Overall Operation of Year 2019 ผลการด�ำเนินงาน รอบ 12 เดือน ปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ.
32
33
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
จากการด�ำเนินการดังกล่าวส�ำนักงาน คปภ. ได้ให้ ความเห็นชอบร่างประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำรงเงินกองทุน ตามระดับความเสี่ยง จ�ำนวน 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ร่างประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่องก�ำหนดประเภทและชนิด ของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการค�ำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 25.. ฉบับที่ 2 ร่างประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่องก�ำหนดประเภทและชนิด ของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การค�ำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย พ.ศ. 25.. ส�ำนักงาน คปภ. ได้สอบทานร่างประกาศดังกล่าว ก่อนน�ำเสนอประธานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการ ประกอบธุรกิจประกันภัยเพื่อพิจารณาลงนาม และได้มี การให้ส�ำนักงาน คปภ. ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากการบังคับใช้เกณฑ์ดังกล่าว เพื่อพิจารณาอีกครั้งก่อน การบังคับใช้จริง
ในรอบปี ที่ ผ่ า นมาส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ ด� ำ เนิ น งานหลายภารกิ จ ส� ำ คั ญ เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพและ ความแข็งแกร่งของธุรกิจประกันภัย ภายใต้แผนพั ฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2559-2563) และภารกิจหลักในการก�ำกับดูแลและส่งเสริมพั ฒนาธุรกิจประกันภัย โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ โปร่งใส น่าเชื่อถือ และคุ้มครองประชาชนให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการประกันภัยอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ซึง ุ ธศาสตร์ใดทีน ่ บทความนีจ ้ ะพาคุณไปดูผลงานทีผ ่ า่ นมาในรอบปีของส�ำนักงาน คปภ. ว่ามียท ่ า่ สนใจ และสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในด้านใดบ้าง Objective 1 - เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพ ผู้ประกอบการเพื่อให้บริษท ั ประกันภัยมีความมัน ่ คง เข้ ม แข็ ง ทางการเงิ น และมี ขี ด ความสามารถ ในการรับประกันภัย
Strategy 1: เพิ่มศักยภาพ อุตสาหกรรมประกันภัย
Key Result 1 - ด�ำรงเงินกองทุนตามระดับความ เสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) ในการประชุมคณะกรรมการ คปภ. ครั้งที่ 10/2562 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ ความเห็นชอบร่างประกาศ คปภ. ว่าด้วยการด�ำรงเงินกองทุน ตามระดับความเสี่ยงและการประเมินราคาทรัพย์สินและ หนี้สินของบริษัทประกันชีวติ /วินาศภัย โดยก�ำหนดให้บริษัท ประกันวินาศภัยทุกบริษัท เข้าร่วมการทดสอบผลกระทบเชิง ปริมาณตามกรอบการด�ำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) โดยก�ำหนดให้ใช้ข้อมูล ณ สิ้นไตรมาส ที่ 2 ปี 2562 ในการทดสอบ และน�ำส่งผลการทดสอบ ให้ส�ำนักงาน คปภ. ภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของส�ำนักงาน คปภ. และคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการพัฒนากรอบการด�ำรง เงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) ในการ ก� ำ หนดอั ต ราส่ ว นความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น ที่ ใ ช้ ใ น การก�ำกับ (Supervisory CAR) โดยได้ให้ความเห็นชอบ การก�ำหนดอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ใน การก�ำกับ (Supervisory CAR) อย่างค่อยเป็นค่อยไป ดังนี้
มีเป้าหมายในการเพิ่มศักยภาพของบริษัทประกันภัยให้มีความมั่นคง มีความเข้มแข็งทางการเงิน มี ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี คุ ณ ภาพ ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย เป็ น ที่ เ ชื่ อ มั่ น และไว้วางใจของประชาชน โดยส�ำนักงาน คปภ. มีการด�ำเนินงานในหลากหลายด้าน ดังนี้
ระยะเวลา
Supervisory CAR
ตั้ ง แต่ วั น ที่ ป ระกาศนี้ ใ ช้ บั ง คั บ (วันที่ 31 ธันวาคม 2562) ถึงวัน ที่ 31 ธันวาคม 2564
120%
ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2565 เป็นต้นไป
140%
Key Result 2 - ประเมินความทนทานของระบบ ประกันภัยภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจมหภาคจ�ำลอง (Stress Test) ส�ำนักงาน คปภ. ก�ำหนดให้บริษทั ประกันภัยทุกแห่ง จัด ท�ำการทดสอบสถานะของบริษทั ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจ มหภาคจ�ำลอง (Stress Test) โดยให้บริษทั ประมาณการข้อมูล ฐานะการเงิน ณ สิน้ ปี 2562 ตามแผนธุรกิจของบริษทั โดยมี สถานการณ์ท่ใี ช้ในการทดสอบทั้งสิ้น 2 กรณี กรณีที่ 1 Common Risk Scenarios เป็นสถานการณ์ ความเสี่ยงร่วมกันระหว่างส�ำนักงาน คปภ. ธนาคารแห่ง ประเทศไทย และส�ำนักงาน ก.ล.ต. โดยก�ำหนดให้สถานการณ์ ทีใ่ ช้ในการทดสอบสถานะของบริษทั 2 สถานการณ์ แบ่งตาม ระดับความรุนแรง ได้แก่ Moderate Scenario และ Severe Scenario กรณีที่ 2 Spot Shock Scenario เป็นสถานการณ์ ความเสี่ยงส�ำหรับธุรกิจประกันชีวิตเท่านั้น ซึ่งสถานการณ์น้ี ก�ำหนดขึ้นจากการที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินปรับตัวขึ้น อย่ า งรวดเร็ ว และส่ ง ผลกระทบต่ อ สถานะของบริ ษั ท โดยก�ำหนดให้บริษทั ส่งรายงานการทดสอบกับส�ำนักงาน คปภ. และให้บริษัททุกแห่งน�ำเสนอผลการทดสอบต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท และน� ำส�ำเนารายงานการประชุม คณะกรรมการบริษัทดังกล่าว ส่งกลับมาให้สำ� นักงาน คปภ.
34
35
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Objective 2: ยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงาน ่ วข้องกับธุรกิจประกันภัย และพัฒนาบุคลากรทีเ่ กีย
ซึ่งผลการทดสอบสามารถสรุปได้ว่า ระบบประกันภัย มีความทนทานต่อสถานการณ์จ�ำลอง สะท้อนจากบริษัท ประกันภัยเกือบทุกแห่งที่ยังคงมีฐานะการเงินอยู่ในเกณฑ์ดี มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน (Capital Adequacy Ratio: CAR) สูงกว่าระดับที่กฎหมายก�ำหนด (ร้อยละ 100) และไม่มีแนวโน้มที่ระบบประกันภัยจะเป็นสาเหตุหรือส่งผล กระทบต่อเสถียรภาพของภาคการเงินโดยรวม โดยส�ำนักงาน คปภ. จะยังคงติดตามความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อระบบ ประกันภัยอย่างใกล้ชดิ
Key Result 1 - ยกระดับการก�ำกับดูแลและการ บริหารความเสีย่ งด้านดิจทิ ลั (Digital Risk Management and Governance) ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั จ้างบริษัท เอซิส โปรเฟสชั่นนัล เซ็นเตอร์ จ�ำกัด เป็นที่ปรึกษาในโครงการยกระดับการก�ำกับ ดูแลและการบริหารความเสี่ยงด้านดิจิทัล (Digital Risk Management and Governance) โดยบริษัทที่ปรึกษาได้จัด อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแล เรื่อง IT Risk Management and Cybersecurity ให้กับเจ้าหน้าที่ของ บริษัทประกันชีวิต/วินาศภัย และเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงาน คปภ. และในขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างติดตามให้บริษทั น�ำส่งข้อมูล เกีย่ วกับการก�ำกับดูแลและการบริหารจัดการเรือ่ งความมัน่ คง ปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และความมั่นคง ปลอดภัยทางไซเบอร์ในระบบ Web Survey
Key Result 3 - ปรับปรุงและจัดท�ำร่างประกาศ คปภ. เรื่ อ งการลงทุ น ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ของบริ ษั ท ประกันชีวิต/บริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ... ส�ำนักงาน คปภ. ได้ปรับปรุงและจัดท�ำร่างประกาศ คปภ. เรือ่ ง การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันชีวิต/บริษัท ประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 เพื่อขยายขอบเขตให้ บริษทั ประกันชีวติ และบริษทั ประกันวินาศภัย สามารถเข้าไป ถือตราสารทุนในการประกอบธุรกิจอื่นในบริษัทประกันภัย ต่างประเทศและภูมภิ าคอื่นทั่วโลก จากเดิมที่กำ� หนดเฉพาะ ในภูมภิ าคอาเซียน โดยจะส่งผลดีทงั้ ในด้านผลตอบแทนจาก การลงทุน และเปิดโอกาสให้บริษัทประกันภัยที่มีศักยภาพ สามารถน�ำประสบการณ์ของธุรกิจประกันภัยไทยไปพัฒนา ต่อยอดธุรกิจประกันภัยในต่างประเทศอีกทางหนึ่ง
Key Result 2 - สัมมนากรรมการบริษทั ประกันภัย เพื่อยกระดับมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดงานสัมมนากรรมการบริษัท ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (Board Forum 2019) ต่อเนื่อง มาเป็นปีท่ี 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเวทีในการสื่อสาร ทิ ศ ทางและนโยบายในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ไทย และสร้างความตระหนักถึงบทบาทและความส�ำคัญของ คณะกรรมการบริษทั ประกันภัยในการร่วมกันก�ำกับดูแลธุรกิจ ประกันภัย (Corporate Governance) รวมทัง้ แลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ ข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ อันแสดงถึงศักยภาพและความร่วมมือในการพัฒนาธุรกิจ ประกันภัยร่วมกัน ซึ่งปีนี้จัดขึ้นในวันที่ 3 ธันวาคม 2562 เป็นเวทีสัมมนากรรมการบริษัทประกันชีวิต และวันที่ 17 ธันวาคม 2562 เป็นเวทีสัมมนากรรมการบริษัท ประกัน วินาศภัย ภายใต้หัวข้อ ‘IFRS 17 and the Roles of Board of Directors’ ณ ห้อง Ballroom 3 ชัน้ 4 โรงแรม Conrad Bangkok
Key Result 4 - ศึกษาสภาพแวดล้อมที่ส่งผล กระทบต่อการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. และธุรกิจ ประกันภัยไทย ส�ำนักงาน คปภ. ได้จ้างบริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จ�ำกัด เป็นที่ปรึกษา เพื่อด�ำเนินการศึกษา สภาพแวดล้อมทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. และธุรกิจประกันภัยไทย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่างๆ ทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ วิเคราะห์และประเมินโครงสร้าง ศักยภาพ และขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ประกันภัยไทย รวมถึงจัดท�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทาง ในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของธุรกิจประกันภัยไทย ให้สามารถก้าวไปแข่งขันได้ในระดับสากล โดยน�ำผลการศึกษา ทีไ่ ด้รบั มาใช้เป็นแนวทางในการจัดท�ำร่างกรอบแผนพัฒนาการ ประกันภัย ฉบับที่ 4
ประกันภัยและยกระดับพฤติกรรมทางตลาดของ ระบบประกันภัย
และปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยออกแนวปฏิบัติ การก�ำกับตัวแทน/นายหน้าประกันชีวติ ตามประกาศเสนอขาย ที่มีผลบังคับใช้เมื่อต้นปี ภายใต้กรอบเดิมที่เคยเปิดรับฟัง Key Result 1 - การก�ำกับตัวแทนประกันภัยและ ความคิดเห็นและท�ำความเข้าใจกับภาคธุรกิจ โดยมีหลักการ นายหน้าประกันภัย 5 ด้าน ประกอบด้วย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ให้ความส�ำคัญกับการท�ำหน้าทีข่ อง ตัวแทนประกันภัยและนายหน้าประกันภัยอย่างใกล้ชิด เพื่อ ดูแลให้ผเู้ อาประกันภัยได้รบั การบริการทีด่ ี รวมถึงสิทธิประโยชน์ ทีค่ รบถ้วน โดยจัดท�ำมาตรฐานแนวทางการควบคุมคุณภาพ แนวปฏิบัติการก�ำกับ การเสนอขายผลิตภัณฑ์ประกันภัย เพือ่ พัฒนาศักยภาพ สร้าง ตัวแทน / นายหน้าประกันชีวิต ความแข็งแกร่งให้กบั ตัวแทน/นายหน้า ให้มจี รรยาบรรณและ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยด�ำเนินงาน ดังนี้ แนวปฏิบตั ใิ นการให้บริการอย่างเป็นธรรม 1) ในการประชุมคณะกรรมการ คปภ. ครั้งที่ 10/2562 ด้านที่ 1 และมีคุณภาพ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ ความเห็นชอบร่างประกาศ คปภ. เรื่องก�ำหนดหลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติในการคัดเลือกผู้เสนอขาย วิธกี าร เงือ่ นไข การขออนุญาต การอนุญาต และการต่ออายุ ด้านที่ 2 และช่องทางการเสนอขายกรมธรรม์ ใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิต/วินาศภัย และนายหน้า ประกันภัย ประกันชีวติ /วินาศภัย พ.ศ. 2562 แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับมาตรฐานการเสนอ 2) ในการประชุมคณะกรรมการ คปภ. ครั้งที่ 12/2562 ด้ า นที ่ 3 ขายกรมธรรม์ประกันภัย เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2562 คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ ความเห็นชอบร่างประกาศ คปภ. เรือ่ งหลักเกณฑ์และเงือ่ นไข แนวปฏิบตั ขิ องธนาคารในการให้บริการ ในการออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาตให้นติ บิ คุ คลเป็น ด้านที่ 4 นอกสถานที่ นายหน้าประกันชีวิต/วินาศภัย และการประกอบธุรกิจของ นิตบิ คุ คลผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวติ /วินาศภัย แนวปฏิบัติในการให้บริการภายหลัง พ.ศ. 2562 โดยขณะนี้อยู่ระหว่างน�ำเสนอประธานกรรมการ ด้านที่ 5 การขาย ก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยเพื่อลงนาม ในประกาศดังกล่าวต่อไป 3) ยกระดับมาตรฐานคนกลางประกันภัยให้มคี วามโปร่งใส
Objective 3: คุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอา 36
37
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 2 - ยกระดับมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ประชาชนด้านการประกันภัย ด้วยความต้องการทีจ่ ะยกระดับมาตรฐาน การคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ของประชาชนด้านการประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ออกนโยบายหลายอย่างเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น โดยมีการด�ำเนินงาน ดังนี้
อนุ ญ าโตตุ ล าการ และผู ้ แ ทนจากส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ สมาคม ประกันวินาศภัยไทย สมาคมประกันชีวติ ไทย ตลอดจนผู้แทน จากบริษทั ประกันชีวติ และบริษทั ประกันวินาศภัย เข้าร่วมกว่า 300 คน เพือ่ เป็นการเผยแพร่การด�ำเนินงานของศูนย์ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้ ด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านการประกันภัย 3) จัดสัมมนาตาม ‘โครงการสัมมนาอนุญาโตตุลาการ และผู้ไกล่เกลีย่ ส�ำนักงาน คปภ.’ เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2562 ให้กับผู้บริหาร พนักงานส�ำนักงาน คปภ. อนุญาโตตุลาการ และผู้ไกล่เกลี่ย เพื่อให้อนุญาโตตุลาการและผู้ไกล่เกลี่ย ส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ถ่ายทอดองค์ความรู้ รวมทั้งการถอดบทเรียนที่เกิดจากการ ปฏิบัติงานการระงับข้อพิพาทร่วมกัน 4) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรมและคณะกรรมการ สถาบันอนุญาโตตุลาการ (Thailand Arbitration Center: THAC) เข้าเยี่ยมชมการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการคดีของ อนุญาโตตุลาการ ส�ำนักงาน คปภ. เมือ่ วันที่ 7 มิถนุ ายน 2562 เพื่ อ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก ารท� ำ งานระหว่ า งองค์ ก ร ประสานความร่วมมือในการด�ำเนินการด้านการระงับข้อพิพาท ด้ ว ยวิ ธีอ นุ ญ าโตตุ ล าการในอนาคต โดยมี ก ารบรรยาย สรุ ป การด� ำ เนิ น งาน และเข้ า สั ง เกตการณ์ ก ระบวนการ อนุญาโตตุลาการของส�ำนักงาน คปภ.
5) ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีค�ำสั่งที่ 346/2562 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา ปรั บ ปรุ ง เงื่ อ นไขกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย และคู ่ มื อ ตี ค วาม กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ เพื่อทบทวนปรับปรุงกรมธรรม์ ประกันภัยรถยนต์ และคูม่ อื ตีความกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ ให้สอดคล้องกัน ให้การพิจารณาค่าสินไหมทดแทนเป็นไป อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน และเป็นธรรม ตลอดจนป้องกัน และลดปัญหาข้อโต้แย้งระหว่างบริษัทกับผู้เอาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ หรือผู้มีสิทธิเรียกร้องตามสัญญาประกันภัย 6) ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีค�ำสั่งที่ 347/2562 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการพิจารณาเรือ่ งร้องเรียนและด�ำเนินการ ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย และการระงับข้อพิพาท ด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการ เพื่อให้กระบวนการพิจารณาเรื่อง ร้องเรียน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และกระบวนการอนุญาโตตุ ล าการส� ำ นั ก งาน คปภ. มี ค วามชั ด เจน มี ขั้ น ตอน สอดคล้ อ งเชื่ อ มโยงกั น อย่ า งเป็ น ระบบ และทั น ต่ อ การ เปลี่ยนแปลงของธุรกิจประกันภัย ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน และเพิ่มประสิทธิภาพการะบวนการคุ้มครอง สิทธิประโยชน์ของประชาชนด้านการประกันภัย
1) สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ประชาชน และระบบประกัน ภัยในภาพรวม ส�ำนักงาน คปภ. ได้พัฒนาทักษะผู้ไกล่เกลี่ย และผูเ้ กีย่ วข้อง โดยจัดอบรมสัมมนาถอดบทเรียนการไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย เมือ่ วันที่ 1-3 กุมภาพันธ์ 2562 โดยผู้เข้าร่วมสัมมนาประกอบด้วยผู้ไกล่เกลี่ยที่ขึ้นทะเบียน รายชือ่ ของส�ำนักงาน คปภ. ผูบ้ ริหาร และพนักงานส�ำนักงาน คปภ. รวมทั้ ง สิ้ น 92 คน เพื่ อ ให้ มี ก ารถอดบทเรี ย น การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่ผ่านมา โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ ใ นการปฏิ บั ติ ง าน ให้ ท ราบถึ ง ปั ญ หาหรื อ อุปสรรค และเทคนิคการไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทในแต่ละประเด็น ปัญหา รวมทัง้ พัฒนาทักษะเพิม่ เติมองค์ความรูเ้ กีย่ วกับการ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านการประกันภัย ปัญหาข้อร้องเรียน ประกันภัย กฎหมายเกีย่ วกับประกันภัย ลักษณะและประเภท ของประกันภัย และประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) จัดกิจกรรมครบรอบ 3 ปี เปิดศูนย์ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท ด้านการประกันภัย เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2562 โดยมีผบู้ ริหาร และพนักงานส�ำนักงาน คปภ. ผู้ไกล่เกลี่ยส�ำนักงาน คปภ.
38
39
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
7) เลขาธิการและคณะผู้บริหารของส�ำนักงาน คปภ. ให้การต้อนรับนายวิสทุ ธิ์ ศรีสพุ รรณ ประธานคณะกรรมาธิการ การเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง วุฒิสภา และคณะ กรรมาธิการฯ ที่ปรึกษา รวมถึงคณะอนุกรรมาธิการด้าน ตลาดทุ น และธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เดิ น ทางมาศึ ก ษาดู ง าน และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางและนโยบายของ ส�ำนักงาน คปภ. ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัยไทย และการคุ้ ม ครองผู ้ บริโ ภค รวมทั้งเยี่ย มชมศู น ย์ รับเรื่อ ง ร้องเรียนด้านการประกันภัย เมือ่ วันอังคารที่ 29 ตุลาคม 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ.
8) คณะผู้บริหารของส�ำนักงาน คปภ. ให้การต้อนรับ คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุม้ ครอง ผู้บริโภค วุฒิสภา ที่เดินทางมาศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กั บ การคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค รวมทั้ ง รั บ ฟั ง การด� ำ เนิ น งาน สภาพปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั งิ านด้านการคุม้ ครอง ผู ้ บ ริ โ ภค เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 28 พฤศจิ ก ายน 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ.
40
41
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Strategy 2:
Objective 1: เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ด้านการประกันภัยให้กับประชาชน
เสริมสร้างความรู้ และ การเข้าถึงการประกันภัย
ส�ำนักงาน คปภ. มีความคาดหวังให้ประชาชนได้รับรู้ถึงความส�ำคัญของการท�ำประกันภัย และเข้าใจ สิทธิที่ควรจะได้รับ สามารถเข้าถึงการประกันภัยเพื่อเลือกใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ได้อย่างเหมาะสม โดยมีการท�ำงานร่วมกันกับหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ให้เฉพาะกลุ่มนิสิต/นักศึกษาสามารถส่งผลงานเข้าประกวด สารคดีสั้น ได้ขยายไปถึงประชาชนทั่วไป โดยมีผู้สนใจ ส่งผลงานเข้าประกวด จ�ำนวน 71 ทีม จากทั่วประเทศ ซึ่งการประกวดครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก อาจารย์เชิดพงษ์ เหล่ า ยนตร์ และ อาจารย์ บั ณ ฑิ ต ทองดี สองผู ้ ก�ำ กั บ ภาพยนตร์ โฆษณา สารคดี รวมถึงละครทีวี ร่วมเป็นคณะ กรรมการตัดสินผลงาน โดยหลักเกณฑ์การประกวดพิจารณา จากความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหา รูปแบบการน�ำเสนอ และความคิดสร้างสรรค์
Key Result 1 - การประกวดสารคดีสั้น ภายใต้ แนวคิด ‘พ.ร.บ. เคียงข้าง…ทุกการเดินทาง’ ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั โครงการประกวดสารคดีสั้น ต่อเนื่องเป็นปีท่ี 9 ภายใต้แนวคิด ‘พ.ร.บ. เคียงข้าง…ทุกการ เดินทาง’ โดยปีนี้ได้บูรณาการความร่วมมือกับ จส.100 เพื่อเป็นการยกระดับการประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับ การประกันภัย พ.ร.บ. ให้สามารถเข้าถึงประชาชนในวงกว้าง มากยิ่งขึ้น และสามารถสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็น ผู้ใช้รถใช้ถนนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์การประกวดจากเดิมทีก่ ำ� หนด
42
43
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 2 - โครงการอบรมความรู้ประกันภัย (Training for the trainers) คปภ. ได้รว่ มมือหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ขับเคลือ่ น โครงการอบรมความรู้ประกันภัย (Training for the trainers) อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจด้านประกันภัย ให้แก่เจ้าหน้าทีข่ องหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้สามารถ น�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการอบรมไปถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรได้ อย่างถูกต้อง โดยมีคณะวิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ หลักการประกันภัยข้าวนาปี การบริหารความเสี่ยงด้วยการ ประกันภัย โดยเฉพาะเงื่อนไขความคุ้มครองตามกรมธรรม์ ประกันภัยข้าวนาปี ขัน้ ตอนการขอรับค่าสินไหมทดแทนและ หลักการพิจารณาการประกาศเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติ ในปี 2562 ก�ำหนดจัดขึ้นใน 10 จังหวัด ครอบคลุม ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ โดยจะเป็นการลงพื้นที่และพบปะกับ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ ทราบสภาพทั่ ว ไปของพื้ น ที่ และสภาพปัญหาของการเพาะปลูกในแต่ละพื้นที่ ตลอดจน วิ ธีก ารที่ เ กษตรกรใช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หาเพื่ อ จะได้ น� ำ มา ปรับปรุงโครงการประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น ต่ อ ไป รวมทั้ ง ได้ มี ก ารจั ด ท� ำ แอปพลิเคชัน ‘กูร.ู ..ประกันข้าว’ เพือ่ ใช้ในการส่งเสริมความรู้ ที่เน้นการประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะ แสดงกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ และเงื่อนไขต่างๆ ของ การรับประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้ เพื่อ ให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และเข้าใจในขั้นตอนการท� ำประกันภัยข้าวนาปีและและ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้ง่ายขึ้น
Key Result 4 - จัดกิจกรรมให้ความรูด้ า้ นการประกัน ภัยแก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ทั่วประเทศ 1) กลุม่ ประชาชนทัว่ ไป จัดอบรมความรูด้ า้ นการประกันภัย ให้กับประชาชนในกลุ่มสาขาอาชีพต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น กลุม่ อสม. กลุม่ ผูน้ ำ� ชุมชนท้องถิน่ อบต. อบจ. ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น เป็นต้น จ�ำนวน 71 ครั้ง 2) ด�ำเนินการประชุมสัมมนาสานสัมพันธ์เครือข่าย อาสาสมัครประกันภัย 4 ภาค จ�ำนวน 4 ครัง้ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครประกันภัยที่ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของส�ำนักงาน คปภ. รวมทัง้ อาสาสมัคร ประกันภัยที่อยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ดา้ นการประกันภัยในการขับเคลือ่ นพลังเครือข่าย ของอาสาสมัคร เพือ่ น�ำระบบประกันภัยไปสูช่ มุ ชนของตนเอง ด้วยการถอดบทเรียนประสบการณ์ทำ� งานอาสาสมัครประกันภัย ทีไ่ ด้รับรางวัลดีเด่น หรืออาสาสมัครประกันภัย ที่มีศักยภาพ ช่วยเหลืองานของส�ำนักงาน คปภ. ภาค/จังหวัด 2) กลุม่ เยาวชน นิสติ นักศึกษา เสริมสร้างความรูค้ วาม เข้าใจด้านการประกันภัยให้กับเยาวชนผ่านโครงการยุวชน ประกันภัยปี 2562 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีท่ีผ่านมา โดยได้จัดอบรมให้แก่คณะครู อาจารย์ ในโรงเรียนและ สถานศึกษา ในเขตพืน้ ทีส่ ว่ นกลางและส่วนภูมภิ าค เปิดโอกาส ให้เยาวชนน�ำความรู้ด้านประกันภัยไปเผยแพร่ให้ผู้ใกล้ชิด และบุคคลอื่นได้เข้าใจ โดยในปีนี้ได้จัดกิจกรรมประกวด การแข่งขันโครงการยุวชนประกันภัย โรงเรียนส่งผลงาน เข้าประกวด จ�ำนวน 452 โรงเรียน ส�ำหรับประเภทรางวัล แบ่งเป็น 2 ประเภท และได้โดยเข้ารับรางวัลในงานสัปดาห์ ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 ในวันที่ 27-29 กันยายน 2562 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี 3) กลุม่ หน่วยงานเครือข่าย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ลงนาม ในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ (MOU) ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง การบู ร ณาการส่ ง เสริ ม ความรู ้ แ ละสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด ้ า น การประกันภัยร่วมกับหอการค้าจังหวัดต่างๆ ส�ำหรับกรอบ ความร่วมมือดังกล่าว จะมุ่งเน้นการส่งเสริมและผลักดันให้ ผูป้ ระกอบการพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมในจังหวัดได้รบั ความรูด้ า้ นการประกันภัย เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือในการบริหาร ความเสี่ยงและเป็นหลักประกันความมั่นคงในการด�ำเนิน ธุรกิจ ตลอดจนเป็นเครือข่ายในการถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ น ประกันภัยไปสู่เกษตรกรและภาคส่วนต่างๆ อย่างครบวงจร จ�ำนวน 5 จังหวัด
Key Result 3 - โครงการ คปภ. เพื่อชุมชนสู่ ภูมิภาค ส�ำนักงาน คปภ. ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมประกันภัยไทย กองทุนประกันชีวติ และกองทุนประกันวินาศภัย จัดโครงการ ‘คปภ. เพื่อชุมชนสู่ภูมิภาค’ ต่อเนื่องเป็นปีท่ี 3 โดยเป็นการ ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ พบปะประชาชนในลักษณะ ‘Mobile Insurance Unit’ หรือ ‘ศูนย์บริการประชาชนด้านการประกันภัยเคลื่อนที่แบบ ครบวงจร’ โดยมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ บ ทบาทหน้ า ที่ ข อง ส�ำนักงาน คปภ. ให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย ทีเ่ กีย่ วข้องกับชุมชน ให้ความช่วยเหลือและรับเรือ่ งร้องเรียน ที่เกี่ยวกับการประกันภัย รวมถึงมีการเข้าร่วมกิจกรรมฐาน ความรู้ประกันภัย สู่วิถีชุมชน ท�ำให้ได้รบั ข้อมูลมาใช้พัฒนา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้สอดคล้องและตอบโจทย์ความต้องการ ของผู้บริโภค โดยในปีน้ี ก�ำหนดจัดใน 5 จังหวัด 44
45
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
4) เข้าร่วมจัดนิทรรศการส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจด้าน การประกันภัยในงานมหกรรมการเงิน ครัง้ ที่ 19 (Money Expo 2019) ภายใต้แนวคิด ‘Digital Orchestra’ ซึง่ เป็นงานมหกรรม การเงิ น ที่ น� ำ เสนอบริ ก ารทางการเงิ น และการลงทุ น จาก ธนาคารของรัฐ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทการเงิน (Non-Bank) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทประกันชีวิต บริษัท ประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์ รวมทั้งหน่วยงานของรัฐ เช่น ส�ำนักงาน ก.ล.ต. รวมถึงหน่วยงานรัฐวิสาหกิจอื่นๆ ระหว่างวันที่ 16-19 พฤษภาคม 2562 ณ ศูนย์การแสดงสินค้า และการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
ประกันภัยมีความหลากหลาย สอดคล้องกับสภาพความเสีย่ ง และความต้ อ งการของประชาชนที่ ทั น ต่ อ สถานการณ์ ส�ำนักงาน คปภ. จึงมุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประกันภัยส�ำหรับประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้มี รายได้นอ้ ย และผูด้ อ้ ยโอกาสทีม่ คี วามต้องการความคุม้ ครอง จากการประกันภัย ทั้งยังช่วยลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม อีกทางหนึ่ง จึงได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยต่างๆ ดังนี้ Key Result 1 - การประกันภัยส�ำหรับรายย่อย (Micro insurance) กรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับรายย่อย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ประชาชนผูม้ รี ายได้นอ้ ยถึงปานกลาง สามารถเข้าถึงระบบ ประกันภัยได้อย่างทั่วถึง และช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ให้กับครอบครัวหรือคนที่อยู่ข้างหลัง รวมทั้งส่งเสริมให้ การประกันภัยมีส่วนช่วยเหลือประชาชนและสังคมมากขึ้น ลักษณะส�ำคัญของกรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับรายย่อยคือ เบีย้ ประกันภัยไม่สงู เงือ่ นไขความคุม้ ครองเข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน และมีจำ� นวนเงินคุ้มครองไม่สูงมาก 1) พัฒนาต่อยอดจากกรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) กรมธรรม์ประกันภัย 100 และกรมธรรม์ ประกันภัย 222 เป็นกรมธรรม์ประกันภัยอุบตั เิ หตุกลุม่ 7 บาท ซึง่ เป็นกรมธรรม์ประกันภัย 10 บาท ปรับลดเบีย้ เหลือ 7 บาท และกรมธรรม์ประกันภัยอุบตั เิ หตุกลุม่ 10 บาทพลัส ซึง่ เป็น การต่อยอดกลยุทธ์ Connectivity เพือ่ เชือ่ มโยงระบบประกันภัย เข้ากับสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการ และเป็นการเพิ่ม ทางเลือกให้แก่ผเู้ อาประกันภัย ให้ได้รบั ความคุม้ ครองทีต่ รงกับ ความต้องการด้วยเบี้ยประกันภัยที่เหมาะสมกับความเสี่ยง ของผูเ้ อาประกันภัยอย่างต่อเนือ่ ง โดยข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2562 มีการจ�ำหน่ายกรมธรรม์ประกันภัยปีใหม่อุ่นใจ ด้วย ประกันภัย 7 บาท (ไมโครอินชัวรันส์) รวมทัง้ สิน้ 568,682 ฉบับ 2) จั ด ท� ำ กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย กลุ ่ ม สงกรานต์ ถู ก ใจ (ไมโครอินชัวรันส์) ซึ่งมีเบี้ยประกันภัย 7 บาท โดยเพิ่มเติม ความคุ้มครองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล ระยะเวลา คุ้มครอง 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ท�ำประกันภัย โดยผู้ท่มี ีสิทธิ เอาประกันภัยต้องมีอายุตั้งแต่ 20 ปี ถึง 70 ปีบริบูรณ์ โดยข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2562 มีการจ�ำหน่าย กรมธรรม์ประกันภัยกลุ่มสงกรานต์ถูกใจ (ไมโครอินชัวรันส์) รวมทั้งสิ้น 724,506 ฉบับ
Key Result 6 - จัดงาน Thailand Insurance Expo 2019 และ Prime Minister’s Insurance Awards 1) พิธีมอบรางวัลประกันภัยดีเด่นครบวงจร (Prime Minister’s Insurance Awards) จัดขึน้ ในวันที่ 27 กันยายน 2562 ณ ห้องฟีนิกซ์ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยได้รับเกียรติจาก ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานเปิดงานและ มอบรางวัลประกันภัยดีเด่นครบวงจร เพื่อเป็นการประกาศ เกียรติคณ ุ และเชิดชูเกียรติองค์กร หน่วยงาน สถาบัน บุคคล หรือกลุ่มบุคคลตัวอย่างดีเด่นในด้านการเป็นผู้ประกอบการ การประกอบวิชาชีพการให้บริการด้านการประกันภัย โดยปีนี้ แบ่งรางวัลออกเป็น 13 ประเภท จ�ำนวน 68 รางวัล 2) สัปดาห์ประกันภัยประจ�ำปี 2562 (Thailand Insurance Expo 2019) จัดขึ้นในวันที่ 27-29 กันยายน 2562 ณ ฮอลล์ 5 ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี ภายในงานมีการจัดสัมมนาทางวิชาการด้านการประกันภัย การจัดนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน การจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันภัยและด้านการเงิน สินค้าเพือ่ ความปลอดภัยในการขับขี่ การออกบูธนิทรรศการความรูด้ า้ น การประกันภัย และนวัตกรรมการประกันภัยรูปแบบใหม่ๆ จากบริษัทประกันภัย ธนาคาร บริษัทนายหน้าประกันภัย และโรงพยาบาลชัน้ น�ำ เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงการเข้าสู่ สังคมที่ผู้คนให้ความส�ำคัญและใส่ใจกับเรื่องของสุขภาพ ในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล และเป็นการเชื่อมต่อธุรกิจประกันภัย ให้ทันกับยุคเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คลินิก ประกันภัยเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาและรับเรือ่ งร้องเรียนในกรณีตา่ งๆ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านประกันภัย Objective 2 - ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ประกันภัย ให้สอดคล้องกับความต้องการและความเสี่ยง
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ 46
47
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เลขาธิการ คปภ. ได้ลงนามในค� ำสั่งนายทะเบียน ที่ 32/2562 เรือ่ งให้ใช้แบบ ข้อความ และอัตราเบีย้ ประกันภัย ของกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อกลุ่มชาวประมงเรือพื้นบ้าน และกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย เพื่ อ ชาวประมง ภาคสมั ค รใจ (ไมโครอินชัวรันส์) เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2562 โดยแยก กรมธรรม์ประกันภัยออกเป็น 2 แบบ คือ 1) กรมธรรม์ประกันภัยเพื่อกลุ่มชาวประมงเรือพื้นบ้าน ซึง่ ถือเป็นแบบกรมธรรม์ประกันภัยฉบับแรกของประเทศไทย โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนค่าเบีย้ ประกันภัย โดยจะต้องเป็น เรือทีท่ ำ� การประมงเรือพืน้ บ้าน ขนาดของเรือไม่ถงึ 10 ตันกลอส และได้มกี ารจดทะเบียนเรือ (ประเภทเรือประมง) กับกรมเจ้าท่า ซึ่งจะได้รับความคุ้มครองส�ำหรับความสูญเสียหรือเสียหาย ทั้งในขณะออกเรือและจอดฝั่ง อันเนื่องจากอุทกภัย วาตภัย พายุ คลืน่ ลมแรง คลืน่ ซัดชายฝัง่ แผ่นดินไหว และสึนามิ ให้แก่ ผูเ้ อาประกันภัยหรือทายาทโดยธรรมของผูเ้ อาประกันภัยและ/ หรือลูกเรือประมง แล้วแต่กรณี 2) กรมธรรม์ประกันภัยเพื่อชาวประมง ภาคสมัครใจ (ไมโครอินชัวรันส์) เป็นกรมธรรม์ประกันภัยที่ชาวประมง สามารถเลื อ กซื้อ ได้ เ อง โดยที่รัฐ บาลไม่ ไ ด้ ส นับ สนุน ค่ า เบี้ยประกันภัย ให้ความคุ้มครองเรือ 2 ขนาด คือขนาดของ เรือไม่ถึง 10 ตันกลอส และขนาดของเรือ 10 ตันกลอสขึ้นไป ซึ่งเป็นเรือที่ใช้ส�ำหรับท�ำการประมงและได้มีการจดทะเบียน เรือ (ประเภทเรือประมง) กับกรมเจ้าท่า และส�ำหรับเรือประมง ที่มีขนาดของเรือ 10 ตันกลอสขึ้นไป จะต้องมีอาชญาบัตร จากกรมประมง โดยจะได้รบั ความคุม้ ครองส�ำหรับความสูญเสีย หรือเสียหายทั้งในขณะออกเรือและจอดฝั่ง อันเนื่องจาก อุทกภัย วาตภัย พายุ คลืน่ ลมแรง คลืน่ ซัดชายฝัง่ แผ่นดินไหว และสึนามิ ให้แก่ผู้เอาประกันภัย ผู้ได้รบั ความคุ้มครอง หรือ ทายาทโดยธรรมของบุคคลดังกล่าวแล้วแต่กรณี
Key Result 2 - การพัฒนากรมธรรม์ประกันภัยล�ำไย แบบกรมธรรม์ประกันภัยการประกันภัยพืชผลล�ำไย จากภัยแล้ง โดยใช้ดัชนีฝนแล้ง (ตรวจวัดด้วยดาวเทียม) ส�ำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) และเบีย้ ประกันภัย ซึง่ มีผล บังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 29 มกราคม 2562 จนถึงวันที่ 29 มกราคม 2565 โดยบริษทั จะเริม่ รับประกันภัยใน 24 อ�ำเภอ ของจังหวัด เชียงใหม่ โดยมีพื้นที่เป้าหมาย 100,000 ไร่ (จากพื้นที่ เพาะปลูกในจังหวัดเชียงใหม่ท้งั หมดประมาณ 300,000 ไร่) โดยระยะแรกจะเริ่มจ�ำหน่ายกรมธรรม์ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ์ 2562 เพื่อให้ความคุ้มครองภัยภาวะฝนแล้ง ที่อาจเกิดขึ้นกับเกษตรกร ผู้เพาะปลูกพืชล�ำไยในช่วงเดือน มีนาคมถึงเมษายน 2562 โดยเกษตรกรผู้เพาะปลูกล�ำไยที่กู้เงินจากธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร (ธกส.) ที่ มี ว งเงิ น กู ้ ทุกๆ 10,000 บาท สามารถขอเอาประกันภัยได้ 1 หน่วย โดย มีเบี้ยประกันภัย จ�ำนวน 299 บาท ต่อการให้ความคุ้มครอง 1 หน่วย ให้ความคุม้ ครองสูงสุด 2,100 บาท แบ่งความคุม้ ครอง ออกเป็น 2 ส่วน คือกรณีการเกิดภาวะฝนแล้งต่อเนื่อง เกินกว่าดัชนีฝนแล้ง ได้รับเงินชดเชย จ�ำนวน 900 บาท และ กรณีการเกิดภาวะฝนแล้งต่อเนือ่ งเกินกว่าค่าดัชนีฝนแล้งขัน้ สูง ได้รบั เงินชดเชย จ�ำนวน 1,200 บาท ซึ่งเงินชดเชยเมื่อ รวมกันไม่เกิน 2,100 บาท ทั้งนี้ หากพื้นที่เอาประกันภัยเกิด ภาวะฝนแล้งต่อเนือ่ ง (มีจำ� นวนวันทีฝ่ นไม่ตกหรือฝนตกน้อย กว่า 1 มิลลิเมตรต่อวันติดต่อกัน) มากกว่าจ�ำนวนวันที่ ก�ำหนดเป็นดัชนีฝนแล้งหรือดัชนีฝนแล้งขัน้ สูง บริษทั จะจ่าย เงินชดเชยให้แก่เกษตรกรผ่านบัญชี ธกส. Key Result 3 - กรมธรรม์ประกันภัยเพื่อกลุ่ม ชาวประมงเรือพืน้ บ้าน และกรมธรรม์ประกันภัยเพือ่ ชาว ประมง ภาคสมัครใจ (ไมโครอินชัวรันส์)
48
49
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 4 - การพัฒนากรมธรรม์ประกันภัย ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก (ส�ำหรับ การท�ำเหมืองแร่) เลขาธิการ คปภ. ได้ลงนามในค�ำสั่งนายทะเบียน ที่ 17/2562 เรื่องให้ใช้แบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัย ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก (ส�ำหรับการท�ำ เหมืองแร่) และอัตราเบี้ยประกันภัย เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2562 ตามที่พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 มาตรา 68 (9) ได้กำ� หนดให้ผปู้ ระกอบการเหมืองแร่ประเภทที่ 2 และประเภท ที่ 3 จะต้องจัดท�ำประกันภัยความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สนิ ของบุคคลภายนอก ถือเป็นแบบกรมธรรม์ประกันภัย ส�ำหรับการท�ำเหมืองแร่ฉบับแรกของประเทศไทย โดยการท�ำ ประกันภัยเหมืองแร่ได้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 เนือ้ ทีไ่ ม่เกิน 100 ไร่และเป็นโครงการเหมืองแร่ ทีไ่ ด้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ประเภทที่ 2 เนื้อที่ไม่เกิน 625 ไร่ ประเภทที่ 3 เป็นการท�ำเหมืองในทะเล เหมืองใต้ดิน หรือเหมืองที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมสูง ทั้งนี้ ผู้ถือประทานบัตรจะต้องจัดท�ำประกันภัยให้มีระยะเวลา ครอบคลุมต่อเนื่องตลอดอายุประทานบัตร Key Result 5 - กรมธรรม์ประกันภัยคุม้ ครองการเจ็บ ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เลขาธิการ คปภ. ได้ลงนามในค�ำสั่งนายทะเบียนที่ 41/2562 เรือ่ ง ให้ใช้แบบข้อความและอัตราเบีย้ ประกันภัยของ กรมธรรม์ประกันภัยคุม้ ครองการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2562 ซึ่ ง กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย คุ ้ ม ครองการเจ็ บ ป่ ว ยด้ ว ย โรคไข้เลือดออกถือเป็นแบบกรมธรรม์ประกันภัยมาตรฐาน ไข้ เ ลื อ ดออกฉบั บ แรกของประเทศไทย ที่ มี ก ารน� ำ ระบบ ประกันภัยเข้าไปบริหารความเสีย่ งให้กบั ประชาชนจากภัยโรค ไข้เลือดออกโดยเฉพาะ กรมธรรม์ดงั กล่าวจะให้ความคุม้ ครอง แก่ผู้เอาประกันภัยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเจ็บป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก เมื่อพ้นก�ำหนดระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง (Waiting Period) 30 วัน นับจากวันที่กรมธรรม์ประกันภัย เริ่มมีผลบังคับเป็นครั้งแรก
Objective 3 - ส่งเสริมการเข้าถึงการประกัน ภัยเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
Key Result 1 - การปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ มาตรฐานให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดประชุมคณะท�ำงานพัฒนาและ ปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ จ�ำนวน 3 ครัง้ เพือ่ ร่วมกัน วางกรอบและปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ โดยก�ำหนดเป็น 3 มิติ ประกอบด้วย 1) การปรั บ ปรุ ง สั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพมาตรฐาน ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายภาครั ฐ ให้ ภ าคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มีเงื่อนไขในสัญญาและแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2) การก�ำกับอัตราเบีย้ ประกันสุขภาพให้มคี วามเหมาะสม สอดคล้องกับสัญญาสุขภาพมาตรฐานที่มีการปรับปรุง 3) ปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูล สถิติ ส�ำหรับการปรับปรุง อัตราเบีย้ ประกันสุขภาพให้มคี วามชัดเจนและมีประสิทธิภาพ มากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถน� ำ มาใช้ วิ เ คราะห์ อั ต ราส่ ว น ค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) และต้นทุนในแต่ละความ คุ้มครองได้ Objective 4 - ขยายช่องทางการเข้าถึงการ ประกันภัยของประชาชน
Key Result 1 - ขึน้ ทะเบียนการด�ำเนินธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ช่ อ งทางการขายประกั น ภั ย ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ป็ น ช่องทางหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับประชาชนหรือผู้เอาประกันภัย ดังนัน้ การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวจะต้องมี ลั ก ษณะที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ และมีมาตรฐานการรักษาความมัน่ คงปลอดภัย ของระบบสารสนเทศในระดับเคร่งครัด จึงก�ำหนดให้บริษัท ประกั น ภั ย ต้ อ งมี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นการด�ำ เนิ น ธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 1) การเสนอขายกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ผ่ า นทาง อิเล็กทรอนิกส์ (Online) 2) การใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ประกอบการเสนอ ขายกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ของบริ ษั ท ประกั น ภั ย การออก กรมธรรม์ประกันภัย (e-Policy) 3) การชดใช้เงินหรือค่าสินไหมทดแทนตามสัญญา ประกันภัย (e-Claim)
50
51
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
52
53
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Objective 1 - เสริมสร้างการแข่งขันผ่านการ ผ่อนคลายการก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย
Strategy 3:
Key Result 2 - ด้านการประกันวินาศภัย 1) จัดท�ำค�ำสั่งนายทะเบียนที่ 3/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ การให้ความเห็นชอบแบบและข้อความเอกสารสรุปเงื่อนไข ข้อตกลงคุม้ ครอง ข้อยกเว้นตามกรมธรรม์ประกันภัย เพือ่ ลด กระบวนการขอรับความเห็นชอบ 2) ประชุมร่วมกับคณะกรรมการประกันภัยยานยนต์ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2562 เพื่อพิจารณาปรับปรุงพิกัด อัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ 3) ปรับปรุงแบบและข้อความ และอัตราเบีย้ ประกันภัย ส�ำหรับกรมธรรม์ประกันภัยเดินทางแบบอัตโนมัติ (File and Use) ก่อนรับฟังความคิดเห็นจากภาคธุรกิจ 4) ปรับปรุงค�ำจ�ำกัดความและเงื่อนไขในกรมธรรม์ ประกั น ภั ย สิ น เชื่อ ร่ ว มกับ สายกฎหมายและคดีห ารือ ร่ า ง กรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญาการก่อสร้าง ฉบับภาษาไทยร่วมกับฝ่ายวิศวกรรมประกันภัย เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2562 5) จั ด ท� ำ ค� ำ สั่ ง นายทะเบี ย นที่ 19/2562 ลงวั น ที่ 5 มิถุนายน 2562 เรื่องให้ใช้แบบและข้อความหนังสือรับรอง การต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับการประกันวินาศภัย 6) หารือการจัดท�ำเอกสารแนบท้ายการขยายความ คุม้ ครองกรมธรรม์ประกันภัยความเสีย่ งภัยทรัพย์สนิ จ�ำนวน 12 แบบและอัตราเบี้ยประกันภัย
ส�ำนักงาน คปภ. ตัง้ เป้าผ่อนคลายกรอบการก�ำกับราคา และผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้มีความยืดหยุ่นและอิงกลไก ตลาดมากขึน้ (Detarifffiication) เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั ประโยชน์ จากราคาและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ประกันภัย และธุรกิจ ประกันภัยมีความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย ได้ตามความเสีย่ งและความเชีย่ วชาญของตนเอง โดยด�ำเนินการ ดังนี้
สร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการแข่งขัน
ในยุคสมัยที่เทคโนโลยีเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็ว ในทุกอุตสาหกรรมล้วนถูก disrupt ทักษะในการปรับตัวอย่างรวดเร็วจึงเป็นหัวใจส�ำคัญในการน�ำพาองค์กรและบริษัทก้าวไป ข้างหน้า ส�ำนักงาน คปภ. จึงมีเป้าหมายในการช่วยเหลือให้บริษท ั ประกันภัยมีขด ี ความสามารถ ในการแข่งขัน พร้อมรับสภาพแวดล้อมที่มีความเป็นพลวัตสูงในอนาคต
Key Result 1 - ด้านการประกันชีวิต 1) จัดตั้งคณะท�ำงานร่วมระหว่างส�ำนักงาน คปภ. และสมาคมประกันชีวิตไทย เช่น คณะท�ำงาน Proffiit testing คณะท�ำงาน PAR product คณะท�ำงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และสัญญาประกันภัย เป็นต้น 2) จัดท�ำร่างหลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบอัตราเบีย้ ประกั น ภั ย และกรมธรรม์ ป ระกั น ชี วิ ต ประเภทกลุ ่ ม แบบ ชั่วระยะเวลา 1 ปี สัญญาเพิ่มเติมประกันภัยสุขภาพกลุ่ม สัญญาเพิ่มเติมประกันอุบัติเหตุกลุ่ม สัญญาเพิ่มเติมโรค ร้ายแรงกลุม่ และสัญญาเพิม่ เติมทุพพลภาพถาวรสิน้ เชิงกลุม่ แบบอัตโนมัติ โดยเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคธุรกิจ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2562 3) ออกหลักเกณฑ์การยืน่ ขอรับความเห็นชอบกรมธรรม์ ประกันชีวติ สะสมทรัพย์ทมี่ อี ายุรบั ประกันภัยตัง้ แต่ 66 ปีขนึ้ ไป แบบอัตโนมัติ เพื่อลดระยะเวลาในการให้ความเห็นชอบฯ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 4) จัดท�ำรายการตรวจสอบเอกสารส�ำหรับการยืน่ ขอรับ ความเห็นชอบแบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัยและ อัตราเบี้ยประกันภัย (Check lists) เพื่อให้บริษัทประกันชีวิต ใช้ในการตรวจสอบรายการเอกสารเบือ้ งต้นด้วยตนเอง ก่อน ยืน่ ขอรับความเห็นชอบแบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัย และอัตราเบี้ยประกันภัย เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2562 5) ก�ำหนดกรอบการให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์ประกัน ชีวติ ผ่านช่องทางธนาคารและช่องทางขายผ่านโทรศัพท์ และ เวียนแจ้งให้ภาคธุรกิจทราบ 6) จัดท�ำร่างค�ำสัง่ นายทะเบียน เรือ่ งหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขการให้ความเห็นชอบอัตราเบีย้ ประกันภัยส�ำหรับ บริษัทประกันชีวิต 7) น�ำเสนอความคืบหน้าการปรับปรุงกระบวนการให้ ความเห็นชอบต่อคณะกรรมการ คปภ. เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2562
Key Result 3 - โครงการ ‘Insurance Regulatory Sandbox’ การด�ำเนินโครงการ ‘Insurance Regulatory Sandbox’ ต่อเนื่องจากปีท่ผี ่านมา โดยมีผู้ท่สี นใจเข้าร่วมโครงการและ ขอปรึกษาเกี่ยวกับโครงการทั้งก่อนการสมัครและระหว่าง อยู่ในโครงการ จ�ำนวนทั้งสิ้น 26 โครงการ และปัจจุบันมี โครงการเข้าทดสอบใน Insurance Regulatory Sandbox จ�ำนวน 7 โครงการ
54
55
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ปัญหาและอุปสรรค และก�ำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาต่อไป
รายชือ่ โครงการใน Insurance Regulatory Sandbox
Key Result 2 - จัดตั้งคณะท�ำงานกลั่นกรองเกี่ยว กับการก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย มีการจัดตั้งคณะท�ำงานจ�ำนวน 6 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะท�ำงานพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑ์ประกันภัย สัญญาประกันภัย และเอกสารประกอบการเสนอขาย 2) คณะท� ำ งานพิ จ ารณาก� ำ หนดกรอบมาตรฐาน การก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัยและก�ำหนดมาตรฐาน การท�ำ Proffiit Test 3) คณะท�ำ งานศึก ษาและพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ์ แ บบมี ส่วนร่วมในเงินปันผล (PAR Product) 4) คณะท�ำงานย่อยพิจารณามาตรฐานรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 (IFRS 17) 5) คณะท�ำงานย่อยศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกัน สุขภาพ 6) คณะท�ำงานย่อยศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ควบ การลงทุน Unit-Linked
1) โครงการที่ด�ำเนินการทดสอบแล้วเสร็จ จ�ำนวน 2 โครงการ ได้แก่ - โครงการ ‘Muang Thai iDrive’ โดย บมจ.เมืองไทยประกันภัย - โครงการ ‘ประกันรถยนต์แฟร์ด’ี โดย บจ.แฟร์ดี อินเซอเทค 2) โครงการที่อยู่ระหว่างการทดสอบ ใน Sandbox จ�ำนวน 5 โครงการ ได้แก่ - โครงการ ‘Milky Way’ โดย บมจ. เมืองไทยประกันชีวิต - โครงการ ‘Carpool ขับดีมเี งินคืน’ โดย บจ. คาร์พูล อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ - โครงการ ‘Noon: Usage Based Insurance’ โดย บจ. ทีคิวแอลดี จ�ำกัด - โครงการ ‘SMK Drive Safe and Save 1 (แบบขับดี)’ โดย บมจ. สินมั่นคงประกันภัย - โครงการ ‘อบรมต่ออายุตัวแทน/นายหน้า Online’ โดย บมจ. น�ำสินประกันภัย
Key Result 3 - ปรับปรุงกระบวนการให้ความเห็น ชอบผลิตภัณฑ์ประกันภัย โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้ดาํ เนินการปรับปรุงกระบวนการ ให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์ประกันภัย ด้วยการ 1) จัดทําปรับปรุงมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ / วินาศภัย สําหรับอ้างอิงในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ แบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัย 2) จัดทํา Checklist ให้บริษทั ตรวจสอบรายการเอกสาร เบื้องต้นก่อนนําส่งมาขอรับความเห็นชอบ 3) จัดตั้งคณะท�ำงานร่วมกับสมาคมประกันชีวิตไทย เพื่อจัดท�ำมาตรฐานหรือแนวทางการขอรับความเห็นชอบ ผลิตภัณฑ์
Objective 2 - พั ฒ นาการก� ำ กั บ และ กระบวนการให้ ค วามเห็ น ชอบ/อนุ มั ติ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกันภัย
ด้วยจุดมุ่งหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการก�ำกับ ผลิตภัณฑ์ประกันภัย และลดอุปสรรคและระยะเวลาในการ ให้ความเห็นชอบและอนุมตั ผิ ลิตภัณฑ์ประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ดำ� เนินการในหลายรูปแบบในการพัฒนาการก�ำกับ และกระบวนการให้ความเห็นชอบ/อนุมตั ผิ ลิตภัณฑ์ประกันภัย ดังนี้
Key Result 4 - จัดประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของด้านก�ำกับ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2562 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชัน้ 3 โรงแรมดิ เอมเมอรัลด์ ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพฯ โดยมี นายกสมาคมประกันชีวติ ไทย นายกสมาคมประกันวินาศภัยไทย นายกสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย กรรมการผู้จัดการบริษัทประกันชีวิต ผู้จัดการสาขาบริษัท ประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการบริษัทประกันวินาศภัย และ ผู้จัดการสาขาบริษัทประกันวินาศภัย เข้าร่วมประชุมกับ คณะผูบ้ ริหารของส�ำนักงาน คปภ. โดยมี 2 ประเด็นส�ำคัญคือ 1) ปรับปรุงกระบวนการให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์
Key Result 1 - พัฒนาระบบการขอรับความเห็น ชอบกรมธรรม์ประกันภัยผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (I-SERFF) ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ในระดับเคร่งครัด ซึ่งโครงการนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้เริ่ม ด�ำเนินการตั้งแต่ปี 2560 ปัจจุบัน บริษัทประกันวินาศภัย ยื่นขอรับความเห็นชอบกรมธรรม์แบบเดิมคู่ขนานกับระบบ I-SERFF ซึง่ คาดว่า จะเริม่ ใช้ระบบจริงในเดือนพฤษภาคม 2562 ส�ำหรับส่วนของบริษทั ประกันชีวติ ส�ำนักงาน คปภ. อยูร่ ะหว่าง การหารือกับบริษทั ผูพ้ ฒ ั นาระบบ เพือ่ ขอทราบความต้องการ
ประกันภัย เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมและรองรับให้ภาค ธุรกิจมีความสามารถในการแข่งขัน และส่งเสริมอุตสาหกรรม ประกันภัยไทยได้มีการจัดท�ำกระบวนการให้ความเห็นชอบ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยรูปแบบใหม่ขึ้น โดยส�ำนักงาน คปภ. เน้นให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัท ในการพิ จ ารณาและกลั่ น กรองคุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกันภัยและความพร้อมในด้านต่างๆ ตลอดจนวางแผน รองรับการก�ำกับรูปแบบใหม่ ในส่ ว นของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย แบบอั ต โนมั ติ (File & Use) การให้ความเห็นชอบที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่นายทะเบียนประกาศก�ำหนดเป็นแบบมาตรฐาน ให้ถือว่า บริษัทได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนนับตั้งแต่วันที่ ส�ำนักงาน คปภ. ประทับตรารับเรือ่ งและมีการช�ำระค่าธรรมเนียม ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบปกติ การให้ความเห็นชอบ อัตราเบี้ยประกันภัยที่นอกเหนือไปจากหลักเกณฑ์ประกาศ ก�ำหนดให้เป็นแบบอัตโนมัติ และบริษัทสามารถน�ำไปใช้ได้ ต่อเมื่อนายทะเบียนให้ความเห็นชอบแล้ว 2) การปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพมาตรฐาน เพื่อ ให้ ร องรั บ กั บ เทคโนโลยี แ ละวิ วั ฒ นาการทางการแพทย์ ที่เปลี่ยนแปลงไป มีแนวปฏิบัติที่เป็นแนวทางเดียวกันและ สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ โดยเฉพาะในเรื่องรายการ ความคุ้มครอง ต้องก�ำหนดเป็นไปตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข เรื่องชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การบริการทางการแพทย์ฯ รวมทัง้ การปฏิบตั ิ ตามมติคณะรัฐมนตรีท่กี �ำหนดให้ยา เวชภัณฑ์ และบริการ ทางการแพทย์ เป็ น สิ น ค้ า ควบคุ ม จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก าร ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้รับความร่วมมือจากผู้มีส่วน เกีย่ วข้องร่วมเป็นคณะท�ำงานร่างสัญญามาตรฐาน ประกอบด้วย สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคมประกันวินาศภัยไทย แพทย์ ทีป่ รึกษา นักวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีการเปิดรับ ฟั งความคิด เห็นต่ อร่างสัญญาประกัน สุข ภาพมาตรฐาน จากทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง และได้มกี ารน�ำเสนอต่อทีป่ ระชุม CEO Forum เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2562 ซึง่ ส�ำนักงาน คปภ. ได้นำ� ข้อสรุปและประเด็นข้อคิดเห็น มาปรับปรุงและด�ำเนินการต่อยอดเพื่อให้ร่างสัญญาประกัน สุขภาพมีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ โดยมีการปรับปรุงหมวดรายการ ผลประโยชน์ความคุม้ ครองให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทัง้ ธุรกิจ
สุขภาพ และเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เอาประกันภัยใน การเรียกร้องค่าสินไหมในอนาคต Objective 3 - ส่งเสริมการเชื่อมโยงตลาด ประกันภัยในภูมิภาคอาเซียน
เพื่อให้ธุรกิจประกันภัยไทยมีบทบาทต่อการรวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีความสามารถพร้อมรองรับ การแข่งขันที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ และเป็นศูนย์กลางการ ประกันภัยทีส่ ำ� คัญในภูมภิ าคอาเซียน ส�ำนักงาน คปภ. ได้สง่ เสริม การเชือ่ มโยงตลาดประกันภัยในภูมภิ าคอาเซียนในหลากหลาย โครงการ ดังนี้ Key Result 1 - การลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับ The Monetary Authority of Singapore (MAS) ส�ำนักงาน คปภ.ได้ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจกับ
ส�ำนักงาน คปภ.ได้เตรียมการในเรื่องจัดท�ำฐานข้อมูล ประกันสุขภาพที่เป็นมาตรฐาน เพื่อใช้ประโยชน์ในเรื่อง การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล สถิ ติ ก ารพั ฒ นาระบบการประกั น
56
57
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
The Monetary Authority of Singapore (MAS) ซึ่งเป็นหน่วย งานก�ำกับดูแลภาคการเงินของประเทศสิงคโปร์ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ. การลงนามในครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการก�ำกับ ดูแลธุรกิจประกันภัยและแลกเปลีย่ นข้อมูลทางด้านประกันภัย ทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อกัน รวมถึงการให้ความช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนความรู้ ความเชีย่ วชาญระหว่างกัน เพือ่ ยกระดับบุคลากรประกันภัย ให้มีศักยภาพและขีดความสามารถในการปฏิบัติงานยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ทางด้านวิชาการและนวัตกรรมใหม่ๆ ทีท่ นั สมัย อาทิ การน�ำ องค์ความรู้จากประเทศสิงคโปร์ด้าน InsurTech มาพัฒนา เพือ่ ปรับใช้กบั อุตสาหกรรมประกันภัยไทยให้เกิประสิทธิภาพ ต่อไป
2) เข้าร่วมการอบรมหลักสูตร CLMVT Professional Development in Non-life Insurance ซึ่งจัดโดยสถาบัน Asian Institute of Technology ร่วมกับบริษัทไทยรับประกันภัยต่อ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ. โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น เวที แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และ ประสบการณ์ หลักการพื้นฐานของประกันภัย เทคนิค และ ตลาดธุรกิจประกันภัยของกลุ่มประเทศ CLMVT ซึ่งผู้เข้ารับ การอบรมประกอบด้ ว ย ผู ้ แ ทนจากบริ ษั ท ประกั น ภั ย ใน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เวียดนาม กัมพูชา และไทย และเข้ า ร่ ว มการประชุ ม Insurance and Financial Practitioners Association of Singapore (IFPAS) จัดโดยหน่วยงาน The Premier Association for Financial Practitioners เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม 2562 ณ ประเทศสิงคโปร์ 3) เข้าร่วมการประชุม the Joint Conference on Synergies between Insurance and Pensions ซึง่ จัดโดยสมาคมหน่วยงาน ก�ำกับธุรกิจประกันภัยนานาชาติ (The International Association of Insurance Supervisors: IAIS) องค์การระหว่างประเทศของ หน่วยงานก�ำกับดูแลกองทุนบ�ำนาญ (The International Organization of Pension Supervisors: IOPS) และองค์การเพื่อ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (The Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) โดยมี ธนาคารแห่งชาติสโลวาเกีย (The National Bank of Slovakia: NBS) เป็นเจ้าภาพในการประชุม ระหว่างวันที่ 10–12 เมษายน 2562 ณ กรุงบราติสลาวา สาธารณรัฐสโลวัก
Key Result 2 - การสร้างความร่วมมือและ พัฒนาการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยกับหน่วยงาน ก�ำกับดูแลในต่างประเทศ 1) เข้าศึกษาดูงานการชดใช้เยียวยาผูเ้ สียหายทีป่ ระสบภัย จากรถ โดยคณะผูแ้ ทนจากกรมสิทธิมนุษยชน กระทรวงยุตธิ รรม สาธารณรัฐเกาหลี พร้อมคณะผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าจากกรม คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม พร้อมรับฟัง การบรรยายบทบาทภารกิจของส�ำนักงาน คปภ. การดูแล คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และกระบวนการคุ้มครอง สิทธิประโยชน์ของประชาชนด้านการประกันภัย และเยีย่ มชม ศูนย์บริการประชาชนด้านการประกันภัย สายด่วน คปภ. 1186 ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนด้านการประกันภัย และศูนย์ ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ.
โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ระดมความคิดเห็นและแลกเปลีย่ น ประสบการณ์ในประเด็นที่หน่วยงานก�ำกับดูแลภาคการเงิน และองค์กรต่างๆ ทัว่ โลก ก�ำลังให้ความสนใจ อาทิ การลงทุน ในกิจการที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และมีธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี และความท้าทายในการก� ำกับดูแลธุรกิจ ภายใต้บริบทใหม่ นอกจากนี้ ยังได้หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับแนวโน้มธุรกิจประกันภัยในยุโรป แนวทางการก�ำกับ ดูแลธุรกิจประกันภัย ซึ่งประเทศมาซิโดเนียเหนือมีการจัดตั้ง หน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยทีเ่ ป็นอิสระ แยกออกจาก ภาคการเงินอืน่ รวมถึงได้หารือแนวทางยกระดับความร่วมมือ เพื่ อ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ในการก�ำ กั บ ดู แ ลและการส่ ง เสริ ม การให้ความรู้ด้านการประกันภัย
58
59
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
4) จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารระหว่ า งประเทศ เรื่ อ ง ‘การประกันภัยรายย่อย (Microinsurance)’ โดยความร่วมมือ ระหว่างส�ำนักงาน คปภ. กับสถาบันวิจัยและการฝึกอบรม ด้านการประกันภัยแห่งอาเซียน (ASEAN Insurance Training and Research Institute หรือ AITRI) เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการอบรมประกอบด้วย ผูแ้ ทนหน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยจากหลายประเทศ ในเอเชียแปซิฟกิ อาทิ มาเลเซีย สปป. ลาว ฟิลปิ ปินส์ เนปาล ปาปัวนิวกินี สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต และ ประเทศไทย การอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารในครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลการ ประกันภัยรายย่อยส�ำหรับผูท้ มี่ รี ายได้นอ้ ย ตลอดจนถอดบท เรี ย นจากตั ว อย่ า งของการด� ำ เนิ น การเรื่ อ งนี้ ที่ ป ระสบ ความส�ำเร็จในประเทศต่างๆ โดยมุ่งสร้างความรู้ให้กับ เจ้าหน้าที่หน่วยงานก�ำกับดูแลในการส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการประกันภัย การถ่ายทอด ความรู ้ ท างด้ า นประกั น ภั ย ให้ กั บ ประชาชนทุ ก ระดั บ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้เหมาะสมกับผู้มีรายได้ น้อย การพัฒนาช่องทางการจัดจ�ำหน่ายการประกันภัยเพื่อ ให้ผู้มีรายได้น้อยเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
5) เข้าร่วมการประชุม 14th AFIR Annual Meeting and Conference และ Asia-Pacifi c High-Level Meeting เมือ่ วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ เขตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน จัดโดย Monetary Authority of Macao (AMCM) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมจาก หน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยในอาเซียน ผูเ้ ชีย่ วชาญ จากหน่วยงานก�ำกับดูแลภาคการเงิน บริษัทประกันภัย และ หน่วยงาน/องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ระหว่างกันในประเด็นต่างๆ ที่ส�ำคัญ
60
61
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
6) จัดประชุมสัมมนา The International Insurance Regulation and Supervision Seminar ซึ่งเป็นการร่วมมือกับ สมาคมนายทะเบียนประกันภัย (National Association of Insurance Commissioners: NAIC) ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรม Renaissance กรุงเทพมหานคร ซึ่งหน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยที่ เข้าร่วมการสัมมนาครั้งนี้ ประกอบด้วย NAIC ประเทศ สหรัฐอเมริกา และหน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยของ ประเทศต่างๆ ในเอเชีย ได้แก่ บรูไน สิงคโปร์ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เขตบริ ห ารพิ เ ศษมาเก๊ า แห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น สาธารณรัฐประชาชนจีน ภูฏาน ศรีลังกา ไต้หวัน รวมทั้ง ผู้แทนจากส�ำนักงาน คปภ. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเติมเต็มองค์ความรู้ทางเทคนิค ให้กับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจ ประกันภัยจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย เกี่ยวกับ พัฒนาการใหม่ๆ และวิธกี ารแก้ไขปัญหาด้านประกันภัยทีเ่ กิด ในเศรษฐกิจยุคดิจทิ ลั จากมุมมองประสบการณ์ของหน่วยงาน ก�ำกั บ ดู แ ลด้ า นประกั น ภั ย และภาคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ของ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น เวที แ ลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ แ ละความคิ ด เห็ น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การก�ำกับดูแลประกันภัยในการรองรับการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมยุคดิจทิ ลั ซึง่ ต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยควบคูก่ บั การเสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจด้านการประกันภัย รวมทัง้
การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น Big data, Artificial intelligence, Blockchain และ IoT เป็นต้น 7) เข้ า ร่ ว มการประชุ ม กั บ Mr. Toshihide Endo, Commissioner และผู้บริหารระดับสูงของ The Financial Services Agency of Japan (FSA) หน่วยงานก�ำกับดูแลภาค การเงินของประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2562 เพื่อ หารือเกี่ยวกับภาพรวมและความท้าท้า ยส�ำ คัญ ในธุร กิจ ประกันภัยในประเทศญี่ปุ่น รวมถึงแนวทางการก�ำกับดูแล ผลิตภัณฑ์ประกันภัยและการส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในภาคการเงิน โดยประเทศญีป่ นุ่ ได้จดั ตัง้ FinTech Innovation Hub และส่งเจ้าหน้าทีล่ งพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้คำ� ปรึกษาด้านเทคโนโลยี การเงินแก่ Startups นอกจากนี้ ยังได้เข้าประชุมกับบริษทั Aioi Nissay Dowa Insurance Co., Ltd. บริษัทประกันภัยขนาดใหญ่อนั ดับที่ 4 ของประเทศญี่ปุ่น เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประกันภัยรถยนต์ประเภท Telematics ซึ่งเป็นการน�ำ เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อลดโอกาสการเกิดอุบัติเหตุ บนท้องถนน สร้างเสริมพฤติกรรมการขับขี่ท่ปี ลอดภัย และ ท�ำให้บริษัทประกันภัยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงของ ผูข้ บั ขี่ ท�ำให้สามารถพิจารณารับประกันภัยและก�ำหนดอัตรา เบี้ยประกันภัยได้อย่างเหมาะสมกับสภาพความเสี่ยงของ ผู้เอาประกันภัยแต่ละราย
8) เข้าร่วมการประชุมสมาคมผูก้ ำ� กับดูแลธุรกิจประกันภัย นานาชาติ ครั้งที่ 26 (26th IAIS Annual Conference 2019) และการประชุ ม อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ระหว่ า งวั น ที่ 13-15 พฤศจิกายน 2562 ณ เมืองอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โดยมีสมาคมหน่วยงานก�ำกับธุรกิจประกันภัยนานาชาติ (International Association of Insurance Supervisors: IAIS) เป็นเจ้าภาพร่วมกับหน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE Insurance Authority) โดยการประชุมมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ประเทศสมาชิกได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจ
ประกันภัย และทราบความคืบหน้าการด�ำเนินการต่างๆ ของ สมาคมฯ ซึ่งผลสรุปการประชุมที่ส�ำคัญคือการให้ความ เห็นชอบกรอบการก�ำกับกลุ่มธุรกิจประกันภัยที่มีบริษัทใน เครืออยู่ทั่วโลก (Internationally Active Insurance Groups: IAIGs) และการบรรเทาความเสี่ยงต่อระบบที่จะเกิดขึ้นใน ภาคธุรกิจประกันภัย กรอบการก�ำกับกลุ่มธุรกิจประกันภัย
62
63
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Objective 1 - พัฒนาและยกระดับการก�ำกับ บุคลากรประกันภัยให้เป็นมืออาชีพ
Strategy 4:
ขอต่ออายุใบอนุญาตเป็นผู้ประเมินวินาศภัย การตรวจสอบ และประเมินวินาศภัย พ.ศ. ... เรียบร้อยแล้ว ในการประชุม ครัง้ ที่ 11/ 2462 เมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม 2562 ก่อนเสนอประธาน คปภ. ลงนามในประกาศดังกล่าวต่อไป
จากการด�ำเนินงานในหลากหลายโครงการ ได้สร้าง ให้ระบบประกันภัยมีบุคลากรที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอใน การขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย และยกระดั บ การก� ำ กั บ บุคลากรประกันภัยอย่างมืออาชีพ โดยมีการด�ำเนินการ ดังนี้
การเสริมสร้างโครงสร้าง พื้นฐานด้านการประกันภัย
Key Result 2 - พั ฒ นาความรู ้ ด ้ า นวิ ช าการ ประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ดำ� เนินการการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรส�ำหรับบุคลากรประกันภัยทั้งภายในและภายนอก เพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการประกันภัย ประกอบด้วย หลักสูตรต่างๆ ดังนี้
Key Result 1 - การแก้ไขปรับปรุงประกาศ คปภ. ที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมินวินาศภัย คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ความเห็นชอบในหลักการ และร่างประกาศ คปภ. เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไข ในการขอรับใบอนุญาต การอนุญาต การขึน้ ทะเบียนและการ
้ ฐาน ส�ำนักงาน คปภ. ได้เล็งเห็นความส�ำคัญในการเสริมสร้างระบบประกันภัย ให้มโี ครงสร้างพืน ที่แข็งแกร่ง และเอื้อต่อการพัฒนาธุรกิจประกันภัย เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยผ่านหลากหลายโครงการ ดังนี้
1) หลั ก สู ต รวิ ท ยาการประกั น ภั ย ระดั บ สู ง (วปส.) (Thailand Insurance Leadership Program) เพื่อพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของภาคธุรกิจประกันภัย และผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนมี วิสัยทัศน์ความรู้ความเข้าใจด้านการประกันภัย การบริหาร ความเสี่ยง การเป็นผู้น�ำที่มีคุณธรรมและเสริมสร้างความรู้ ด้านการบริหารจัดการเชิงสร้างสรรค์น�ำองค์กรไปสู่ความ ส�ำเร็จ โดยสอดคล้องกับสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลง
ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของโลก รวมทั้งเป็นการ สร้างเครือข่ายและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนให้ ประสานงาน ได้อย่างสอดคล้องและพัฒนาการประกันภัย ให้เข้มแข็งในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2562 ได้มีพิธีเปิดการอบรมหลักสูตร วปส. รุ่นที่ 9 ประจ�ำปี 2562 เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชุมสถาบันวิทยาการ ประกันภัยระดับสูง โดยได้รบั เกียรติจาก นายประสงค์ พูนธเนศ ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธาน
64
65
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
2) หลั ก สู ต รส� ำ หรั บ ผู ้ ก� ำ กั บ ดู แ ลธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (Insurance Supervisory Curriculum: ISC) เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านการประกันภัย การบริหาร ความเสี่ยง และความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย รวมถึง จรรยาบรรณให้กบั บุคลากรของส�ำนักงาน คปภ. ให้สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ในการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย ซึ่งได้มี การจัดอบรมหลักสูตรผูก้ ำ� กับดูแลธุรกิจประกันภัย (Insurance Supervisory Curriculum: ISC) รุ่นที่ 1 ให้กับพนักงานใหม่ ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม 2562 ณ โรงแรม สวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ
ตัวแทนฯ จากทั่วประเทศ ผู้บริหารส�ำนักงาน คปภ. และ ผู้เกี่ยวข้องประมาณ 500 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสามัคคี ยกระดับ จรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของตัวแทนประกันชีวิต แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ทางวิชาการ พัฒนาความสามารถ ในด้านต่างๆ รวมถึงส่งเสริมกิจกรรมเพือ่ สังคม ซึง่ เลขาธิการ คปภ. ได้มอบนโยบายในการยกระดับมาตรฐานพฤติกรรม ทางการตลาดของธุรกิจประกันภัย คือการพัฒนาช่องทาง การจ�ำหน่าย ส่งเสริม และก�ำกับดูแลให้ตวั แทนประกันชีวิต มีมาตรฐานจรรยาบรรณและแนวทางปฏิบัติที่ดีในการน�ำ เสนอผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตต่อประชาชน ดูแลประชาชน ผู้เอาประกันภัยภายหลังที่มีการขาย เพื่อให้ประชาชนเกิด ความเชือ่ มัน่ ในระบบประกันภัย เนือ่ งจากตัวแทนประกันชีวติ ถือเป็นหัวใจส�ำคัญในการส่งเสริมภาพลักษณ์ ทัศนคติที่ดี ให้ประชาชนผู้เอาประกันภัย
3) หลักสูตร ‘การพัฒนาความรู้และศักยภาพส�ำหรับ พนักงานใหม่’ จัดอบรมหลักสูตร ‘การพัฒนาความรู้และศักยภาพ ส�ำหรับพนักงานใหม่’ ให้กับพนักงานใหม่จ�ำนวน 70 คน ระหว่างวันที่ 14 -30 มกราคม 2562 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ด้านการประกันภัยและทักษะที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งแชร์ประสบการณ์การท�ำงานจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง โดย ได้รับเกียรติจากท่านศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม สถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ (Institute of Research and Development for Public Enterprises: IRDP) เป็นวิทยากร บรรยาย ณ ห้องประชุมส�ำนักงาน คปภ. ถนนรัชดาภิเษก
6) การประชุมวิชาการด้านการประกันวินาศภัย ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ. ได้เข้าร่วมงานประชุมวิชาการด้าน การประกันวินาศภัย ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี 2562 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562 ณ ห้องบอลรูม โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพฯ ซึง่ จัดโดยสมาคมประกันวินาศภัยไทย ภายใต้การบูรณาการ ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศ ทั้งของรัฐและเอกชน จ�ำนวน 12 แห่ง ซึ่งเลขาธิการ คปภ. ได้ กล่ า วปาฐกถาพิ เ ศษ ภายใต้ หั ว ข้ อ ‘Dealing with Uncertainty: The Future of Insurance’ โดยมีสาระส�ำคัญคือ การเข้ามาของเทคโนโลยีในธุรกิจ ประกันภัยอันส่งผลให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย จนก่ อ ให้ เ กิ ด ค� ำ ว่ า InsurTech ที่ เ ป็ น การน� ำ เทคโนโลยี มาผสานเข้ากับผลิตภัณฑ์และบริการด้านประกันภัย ซึ่ง ส�ำนักงาน คปภ. ในฐานะเป็นหน่วยงานก�ำกับดูแลด้าน ประกันภัยต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากปัจจัย ต่างๆ จึงต้องปรับวิธกี ารท�ำงานและน�ำเทคโนโลยีมาช่วย เช่น การน�ำ RegTech, SupTech มาใช้ในการก�ำกับดูแลและ ส่งเสริมให้เกิดผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบใหม่ๆ การตั้งศูนย์ CIT เพื่ อ ช่ ว ยพั ฒ นานวั ต กรรมเทคโนโลยี ป ระกั น ภั ย และ ส่งเสริมภาคธุรกิจประกันภัยให้นำ� เทคโนโลยีประกันภัยมาใช้ ให้มากขึ้น
4) การจั ด ท� ำ CPD Continuous Professional Development ของนักคณิตศาสตร์ประกันภัยร่วมกับสมาคม นักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย โดยการสนับสนุนของส�ำนักงาน คปภ. ได้ออกข้อก�ำหนดด้าน การพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง (Continuous Professional Development Requirements: CPD) ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 15 มกราคม 2562 เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณสมบัติ (Qualification Standards) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แน่ใจว่า นั ก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกั น ภั ย ในประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นา ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องตามมาตรฐานสากล 5) การประชุมสัมมนาคณะกรรมการสมาคมตัวแทน ประกันชีวิตและที่ปรึกษาการเงินทั่วประเทศเพื่อรับมือธุรกิจ ประกันภัยยุคดิจิทัล ประจ�ำปี 2562 ส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม สั ม มนา คณะกรรมการสมาคมตั ว แทนประกั น ชี วิ ต และที่ ป รึ ก ษา การเงินทั่วประเทศ ประจ�ำปี 2562 ระหว่างวันที่ 6-8 มีนาคม 2562 ณ โรงแรมราชศุภมิตร อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งผู้เข้าร่วมสัมมนา ประกอบด้วย คณะกรรมการสมาคม
7) การมอบรางวัลการใช้ระบบสินไหมอัตโนมัติดีเด่น ประจ�ำปี 2561 (e-Claim Awards 2018) ส�ำนักงาน คปภ. ร่วมกับ บริษทั กลางคุม้ ครองผูป้ ระสบภัย จากรถ จ�ำกัด และสมาคมประกันวินาศภัยไทย จัดให้มพี ธิ กี าร มอบรางวัลการใช้ระบบสินไหมอัตโนมัตดิ เี ด่น ครัง้ ที่ 9 ประจ�ำ ปี 2561 หรือ ‘e-Claim Awards 2018’ รวมทั้งสิ้น 229 รางวัล ให้แก่โรงพยาบาลและเครือข่ายมูลนิธิ กู้ชีพ กู้ภัย และบุคคล ผู้ทเี่ กีย่ วข้องทัว่ ประเทศทีบ่ นั ทึกข้อมูลในระบบดีเด่นทางด้าน การจ่ า ยค่ า สิ น ไหมทดแทนผู ้ ป ระสบภั ย จากรถอย่ า งมี ประสิทธิภาพด้วยระบบ e-Claim (ระบบสินไหมอัตโนมัต)ิ เมือ่ วั น ที่ 8 พฤษภาคม 2562 ณ ห้ อ งประชุ ม วายุ ภั ก ษ์ แกรนด์บอลรูม ชัน้ 4 Centra by Centara Government Complex Hotel & Convention Centre Chaeng Watthana Objective 2 - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ่ สนับสนุนให้มร ในระบบประกันภัย เพือ ี ะบบประกันภัย ใหม่ๆ
เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทย ทั้งด้านองค์ความรู้การก�ำกับ ตรวจสอบ และคุ้มครองสิทธิ ประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยในอนาคต ให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ได้มกี ารด�ำเนินการ ดังนี้
66
67
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ถึงความส�ำคัญของการประกันภัย และเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยี ด้านการประกันภัยมาเชื่อมโอกาสธุรกิจประกันภัยในยุค ดิจิทัล โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนากว่า 400 คน เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2562 ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพฯ
Key Result 1 - การจัดประชุมผู้บริหารระดับสูง ด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดประชุมผู้บริหารระดับสูงด้าน การประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) ซึง่ เป็นการผนึกก�ำลังร่วมกันระหว่างส�ำนักงาน คปภ. กับภาค ธุรกิจประกันภัย เพื่อเป็นเวทีการสื่อสารนโยบายการพัฒนา ระบบประกั น ภั ย ไทย แลกเปลี่ ย นความรู ้ ความคิ ด เห็ น และประสบการณ์ ระหว่างผูบ้ ริหารระดับสูงของส�ำนักงาน คปภ. ภาคธุรกิจประกันภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ แนวคิด ‘การยกระดับประกันสุขภาพสูอ่ นาคตทีย่ งั่ ยืน’ ได้จดั ให้มีการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็น 2 กลุ่ม คือกลุม่ ที่ 1 หัวข้อ ‘ยกระดับการก�ำกับการประกันภัยสุขภาพ สู่อนาคตที่ยั่งยืน’ และกลุ่มที่ 2 หัวข้อ ‘กรอบแนวทางการ ป้องกันและป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันภัยสุขภาพ’ เมื่อวันศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2562 ณ โรงแรมดิ แอทธินี โฮเทล กรุงเทพฯ
Objective 3 - เสริมสร้างศักยภาพระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการประกันภัย
เพื่ อ ให้ ร ะบบประกั น ภั ย มี ฐ านข้ อ มู ล กลางด้ า นการ ประกันภัยที่สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ธุรกิจประกันภัย และการเชื่อมโยงข้อมูลที่สามารถรองรับ การด�ำเนินงานของหน่วยงานก�ำกับบริษทั ประกันภัย หน่วยงาน เครือข่าย และประชาชนรวมถึงมีการสร้างระบบการบริหาร จัดการข้อมูล Big Data ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ Key Result 1 - พัฒนาแอปพลิเคชันส� ำ หรั บ การแจ้งเคลมประกันรถยนต์ ภายใต้ชื่อ ‘Me Claim’ ส�ำนักงาน คปภ. ได้พฒ ั นาแอปพลิเคชันส�ำหรับการแจ้ง เคลมประกั น รถยนต์ ภายใต้ ชื่ อ ‘Me Claim’ ซึ่ ง เป็ น แอปพลิเคชันกลางให้ประชาชนสามารถแจ้งทัง้ บริษทั ประกัน ภัยและเจ้าหน้าทีต่ �ำรวจเมือ่ เกิดเหตุรถชนได้ โดยเป็นการน�ำ ระบบเทคโนโลยีประกันภัยเข้ามาช่วยลดปัญหาจราจรบน ท้องถนนและยังเป็นการต่อยอดโครงการ ‘รถชนแล้ว ถ่ายรูปไว้ แยกได้ ไม่ต้องรอ’ และยังเป็นการเพิ่มความสะดวกสบาย ให้กับประชาชนผู้เอาประกันภัยอีกด้วย
Key Result 2 - จัดประกวด InsurTech Ignite Hackathon ครั้งที่ 2 ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับสมาคมประกันวินาศภัยไทย สมาคมฟินเทค ประเทศไทย และมีเดียพาร์ตเนอร์จาก Startup Thailand จัดโครงการประกวด InsurTech Ignite Hackathon ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 6-7 เมษายน 2562 ณ อาคาร Knowledge Exchange Center โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้วงการ InsurTech Startup พัฒนาและต่อยอดนวัตกรรมทาง เทคโนโลยีของกลุ่ม InsurTech นอกจากนี้ เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Startup ด้านเทคโนโลยี และกลุ่มนักศึกษาและผู้สนใจได้คิดค้นและ น�ำเสนอแนวคิดด้านเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนาและน�ำไปใช้ ได้ จ ริ ง ในอนาคต ที ม ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ ได้ น� ำ เสนอ การพัฒนา Mobile Application ที่มีระบบ Telemedicine เพื่อ มุ่งหวังให้ลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาล และส่งผลให้บริษัท ประกันภัยลดค่าใช้จ่ายการด�ำเนินงานลงได้ด้วย InsurTech
Key Result 2 – จัดประชุมสัมมนาวิชาการด้าน การประกันภัย (Thailand Insurance Symposium) ประจ�ำปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั ประชุมสัมมนาวิชาการด้านการ ประกันภัย (Thailand Insurance Symposium) ประจ�ำปี 2562 ภายใต้แนวคิด ‘Proactive InsurTech for National Sustainability’ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นการประกั น ภั ย การพัฒนาเทคโนโลยีให้กับบุคลากรประกันภัย หน่วยงาน ภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนัก
68
69
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 3 - จัดอบรมความ รูพ ้ ื้นฐานส�ำหรับ Startup หลักสูตร Panorama Motor Insurance for Startup ที่มุ่งเน้นไปที่การประกัน ภัยรถยนต์ ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) จัดอบรม ความรู ้ ด ้ า นการประกั น ภั ย พื้ น ฐาน ส�ำหรับ Startup หลักสูตร Panorama Motor Insurance for Startup ที่มุ่งเน้น การประกันภัยรถยนต์ ระหว่างวันที่ 20-21 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชุม ชั้ น 2 สถาบั น วิ ท ยาการประกั น ภั ย ระดั บ สู ง ส� ำ นั ก งาน คปภ. โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ก ลุ ่ ม Startup กลุ ่ ม นั ก พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product Development) และกลุ ่ ม นั ก พั ฒ นา เทคโนโลยี (Developer) ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการประกันภัย รถยนต์ เพือ่ ให้สามารถน�ำความรูไ้ ปสร้าง ‘ไอเดีย’ หรือ ‘นวัตกรรม’ ใหม่ๆ ด้าน เทคโนโลยี ก ารประกั น ภั ย รถยนต์ ไ ด้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง น� ำ เทคโนโลยี ม าพั ฒ นาและต่ อ ยอด อุตสาหกรรมการประกันภัย
Key Result 5 - จัดงานสัมมนา InsurTech 2019 ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั งานสัมมนา InsurTech 2019 เพื่อ แลกเปลีย่ นความรูด้ า้ นเทคโนโลยีประกันภัย ระหว่างหน่วยงาน ก�ำกับดูแลกลุม่ ธุรกิจประกันภัย กลุม่ เทคโนโลยีประกันภัย และ กลุ่มผู้บริหารธุรกิจด้านต่างๆ น�ำไปสู่การพัฒนานวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีประกันภัย และต่อยอดธุรกิจประกันภัยของไทย โดยมีวิทยากรทั้งในประเทศและต่างประเทศมาถ่ายทอด ประสบการณ์ในหัวข้อที่น่าสนใจ อาทิ Building an Effective Employee Benefits and Healthcare Ecosystem, Recent Development in InsurTech, PasarPolis’s Mission to Democratize Microinsurance in SEA, How to Unicorns in Tech Business รวมถึงประเด็นที่ได้รับความสนใจอยู่ใน ขณะนี้คือ Facebook Libra’s Cryptocurrency Case Study: Any Opportunity or Threats to Insurance Market or InsurTech ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น จังหวัดนนทบุรี
Key Result 4 - พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลการประกันภัย (Insurance Bureau System) ส�ำนักงาน คปภ. ได้ศึกษาและ จัดท�ำโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูล การประกั น ภั ย (Insurance Bureau System) เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้าน การประกันภัย และสนับสนุนการก�ำกับ ดูแลและส่งเสริมธุรกิจประกันภัย ด้าน การด�ำเนินงานของบริษัทประกันภัย เพื่อ รองรับ การผ่ อ นคลายการก�ำ กับ อัตราเบี้ยประกันภัยในอนาคต โดย ส�ำนักงาน คปภ. ได้มคี ำ� สัง่ ที่ 455/2561 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน การบริหารจัดการฐานข้อมูลกลางด้าน การประกันภัย โดยมี เ ลขาธิ ก าร คปภ. เป็ น ประธาน เพื่อท�ำหน้าที่จัดท�ำแนวทาง ในการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยี ประกันภัย โดยขณะนีส้ ำ� นักงาน คปภ. อยู่ระหว่างด�ำเนินการน�ำข้อมูลด้าน การประกันวินาศภัย ปี 2556-2560 เข้าจัดเก็บบนฐานข้อมูล Insurance Bureau และท�ำ data cleansing เพื่อให้ ฐานข้ อ มู ล ของ Insurance Bureau System ที่ถูกต้องและสมบูรณ์
Key Result 6 - เข้าร่วมงาน Bangkok FinTech Fair 2019 ส�ำนักงาน คปภ. ได้เข้าร่วมงาน Bangkok FinTech Fair 2019 ภายใต้แนวคิด Collaboration for the Future of Finance ซึ่งจัดขึ้นโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารศูนย์การเรียนรู้ ธนาคาร แห่งประเทศไทย โดยมีหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน สถาบันการเงิน และบริษัทเทคโนโลยีเข้าร่วม เพื่อแสดง พัฒนาการและความคืบหน้าด้านเทคโนโลยีทางการเงิน และการพัฒนานวัตกรรมทางการเงินในอนาคต และการเสวนา จากผู้เชี่ยวชาญด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ แลกเปลี่ ย นมุ ม มองและ ประสบการณ์ในการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในมิตติ ่างๆ รวมทั้งส�ำนักงาน คปภ. ได้ร่วมออกบูทนิทรรศการ เชิงวิชาการ โดยน�ำเสนอนวัตกรรม ‘OIC Gateway’ ซึ่งเป็น แพลตฟอร์มให้บริการเชือ่ มโยงข้อมูล ทัง้ อุตสาหกรรมประกันภัย เชื่อมต่อระหว่างส�ำนักงาน คปภ. บริษัทประกันภัย และ ประชาชน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลและบริการถึงกันได้อย่าง สะดวกและปลอดภัย โดยเบือ้ งต้นได้พฒ ั นา Mobile Application ด้านคนกลางประกันภัยขึ้น เพื่อเพิ่มช่องทางการแจ้งข้อมูล ข่าวสารด้านประกันภัยให้กบั ประชาชนและคนกลางประกันภัย
70
71
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นอกจากนี้ยังได้น�ำเสนอเกี่ยวกับ ‘Flood Risk’ ซึ่งเป็น แผนที่แสดงผลกระทบจากอุทกภัย โดยแสดงความเสี่ยง ความรุนแรง ผลกระทบต่อผู้เอาประกันในประเทศ และ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมประกันภัยที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไทย Key Result 7 - จัดอบรมหลักสูตร ‘การสร้างความ ตระหนั ก ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร ระดับสูง’ ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดอบรมหลักสูตร ‘ฝึกอบรม เพือ่ สร้างความตระหนักด้านความมัน่ คงปลอดภัย (Information Security Awareness Training for Management) ส�ำหรับ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ’ เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน คปภ. ได้ รู ้ เ ท่ า ทัน ภัย คุก คามทางไซเบอร์ โดยมี ท่ า นอาจารย์ ปริญญา หอมอเนก ให้เกียรติเป็นวิทยากร เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชุมสถาบันวิทยาการประกันภัย ระดับสูง ส�ำนักงาน คปภ. Key Result 8 - จัดโครงการ InsurTech Boot Camp 2019 และ ‘OIC InsurTech Award 2019’ ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ได้จัดโครงการ InsurTech Boot Camp 2019 พร้อมจัดกิจกรรม CIT Roadshow เดินสายให้ความรู้ ด้ า นเทคโนโลยี ก ารประกั น ภั ย ให้ กั บ นิ สิ ต และนั ก ศึ ก ษา ในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ห ลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนเกี่ ย วกั บ การประกันภัยโดยตรง จ�ำนวน 4 สถาบัน ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยมหิดล (วิทยาเขตพญาไท) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมชวน ให้ เ ข้ า ประกวดนวั ต กรรมเทคโนโลยี ด ้ า นการประกั น ภั ย ‘OIC InsurTech Award 2019’ ภายใต้โจทย์ ‘การพัฒนา นวัตกรรมเพื่อการประกันสุขภาพ’ ชิงรางวัลมูลค่ารวมกว่า 400,000 บาท ในงานสัปดาห์ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 ซึ่งได้จดั ขึ้นระหว่างวันที่ 27–29 กันยายน 2562 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
ได้งา่ ย สะดวก และรวดเร็วมากยิง่ ขึน้ ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับสายตรวจสอบ คนกลางประกันภัย ได้พัฒนา Mobile Application เพื่อ สนับสนุนงานด้านการก�ำกับดูแลคนกลางประกันภัย ได้แก่ 1. การดูข้อมูลทะเบียนใบอนุญาตตัวแทน/นายหน้า ประกันภัยของตนเองได้ 2. มีระบบการแจ้งเตือนให้ต่ออายุใบอนุญาตส�ำหรับ ตัวแทน/นายหน้าประกันภัยล่วงหน้า 3. ดูข้อมูลเรื่องร้องเรียนที่ตนเองได้รับได้ 4. ดูข้อมูลชั่วโมงการฝึกอบรมของตนเองได้ 5. ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะของตัวแทน/ นายหน้าประกันภัยได้ Key Result 10 - พัฒนาระบบตอบค�ำถามอัตโนมัติ OIC Chatbot ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับสายคุ้มครองสิทธิประโยชน์ จัดท�ำระบบตอบ ค�ำถามอัตโนมัติ (Chatbot) โดยมีวัตถุประสงค์เพิ่มช่องทาง ในการตอบปัญหาด้านการประกันภัยให้แก่ประชาชน และ แบ่งเบาภาระของสายด่วน 1186 พร้อมทั้งมีการเชื่อมโยง การท�ำงานเข้ากับแอปพลิเคชัน LINE เพื่อให้ประชาชน สามารถเข้าถึงได้ง่าย Key Result 11 - พัฒนาแอปพลิเคชันส�ำหรับ การค�ำนวณทุนประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับฝ่ายวิศวกรรมประกันภัย พัฒนาแอปพลิเคชัน ส�ำหรับการค�ำนวณทุนประกันภัย เพื่อให้บริษัทประกันภัย และผู ้ เ อาประกั น ภั ย มี แ อปพลิ เ คชั น ใช้ เ ป็ น แนวทางใน การสืบค้นข้อมูลและค�ำนวณทุนประกันภัยส�ำหรับอาคาร และเครื่องจักรในเบื้องต้นได้ ซึ่งแอปพลิเคชันดังกล่าว ได้มี การพัฒนา 2 ส่วน คือการค�ำนวณทุนประกันภัยส�ำหรับ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง และการค�ำนวณทุนประกันภัย ส�ำหรับเครื่องจักร
Key Result 9 - พัฒนา Mobile Application เพือ่ สนับสนุนงานด้านการก�ำกับดูแลคนกลางประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการน�ำ เทคโนโลยี เ ข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ แ ละเป็ น เครื่ อ งมื อ ใน การปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นางานการบริ ก ารประชาชนและ คนกลางประกันภัยให้มีประสิทธิภาพและเป็นระบบมาก ยิง่ ขึน้ รวมถึงสามารถเข้าถึงข้อมูลเกีย่ วกับคนกลางประกันภัย
Objective 4 - ผลักดันให้การประกันภัยเป็น ่ งมือบริหารความเสี่ยง เครือ
ทีจ่ ะเดินทางเข้ามาในประเทศไทย ในการใช้ระบบประกันภัย เป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยลดความเสีย่ งภัยหรือบรรเทาความสูญเสีย และความเสียหาย หากเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด อีกทัง้ ยังช่วย ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและยกระดับการท่องเที่ยวให้กับ ประเทศไทยในสภาวะการแข่งขันกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก
สร้างองค์ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับประกันภัยทีถ่ กู ต้อง เพื่ อ ผลั ก ดั น สร้ า งความเข้ า ใจในการใช้ ป ระกั น ภั ย เป็ น เครือ่ งมือบริหารความเสีย่ งอย่างกว้างขวาง และให้ประชาชน ได้รับสิทธิประโยชน์จากการประกันภัยอย่างรวดเร็ว และ สามารถออกแบบชีวิตที่เหมาะสมในแบบของตัวเองได้
Key Result 3 - การบูรณาการร่วมกับกระทรวง สาธารณสุข ใช้ ‘ประกันสุขภาพ’ บริหารความเสี่ยง นักท่องเทีย่ วต่างชาติแบบ Long Stay เลขาธิการ คปภ. ร่วมแถลงข่าวกับ ดร.สาธิต ปิตเุ ตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายนภินทร ศรีสรรพางค์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงการท่องเที่ยว และกี ฬ า พล.ต.ต.ณฐพล แสวงกิ จ รองผู ้ บั ญ ชาการ ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง นพ.ธเรศ กรัษนัยวิวงค์ อธิบดี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ นายสรยุทธ ชาสมบัติ รองอธิบดีกรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ เกีย่ วกับ การท�ำประกันสุขภาพส�ำหรับคนต่างด้าวผู้ขอรับการตรวจ ลงตรา (วีซ่า) ประเภทคนอยู่ช่วั คราว Non-Immigrant Visa รหัส O-A (ระยะ 1 ปี) เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2562 ซึ่งในส่วนความรับผิดชอบ ของส�ำนักงาน คปภ. นัน้ เลขาธิการ คปภ. ในฐานะนาย ทะเบียนได้ให้ความเห็นชอบแบบและข้อความหลักฐาน แสดงการประกันภัยส�ำหรับคนต่างด้าว ผูข้ อรับการตรวจลง ตราประเภทคนอยู่ช่วั คราว Non-Immigrant Visa รหัส O-A ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี (Insurance Certificate) โดยกรมธรรม์ ประกันสุขภาพดังกล่าวจะต้องระบุความคุม้ ครองจ�ำนวนเงิน เอาประกันภัยส�ำหรับค่ารักษาพยาบาล ในกรณีผู้ป่วยนอก ไม่ต่�ำกว่า 40,000 บาทต่อปี และกรณีผู้ป่วยในไม่ตำ่� กว่า 400,000 บาทต่อปี ส่วนกรณีผขู้ อรับการตรวจลงตราประเภท คนอยูช่ วั่ คราวทีม่ กี รมธรรม์ประกันสุขภาพจากต่างประเทศ อยูแ่ ล้ว ความคุม้ ครองในกรมธรรม์ประกันภัยสุขภาพต้องมี จ�ำนวนเงินเอาประกันภัยส�ำหรับกรณีผปู้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยใน ไม่น้อยกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ข้างต้นเช่นเดียวกัน โดยเริ่ม บังคับใช้หลักเกณฑ์นตี้ งั้ แต่วนั ที่ 31 ตุลาคม 2562 เป็นต้นไป
Key Result 1 - โครงการประกันภัยข้าวนาปีและ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2562 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2562 โดยก�ำหนดเป้าหมายสูงสุด ไม่เกิน 30 ล้านไร่ และภาครัฐให้การสนับสนุนค่าเบีย้ ประกันภัย จ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 1,740.60 ล้านบาท และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ปีการผลิต 2562 ซึง่ เป็นการด�ำเนินโครงการปีแรก ก�ำหนดพืน้ ที่ เป้าหมายไม่เกิน 3 ล้านไร่ โดยภาครัฐให้การสนับสนุนค่าเบีย้ ประกันภัย จ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 121.80 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2562 นายทะเบียนได้ให้ความเห็นชอบแบบและ ข้อความกรมธรรม์ประกันภัยและอัตราเบีย้ ประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2562 และแบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัย และอัตราเบีย้ ประกันภัยข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ปีการผลิต 2562 แล้ว Key Result 2 - โครงการประกันภัยการเดินทาง ส�ำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (Thailand Travel Shield) ส�ำนักงาน คปภ. เข้าร่วมเป็นสักขีพยานลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือในโครงการประกันภัย การเดินทาง ส�ำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (Thailand Travel Shield) เมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2562 ณ ส�ำนักงานส่งเสริมการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย (ททท.) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพฯ โดยโครงการดั ง กล่ า วได้ เ ริ่ ม ด� ำ เนิ น งานตั้ ง แต่ ป ี 2557 ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นส�ำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการน�ำ นโยบายด้านความปลอดภัยทางการท่องเทีย่ วไปสูเ่ ชิงปฏิบตั ิ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ
Objective 5 - เสริมสร้างศักยภาพของ หน่วยงานก�ำกับ
ด้วยความต้องการเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรม ประกันภัยให้แข็งแกร่งมากขึน้ ส�ำนักงาน คปภ. มีการด�ำเนิน งานเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานก�ำกับให้มากขึน้ เพื่อ ความพร้อมในการรองรับความท้าทายของอุตสาหกรรม ประกันภัยทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ในอนาคตในอนาคต โดยด�ำเนิน การ ดังนี้
72
73
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 1 - ผลักดันร่างกฎหมายแม่บทว่าด้วยการประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ด�ำเนินการปรับปรุงกฎหมายแม่บทว่าด้วยการประกันภัย ซึ่งเป็นการยกร่างพระราชบัญญัติประกัน ชีวิต พ.ศ. ... และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. ... ขึ้นทั้งฉบับ โดยมีวัตถุประสงค์สำ� คัญเพื่อแก้ไขปัญหาอันเกิดจาก การบังคับใช้กฎหมายในปัจจุบนั ปรับปรุงมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และปรับปรุง มาตรฐานการก�ำกับดูแลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันกับหน่วยงานก�ำกับสถาบันการเงินอื่น ซึง่ ส�ำนักงานได้นำ� ร่างกฎหมาย ดังกล่าว เสนอต่อคณะกรรมการ คปภ. และได้รบั ความเห็นชอบในหลักการตามที่ส�ำนักงาน คปภ. เสนอ โดยการจัดหมวดหมู่ ของประเด็นการแก้ไขกฎหมาย และแยกเป็นการแก้ไขกฎหมายฉบับเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในกระบวนการ ตรากฎหมาย โดยแบ่งกลุ่มตามเนื้อหาบทบัญญัติที่มีความเกี่ยวข้องกันออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1) กลุ่มบทบัญญัติท่มี ุ่งเน้นให้ความคุ้มครองประชาชนโดยตรง กลุ่มที่ 2) กลุ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการเสริมเสถียรภาพและความมั่นคงของบริษัท กลุม่ ที่ 3) กลุม่ บทบัญญัตเิ กีย่ วกับการส่งเสริมการควบโอนกิจการ
สถานะความคืบหน้าของร่างกฎหมายในแต่ละกลุ่ม กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
ได้ ป ระกาศในราชกิ จ จานุ เบกษา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2562 ซึ่งพระราชบัญญัตินี้ จะมีผล ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อย แปดสิ บ วั น นั บ แต่ ป ระกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ซึง่ จะ ตรงกับวันที่ 21 พฤศจิกายน 2562 ทั้งนี้ ในส่วนของกฎหมายลําดับ รองที่ อ อกตามพระราชบั ญ ญั ติ ทั้ ง สองฉบั บ สํ า นั ก งาน คปภ. อยู่ในระหว่างยกร่างเพื่อประกาศ ใช้บังคับต่อไป
อยู่ระหว่างการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงาน คปภ. ได้อยูใ่ นกระบวนการเข้าชีแ้ จง ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ทั้ ง 2 ฉบั บ ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกา และได้ จั ด ทํ า ร่ า งหลั ก การของกฎหมาย ลําดับรองทีจ่ ะออกตามร่างพระราชบัญญัติทั้ง 2 ฉบับดังกล่าว เพื่อ ประกอบการชีแ้ จงกับคณะกรรมการ กฤษฎีกาเรียบร้อยแล้ว โดย ณ วันที่ 26 กันยายน 2562 ได้พิจารณาวาระ แรก ซึ่งเป็นการพิจารณาหลักการ และเหตุผลรายมาตรา เสร็จสิ้นแล้ว ทัง้ นีฝ้ า่ ยเลขานุการของคณะกรรมการ กฤษฎีกาจะเป็นผู้ปรับแก้ไขถ้อยค�ำ ให้สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล เพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการ กฤษฎีกาพิจารณาในวาระสองต่อไป
สํานักงาน คปภ. ได้เสนอไปที่ กระทรวงการคลั ง แล้ ว และอยู ่ ระหว่างการพิจารณาของกระทรวง การคลั ง เพื่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี พิจารณาต่อไป
กรุงเทพฯ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการสัมมนาประมาณ 370 คน โดยประกอบไปด้ ว ยผู ้ แ ทนจากสมาคมธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย บริษัทประกันภัย ตัวแทนและนายหน้าประกันภัย ผู้ประเมิน วินาศภัย และบริษัทที่ปรึกษากฎหมายและบัญชี
Key Result 2 - จัดท�ำพระราชบัญญัติประกันภัย ทางทะเล ส�ำนักงาน คปภ. ได้เสนอร่างพระราชบัญญัตปิ ระกันภัย ทางทะเล ซึ่งผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ คปภ. ในปี 2559 และได้แก้ไขปรับปรุงเอกสารประกอบร่างกฎหมาย ว่าด้วยการประกันภัยทางทะเล ตามความเห็นและข้อเสนอแนะ ของกระทรวงการคลัง กล่าวคือ แก้ไขปรับปรุงบันทึกวิเคราะห์ สรุปประกอบร่างกฎหมาย หลักเกณฑ์การตรวจสอบความ จ�ำเป็นในการตราพระราชบัญญัติ รวมทัง้ สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการตรากฎหมายฉบั บ ดั ง กล่ า ว โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติประกันภัย ทางทะเล ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในหลักการ เป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ขณะอยู ่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาของ ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดย ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2562 ได้พิจารณาวาระแรก ซึ่งเป็นการพิจารณาหลักการ และเหตุผลรายมาตรา เสร็จสิ้นแล้ว ทั้งนี้ฝ่ายเลขานุการ ของคณะกรรมการกฤษฎี ก าจะเป็ น ผู ้ ป รั บ แก้ ไ ขถ้ อ ยค� ำ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การและเหตุ ผ ลเพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาในวาระสองต่อไป
Key Result 4 - เข้ารับการประเมินภาคการเงิน สาขาการประกันภัย (Financial Sector Assessment Program: FSAP) ส�ำนักงาน คปภ. ได้ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมมา อย่างต่อเนือ่ งในการเข้ารับการประเมิน โดยปรับปรุงกฎกติกา ต่ า งๆ ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานสากล รวมทั้ ง ประชุ ม ท�ำความเข้าใจกับภาคธุรกิจประกันภัยไทย ซึง่ คณะผูป้ ระเมิน ภาคการเงินจาก World Bank และ IMF ได้เข้ามาประเมิน การก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของประเทศไทยเปรียบเทียบ กับมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย (Insurance Core Principles: ICPs) 26 ข้อ ระหว่างวันที่ 6-22 กุมภาพันธ์ 2562 ซึ่ ง ทางคณะผู ้ ป ระเมิ น ได้ มี ก ารประเมิ น กฎหมาย กฎระเบียบ การบังคับใช้กฎหมาย และการด�ำเนินงานของ ส�ำนักงาน คปภ. ในการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย รวมทั้ง การประชุมหารือแลกเปลีย่ นความคิดเห็นร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย เกีย่ วกับธรรมาภิบาล การบริหารความเสีย่ ง ตลาดประกันภัย ในประเทศไทย รวมถึงมุมมองกฎระเบียบและการก�ำกับดูแล ซึ่งมีผลการประเมินอย่างเป็นทางการปรากฏว่า ระบบการ ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของไทยผ่านการประเมินตาม ICPs ทุกข้อ ซึง่ มีจำ� นวนทัง้ หมด 26 ข้อ และได้คะแนนอยูใ่ นระดับดี เทียบชั้นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับผลการประเมินของประเทศอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั การประเมินแล้ว ประเทศไทยอยูใ่ นล�ำดับที่ 4 ของโลก และเป็นล�ำดับที่ 2 ของภูมภิ าคอาเซียน ในจ�ำนวนนีผ้ ่านการ ประเมินในระดับ Observed (O) ซึ่งเป็นระดับสูงสุด จ�ำนวน 10 ข้อ ผ่านการประเมินระดับ Largely Observed (LO) จ�ำนวน 12 ข้อ และผ่านการประเมินระดับ Partly Observed (PO) จ�ำนวน 4 ข้อ โดยไม่มขี ้อใดที่ประเมินไม่ผ่าน
Key Result 3 - จัดสัมมนาโครงการท�ำความเข้าใจ หลักการของร่างกฎหมายแม่บทด้านการประกันภัย (กลุ่ม 1) ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั สัมมนาโครงการท�ำความเข้าใจ หลักการของร่างกฎหมายแม่บทด้านการประกันภัย (กลุ่ม 1) ที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2560 ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด
74
75
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 6 - ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ผ่านระบบ Integrity and Transparency Assessment (ITA) ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2564 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2561 เห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยงาน ให้ความร่วมมือ และเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ด�ำเนิน งานของหน่ ว ยงานภาครั ฐ ผ่ า นระบบ Integrity and Transparency Assessment (ITA) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2564 โดยใช้แนวทางและเครื่องมือการประเมิน ตามที่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดยปีนี้เป็นครั้งแรกที่ส�ำนักงาน คปภ. เข้าร่วมการ ประเมิน (ITA) และเป็นครั้งแรกที่ส�ำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีการ ทบทวนการประเมิน (ITA) ในหลายด้านเพื่อพัฒนาการ ประเมิน (ITA) ให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะการประเมิน ผ่ า นทางระบบ online เป็ น ปี แ รก ซึ่ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการพัฒนาเกณฑ์การประเมินให้เกิดการสนับสนุนต่อ การยกระดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม และเมือ่ วันที่ 17 ตุลาคม 2562 ส�ำนักประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ประกาศผลคะแนน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีหน่วยงานภาครัฐและองค์กรส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมการ ประเมินทั้งสิ้น 8,299 หน่วยงาน ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. ได้รบั ผลการประเมินเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 87.95 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ เกรด A ตามเกณฑ์ประเมิน (ITA)
Key Result 5 - การเข้ารับรางวัลเลิศรัฐ สาขา บริการภาครัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ประเภทพัฒนาการ บริการ ส�ำนักงาน คปภ. ได้รบั รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ประจ� ำ ปี พ.ศ. 2562 ประเภทพั ฒ นาการบริ ก าร จาก นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ในงานสัมมนา วิชาการและมอบรางวัลเลิศรัฐ ประจ�ำปี 2562 ‘Shift to the future: ภาครัฐปรับ อนาคตเปลี่ยน’ เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2562 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ บอลรูม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ (ก.พ.ร.) ซึ่งจัดให้มีการตรวจประเมินหน่วยงานของ รัฐทีม่ ผี ลงานการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบตั ริ าชการ และ การให้ บ ริ ก ารประชาชนได้ อ ย่ า งโดดเด่ น เพื่ อ เข้ า รั บ การพิจารณามอบรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ซึง่ ส�ำนักงาน คปภ. ได้สง่ ผลงานในความรับผิดชอบ ของสายคุ้มครองสิทธิประโยชน์ และส�ำนักนายทะเบียน คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จ�ำนวน 4 ผลงาน โดยส�ำหรับปีนเี้ ป็นปีแรกทีส่ ำ� นักงาน คปภ. ร่วมส่งผลงาน และเป็นปีทมี่ หี น่วยงานภาครัฐส่งผลงานเข้ารับการพิจารณา เป็นจ�ำนวนมากกว่าทุกปี โดยมีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมพิจารณาคัดเลือกตามหลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลเลิศรัฐ อย่างเข้มข้น โดยส�ำนักงาน คปภ. สามารถคว้ารางวัลบริการ ภาครัฐระดับดี ประเภทพัฒนาการบริการ ผลงานงานไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัยมาได้
76
77
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect