เดือนอ้ าย(เดือนเจียง) - บุญเข้ ากรรม
เดือนเจียง(เดือนอ้ าย) นิมนต์สงั ฆเจ้ าเข้ ากรรมฯ ชาวบ้ านเลี้ยงผีแถนและผีต่างๆ(บรรพบุรษุ หรือ บรรพบุรษุ ผู้ล่วงลับ) การนิมนต์พระสงฆ์เจ้ ามาเข้ าปริวาสกรรมหรือเข้ ากรรมนั้น เป็ นพิธกี รรมเพื่อให้ พระภิกษุ ผู้กระทําความผิดได้ สารภาพต่อหน้ าคณะสงฆ์ (มิใช่การล้ างบาป) เป็ นการฝึ กความรู้สกึ สํานึก วิจัยต่อความ บกพร่องของตัวเอง ซึ่งตรงกันข้ ามกับสังคมสมัยนี้ท่มี แี ต่โพนทะนาถึงความชั่วความผิดของผู้อ่นื ข้ างเดียว
เดือนยี่ - บุญคูณลาน เดือนยี่ ทําบุญ "คูณข้ าว" มีพระสวดมนต์ เย็นยันเช้ าเพื่อเป็ นสิริมงคลแก่ข้าวเปลือก เมื่อพระฉันเช้ าแล้ วก็ทาํ พิธสี ่ขู วัญข้ าว (ทําขวัญหรือสูตรขวัญ) นอกจากนั้นในเดือนนี้ ชาวบ้ านจะยังต้ องเตรียมสะสมเชื้อเพลิงหาฟื น และถ่านมาไว้ ในบ้ าน
เดือนสาม - บุญข้ าวจี่ เดือนสาม ในมื้อเพ็ง (วันเพ็ญ) ให้ ทาํ บุญข้ าวจี่ และบุญมาฆะบูชา เริ่มพิธที าํ บุญข้ าวจี่ในตอนเช้ าโดยใช้ ข้ าวเหนียวปั้นหุ้มนํา้ อ้ อยเอาไปปิ้ งหรือจี่พอเกรียมแล้ ว ชุบด้ วยไข่ลนไฟจนสุกแล้ วใส่ภาชนะไปตั้งไว้ ในหัวแจก (ศาลาวัด)นิมนต์พระรับศีล แล้ วเอาข้ าวจี่ใส่บาตรนํา ถวายแด่พระภิกษุสงฆ์พร้ อมด้ วยอาหารอื่น เมื่อพระฉัน เสร็จแล้ วมีการแสดงพระธรรมเทศนาข้ าวจี่ท่เี หลือจาก พระฉันก็แบ่งกันรับประทานจะถือว่าโชคดี
เดือนสี่ - บุญผะเหวด เดือนสี่ ทําบุญพระเวสฟังเทศน์มหาชาติ
มูลเหตุเนื่องมาจากพระคัมภีร์มาลัยหมื่นและ มาลัยแสน ว่าผู้ใดปรารถนาที่จะได้ พบพระศรี อริยเมตไตย์ หรือเข้ าถึงศาสนาของพระพุทธ องค์แล้ วจงอย่าฆ่าตีบดิ ามารดา สมณพราหมณาจารย์ อย่ายุยงให้ สงฆ์แตก สามัคคีกนั กับให้ อสุ ่าห์ฟังธรรมเทศนาเรื่อง พระมหาเวสสันดรชาดกให้ จบสิ้นภายในวัน เดียวกัน เป็ นต้ น ในงานบุญนี้มักจะมีผ้ ูนาํ ของ มาถวายพระซึ่งเรียกว่า "กัณฑ์หลอน" หรือถ้ า จะเจาะจงถวายเฉพาะพระนักเทศน์ท่ตี น นิมนต์มาก็เรียกว่า "กัณฑ์จอบ" เพราะต้ อง แอบซุ่มดูให้ แน่เสียก่อน
เดือนห้ า-บุญสงกรานต์ เดือนห้ า ทําบุญขึ้นปี ใหม่หรือตรุษสงกรานต์ สรงนํา้ พระพุทธ บาท ไปเก็บดอกไม้ ป่ามาบูชาพระในระหว่างบุญนี้ทุกคนจะหยุดงาน ธุรกิจประจําวัน โดยเฉพาะมีวนั สําคัญดังนี้ คือ ก. วันสังขารล่วง เป็ นวันแรกของงานจะนําพระพุทธลงมา ความสะอาดและตั้งไว้ ณ สถานที่อนั สมควร แล้ วพากันสรงพระด้ วย นํา้ หอม ข. วันสังขารเน่า เป็ นวันที่สองของงาน พากันทําบุญอุทศิ ส่วน กุศลให้ บดิ ามารดาที่ล่วงลับไปแล้ ว ค. วันสังขารขึ้น เป็ นวันที่สามของงงาน ทําบุญตักบาตรถวาย ภัตาหารแด่พระ-เณร แล้ วทําการคารวะบิดามารดาและคนแก่ ส่ง ท้ ายด้ วยมีพิธบี ายศรีส่ขู วัญ แล้ วใช้ นาํ้ ที่เหลือใช้ จากการรดนํา้ ให้ ผู้ใหญ่นาํ้ มารดให้ แก่ผ้ ูร่วมงาน ภายหลังจึงแผลงมาเป็ นการวิ่งไล่ สาดนํา้ กลั่นแกล้ งกัน
เดือนหก - บุญบั้งไฟ เดือนหก ทําบุญวันวิสาขบูชา มีการเทศน์ตลอดวัน ตลอดกลางคืนมีการเวียนเทียนในเดือนนี้มีงานบุญสําคัญ อีกบุญหนึ่งคือ บุญสัจจะ หรือบุญบั้งไฟเพื่อถวายเป็ น พุทธบูชาและขอฝน มีผลทางอ้ อมเพื่อฝึ กฝนให้ ร้ จู ักผสม ดินปื นและให้ ประชาชนมาร่วมสนุกสนานกันได้ อย่าง สุดเหวี่ยงก่อนจะลงมือทํานาซึ่งเป็ นงานหนักประจําปี นอกจากนี้กม็ ักจะมีการบวชนาคไปพร้ อมกันด้ วย ตอน กลางคืนมักจะมีการตีกลองเอาเสียงดังแข่งกันเรียกว่า "กลองเส็ง" บางตําราก็ว่าต้ องมีพิธสี รงนํา้ พระพุทธรูปฝ่ าย เหนือและฝ่ ายใต้ ตลอดจนมีการถือนํา้ พระพิพัฒน์ต่อ พระพุทธเจ้ า พระธรรมเจ้ า พระสงฆ์เจ้ า และต่อแผ่นดิน
เดือนเจ็ด - บุญซําฮะ เดือนเจ็ด ทําบุญบูชาเทวดาอาฮักษ์หลังเมือง (วีรบุรษุ ) ทําการเซ่นสรวง หลักเมือง หลักเมือง ผี พ่อแม่ ผีปู่ตา ผีเมือง (บรรพบุรษุ ) ผีแฮก(เทวดา รักษานาไร่) ทํานองเดียวกันกับแรกนาขวัญ ซึ่งเป็ น พิธกี รรมก่อนจะมีการทํานา สรุปแล้ วคือให้ ร้ จู ักคุณ ของผู้มีพระคุณและสิ่งที่มีคุณ จึงจะเจริญ
เดือนแปด-บุญเข้ าพรรษา เดือนแปด ทําบุญเข้ าพรรษา ทําบุญตักบาตร ถวาย ภัตาหารเช้ าและเพลแก่พระสงฆ์ บ่ายมีการฟังธรรม เทศนา กับมีการป่ าวร้ องให้ ชาวบ้ านนําขี้ผ้ งึ มาหล่อ เทียนใหญ่ น้ อย สําหรับจุดไว้ ในโบสถ์เป็ นพุทธบูชา ตลอดฤดูกาลเข้ าพรรษา ในเมืองหลวงมีการถวาย "เทียนจํา" แก่อารามสําคัญ
เดือนเก้ า-บุญข้ าวประดับดิน เดือนเก้ า ทําบุญข้ าว และอาหารความหวานพร้ อมทั้งหมาก พลูบุหรี่ห่อด้ วยใบตองกล้ วยแล้ วนําไปวางไว้ ตามต้ นไม้ และพื้น หญ้ า เพื่ออุทศิ ให้ แก่บรรดาญาติผ้ ูล่วงลับไปแล้ วโดยกําหนดทํา ใน วันแรมสิบสี่ค่าํ เดือนเก้ า ต่อมาภายหลังนิยมทําภัตตาหาร ถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ สามเณร แล้ วอุทศิ ให้ ผ้ ูแก่ตามด้ วยการ หยาดนํา้ ( กรวดนํา้ ) ทั้งนี้เกิดจากความเชื่อตามนิทานชาดก และเป็ นที่มาของการแจกข้ าวด้ วย
เดือนสิ บ - บุญข้ าวสาก เดือนสิบ ทําบุญข้ าวสากหรือข้ าวสลาก (สลากภัตร) ใน วันเพ็ญ เป็ นการอุทศิ ส่วนกุศลให้ แก่ผ้ ูตายเช่นเดียวกับบุญ ข้ าวประดับดิน โดยมีเวลาห่างกัน 15 วัน เป็ นระยะเวลาที่ พวกเปรตจะต้ องกลับคืนไปเมืองนรก (ตามนิทานชาดก) โดยผู้ท่ถี วายทานจะเขียนชื่อของตนไว้ ในภาชนะที่ใส่ของ ทานไว้ แล้ วเขียนชื่อของตนใส่กระดาษนําไปใส่ไว้ อกี บาตร เมื่อภิกษุสามเณรรูปใดจับได้ สลากของผู้ใดก็จะเรียกให้ เจ้ าของสลากนําเอาของถวาย ครั้นพระเณรฉันแล้ วก็ประชุม กันฟังเทศน์ บรรยายนิทานวัตถุและภาษิตต่างๆทั้งอานิสงส์ สลากภัตด้ วยชั่ววันกับคืนหนึ่งจึงเลิก
เดือนสิ บเอ็ด - บุญออกพรรษา เดือนสิบเอ็ด ทําบุญออกพรรษา หรือสังฆเจ้ า ออกวัสสปวารณาฯ มีการตามประทีปโคมไฟเรียกว่า ทําบุญจุดประทีป ถ้ าไม่ใช้ โคมแก้ วโคมกระดาษก็มักขูด เปลือกลูกตูมกาให้ ใสหรือขุดเปลือกลูกฟักทองให้ ใสบาง ทําเป็ นโคม ใช้ นาํ้ มันมะเยาหรือมะพร้ าวมีไส้ ลอยอยู่มหี ู หิ้วและนําไปแขวนไว้ ตามต้ นไม้ เต็มวัดนอกจากนั้นบาง หมู่บ้านก็ทาํ รั้วลดเลี้ยวไปเรียกว่าคีรีวงกฎ และมีการทํา ปราสาทผึ้งถวายพระด้ วย
เดือนสิ บสอง - บุญกฐิน เดือนสิบสอง เป็ นเดือนส่งท้ายปี เก่าตามคติเดิม มีการทําบุญกอง
กฐิน ซึ่งเริ่มตั้งแต่วนั แรมหนึ่งคํ่าเดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบเอ็ด ถึงกลางเดือนสิบสอง แต่ชาวอีสานครั้งก่อนนิยมเริ่มทําตั้งแต่วนั แรม หนึ่งคํ่าเดือนสิบสอง จึงมักเรียกว่าบุญกฐินว่าเป็ นบุญเดือนสิบสอง มีท้งั มหากฐิน(กองใหญ่) และบุญจุลกฐิน(กองเล็ก) ซึ่งทํากันโดย ด่วน อัฎฐะบริขารที่จาํ เป็ นต้ องทอดเป็ นองค์กฐิน ขาดมิได้ คือบาตร สังฆาฏิ จีวร สบง มีโกนหรือมีดตัดเล็บ สายรัดประคด ผ้ ากรองนํา้ และเข็ม นอกจากนั้นเป็ นเพียงองค์ประกอบ หลังจากวันเพ็ญเดือนสิบสองแล้ วจะทอดกฐินไม่ได้ อกี จึงต้ อง ทําบุญกองบัง(บังสุกุลหรือทอดผ้ าป่ า) และทําบุญกองอัฏฐะ คือการ ถวายอัฏฐะบริขารแปดอย่างแก่พระสงฆ์ บุญเดือนสิบสองที่สาํ คัญของชุมชนริมแม่นาํ้ ก็คือการ "ซ่วงเฮือ" (แข่งเรือ) เพื่อบูชาอุสพุ ญานาค 15 ตระกูล รําลึกถึงพระยาฟ้ างุ้มที่นาํ พระไตรปิ ฎกขึ้นมาแต่เมืองอินทปัตถะนคร (เขมร)