื่อนไข ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย มีความสงบ อย่างใหม่ของวิถีชีวิตของสังคมใน ปั จบุ นั

กายภาพในการออกแบบสถาปั ตยกรรม ๑. เชื่อมโยงพืน้ ที่ทางจิตวิญญาณ วัด เเละชุมชน เข้าไว้ดว้ ยกัน ด้วยลานกิจกรรม เส้นทางสัญจร และก�ำหนด ให้มีพืน้ ที่เรียนรู ้ เช่น การมีพิพิธภัณฑ์พืน้ ถิ่นของชุมชน ๒. ให้ความส�ำคัญในการรับรู ้ เพื่อล�ำดับความส�ำคัญของเนือ้ หาสาระ และก�ำหนดการใช้สอย พืน้ ที่เพื่อให้เกิด ความส�ำรวมระวัง ไม่สบั สนด้วยการจัดการการสัญจร แบ่งเขตพืน้ ที่ (zoning) ในวัด ๓. สร้างบรรยากาศความเป็ นวัดในท้องถิ่นอีสาน ด้วยพรรณไม้ทอ้ งถิ่น และลานส�ำหรับงานบุญ

การออกแบบวิหาร ฟื ้ นฟูให้วดั ด้ามพร้ากลับมาเป็ นจิต - มีความเรียบง่าย ให้ความรูส้ กึ สงบ วิญญาณของชุมชนอย่างที่เคยเป็ น - มีเอกลักษณ์เป็ นศาสนาคาร มาในอดีต ภายใต้ตวั เเปร เงื่อนไข ในพืน้ ถิ่นอีสาน อย่างใหม่ของวิถีชีวิตของสังคมใน ปั จบุ นั

- ศึกษาสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสาน ถอดสาระส�ำคัญเพื่อมาใช้ใน ๑. แสดงออกด้วย รูปทรงอาคารและทีว่ า่ งในการใช้งาน และสอดคล้องวิถชี วี ติ สภาพสังคมวัฒนธรรม การออกแบบ ๒. การออกแบบในความตระหนักถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นและแรงบันดาลใจในสถาปั ตยกรรมโบราณ หรือลักษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เช่น เงื่อนไขของวัสดุ สภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ เป็ นต้น ๓. การใช้วสั ดุ โดยเลือกใช้ให้ถกู ต้องตามกาละเทศะและส่งเสริมบรรยากาศความสงบ เรียบง่าย

ตารางที่ ๖.๐๑ สรุปแนวความคิดในการออกแบบผังและวิหารวัดด้ามพร้า

51


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๖.๒ กระบวนการการออกแบบ

รูปภาพที่ ๖.๐๑ ผูป้ กครองพากลุม่ เด็ก ๆ มาชีใ้ ห้ดตู ำ� แหน่งที่ตงั้ ของสิมเก่าวัดด้ามพร้า

รูปภาพที่ ๖.๐๒ น�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษา ไปปรึกษากับผูร้ ูใ้ นชุมชน

รูปภาพที่ ๖.๐๓ ท�ำการออกแบบอย่างมีสว่ นร่วม รับฟั งความคิดเห็นจากชาวบ้าน

การออกแบบกระบวนการท�ำงาน ได้ให้ความส�ำคัญ ในการลงพืน้ ที่ศกึ ษาข้อมูล ปรึกษาและออกแบบกระบวนการ การมี ส่ ว นร่ว มกับ คนในพื น้ ที่ เพื่ อ ให้ไ ด้ข ้อ มูล ที่ ค รบถ้ว น ถูกต้องและเข้าใจบริบทวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนในพืน้ ที่ น�ำไปสู่กระบวนการการออกแบบผังวัดและวิหาร ที่เกิดจาก ความเข้าใจคุณค่าของวัฒนธรรมพืน้ ถิ่น และสอดคล้องกับ วัตรปฏิ บัติข องพระภิ ก ษุ ส งฆ์ และวิถีชีวิต ของชาวบ้านใน ปั จจุบนั

รูปภาพที่ ๖.๐๔ ภาพแนวความความคิดเรือ่ งการมองภาพกว้าง ทัง้ ชุมชน

52

รูปภาพที่ ๖๐๕ ภาพเเนวความคิดการฟื ้ นฟูวดั ด้ามพร้าสูก่ ารเป็ นศูนย์รวมใจของชุมชน ด้วยการออกแบบวิหารไปพร้อมกับการออกแบบผัง


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๐๖ ภาพแผนภูมิแนวความคิดในการออกแบบกิจกรรม

53


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๐๗ ภาพเครือ่ งมือที่ใช้ในการออกแบบผัง

54

รูปภาพที่ ๖.๐๘ ภาพร่างการจัดผังเพื่อให้มีทางเลือกที่หลากหลาย โดยค�ำนึงถึงทางเข้าถึงส�ำคัญ การก�ำหนดต�ำเเหน่งที่ตงั้ ของอาคารส�ำคัญที่แสดงออกถึงพืน้ ที่ท่ีเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน และความเป็ นสัดส่วนของพืน้ ที่การใช้งาน เพื่อแก้ไขปั ญหาการแบ่งพืน้ ที่ใช้สอย (Zoning) ของวัด ที่เกิดความทับซ้อนของการใช้งานระหว่างส่วนของพุทธศาสนิกชนและส่วนสังฆาวาส ท�ำให้เกิดความพลุกพล่าน ขาดความสงบ รบกวนวัตรปฏิบตั ิของพระสงฆ์


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

N

รูปภาพที่ ๖.๐๙ รูปด้านยาวตามเเนวเเกน

รูปภาพที่ ๖.๑๐ แกนส�ำคัญด้านทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

การออกแบบผังวัดด้ามพร้า ได้มีการก�ำหนดแนว แกนขึน้ โดยเกิดจากแนวคิดดังต่อไปนี ้ ๑. เพื่ อ เชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์ข องชุ ม ชน ด้ามพร้าทัง้ สองฝั่ งโดยมีวัดเป็ นศูนย์กลางของชุมชน ในการออกแบบได้ใ ห้ค วามส�ำ คัญ ทั้ง สองด้า น เพราะเป็ นทางที่จะเชื่อมโยงคนในชุมชนทัง้ สองฝั่ งของวัด และเมื่ อ พิ จ ารณากายภาพของวัด ในปั จุบัน จ�ำ นวนคน ส่วนมากที่จะเดินทางมาที่วดั จะเข้ามาทางทิศตะวันตก และอนาคตจะมีมากขึน้ ท�ำให้เป็ นทางเข้าถึงวัดที่สำ� คัญ จึงได้กำ� หนดแนวเเกน จากการวางผังให้อาคารส�ำคัญของวัด ที่จะสร้างขึน้ ใหม่ คือ วิหาร วางตามเเนวเดียวกับอุโบสถ และหันด้านหน้าวิหารมาด้านทิศตะวันตกเพื่อสอดรับกับ การเข้า ถึง อัน ใหม่ โดยมี พื น้ ที่ ร ะหว่า งอุโ บสถและวิ ห าร เป็ นลานที่ คนในชุมชนจะมาร่วมกันก่อเจดียท์ รายในวัน สงกรานต์ เป็ นสัญลักษณ์ของความร่วมแรงร่วมใจ โดยมี วัดเป็ นศูนย์กลางของผูค้ นทัง้ สองฝั่ งเป็ นไปตามเป้าหมาย ในการออกแบบ (ตารางที่ ๖.๐๑) ๒. เพื่อสร้างจุดหมายตาในการเข้าถึงอาคาร ส�ำคัญทางศาสนา ในการออกแบบสถาปั ต กรรมในพุ ท ธศาสนา ผูอ้ อกแบบเห็นว่า แนวเเกน และระยะการเข้าถึงมี ความ ส�ำ คัญ ต่ อ วิ ห ารมาก เนื่ อ งจากการก�ำ หนดให้ก ารเข้า ถึ ง ที่ ส ามารถมองเห็ น วิ ห ารจากทางเข้า เเสดงออกถึง ความ มุ่งตรงไปที่เป้าหมายในการบูชาเป็ นเเนวเดียว ไม่เกิดความ สับ สน เเนวคิ ด นี เ้ กิ ด จากการท�ำ ความเข้า ใจชุม ชนที่ เ ริ่ม ขยายตัว และประเมินถึงจ�ำนวนคนที่จะเข้ามาวัดมากขึน้ จึงต้องหาแนวทางในการออกแบบ เพื่อให้ยงั คงความเป็ นวัด ที่รกั ษาไว้ซ่ึงความสงบ เป็ นระเบียบ เป็ นสัดส่วนภายในวัด และเพื่ อ สอดคล้อ งกับ วิ ถี ชี วิ ต ในปั จ จุบัน ข้อ สัง เกตหนึ่ ง จากการศึกษาผังวัดโบราณในอีสาน พบการสร้างแนวแกน ได้นอ้ ย เนื่องจากเป็ นไปตามวิถีชีวิตของคนในชุมชนที่มีคน จ�ำนวนน้อย วิธีท่ใี ช้ในการออกแบบการเข้าถึงหรือการก�ำหนด ที่ ตั้ง อาคารส�ำ คัญ อย่า งโบสถ์แ ละวิ ห าร จึง แตกต่า งตาม เหตุปัจจัย ไม่ได้มีกฎเกณฑ์เพียงเเต่ไม่ให้ปะปนกับส่วนอื่นๆ 55


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

สาระส� ำ คั ญ ของวิ ห าร เนื่องด้วยเป็ นการออกแบบอาคาร ทางศาสนา จึง ต้อ งพิ จ ารณาการ ออกแบบมากกว่าเรื่องประโยชน์ใน การใช้สอย เพื่อให้รบั รู ถ้ ึงอารมณ์ ความรูส้ กึ ของอาคารในพุทธศาสนา ผ่านการแสดงออก ด้วยเส้น ระนาบ รูปทรง

รูปภาพที่ ๖.๑๑ แผนภาพอธิบายหน้าที่ สาระส�ำคัญของวิหาร

56


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๑๒ การศึกษาและวิเคราะห์เปรียบเทียบความเเตกต่างของเส้นจอมแหในสถาปั ตยกรรมล้านนาและสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสาน

- เส้นจอมแหหลังคาจั่ว ในสถาปั ตยกรรมล้านนา ที่ให้ความรู ส้ กึ ไม่ตอ่ เนื่อง อาจ เป็ นเพราะมีระยะตรงต�ำเเหน่งคอสองสูงมาก การวางหลังคาในเเต่ละตับจึงไม่แนบ กลืนเป็ นเส้นเดียวกัน

- เส้นจอมแหหลังคาจั่วในสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสานให้ความรูส้ กึ ต่อเนื่องกว่า เพราะการวาง ตับหลังคาในเเต่ละชัน้ ให้ความรูส้ กึ ประสานเป็ นเส้นเดียวกันมากกว่า

- เลือกออกแบบให้เส้นจอมแหที่ให้ความรูส้ กึ ต่อเนื่องเพื่อให้ได้ความ รูส้ กึ สงบนิ่ง อย่างอารมณ์สมาธิ

57


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๑๓ ภาพร่างแนวความคิด (Sketch) ในการออกแบบวิหารที่เกิดจากความประทับใจในรูปทรงพืน้ ถิ่นอีสาน

58


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๑๓ ภาพร่างแนวความคิด (Sketch) ในการออกแบบวิหารที่เกิดจากความประทับใจในรูปทรงพืน้ ถิ่นอีสาน

การศึกษาจากภาพร่างแนวความคิดพบว่า ผูอ้ อกแบบ มีความประทับใจใน เส้น รูปร่าง รูปทรง ที่ให้อารมณ์ความรูส้ กึ สงบ ตัง้ มั่น ในสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสาน

59


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

แบบจ�ำลองที่ ๑ ศึกษาอาคารทีม่ ลี กั ษณะมีมขุ หน้ามุขเดียว และซ้อนชัน้ ของตับหลังคา ๒ ชัน้ พบว่า รูปทรงของอาคารขาดความสมดุล จึงอาจจะต้องสร้างความสมดุลให้กบั อาคาร ด้วยการมีมขุ หลังเพื่อถ่วงดุลอาคารให้มีลกั ษณะสองด้านเท่ากัน

60

แบบจ�ำลองที่ ๒ ท�ำแบบจ�ำลองเพื่อสังเกตการซ้อนจั่วของอาคารที่มีมขุ พบว่า ลักษณะองศาจั่วของซ้อนที่ ๑ ควรจะมีองศาที่ปา้ นกว่าซ้อนที่ ๒ เพื่อไม่ให้เกิดอารมณ์ ของเส้นจอมแหที่รุนเเรงเกินไป และท�ำให้เกิดระยะที่พอดีตอ่ การปิ ดวัสดุมงุ

แบบจ�ำลองที่ ๒ ท�ำแบบจ�ำลองเพื่อแก้ปัญหาจากแบบจ�ำลองที่ ๑ ท�ำให้รูปทรงของอาคารเกิดความสมดุล แบบจ�ำลองนีไ้ ด้ทดลองเพิ่มให้มีพืน้ ที่ ใช้สอยภายในตามการใช้งาน พบว่า เมื่อมองอาคารจากด้านแปให้ความรูส้ กึ ว่า อาคารส่วนกลางมีความยาวมาก


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๑๔ รูปภาพเปรียบเทียบอาคารที่มีการเพิ่มการซ้อนของหลังคา เพิ่มระเบียงทางเดิน

61


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

แบบจ�ำลองที่ ๓ ศึกษาความสัมพันธ์ของต�ำแหน่งพระประธาน การใช้งาน ภายในโถงบูชา พบว่า การเลื่อนต�ำแหน่งพระประธานเข้ามาภายใน ท�ำให้สามารถเดิน ดูพระประธานได้โดยรอบ แต่ทำ� ให้เสียพืน้ ที่ใช้งานไปมาก การท�ำแบบจ�ำลองนีพ้ บว่ามุข หลังมีความน่าสนใจ จึงเกิดความคิดที่จะท�ำพืน้ ที่ภายในให้เชื่อมต่อกับมุขหลัง

62

แบบจ�ำลองที่ ๔ ท�ำแบบจ�ำลองเพื่อแก้ปัญหาที่พบจากแบบจ�ำลองที่ ๓ โดย ออกแบบให้มขุ หลังเชื่อมต่อกับพืน้ ที่ภายใน และย้ายต�ำแหน่งพระประธานมาไว้บริเวณ มุขหลัง ซึง่ เป็ นต�ำแหน่งที่สง่ เสริมพระประธาน ท�ำให้มขุ ด้านหลังมีความส�ำคัญมากขึน้ และเกิดพืน้ ที่ใช้สอยภายในอาคารมากขึน้

แบบจ�ำ ลองที่ ๓ มุ ม มองจากภายนอกด้า นหน้า วิ ห ารสู่ พระประธาน ถูกควบคุมมุมมองโดยใช้กรอบประตู ซึ่งก�ำหนดให้มีความ สัมพันธ์กบั สัดส่วนของพระประธาน


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

การท�ำแนวทางเลือกต่าง ๆ เพื่อ ศึกษาวิเคราะห์ เส้น ระนาบ รูปทรง ที่ตรงกับเป้าหมาย อารมณ์ความ รูส้ กึ ให้มากที่สดุ พบว่า ส่วนประดับต่าง ๆ มีสว่ น ช่วยให้รูปทรงสมบูรณ์ขึน้ มาก เช่น โฮงผึง้ ต�ำเเหน่งมุขหน้าอาคาร ท�ำให้ มุมมีความกลมกล่อมขึน้ ด้วยเส้นโค้ง

รูปภาพที่ ๖.๑๕ รูปภาพการพัฒนาการของรูปทรงในการออกแบบวิหาร

63


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๖.๓ ผลงานการออกแบบ และการวิเคราะห์ผังวัดด้ามพร้า

รูปภาพที่ ๖.๑๖ รูปถ่ายหุน่ จ�ำลอง (scale ๑:๑๒๕๐๐) แสดงต�ำแหน่งของวัดกับบริบทโดยรอบชุมชนในปั จจุบนั

64


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๑๗ รูปถ่ายหุน่ จ�ำลอง (scale ๑:๕๐๐) แสดงผังที่ออกแบบกับบริบทโดยรอบ

65


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

12

6

5

4

11

9

7

11

8 13

2

ซอยดอนยงู

ถนนชยางกูร

1

3

14

19

15

17 18 16

ซอยทงุ่ ขาม

66


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๖.๓.๑ การแบ่งส่วนการใช้พนื้ ทีภ่ ายในวัด แบ่งเป็ น ๓ ส่วนดังนี ้ ๑.๑ ส่ว นพุท ธาวาส สร้า งความสัม พัน ธ์ข องแนวทางเข้า วิ ห ารและอุโ บสถ ด้วยแนวแกนตะวันออก - ตะวันตก เพื่อเน้นน�ำความส�ำคัญของการบูชา ๑.๒ ส่วนสังฆาวาส ปรับให้ชิดก�ำแพงด้านทิศเหนือ และล�ำดับการเข้าถึงด้วยกิจกรรม การใช้งานอาคาร ๑.๓ ส่วนสาธาณะประโยชน์ แบ่งส่วนพืน้ ที่ให้อยู่ บริเวณชิดก�ำแพงด้านทิศใต้ ประกอบด้วย - พืน้ ที่เมรุ อาคารเอนกประสงค์ ปรับให้ชิดเเนวอาคารพาณิชย์ ท�ำให้เกิดลานโล่งเพื่อ รองรับกิจกรรมงานบุญส�ำคัญประจ�ำปี เพิ่มพืน้ ที่สเี ขียว สร้างความร่มรืน่ และเป็ นส่วนกัน้ ระหว่าง พืน้ ที่จอดรถ - พืน้ ที่เรียนรู ้ ประกอบด้วย อาคารปริยตั ธิ รรมชัน้ ล่าง ปรับเป็ นพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น โรงเกวียน สร้างความเกี่ยวเนื่องเรื่องเนือ้ หาการเรียนรู ้ สิมโบราณ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น โรงเกวียน ตามล�ำดับ และสร้างความเกี่ยวเนื่องต่อการเข้าถึง เนื่องจากพืน้ ที่ทิศตะวันออก เฉียงใต้ของวัดเป็ นเส้นทางการเข้าถึงของชุมชนทัง้ ในอดีตและปั จจุบนั

รูปภาพที่ ๖.๑๙ แผนภาพอธิบายการแบ่งส่วนการใช้พืน้ ที่ภายในวัด

67


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๖.๓.๒ ทางสัญจร ปรับให้มีทางเข้าหลักและทางเข้ารองที่ชดั เจน เพื่อให้สอดคล้องกับ พฤติกรรมการใช้งานของคนในชุมชน ประกอบไปด้วย ๓ เส้นทาง ดังนี ้ ๑. ทางเข้าหลัก (๑) ด้านทิศตะวันตก ถือเป็ นทางเข้าส�ำคัญเนื่องจากติดกับถนน ชยางกูร ๒. ทางเข้ารอง (๒) ด้านทิศใต้ รองรับผูท้ ม่ี าใช้พนื ้ ทีส่ ว่ นฆราวาส บริเวณเมรุ ศาลา เอนกประสงค์ และเป็ นเส้นทางการเข้าถึงของขบวนแห่ผา้ ผะเหวด ในงานบุญประจ�ำปี ๓. ทางเข้าย่อย ๒ ทาง คือ - ทางเข้าทางทิศตะวันออก (๓) เป็ นเส้นทางการเข้าถึงของคนในชุมชน ผ่านการ เดินเท้า และจักรยานยนต์ - ทางเข้าทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ (๔) เป็ นทางเข้าที่สมั พันธ์กบั พืน้ ที่เรียนรู ้ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ชมุ ชน เเละเป็ นทางเดินเข้ามายังของคนชุมชน ๖.๓.๓ ลาน/พืน้ ทีว่ ่างของวัด ๑. ลานด้านหน้าวิหาร (๕) มีความส�ำคัญต่อวิหารมาก เนื่องจากท�ำให้มีระยะใน การมองเห็นจึงจ�ำเป็ นต้องออกแบบที่วา่ งส�ำหรับเป็ นที่มอง โดยเริม่ ตัง้ แต่ประตูทางเข้าหลัก ที่ เ ชื่ อ มต่อ กับ ถนนชยางกูร มุม มองสายตาถูก บัง คับ ด้ว ยอาคารพาณิ ช ย์ทั้ง สองข้า ง เกิดเป็ นช่องว่างของทางเข้า การออกแบบให้เป็ นลานโล่งจึงท�ำให้บรรยากาศของการเข้าถึง มี ค วามผ่ อ นคลาย จากพื ้น ที่ ล านโล่ ง การเข้า ถึ ง วิ ห ารจะถู ก ออกแบบให้แ คบลง ด้วยแนวทางเดิน ซึ่งการบีบให้แคบลงนีเ้ ป็ นการสร้างคุณภาพการเข้าถึงให้เกิดความ ส�ำรวมรักษากิรยิ าอาการ ตามความต้องการให้เกิดความสงบ ควบคุมความพลุกพล่านรีบ ร้อน เกิดจิตใจที่ตงั้ มั่นเพื่อเข้าไปสักการะบูชาพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ของชุมชน นอกจากนี ้ พืน้ ที่ลานโล่งนี ้ ยังมีหน้าที่รองรับการจัดงานบุญประเพณีในช่วงงานบุญส�ำคัญของวัด ๒. ลานตรงกลางระหว่างวิหารและอุโบสถ (๖) ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างความ สัมพันธ์ของระยะห่างระหว่างอาคารทั้งสองหลัง และออกแบบที่ ว่างที่ สัมพันธ์กับการ เข้าถึงผังรวม เป็ นลานที่เชื่อมทางเดินไปยังส่วนสังฆาวาสทางทิศเหนือ และประตูทาง เข้า ทางทิ ศ ใต้ หากมองตามแนวแกนทั้ง สองลานโล่ง จึง เหมื อ นพื น้ ที่ ท่ี เ ป็ น จุด กึ่ง กลาง ของวัด การมีแกนรองด้านเหนือ - ใต้ ส่งเสริมให้แกนหลักมีคณ ุ ภาพมากขึน้ ลานตรงกลาง เป็ น พื ้น ที่ ส ำ� หรับ งานบุ ญ ประเพณี ท่ี มี ม าแต่ อ ดี ต เช่ น การก่ อ เจดี ย ์ท ราย เป็ น ลาน ที่ ส ร้า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ขบวนแห่ ผ ้ า ผะเหวด ที่ จ ะเข้ า มาทางด้ า นทิ ศ ใต้ ข องวั ด

68

รูปภาพที่ ๖.๒๐ แผนภาพอธิบายต�ำแหน่งการสัญจร และพืน้ ที่กิจกรรม


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

การออกแบบสภาพแวดล้อมโดยค�ำนึงถึงสภาพ ภูมิวฒ ั นธรรม มีเเนวคิดในการออกแบบ ดังนี ้ ๑. ค�ำนึงถึงประเภทของต้นไม้กบั ความสอดคล้อง กับกิจกรรมที่เกิดขัน้ ในบริเวณนัน้ ๆ เช่น สวนกล้วย สวนผัก (๕) อยูใ่ กล้กบั ครัว ต้นยางบง (๑๔) หรือไม้ทำ� เกวียนอยูใ่ กล้ กับโรงเกวียน เป็ นต้น ๒ . ค� ำ นึ ง ถึ ง ทั ศ นี ย ภ า พ ห รื อ ช่ ว ย ส่ ง เ ส ริ ม สถาปั ตยกรรม เช่น ปลูกต้นไม้เป็ นเเนวบริเวณทางเข้า (๑) การสร้า งฉากหลัง ของวิ ห ารและโบสถ์ด ้ว ยเส้น ตั้ง จาก ต้นหมาก (๗) เป็ นต้น ๓. ค�ำนึงถึงการสร้างบรรยากาศหรือส่งเสริมพืน้ ที่ นั้นๆ เช่น บริเวณสิมเก่า ปลูกไม้ยางนา (๓) ที่มีลำ� ต้น โปร่งและสูง ส่งเสริมบรรยากาศเก่าเเก่ มีประวัติศาสตร์ ปลูกต้นพุดป่ า (๘) เพื่อแบ่งเขตสังฆาวาส ซึ่งเป็ นส่วนที่ ต้องการความสงบ ไม่พลุกพล่าน เป็ นต้น

รูปภาพที่ ๖.๒๑ แผนภาพการออกแบบสภาพแวดล้อม

69


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

การออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับกิจกรรมงานบุญส�ำคัญทีเ่ กิดขึน้ งานบุญสมโภชพระพุทธรู ป เป็ น งานบุญ ส�ำ คัญ ที่ ร วมผู้ค นจากหลายชุม ชน มาร่วมงานบุญครัง้ นี ้ เพราะพระพุทธโบราณเป็ นศูนย์รวม จิตใจของคนในเเต่ละชุมชนไว้ดว้ ยกัน และเป็ นโอกาสที่ คนในชุมชนจะมาร่วมกันสวดมนต์ขา้ มปี จัดงานในช่วง วันที่ ๓๑ ธันวาคม ของทุกปี เดิมใช้พืน้ ที่บริเวณ อาคารศาลานาบุญในการนั่ง สวดมนต์ตลอดทัง้ คืน ปั ญหาที่พบ คือ เรื่องความเหมาะสมของพืน้ ที่ใน การจัดงานเพราะบริเวณอาคารศาลานาบุญอยู่ติดกับเมรุ ท�ำให้ไม่สามารถขยายพืน้ ที่กิจกรรมออกไปได้ ในขณะที่การออกแบบและปรับปรุงผังใหม่นี ้ ได้มี การแก้ปัญหา โดยก�ำหนดให้กจิ งานบุญสมโภชมาจัดบริเวณ ที่เหมาะสม คือ วิหารและลานรอบวิหาร ซึง่ สามารถรองรับ ผูค้ นที่มาสวดมนต์ได้อย่างเพียงพอ อีกทัง้ ยังเป็ นบริเวณที่ เป็ นศูนย์กลางวัด ซึง่ แสดงออกถึงพืน้ ที่ท่ีเป็ นศูนย์รวมจิตใจ ของคนในชุมชน ภายในวิหาร ออกแบบให้มีระยะห่างของฆราวาส ที่มาสวดมนต์กบั บริเวณอาสนะสงฆ์ (๒) ที่เป็ นที่ตงั้ ของพิธี ลานรอบวิหารก�ำหนดเป็ นที่น่ งั สวดมนต์ (๔) โดยค�ำนึงถึงระยะห่างระหว่างอาคาร และเผื่อพืน้ ที่สำ� หรับ การสัญจรที่จะไม่รบกวนความสงบขณะสวดมนต์

รูปภาพที่ ๖.๒๒ แนวทางการออกแบบพืน้ ที่เพื่อรองรับงานบุญวันสมโภชพระพุทธรูป 70


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๒๓ บรรยากาศวันสมโภชพระพุทธรูป

71


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

การออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับกิจกรรมงานบุญส�ำคัญทีเ่ กิดขึน้ งานบุญสงกรานต์ เป็ นงานบุญที่เหมือนการรวมญาติของคนชุมชน เพราะไม่ว่าลูกหลานจะท�ำงานอยู่ท่ี ใดก็ จะกลับบ้านมา ภายในช่วงนี ้ และได้สรงน�ำ้ พระพุทธรูป พระภิกษุสงฆ์เพื่อ เป็ นการบูชา และขอขมาลาโทษ ซึง่ แสดงออกถึงความเคารพ นอบน้อม ภายในงานมีงานก่อประทาย (ก่อกองทรายโดย การขนทรายเข้าวัด) ตกแต่งเป็ นพระเจดียท์ ราย เพื่อส�ำนึก ว่าเวลาเข้าวัดแล้วได้เหยียบย�่ำเอาทรายในวัดออกไปด้วย เมื่อครบรอบปี ก็ควรขนทรายกลับเข้ามาคืนวัด จัดงานในช่วง วันที่ ๑๔ เดือน เมษายนต์ ของทุกปี โดยแต่เดิมการสรงน�ำ้ พระพุทธรู ป และพระสงฆ์ มักจะใช้พนื ้ ที่บริเวณหลังอุโบสถ และก่อเจดียท์ รายโดยรอบ อุโบสถ ในขณะที่การออกแบบและปรับปรุงผังใหม่นี ้ เพื่อ ให้กิจกรรมในงานบุญสงกรานต์ดำ� เนินไปด้วยความเป็ น ระเบียบเรียบร้อย และสร้างพืน้ ที่ท่ีเกิดจากความร่วมแรง ร่วมใจของคนในชุมชน จึงได้ออกแบบดังต่อไปนี ้ พื ้น ที่ ว่ า งที่ เ กิ ด จากการก�ำ หนดระยะห่ า งของ ต�ำเเหน่งวิหารและอุโบสถ ออกแบบเป็ นลานทรายส�ำหรับ ก่อเจดียท์ รายประธาน (๑) เพื่อให้เจดียเ์ ป็ นสัญลักษณ์ของ การเชื่อมความสัมพันธ์ของชุมชนด้ามพร้าทัง้ สองฝั่ ง โดย มีเจดียท์ รายประธานที่ก่อขึน้ จากความร่วมมือร่วมใจของ คนในชุมชน ด้า นหน้า เจดี ย ์ท รายประธาน ก�ำ หนดให้ว าง ต�ำแหน่งที่ตงั้ ของพระพุทธรู ป (๒) ด้านหน้าของพระพุทธ รูปเป็ นที่ตงั้ ของอาสนะสงฆ์ (๕) ทัง้ นีเ้ พื่อจะได้จดั ล�ำดับใน การสรงน�ำ้ เพื่อให้เกิดความเป็ นระเบียบเรียบร้อย โดยเริ่ม จากการสรงน�ำ้ พระพุทธรูปก่อน แล้วจึงสรงน�ำ้ พระภิกษุสงฆ์ ตามล�ำดับ

รูปภาพที่ ๖.๒๔ แนวทางการออกแบบพืน้ ที่เพื่อรองรับงานบุญวันสงกรานต์ 72


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๒๕ บรรยากาศงานบุญสงกรานต์

73


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

การออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับกิจกรรมงานบุญส�ำคัญทีเ่ กิดขึน้ งานบุญผะเหวด ถื อ เ ป็ น ง า น บุ ญ ใ ห ญ่ ข อ ง ชุ ม ช น ด้ า ม พ ร้ า ค�ำว่า “ผะเหวด” หมายถึง “พระเวสสันดร” ในงานมีการฟั ง เทศน์มหาชาติ และมีการแห่ผา้ ผะเหวด จัดงานในช่วง เดือนมีนาคม ของทุกปี กิจกรรมประกอบด้วย การจัดขบวนแห่ผะเหวดจาก ป่ าดอนปู่ ตามาสูว่ ดั เมื่อขบวนแห่ผะเหวดเข้าสูว่ ดั ในทางเข้า ทางทิศใต้ ขบวนเเห่ก็จะเวียนรอบอุโบสถ ๓ รอบ แล้วจึงท�ำ กิจกรรมฟั งเทศน์มหาชาติบริเวณอาคารศาลานาบุญ ปั ญหาที่พบ คือ เรื่องความเหมาะสมของพืน้ ที่ใน การจัดงานเพราะบริเวณอาคารศาลานาบุญอยู่ติดกับเมรุ ในช่วงงานบุญจึงต้องขึงผ้าบังส่วนของเมรุ ในขณะที่การออกแบบและปรับปรุ งผังใหม่นีไ้ ด้มี การแก้ปัญหา โดยก�ำหนดให้กจิ กรรมงานบุญมาจัดบริเวณที่ เหมาะสม คือ วิหารและลานรอบวิหาร ค�ำนึงถึงการออกแบบ ที่สง่ เสริมกิจกรรมในแต่ละช่วงของงานบุญ ก�ำ หนดให้วิ ห ารมี ต ำ� แหน่ ง อยู่บ ริ เ วณกลางผัง เพื่ อ เเสดงออกถึ ง ความส�ำ คัญ ของวิ ห ารที่ เ ป็ น ศูน ย์ร วม จิตใจของชุมชน และสร้างความต่อเนื่องของกิจกรรม คือ เมื่อขบวนแห่ผะเหวดเวียนรอบวิหารและอุโบสถเสร็จแล้ว จากนัน้ ขบวนก็จะได้เคลื่อนเข้าสูว่ หิ าร และได้ขงึ ผ้าผะเหวด (๔) ภายในวิหาร ออกแบบให้พืน้ ที่ลานรอบวิหารมีความกว้างเพียง พอที่จะรองรับขบวนแห่ผะเหวด (๕) โดยค�ำนึงถึงจ�ำนวน ผูค้ น และระยะห่างของผูท้ ่ีรว่ มขบวน ก�ำ หนดต�ำ แหน่ ง ที่ เ หมาะสมในการฟั ง เทศน์ มหาชาติภายในวิหาร เช่น ออกแบบพืน้ ที่ให้มีระยะห่าง ที่เหมาะสมระหว่างฆราวาสที่มาฟั งเทศน์กับธรรมมาสน์ เพื่อสร้างมณฑลพิธีและวางเครือ่ งประกอบพิธี เป็ นต้น

รูปภาพที่ ๖.๒๖ แนวทางการออกแบบพืน้ ที่เพื่อรองรับงานบุญผะเหวด 74


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๒๗ บรรยากาศงานบุญผะเหวด

75


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

พิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่ นมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาและ เผยแพร่ความรู ้ วัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชน ส�ำหรับบุคคล ทั่วไปที่สนใจ และโดยเฉพาะเยาวชนในพืน้ ที่ท่ีนอกจาก จะสร้างความรู ค้ วามเข้าใจแล้ว ยังสร้างความภูมิใจใน วัฒนธรรมของตนเองด้วย ในการก�ำ หนดต�ำ แหน่ ง ที่ ตั้ง จากการส�ำ รวจ พืน้ ที่วดั และชุมชนโดยรอบพบว่า พืน้ ที่ชนั้ ล่างของอาคาร พระปริยตั ิมีความเหมาะสมที่จะเป็ นพิพิธภัณฑ์ เนื่องจาก เป็ นพืน้ ที่ท่ีอยูใ่ กล้ทางสัญจรของคนในชุมชน (๑) ที่ใช้เป็ น ประจ�ำ และอยูใ่ กล้สมิ โบราณ (๒) ทัง้ นีเ้ ป็ นการสร้างพืน้ ที่ บริเวณนีใ้ ห้เป็ นพืน้ ที่เรียนรูอ้ ย่างสมประโยชน์ จึงได้ยา้ ยโรง เกวียน จากต�ำเเหน่งเดิมที่อยูด่ า้ นทิศใต้ใกล้ทางเข้า มาอยู่ ด้านในส่วนหลังอาคาร และสร้างทางเดินเป็ นพืน้ ที่เชื่อมต่อ ระหว่างสิม พิพิธภัณฑ์ และโรงเกวียน (ภาพที่ ๖.๓๒) เเนวคิดในการออกแบบ ค�ำนึงถึงการออกแบบ ที่ มี ค วามประหยัด และเป็ น ประโยชน์สูง สุด หมายถึ ง การออกแบบโดยใช้วสั ดุในท้องถิ่น และประหยัดพลังงาน โดยใช้พลังงานธรรมชาติให้มากที่สดุ พืน้ ที่สว่ นจัดแสดงเป็ นพืน้ ที่เปิ ดโล่ง โดยใช้ชอ่ งเปิ ด เป็ นบานเฟี ้ ยม สามารถเปิ ดโล่งตอนใช้งาน ทัง้ นีค้ นทั่วไป ที่ใช้ทางสัญจรนีส้ ามารถมองเห็นได้ดว้ ย การเปิ ด โล่ ง นี ้ ยัง ช่ ว ยในการระบายอากาศให้ อากาศถ่ายเท และได้แสงธรรมชาติ เพื่อลดการใช้แสงไฟ ประดิษฐ์ บริเวณมุขโถงด้านหน้าอาคาร (๓) ปรับเป็ นใต้ถนุ โล่ง (ภาพที่ ๖.๓๓) สอดรับกับลานหน้าอาคาร (๔) อีกทัง้ ยัง เป็ นพืน้ ที่วา่ งส�ำหรับระยะในการเห็นสิม บริ เ วณโถงทางเดิ น หน้า อาคาร (๕) มี ร ะยะ ระหว่ า งเสากับ ผนัง ท�ำ ให้เ กิ ด แสงเงา ซึ่ ง ให้ค วามรู ้สึ ก แบบอาคารพื น้ ถิ่ น สร้า งความน่ า สนใจในการเข้า ถึ ง และลดความทึบตันของอาคารชัน้ ล่าง

76

รูปภาพที่ ๖.๓๑ ผังบริเวณพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๒ รูปตัด แสดงความเชื่อมโยงของ สิมโบราณ ลานหน้าอาคาร พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น และโรงเกวียน

รูปภาพที่ ๖.๓๓ รูปเปรียบเทียบก่อนออกแบบและหลังออกแบบพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น การออกแบบให้มีโถงทางเดินหน้าอาคาร มีระยะระหว่างเสากับผนังท�ำให้เกิดแสงเงา ซึง่ ให้ความรูส้ กึ แบบอาคารพืน้ ถิ่น สร้างความน่าสนใจในการเข้าถึงและลดความทึบตันของอาคารชัน้ ล่าง

77


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

เนือ้ หาการจัดเเสดงของพิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ เนื่ อ งด้ว ยงานบุญ ผะเหวด เป็ น งานบุญ ประเพณี ที่ มีความส�ำคัญต่อชุมชน จึงมี เเนวความคิดในการใช้งาน บุญผะเหวดนีเ้ ป็ นองค์ประกอบหลักเพือ่ เชื่อมโยง วิถชี วี ติ ชุมชน ไปสูเ่ นือ้ หาอื่นๆ ผ้า ผะเหวดเป็ น ผ้า ขาวเขี ย นรู ป เรื่ อ งราวเกี่ ย วกับ พระเวสสันดรตัง้ แต่ตน้ จนจบแบ่งเป็ น ๑๓ กัณฑ์ ผ้าผะเหวดนี ้ จะถู ก น� ำ มาแขวนในวิ ห าร หลั ง จากที่ ใ ช้ ใ นขบวนแห่ พระเวสสันดรเข้าเมือง จึงได้นำ� ผ้าผะเหวดเป็ นองค์ประกอบ หลักของการน�ำเสนอ โดยมีของใช้ทส่ี มั พันธ์กบั งานบุญผะเหวด จัดเเสดงเป็ นองค์ประกอบ วิธีการจัดแสดง ต้องการขับเน้นความเป็ นผืนผ้าที่มี ความยาว ๒๐ เมตร นี ้ โดยจัดให้อยูต่ รงกลางของโถงจัดแสดง และน�ำสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการจัดงานบุญมาจัดแสดงร่วม โดยแบ่งเนือ้ หาการจัดเเสดง ดังนี ้ ๑. ส่ ว นหน้า : แสดงเนื ้อ หาพิ ธี ก รรมในงานบุ ญ โดยก�ำหนดวัตถุแทนสัญลักษณ์ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในงานบุญ พร้อมอธิ บายเนือ้ หา เช่น รู ปจ�ำลองพระอุปคุต เป็ นสัญลักษณ์ของการเริ่มงานบุญในวันเเรก เกวียน เป็ น สัญลักษณ์แสดงถึงขบวนแห่ผะเหวด เป็ นต้น ๒. ส่วนหลัง: แสดงเนือ้ หาจากการตัง้ ค�ำถามที่ว่า มีอะไรในผ้าผะเหวด จากค�ำถามท�ำให้เห็นว่า นอกจากเรือ่ งราว ทัง้ ๑๓ กัณฑ์ ในพระเวสสันดรชาดก บนผืนผ้ายังสอดแทรกเรือ่ ง ราวของวิถชี วี ติ ของคนในสมัยนัน้ เช่น เครือ่ งนุง่ ห่ม การเเต่งกาย เครือ่ งดนตรี หรือแม้กระทั่งวัสดุ สีท่ีใช้เขียนในสมัยนัน้ เป็ นการ เชื่ อมโยงเรื่องราวจากผื นผ้าออกมาให้ผูค้ นได้ศึกษาเรียนรู ้

รูปภาพที่ ๖.๓๓ แนวความคิดในการออกแบบ

78


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๔ ล�ำดับการเข้าชม และแสดงเนือ้ หาการจัดแสดงภายในอาคารพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น

79


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๕ รูปตัดด้านขวางและด้านยาวของอาคารพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น

80


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๖ รูปทัศนียภาพภายในอาคารพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น

81


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๗ รูปทัศนียภาพภายนอกอาคารพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น

82


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๘ แผนภาพอธิบายแนวคิดการเชื่อมโยงวัดและดอนปู่ ตา

๖.๓.๔ แนวคิดการเชื่อมโยงพืน้ ทีร่ ะหว่างวัดและดอนปู่ ตา ดอนปู่ ตาเป็ นพื น้ ที่ ทางจิ ตวิญญาณของชุมชน เป็ นที่ รำ� ลึกนึกถึงบรรพบุรุษ และ แสดงออกถึงวิถีชีวติ ที่ตอ้ งพึง่ พาอาศัยธรรมชาติ มีความเชื่องโยงกับวัดในแง่พธิ ีกรรมทางศาสนา ในงานบุญเดือน ๔ จะมีการแห่ผา้ ผะเหวดจากป่ าดอนปู่ ตามายังวัด เป็ นการจ�ำลองเหตุการณ์ ตามพระเวสสันดรชาดก๑ เดิมการเชื่อมต่อระหว่างพืน้ ที่เกิดจากพิธีกรรมในงานบุญประเพณี ซึ่งในปั จจุบัน กายภาพ และสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป เส้นทางนี อ้ าจเลือนลางไปจากความทรงจ�ำ จึงมี เเนวคิดที่จะเชื่อมโยงสองพืน้ ที่นีด้ ว้ ยเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ คือ ต้นไม้ ที่มีความส�ำคัญใน ความทรงจ�ำของคนในชุมชน ปลูกตามเส้นทางการแห่ผา้ ผะเหวดมายังวัด ทัง้ นีต้ น้ ไม้ท่ีมีความ เหมาะสม ได้แก่ ต้นกันเกราและต้นยางบง ทัง้ นีเ้ นื่องจาก ต้นกันเกรา เป็ นต้นไม้ท่มี อี ยูเ่ ป็ นอันมาก ในบริเวณวัด ส่วนต้นยางบงเป็ นต้นไม้ท่ีมีความส�ำคัญ คือ ในอดีตยางของต้นยางบงใช้ผสม ท�ำปูนในการสร้างสิม เนือ้ หาในพระเวสสันดรชาดก กัณฑ์นครกัณฑ์ กล่าวถึงเหตุกาณ์ท่ีพระเจ้ากรุงสัญชัยเสร็จมารับพระเวสสันดร นิวตั กิ ลับพระนคร, สุรยิ า สมุทคุป, วัฒนธรรมในบุญผะเหวด, (กรุงเทพฯ : พาโนรามา, ๒๕๕๖), ๓๘.

83


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

84


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๓๙ รูปตัด A

รู ป ตัด A เเสดงมุม มองของวิ ห ารด้า นสกัด เมื่ อ อยู่ร่ว มกับ สภาพแวดล้อ มและอาคารต่า ง ๆ ภายในวัด

และการที่วหิ ารมีตำ� แหน่งตัง้ อยูก่ บั แกนเดียวกับอุโบสถท�ำให้เกิดมุมมองที่เป็ นเอกภาพ อีกทัง้ ระยะห่างที่เว้นไว้ทงั้ สองข้างของวิหาร ส่งเสริมให้อาคารเกิดความสง่างาม เกิดการท�ำงานร่วมกับผังโดยเป็ นเป้าหมายในการมอง

85


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

86


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๔๐ รูปตัด B

รูปตัด B เเสดงมุมมองของวิหารด้านแป เมื่ออยูร่ ว่ มกับสภาพแวดล้อมและอาคารต่าง ๆ ภายในวัด โดยเฉพาะ

อาคารส�ำคัญ อันได้แก่ อุโบสถ โดยที่การออกแบบค�ำนึงเรือ่ งความสูงของวิหาร เพื่อสร้างความรูส้ กึ ถึงการอยูอ่ ย่างนอบน้อม และ ไม่ลดความส�ำคัญของอาคารหลัก

87


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๖.๔ ผลงานการออกแบบ และการวิเคราะห์วหิ ารวัดด้ามพร้า

รูปภาพที่ ๖.๔๑ รูปถ่ายหุน่ จ�ำลองวิหารที่แสดงลักษณะทางสถาปั ตยกรรมและรูปทรงที่สมบูรณ์ (scale ๑ : ๒๕) / ด้านหน้า

88


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๔๒ รูปถ่ายหุน่ จ�ำลองวิหารที่แสดงลักษณะทางสถาปั ตยกรรมและรูปทรงที่สมบูรณ์ (scale ๑ : ๒๕) / ด้านหน้า

89


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๔๓ รูปถ่ายหุน่ จ�ำลองวิหารที่แสดงลักษณะทางสถาปั ตยกรรมและรูปทรงที่สมบูรณ์ (scale ๑ : ๒๕) / ด้านหลัง

90


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๔๔ รูปถ่ายหุน่ จ�ำลองวิหารที่แสดงลักษณะทางสถาปั ตยกรรมและรูปทรงที่สมบูรณ์ (scale ๑ : ๒๕) / ด้านบนและด้านข้าง

91


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๑ แผนผังอาคาร แผนผังวิหารเป็ นรูปผืนผ้ายกเก็จเป็ นมุขตะวันออก-ตะวันตก ยาวจากจุดกึง่ กลาง วิหาร ข้างละ ๑๓.๙ เมตร รวม ๒๗.๘ เมตร ใช้แกนเดียวกันกับอุโบสถ ด้วยตัง้ ใจที่จะให้ เป็ นตัวก�ำหนดพฤติกรรมการบูชาพร้อมกันครัง้ เดียวทัง้ พระพุทธรู ปในวิหารและอุโบสถ ๔.๔.๒ การออกแบบพืน้ ทีใ่ ช้สอยภายใน ประกอบไปด้วย ๓ ส่วนคือ ๑. ส่วนมุขตะวันตก เป็ นโถงทางเข้า ๒. ส่วนกึ่งกลางเป็ นโถงบูชา สามารถใช้ในกิจกรรมงานบุญส�ำคัญของวัด เช่น งานบุญผะเหวด ทีจ่ ะมีการเทศมหาชาติ หรืองานบุญภาวนา งานบ�ำเพ็ญกุศลจิตตามวาระ โอกาส ๓. ส่วนมุขตะวันออก ออกแบบให้มพี นื ้ ทีป่ ระดิษฐาน และบูชาพระพุทธรูปประธาน แนวคิดในการออกแบบพืน้ ที่สำ� หรับพระพุทธรูปประธาน พระประธานขนาดหน้าตัก ๒ ศอก (๑ เมตร) บนบุษบก เพือ่ ให้เห็นถึงความส�ำคัญ ความพิเศษและเน้นน�ำสายตาไปสูจ่ ดุ หมายของการบูชาทีอ่ งค์พระพุทธรูป ทีด่ า้ นในสุดของ วิหารด้านทิศตะวันออก หรือมุขหลังของวิหาร การประดิษฐานพระพุทธรูปไว้บนบุษบกนัน้ เป็ นหนึง่ วิธีในการออกแบบเพือ่ เน้นน�ำสายตาไปยังสาระส�ำคัญของวิหาร คือ พระพุทธรูป ซึง่ เป็ นเป้าหมายในการบูชา เนื่องจากเป็ นพระพุทธรูปขนาดเล็ก ทัง้ ยังเป็ นการสร้างความสัมพันธ์ของช่องว่าง โดยออกแบบช่องว่าง ให้สมั พันธ์กบั ปริมาตรของบุษบกและพระพุทธรูป ส่วนระเบียงทางข้างวิหารทัง้ สองด้าน ในแง่การออกแบบเพื่อการท�ำให้ปริมาตร ของผนังด้านแปของวิหาร เมือ่ มองเข้ามาแล้วไม่เกิดความรูส้ กึ ทึบตัน การมีระเบียงทางเดิน เป็ นตัวผลักระยะ เกิดแสงเงา และปริมาตรอากาศเข้าไปท�ำงานร่วมกัน มีเสาระเบียงเป็ นการ ก�ำหนดช่องไฟเป็ นจังหวะที่สมั พันธ์กบั โครงสร้างเสาภายในตัววิหาร ในแง่การใช้งาน ก�ำหนดพฤติกรรมการบูชา ให้เกิดความสงบ เป็ นระเบียบ เมื่อบูชาสักการะพระพุทธรูป ประธานแล้วให้เดินออกทางระเบียงทัง้ สองข้างโดยไม่จำ� เป็ นต้องเดินย้อนจากทางเดิม

รูปภาพที่ ๖.๔๕ ภาพอธิบายการแบ่งส่วนการใช้งาน

รูปภาพที่ ๖.๔๖ ภาพอธิบายการสัญจรในวิหาร

92


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๓ การออกแบบรู ปทรงวิหาร เหตุผลที่มาของรู ปทรงเกิดจากความคิดค�ำนึงถึงรู ปแบบสถาปั ตยกรรมที่เคย มีมาในอดีตในภูมิภาคนี ้ คือ สถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสาน เชื่อว่าการสร้างสรรค์รูปทรงที่ ประณีต มีคณ ุ ค่าทางความงามนีจ้ ะท�ำให้ผใู้ ช้งานรูส้ กึ ได้ถงึ ความสงบ หรือแม้แต่การหวน ค�ำนึงถึงอดีตอันเป็ นสิ่งที่จะกล่อมเกลาจิตใจให้ละเอียดประณีต และเพื่อให้เกิดความ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม การศึกษาสถาปั ตยกรรม ศิลปกรรมอีสานนัน้ มีขอ้ จ�ำกัดอยูม่ าก เช่น ตัวอย่าง อาคารที่เหลืออยูใ่ ห้ได้ศกึ ษามีอยูน่ อ้ ย และล้วนถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา อีกทัง้ ต้องท�ำความความเข้าใจในเนือ้ หาประวัตศิ าสตร์การเมือง วัตรปฏิบตั ขิ องพระภิกษุ สงฆ์อีสาน สิ่งส�ำคัญคือ การเลือกเนือ้ หาสาระเพื่อมาสร้างสรรค์รูปทรง ผูอ้ อกแบบรูส้ กึ ประทับใจในเส้น และรูปทรงของสถาปั ตกรรมอีสาน ที่มีบคุ คลิกเฉพาะตัว มีการจัดองค์ ประกอบ โครงสร้าง ที่เป็ นอิสระตามความคิดอ่านของช่าง ผูอ้ อกแบบจึงได้นำ� สิ่งเหล่านี ้ มาเป็ นข้อมูล มาสร้างสรรค์รูปทรงวิหาร รู ปแบบและรู ปทรงของวิ ห ารวัด ด้ามพร้าออกแบบโดยการให้ความส�ำ คัญ ในเรื่ อ งรู ป ทรงโครงสร้า งโดยรวม ซึ่ ง เป็ นเป้ า เหมายในการมอง ท่ า ที ข องเส้น การเน้น การผ่อ น การจัด น�ำ้ หนัก บรรยากาศความรู ส้ ึก ถูก น�ำ มาคิด ไปพร้อ มกัน อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจ�ำกัดด้านประสบการณ์ และความละเอียดในการคิดอ่าน ท�ำให้พบ ปั ญหาอีกเป็ นอันมาก เช่น การควบคุมรูปทรงในเเนวนอนกับการซ้อนหลังคา และรูปทรง ในเเนวตัง้ ด้านสกัด พบว่าผูอ้ อกแบบยังต้องศึกษาเรียนรู ้ ฝึ กฝนเป็ นอันมาก

รูปภาพที่ ๖.๔๗ รูปภาพทัศนียภาพ ด้านสกัด ของวิหาร

93


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๔ การควบคุมรู ปทรงอาคาร การควบคุมรูปทรงแนวยาว (ด้านแป) ของวิหาร เกิดจากความสัมพันธ์ของ รูปทรงในเเนวตัง้ และเเนวนอน วิหารวัดด้ามพร้ามีความยาวถึง ๒๗.๘ เมตร รูปทรงใน แนวนอนได้ถกู แบ่งความยาวของอาคารเป็ นจังหวะ เพื่อสร้างความน่าสนใจ ลดทอน ความยาวของวิหารสร้างความรู ส้ ึกพิเศษของการใช้งาน และเน้นน�ำให้เห็นถึงการ ใช้งานในเเต่ละส่วน ถึงเเม้ยงั ไม่เข้าไปภายในอาคาร เช่น การรับรูว้ า่ มุขหน้าเป็ นโถง ทางเข้า มุขหลังเป็ นส่วนประดิษฐานพระพุทธรูป เป็ นต้น เพื่อเเก้ปัญหาความเป็ นแผ่นหนาหนักเเข็งทื่อของผืนผลังคา มองเห็นเป็ น สัดส่วนมากกว่าผนังและฐาน จึงใช้การซ้อนตับหลังคาถึง ๓ ซ้อน ตับที่ ๓ เป็ นหลังคา คลุมระเบียงทางเดิน ระยะความกว้างของทางเดินภายใต้หลังคาของตับที่ ๓ นีท้ ำ� ให้ เกิดที่ว่าง แสงเงา และปริมาตรอากาศเข้าไปท�ำงานร่วมกัน หากมองจากภายนอก เข้าไปก็จะไม่รูส้ กึ ทึบตัน เพราะมีตวั ผลักระยะดังกล่าว และมีเสาระเบียงควบคุมช่องไฟ เป็ นจังหวะที่สมั พันธ์กบั โครงสร้างเสาภายในตัววิหาร มีฐานที่เน้นน�ำความรูส้ กึ ที่หนัก เเน่นมั่นคง จากเส้นของลวดบัวที่เรียบตรง มีทอ้ งไม้ท่จี มลึกมากกว่าปกติ เป็ นท่าทีของ เอวขัน เชี่ยนหมาก หรือขันหมากเบ็งจ์๑ ของอีสาน ซึง่ เป็ นท่าทีท่ีซ่ือตรง และเป็ นอิสระ ซึง่ เป็ นลักษณะเฉพาะอย่างหนึง่ ของสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสาน

รูปภาพที่ ๖.๔๘ รูปภาพทัศนียภาพ ด้านแป ของวิหาร

พานพุม่ ดอกไม้ท่ีใช้เป็ นพานพุม่ บูชาในพิธีกรรม และบูชาพระรัตนตรัยในวันพระ หรือวันส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนา,_____, พจนานุกรมภาษาถิน่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, (กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, ๒๕๓๐), ๓๘. ๑

94


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๕ ส่วนประดับ ส่วนประดับเป็ นสิง่ ที่ทำ� ให้คณ ุ ภาพของรูปทรงของสถาปัตยกรรมสมบูรณ์ขนึ ้ ด้วย วิธีการต่าง ๆ เช่น การขับเน้นองค์ประกอบ การกลบหรือปิ ดบัง การเน้นน�ำให้เห็นความ สัมพันธ์ของโครงสร้าง คุณลักษณะเหล่านีถ้ งึ แม้จะเป็ นเพียงรายละเอียด แต่เมื่อมารวมตัว กันในงานสถาปั ตยกรรมแล้วกลับท�ำให้เกิดความลงตัว เป็ นรูปทรงที่มีคณ ุ ภาพ ดังนี ้ - ปั้ นลม หากสังเกตจากด้านสกัดจะพบว่า ปั้ นลมมีอิทธิ พลต่อเป้าหมายการ มองเห็นมากที่สดุ ด้วยความต้องการอารมณ์ความรู ส้ กึ ที่สงบ จึงเเสดงออกผ่านเส้นจั่วที่ กลมกล่อมและผิวที่เรียบเกลีย้ ง มีโหง่๑ (ช่อฟ้า) เป็ นตัวหยุดเหนืออกไก่ ตัวหยุดที่ปลาย ตับใช้การเปลี่ยนวัสดุเเทนใช้หางหงส์เป็ นตัวหยุด เพราะต้องการเส้นจอมแหที่ทิง้ ตัวลงไป สร้างความรูส้ กึ ต่อเนื่องของเส้น - หน้าบัน ออกแบบเป็ นช่องลูกฟั ก เพราะต้องการให้เห็นความสัมพันธ์ของ โครงสร้างแบบตุ๊กตา เป็ นการแสดงความซื่อตรงต่อโครงสร้าง โดยคิดเชิงเปรียบเทียบว่า หากไม่มีลวดลายเป็ นหน้าบันที่เกลีย้ งเป็ นระนาบเดียวไปหมดย่อมส่งผลให้ระนาบเกลีย้ ง ถูกเงาจากไขราตกกระทบจะท�ำให้ความรูส้ กึ กลายเป็ นหลุมจากการลวงตาของเงา รูส้ กึ ถึง ผิวที่ไม่เรียบ ซึง่ ต่างจากอารมณ์ของระนาบที่ตอ้ งการ คือ ซื่อตรง เรียบง่าย - โฮงผึง้ ๒ (ชุดุ รวงผึง้ ใต้ข่ือมุขโถง) ท�ำหน้าที่ประดับตกแต่ง และเป็ นการออกแบบ รูปอากาศบริเวณพืน้ ที่ใต้ข่ือ โดยออกแบบให้เป็ นเส้นโค้งหลายจังหวะและต่างระดับ สาเหตุท่ีออกแบบให้มีลกั ษณะเป็ นเส้นโค้ง เพราะเมื่อเส้นขื่อและเส้นเสาตัดกัน ท�ำให้เกิดมุม การสร้างเส้นโค้งจึงเป็ นการลบมุมให้อ่อนโยน อีกทัง้ ยังเป็ นการบีบช่องว่าง ทางเข้า เน้นน�ำการเข้าถึง เน้นน�ำด้านสกัด ถึงแม้จะไม่ได้รูส้ กึ ถึงการรับน�ำ้ หนักเเต่อย่างใด แต่โฮงผึง้ นีท้ ำ� ให้รูปอากาศเกิดความกลมกล่อม - หูชา้ ง ออกแบบให้เห็นเป็ นเส้นที่ตรงข้ามกับการสอบของเส้นเสา มีรูปร่างบาน ด้านบน ด้านล่างเล็ก เป็ นความต้องการชะลอความสอบของเสาไม่ให้ลม้ มากเกินไป ทัง้ ยัง เป็ นการสร้างรูปทรงที่สมบูรณ์ ที่ปลายผนังของตัวอาคาร

รูปภาพที่ ๖.๔๙ แผนภูมิแสดงต�ำแหน่งของส่วนประดับ

ศัพท์ทางสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นในภาคอีสาน ใช้เรียก ช่อฟ้า, วิโรฒ ศรีสโุ ร,สิมอีสาน, (กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๖), ๓๖๘. ๒ ศัพท์ทางสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นในภาคอีสาน ใช้เรียก ชุดรวงผึง้ ใต้ข่ือมุขโถง, เรือ่ งเดียวกัน, ๓๖๘. ๑

95


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๖ ทีว่ ่าง ( Space ) ภายในอาคาร ให้ความส�ำคัญกับเป้าหมายในการบูชาที่องค์พระประธาน โดยการเน้นน�ำสายตา สร้างเนือ้ หาให้มคี วามพิเศษ เช่น ออกแบบให้มบี ษุ บกประดิษฐานพระพุทธรูป ท�ำให้พระพุทธ รูปซึง่ มีขนาดเล็กไม่ให้จมหายไปกับผนัง และอยูใ่ นระดับที่พอดีกบั การมอง ส่วนบุษบกได้ ออกแบบให้สมั พันธ์กบั ช่องว่างของเสา มีซมุ ้ โค้งท�ำให้รูปอากาศที่มมุ มีความอ่อนโยนขึน้ เสาลอยในวิหารนอกจากจะเป็ นเหตุผลทางโครงสร้างเเล้วยังท�ำให้เกิดจังหวะที่เน้นน�ำไปสู่ เป้าหมายในการมอง ต้องการสร้างบรรยากาศภายในให้เกิดความสงบ ส�ำรวมกิรยิ าอาการ โดยบีบโถงทางเข้าให้เเคบ เเล้วผ่อนให้กว้างที่โถงกลาง ปริมาตรของรู ปอากาศ เป็ นสิ่งหนึ่งที่ควรค�ำนึงถึงในการออกแบบภายในอาคาร โดยปกติแล้ว อากาศย่อมมองไม่เห็นเป็ นรูปร่าง รูปทรง เเต่เมื่ออยูภ่ ายในอาคาร ระนาบ ของผนัง ระนาบของพืน้ ที่ใต้จ่ วั ล้วนมีสว่ นสร้างให้อากาศเห็นเป็ นรูปทรง ในการออกแบบ วิหารหลังนี ้ ตัง้ ใจให้เกิดปริมาตรของรูปอากาศ เป็ นรูปทรงที่ลอ้ ไปกับพืน้ ที่ใต้จ่ วั ท�ำให้เกิด เงามืดใต้จ่ วั เป็ นอันมาก ช่วยขับเน้นให้หอ้ งในสุดของอาคารที่ประดิษฐานพระประธานให้ เด่นชัด เเต่ยงั คงอารมณ์ของความสงบไว้

รูปภาพที่ ๖.๕๐ ภาพอธิบายปริมาตรของรูปอากาศภายในวิหาร

96


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๗ โครงสร้าง ปรุงระบบโครงสร้างจั่วโดยใช้ระบบตุก๊ ตา ซึง่ เป็ นโครงสร้างที่ ใช้ในการขยายอาคาร โดยใช้วิธีการตัง้ ตุ๊กตา๑ รับขื่อโท๒ และแป ล�ำดับต่อกันขึน้ ไปเป็ นชัน้ ๆ จนถึงดัง้ รับอกไก่ ซึง่ วิหารหลังนีน้ ำ� วิธีนีม้ าใช้ในการออกแบบโครงสร้าง เนื่องจาก ๑. ความเป็ นเหตุผลของโครงสร้าง ที่สร้างความรูส้ กึ ในการรับน�ำ้ หนัก ๒. สร้างความสัมพันธ์ท่ีสง่ ผลต่อรูปด้านของอาคาร เช่น ระยะห่างของแปลาน กับ ช่องไฟในการจัดลูกฟั ก ที่สง่ ผลต่อรูปด้าน ด้านสกัด การเลือกใช้วัสดุสำ� หรับโครงสร้างนีเ้ ลือกใช้เหล็ก เนื่องจากไม้เป็ นทรัพยากร ที่หาได้ยาก ราคาแพง ส่วนแผงเเลคอสอง๓ ซึง่ เป็ นโครงสร้างระหว่างตับบนและล่าง ยังคงน�ำมาใช้ในการ ออกแบบวิหารหลังนี ้ เพราะส่งผลต่อรูปทรงอาคาร ท�ำให้รูส้ กึ ถึงอารมณ์ของอาคารพืน้ ถิ่น เสาของอาคาร ออกเเบบให้เป็ นเสากลม ล้มสอบ สร้างเเนวน�ำความรูส้ กึ ในการรับ น�ำ้ หนัก และออกแบบเสาบริเวณมุข๔ หน้าทางเข้าให้มคี วามพิเศษ โดยให้เสามีลกั ษณะโคน ใหญ่ ปลายเล็ก ข้อสังเกตส�ำคัญที่พบในการออกแบบเสา คือ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปลายเสา ปกติกบั ปลายเสาที่มีการออกเเบบให้มีบวั หัวเสา ให้ความรูส้ กึ ต่างกันมาก โดยเสาที่มีการ ออกแบบให้มีบวั หัวเสาให้ความรูส้ กึ ถึงความสัมพันธ์ตอ่ เนื่องกับโครงสร้าง รูว้ า่ ต�ำเเหน่งใด คือ โคนเสา ต�ำแหน่งใด คือ ปลายเสา

ชื่อเรียกองค์ประกอบทางโครงสร้างหลังคาระบบ “เครือ่ งประดุ” ที่เป็ นไม้หน้าตัดรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ สั โดยจัดวาง อยูบ่ นขื่อใหญ่ และขื่อชักทัง้ หมด ตรงต�ำแหน่ง ซึง่ เป็ นจุดเทินรับแปลานทุกตัว, สมคิด จิระทัสนกุล, อภิธานศัพท์ สถาปั ตยกรรมไทย เล่ม ๔ ส่วนประกอบหลังคา, (กรุงเทพฯ : คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๕๙), ๑๘๙. ๒ ขื่อที่วางถัดขึน้ ไปจากขื่อประธาน โดยวางอยูส่ ว่ นปลายเสาตุ๊กตา ส่วนโคนเสาวางอยูบ่ นหลังขื่อประธาน, ศมประสงค์ ชาวนาไร่, ส่วนประดับจั่วในศิลปกรรมอยุธยา, (สมุทรสาคร : พิมพ์ดี, ๒๕๕๗), ๒๘. ๓ โครงสร้างระหว่างตับบนและตับล่าง มีลกั ษณะเป็ นแผงกระดานไม้ท่ีกรุเป็ นผนังส่วนคอสองของอาคารแบบ เครือ่ งไม้,สมคิด จิระทัสนกุล, อภิธานศัพท์สถาปั ตยกรรมไทย เล่ม ๔ ส่วนประกอบหลังคา, (กรุงเทพฯ : คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๙), ๑๕๓. ๔ ชื่อเรียกองค์ประกอบของอาคารส่วนที่ย่ืนออกจากตัวอาคารหลัก เพื่อเอือ้ ประโยชน์ในเชิงใช้สอยมิตติ า่ ง ๆ อาทิ เป็ นโถงทางเข้าออก หรือเป็ นจระน�ำส�ำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป, เรือ่ งเดียวกัน, ๑๒๔ ๑

รูปภาพที่ ๖.๕๑ แผนภูมิอธิบายโครงสร้างไม้ ระบบตุ๊กตา

97


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๕๒ รูปด้าน และทัศนียภาพ

98


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๘ แบบสถาปั ตยกรรม.

99


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

100


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

101


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

102


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

103


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

104


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๗.๑ การส�ำรวจข้อคิดเห็นของการออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี จากการสัมภาษณ์ผู้มสี ่วนเกีย่ วข้อง การส�ำ รวจข้อ คิ ด เห็ น ของการออกแบบผัง แม่ บ ทและวิ ห ารวัด ด้า มพร้า จากการสัมภาษณ์ผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ใน ๓ ส่วนหลัก อันได้แก่ · การออกแบบและปรับปรุงผังแม่บท · การออกแบบวิหาร · การออกแบบพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น ๑.วิธีการส�ำรวจข้อคิดเห็น มีรายละเอียด ดังต่อไปนี ้ ๑). จัดท�ำแบบส�ำรวจ (รายละเอียดภาคผนวก ค) ๒).สัม ภาษณ์ผู้มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ ง อัน ได้แ ก่ ท่ า นเจ้า อาวาส ผู้น �ำ ชุม ชน (คณะกรรมการชุมชน) กลุม่ เยาวชน และคนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ รวมทัง้ หมด ๑๓ คน (สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓) ๒. ผลการส�ำรวจความคิดเห็น ๒.๑ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบและปรับปรุ งผังแม่บท ๑). ข้อคิดเห็นจากการวางผังที่เป็ นแนวแกน · ท่านเจ้าอาวาส : เป็ นการวางผังที่มีหลักการ เป็ นไปตามความต้องการใน การใช้ประโยชน์ เป็ นประโยชน์ในการปรับปรุงในอนาคต · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : การมีแนวทีต่ รงกันสร้างความเป็ นระเบียบ ผังโดยรวมท�ำให้คนมองภาพออกว่าจุดไหนท�ำอะไร ต้องเดินไปทางไหน · กลุม่ เยาวชน : ชอบความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในการวางผัง รูส้ กึ ว่าสบายตา มองเข้าไปเห็นวิหารท�ำให้งา่ ยต่อความเข้าใจ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : แกนที่ชดั เจนท�ำให้สง่ เสริมอาคารส�ำคัญ รูส้ กึ เหมาะสม กับวัดด้ามพร้าในปั จจุบนั ๒). ข้อคิดเห็นจากการแบ่งพืน้ ที่สว่ นต่างๆ ภายในวัดอย่างชัดเจน และเรือ่ ง ความเหมาะสมของพืน้ ที่ท่ีออกแบบในการจัดกิจกรรมงานบุญ · ท่านเจ้าอาวาส : สมควรที่จะท�ำให้เกิดขึน้ เพราะเป็ นผังที่มีความชัดเจน มีความเป็ นสัดส่วนมากขึน้ รูส้ กึ ว่าพืน้ ที่ท่อี อกแบบส่งเสริมการจัดกิจกรรมงานบุญและ ให้ขอ้ เสนอะเเนะว่า ในการด�ำเนินงานต้องเกิดจากหลายภาคส่วนเพื่อที่จะให้เกิดเป็ น รูปธรรม · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : มีความเหมาะสม ที่ผา่ นมาบางกิจกรรม ต้องใช้พืน้ ที่หลายอาคารในการจัดกิจกรรม การออกแบบท�ำให้เกิดความต่อเนื่องใน การใช้งาน และการก�ำหนดต�ำเเหน่งที่เหมาะสมท�ำให้มีสภาพเเวดล้อมที่เอือ้ ต่อการ จัดกิจกรรม · กลุม่ เยาวชน : รูส้ กึ ว่าการออกแบบใหม่ชว่ ยส่งเสริมให้วดั น่าจัดกิจกรรมมากขึน้ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : เห็นด้วย ในการเเบ่งพืน้ ที่ให้ชดั เจน จะได้ไม่รบกวน วัตรปฏิบตั ขิ องพระสงฆ์ พืน้ ที่ใช้จดั กิจกรรมน่าสนใจ เช่น การก่อกองทรายร่วมกันของ คนในชุมชนบริเวณลานตรงกลาง เป็ นการเเสดงออกถึงความร่วมมือร่วมใจ

๐๗ บทสรุ ป ๓). ข้อคิดเห็นจากการออกแบบและปรับปรุ งสภาพแวดล้อมภายในวัดโดย ค�ำนึงถึงสภาพภูมิวฒ ั นธรรม · ท่านเจ้าอาวาส : เห็นด้วย มีความเหมาะสม และในปั จจุบนั ท่านก็หาต้นไม้ เหล่านีม้ าปลูกอยูเ่ เล้ว เช่น ตะแบก แคนา เป็ นต้น · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : เป็ นเเนวความคิดที่ดี ต้นไม้ท่ีนำ� มาปลูก ก็จะเป็ นสิ่งให้ศึกษาเรียนรู ้ สร้างความร่มรื่น และเสนอเเนะว่า ต้องคิดถึงการด�ำเนินการ ต่อไปว่าจะน�ำต้น ไม้เ หล่านี ม้ าปลูก อย่างไร น่าจะให้เ กิ ดกิ จ กรรมมาร่ว มกัน ปลูก ต้นไม้ · กลุม่ เยาวชน : สร้างความร่มรืน่ ให้วดั มากขึน้ จากปั จจุบนั ที่มีตน้ ไม้จำ� นวน น้อย ถ้าเป็ นต้นไม้ในท้องถิ่นก็จะได้เรียนรู ้ เพราะบางต้นก็ไม่รูจ้ กั · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : เห็นด้วย เพราะมันจะเข้ากับสภาพแวดล้อม อีกทัง้ ต้นไม้ในท้องถิ่นมันจะอยูท่ น อยูน่ าน ไม่ตายง่าย ๒.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบวิหาร ๑). ข้อคิดเห็นจากการวางต�ำแหน่งที่ตงั้ ของวิหารที่ตงั้ อยู่บริเวณกลางผัง มีความเหมาะสมทัง้ ในแง่การใช้งาน และความเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน ได้หรือไม่ อย่างไร · ท่านเจ้าอาวาส : ในแนวทางนีก้ ็เหมาะสม สมกับเป็ นศูนย์รวมใจของชุมชน และให้ขอ้ เสนอะเเนะว่า ในปั จจุบนั อาจจะต้องปรับเปลี่ยน เพราะต�ำแหน่งที่สร้าง วิหารอยู่ตำ� แหน่งอื่น มีความเป็ นไปได้หรือไม่ท่ีจะให้ตำ� แหน่งที่ตงั้ วิหารที่นำ� เสนอนี ้ ปรับเป็ น ลานกิจกรรม หรือเจดีย ์ เพื่อยังคงความส�ำคัญของพืน้ ที่ตรงกลางวัดไว้ · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : ในเเนวทางนีม้ ีความเหมาะสม เพราะ สามารถจะรองรับคนได้มาก พืน้ ที่ตรงกลางสามารถปรับขยายในการท�ำกิจกรรมได้งา่ ย และให้ขอ้ เสนอะเเนะว่า อุโบสถต้องส�ำคัญที่สดุ การออกแบบควรค�ำนึงถึงข้อนีด้ ว้ ย · กลุม่ เยาวชน : การวางต�ำแหน่งวิหารแบบนีท้ ำ� ให้รูส้ กึ เข้าถึงง่าย สะดุดตา ท�ำให้เป็ นจุดเด่นชัดเจน · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : สมกับเป็ นศูนย์รวมศรัทธาของชุมชน ๒). ข้อคิดเห็นจากการใช้รูปแบบสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นมาเป็ นเเนวคิดในการ ออกแบบวิหาร · ท่านเจ้าอาวาส : ให้ความรูส้ กึ ถึงความดัง้ เดิมและเห็นด้วยกับการใช้วสั ดุท่ี เหมาะสมกับยุคสมัยในปั จจุบนั เพราะประหยัดเเละหาได้งา่ ย · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : รู ส้ กึ ถึงความเรียบง่าย มีความเป็ น เอกลักษณ์ในท้องถิ่น ให้ความรู ส้ กึ นึกถึงบรรพบุรุษ เป็ นการออกแบบที่คำ� นึงถึงการ ใช้งานได้จริง เช่น การมีลานรอบวิหารให้ได้ใช้ประโยชน์ เป็ นต้น · กลุม่ เยาวชน : สมกับการเป็ นวัดของชุมชนที่ไม่ตอ้ งสร้างความหรูหรามาก · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : รูส้ กึ ว่ามีความเป็ นอีสาน ชอบความเรียบง่ายของ วิหารที่ออกแบบ 105


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๓). ข้อคิดเห็นจากการออกแบบภายในวิหาร · ท่านเจ้าอาวาส : มีความเหมาะสม เพราะการออกแบบนีช้ ่วยส่งเสริมให้ พระพุทธรูปโดดเด่น มีความเรียบง่ายพองาม · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : รูส้ กึ ถึงจิตใจที่สงบ เกิดศรัทธา สมเป็ น ศูนย์รวมจิตใจของชุมชน มีความเป็ นธรรมชาติ เป็ นอีสานบ้านเรา ไม่ฟมเฟื ุ่ อย เพราะ ไม่ประดับตกแต่งมากจนเกินงาม · กลุ่มเยาวชน : ส่งเสริมพระพุทธรู ป สร้างความสงบและศรัทธา ให้ขอ้ เสนอแนะว่า รูปภาพภายในวิหารที่นำ� มาให้ดู (รูปภาพที่ ๖.๕๐) บางครัง้ ดูแล้วรูส้ กึ เงียบเหงาเกินไป · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : บรรยากาศท�ำให้สมั ผัสถึงพระที่เป็ นที่ศรัทธาของ ชุมชน ๓. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบพิพภิ ณ ั ฑ์ทอ้ งถิน่ ๑). ข้อคิดเห็นจากการมีพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น และการสร้างพืน้ ที่การเรียนรู ้ อันประกอบไปด้วย สิมโบราณ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น โรงเกวียน ต�ำแหน่งที่ตงั้ มีความ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร · ท่านเจ้าอาวาส : มีความเหมาะสมในต�ำเเหน่งทีต่ งั้ เพราะง่ายต่อการเข้าถึง และ ไม่ใช่เพียงเยาวชนที่จะมาเรียนรู ้ พระสงฆ์และสามเณรก็จะได้เข้ามาศึกษาด้วย · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : เห็นด้วยที่จะเป็ นพืน้ ที่เรียนรู ้ คนรุน่ หลัง จะได้รูว้ า่ เคยมีสมิ โบราณ และต�ำแหน่งที่ตงั้ เข้าถึงได้งา่ ย ·กลุม่ เยาวชน:มีความเหมาะสม เพราะการทีม่ พี นื ้ ทีเ่ รียนรูข้ องวัดทัง้ ๓ แห่ง ท�ำให้ รูส้ กึ อยากเข้าไปเรียนรู ้ และอาจจะท�ำให้วดั เรามีคนภายนอกอยากเข้ามาเรียนรูด้ ว้ ย · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : เห็นด้วยที่จะมีพิพิธภัณฑ์ และเสนอเเนะให้คำ� นึง ถึงกระบวนการในการดูแลจัดการในอนาคต ๒). ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเนือ้ หาในการจัดแสดง ร่วมถึงแนวความคิดในการ ออกแบบพืน้ ที่จดั แสดงภายใน · ท่านเจ้าอาวาส : เนือ้ หาในการจัดเเสดงน่าสนใจ เพราะไม่มีพิพิธภัณฑ์ เเบบนีใ้ นจังหวัดอุบลฯ การใช้ผา้ ผะเหวดรูส้ กึ ว่าเป็ นเอกลักษณ์ · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : เนือ้ หาน่าสนใจ เด็กจะได้เรียนรูผ้ า่ น ภาพ คือ ผ้าผะเหวด ซึง่ ง่ายต่อความเข้าใจ · กลุม่ เยาวชน : น่าสนใจเพราะเป็ นสิ่งที่ไม่เคยได้รู ้ เเละการออกแบบท�ำให้ ดูงา่ ยต่อการท�ำความเข้าใจ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : สร้างให้เกิดความรูส้ กึ ของการเรียนรูท้ ่ีเชื่อมโยง เป็ นเรือ่ งเดียวกันได้ดี

๓). ข้อคิดเห็นจากการแนวคิดการปรับปรุงพืน้ ทีภ่ ายนอกพิพธิ ภัณฑ์ ทีค่ ำ� นึงถึง การออกแบบที่มีความประหยัด และเป็ นประโยชน์สงู สุด หมายถึง การออกแบบโดย ใช้วสั ดุในท้องถิ่น และประหยัดพลังงานธรรมชาติให้มากที่สดุ · ท่า นเจ้าอาวาส : เห็น ด้วยในเรื่อ งแนวคิด คนที่ เ ข้าไปชมจะได้สัม ผัส บรรยากาศที่เป็ นธรรมชาติ · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : อาคารที่โล่งรับลมธรรมชาติ ลดการใช้ พลังงานท�ำให้อยากเข้าไปใช้งาน · กลุม่ เยาวชน : การออกแบบภายนอกที่ทำ� ให้คนภายนอกมองเห็นด้านใน พืน้ ที่จดั เเสดง ท�ำให้เกิดความน่าสนใจ น่าเข้าชม เเละเห็นด้วยที่จะต้องประหยัด พลังงานไม่ใช้แอร์ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : ปรับปรุงอาคารเก่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ดี ๔. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอเเนะอืน่ ๆ ๑).ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้ากับความ สอดคล้องกับเป้าหมาย คือ เพื่อฟื ้ นฟูให้วดั ด้ามพร้ากลับมาเป็ นจิตวิญญาณของชุมชน อย่างที่เคยเป็ นมาในอดีตภายใต้ตวั แปร เงื่อนไขอย่างใหม่ของวิถีชีวิตของสังคมใน ปั จจุบนั · ท่านเจ้าอาวาส : เป็ นการดีท่เี ราจะมาร่วมกันฟื ้ นฟูวดั ตามเป้าหมายนี ้ เพราะ วัด คือ หัวใจของชุมชน เป็ นที่อบรมศีลธรรม ความรู ้ และให้ขอ้ เสนอแนะว่า แนวคิดเรือ่ ง พิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิ่นมีความเป็ นไปได้ทจ่ี ะท�ำมากทีส่ ดุ เพราะมีความพร้อมในเรือ่ งสถานที่ อย่างไรก็ดีการที่จะด�ำเนินงานต่อ ต้องเกิดจากความร่วมมือจากหลายฝ่ าย และค�ำนึง ถึงการจัดการในอนาคต · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : โครงการนีต้ อบโจทย์ เเละเรือ่ งเป้าหมายนี ้ ก็อยูใ่ นความตระหนักของคนในชุมชนดัง้ เดิม จะท�ำอย่างไรให้ผคู้ นที่ยา้ ยเข้ามาอยูใ่ หม่ เห็นความส�ำคัญในเรือ่ งนี ้ ดังนัน้ ทุกฝ่ ายต้องมาช่วยกัน · กลุ่มเยาวชน : โครงการนี ท้ ำ� ให้รูส้ ึกอยากเข้าวัดมากขึน้ อยากเข้าไป กราบไหว้พระ และเข้าไปเรียนรูใ้ นพิพิธภัณฑ์ ท�ำให้รูส้ กึ ว่าเป็ นวัดของชุมชนที่น่าเข้า · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : สิ่งที่ทำ� สอดคล้องกับเป้าหมาย และอยากให้นำ� เสนอแนวความคิดนีอ้ อกไปในวงกว้าง

รูปภาพที่ ๗.๐๑ รูปภาพบรรยากาศการสัมภาษณ์ผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้อง 106


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๗.๒ บทสรุ ป งานผังและสถาปัตยกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา มีความละเอียดลึกซึง้ มี ค วามสัม พัน ธ์กับ ปรัช ญาค�ำ สอน แต่ ถึ ง กระนั้น งานผัง และสถาปั ต ยกรรมใน แนวทางนี ้ก็ ไ ม่ ไ ด้ย ากเกิ น ความเข้า ใจ เพราะบุ ค คลทั่ว ไปล้ว นมี ค วามเข้า ใจ ที่เเตกต่างกัน ผูอ้ อกแบบต้องเลือกที่จะน�ำเสนอด้วยเหตุผล อาศัยความเข้าใจและ ปั ญญา ค�ำว่า ปั ญญา นี เ้ ป็ นสิ่งที่ผูอ้ อกแบบถูกย�ำ้ เตือนอยู่เสมอ ปั ญญาไม่ได้ หมายความเพียงว่าความรอบรู ้ เป็ นผูร้ ูม้ าก แต่ส่งิ ส�ำคัญ คือ การวิเคราะห์ กลั่นกรอง และน�ำมาปฏิบตั ิ งานออกแบบจึงเป็ นภาพของความคิดของผูอ้ อกแบบ ซึ่งผูเ้ สพย์ อาจจะมีความเห็นที่สอดคล้องหรือมีความเห็นที่เเตกต่าง ซึง่ ถือเป็ นโอกาสที่ผอู้ อกแบบ และผูเ้ สพย์จะมีโอกาสเรียนรูซ้ ง่ึ กันเเละกัน วัดเป็ นพืน้ ที่ประกอบด้วยสาระทางนามธรรม ที่สมั พันธ์กบั ปรัชญาค�ำสอน เป็ นพืน้ ที่ประกอบพิธีกรรมของพระสงฆ์ และเป็ นพืน้ ที่ประกอบกิจกรรมทางสังคม ที่ คนในชุมชนจะมารวมตัวกันในงานบุญประเพณี วัดจึงไม่ได้เป็ นเพี ยงที่ ตัง้ ของ ถาวรวัตถุหรือศาสนาคาร แต่วดั คือพืน้ ที่รวบรวมไว้ซ่งึ เรื่องราววัฒนธรรมประเพณี ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน วิถีชีวิต ความเคารพศรัทธาในพระพุทธศาสนา วัดด้ามพร้าก็เช่นเดียวกัน ผูอ้ อกแบบได้ใช้พืน้ ฐานความเข้าใจข้างต้นนี ้ มาใช้ในการ ออกแบบและปรับปรุงผัง รวมทัง้ การลงพืน้ ทีจ่ ริงเพือ่ เก็บข้อมูลกายภาพของวัด พร้อมทัง้ ท�ำการสัมภาษณ์บคุ คลทีเ่ กี่ยวข้อง ท�ำให้พบปั ญหาและข้อค้นพบต่าง ๆ ได้แก่ ปัญหา จากการเปลี่ยนแปลงของคนในชุมชนโดยรอบ จากชุมชนเกษตรกรรมเป็ นชุมชนเมือง มีบคุ คลภายนอกเข้ามาอยูอ่ าศัยมากขึน้ สภาพแวดล้อมรอบวัดจึงมากไปด้วยความสับสน วุน่ วาย ในส่วนของพืน้ ทีว่ ดั พบว่า มีปัญหาการแบ่งพืน้ ที่การใช้งาน (Zoning) ส่งผลให้ เกิ ดความไม่เ หมาะสมในการใช้งานระหว่างส่วนฆราวาสและส่วนของพระสงฆ์ ท�ำให้เกิดความพลุกพล่าน ขาดความสงบ รบกวนวัตรปฏิบตั ิของพระสงฆ์ เป็ นต้น การพบข้อ ค้น พบหรื อ ปั ญ หาเหล่ า นี ้น �ำ ไปสู่ก ารก�ำ หนดประเด็ น การออกแบบ และปรับ ปรุ ง ผัง วัด เพื่ อ ให้เ กิ ด ความสงบ เป็ น ระเบี ย บ เป็ น ที่ พ่ึง ทางกายและใจ โดยเฉพาะชุม ชนโดยรอบวัด ที่ ข าดพื น้ ที่ ที่ สงบเป็ น ระเบี ย บ และร่ม เย็น

ในส่ ว นของการออกแบบวิ ห ารประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป โบราณ ที่ พ บ ภายในวัด นั้น ผูอ้ อกแบบมี แ นวความคิ ด ที่ จ ะใช้ง านสถาปั ต ยกรรมพื น้ ถิ่ น อี ส าน มาเป็ นแนวทางในการออกแบบ เพราะเกิดความคิดค�ำนึงถึงรู ปแบบสถาปั ตยกรรม ที่เคยมีมาในอดีตในภูมิภาคนี ้ เชื่อว่าการสร้างสรรค์รูปทรงที่ประณีต มีคณ ุ ค่าทาง ความงามนีจ้ ะท�ำให้ผใู้ ช้งานรูส้ กึ ได้ถงึ ความสงบ หรือแม้แต่การหวนค�ำนึงถึงอดีตอัน เป็ นสิ่งที่จะกล่อมเกลาจิตใจให้ละเอียดประณีต และเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม การศึกษาสถาปั ตยกรรม ศิลปกรรมอีสานนัน้ มีขอ้ จ�ำกัดอยูม่ าก เช่น อาคาร โบราณจ�ำนวนน้อยที่เหลืออยูใ่ ห้ศกึ ษาล้วนถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา อี ก ทั้ง ต้อ งท�ำ ความเข้า ใจในเนื อ้ หาประวัติ ศ าสตร์ก ารเมื อ ง และวัต รปฏิ บัติ ข อง พระภิกษุสงฆ์ในภาคอีสานอีกด้วย จากการศึกษาพบว่า งานสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสานมีท่ีมาจากหลายปั จจัย อาทิ - เกิดจากวัสดุในการสร้าง ความจ�ำเพาะในเรื่องสภาพเเวดล้อมภาคอีสาน ส่วนใหญ่มลี กั ษณะเป็ นป่ าดิบแล้งและป่ าเต็งรัง ไม่มไี ม้สกั ไม้เต็งรังเป็ นไม้เนือ้ เเข็งและ โตช้า การน�ำไม้เนือ้ แข็งเป็ นโครงสร้างนัน้ ท�ำได้ยาก - เกิดจากความเข้าใจต่อรูปทรง ความเข้าใจของผืนหลังคา ความเข้าใจต่อ โครงสร้างของช่างพืน้ ถิ่น เช่น การวางตุ๊กตาอีกตัวบนขื่อคัดที่ออกมาจากเสา เพราะ ตับบนที่ซอ้ นลึก และยื่นยาวออกมามาก - เกิดจากรสนิยม ความเคลื่อนไหวในสังคม มีการปรับปรุ งการปกครอง คณะสงฆ์ พระภิกษุสงฆ์อีสานในอดีตที่ได้เข้ามาเรียนในกรุงเทพฯ มีความประทับใจ ไปจากการออกแบบ โบสถ์ วิหาร จนกลายเป็ นงานต้นแบบทางความคิด ผูอ้ อกแบบรูส้ กึ ประทับใจในเส้น และรูปทรงของสถาปัตกรรมอีสานทีม่ บี คุ คลิก เฉพาะตัว มีการจัดองค์ประกอบและโครงสร้าง ที่เป็ นอิสระตามความคิดอ่านของช่าง พืน้ ถิน่ ผูอ้ อกแบบจึงได้นำ� สิง่ เหล่านีม้ าออกแบบในความตระหนักถึงวัฒนธรรมท้องถิน่ และแรงบันดาลใจในสถาปั ตยกรรมโบราณ หรือภายใต้ลกั ษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เช่น เงื่อนไขของวัสดุ สภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ เป็ นต้น ผลจากการการออกแบบในครั้ง นี ้ท �ำ ให้ผู้อ อกแบบได้ร ับ บทเรี ย นว่ า การออกแบบไม่ควรที่จะละเลยการออกแบบความคิด คือ ต้องคิดเรียบเรียงที่มา และเหตุผลในการออกแบบแล้วอธิบายด้วยความเข้าใจ จึงจะท�ำให้เกิดการแนะน�ำ การให้ความเห็น และเเลกเปลี่ยนความรูท้ ำ� ให้เกิดกระบวนการเรียนรูซ้ ง่ึ เป็ นสิ่งส�ำคัญ ในการท�ำวิทยานิพนธ์

107


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

บรรณานุกรม ณรงค์ฤทธิ์ ทองแสง, การศึกษาสิมอีสานสายวัมนธรรมไท - ลาว ลุม่ แม่นำ้� โขงตอนล่าง เพื่อออกแบบสิมวัดหลวง เมืองอุบลราชธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐). ติก๊ แสนบุญ, บรรณาธิการ. วิกฤติศลิ ปะพืน้ บ้านอีสานอดีต-ปั จจุบนั -อนาคต. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๘. (หนังสือประกอบการเสวนาทางวิชาการ เรือ่ งวิกฤติศลิ ปะพืน้ บ้านอีสาน : อดีต - ปั จจุบนั - อนาคตเนื่องในวาระครบรอบ ๑๕ ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๘). เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อีสาน. เล่ม ๑. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. พระนคร : ส�ำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, ๒๕๑๕. เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อีสาน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๖. เติม สิงหัษฐิ ต, ฝั่งขวาแม่นำ้� โขง. พระนคร : คลังวิทยา, ๒๔๙๙. เทพกิตติมนุ ี, วัดทุง่ ศรีเมือง อ. เมืองจ. อุบลราชธานี, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. อุบลราชธานี วิทยาออฟเซทการพิมพ์, ๒๕๔๖. (จัดพิมพ์เนื่องในงานฌาปนกิจศพ น.ส.นพ มณีศรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖). ธณัฏฐา เต็มวงษ์, อาราม บรรพกาล ไทหล่ม (วิทยานิพนธ์สถาปั ตยกรรมศาสตรบัญฑิต คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๙). ธรรมปิ ฎก (ป. อ. ปยุตโต), พระ, พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. ธรรมวโรดม, พระ, คูม่ ือพระอุปัชฌาย์, กรุงเทพมหานคร : กรรมการมหาเถรสมาคมวัดเบญจมบพิตร, ๒๕๔๕. ธิดา สาระยา, เมืองอุบลราชธานีแห่งราชะศรีสง่าแห่งไพรพฤกษ์, กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๓๖. ธิดา สาระยา, ประวัติศาสตร์อีสานโบราณ, กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์มติชน, ๒๕๓๕. นิวตั น์พ. ศรีสวุ รนันท์, ประวัตศิ าสตร์ไทยลาว - อีสาน. กรุงเทพมหานคร : มิตรนราการพิมพ์, ๒๕๒๙. บ�ำเพ็ญ ณ อุบล, ประวัตศิ าสตร์บางตอนของเมืองอุบลราชธานี. (ม. ป. ท.), ๒๕๓๘. (พิมพ์เป็ นที่ระลึกในงานท�ำบุญประจ�ำปี วัดนรนากสุนทริการาม ๗-๘ กันยายน ๒๕๓๘). บ�ำเพ็ญ ณ อุบล, เล่าเรือ่ งเมืองอุบลราชธานี, พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๕. (ที่ระลึกโครงการสัมมนาความร่วมมือระหว่างห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาครัง้ ที่ ๒๐) ประมวล วิชาพูล, พระยา, พงศาวดารเมืองล้านช้างและล�ำดับสกุลสิทธิสาริบตุ รราชตระกูลล้านช้างเวียงจันทน์. (ม. ป. ท.), ๒๔๘๔. วรลัญจก์ บุณยสุรตั น์, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๔๔. วิโรฒ ศรีสโุ ร, สถาปั ตยกรรมกลุม่ ชนสายวัฒนธรรมไต-ลาว. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๔. วิโรฒ ศรีสโุ ร, สิมอีสาน. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๖. วิโรฒ ศรีสโุ ร, ส่วนประดับสถาปั ตยกรรมอีสานกรณีศกึ ษาจังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๖. ศมประสงค์ ชาวนาไร่, จดหมายเหตุอโุ บสถวัดโพธิคณ ุ . กรุงเพทฯ : อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนพับลิชชิ่ง, ๒๕๕๘. ศมประสงค์ ชาวนาไร่, โครงการออกแบบอุโบสถวัดมเหยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเพทฯ : พิมพ์ดี, ๒๕๕๘. ศมประสงค์ ชาวนาไร่, ส่วนประดับจั่วในศิลปกรรมอยุธยา. กรุงเพทฯ : พิมพ์ดี, ๒๕๕๗. สมคิด จิระทัสนกุล, อภิธานศัพท์ชา่ งสถาปั ตยกรรมไทย เล่ม ๔ ส่วนองค์ประกอบหลังคา. กรุงเทพฯ : คระสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวัทยาลัยสิลปากร, ๒๕๕๙.

108


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนังสือขออนุญาตการออกแบบ

109


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ภาคผนวก ข ความรู้เกีย่ วเนื่องในการออกแบบ ความเชือ่ การถือผี ถือผีฟ้าพญาแถน ชาวอีสานทัง้ มวลจนถึงแถบจังหวัดอุบลราชธานี มีการนับถือพญาแถน คือ ผีฟา้ เป็ นเทวดาผูด้ ลบันดาลน�ำ้ ฝนในการท�ำกสิกรรม นอกจากนีใ้ นชุมชนอีสาน ยังมีการนับถือผีอีกหลายประเภท เช่น ผีมเหสักข์๑ ผี หลักเมืองซึง่ ค�ำว่า “มเหสักข์” หมายถึง วิญญาณของพระมหากษัตริยผ์ ลู้ ว่ งลับไปแล้ว ซึง่ ผีมเหสักข์สำ� คัญของเมืองอุบลราชธานี ได้แก่ เสด็จเจ้าหอค�ำ เจ้าหน่อกษัตริย ์ เจ้านคร จ�ำปาศักดิอ์ งค์แรก การนับถือผีบา้ น เช่น บวงสรวงวิญญาณบรรพบุรุษเพื่อให้ปกปั กรักษาลูกหลาน มีการตัง้ “ดอนเจ้าปู่ ” หรือ “ดอนปู่ ตา” โดยเลือกภูมิประเทศที่มีโคกน�ำ้ ท่วมไม่ถึงมีตน้ ไม้ ใหญ่หนาทึบร่มครึม ตัง้ ตูบ ศาล หรือศาลาเป็ นที่สถิตของเจ้าปู่ ทงั้ หลาย สถานที่นีถ้ ือเป็ น ที่ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ใครรุกล�ำ้ หรือตัดต้นไม้ หรือแสดงวาจาหยาบคายไม่ได้ ปู่ ตาจะลงโทษกระท�ำ ให้เจ็บหัวปวดท้อง เป็ นต้น ค�ำว่า“ ปู่ ตา” ย่อมหมายถึงญาติฝ่ายบิดา หรือ ปู่ - ย่า กับญาติ ฝ่ ายมารดา คือ ตา - ยาย รวมเป็น ปู่ - ย่า - ตา - ยาย ซึง่ คนทัง้ ๔ นีเ้ วลามีชีวิตอยูก่ ็เป็ นที่เคารพ นับถือของลูกหลาน เมื่อตายไปลูกหลานก็ยงั นับถืออยู่ (บ้างก็เรียกว่า “ผีเชือ้ ”) จึงปลูกหอ ให้ทา่ นอยูท่ งั้ นีจ้ ะมีพิธีเลีย้ งผีปตู่ า” กระท�ำในเดือน ๗ ในขณะเดียวกัน วันพระ วันโกน วันส�ำคัญทางพุทธศาสนา หรือวันบุญประจ�ำ เดือนตามฮีต ๑๒ ต่าง ๆ จะมีอบุ าสกอุบาสิกามาถือศีล ฟั งธรรมอยู่ ณ หอแจกของวัดใน หมูบ่ า้ นมิได้ขาด นอกจากนีย้ งั นิยมให้ลกู หลานบวชเรียนตัง้ แต่ยงั เป็ นสามเณร และมีมากที่ ได้อปุ สมบทเป็ นพระสงฆ์ ครองเพศสมณะอยูต่ ราบจนมรณภาพ สิ่งเหล่านีท้ ำ� ให้เห็นถึงวิถี ชีวติ ทางความเชื่อของคนอีสานที่นบั ถือพุทธศาสนาไปพร้อมกับการนับถือผี หรือวิญญาณ บรรพบุรุษไปด้วยกันอย่างผสมกลมกลืน๑

การถือฮีตสิบสอง ฮีตสิบสอง หมายถึงประเพณีท่ีตอ้ งปฏิบตั ทิ งั้ ๑๒ เดือนในแต่ละปี “ฮีต” มาจาก ค�ำว่า “จารีต” ถือเป็ นจรรยาบรรณของสังคม หากฝ่ าฝื นก็จะมีความผิด เรียกว่า ผิดฮีต หมายถึงการผิดจารีตนั่นเอง ซึง่ การถือฮีตสิบสอง ถือเป็ นจารีตประเพณีหลักในการด�ำเนิน ชีวติ ในแต่ละเดือน จนครบรอบปี ของกลุม่ ชาวอีสานที่ได้รบั การสืบทอดมาจากกลุม่ ชนสาย วัฒนธรรมไท - ลาว รุ น่ บรรพบุรุษเป็ นแนวทางปฏิบตั ิท่ีแทรกตัวอยู่ในวิถีชีวิตโดยมีความ สัมพันธ์กบั พุทธศาสนาอย่างแนบแน่น (ในประเทศลาวต้นแบบวัฒนธรรมล้านช้างก็มีการ ถือประเพณีตามฮีตสิบสองเช่นกัน) ดังนัน้ เมือ่ ถึงช่วงการท�ำบุญตามการถือฮีตในแต่ละเดือน วัดจะมีบทบาทส�ำคัญยิ่งทัง้ ในเรื่องของสถานที่อนั เป็ นศูนย์รวม และการพัฒนาจิตใจของ คนในชุมชนคุม้ บ้านนัน้ ได้อธิบายเรือ่ งฮีตสิบสองในการปฏิบตั ติ ลอดช่วงระยะเวลา ๑ ปี ดังนี ้ เดือนอ้าย (เดือนเจียง) : บุญเข้ากรรม เริม่ เดือนธันวาคม พระสงฆ์เข้ากรรม (ปริวาสกรรม) เพื่อให้พระสงฆ์ผตู้ อ้ งอาบัตหิ มวดสังฆาทิเสส ได้เข้ากรรมสารภาพต่อคณะ สงฆ์เป็ นการฝึ กจิตส�ำนึกถึงความบกพร่องของตน และมุง่ ประพฤติตนให้ถกู ต้องตามพระ วินยั ต่อไป ภิกษุท่ีจะเข้ากรรมจะต้องจัดแจงสถานที่ให้สะอาดอาจท�ำเป็ นกระท่อมเล็ก ๆ หาน�ำ้ กิน น�ำ้ ใช้ ไว้ให้เพียงพอที่จะเข้ากรรมโดยการอยูป่ ริวาส (ค้างคืน) และจ�ำศีลให้ครบ ก�ำหนดพุทธศาสนิกชน จะน�ำข้าวปลาอาหาร จตุปัจจัยไทยทานไปถวายภิกษุ ผูเ้ ข้าอยู่ ปริวาสกรรมจนกว่าท่านจะออกจากกรรม แล้วก็จดั ให้มีการฟั งเทศน์มีการไปนั่งสมาธิท่ีวดั ตลอดจนการเลีย้ งผีตา่ ง ๆ เดือนยี่ : บุญคูณลาน เริม่ เดือนมกราคม คือการท�ำบุญข้าวเปิ ดยุง้ ข้าว (หลัง จากเสร็จสิน้ ฤดูเก็บเกี่ยวแล้วต้องเก็บข้าวเข้ายุง้ ) ในพิธีบญ ุ ชาวบ้านจะขนเอามัดรวงข้าว ที่เกี่ยวเสร็จแล้วกองรวมกันไว้ท่ีลานเก็บข้าว การน�ำข้าวที่นวดแล้วมากองขึน้ ให้สงู เรียกว่า “คูณลาน” ชาวบ้านนิมนต์พระสงฆ์ทำ� พิธีสขู่ วัญข้าวเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อเป็ นมงคลแก่ ข้าวเปลือก เดือนสาม : บุญข้าวจีแ่ ละบุญมาฆบูชา เริม่ เดือนกุมภาพันธ์ หลังจากการเปิ ด ยุง้ ข้าวก็นำ� ข้าวจี่ (ข้าวเหนียวปิ ้งชุบไข่และน�ำ้ อ้อย) มาถวายพระคือเมื่อถึงวันท�ำบุญข้าวจี่ มักจะเป็ นวันเพ็ญเดือนสาม ทุกครัวเรือนในหมูบ่ า้ นจัดเตรียมข้าวจี่แล้วนิมนต์พระสงฆ์มา มาฉันที่ศาลาการเปรียญ หรือศาลาโรงธรรม

เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อสี าน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย, ๒๕๑๕) ๙๐. ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๙๑. ๑

110


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

เดือนสี่ : บุญผะเหวด ช่วงเดือนมีนาคม ถือเป็ นงานบุญใหญ่ของชาวอีสาน ค�ำว่า “ผะเหวด” หมายถึง “พระเวสสันดร” มีการฟั งเทศน์มหาชาติ เพราะชาวอีสานเชื่อตาม คัมภีรพ์ ระมาลัยในทางพุทธศาสนาว่าการฟั งเทศน์มหาชาติ (พระเวสสันดรชาดก) รวม ๑๓ กัณฑ์ให้จบภายในวันเดียวจะได้รบั อานิสงฆ์ผลบุญมาก ก่อนเทศน์จะมีพธิ ีบชู า และแห่ขา้ ว พันก้อนก่อนเพื่อเป็ นเครือ่ งบูชาพระเวสสันดร โดยการใช้ขา้ วเหนียวนึง่ ปั้นเป็ นก้อน ๑,๐๐๐ ก้อน ตามจ�ำนวนพระคาถาในการเทศน์มหาชาติชาวบ้านแห่ขา้ วพันก้อนท�ำทักษิณาวรรต รอบธรรมาสน์ ๓ รอบ ในระหว่างทีเ่ วียนทักษิณาวรรตก็หย่อนข้าวลงทีข่ นั กระหย่อง (ขันไม้ไผ่ สานทรงสี่เหลี่ยมลบมุมมีเชิงทัง้ สี่ดา้ นเป็ นขา) ๔ ใบที่จดั ไว้ท่ีบริเวณมุมธรรมาสน์ทงั้ ๔ ทิศ๑ ช่วงบ่าย หรือเย็นจะมีการจัดขบวนแห่รบั พระเวสสันดร เข้าเมืองตามท้องเรือ่ งช่วง ที่หลังจากการถูกเนรเทศ ไปอยูป่ ่ าเขาวงกต โดยใช้พระพุทธรูป หรือผูห้ ลักผูใ้ หญ่ท่ีนบั ถือ ในหมู่บา้ นสมมุติประหนึ่งเป็ นพระเวสสันดร ชาวบ้านแต่งขบวนไปรับพระเวสสันดรจาก ชายป่ าข้างหมูบ่ า้ นที่สมมุติให้เป็ นป่ าหิมพานต์ ในขบวนแห่จะมีการแห่ผา้ ผะเหวด ซึง่ เป็ น ผ้าขาวเขียนรูปเรือ่ งราวเกี่ยวกับพระเวสสันดรตัง้ แต่ตน้ จนจบแบ่งเป็ น ๑๓ กัณฑ์ โดยฝี มือ ช่างพืน้ ถิ่นอีสาน (มีลกั ษณะคล้ายภาพพระบถ) ผ้าผะเหวดนีจ้ ะถูกน�ำมาแขวนในศาลาที่ใช้ ส�ำหรับเทศน์มหาชาติในตอนกลางคืน เพื่อให้ผทู้ ่ีมาร่วมฟั งเทศน์ได้ดใู ห้เกิดความทราบซึง้ ซึง่ วัดภาคอีสานบางแห่งจะมีการน�ำผ้าผะเหวดไปแขวนไว้ภายใน สิม หรือวิหาร หลังเสร็จ จากงานบุญมหาชาติ ด้วยต่อจากการแห่ผา้ ผะเหวด มักจะเป็ นขบวนแห่เครือ่ งกัณฑ์เทศน์ คือ ข้าวของที่นำ� มาถวายพระประจ�ำแต่ละหมูบ่ า้ นแต่ละเจ้าภาพสลับกับแตรวง กลองดนตรี ปี่ แคน ต่าง ๆ อย่างสนุกสนาน โดยเฉพาะขบวนกัณฑ์พิเศษสุดท้ายนอกเหนือจากทัง้ ๑๓ กัณฑ์ เรียกว่า “กัณฑ์หลอน” ซึง่ ถือเป็ นกัณฑ์สมทบไม่มีการจองเป็ นเจ้าภาพล่วงหน้า และ ไม่จำ� กัดจ�ำนวน ๒๔ (หากเป็ นของที่เจาะจงถวายเฉพาะพระสงฆ์ท่ีตนนิมนต์มาเทศน์จะ เรียกว่า “กัณฑ์จอบ” ซึง่ ค�ำว่า “จอบ” ในภาษาอีสานก็หมายถึงการซุม่ ดูให้แน่ใจเสียก่อน) เดือนห้า : บุญสงกรานต์ (บุญสรงน�้ำ) ในช่วง เดือนเมษายน มีการสรงน�ำ้ พระพุทธรูปพร้อมบูชาอธิษฐานขอพรให้ชมุ ชน มีงานท่อประทาย (ก่อกองทรายโดยการขน ทรายเข้าวัด) ตกแต่งเป็ นพระเจดียท์ ราย เพื่อส�ำนึกว่าเวลาเข้าวัดแล้วได้เหยียบย�่ำเอาทราย ในวัดออกไปด้วย เมื่อครบรอบปี ก็ควรขนทรายกลับเข้ามาคืนวัด เดือนหก : บุญบัง้ ไฟและบุญวันวิสาขบูชา ช่วงเดือนพฤษภาคม เป็ นบุญส�ำคัญ ก่อนลงมือท�ำนาปลูกข้าว งานบุญจะมีการจุดบัง้ ไฟบูชาพญาแถน และมีการบวชนาค พร้อม กันด้วยเพื่อเป็ นการขอฝน ขอขมาพญาแถน ซึง่ ตามความเชื่อของกลุม่ ชนสายวัฒนธรรม ไท-ลาว ถือว่าพญาแถน เป็ นผูด้ แู ลฝนฟ้า๒ เดื อ นเจ็ ด : บุ ญ ซ� ำ ฮะ(ล้ า ง) ช่ ว งเดื อ นมิ ถุน ายน บุญ บูช าบรรพบุรุ ษ มี การเซ่ น สรวงหลัก เมื อ ง หลัก บ้า น ผี ปู่ ตา ผี เ มื อ ง ผี ต าแฮก ให้ป กครองบ้า นเมื อ ง ให้อ ยู่ เ ย็ น เป็ น สุข และเพื่ อ ระลึ ก ถึ ง ผู้มี พ ระคุณ โดยมี ก ารบู ช าหลัก บ้า นหลัก เมื อ ง ก่ อ น มัก จัด พิ ธี ท่ี ศ าลากลางบ้า น (หากไม่ มี ศ าลากลางบ้า นก็ จัด ท�ำ ปะร�ำ พิ ธี ) เพื่ อ เป็ นสิริมงคลต่อจากนั้นก็ มีบุญบูชาเลีย้ งผี ปู่ตา ซึ่งถื อเป็ นผี บรรพบุรุษประจ�ำหมู่บา้ น

เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา ช่วงเดือนกรกฎาคม ตรงกับวันแรม ๑ ค�่ำเดือน ๘ เป็ นประเพณีทางพุทธศาสนาโดยตรง ชาวบ้านหล่อเทียนใหญ่ ถวายเป็ นพุทธบูชา และเก็บ ไว้ใช้ตลอดพรรษาโดยเฉพาะที่จงั หวัดอุบลราชธานี จะมีการประกวดต้นเทียนแต่ละคุม้ วัด เป็ นขบวนแห่ประดับประดาเป็ นรูปต่าง ๆ ทางพุทธศาสนาอันงดงาม เช่น รูปพระพุทธเจ้า รูปเรือ่ งพระเวสสันดร เป็ นต้น เดือนเก้า : บุญข้าวประดับดิน ช่วงเดือนสิงหาคม ตรงกับวันแรม ๑๔ ค�่ำเดือน ๙ ซึง่ ตามความเชื่อของกลุม่ ชนสายวัฒนธรรมไท - ลาว เชื่อว่าเป็ นวันเดือนดับที่ประตูนรก เปิ ดยมบาลจะปล่อยให้ผีนรกออกมาเยี่ยมญาติในโลกมนุษย์ ในคืนนีค้ ืนเดียวเท่านัน้ ใน เดือนดับนัน้ พร้อมเชิญวิญญาณญาติผลู้ ว่ งลับมารับอาหารไปเป็ นการท�ำบุญ เพื่ออุทศิ ญาติ ผูล้ ว่ งลับ พอรุง่ เช้าชาวบ้านใส่บาตรพระสงฆ์แสดงธรรม เรือ่ งอานิสงส์บญ ุ ข้าวประดับดิน ชาวบ้านถวายปั จจัยไทยทานแด่พระสงฆ์เมื่อพระสงค์ให้พรเสร็จก็กรวดน�ำ้ ให้แก่ผลู้ ว่ งลับ เดือนสิบ : บุญข้าวสาก (กระยาสารท) ช่วงเดือนกันยายน ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๑๐ เป็ นงานบุญเพื่อให้ขา้ วในนาที่ปักด�ำเจริญงอกงามดีและอุทิศส่วนกุศล แก่ผลู้ ว่ งลับ ใน งานมีการถวายข้าวสลาก แก่พระสงฆ์โดยจัดเตรียมเป็ นห่อข้าวน้อยห่อใบตอง (การเตรียม ห่อข้าวน้อยมักจะเตรียม ๑๐ คูเ่ พื่อเลีย้ ง “ผีตาแฮก” ในที่นาของตนให้ผีตาแฮกพอใจ จะได้ ดูแลข้าวกล้าที่ปลูกไว้) เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา ช่วงเดือนตุลาคม ในวันขึน้ ๑๕ ค�่ำ พระสงฆ์แสดง อาบัติและท�ำการปวารณา คือ ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ต่อมาเจ้าอาวาสหรือพระผูใ้ หญ่จะ ให้โอวาทเตือนพระสงฆ์ให้ปฏิบตั ิตนอย่างผูท้ รงศีล กลางคืนมีการจุดประทีปโคมไฟแขวน ไว้ตามวัด นอกจากนีย้ งั มีงานบุญประเพณีท่ีนิยมท�ำกันในเดือน ๑๑ นี ้ คือพิธีได้ประทีปคือ การท�ำ “ฮ้านประทีป” ขึน้ หน้าสิม เดือนสิบสอง : ท�ำบุญกฐิน ช่วงเดือนพฤศจิกายน ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่แรม ๑ ค�่ำเดือน ๑๑ - วันเพ็ญกลางเดือน ๑๒ ในเดือนนีเ้ ป็ นการท�ำบุญแก่พระสงฆ์ท่ีจะจ�ำพรรษาในช่วงฤดู ฝนครบ ๓ เดือน คือ มีการท�ำบุญทอดกฐิ นชาวบ้านถวายเครื่องกฐิ นผ้ากฐิ นแด่พระภิกษุ สงฆ์ เนื่องจากพระภิกษุสงฆ์จะได้มีโอกาสเปลี่ยนไตรจีวรใหม่หลังจากผ่านช่วงเข้าพรรษา แล้ว ทัง้ นีพ้ ระภิกษุสงฆ์จะรับกฐิ นได้ตอ้ งมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า ๕ รูป (ห้ามนิมนต์จากวัดอื่น) และใน ๑ ปี วดั รับกฐิ นได้เพียงกองเดียว ๒.๑.๖ การถือคองสิบสี่ เป็ นข้อยึดปฏิบตั ติ ามธรรมเนียมล้านช้างเดิม การถือคองสิบสี่ คือ ถือครองธรรม ๑๔ อย่าง เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ติ นระหว่างผูป้ กครองกับผูอ้ ยูใ่ ต้การปกครอง ตลอดจน การปฏิบตั ติ นระหว่างคนธรรมดาด้วยกัน ได้แก่ ฮีตเจ้าคองขุน ฮีตเจ้าคองเพีย (เพีย หมาย ถึง พระยา) ฮีตไพร่คองนาย ฮีตบ้านคองเมือง ฮีตปู่ คองย่า ฮีตพ่อคองแม่ ฮีตสะใภ้คองเขย ฮีตป้าคองลุง ฮีตลูกคองหลาน ฮีตเฒ่าตองแก่ ฮีตปิ คองเดือน ฮีตไร่คองนา ฮีตวัดคองสงฆ์ และฮีตเจ้าคองเมือง เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อสี าน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย, ๒๕๑๕), ๙๘. ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๑๐๐. ๑

111


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

กฎหมายและเทศบัญญัตทิ เ่ี กีย่ วข้อง เทศบัญญัตเิ ทศบาลนครอุบลราชธานี เรื่อง ควบคุมการก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๒ ลักษณะอาคารต่าง ๆ ข้อ ๕ อาคารที่มไิ ด้กอ่ สร้างด้วยวัตถุถาวร หรือวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ครัวไฟต้อง อยู่นอกอาคารเป็ นส่วนสัดต่างหากถ้าจะรวมครัวไฟไว้ในอาคารด้วยก็ได้แต่ตอ้ งลาดพืน้ บุ ผนังฝาเพดานครัวไฟด้วยวัตถุถาวรเป็ นส่วนใหญ่ ข้อ ๖ อาคารที่มไิ ด้กอ่ สร้างด้วยวัตถุถาวรหรือวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่หรือก่อด้วย อิฐไม่เสริมเหล็กให้ปลูกสร้างได้ไม่เกินสองชัน้ ข้อ ๗ อาคารสองชัน้ ที่มิได้ก่อสร้างด้วยวัตถุถาวร หรือวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ พืน้ ชัน้ ล่างของอาคารนัน้ จะสูงกว่าระดับพืน้ ดินเกิน ๑.๐๐ เมตร ไม่ได้ หมวด ๓ ส่วนต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ ๑๔ ห้องที่ใช้เป็ นที่พกั อาศัยในอาคารให้มีสว่ นกว้าง หรือยาวไม่ต่ำ� กว่า ๒.๕๐ เมตร กับรวมเนือ้ ที่พืน้ ทัง้ หมดไม่นอ้ ยกว่า ๙ ตารางเมตร ข้อ ๑๕ ห้องนอนหรือห้องที่ใช้เป็ นที่พกั อาศัยในอาคารให้มชี อ่ งประตู และหน้าต่าง เป็ นเนือ้ ที่รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิบของพืน้ ที่ของห้องนัน้ โดยไม่รวมนับส่วนประตูหรือ หน้าต่างอันติดต่อกับห้องอื่น ข้อ ๑๖ ช่องทางเดินภายในอาคารส�ำหรับบุคคลใช้สอย หรือพักอาศัยต้องกว้างไม่ น้อยกว่า ๑๐๐ เมตร กับมิให้มีเสากีดกัน้ ส่วนหนึง่ ส่วนใดแคบกว่าก�ำหนดนัน้ ทัง้ ให้มีแสง สว่างแลเห็นได้ชดั ข้อ ๑๗ ยอดหน้าต่างและประตูในอาคารให้ทำ� สูงจากพืน้ ไม่นอ้ ยกว่า ๑.๘๐ เมตร และบุคคลซึง่ อยูใ่ นห้องต้องสามารถเปิ ดประตูหน้าต่างและออกจากห้องนัน้ ได้โดยสะดวก ข้อ ๑๘ ระยะดิ่งระหว่างพืน้ ถึงเพดานยอดฝา หรือยอดผนังของอาคารตอนต�่ำสุด ต้องไม่ต่ำ� กว่าที่กำ� หนดไว้ กฎกระทรวงฉบับที่ ๕๕ (พ. ศ. ๒๕๔๓) หมวด ๔ แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ ๔๑ อาคารที่สงู เกินสองชัน้ หรือเกิน ๘ เมตร อาคารสาธารณะใกล้ถนน สาธารณะ (๑) ถ้าถนนสาธารณะนัน้ มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร ให้รน่ แนวอาคารห่าง จากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย ๖ เมตร ข้อ ๔๒ อาคารที่ ก่อ สร้าง หรือ ดัด แปลงใกล้แหล่งน�ำ้ สาธารณะถ้าแหล่งน�ำ้ สาธารณะนัน้ มีความกว้างตัง้ แต่ ๑๐ เมตร ขึน้ ไปต้องรุน่ แนวอาคารให้หา่ งจากเขตแหล่ง น�ำ้ สาธารณะนัน้ ไม่นอ้ ยกว่า ๖ เมตร ทัง้ นีเ้ ว้นแต่สะพานเขื่อนรัว้ ท่อระบายน�ำ้ ท่าเรือ ป้าย อูเ่ รือ คานเรือ หรือที่วา่ งที่ใช้เป็ นที่จอดรถไม่ตอ้ งร่นแนวอาคาร

112

กฏกระทรวงฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ.๒๕๔๓)

ส่วนที่ ๓ บันไดของอาคาร

ข้อ ๒๓ บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยถ้ามีตอ้ งมีอย่างน้อยหนึ่งบันไดที่มีความกว้าง สุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๘๐ เซนติเมตร ช่วงหนึง่ สูงไม่เกิน ๓ เมตร ลูกตัง้ สูงไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร ลูก นอนเมื่อหักส่วนที่ขนั้ บันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๒๒ เซนติเมตร และต้องมีพืน้ หน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันได บันไดที่สงู เกิน ๓ เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง ๓ เมตร หรือน้อยกว่านัน้ และชานพัก บันไดต้องมีความกว้างและยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันได ระยะดิ่งจากขัน้ บันได หรือชานพักบันไดถึงส่วนตํ่าสุดของอาคารที่อยูเ่ หนือขึน้ ไปต้องสูงไม่นอ้ ยกว่า ๑.๙๐ เมตร ข้อ ๒๔ บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก ส�ำนักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษ ส�ำหรับที่ใช้กบั ชัน้ ที่มีพืน้ ที่ อาคารชัน้ เหนือขึน้ ไป รวมกันไม่เกิน ๓๐๐ ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑.๒๐ เมตร แต่สำ� หรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้กบั ชัน้ ที่มีพืน้ ที่อาคารชัน้ เหนือขึน้ ไป รวมกันเกิน ๓๐๐ ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑.๕๐ เมตร ถ้าความกว้าง สุทธิของบันไดน้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร ต้องมีบนั ไดอย่างน้อยสองบันไดและแต่ละบันไดต้อง มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑.๒๐ เมตร บันไดของอาคารทีใ่ ช้เป็ นทีช่ มุ นุมของคนจ�ำนวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยาย ที่มีพืน้ ที่รวมกันตัง้ แต่ ๕๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถาน บริการที่มีพืน้ ที่รวมกันตัง้ แต่ ๑,๐๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป หรือบันไดของแต่ละชัน้ ของอาคาร นัน้ ที่มีพืน้ ที่รวมกันตัง้ แต่ ๒,๐๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑.๕๐ เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบนั ไดเดียวต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๓ เมตร กฎกระทรวงฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๕๒ หมวด ๓ ระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ ข้อ ๑๓ ในกรณีท่ีจดั ให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ห้องในอาคารทุกชนิดทุก ประเภทต้องมีประตู หน้าต่าง หรือช่องระบายอากาศด้านติดกับอากาศภายนอกเป็ นพืน้ ที่รวม กันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิบของพืน้ ที่ของห้องนัน้ ทัง้ นี ้ ไม่นบั รวมพืน้ ที่ของประตู หน้าต่าง และช่อง ระบายอากาศที่ตดิ ต่อกับห้องอื่นหรือช่องทางเดินภายในอาคาร


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ภาคผนวก ค ค�ำถามส�ำหรับส�ำรวจข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ค�ำถามส�ำหรับการส�ำรวจข้อคิดเห็นของการออกแบบผังแม่บทและ วิหารวัดด้ามพร้า ๑. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบและปรับปรุงผังแม่บท ๑.๑ คิดเห็นอย่างไรกับการวางผังที่เป็ นแนวแกน (อธิบายให้ง่ายต่อความ เข้าใจ เช่น มีตำ� แหน่งอาคารที่ตรงกัน มีความป็ นระเบียบ ) ๑.๒ คิดเห็นอย่างไรกับการแบ่งพืน้ ที่ตา่ งๆภายในวัดอย่างชัดเจน และพืน้ ที่ ที่ออกแบบในการจัดกิจกรรมงานบุญ มีความเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ๑.๓ คิดเห็นอย่างไรกับการออกแบบและปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในวัด โดยค�ำนึงถึงสภาพภูมิวฒ ั นธรรม ๒. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบวิหาร ๒.๑ คิดเห็นอย่างไรกับการวางต�ำแหน่งที่ตงั้ ของวิหารที่ตงั้ อยูบ่ ริเวณกลางผัง มีความเหมาะสมทัง้ ในแง่การใช้งานงานและความเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน ได้หรือไม่ อย่างไร ๒.๒ คิดเห็นอย่างไรกับรูปแบบสถาปัตยกรรมที่นำ� มาใช้ในการออกแบบวิหาร มีความเหมาะและสอดคล้องกับบริบทในพืน้ ที่หรือไม่ อย่างไร ๒.๓ คิดเห็นอย่างไรกับการออกแบบภายในวิหาร ท่านคิดว่าการออกแบบ นีส้ ่งเสริมหรือขับเน้นพระพุทธรู ปโบราณให้สมกับเป็ นที่พ่ึงที่ศรัทธาของคนในชุมชน ได้หรือไม่ อย่างไร ๓. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อพิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ ๓.๑ คิดเห็นอย่างไรกับการมีพพิ ธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิ่น และการสร้างพืน้ ที่การเรียนรู ้ อันประกอบไปด้วย สิมโบราณ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น โรงเกวียน ต�ำแหน่งที่ตงั้ มีความ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ๓.๒ คิดเห็นอย่างไรกับเนือ้ หาในการจัดแสดง ร่วมถึงแนวความคิดในการ ออกแบบพืน้ ที่จดั แสดงภายใน ๓.๓ คิดเห็นอย่างไรกับแนวคิดการปรับปรุงพืน้ ที่ภายนอกพิพธิ ภัณฑ์ ที่คำ� นึง ถึงการออกแบบที่มคี วามประหยัด และเป็ นประโยชน์สงู สุด หมายถึง การออกแบบโดย ใช้วสั ดุในท้องถิ่น และประหยัดพลังงานธรรมชาติให้มากที่สดุ (ต้องยกตัวอย่างการ ออกแบบมาอธิบายเพื่อให้เห็นภาพ)

๔.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอเเนะอืน่ ๆ ๔.๑ คิ ด เห็ น อย่ า งไรกั บ การออกแบบผัง แม่ บ ทและวิ ห ารวัด ด้า มพร้า มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย เพือ้ ฟื ้ นฟูให้วัดด้ามพร้ากลับมาเป็ นจิตวิญญาณ ของชุ ม ชนอย่ า งที่ เ คยเป็ นมาในอดี ต ภายใต้ตั ว แปร เงื่ อ นไขอย่ า งใหม่ ข อง วิถีชีวิตของสังคมในปั จจุบนั ได้หรือไม่ อย่างไร

113


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

114


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

115


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๔ การควบคุมรู ปทรงอาคาร การควบคุมรูปทรงแนวยาว (ด้านแป) ของวิหาร เกิดจากความสัมพันธ์ของ รูปทรงในเเนวตัง้ และเเนวนอน วิหารวัดด้ามพร้ามีความยาวถึง ๒๗.๘ เมตร รูปทรงใน แนวนอนได้ถกู แบ่งความยาวของอาคารเป็ นจังหวะ เพื่อสร้างความน่าสนใจ ลดทอน ความยาวของวิหารสร้างความรู ส้ ึกพิเศษของการใช้งาน และเน้นน�ำให้เห็นถึงการ ใช้งานในเเต่ละส่วน ถึงเเม้ยงั ไม่เข้าไปภายในอาคาร เช่น การรับรูว้ า่ มุขหน้าเป็ นโถง ทางเข้า มุขหลังเป็ นส่วนประดิษฐานพระพุทธรูป เป็ นต้น เพื่อเเก้ปัญหาความเป็ นแผ่นหนาหนักเเข็งทื่อของผืนผลังคา มองเห็นเป็ น สัดส่วนมากกว่าผนังและฐาน จึงใช้การซ้อนตับหลังคาถึง ๓ ซ้อน ตับที่ ๓ เป็ นหลังคา คลุมระเบียงทางเดิน ระยะความกว้างของทางเดินภายใต้หลังคาของตับที่ ๓ นีท้ ำ� ให้ เกิดที่ว่าง แสงเงา และปริมาตรอากาศเข้าไปท�ำงานร่วมกัน หากมองจากภายนอก เข้าไปก็จะไม่รูส้ กึ ทึบตัน เพราะมีตวั ผลักระยะดังกล่าว และมีเสาระเบียงควบคุมช่องไฟ เป็ นจังหวะที่สมั พันธ์กบั โครงสร้างเสาภายในตัววิหาร มีฐานที่เน้นน�ำความรูส้ กึ ที่หนัก เเน่นมั่นคง จากเส้นของลวดบัวที่เรียบตรง มีทอ้ งไม้ท่จี มลึกมากกว่าปกติ เป็ นท่าทีของ เอวขัน เชี่ยนหมาก หรือขันหมากเบ็งจ์๑ ของอีสาน ซึง่ เป็ นท่าทีท่ีซ่ือตรง และเป็ นอิสระ ซึง่ เป็ นลักษณะเฉพาะอย่างหนึง่ ของสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสาน

รูปภาพที่ ๖.๔๘ รูปภาพทัศนียภาพ ด้านแป ของวิหาร

พานพุม่ ดอกไม้ท่ีใช้เป็ นพานพุม่ บูชาในพิธีกรรม และบูชาพระรัตนตรัยในวันพระ หรือวันส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนา,_____, พจนานุกรมภาษาถิน่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, (กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, ๒๕๓๐), ๓๘. ๑

94


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๕ ส่วนประดับ ส่วนประดับเป็ นสิง่ ที่ทำ� ให้คณ ุ ภาพของรูปทรงของสถาปัตยกรรมสมบูรณ์ขนึ ้ ด้วย วิธีการต่าง ๆ เช่น การขับเน้นองค์ประกอบ การกลบหรือปิ ดบัง การเน้นน�ำให้เห็นความ สัมพันธ์ของโครงสร้าง คุณลักษณะเหล่านีถ้ งึ แม้จะเป็ นเพียงรายละเอียด แต่เมื่อมารวมตัว กันในงานสถาปั ตยกรรมแล้วกลับท�ำให้เกิดความลงตัว เป็ นรูปทรงที่มีคณ ุ ภาพ ดังนี ้ - ปั้ นลม หากสังเกตจากด้านสกัดจะพบว่า ปั้ นลมมีอิทธิ พลต่อเป้าหมายการ มองเห็นมากที่สดุ ด้วยความต้องการอารมณ์ความรู ส้ กึ ที่สงบ จึงเเสดงออกผ่านเส้นจั่วที่ กลมกล่อมและผิวที่เรียบเกลีย้ ง มีโหง่๑ (ช่อฟ้า) เป็ นตัวหยุดเหนืออกไก่ ตัวหยุดที่ปลาย ตับใช้การเปลี่ยนวัสดุเเทนใช้หางหงส์เป็ นตัวหยุด เพราะต้องการเส้นจอมแหที่ทิง้ ตัวลงไป สร้างความรูส้ กึ ต่อเนื่องของเส้น - หน้าบัน ออกแบบเป็ นช่องลูกฟั ก เพราะต้องการให้เห็นความสัมพันธ์ของ โครงสร้างแบบตุ๊กตา เป็ นการแสดงความซื่อตรงต่อโครงสร้าง โดยคิดเชิงเปรียบเทียบว่า หากไม่มีลวดลายเป็ นหน้าบันที่เกลีย้ งเป็ นระนาบเดียวไปหมดย่อมส่งผลให้ระนาบเกลีย้ ง ถูกเงาจากไขราตกกระทบจะท�ำให้ความรูส้ กึ กลายเป็ นหลุมจากการลวงตาของเงา รูส้ กึ ถึง ผิวที่ไม่เรียบ ซึง่ ต่างจากอารมณ์ของระนาบที่ตอ้ งการ คือ ซื่อตรง เรียบง่าย - โฮงผึง้ ๒ (ชุดุ รวงผึง้ ใต้ข่ือมุขโถง) ท�ำหน้าที่ประดับตกแต่ง และเป็ นการออกแบบ รูปอากาศบริเวณพืน้ ที่ใต้ข่ือ โดยออกแบบให้เป็ นเส้นโค้งหลายจังหวะและต่างระดับ สาเหตุท่ีออกแบบให้มีลกั ษณะเป็ นเส้นโค้ง เพราะเมื่อเส้นขื่อและเส้นเสาตัดกัน ท�ำให้เกิดมุม การสร้างเส้นโค้งจึงเป็ นการลบมุมให้อ่อนโยน อีกทัง้ ยังเป็ นการบีบช่องว่าง ทางเข้า เน้นน�ำการเข้าถึง เน้นน�ำด้านสกัด ถึงแม้จะไม่ได้รูส้ กึ ถึงการรับน�ำ้ หนักเเต่อย่างใด แต่โฮงผึง้ นีท้ ำ� ให้รูปอากาศเกิดความกลมกล่อม - หูชา้ ง ออกแบบให้เห็นเป็ นเส้นที่ตรงข้ามกับการสอบของเส้นเสา มีรูปร่างบาน ด้านบน ด้านล่างเล็ก เป็ นความต้องการชะลอความสอบของเสาไม่ให้ลม้ มากเกินไป ทัง้ ยัง เป็ นการสร้างรูปทรงที่สมบูรณ์ ที่ปลายผนังของตัวอาคาร

รูปภาพที่ ๖.๔๙ แผนภูมิแสดงต�ำแหน่งของส่วนประดับ

ศัพท์ทางสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นในภาคอีสาน ใช้เรียก ช่อฟ้า, วิโรฒ ศรีสโุ ร,สิมอีสาน, (กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๖), ๓๖๘. ๒ ศัพท์ทางสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นในภาคอีสาน ใช้เรียก ชุดรวงผึง้ ใต้ข่ือมุขโถง, เรือ่ งเดียวกัน, ๓๖๘. ๑

95


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๖ ทีว่ ่าง ( Space ) ภายในอาคาร ให้ความส�ำคัญกับเป้าหมายในการบูชาที่องค์พระประธาน โดยการเน้นน�ำสายตา สร้างเนือ้ หาให้มคี วามพิเศษ เช่น ออกแบบให้มบี ษุ บกประดิษฐานพระพุทธรูป ท�ำให้พระพุทธ รูปซึง่ มีขนาดเล็กไม่ให้จมหายไปกับผนัง และอยูใ่ นระดับที่พอดีกบั การมอง ส่วนบุษบกได้ ออกแบบให้สมั พันธ์กบั ช่องว่างของเสา มีซมุ ้ โค้งท�ำให้รูปอากาศที่มมุ มีความอ่อนโยนขึน้ เสาลอยในวิหารนอกจากจะเป็ นเหตุผลทางโครงสร้างเเล้วยังท�ำให้เกิดจังหวะที่เน้นน�ำไปสู่ เป้าหมายในการมอง ต้องการสร้างบรรยากาศภายในให้เกิดความสงบ ส�ำรวมกิรยิ าอาการ โดยบีบโถงทางเข้าให้เเคบ เเล้วผ่อนให้กว้างที่โถงกลาง ปริมาตรของรู ปอากาศ เป็ นสิ่งหนึ่งที่ควรค�ำนึงถึงในการออกแบบภายในอาคาร โดยปกติแล้ว อากาศย่อมมองไม่เห็นเป็ นรูปร่าง รูปทรง เเต่เมื่ออยูภ่ ายในอาคาร ระนาบ ของผนัง ระนาบของพืน้ ที่ใต้จ่ วั ล้วนมีสว่ นสร้างให้อากาศเห็นเป็ นรูปทรง ในการออกแบบ วิหารหลังนี ้ ตัง้ ใจให้เกิดปริมาตรของรูปอากาศ เป็ นรูปทรงที่ลอ้ ไปกับพืน้ ที่ใต้จ่ วั ท�ำให้เกิด เงามืดใต้จ่ วั เป็ นอันมาก ช่วยขับเน้นให้หอ้ งในสุดของอาคารที่ประดิษฐานพระประธานให้ เด่นชัด เเต่ยงั คงอารมณ์ของความสงบไว้

รูปภาพที่ ๖.๕๐ ภาพอธิบายปริมาตรของรูปอากาศภายในวิหาร

96


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๗ โครงสร้าง ปรุงระบบโครงสร้างจั่วโดยใช้ระบบตุก๊ ตา ซึง่ เป็ นโครงสร้างที่ ใช้ในการขยายอาคาร โดยใช้วิธีการตัง้ ตุ๊กตา๑ รับขื่อโท๒ และแป ล�ำดับต่อกันขึน้ ไปเป็ นชัน้ ๆ จนถึงดัง้ รับอกไก่ ซึง่ วิหารหลังนีน้ ำ� วิธีนีม้ าใช้ในการออกแบบโครงสร้าง เนื่องจาก ๑. ความเป็ นเหตุผลของโครงสร้าง ที่สร้างความรูส้ กึ ในการรับน�ำ้ หนัก ๒. สร้างความสัมพันธ์ท่ีสง่ ผลต่อรูปด้านของอาคาร เช่น ระยะห่างของแปลาน กับ ช่องไฟในการจัดลูกฟั ก ที่สง่ ผลต่อรูปด้าน ด้านสกัด การเลือกใช้วัสดุสำ� หรับโครงสร้างนีเ้ ลือกใช้เหล็ก เนื่องจากไม้เป็ นทรัพยากร ที่หาได้ยาก ราคาแพง ส่วนแผงเเลคอสอง๓ ซึง่ เป็ นโครงสร้างระหว่างตับบนและล่าง ยังคงน�ำมาใช้ในการ ออกแบบวิหารหลังนี ้ เพราะส่งผลต่อรูปทรงอาคาร ท�ำให้รูส้ กึ ถึงอารมณ์ของอาคารพืน้ ถิ่น เสาของอาคาร ออกเเบบให้เป็ นเสากลม ล้มสอบ สร้างเเนวน�ำความรูส้ กึ ในการรับ น�ำ้ หนัก และออกแบบเสาบริเวณมุข๔ หน้าทางเข้าให้มคี วามพิเศษ โดยให้เสามีลกั ษณะโคน ใหญ่ ปลายเล็ก ข้อสังเกตส�ำคัญที่พบในการออกแบบเสา คือ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปลายเสา ปกติกบั ปลายเสาที่มีการออกเเบบให้มีบวั หัวเสา ให้ความรูส้ กึ ต่างกันมาก โดยเสาที่มีการ ออกแบบให้มีบวั หัวเสาให้ความรูส้ กึ ถึงความสัมพันธ์ตอ่ เนื่องกับโครงสร้าง รูว้ า่ ต�ำเเหน่งใด คือ โคนเสา ต�ำแหน่งใด คือ ปลายเสา

ชื่อเรียกองค์ประกอบทางโครงสร้างหลังคาระบบ “เครือ่ งประดุ” ที่เป็ นไม้หน้าตัดรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ สั โดยจัดวาง อยูบ่ นขื่อใหญ่ และขื่อชักทัง้ หมด ตรงต�ำแหน่ง ซึง่ เป็ นจุดเทินรับแปลานทุกตัว, สมคิด จิระทัสนกุล, อภิธานศัพท์ สถาปั ตยกรรมไทย เล่ม ๔ ส่วนประกอบหลังคา, (กรุงเทพฯ : คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๕๙), ๑๘๙. ๒ ขื่อที่วางถัดขึน้ ไปจากขื่อประธาน โดยวางอยูส่ ว่ นปลายเสาตุ๊กตา ส่วนโคนเสาวางอยูบ่ นหลังขื่อประธาน, ศมประสงค์ ชาวนาไร่, ส่วนประดับจั่วในศิลปกรรมอยุธยา, (สมุทรสาคร : พิมพ์ดี, ๒๕๕๗), ๒๘. ๓ โครงสร้างระหว่างตับบนและตับล่าง มีลกั ษณะเป็ นแผงกระดานไม้ท่ีกรุเป็ นผนังส่วนคอสองของอาคารแบบ เครือ่ งไม้,สมคิด จิระทัสนกุล, อภิธานศัพท์สถาปั ตยกรรมไทย เล่ม ๔ ส่วนประกอบหลังคา, (กรุงเทพฯ : คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๙), ๑๕๓. ๔ ชื่อเรียกองค์ประกอบของอาคารส่วนที่ย่ืนออกจากตัวอาคารหลัก เพื่อเอือ้ ประโยชน์ในเชิงใช้สอยมิตติ า่ ง ๆ อาทิ เป็ นโถงทางเข้าออก หรือเป็ นจระน�ำส�ำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป, เรือ่ งเดียวกัน, ๑๒๔ ๑

รูปภาพที่ ๖.๕๑ แผนภูมิอธิบายโครงสร้างไม้ ระบบตุ๊กตา

97


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

รูปภาพที่ ๖.๕๒ รูปด้าน และทัศนียภาพ

98


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๔.๔.๘ แบบสถาปั ตยกรรม.

99


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

100


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

101


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

102


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

103


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

104


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๗.๑ การส�ำรวจข้อคิดเห็นของการออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี จากการสัมภาษณ์ผู้มสี ่วนเกีย่ วข้อง การส�ำ รวจข้อ คิ ด เห็ น ของการออกแบบผัง แม่ บ ทและวิ ห ารวัด ด้า มพร้า จากการสัมภาษณ์ผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ใน ๓ ส่วนหลัก อันได้แก่ · การออกแบบและปรับปรุงผังแม่บท · การออกแบบวิหาร · การออกแบบพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น ๑.วิธีการส�ำรวจข้อคิดเห็น มีรายละเอียด ดังต่อไปนี ้ ๑). จัดท�ำแบบส�ำรวจ (รายละเอียดภาคผนวก ค) ๒).สัม ภาษณ์ผู้มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ ง อัน ได้แ ก่ ท่ า นเจ้า อาวาส ผู้น �ำ ชุม ชน (คณะกรรมการชุมชน) กลุม่ เยาวชน และคนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ รวมทัง้ หมด ๑๓ คน (สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓) ๒. ผลการส�ำรวจความคิดเห็น ๒.๑ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบและปรับปรุ งผังแม่บท ๑). ข้อคิดเห็นจากการวางผังที่เป็ นแนวแกน · ท่านเจ้าอาวาส : เป็ นการวางผังที่มีหลักการ เป็ นไปตามความต้องการใน การใช้ประโยชน์ เป็ นประโยชน์ในการปรับปรุงในอนาคต · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : การมีแนวทีต่ รงกันสร้างความเป็ นระเบียบ ผังโดยรวมท�ำให้คนมองภาพออกว่าจุดไหนท�ำอะไร ต้องเดินไปทางไหน · กลุม่ เยาวชน : ชอบความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในการวางผัง รูส้ กึ ว่าสบายตา มองเข้าไปเห็นวิหารท�ำให้งา่ ยต่อความเข้าใจ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : แกนที่ชดั เจนท�ำให้สง่ เสริมอาคารส�ำคัญ รูส้ กึ เหมาะสม กับวัดด้ามพร้าในปั จจุบนั ๒). ข้อคิดเห็นจากการแบ่งพืน้ ที่สว่ นต่างๆ ภายในวัดอย่างชัดเจน และเรือ่ ง ความเหมาะสมของพืน้ ที่ท่ีออกแบบในการจัดกิจกรรมงานบุญ · ท่านเจ้าอาวาส : สมควรที่จะท�ำให้เกิดขึน้ เพราะเป็ นผังที่มีความชัดเจน มีความเป็ นสัดส่วนมากขึน้ รูส้ กึ ว่าพืน้ ที่ท่อี อกแบบส่งเสริมการจัดกิจกรรมงานบุญและ ให้ขอ้ เสนอะเเนะว่า ในการด�ำเนินงานต้องเกิดจากหลายภาคส่วนเพื่อที่จะให้เกิดเป็ น รูปธรรม · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : มีความเหมาะสม ที่ผา่ นมาบางกิจกรรม ต้องใช้พืน้ ที่หลายอาคารในการจัดกิจกรรม การออกแบบท�ำให้เกิดความต่อเนื่องใน การใช้งาน และการก�ำหนดต�ำเเหน่งที่เหมาะสมท�ำให้มีสภาพเเวดล้อมที่เอือ้ ต่อการ จัดกิจกรรม · กลุม่ เยาวชน : รูส้ กึ ว่าการออกแบบใหม่ชว่ ยส่งเสริมให้วดั น่าจัดกิจกรรมมากขึน้ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : เห็นด้วย ในการเเบ่งพืน้ ที่ให้ชดั เจน จะได้ไม่รบกวน วัตรปฏิบตั ขิ องพระสงฆ์ พืน้ ที่ใช้จดั กิจกรรมน่าสนใจ เช่น การก่อกองทรายร่วมกันของ คนในชุมชนบริเวณลานตรงกลาง เป็ นการเเสดงออกถึงความร่วมมือร่วมใจ

๐๗ บทสรุ ป ๓). ข้อคิดเห็นจากการออกแบบและปรับปรุ งสภาพแวดล้อมภายในวัดโดย ค�ำนึงถึงสภาพภูมิวฒ ั นธรรม · ท่านเจ้าอาวาส : เห็นด้วย มีความเหมาะสม และในปั จจุบนั ท่านก็หาต้นไม้ เหล่านีม้ าปลูกอยูเ่ เล้ว เช่น ตะแบก แคนา เป็ นต้น · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : เป็ นเเนวความคิดที่ดี ต้นไม้ท่ีนำ� มาปลูก ก็จะเป็ นสิ่งให้ศึกษาเรียนรู ้ สร้างความร่มรื่น และเสนอเเนะว่า ต้องคิดถึงการด�ำเนินการ ต่อไปว่าจะน�ำต้น ไม้เ หล่านี ม้ าปลูก อย่างไร น่าจะให้เ กิ ดกิ จ กรรมมาร่ว มกัน ปลูก ต้นไม้ · กลุม่ เยาวชน : สร้างความร่มรืน่ ให้วดั มากขึน้ จากปั จจุบนั ที่มีตน้ ไม้จำ� นวน น้อย ถ้าเป็ นต้นไม้ในท้องถิ่นก็จะได้เรียนรู ้ เพราะบางต้นก็ไม่รูจ้ กั · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : เห็นด้วย เพราะมันจะเข้ากับสภาพแวดล้อม อีกทัง้ ต้นไม้ในท้องถิ่นมันจะอยูท่ น อยูน่ าน ไม่ตายง่าย ๒.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบวิหาร ๑). ข้อคิดเห็นจากการวางต�ำแหน่งที่ตงั้ ของวิหารที่ตงั้ อยู่บริเวณกลางผัง มีความเหมาะสมทัง้ ในแง่การใช้งาน และความเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน ได้หรือไม่ อย่างไร · ท่านเจ้าอาวาส : ในแนวทางนีก้ ็เหมาะสม สมกับเป็ นศูนย์รวมใจของชุมชน และให้ขอ้ เสนอะเเนะว่า ในปั จจุบนั อาจจะต้องปรับเปลี่ยน เพราะต�ำแหน่งที่สร้าง วิหารอยู่ตำ� แหน่งอื่น มีความเป็ นไปได้หรือไม่ท่ีจะให้ตำ� แหน่งที่ตงั้ วิหารที่นำ� เสนอนี ้ ปรับเป็ น ลานกิจกรรม หรือเจดีย ์ เพื่อยังคงความส�ำคัญของพืน้ ที่ตรงกลางวัดไว้ · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : ในเเนวทางนีม้ ีความเหมาะสม เพราะ สามารถจะรองรับคนได้มาก พืน้ ที่ตรงกลางสามารถปรับขยายในการท�ำกิจกรรมได้งา่ ย และให้ขอ้ เสนอะเเนะว่า อุโบสถต้องส�ำคัญที่สดุ การออกแบบควรค�ำนึงถึงข้อนีด้ ว้ ย · กลุม่ เยาวชน : การวางต�ำแหน่งวิหารแบบนีท้ ำ� ให้รูส้ กึ เข้าถึงง่าย สะดุดตา ท�ำให้เป็ นจุดเด่นชัดเจน · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : สมกับเป็ นศูนย์รวมศรัทธาของชุมชน ๒). ข้อคิดเห็นจากการใช้รูปแบบสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นมาเป็ นเเนวคิดในการ ออกแบบวิหาร · ท่านเจ้าอาวาส : ให้ความรูส้ กึ ถึงความดัง้ เดิมและเห็นด้วยกับการใช้วสั ดุท่ี เหมาะสมกับยุคสมัยในปั จจุบนั เพราะประหยัดเเละหาได้งา่ ย · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : รู ส้ กึ ถึงความเรียบง่าย มีความเป็ น เอกลักษณ์ในท้องถิ่น ให้ความรู ส้ กึ นึกถึงบรรพบุรุษ เป็ นการออกแบบที่คำ� นึงถึงการ ใช้งานได้จริง เช่น การมีลานรอบวิหารให้ได้ใช้ประโยชน์ เป็ นต้น · กลุม่ เยาวชน : สมกับการเป็ นวัดของชุมชนที่ไม่ตอ้ งสร้างความหรูหรามาก · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : รูส้ กึ ว่ามีความเป็ นอีสาน ชอบความเรียบง่ายของ วิหารที่ออกแบบ 105


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๓). ข้อคิดเห็นจากการออกแบบภายในวิหาร · ท่านเจ้าอาวาส : มีความเหมาะสม เพราะการออกแบบนีช้ ่วยส่งเสริมให้ พระพุทธรูปโดดเด่น มีความเรียบง่ายพองาม · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : รูส้ กึ ถึงจิตใจที่สงบ เกิดศรัทธา สมเป็ น ศูนย์รวมจิตใจของชุมชน มีความเป็ นธรรมชาติ เป็ นอีสานบ้านเรา ไม่ฟมเฟื ุ่ อย เพราะ ไม่ประดับตกแต่งมากจนเกินงาม · กลุ่มเยาวชน : ส่งเสริมพระพุทธรู ป สร้างความสงบและศรัทธา ให้ขอ้ เสนอแนะว่า รูปภาพภายในวิหารที่นำ� มาให้ดู (รูปภาพที่ ๖.๕๐) บางครัง้ ดูแล้วรูส้ กึ เงียบเหงาเกินไป · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : บรรยากาศท�ำให้สมั ผัสถึงพระที่เป็ นที่ศรัทธาของ ชุมชน ๓. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบพิพภิ ณ ั ฑ์ทอ้ งถิน่ ๑). ข้อคิดเห็นจากการมีพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น และการสร้างพืน้ ที่การเรียนรู ้ อันประกอบไปด้วย สิมโบราณ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น โรงเกวียน ต�ำแหน่งที่ตงั้ มีความ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร · ท่านเจ้าอาวาส : มีความเหมาะสมในต�ำเเหน่งทีต่ งั้ เพราะง่ายต่อการเข้าถึง และ ไม่ใช่เพียงเยาวชนที่จะมาเรียนรู ้ พระสงฆ์และสามเณรก็จะได้เข้ามาศึกษาด้วย · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : เห็นด้วยที่จะเป็ นพืน้ ที่เรียนรู ้ คนรุน่ หลัง จะได้รูว้ า่ เคยมีสมิ โบราณ และต�ำแหน่งที่ตงั้ เข้าถึงได้งา่ ย ·กลุม่ เยาวชน:มีความเหมาะสม เพราะการทีม่ พี นื ้ ทีเ่ รียนรูข้ องวัดทัง้ ๓ แห่ง ท�ำให้ รูส้ กึ อยากเข้าไปเรียนรู ้ และอาจจะท�ำให้วดั เรามีคนภายนอกอยากเข้ามาเรียนรูด้ ว้ ย · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : เห็นด้วยที่จะมีพิพิธภัณฑ์ และเสนอเเนะให้คำ� นึง ถึงกระบวนการในการดูแลจัดการในอนาคต ๒). ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเนือ้ หาในการจัดแสดง ร่วมถึงแนวความคิดในการ ออกแบบพืน้ ที่จดั แสดงภายใน · ท่านเจ้าอาวาส : เนือ้ หาในการจัดเเสดงน่าสนใจ เพราะไม่มีพิพิธภัณฑ์ เเบบนีใ้ นจังหวัดอุบลฯ การใช้ผา้ ผะเหวดรูส้ กึ ว่าเป็ นเอกลักษณ์ · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : เนือ้ หาน่าสนใจ เด็กจะได้เรียนรูผ้ า่ น ภาพ คือ ผ้าผะเหวด ซึง่ ง่ายต่อความเข้าใจ · กลุม่ เยาวชน : น่าสนใจเพราะเป็ นสิ่งที่ไม่เคยได้รู ้ เเละการออกแบบท�ำให้ ดูงา่ ยต่อการท�ำความเข้าใจ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : สร้างให้เกิดความรูส้ กึ ของการเรียนรูท้ ่ีเชื่อมโยง เป็ นเรือ่ งเดียวกันได้ดี

๓). ข้อคิดเห็นจากการแนวคิดการปรับปรุงพืน้ ทีภ่ ายนอกพิพธิ ภัณฑ์ ทีค่ ำ� นึงถึง การออกแบบที่มีความประหยัด และเป็ นประโยชน์สงู สุด หมายถึง การออกแบบโดย ใช้วสั ดุในท้องถิ่น และประหยัดพลังงานธรรมชาติให้มากที่สดุ · ท่า นเจ้าอาวาส : เห็น ด้วยในเรื่อ งแนวคิด คนที่ เ ข้าไปชมจะได้สัม ผัส บรรยากาศที่เป็ นธรรมชาติ · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : อาคารที่โล่งรับลมธรรมชาติ ลดการใช้ พลังงานท�ำให้อยากเข้าไปใช้งาน · กลุม่ เยาวชน : การออกแบบภายนอกที่ทำ� ให้คนภายนอกมองเห็นด้านใน พืน้ ที่จดั เเสดง ท�ำให้เกิดความน่าสนใจ น่าเข้าชม เเละเห็นด้วยที่จะต้องประหยัด พลังงานไม่ใช้แอร์ · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : ปรับปรุงอาคารเก่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ดี ๔. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอเเนะอืน่ ๆ ๑).ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้ากับความ สอดคล้องกับเป้าหมาย คือ เพื่อฟื ้ นฟูให้วดั ด้ามพร้ากลับมาเป็ นจิตวิญญาณของชุมชน อย่างที่เคยเป็ นมาในอดีตภายใต้ตวั แปร เงื่อนไขอย่างใหม่ของวิถีชีวิตของสังคมใน ปั จจุบนั · ท่านเจ้าอาวาส : เป็ นการดีท่เี ราจะมาร่วมกันฟื ้ นฟูวดั ตามเป้าหมายนี ้ เพราะ วัด คือ หัวใจของชุมชน เป็ นที่อบรมศีลธรรม ความรู ้ และให้ขอ้ เสนอแนะว่า แนวคิดเรือ่ ง พิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิ่นมีความเป็ นไปได้ทจ่ี ะท�ำมากทีส่ ดุ เพราะมีความพร้อมในเรือ่ งสถานที่ อย่างไรก็ดีการที่จะด�ำเนินงานต่อ ต้องเกิดจากความร่วมมือจากหลายฝ่ าย และค�ำนึง ถึงการจัดการในอนาคต · ผูน้ ำ� ชุมชน (คณะกรรมการชุมชน) : โครงการนีต้ อบโจทย์ เเละเรือ่ งเป้าหมายนี ้ ก็อยูใ่ นความตระหนักของคนในชุมชนดัง้ เดิม จะท�ำอย่างไรให้ผคู้ นที่ยา้ ยเข้ามาอยูใ่ หม่ เห็นความส�ำคัญในเรือ่ งนี ้ ดังนัน้ ทุกฝ่ ายต้องมาช่วยกัน · กลุ่มเยาวชน : โครงการนี ท้ ำ� ให้รูส้ ึกอยากเข้าวัดมากขึน้ อยากเข้าไป กราบไหว้พระ และเข้าไปเรียนรูใ้ นพิพิธภัณฑ์ ท�ำให้รูส้ กึ ว่าเป็ นวัดของชุมชนที่น่าเข้า · คนที่ยา้ ยเข้ามาในพืน้ ที่ : สิ่งที่ทำ� สอดคล้องกับเป้าหมาย และอยากให้นำ� เสนอแนวความคิดนีอ้ อกไปในวงกว้าง

รูปภาพที่ ๗.๐๑ รูปภาพบรรยากาศการสัมภาษณ์ผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้อง 106


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

๗.๒ บทสรุ ป งานผังและสถาปัตยกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา มีความละเอียดลึกซึง้ มี ค วามสัม พัน ธ์กับ ปรัช ญาค�ำ สอน แต่ ถึ ง กระนั้น งานผัง และสถาปั ต ยกรรมใน แนวทางนี ้ก็ ไ ม่ ไ ด้ย ากเกิ น ความเข้า ใจ เพราะบุ ค คลทั่ว ไปล้ว นมี ค วามเข้า ใจ ที่เเตกต่างกัน ผูอ้ อกแบบต้องเลือกที่จะน�ำเสนอด้วยเหตุผล อาศัยความเข้าใจและ ปั ญญา ค�ำว่า ปั ญญา นี เ้ ป็ นสิ่งที่ผูอ้ อกแบบถูกย�ำ้ เตือนอยู่เสมอ ปั ญญาไม่ได้ หมายความเพียงว่าความรอบรู ้ เป็ นผูร้ ูม้ าก แต่ส่งิ ส�ำคัญ คือ การวิเคราะห์ กลั่นกรอง และน�ำมาปฏิบตั ิ งานออกแบบจึงเป็ นภาพของความคิดของผูอ้ อกแบบ ซึ่งผูเ้ สพย์ อาจจะมีความเห็นที่สอดคล้องหรือมีความเห็นที่เเตกต่าง ซึง่ ถือเป็ นโอกาสที่ผอู้ อกแบบ และผูเ้ สพย์จะมีโอกาสเรียนรูซ้ ง่ึ กันเเละกัน วัดเป็ นพืน้ ที่ประกอบด้วยสาระทางนามธรรม ที่สมั พันธ์กบั ปรัชญาค�ำสอน เป็ นพืน้ ที่ประกอบพิธีกรรมของพระสงฆ์ และเป็ นพืน้ ที่ประกอบกิจกรรมทางสังคม ที่ คนในชุมชนจะมารวมตัวกันในงานบุญประเพณี วัดจึงไม่ได้เป็ นเพี ยงที่ ตัง้ ของ ถาวรวัตถุหรือศาสนาคาร แต่วดั คือพืน้ ที่รวบรวมไว้ซ่งึ เรื่องราววัฒนธรรมประเพณี ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน วิถีชีวิต ความเคารพศรัทธาในพระพุทธศาสนา วัดด้ามพร้าก็เช่นเดียวกัน ผูอ้ อกแบบได้ใช้พืน้ ฐานความเข้าใจข้างต้นนี ้ มาใช้ในการ ออกแบบและปรับปรุงผัง รวมทัง้ การลงพืน้ ทีจ่ ริงเพือ่ เก็บข้อมูลกายภาพของวัด พร้อมทัง้ ท�ำการสัมภาษณ์บคุ คลทีเ่ กี่ยวข้อง ท�ำให้พบปั ญหาและข้อค้นพบต่าง ๆ ได้แก่ ปัญหา จากการเปลี่ยนแปลงของคนในชุมชนโดยรอบ จากชุมชนเกษตรกรรมเป็ นชุมชนเมือง มีบคุ คลภายนอกเข้ามาอยูอ่ าศัยมากขึน้ สภาพแวดล้อมรอบวัดจึงมากไปด้วยความสับสน วุน่ วาย ในส่วนของพืน้ ทีว่ ดั พบว่า มีปัญหาการแบ่งพืน้ ที่การใช้งาน (Zoning) ส่งผลให้ เกิ ดความไม่เ หมาะสมในการใช้งานระหว่างส่วนฆราวาสและส่วนของพระสงฆ์ ท�ำให้เกิดความพลุกพล่าน ขาดความสงบ รบกวนวัตรปฏิบตั ิของพระสงฆ์ เป็ นต้น การพบข้อ ค้น พบหรื อ ปั ญ หาเหล่ า นี ้น �ำ ไปสู่ก ารก�ำ หนดประเด็ น การออกแบบ และปรับ ปรุ ง ผัง วัด เพื่ อ ให้เ กิ ด ความสงบ เป็ น ระเบี ย บ เป็ น ที่ พ่ึง ทางกายและใจ โดยเฉพาะชุม ชนโดยรอบวัด ที่ ข าดพื น้ ที่ ที่ สงบเป็ น ระเบี ย บ และร่ม เย็น

ในส่ ว นของการออกแบบวิ ห ารประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป โบราณ ที่ พ บ ภายในวัด นั้น ผูอ้ อกแบบมี แ นวความคิ ด ที่ จ ะใช้ง านสถาปั ต ยกรรมพื น้ ถิ่ น อี ส าน มาเป็ นแนวทางในการออกแบบ เพราะเกิดความคิดค�ำนึงถึงรู ปแบบสถาปั ตยกรรม ที่เคยมีมาในอดีตในภูมิภาคนี ้ เชื่อว่าการสร้างสรรค์รูปทรงที่ประณีต มีคณ ุ ค่าทาง ความงามนีจ้ ะท�ำให้ผใู้ ช้งานรูส้ กึ ได้ถงึ ความสงบ หรือแม้แต่การหวนค�ำนึงถึงอดีตอัน เป็ นสิ่งที่จะกล่อมเกลาจิตใจให้ละเอียดประณีต และเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม การศึกษาสถาปั ตยกรรม ศิลปกรรมอีสานนัน้ มีขอ้ จ�ำกัดอยูม่ าก เช่น อาคาร โบราณจ�ำนวนน้อยที่เหลืออยูใ่ ห้ศกึ ษาล้วนถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา อี ก ทั้ง ต้อ งท�ำ ความเข้า ใจในเนื อ้ หาประวัติ ศ าสตร์ก ารเมื อ ง และวัต รปฏิ บัติ ข อง พระภิกษุสงฆ์ในภาคอีสานอีกด้วย จากการศึกษาพบว่า งานสถาปั ตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสานมีท่ีมาจากหลายปั จจัย อาทิ - เกิดจากวัสดุในการสร้าง ความจ�ำเพาะในเรื่องสภาพเเวดล้อมภาคอีสาน ส่วนใหญ่มลี กั ษณะเป็ นป่ าดิบแล้งและป่ าเต็งรัง ไม่มไี ม้สกั ไม้เต็งรังเป็ นไม้เนือ้ เเข็งและ โตช้า การน�ำไม้เนือ้ แข็งเป็ นโครงสร้างนัน้ ท�ำได้ยาก - เกิดจากความเข้าใจต่อรูปทรง ความเข้าใจของผืนหลังคา ความเข้าใจต่อ โครงสร้างของช่างพืน้ ถิ่น เช่น การวางตุ๊กตาอีกตัวบนขื่อคัดที่ออกมาจากเสา เพราะ ตับบนที่ซอ้ นลึก และยื่นยาวออกมามาก - เกิดจากรสนิยม ความเคลื่อนไหวในสังคม มีการปรับปรุ งการปกครอง คณะสงฆ์ พระภิกษุสงฆ์อีสานในอดีตที่ได้เข้ามาเรียนในกรุงเทพฯ มีความประทับใจ ไปจากการออกแบบ โบสถ์ วิหาร จนกลายเป็ นงานต้นแบบทางความคิด ผูอ้ อกแบบรูส้ กึ ประทับใจในเส้น และรูปทรงของสถาปัตกรรมอีสานทีม่ บี คุ คลิก เฉพาะตัว มีการจัดองค์ประกอบและโครงสร้าง ที่เป็ นอิสระตามความคิดอ่านของช่าง พืน้ ถิน่ ผูอ้ อกแบบจึงได้นำ� สิง่ เหล่านีม้ าออกแบบในความตระหนักถึงวัฒนธรรมท้องถิน่ และแรงบันดาลใจในสถาปั ตยกรรมโบราณ หรือภายใต้ลกั ษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เช่น เงื่อนไขของวัสดุ สภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ เป็ นต้น ผลจากการการออกแบบในครั้ง นี ้ท �ำ ให้ผู้อ อกแบบได้ร ับ บทเรี ย นว่ า การออกแบบไม่ควรที่จะละเลยการออกแบบความคิด คือ ต้องคิดเรียบเรียงที่มา และเหตุผลในการออกแบบแล้วอธิบายด้วยความเข้าใจ จึงจะท�ำให้เกิดการแนะน�ำ การให้ความเห็น และเเลกเปลี่ยนความรูท้ ำ� ให้เกิดกระบวนการเรียนรูซ้ ง่ึ เป็ นสิ่งส�ำคัญ ในการท�ำวิทยานิพนธ์

107


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

บรรณานุกรม ณรงค์ฤทธิ์ ทองแสง, การศึกษาสิมอีสานสายวัมนธรรมไท - ลาว ลุม่ แม่นำ้� โขงตอนล่าง เพื่อออกแบบสิมวัดหลวง เมืองอุบลราชธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐). ติก๊ แสนบุญ, บรรณาธิการ. วิกฤติศลิ ปะพืน้ บ้านอีสานอดีต-ปั จจุบนั -อนาคต. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๘. (หนังสือประกอบการเสวนาทางวิชาการ เรือ่ งวิกฤติศลิ ปะพืน้ บ้านอีสาน : อดีต - ปั จจุบนั - อนาคตเนื่องในวาระครบรอบ ๑๕ ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๘). เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อีสาน. เล่ม ๑. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. พระนคร : ส�ำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, ๒๕๑๕. เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อีสาน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๖. เติม สิงหัษฐิ ต, ฝั่งขวาแม่นำ้� โขง. พระนคร : คลังวิทยา, ๒๔๙๙. เทพกิตติมนุ ี, วัดทุง่ ศรีเมือง อ. เมืองจ. อุบลราชธานี, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. อุบลราชธานี วิทยาออฟเซทการพิมพ์, ๒๕๔๖. (จัดพิมพ์เนื่องในงานฌาปนกิจศพ น.ส.นพ มณีศรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖). ธณัฏฐา เต็มวงษ์, อาราม บรรพกาล ไทหล่ม (วิทยานิพนธ์สถาปั ตยกรรมศาสตรบัญฑิต คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๙). ธรรมปิ ฎก (ป. อ. ปยุตโต), พระ, พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. ธรรมวโรดม, พระ, คูม่ ือพระอุปัชฌาย์, กรุงเทพมหานคร : กรรมการมหาเถรสมาคมวัดเบญจมบพิตร, ๒๕๔๕. ธิดา สาระยา, เมืองอุบลราชธานีแห่งราชะศรีสง่าแห่งไพรพฤกษ์, กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๓๖. ธิดา สาระยา, ประวัติศาสตร์อีสานโบราณ, กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์มติชน, ๒๕๓๕. นิวตั น์พ. ศรีสวุ รนันท์, ประวัตศิ าสตร์ไทยลาว - อีสาน. กรุงเทพมหานคร : มิตรนราการพิมพ์, ๒๕๒๙. บ�ำเพ็ญ ณ อุบล, ประวัตศิ าสตร์บางตอนของเมืองอุบลราชธานี. (ม. ป. ท.), ๒๕๓๘. (พิมพ์เป็ นที่ระลึกในงานท�ำบุญประจ�ำปี วัดนรนากสุนทริการาม ๗-๘ กันยายน ๒๕๓๘). บ�ำเพ็ญ ณ อุบล, เล่าเรือ่ งเมืองอุบลราชธานี, พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๕. (ที่ระลึกโครงการสัมมนาความร่วมมือระหว่างห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาครัง้ ที่ ๒๐) ประมวล วิชาพูล, พระยา, พงศาวดารเมืองล้านช้างและล�ำดับสกุลสิทธิสาริบตุ รราชตระกูลล้านช้างเวียงจันทน์. (ม. ป. ท.), ๒๔๘๔. วรลัญจก์ บุณยสุรตั น์, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๔๔. วิโรฒ ศรีสโุ ร, สถาปั ตยกรรมกลุม่ ชนสายวัฒนธรรมไต-ลาว. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๔. วิโรฒ ศรีสโุ ร, สิมอีสาน. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๖. วิโรฒ ศรีสโุ ร, ส่วนประดับสถาปั ตยกรรมอีสานกรณีศกึ ษาจังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๖. ศมประสงค์ ชาวนาไร่, จดหมายเหตุอโุ บสถวัดโพธิคณ ุ . กรุงเพทฯ : อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนพับลิชชิ่ง, ๒๕๕๘. ศมประสงค์ ชาวนาไร่, โครงการออกแบบอุโบสถวัดมเหยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเพทฯ : พิมพ์ดี, ๒๕๕๘. ศมประสงค์ ชาวนาไร่, ส่วนประดับจั่วในศิลปกรรมอยุธยา. กรุงเพทฯ : พิมพ์ดี, ๒๕๕๗. สมคิด จิระทัสนกุล, อภิธานศัพท์ชา่ งสถาปั ตยกรรมไทย เล่ม ๔ ส่วนองค์ประกอบหลังคา. กรุงเทพฯ : คระสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวัทยาลัยสิลปากร, ๒๕๕๙.

108


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนังสือขออนุญาตการออกแบบ

109


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ภาคผนวก ข ความรู้เกีย่ วเนื่องในการออกแบบ ความเชือ่ การถือผี ถือผีฟ้าพญาแถน ชาวอีสานทัง้ มวลจนถึงแถบจังหวัดอุบลราชธานี มีการนับถือพญาแถน คือ ผีฟา้ เป็ นเทวดาผูด้ ลบันดาลน�ำ้ ฝนในการท�ำกสิกรรม นอกจากนีใ้ นชุมชนอีสาน ยังมีการนับถือผีอีกหลายประเภท เช่น ผีมเหสักข์๑ ผี หลักเมืองซึง่ ค�ำว่า “มเหสักข์” หมายถึง วิญญาณของพระมหากษัตริยผ์ ลู้ ว่ งลับไปแล้ว ซึง่ ผีมเหสักข์สำ� คัญของเมืองอุบลราชธานี ได้แก่ เสด็จเจ้าหอค�ำ เจ้าหน่อกษัตริย ์ เจ้านคร จ�ำปาศักดิอ์ งค์แรก การนับถือผีบา้ น เช่น บวงสรวงวิญญาณบรรพบุรุษเพื่อให้ปกปั กรักษาลูกหลาน มีการตัง้ “ดอนเจ้าปู่ ” หรือ “ดอนปู่ ตา” โดยเลือกภูมิประเทศที่มีโคกน�ำ้ ท่วมไม่ถึงมีตน้ ไม้ ใหญ่หนาทึบร่มครึม ตัง้ ตูบ ศาล หรือศาลาเป็ นที่สถิตของเจ้าปู่ ทงั้ หลาย สถานที่นีถ้ ือเป็ น ที่ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ใครรุกล�ำ้ หรือตัดต้นไม้ หรือแสดงวาจาหยาบคายไม่ได้ ปู่ ตาจะลงโทษกระท�ำ ให้เจ็บหัวปวดท้อง เป็ นต้น ค�ำว่า“ ปู่ ตา” ย่อมหมายถึงญาติฝ่ายบิดา หรือ ปู่ - ย่า กับญาติ ฝ่ ายมารดา คือ ตา - ยาย รวมเป็น ปู่ - ย่า - ตา - ยาย ซึง่ คนทัง้ ๔ นีเ้ วลามีชีวิตอยูก่ ็เป็ นที่เคารพ นับถือของลูกหลาน เมื่อตายไปลูกหลานก็ยงั นับถืออยู่ (บ้างก็เรียกว่า “ผีเชือ้ ”) จึงปลูกหอ ให้ทา่ นอยูท่ งั้ นีจ้ ะมีพิธีเลีย้ งผีปตู่ า” กระท�ำในเดือน ๗ ในขณะเดียวกัน วันพระ วันโกน วันส�ำคัญทางพุทธศาสนา หรือวันบุญประจ�ำ เดือนตามฮีต ๑๒ ต่าง ๆ จะมีอบุ าสกอุบาสิกามาถือศีล ฟั งธรรมอยู่ ณ หอแจกของวัดใน หมูบ่ า้ นมิได้ขาด นอกจากนีย้ งั นิยมให้ลกู หลานบวชเรียนตัง้ แต่ยงั เป็ นสามเณร และมีมากที่ ได้อปุ สมบทเป็ นพระสงฆ์ ครองเพศสมณะอยูต่ ราบจนมรณภาพ สิ่งเหล่านีท้ ำ� ให้เห็นถึงวิถี ชีวติ ทางความเชื่อของคนอีสานที่นบั ถือพุทธศาสนาไปพร้อมกับการนับถือผี หรือวิญญาณ บรรพบุรุษไปด้วยกันอย่างผสมกลมกลืน๑

การถือฮีตสิบสอง ฮีตสิบสอง หมายถึงประเพณีท่ีตอ้ งปฏิบตั ทิ งั้ ๑๒ เดือนในแต่ละปี “ฮีต” มาจาก ค�ำว่า “จารีต” ถือเป็ นจรรยาบรรณของสังคม หากฝ่ าฝื นก็จะมีความผิด เรียกว่า ผิดฮีต หมายถึงการผิดจารีตนั่นเอง ซึง่ การถือฮีตสิบสอง ถือเป็ นจารีตประเพณีหลักในการด�ำเนิน ชีวติ ในแต่ละเดือน จนครบรอบปี ของกลุม่ ชาวอีสานที่ได้รบั การสืบทอดมาจากกลุม่ ชนสาย วัฒนธรรมไท - ลาว รุ น่ บรรพบุรุษเป็ นแนวทางปฏิบตั ิท่ีแทรกตัวอยู่ในวิถีชีวิตโดยมีความ สัมพันธ์กบั พุทธศาสนาอย่างแนบแน่น (ในประเทศลาวต้นแบบวัฒนธรรมล้านช้างก็มีการ ถือประเพณีตามฮีตสิบสองเช่นกัน) ดังนัน้ เมือ่ ถึงช่วงการท�ำบุญตามการถือฮีตในแต่ละเดือน วัดจะมีบทบาทส�ำคัญยิ่งทัง้ ในเรื่องของสถานที่อนั เป็ นศูนย์รวม และการพัฒนาจิตใจของ คนในชุมชนคุม้ บ้านนัน้ ได้อธิบายเรือ่ งฮีตสิบสองในการปฏิบตั ติ ลอดช่วงระยะเวลา ๑ ปี ดังนี ้ เดือนอ้าย (เดือนเจียง) : บุญเข้ากรรม เริม่ เดือนธันวาคม พระสงฆ์เข้ากรรม (ปริวาสกรรม) เพื่อให้พระสงฆ์ผตู้ อ้ งอาบัตหิ มวดสังฆาทิเสส ได้เข้ากรรมสารภาพต่อคณะ สงฆ์เป็ นการฝึ กจิตส�ำนึกถึงความบกพร่องของตน และมุง่ ประพฤติตนให้ถกู ต้องตามพระ วินยั ต่อไป ภิกษุท่ีจะเข้ากรรมจะต้องจัดแจงสถานที่ให้สะอาดอาจท�ำเป็ นกระท่อมเล็ก ๆ หาน�ำ้ กิน น�ำ้ ใช้ ไว้ให้เพียงพอที่จะเข้ากรรมโดยการอยูป่ ริวาส (ค้างคืน) และจ�ำศีลให้ครบ ก�ำหนดพุทธศาสนิกชน จะน�ำข้าวปลาอาหาร จตุปัจจัยไทยทานไปถวายภิกษุ ผูเ้ ข้าอยู่ ปริวาสกรรมจนกว่าท่านจะออกจากกรรม แล้วก็จดั ให้มีการฟั งเทศน์มีการไปนั่งสมาธิท่ีวดั ตลอดจนการเลีย้ งผีตา่ ง ๆ เดือนยี่ : บุญคูณลาน เริม่ เดือนมกราคม คือการท�ำบุญข้าวเปิ ดยุง้ ข้าว (หลัง จากเสร็จสิน้ ฤดูเก็บเกี่ยวแล้วต้องเก็บข้าวเข้ายุง้ ) ในพิธีบญ ุ ชาวบ้านจะขนเอามัดรวงข้าว ที่เกี่ยวเสร็จแล้วกองรวมกันไว้ท่ีลานเก็บข้าว การน�ำข้าวที่นวดแล้วมากองขึน้ ให้สงู เรียกว่า “คูณลาน” ชาวบ้านนิมนต์พระสงฆ์ทำ� พิธีสขู่ วัญข้าวเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อเป็ นมงคลแก่ ข้าวเปลือก เดือนสาม : บุญข้าวจีแ่ ละบุญมาฆบูชา เริม่ เดือนกุมภาพันธ์ หลังจากการเปิ ด ยุง้ ข้าวก็นำ� ข้าวจี่ (ข้าวเหนียวปิ ้งชุบไข่และน�ำ้ อ้อย) มาถวายพระคือเมื่อถึงวันท�ำบุญข้าวจี่ มักจะเป็ นวันเพ็ญเดือนสาม ทุกครัวเรือนในหมูบ่ า้ นจัดเตรียมข้าวจี่แล้วนิมนต์พระสงฆ์มา มาฉันที่ศาลาการเปรียญ หรือศาลาโรงธรรม

เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อสี าน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย, ๒๕๑๕) ๙๐. ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๙๑. ๑

110


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

เดือนสี่ : บุญผะเหวด ช่วงเดือนมีนาคม ถือเป็ นงานบุญใหญ่ของชาวอีสาน ค�ำว่า “ผะเหวด” หมายถึง “พระเวสสันดร” มีการฟั งเทศน์มหาชาติ เพราะชาวอีสานเชื่อตาม คัมภีรพ์ ระมาลัยในทางพุทธศาสนาว่าการฟั งเทศน์มหาชาติ (พระเวสสันดรชาดก) รวม ๑๓ กัณฑ์ให้จบภายในวันเดียวจะได้รบั อานิสงฆ์ผลบุญมาก ก่อนเทศน์จะมีพธิ ีบชู า และแห่ขา้ ว พันก้อนก่อนเพื่อเป็ นเครือ่ งบูชาพระเวสสันดร โดยการใช้ขา้ วเหนียวนึง่ ปั้นเป็ นก้อน ๑,๐๐๐ ก้อน ตามจ�ำนวนพระคาถาในการเทศน์มหาชาติชาวบ้านแห่ขา้ วพันก้อนท�ำทักษิณาวรรต รอบธรรมาสน์ ๓ รอบ ในระหว่างทีเ่ วียนทักษิณาวรรตก็หย่อนข้าวลงทีข่ นั กระหย่อง (ขันไม้ไผ่ สานทรงสี่เหลี่ยมลบมุมมีเชิงทัง้ สี่ดา้ นเป็ นขา) ๔ ใบที่จดั ไว้ท่ีบริเวณมุมธรรมาสน์ทงั้ ๔ ทิศ๑ ช่วงบ่าย หรือเย็นจะมีการจัดขบวนแห่รบั พระเวสสันดร เข้าเมืองตามท้องเรือ่ งช่วง ที่หลังจากการถูกเนรเทศ ไปอยูป่ ่ าเขาวงกต โดยใช้พระพุทธรูป หรือผูห้ ลักผูใ้ หญ่ท่ีนบั ถือ ในหมู่บา้ นสมมุติประหนึ่งเป็ นพระเวสสันดร ชาวบ้านแต่งขบวนไปรับพระเวสสันดรจาก ชายป่ าข้างหมูบ่ า้ นที่สมมุติให้เป็ นป่ าหิมพานต์ ในขบวนแห่จะมีการแห่ผา้ ผะเหวด ซึง่ เป็ น ผ้าขาวเขียนรูปเรือ่ งราวเกี่ยวกับพระเวสสันดรตัง้ แต่ตน้ จนจบแบ่งเป็ น ๑๓ กัณฑ์ โดยฝี มือ ช่างพืน้ ถิ่นอีสาน (มีลกั ษณะคล้ายภาพพระบถ) ผ้าผะเหวดนีจ้ ะถูกน�ำมาแขวนในศาลาที่ใช้ ส�ำหรับเทศน์มหาชาติในตอนกลางคืน เพื่อให้ผทู้ ่ีมาร่วมฟั งเทศน์ได้ดใู ห้เกิดความทราบซึง้ ซึง่ วัดภาคอีสานบางแห่งจะมีการน�ำผ้าผะเหวดไปแขวนไว้ภายใน สิม หรือวิหาร หลังเสร็จ จากงานบุญมหาชาติ ด้วยต่อจากการแห่ผา้ ผะเหวด มักจะเป็ นขบวนแห่เครือ่ งกัณฑ์เทศน์ คือ ข้าวของที่นำ� มาถวายพระประจ�ำแต่ละหมูบ่ า้ นแต่ละเจ้าภาพสลับกับแตรวง กลองดนตรี ปี่ แคน ต่าง ๆ อย่างสนุกสนาน โดยเฉพาะขบวนกัณฑ์พิเศษสุดท้ายนอกเหนือจากทัง้ ๑๓ กัณฑ์ เรียกว่า “กัณฑ์หลอน” ซึง่ ถือเป็ นกัณฑ์สมทบไม่มีการจองเป็ นเจ้าภาพล่วงหน้า และ ไม่จำ� กัดจ�ำนวน ๒๔ (หากเป็ นของที่เจาะจงถวายเฉพาะพระสงฆ์ท่ีตนนิมนต์มาเทศน์จะ เรียกว่า “กัณฑ์จอบ” ซึง่ ค�ำว่า “จอบ” ในภาษาอีสานก็หมายถึงการซุม่ ดูให้แน่ใจเสียก่อน) เดือนห้า : บุญสงกรานต์ (บุญสรงน�้ำ) ในช่วง เดือนเมษายน มีการสรงน�ำ้ พระพุทธรูปพร้อมบูชาอธิษฐานขอพรให้ชมุ ชน มีงานท่อประทาย (ก่อกองทรายโดยการขน ทรายเข้าวัด) ตกแต่งเป็ นพระเจดียท์ ราย เพื่อส�ำนึกว่าเวลาเข้าวัดแล้วได้เหยียบย�่ำเอาทราย ในวัดออกไปด้วย เมื่อครบรอบปี ก็ควรขนทรายกลับเข้ามาคืนวัด เดือนหก : บุญบัง้ ไฟและบุญวันวิสาขบูชา ช่วงเดือนพฤษภาคม เป็ นบุญส�ำคัญ ก่อนลงมือท�ำนาปลูกข้าว งานบุญจะมีการจุดบัง้ ไฟบูชาพญาแถน และมีการบวชนาค พร้อม กันด้วยเพื่อเป็ นการขอฝน ขอขมาพญาแถน ซึง่ ตามความเชื่อของกลุม่ ชนสายวัฒนธรรม ไท-ลาว ถือว่าพญาแถน เป็ นผูด้ แู ลฝนฟ้า๒ เดื อ นเจ็ ด : บุ ญ ซ� ำ ฮะ(ล้ า ง) ช่ ว งเดื อ นมิ ถุน ายน บุญ บูช าบรรพบุรุ ษ มี การเซ่ น สรวงหลัก เมื อ ง หลัก บ้า น ผี ปู่ ตา ผี เ มื อ ง ผี ต าแฮก ให้ป กครองบ้า นเมื อ ง ให้อ ยู่ เ ย็ น เป็ น สุข และเพื่ อ ระลึ ก ถึ ง ผู้มี พ ระคุณ โดยมี ก ารบู ช าหลัก บ้า นหลัก เมื อ ง ก่ อ น มัก จัด พิ ธี ท่ี ศ าลากลางบ้า น (หากไม่ มี ศ าลากลางบ้า นก็ จัด ท�ำ ปะร�ำ พิ ธี ) เพื่ อ เป็ นสิริมงคลต่อจากนั้นก็ มีบุญบูชาเลีย้ งผี ปู่ตา ซึ่งถื อเป็ นผี บรรพบุรุษประจ�ำหมู่บา้ น

เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา ช่วงเดือนกรกฎาคม ตรงกับวันแรม ๑ ค�่ำเดือน ๘ เป็ นประเพณีทางพุทธศาสนาโดยตรง ชาวบ้านหล่อเทียนใหญ่ ถวายเป็ นพุทธบูชา และเก็บ ไว้ใช้ตลอดพรรษาโดยเฉพาะที่จงั หวัดอุบลราชธานี จะมีการประกวดต้นเทียนแต่ละคุม้ วัด เป็ นขบวนแห่ประดับประดาเป็ นรูปต่าง ๆ ทางพุทธศาสนาอันงดงาม เช่น รูปพระพุทธเจ้า รูปเรือ่ งพระเวสสันดร เป็ นต้น เดือนเก้า : บุญข้าวประดับดิน ช่วงเดือนสิงหาคม ตรงกับวันแรม ๑๔ ค�่ำเดือน ๙ ซึง่ ตามความเชื่อของกลุม่ ชนสายวัฒนธรรมไท - ลาว เชื่อว่าเป็ นวันเดือนดับที่ประตูนรก เปิ ดยมบาลจะปล่อยให้ผีนรกออกมาเยี่ยมญาติในโลกมนุษย์ ในคืนนีค้ ืนเดียวเท่านัน้ ใน เดือนดับนัน้ พร้อมเชิญวิญญาณญาติผลู้ ว่ งลับมารับอาหารไปเป็ นการท�ำบุญ เพื่ออุทศิ ญาติ ผูล้ ว่ งลับ พอรุง่ เช้าชาวบ้านใส่บาตรพระสงฆ์แสดงธรรม เรือ่ งอานิสงส์บญ ุ ข้าวประดับดิน ชาวบ้านถวายปั จจัยไทยทานแด่พระสงฆ์เมื่อพระสงค์ให้พรเสร็จก็กรวดน�ำ้ ให้แก่ผลู้ ว่ งลับ เดือนสิบ : บุญข้าวสาก (กระยาสารท) ช่วงเดือนกันยายน ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๑๐ เป็ นงานบุญเพื่อให้ขา้ วในนาที่ปักด�ำเจริญงอกงามดีและอุทิศส่วนกุศล แก่ผลู้ ว่ งลับ ใน งานมีการถวายข้าวสลาก แก่พระสงฆ์โดยจัดเตรียมเป็ นห่อข้าวน้อยห่อใบตอง (การเตรียม ห่อข้าวน้อยมักจะเตรียม ๑๐ คูเ่ พื่อเลีย้ ง “ผีตาแฮก” ในที่นาของตนให้ผีตาแฮกพอใจ จะได้ ดูแลข้าวกล้าที่ปลูกไว้) เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา ช่วงเดือนตุลาคม ในวันขึน้ ๑๕ ค�่ำ พระสงฆ์แสดง อาบัติและท�ำการปวารณา คือ ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ต่อมาเจ้าอาวาสหรือพระผูใ้ หญ่จะ ให้โอวาทเตือนพระสงฆ์ให้ปฏิบตั ิตนอย่างผูท้ รงศีล กลางคืนมีการจุดประทีปโคมไฟแขวน ไว้ตามวัด นอกจากนีย้ งั มีงานบุญประเพณีท่ีนิยมท�ำกันในเดือน ๑๑ นี ้ คือพิธีได้ประทีปคือ การท�ำ “ฮ้านประทีป” ขึน้ หน้าสิม เดือนสิบสอง : ท�ำบุญกฐิน ช่วงเดือนพฤศจิกายน ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่แรม ๑ ค�่ำเดือน ๑๑ - วันเพ็ญกลางเดือน ๑๒ ในเดือนนีเ้ ป็ นการท�ำบุญแก่พระสงฆ์ท่ีจะจ�ำพรรษาในช่วงฤดู ฝนครบ ๓ เดือน คือ มีการท�ำบุญทอดกฐิ นชาวบ้านถวายเครื่องกฐิ นผ้ากฐิ นแด่พระภิกษุ สงฆ์ เนื่องจากพระภิกษุสงฆ์จะได้มีโอกาสเปลี่ยนไตรจีวรใหม่หลังจากผ่านช่วงเข้าพรรษา แล้ว ทัง้ นีพ้ ระภิกษุสงฆ์จะรับกฐิ นได้ตอ้ งมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า ๕ รูป (ห้ามนิมนต์จากวัดอื่น) และใน ๑ ปี วดั รับกฐิ นได้เพียงกองเดียว ๒.๑.๖ การถือคองสิบสี่ เป็ นข้อยึดปฏิบตั ติ ามธรรมเนียมล้านช้างเดิม การถือคองสิบสี่ คือ ถือครองธรรม ๑๔ อย่าง เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ติ นระหว่างผูป้ กครองกับผูอ้ ยูใ่ ต้การปกครอง ตลอดจน การปฏิบตั ติ นระหว่างคนธรรมดาด้วยกัน ได้แก่ ฮีตเจ้าคองขุน ฮีตเจ้าคองเพีย (เพีย หมาย ถึง พระยา) ฮีตไพร่คองนาย ฮีตบ้านคองเมือง ฮีตปู่ คองย่า ฮีตพ่อคองแม่ ฮีตสะใภ้คองเขย ฮีตป้าคองลุง ฮีตลูกคองหลาน ฮีตเฒ่าตองแก่ ฮีตปิ คองเดือน ฮีตไร่คองนา ฮีตวัดคองสงฆ์ และฮีตเจ้าคองเมือง เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัตศิ าสตร์อสี าน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย, ๒๕๑๕), ๙๘. ๒ เรือ่ งเดียวกัน, ๑๐๐. ๑

111


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

กฎหมายและเทศบัญญัตทิ เ่ี กีย่ วข้อง เทศบัญญัตเิ ทศบาลนครอุบลราชธานี เรื่อง ควบคุมการก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๒ ลักษณะอาคารต่าง ๆ ข้อ ๕ อาคารที่มไิ ด้กอ่ สร้างด้วยวัตถุถาวร หรือวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ครัวไฟต้อง อยู่นอกอาคารเป็ นส่วนสัดต่างหากถ้าจะรวมครัวไฟไว้ในอาคารด้วยก็ได้แต่ตอ้ งลาดพืน้ บุ ผนังฝาเพดานครัวไฟด้วยวัตถุถาวรเป็ นส่วนใหญ่ ข้อ ๖ อาคารที่มไิ ด้กอ่ สร้างด้วยวัตถุถาวรหรือวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่หรือก่อด้วย อิฐไม่เสริมเหล็กให้ปลูกสร้างได้ไม่เกินสองชัน้ ข้อ ๗ อาคารสองชัน้ ที่มิได้ก่อสร้างด้วยวัตถุถาวร หรือวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ พืน้ ชัน้ ล่างของอาคารนัน้ จะสูงกว่าระดับพืน้ ดินเกิน ๑.๐๐ เมตร ไม่ได้ หมวด ๓ ส่วนต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ ๑๔ ห้องที่ใช้เป็ นที่พกั อาศัยในอาคารให้มีสว่ นกว้าง หรือยาวไม่ต่ำ� กว่า ๒.๕๐ เมตร กับรวมเนือ้ ที่พืน้ ทัง้ หมดไม่นอ้ ยกว่า ๙ ตารางเมตร ข้อ ๑๕ ห้องนอนหรือห้องที่ใช้เป็ นที่พกั อาศัยในอาคารให้มชี อ่ งประตู และหน้าต่าง เป็ นเนือ้ ที่รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิบของพืน้ ที่ของห้องนัน้ โดยไม่รวมนับส่วนประตูหรือ หน้าต่างอันติดต่อกับห้องอื่น ข้อ ๑๖ ช่องทางเดินภายในอาคารส�ำหรับบุคคลใช้สอย หรือพักอาศัยต้องกว้างไม่ น้อยกว่า ๑๐๐ เมตร กับมิให้มีเสากีดกัน้ ส่วนหนึง่ ส่วนใดแคบกว่าก�ำหนดนัน้ ทัง้ ให้มีแสง สว่างแลเห็นได้ชดั ข้อ ๑๗ ยอดหน้าต่างและประตูในอาคารให้ทำ� สูงจากพืน้ ไม่นอ้ ยกว่า ๑.๘๐ เมตร และบุคคลซึง่ อยูใ่ นห้องต้องสามารถเปิ ดประตูหน้าต่างและออกจากห้องนัน้ ได้โดยสะดวก ข้อ ๑๘ ระยะดิ่งระหว่างพืน้ ถึงเพดานยอดฝา หรือยอดผนังของอาคารตอนต�่ำสุด ต้องไม่ต่ำ� กว่าที่กำ� หนดไว้ กฎกระทรวงฉบับที่ ๕๕ (พ. ศ. ๒๕๔๓) หมวด ๔ แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ ๔๑ อาคารที่สงู เกินสองชัน้ หรือเกิน ๘ เมตร อาคารสาธารณะใกล้ถนน สาธารณะ (๑) ถ้าถนนสาธารณะนัน้ มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร ให้รน่ แนวอาคารห่าง จากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย ๖ เมตร ข้อ ๔๒ อาคารที่ ก่อ สร้าง หรือ ดัด แปลงใกล้แหล่งน�ำ้ สาธารณะถ้าแหล่งน�ำ้ สาธารณะนัน้ มีความกว้างตัง้ แต่ ๑๐ เมตร ขึน้ ไปต้องรุน่ แนวอาคารให้หา่ งจากเขตแหล่ง น�ำ้ สาธารณะนัน้ ไม่นอ้ ยกว่า ๖ เมตร ทัง้ นีเ้ ว้นแต่สะพานเขื่อนรัว้ ท่อระบายน�ำ้ ท่าเรือ ป้าย อูเ่ รือ คานเรือ หรือที่วา่ งที่ใช้เป็ นที่จอดรถไม่ตอ้ งร่นแนวอาคาร

112

กฏกระทรวงฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ.๒๕๔๓)

ส่วนที่ ๓ บันไดของอาคาร

ข้อ ๒๓ บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยถ้ามีตอ้ งมีอย่างน้อยหนึ่งบันไดที่มีความกว้าง สุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๘๐ เซนติเมตร ช่วงหนึง่ สูงไม่เกิน ๓ เมตร ลูกตัง้ สูงไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร ลูก นอนเมื่อหักส่วนที่ขนั้ บันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๒๒ เซนติเมตร และต้องมีพืน้ หน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันได บันไดที่สงู เกิน ๓ เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง ๓ เมตร หรือน้อยกว่านัน้ และชานพัก บันไดต้องมีความกว้างและยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันได ระยะดิ่งจากขัน้ บันได หรือชานพักบันไดถึงส่วนตํ่าสุดของอาคารที่อยูเ่ หนือขึน้ ไปต้องสูงไม่นอ้ ยกว่า ๑.๙๐ เมตร ข้อ ๒๔ บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก ส�ำนักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษ ส�ำหรับที่ใช้กบั ชัน้ ที่มีพืน้ ที่ อาคารชัน้ เหนือขึน้ ไป รวมกันไม่เกิน ๓๐๐ ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑.๒๐ เมตร แต่สำ� หรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้กบั ชัน้ ที่มีพืน้ ที่อาคารชัน้ เหนือขึน้ ไป รวมกันเกิน ๓๐๐ ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑.๕๐ เมตร ถ้าความกว้าง สุทธิของบันไดน้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร ต้องมีบนั ไดอย่างน้อยสองบันไดและแต่ละบันไดต้อง มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑.๒๐ เมตร บันไดของอาคารทีใ่ ช้เป็ นทีช่ มุ นุมของคนจ�ำนวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยาย ที่มีพืน้ ที่รวมกันตัง้ แต่ ๕๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถาน บริการที่มีพืน้ ที่รวมกันตัง้ แต่ ๑,๐๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป หรือบันไดของแต่ละชัน้ ของอาคาร นัน้ ที่มีพืน้ ที่รวมกันตัง้ แต่ ๒,๐๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑.๕๐ เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบนั ไดเดียวต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๓ เมตร กฎกระทรวงฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๕๒ หมวด ๓ ระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ ข้อ ๑๓ ในกรณีท่ีจดั ให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ห้องในอาคารทุกชนิดทุก ประเภทต้องมีประตู หน้าต่าง หรือช่องระบายอากาศด้านติดกับอากาศภายนอกเป็ นพืน้ ที่รวม กันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิบของพืน้ ที่ของห้องนัน้ ทัง้ นี ้ ไม่นบั รวมพืน้ ที่ของประตู หน้าต่าง และช่อง ระบายอากาศที่ตดิ ต่อกับห้องอื่นหรือช่องทางเดินภายในอาคาร


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

ภาคผนวก ค ค�ำถามส�ำหรับส�ำรวจข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ค�ำถามส�ำหรับการส�ำรวจข้อคิดเห็นของการออกแบบผังแม่บทและ วิหารวัดด้ามพร้า ๑. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบและปรับปรุงผังแม่บท ๑.๑ คิดเห็นอย่างไรกับการวางผังที่เป็ นแนวแกน (อธิบายให้ง่ายต่อความ เข้าใจ เช่น มีตำ� แหน่งอาคารที่ตรงกัน มีความป็ นระเบียบ ) ๑.๒ คิดเห็นอย่างไรกับการแบ่งพืน้ ที่ตา่ งๆภายในวัดอย่างชัดเจน และพืน้ ที่ ที่ออกแบบในการจัดกิจกรรมงานบุญ มีความเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ๑.๓ คิดเห็นอย่างไรกับการออกแบบและปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในวัด โดยค�ำนึงถึงสภาพภูมิวฒ ั นธรรม ๒. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อการออกแบบวิหาร ๒.๑ คิดเห็นอย่างไรกับการวางต�ำแหน่งที่ตงั้ ของวิหารที่ตงั้ อยูบ่ ริเวณกลางผัง มีความเหมาะสมทัง้ ในแง่การใช้งานงานและความเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน ได้หรือไม่ อย่างไร ๒.๒ คิดเห็นอย่างไรกับรูปแบบสถาปัตยกรรมที่นำ� มาใช้ในการออกแบบวิหาร มีความเหมาะและสอดคล้องกับบริบทในพืน้ ที่หรือไม่ อย่างไร ๒.๓ คิดเห็นอย่างไรกับการออกแบบภายในวิหาร ท่านคิดว่าการออกแบบ นีส้ ่งเสริมหรือขับเน้นพระพุทธรู ปโบราณให้สมกับเป็ นที่พ่ึงที่ศรัทธาของคนในชุมชน ได้หรือไม่ อย่างไร ๓. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่อพิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ ๓.๑ คิดเห็นอย่างไรกับการมีพพิ ธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิ่น และการสร้างพืน้ ที่การเรียนรู ้ อันประกอบไปด้วย สิมโบราณ พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น โรงเกวียน ต�ำแหน่งที่ตงั้ มีความ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ๓.๒ คิดเห็นอย่างไรกับเนือ้ หาในการจัดแสดง ร่วมถึงแนวความคิดในการ ออกแบบพืน้ ที่จดั แสดงภายใน ๓.๓ คิดเห็นอย่างไรกับแนวคิดการปรับปรุงพืน้ ที่ภายนอกพิพธิ ภัณฑ์ ที่คำ� นึง ถึงการออกแบบที่มคี วามประหยัด และเป็ นประโยชน์สงู สุด หมายถึง การออกแบบโดย ใช้วสั ดุในท้องถิ่น และประหยัดพลังงานธรรมชาติให้มากที่สดุ (ต้องยกตัวอย่างการ ออกแบบมาอธิบายเพื่อให้เห็นภาพ)

๔.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอเเนะอืน่ ๆ ๔.๑ คิ ด เห็ น อย่ า งไรกั บ การออกแบบผัง แม่ บ ทและวิ ห ารวัด ด้า มพร้า มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย เพือ้ ฟื ้ นฟูให้วัดด้ามพร้ากลับมาเป็ นจิตวิญญาณ ของชุ ม ชนอย่ า งที่ เ คยเป็ นมาในอดี ต ภายใต้ตั ว แปร เงื่ อ นไขอย่ า งใหม่ ข อง วิถีชีวิตของสังคมในปั จจุบนั ได้หรือไม่ อย่างไร

113


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

114


การออกแบบผังแม่บทและวิหารวัดด้ามพร้า ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

Master Plan and Buddha Image Hall (Vihãra) Design : Wat Dampra, Khamyai Sub-District, Mueng District, Ubon Ratchathani

115


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.