ศาลเจ้าจีน
แบบไหหลำ�และแต้จิ๋ว
ปาริฉัตร กิ่งจักร
ศาลเจ้าจีน คือ ศาสนสถานของชาวจีนที่สร้างขึ้นตามความ
...
เชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าหรือเทพเซียนองค์สำ�คัญของชาวจีนประดิษฐาน ภายในศาล เพื่อกราบไหว้สักการะบูชา เสมือนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ทางจิตใจ
2
เ มื่ อ ช า ว จี น อ พ ย พ ม า ตั้ ง
ถิ่ น ฐานในประเทศไทยย่ อ มมี ก ารนำ � ความเชื่ อ หรื อ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ต นเอง นั บ ถื อ ติ ด ตั ว มาด้ ว ยตั้ ง แต่ ล งเรื อ สำ � เภา จากแผ่นดินใหญ่เป็นระยะเวลายาวนาน กว่าจะมาถึงแผ่นดินไทย ซึ่งชาวจีนต้อง เผชิ ญ กั บ ความยากลำ � บากในการเดิ น ทางเพื่อ มาเริ่ มต้นชีวิตใหม่ต่างบ้านต่าง เมือง สิ่งศักดิ์สิทธิ์จึงเป็นสิ่งเดียวที่ทำ�ให้ ชาวจี น รู้ สึ ก ปลอดภั ย ตลอดการเดิ น ทาง จนถึงที่หมาย เทพเจ้าที่ชาวจีนนับถือจึง มีอยู่หลายองค์ตามความเชื่อชาวจีนแต่ละ เชื้อสาย ชาวจีนมีความหลากหลายใน การนับถือศาสนาและเทพเจ้า ชาวไทย เชื้อสายจีนรุ่นแรกที่เข้ามาในไทยนับถือ ศาสนาพุทธนิกายมหายาน และศาสนา เต๋า ซึ่งในเวลาต่อมาศาสนาพุทธนิกาย เถรวาทได้ ก ลายเป็ น หนึ่ ง ในศาสนา บนความเชื่ อ ของชาวจี น ในไทยจาก การจากการหลอมรวมทางวั ฒ นธรรม โดยส่ ว นมากชาวไทยเชื้ อ สายจี น จะ ประกอบพิ ธี ก รรมดั้ ง เดิ ม แบบความ เชื่ อ ของจี น และเถรวาทไทยควบคู่ ไ ป ด้วยกัน ผสมผสานทางวัฒนธรรมของ ไทยจนกลายเป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ที่ โ ดดเด่ น
3
องค์เจ้าแม่ทับทิม ศาลเจ้าแม่ทับทิม จังหวัดลำ�ปาง
4
เจ้าพ่อ ปุนเถ่ากง ศาลเจ้าปุนเถ่ากง จังหวัดเชียงใหม่
5
6
ศาลเจ้าจีน ส่วนใหญ่สร้าง จากชาวจีนสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มชาวจีน แต้จิ๋วและกลุ่มชาวจีนไหหลำ� เมื่อมีกำ�ลัง ทรั พ ย์ ม ากพอจึ ง ร่ ว มกั น บริ จ าคกำ � ลั ง ทรัพย์เท่าที่ตนเองมีอยู่เพื่อซื้อที่ดินในการ สร้างศาลเจ้า รู ป แบบศาลเจ้ า ที่ ส ร้ า งขึ้ น ครั้ ง แรกสุดจึงมีแบบแผน โครงสร้างศาลเจ้า ที่ ก่ อ สร้ า งครั้ ง แรกทำ � มาจากไม้ ทั้ ง หลั ง เมื่ อ เวลาผ่ า นไปศาลเจ้ า จึ ง ได้ รั บ การ บูรณะให้เป็นคอนกรีตทั้งหลังเหลือเพียง บางส่ ว นที่ ยั ง คงทำ � มาจากไม้ เ น้ น การใช้ ระบบเสาและคานในการรองรั บ น้ำ � หนั ก หลังคา เอกลักษณ์ที่โดดเด่น คือ หลังคา มีการลดหลั่นระดับชั้น หลังคามีความ โค้งสันหลังคาประดับมังกรชูพระอาทิตย์ และหงส์กระเบื้องหลังคาเคลือบมีทั้งแบบ แบนและแบบกระบอกผ่าครึ่ง ปลายจั่ว ยกสูงงอน สีที่นิยมใช้ คือ สีแดง สีเหลือง สีน้ำ�เงิน สีเขียวและสีทอง ลวดลายและ งานจิ ต รกรรมในศาลเจ้ า แทนความสิ ริ มงคลและมีความหมายทั้งหมด ส่วนใหญ่ เป็นภาพเทพเซียน สัตว์ผลไม้ ดอกไม้ และ ต้นไม้มงคล
กิเลน เครื่องตกแต่งหลังคา ศาลเจ้าแม่ทับทิม จังหวัดลำ�ปาง
มือจับประตูรูปสิงห์จีน และชั้นหลังคา ศาลเจ้าปุนเถ่ากง จังหวัดลำ�ปาง
ศาลเจ้ากลุ่มชาวจีนแต้จิ๋ว
ปัจจุบนั รูปแบบสถาปั ต ยกรรม และศิ ล ปกรรม ศาลเจ้าจีนยังคงรูปแบบ เดิมโบราณเห็นได้จาก โครงสร้างศาล เจ้ า ของชาวจี น แต้ จิ๋ ว มี ก ารเปิ ด พื้ น ที่ ช่ อ ง ว่ า งของหลั ง คาขนาดสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส บริเวณตรงกลาง ขนาดลานไม่ใหญ่มาก นั ก เพื่ อ รั บ แสงอาทิ ต ย์ ต ามความเชื่ อ เรื่ อ ง การเชื่อมต่อระหว่างโลกทั้งสาม โครงสร้าง หลังคามีทั้งไม้และคอนกรีต ไม่นิยมสร้าง หน้าต่าง ใช้ช่องลมประดับอักษรจีนแทน หน้าต่าง หรือ ใช้เหล็กดัดแทนอักษรจีน ตามแต่ละศาลเจ้าบานประตูทางเข้ามีภาพ จิตรกรรมทวารบาล ลักษณะเป็นบานพับ 2 บานเปิดจากด้านนอกเข้าหาด้านใน มือ ด้ า มจั บ มี ก ารตกแต่ ง หน้ า สิ ง ห์ ห รื อ ไม่ ต ก แต่งใดๆเลย นิยมเขียนภาพจิตรกรรมเทพ เซียน เรื่องราวธรรมชาติ และลวดลายแทน คำ�สิริมงคลที่มาจากสัตว์ ดอกไม้ ผลไม้ ลง บนโครงสร้ า งหลั ง คาอย่ า งวิ จิ ต รงดงาม
ส่วนงานจิตรกรรมฝาผนังมีไม่มาก เท่างานจิตรกรรมบนโครงสร้างหลังคาและ ส่วนมากพบงานจิตรกรรมตามแต่ละแท่นบูชา เทพเจ้าและแท่นวางของไหว้เทพเจ้ารวมถึง มีการผสมผสานคติความเชื่อของไทยในงาน จิตรกรรมอีกด้วย ส่วนงานประติมากรรมมีทง้ั งานหล่องานแกะ รูปปูนปัน้ นูนต่�ำ และนูนสูง ส่วนมากเจ้ามังกรและเจ้าพยัคฆ์ นิยมปัน้ เป็น รูปนูนสูง ส่วนรูปปูนปัน้ นูนต่�ำ มักจะปัน้ เกีย่ วกับ เทพเซียนใส่กรอบประดับไว้หน้าศาลเจ้า 9
สถาปัตยกรรมศาลเจ้าจีน กลุ่มชาวจีนแต้จิ๋ว
โครงสร้างศาลเจ้าจีน
ศาลเจ้าปุงเท่ากง จังหวัดตาก
ศาลเจ้าแม่ทับทิม จังหวัดลำ�ปาง
ศาลเจ้าปุงเถ่ากง จังหวัดเชียงใหม่
ศาลเจ้าแม่ทับทิมจังหวัดเชียงใหม่
ศาลเจ้ากวนอู จังหวัดเชียงใหม่
11
ศาลเจ้าปุงเถ่ากง จังหวัดลำ�ปาง
ศาลเจ้ากวนอู จังหวัดเชียงใหม่
ศิลปกรรมศาลเจ้าจีน กลุ่มชาวจีนแต้จิ๋ว
สัญลักษณ์หยินหยาง ศาลเจ้าปุงเถ่ากง จังหวัดเชียงใหม่
แสดงถึงความสมดุลของความเชื่อระหว่าง พุทธศาสนาและเต๋าอย่างเท่าเทียมกัน
ศาลเจ้าปุงเถ่ากง จังหวัดเชียงใหม่
ศาลเจ้ า แห่ ง เดี ย วที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป และ พระโพธิสัตว์กวนอิมไว้ด้วยกัน เพื่อบ่งบอกว่าแม้จะนับถือ คติความเชื่อดั้งเดิมแต่ก็ยังอยู่บนพื้นฐานของพุทธศาสนา
ภาพตัวอย่าง งานจิตรกรรมฝาผนัง ศาลเจ้าปุงเถ่ากงจังหวัดเชียงใหม่ 13
สิบสองปีนักษัตรไทยเพดาน ในศาลาหกเหลี่ยมไหว้เทพยดาฟ้าดิน
ศาลเจ้าชาว
วจีนไหหลำ�
สถาปัตยกรรมศาลเจ้า ชาวจีนกลุ่มไหหลำ�
ศาลเจ้าของชาวจีนไหหลำ� มีลักษณะอาคารปิดทึบ นิยมสร้างอาคารศาลเจ้าขนาดใหญ่ โครงสร้าง หลังคายังคงเป็นไม้ แต่ตัวอาคารก่อปูนทั้งหมด บานประตูทำ�จากไม้ บางศาลเจ้าศาลเจ้า มีการกั้นห้อง ประดิษฐานเทพเจ้าไว้อย่างชัดเจน โครงสร้างอาคารมีรูปแบบสถาปัตยกรรมจีนทั่วไป มีการแบ่งพื้นที่เป็น สามส่วน คือ โถงกิจกรรม สำ�นักงานศาลเจ้า และอาคารศาลเจ้า ศาลเจ้ามีการใช้ช่องลมแทนหน้าต่าง ศาลเจ้าของชาวจีนไหหลำ� นิยมทาสแดงล้วน ซึ่งเชื่อว่าเป็นสีประจำ�องค์เจ้าแม่ทับทิม ไม่เน้นการประดับ ตกแต่งมากเท่าใด
17
ศิลปกรรมศาลเจ้า ชาวจีนกลุ่มไหหลำ�
งานศิลปกรรมศาลเจ้ากลุม่ ชาวจีนไหหลำ� พบ งานจิตรกรรมส่วนมากบนโครงสร้างหลังคา แท่นบูชาเทพเจ้า และด้านหน้าอาคารศาลเจ้า เป็นบริเวณบางจุด ส่วนงานประติมากรรมนัน้ ส่วนมากเป็นรูปแบบ ลอยตัว งานศิลปกรรมบางส่วนได้รบั คติความ เชือ่ ของไทยเช่นกัน
19
แนวคิดและคติความเชื่อในการ สร้างสรรค์งานของศาลเจ้าจีน มีทั้งแบบ ศิ ล ปะจี น และศิ ล ปะไทยผสมผสานกั น สะท้ อ นถึ ง ความเชื่ อ ผ่ า นงานจิ ต รกรรม และงานประติมากรรม เปรียบศาสน สถานให้เหมือนดินแดนที่เต็มเปี่ยมไปด้วย ความสิริมงคล ทุกวันนี้ศาลเจ้าจีนยังคงมีผู้แวะ เวียนเข้ามาเยี่ยมชมเสมอ บางศาลเจ้าตั้ง อยู่บริเวณย่านการค้าทำ�ให้ศาลเจ้ามีชื่อ เสียงและเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากบรรดานัก ท่องเที่ยวทั้งหลาย อย่างไรก็ตาม พี่น้อง ชาวไทยเชื้อสายจีนยังคงทำ�นุบำ�รุงสถาน ที่ที่เรียกว่า ศาลเจ้า ตลอดเวลาตามกำ�ลัง ทรัพย์ที่บริจาคด้วยความศรัทธา ไม่เพียง แต่เป็นที่พึ่งทางใจเท่านั้น ศาลเจ้ายังคง มีชีวิต ความทรงจำ� และความผูกพันอัน เหนียวแน่นของพี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีน
20
ศาลเจ้าจีนแบบไหหลำ�และแต้จิ๋ว ปาริฉัตร กิ่งจักร ภาพและเนื้อเรื่อง ©2017 (พ.ศ.2560) โดย ปาริฉัตร กิ่งจักร สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม พ.ศ.2560 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ปาริฉัตร กิ่งจักร ใช้แบบอักษร TH Chakra Petch , PSLxYaowaraj หนังสือเล่มนี้ เป็นผลงานทางวิชาการ จัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพ การศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่