รายงานฝึกงาน

Page 1

การตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

โดย นางสาวปรัชญาณี ยงพิศาลภพ

รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชีบริ หาร) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา พ.ศ. 2555



วันที่ 30 กรกฎาคม 2555 เรื่ อง

ขอส่งรายงานการฝึ กงาน

เรี ยน อาจารย์ที่ปรึ กษา สาขาการบัญชีบริ หาร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ ตามที่ขา้ พเจ้า นางสาวปรัชญาณี ยงพิศาลภพ นิ สิตสาขาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ได้เข้ารับการฝึ กงาน ระหว่างวันที่ 19 มีนาคม 2555 ถึง 1 มิถุนายน 2555 ในตาแหน่ง ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี ณ บริ ษทั ออดิตพลัส จากัด จังหวัด กรุ งเทพมหานคร และได้รับมอบหมายให้ศึกษาและทารายงานเรื่ อง การตรวจสอบบัญชี ที่ดิ น อาคาร และอุปกรณ์ นั้น บัดนี้ การฝึ กงานดังกล่าวได้สิ้นสุดลง ข้าพเจ้าขอส่งรายงานดังกล่าวมาพร้อมกันนี้ จานวน 1 เล่ม เพื่อขอรับคาปรึ กษาต่อไป จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นางสาวปรัชญาณี ยงพิศาลภพ)


บช.1

รูปที่มีนิสิตถ่ายภาพกับสานักงานหรือพี่ๆ พนักงาน ชื่อ นางสาว ปรัชญาณี นามสกุล ยงพิศาลภพ

ชื่อเล่น ยู

E-mail yuyi_yuu@hotmail.com

โทรศัพท์ 080-2892143

ชื่อสถานที่ประกอบการ บริ ษทั ออดิตพลัส จากัด ที่อยู่ 151/155 ถนนบางแวก แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุ งเทพฯ 10160 เบอร์ โทรศัพท์ 02-8874154 ตาแหน่ งงานทีฝ่ ึ กงาน ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี รายละเอียดงานที่ทา จัดทากระดาษทาการประกอบงบการเงิน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องตรงกัน ตรวจเอกสาร ยืนยันยอด และจัดทาหน้ารายงานผูส้ อบบัญชี ข้ อคิดหรือข้อแนะนาสาหรับน้องๆ เป็ นการทางานที่เหนื่อย แต่ทาให้ได้รับความรู้และประสบการณ์ต่างๆมากมาย เข้าใจ กระบวนการทางานและการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ พี่ๆน่ารักทุกคน คอยให้คาปรึ กษา คอยดูแลตลอด การฝึ กงาน พี่ๆเป็ นกันเองมากค่ะ เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่อ

 ไม่เหมาะสมให้น้องฝึ กงานต่อ



(1)

กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับ นี้ เป็ นรายงานประกอบการฝึ กงาน ณ บริ ษัท ออดิ ต พลัส จ ากัด ตั้งแต่ ว ัน ที่ 19 มีนาคม 2555 ถึงวันที่ 1 มิถุนายน 2555 ซึ่งเป็ นการฝึ กงานตามหลักสูตรบัญชีบริ หาร โดยได้รวบรวม ความรู้ ประสบการณ์ต่างๆที่ได้จากการศึกษาข้อมูล สอบถามและสัมภาษณ์ในระหว่างช่วงการฝึ กงาน จนสาเร็ จเป็ นรายงานฉบับนี้ ทั้งนี้ขอขอบคุณ คุณกนกวรรณ จินตกวีวฒั น์ กรรมการผูจ้ ดั การ และพี่ดูแล ฝึ กงาน รวมถึงบุคลากรทุกท่านของบริ ษทั ออดิตพลัส จากัด ที่ให้โอกาสและฝึ ก สอนงาน ให้คาแนะนา เรื่ องการปฏิบตั ิงาน อีกทั้งเรื่ องการปรับตัวในการทางาน เพื่อนาไปปรับปรุ งและพัฒนาให้เกิดประโยชน์ ต่อไป จากการศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิงาน ทาให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี การปฏิบตั ิจริ ง มีข้นั ตอนอย่างไร ความรู้เกี่ยวกับภาษี การเปิ ดเผยข้อมูลในรายงานผูส้ อบบัญชี การจัดทากระดาษทาการ ประกอบงบการเงิน รวมถึงรายละเอียดประกอบงบการเงิน และจากการตรวจสอบการคานวณค่าเสื่ อม ราคา จึงทาให้สนใจที่จะทาการศึกษาเรื่ องการตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์น้ ี ซึ่งความรู้ที่ ได้รับและคาแนะนาหลายๆอย่างได้นามาประยุกต์ใช้จนรายงานฉบับนี้เสร็ จสมบูรณ์ ขอขอบคุณอาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชาทุกท่าน โดยเฉพาะอาจารย์สาขาการบัญชีบริ หาร ที่ได้ประสิทธิประสาทวิชาความรู้ รวมถึงให้คาปรึ กษา ชี้แนะ และสัง่ สอนทั้งเรื่ องการเรี ยนและการดารงชีวิตในเรื่ องต่างๆ และสุ ดท้ายนี้ ตอ้ งขอกราบขอบพระคุณ บุคคลที่สาคัญที่สุดในชีวิต นัน่ คือ บิดามารดาที่ให้กาเนิด คอยเลี้ยงดู ให้คาสั่งสอน ให้คาปรึ กษาชี้แนะ ให้การศึกษาและให้อนาคตที่ดี เป็ นกาลังใจที่สาคัญตลอดมา รวมทั้งกลุ่มผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังความสาเร็ จของ งานอีกมากมาย ซึ่งข้าพเจ้าก็ขอขอบคุณมา ณ ที่น้ ีดว้ ย คุณค่าและประโยชน์อนั พึงมีจากรายงานฉบับนี้ ขอมอบแด่ผมู้ ีพระคุณทุกท่าน ปรัชญาณี ยงพิศาลภพ 24 มิถุนายน 2555


(2)

คานา รายงานฉบับนี้ จดั ทาขึ้นเพื่อส่ งเสริ มให้ นิ สิต นักศึกษาและผูท้ ี่สนใจได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยกล่าวถึงวิธีการตรวจสอบที่มุ่งเน้นถึง การ คานวณค่าเสื่ อมราคาเพื่อให้แสดงมูลค่าที่ถูกต้อง รวมถึงการขายทรัพย์สิน เพราะเรื่ องดังกล่าวสถาน ประกอบการในหลายๆแห่ งจะมีขอ้ ผิดพลาด จึ งจาเป็ นที่ต ้องมีก ารตรวจสอบบัญชี ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ วิธีการคานวณค่าเสื่ อมราคา ซึ่งมีหลายวิธี แนวทางการตรวจสอบบัญชีตามทฤษฎี วิธีการตรวจสอบบัญชีในทางปฏิบตั ิจริ ง ซึ่งใน แต่ละขั้นตอนของวิธีการตรวจสอบบัญชีจ ะให้ความรู้เกี่ยวกับ อายุการใช้งานและอัตราค่าเสื่ อมราคา นอกจากนี้ยงั มีขอ้ มูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคานวณค่าเสื่ อมราคาทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์ ดว้ ย ซึ่ง นิสิต นักศึกษาและผูท้ ี่สนใจจะต้องนาความรู้ที่ได้รับไปปรับปรุ ง หรื อประยุกต์ใช้กบั การศึกษาและการ ทางานในการตรวจสอบบัญชีของธุรกิจให้ถกู ต้อง ผูจ้ ดั ทารายงานหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้ จะช่วยสร้างความรู้ค วามเข้าใจและเป็ นคู่มือ ให้แก่ นิสิต นักศึกษาและผูท้ ี่สนใจตามสมควร หากผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย ผูจ้ ดั ทา นางสาวปรัชญาณี ยงพิศาลภพ มิถุนายน 2555


(3)

สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ คานา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ

หน้า (1) (2) (3) (5) (6)

บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการฝึ กงาน

1 1 2

บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษัท ออดิตพลัส จากัด ประวัติ บริ ษทั ออดิตพลัส จากัด สถานที่ต้งั ผังการจัดองค์การและการบริ หารจัดการ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ออดิตพลัส จากัด กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั ออดิตพลัส จากัด งานที่ได้รับมอบหมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กงาน ข้อเสนอแนะ ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่รายงานการศึกษา

4 5 6 6 7 8 9 9 9


(4)

สารบัญ หน้า บทที่ 3 การตรวจสอบบัญชีทดี่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ของการศึกษา การตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ วิธีการปฏิบตั ิจริ งในการตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ผลที่ได้รับจากการปฏิบตั ิจริ ง ข้อวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ สรุ ป ข้อเสนอแนะ

11 11 20 30 31 31 32

บรรณานุกรม

33


(5)

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1. งานที่ได้รับมอบหมาย

7

2. วิธีการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ถาวร

14

3. อายุการใช้งานและอัตราค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน

19


(6)

สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1. สถานที่ฝึกงาน

4

2. นโยบายการบัญชีที่สาคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

18

3. กระดาษทาการวิเคราะห์สินทรัพย์ถาวร (อาคาร,อุปกรณ์สานักงาน) เพิ่มลด

23

4. กระดาษทาการวิเคราะห์สินทรัพย์ถาวร (อุปกรณ์สานักงาน,ยานพาหนะ) เพิ่มลด (ต่อ)

24

5. กระดาษทาการปรับปรุ ง

25

6. การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงิน

26


บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน การจะเป็ นนัก บัญ ชี ที่ มี คุ ณ ภาพ จะศึ ก ษาหาความรู้ เ พี ย งภาคทฤษฎี อ ย่า งเดี ย วคงไม่ ไ ด้ จาเป็ นต้องมีการฝึ กภาคปฏิบตั ิ เพื่อสามารถปฏิบตั ิงานในหน้าที่ได้อย่างดีและเหมาะสม มีความมัน่ ใจ และมีความเชื่อมัน่ ในการทางาน การฝึ กงานเป็ นหลักสาคัญที่ทาให้ได้รับประสบการณ์จริ ง จากที่เคย ศึกษาในการเรี ยน เป็ นการนาทฤษฎีหรื อหลักการบัญชีที่ได้เรี ยนมาจากวิชาต่างๆ ไปประยุกต์ในการ ปฏิบตั ิ การได้ทางานร่ วมกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องในสถานที่ทางาน นับว่าได้ประสบการณ์ในวิชาชีพเป็ น อย่างดี ตามหลักสูตรนักบัญชี บริ หารมีบทบาทสาคัญที่ช่ว ยบริ หารจัดการในทุก องค์กร ไม่ว่าจะเป็ น ภาครัฐหรื อเอกชน ซึ่งเป็ นผูท้ ี่วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านการบัญชีเพื่อการวางแผนและการบริ หารงาน อีกทั้งยัง มีบทบาทในการนาเสนอรายงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือเพื่อนาไปใช้ในการบริ หารงาน เป็ นส่ วนหนึ่ งที่ ช่วยสนับสนุนให้ผบู้ ริ หารสามารถวางแผน สัง่ การ ควบคุมและตัดสิ นใจได้อย่างเหมาะสม การฝึ กงาน จะทาให้นิสิต เป็ นนัก บัญชี ที่มีความรู้ค วามสามารถ ทั้งด้านทฤษฎี และปฏิบตั ิ ที่จะเป็ นพื้นฐานน าไป ประกอบอาชีพด้านบัญชี ไม่ว่าจะเป็ นนักบัญชีหรื อผูต้ รวจสอบบัญชีได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน1 1. เพื่อให้นิสิตได้เพิ่มทักษะ สร้างเสริ มประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็ นจริ ง ในสถานประกอบการ 2. เพื่อให้นิ สิต ได้ทราบถึงปั ญ หาต่ างๆ ที่ เกิ ด ขึ้น ในขณะปฏิบัติงานและสามารถใช้สติ ปัญ ญา แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

1

คู่มือและแบบบันทึกการฝึ กงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


2

3. เพื่อฝึ กให้นิสิตมีความรับผิด ชอบต่อหน้าที่ เคารพระเบี ยบและการทางานร่ วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้นิสิตมีเจตคติที่ดีต่อการทางาน เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป ภายหลัง จากสาเร็ จการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ 6. เพื่อให้นิสิตได้พฒั นาบุคลิกภาพ และสมารถวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางในการแก้ไขปั ญหา ร่ วมกับผูอ้ ื่น ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับจากการฝึ กงาน 1. ได้ทราบถึงการตรวจสอบบัญชี ในด้านการปฏิบตั ิจริ ง 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับบัญชี และประสบการณ์ ต่างๆนาไปพัฒนาการเรี ยนรู้ 3. ฝึ กให้มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย เป็ นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ 4. ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพ สร้างความมัน่ ใจในการทางาน การกล้าแสดงออก และการแสดงความ คิดเห็นมากขึ้น 5. ได้เรี ยนรู้การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น และเพิ่มทักษะการเรี ยนรู้ระบบการทางานในองค์กร 6. สามารถนาประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆจากการฝึ กงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ 7. ฝึ กฝนให้เป็ นคนช่างสังเกตและรู้จกั ปรับปรุ งการพัฒนาการทางานของตนเอง


3

8. ฝึ กฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน สามารถหาวิธีแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง 9. สร้างเสริ มการมีบุคลิกภาพที่ดี และการวางตัวที่เหมาะสม ทาให้มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมากขึ้น


บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษัท ออดิตพลัส จากัด ประวัตบิ ริษัท ออดิตพลัส จากัด2 เป็ นบริ ษทั ที่ให้บริ การงานสอบบัญชีและบริ การที่เกี่ยวเนื่ องที่ได้จดั ตั้งขึ้นที่กรุ งเทพมหานคร เมื่อวันที่ 25 มิถุน ายน 2552 โดยเปลี่ยนจากคณะบุ คคลสานัก งานออดิ ต พลัส มาเป็ นบริ ษทั จากัด มี ทีมงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตและผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชีที่มีประสบการณ์มากกว่า 20 ปี มีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้บริ การตรวจสอบบัญชี และบริ การที่เกี่ยวเนื่ องแก่ธุรกิจทัว่ ไปตามมาตรฐานการสอบบัญชีของ ประเทศไทย วิสัยทัศน์ (Vision) มุ่งสู่ ค วามเป็ นเลิศทางด้านบริ ก ารด้า นตรวจสอบบัญชี ปฏิบัติ ต ามพรบ.วิชาชี พบัญชี อย่า ง ต่อเนื่องและทันต่อเหตุการณ์อย่างสม่าเสมอ พันธกิจ (Mission) เป็ นบริ ษทั ที่ให้บริ การงานสอบบัญชีและงานบริ การที่เกี่ยวเนื่ อง ที่มุ่งใช้ความรู้ความสามารถ ทัก ษะ ตลอดจนประสบการณ์ด ้านวิชาชี พ เพื่อประโยชน์ต่อลูกค้าและผูใ้ ช้งบการเงิน รวมทั้งรัก ษา ความสัมพันธ์ที่ดีและให้บริ การที่ดีแก่ลกู ค้า อย่างอิสระอันจะยังประโยชน์ที่ยงั่ ยืนอย่างต่อเนื่องแก่ธุรกิจ เศรษฐกิจสืบไป

2

http://www.auditplus.org


5

นโยบายของสานักงาน (Policy) 1. รักษาคุณภาพและมาตรฐานการทางาน ให้เป็ นที่ยอมรับและเชื่อถือในแวดวงผูป้ ระกอบวิชาชีพ 2. เข้าใจลูกค้าและธุรกิจของลูกค้าตลอดจนรักษาความลับของลูกค้า 3. ให้ความรู้รวมทั้งพัฒนาศักยภาพแก่บุคลากรในด้านวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และสม่าเสมอรวมทั้ง ให้ความสาคัญกับการทางานเป็ นทีมความสามัคคีภายในสานักงาน 4. การปฏิบตั ิงานของสานักงานมุ่งเน้นในประสิทธิผลของงาน ด้วยความรวดเร็ ว ถูกต้อง ชัดเจน และตรงต่อเวลา

ภาพที่ 1 สถานที่ฝึกงาน

สถานที่ต้งั : 151/155 ถนนบางแวก แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุ งเทพมหานคร 10160


6

ผังการจัดองค์การและการบริหารจัดการ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต (CPA) กรรมการผูจ้ ดั การ

ผูส้ อบบัญชีภาษีอากร (TA) กรรมการผูจ้ ดั การ

ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี รองกรรมการผูจ้ ดั การ

ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี พนักงานตรวจสอบ

ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี พนักงานตรวจสอบ

ผูช้ ่วยผูต้ รวจสอบบัญชี พนักงานตรวจสอบ

ผลิตภัณฑ์ของบริษัท ออดิตพลัส จากัด บริ การด้านการตรวจสอบบัญชี โดยตรวจสอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชี และประมาณการทาง บัญชี ประเมินความเหมาะสมของการเปิ ดเผยข้อมูล และการนาเสนองบการเงินโดยรวม อีกทั้งแสดง ความเห็นต่องบการเงินประจาปี บริ การตรวจสอบเฉพาะกรณี บริ การให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับการจัดทาบัญชีและภาษีอากร บริ การ ด้านการจดทะเบียนธุรกิจ บริ การตรวจสอบภายใน บริ การวางแผนภาษีอากร บริ การวางระบบบัญชีและ วางระบบข้อมูลทางด้านการบริ หาร รวมถึงบริ การงานที่เกี่ยวเนื่องกับบัญชี


7

กลุ่มลูกค้าของบริษัทบริษัท ออดิตพลัส จากัด บริ ษทั จากัดและห้างหุน้ ส่วนจากัด อาทิเช่น - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองจอก จากัด จังหวัดเพชรบุรี - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนวัดยางเขาย้อย จากัด จังหวัดเพชรบุรี - สหกรณ์ออมทรัพย์ตารวจประจวบคีรีขนั ธ์ จากัด จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ - สหกรณ์ออมทรัพย์ตารวจเพชรบุรี จากัด จังหวัดเพชรบุรี - บริ ษทั เมเจอร์ซีนีพิคเจอร์ จากัด - บริ ษทั ปัญญามัน่ คง จากัด - บริ ษทั ดีจี แคปพิเทล จากัด - บริ ษทั มิกะฟู้ ดส์ จากัด - บริ ษทั เพรสซิเดียม อินสตรู เม้นท์ส (ประเทศไทย) จากัด - บริ ษทั แคนเทค เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด - ห้างหุน้ ส่วนจากัด ฟ้ าไชโย เกทเวย์ ฯลฯ


8

งานที่ได้ รับมอบหมาย ตารางที่ 1 ลาดับที่

การฝึ กปฏิบัติ

คาอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน

1

จั ด ท า ก ร ะ ด า ษ ท า ก า ร กระดาษท าการประกอบงบการเงิ น ได้ แ ก่ ตรวจสอบบัญชี กระดาษท าการคานวณก าไรสุ ท ธิ เพื่ อ เสี ย ภาษี , กระดาษท าการจัด ประเภทค่ า ใช้จ่ า ยแบ่ งตาม ลักษณะ, กระดาษทาการปรับปรุ งและจัดประเภท , กระดาษทาการรายการสิ นทรัพย์ถาวร เพิ่มลด

2

จั ด ท างบการเงิ น จากงบ จัดทากระดาษทาการงบแสดงฐานะการเงินและ ทดลองแบบเต็มรู ป งบกาไรขาดทุน หลังจากเช็คเอกสารว่ามียอดตรง กับงบทดลอง ณ 31 ธ.ค. xx การออกตรวจสอบบั ญ ชี แบ่งกันตรวจสอบเอกสาร เช่น ตรวจใบสาคัญรั บ นอกสถานที่เป็ นทีม กับสมุดรายวันรับ ก า ร จั ด ท า ห น้ า ร า ย งา น จะแตกต่างกันระหว่าง TA และ CPA ผูส้ อบบัญชี TA,CPA เช่น หากเปลี่ยนผูส้ อบจะเป็ นอีกแบบหนึ่ง การจั ด ท าหนั ง สื อยื น ยั น จัดทาใบยืนยันยอดลูกหนี้/เจ้าหนี้ ยอด ขอ Bank Statement เพื่อ ยืน ยัน ยอดกับ เงิน ฝาก ธนาคาร

3 4 5

หมายเหตุ คุณประโยชน์ ที่ ได้ รับ หรือสิ่ งที่ได้ เรี ยนรู้ เพิ่มเติมจากการศึกษาในชั้น เรียน บางกิจการคิดค่าเสื่ อมราคา คอมพิวเตอร์ อัตรา 33.33% แต่ บางกิจ การอาจจะคิด ค่ า เสื่ อมราคาเบื้องต้น ในวัน ที่ ได้ทรั พย์สินนั้นมาในอัตรา 40% และคิ ด 20% ในปี ที่ เหลือ


9

ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการฝึ กงาน 1. ได้เรี ยนรู้การปฏิบตั ิจริ งเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี ว่ามีข้นั ตอนและวิธีปฏิบตั ิเป็ นอย่างไร 2. ฝึ กให้มีค วามรั บผิด ชอบต่ องานที่ ท า เช่ น ข้อ มูลของแต่ ละบริ ษ ัทล้ว นมีค วามส าคัญ ตรวจ เอกสารก็ตอ้ งเก็บเอกสารกลับเข้าที่เดิมให้เรี ยบร้อย 3. ฝึ กให้มีมนุ ษยสัมพัน ธ์ที่ดีก ับพี่และเพื่อนร่ วมงาน เรี ยนรู้ การปรับตัว ให้เข้ากับสถานที่ ที่ไป ทางาน 4. ฝึ กให้นาความรู้ที่เรี ยนมา นามาประยุกต์ใช้ เพราะการตรวจสอบบัญชีตอ้ งใช้ความรู้ที่ถูกต้อง มาวิเคราะห์ และปรับปรุ ง ข้ อเสนอแนะ 1. ควรแบ่งงานให้เป็ นขั้นตอน เพื่อความสะดวกและป้ องกันการผิดพลาด 2. สถานที่ในการทางาน มีผลต่ อประสิ ทธิภาพในการทางาน ควรมีสถานที่ให้เพียงพอกับการ ปฏิบตั ิงานของพนักงาน ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่ รายงานการศึกษา การตรวจสอบบัญชี หากจะทาให้เป็ นระเบียบ และถูกต้องจาเป็ นต้องรู้หลักการ วิธีการ หรื อ ขั้นตอนที่ถกู ต้อง บางทีความรู้ดา้ นการสอบบัญชี อาจจะมีส่วนสาคัญในการตรวจสอบแล้ว แต่บางทีเรา จาเป็ นต้องใช้ข้นั ตอนการตรวจสอบบัญชีสาหรับในทางปฏิบตั ิจริ ง เพราะการใช้ความรู้เพียงอย่างเดียว แต่ไม่มีข้นั ตอน เราอาจจะพลาดการตรวจสอบบางส่วนไป ซึ่งถ้าพลาดส่ วนนั้นอาจจะส่ งผลกระทบให้ ผิดพลาดทั้งหมด นัน่ คือเป็ นสาระสาคัญนัน่ เอง


10

จากการทากระดาษทาการวิเคราะห์ทรัพย์สินถาวรเพิ่มลด รวมถึงการคานวณค่าเสื่ อมราคาของ สิ น ทรั พ ย์ ท าให้สนใจที่ จ ะน ามาทาการศึก ษาเรื่ อ งการตรวจสอบบัญชี ที่ ดิ น อาคาร และอุป กรณ์ อย่างเช่น การคิดค่าเสื่อมราคาต่าไปหรื อสูงไป จะส่งผลกระทบต่อกาไรที่มากขึ้นหรื อน้อยลง ส่ งผลต่อ การแสดงงบการเงิน อีกทั้งการคิดค่าเสื่ อมราคาใช้หลักดาเนิ นการต่อเนื่ อง ซึ่งเป็ นส่ วนสาคัญ เพราะ หากตัดค่าเสื่อมราคาผิดก็จะส่งผลกระทบต่อการคิดค่าเสื่อมในปี ถัดไป การตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จึงเป็ นส่วนสาคัญในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบบัญชี


บทที่ 3 การตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อให้ทราบถึงความหมายและวิธีการตรวจสอบของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 2. เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการตรวจสอบบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 3. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการตรวจสอบที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ในทางปฏิบตั ิจริ ง 4. เพื่อให้ทราบถึงอายุการใช้งานและการคิดค่าเสื่อมราคาของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 5. เพื่อให้ทราบถึงหลักการหรื อวิธีการในการตรวจสอบตามมาตรฐานบัญชีเพื่อรับรองงบการเงิน การตรวจสอบบัญชีทดี่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ สิ น ทรั พย์ถาวร หมายถึง สิ น ทรั พย์ที่มีต ัว ตนซึ่ งเข้าเงื่ อนไขทุ ก ข้อ ดังนี้ กิ จ การมีไว้เพื่อใช้ ประโยชน์ ในการผลิต เพื่อ ใช้ในการจ าหน่ ายสิ น ค้า หรื อให้บ ริ ก าร เพื่ อให้เ ช่ า หรื อเพื่อ ใช้ในการ บริ หารงาน และกิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบปี บัญชี สินทรัพย์ถาวร สามารถแบ่งประเภทออกตามลักษณะของสินทรัพย์เป็ น 2 ประเภท ดังนี้ 1. สิ นทรัพย์ ถาวรที่มีตัวตน (Tangible Fixed Assets) หมายถึง สิ นทรัพย์ที่มีรูปร่ าง สามารถ มองเห็นสัมผัสและจับต้องได้ กิจการมีไว้เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานและอายุการใช้งานยาวนานหลายปี เช่น ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ เครื่ องจักร รถยนต์ เป็ นต้น


12

2. สินทรัพย์ถาวรที่ไม่มตี วั ตน (Intangible Fixed Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่ าง และ ไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้ แต่สามารถวัดมูลค่าได้ และให้ประโยชน์ในการดาเนิ นงาน แต่มีความไม่ แน่นอนของประโยชน์ในอนาคตค่อนข้างสูง เช่น ค่าความนิ ยม ลิขสิ ทธิ์ สิ ทธิบตั ร เครื่ องหมายการค้า สัมปทาน เป็ นต้น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ หมายถึง สิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนที่กิจการมีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการ ผลิต เพื่อใช้ในการจาหน่ ายสิ นค้าหรื อให้บริ การ เพื่อให้เช่าหรื อเพื่อใช้ในการบริ หารงาน โดยกิจการ คาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบระยะเวลารายงาน ราคาทุน หมายถึง จานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่กิจการจ่ายไปหรื อมูลค่ายุติธรรม ของสิ่งอื่นที่กิจการมอบให้ เพื่อให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ ณ เวลาที่ซ้ือหรื อสร้างสินทรัพย์น้ นั หรื อ ราคาทุน คือ ราคาซื้อรวมกลับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการซื้อจนทาให้สินทรัพย์อยู่ในสภาพพร้อมที่ จะใช้งานได้ตามต้องการ ค่าเสื่ อมราคา คือ ค่าใช้จ่ายที่ตดั จากมูลค่าของสินทรัพย์ ที่กิจการใช้ประโยชน์ประจางวดทั้งนี้ เพราะสินทรัพย์ประเภทอาคาร อุปกรณ์ เครื่ องจักร รถยนต์ เป็ นสินทรัพย์ที่มีไว้ใช้งานเป็ นระยะเวลา ยาวนานและมักจะมีมลู ค่าสูง จึงมีการประมาณประโยชน์จากสินทรัพย์เหล่านี้เฉลี่ยเป็ นค่าใช้จ่ายแต่ละ งวด นัน่ คือ ภายหลังที่กิจการได้นาสินทรัพย์ถาวรที่มีอยูม่ าใช้ในการดาเนินงานเพื่อหาประโยชน์ มูลค่า ของสินทรัพย์ยอ่ มลดลงไปจาก วันที่ซ้ือตามการเสื่ อมสภาพของลักษณะการใช้งาน หรื อตามกาลเวลา ทาให้ประโยชน์และประสิทธิภาพในการใช้งานของสิ นทรัพย์ลดลง จึงควรทาการเฉลี่ยมูลค่าเริ่ มแรก หรื อราคาทุนตามอายุการใช้งานอย่างมีระบบ เพื่อคานวณมูลค่าที่เสื่ อมลงในแต่ละงวดบัญชีต ัดเป็ น ค่าใช้จ่ายประจางวด เรี ยกว่า “ค่าเสื่ อมราคา” การคานวณค่าเสื่ อมราคา ณ วันสิ้ นงวดบัญชีหรื อทุกสิ้ น เดือน ถือเป็ นการบันทึกรายการปรับปรุ งเพื่อให้รายการบัญชีเกี่ยวกับ สิ นทรัพย์ถาวรทุกรายการ แสดง มูลค่าตามความเป็ นจริ ง ค่าเสื่อมราคา ถือเป็ นค่าใช้จ่ายของกิจการที่ไม่ได้เป็ นตัวเงิน เนื่ องจากเมื่อกิจการซื้อสิ นทรัพย์ มา ซึ่งมีราคาสูง และมีการใช้งานหลายปี ถ้าจะบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายทั้งจานวนเลยก็จะทาให้มีค่าใช้จ่าย


13

สูงในปี ที่ซ้ือสินทรัพย์ ส่วนปี ถัดไปจะไม่มีค่าใช้จ่ายเลยแม้ว่าจะใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์น้ นั ๆ ดังนั้น จึงต้องมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายตามจานวนปี ที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์น้ นั ค่าเสื่อมราคาสะสม เป็ นบัญชีหมวดสินทรัพย์ แต่เป็ นตัวลดยอดของสิ นทรัพย์น้ นั ๆ เพราะเมื่อ กิจการซื้อสินทรัพย์มา ก็จะบันทึกเป็ นสินทรัพย์ แต่สินทรัพย์น้ ีเมื่อมีการใช้งานแล้วจะเสื่อมค่าลง ดังนั้น ทุกสิ้นปี จึงต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา เพื่อลดยอดสินทรัพย์ลง วิธีการคานวณค่าเสื่อมราคา 1. วิธีเส้นตรง (Straight-line Method) การคานวณค่าเสื่ อมราคาวิธีน้ ี มีขอ้ สมมติฐานว่า จะได้รับ ผลประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เท่ากันทุกปี ตลอดอายุการใช้งาน ค่าเสื่อมราคาต่อปี

= ราคาทุน – ราคาซาก อายุการใช้งาน หรื อ ค่าเสื่อมราคา/ปี = (มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) ) x อัตราค่าเสื่อมราคา 2. วิธีตามชัว่ โมงการทางาน (Working-hours Method) หรื อ วิธีตามจานวนผลผลิต (Productiveoutput Method) การคานวณค่าเสื่อมราคาวิธีน้ ีจะใช้จานวนชัว่ โมงการทางานหรื อจานวนหน่วยผลิตเป็ น เกณฑ์ในการปั น ส่ ว น วิธีน้ ี กิจ การมีขอ้ สมมติฐานว่าสิ น ทรั พย์เกิด การเสื่ อมสภาพลงจากการใช้งาน ดังนั้น ค่าเสื่อมราคาของแต่ละปี จึงไม่เท่ากัน 2.1 อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชัว่ โมงหรื อจานวนหน่วยผลิต คานวณจาก ราคาทุน – ราคาซาก / ประมาณชัว่ โมงการทางานหรื อจานวนหน่วยผลิตตลอดอายุ การใช้งานของสินทรัพย์ถาวร 2.2 ค่าเสื่อมราคาประจาปี คานวณจาก จานวนชัว่ โมงการทางานในแต่ละปี x อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชัว่ โมง (หน่วย)


14

3. ยอดคงเหลือลดลง (Decreasing Charge Method) โดยหลักความเป็ นจริ งสิ นทรัพย์ที่ซ้ือเข้ามา ใหม่ ย่อมมีประสิทธิภาพการใช้งานสูง ดังนั้นจึงควรปั นส่ วนราคาทุนของสิ นทรัพย์เป็ นค่าเสื่ อมราคา ประจางวดในปี แรก ๆ ของการใช้งานจานวนสูงกว่าในช่วงเวลาหลัง วิธีน้ ีแยกพิจารณาเป็ น 2 วิธี ดังนี้ 3.1 วิธียอดลดลงทวีคูณ (Double declining balance Method) หลักการคานวณคือ จะคานวณหา อัตราค่าเสื่อมราคาต่อปี และปรับจานวนเป็ น 2 เท่า นาอัตราสองเท่าที่คานวณได้ไปคานวณหาค่าเสื่ อม ราคาประจางวด โดยคานวณจากราคาตามบัญชี (Book Value) ของสินทรัพย์ถาวรที่ลดลงทุกปี และวิธีน้ ี ไม่นาราคาซากมาเกี่ยวข้องกับการคานวณ 3.2 วิธีผลรวมจานวนปี (Sum-of-the-years’-digits) วิธีน้ ีจะถือจานวนปี หรื ออายุการใช้งานของ สินทรัพย์ถาวรเป็ นเกณฑ์ โดยใช้ผลบวกรวมทั้งสิ้ นในรู ปของเศษส่ วน และจานวนเศษส่ วนจะค่อย ๆ ลดลงตามลาดับ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อจานวนค่าเสื่อมราคาประจางวดบัญชี ผลรวมจานวนปี = n(n+1) /2 ราคาสุทธิ = ราคาทุน – ราคาซาก หมายเหตุ n = จานวนปี ที่คาดว่าสินทรัพย์จะใช้งานได้ การเลิกใช้ และจาหน่ ายสินทรัพย์ถาวรออกจากบัญชี การเลิกใช้หรื อจาหน่ายสินทรัพย์ถาวร กิจการจะบันทึกบัญชีเครดิตรายการสินทรัพย์ถาวรออก จากบัญชีดว้ ยราคาทุน และบันทึกบัญชีดา้ นเดบิตด้วยบัญชีค่าเสื่ อมราคาสะสมตามจานวนอายุการใช้ งานจนถึงวันเลิกใช้ ผลต่างคือมูลค่าของสิ นทรัพย์ ณ วัน นั้นซึ่ งสู งหรื อต่ากว่าราคาตามบัญชี (Book Value) ต้องรับรู้เป็ นกาไร(ขาดทุน) จากการเลิกใช้หรื อจาหน่ายสินทรัพย์ ขั้นตอนการตรวจสอบบัญชีโดยรวม เริ่ มจากจดบันทึกรายการเอกสารต่างๆที่ได้รับจากกิจการ ทาการทดลอบบวกเลขในงบทดลองของกิจการ ต่อจากนั้นทดสอบยอดคงเหลือโดยดูจากงบทดลองกับ บัญชีแยกประเภท และทดสอบยอดยกมาโดยดูจากงบการเงินปี ก่อนหรื อ กระดาษทาการกับบัญชีแยก ประเภท หลังจากนั้นจัดทากระดาษทาการโดยดูจากงบทดลองหรื องบกาไรขาดทุน ตรวจเอกสารต่างๆ


15

ได้แก่ ใบสาคัญรับเงิน กับสมุดเงินสดรับ, ใบสาคัญจ่ายเงินกับสมุดจ่ายเงิน , ใบสาคัญรายวันทัว่ ไปกับ สมุดรายวันทัว่ ไป, สมุดธนาคารรับจ่ายกับสมุดรายวันทัว่ ไป, สมุดรายวันซื้อกับใบส่ งของลูกค้าของ กิจการที่ ตรวจสอบหรื อใบกากับภาษีซ้ือ, สมุด รายวันขายกับใบส่ งของของกิจการที่ตรวจสอบหรื อ ใบกากับภาษีขาย ต่อจากนั้น จัดทารายละเอียดประกอบงบดุล งบกาไรขาดทุน แต่ละรายการ สิ นทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่าย รวมถึงจัดทาการวิเคราะห์รายการสินทรัพย์ถาวรเพิ่มลด และเขียนสรุ ปผล การปฏิบตั ิงาน วิธีการตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มีดงั นี้ ขอและตรวจรายละเอียดที่ บริ ษทั ทาขึ้น ตรวจยอดรวมกับยอดคงเหลือในสมุด บัญชี ตรวจกับทะเบี ยนสิ น ทรัพย์ถาวร ทารายการสรุ ปเพื่อ กระทบยอดกลับไปหายอดคงเหลือต้นงวดตามงบปี ที่แล้ว ตรวจสอบการเคลื่อนไหวในระหว่างปี พิจารณานโยบายในการกาหนดรายจ่ายฝ่ ายทุน ดูว่าการซื้อทรัพย์สินเพิ่ม ในระหว่างงวด ได้ถือเป็ น รายจ่ายฝ่ ายทุ นอย่างถูก ต้อง ดู ว่าได้ประมาณอายุการใช้งานไว้อย่างเหมาะสม ตรวจการอนุ มตั ิ การ ซื้ อ และหลัก ฐานประกอบ ตรวจสอบก าไรหรื อขาดทุ น จากการขาย ตรวจสอบการอนุ มตั ิ ก าร ขาย ตรวจสอบหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ในการถือสินทรัพย์ถาวร ตรวจโฉนดที่ดิน ตรวจนับสิ นทรัพย์ ถาวร โดยเฉพาะที่มีราคาสูง จากนั้นทดสอบการคานวณค่าเสื่อมราคา ตรวจยอดรวมว่าตรงกับยอดตาม สมุดบัญชี ตรวจดูว่าค่าเสื่อมราคาประจาปี ที่คานวณนั้นตรงกับรายการในงบกาไรขาดทุน ดูว่าวิธีการคิด ค่าเสื่ อมราคาได้ใช้ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอหรื อไม่ ดูนโยบายในการจัดจ าหน่ ายสิ น ทรัพย์เบ็ดเตล็ดว่า เหมาะสมหรื อไม่ ดูว่าได้มีการสารองไว้เพียงพอสาหรับการซ่อมแซมใหญ่แ ละค่าปรับปรุ งหรื อไม่ ใน กรณี ที่จาเป็ น ดูว่าสิ น ทรั พย์ถาวรทั้งหมดได้มีก ารประกัน ภัยไว้อย่างเพีย งพอหรื อไม่ และถ้ามีก าร ประเมินราคาสินทรัพย์ในระหว่างงวดให้ตรวจดูรายงานการสินทรัพย์ประจา


16

ตัวอย่างแนวการตรวจสอบ ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ บริษัท ...............................จากัด ชื่อลูกค้า........................................... แนวการสอบบัญชี ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ สาหรับปี สิ้นสุดวันที่............................................... วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ เพือ่ ให้ แน่ใจว่า 1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันสิ้นงวดของกิจการ มีอยูจ่ ริ ง บันทึกบัญชีถกู ต้องครบถ้วน 2. กิจการมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และกิจการยังมีภาระหนี้สินที่ตอ้ งชาระต่อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์อีกหรื อไม่ 3. กิจการตีราคาและแสดงมูลค่า อย่างเหมาะสมตามหลักการบัญชีถูกต้องตามหลัก การบัญชี ที่ รับรองทัว่ ไป 4. ค่าเสื่อมราคาและค่าเสื่ อมราคาสะสม ได้คานวณอย่างถูกต้องและนามาลงบัญชีครบถ้วนตาม หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปและถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกับปี ก่อน ค่าเสื่ อมราคาได้จดั สรรประเภทบัญชี ค่าใช้จ่ายอย่างถูกต้อง 5. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่เลิกใช้งานและจาหน่ ายแล้ว ได้โอนออกจากบัญชีทรัพย์สินและ บันทึกรายการกาไรหรื อขาดทุนจากการจาหน่ายหรื อเลิกใช้อย่างถูกต้อง 6. การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินได้แสดงไว้อย่างถูกต้องครบถ้วน 7. สินทรัพย์ถาวรที่นาไปจานองหรื อค้ าประกันได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 8. การเพิม่ ขึ้นของสินทรัพย์ถาวรระหว่างปี ได้บนั ทึกบัญชีอย่างถูกต้อง และไม่ได้บนั ทึกรายจ่าย ฝ่ ายทุนที่สาคัญเป็ นค่าใช้จ่าย


17 3 ตารางที่ 2 วิธีการตรวจสอบบัญชี สินทรัพย์ถาวร การทดสอบสาระสาคัญ (Substantive Test) วิธีการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบเริ่มแรก 1. วิเคราะห์เปรี ยบเทียบบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าเสื่ อมราคา และค่าเสื่ อมราคาสะสมของงวดปัจจุบนั และงวดก่อน โดยพิจารณาถึง 1.1 ราคาทุนและค่าเสื่ อมราคาสะสมของสิ นทรัพย์แต่ละประเภท 1.2 สิ นทรัพย์ที่ซ้ื อหรื อจาหน่ายในระหว่างงวด 1.3 ประเมินคาตอบที่ได้รับ และพิจารณาว่าจะต้องใช้วิธีการตรวจสอบ เพิ่มเติมหรื อจะลดขอบเขตวิธีการตรวจสอบอื่นลง 2. เปรี ยบเทียบค่าซ่ อมแซม และบารุ งรักษาปี ปัจจุบนั กับปี ก่อน ทั้งในจานวนเงิน และอัตราต่อยอดขายเพื่อดูความแตกต่างและสอบสวนหาสาเหตุ 2. วิธีการตรวจสอบก่ อนวันสิ้ นปี 1. พิจารณานโยบายการบันทึกรายจ่ายฝ่ ายทุนโดยพิจารณาว่า ก. ลักษณะและต้นทุนย่อยรายตัวที่ประกอบขึ้นเป็ นรายจ่าย ฝ่ ายทุน การบันทึกสิ นทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น เพื่อการตัด ค่าเสื่ อมราคา และการจัดเป็ นสิ นทรัพย์ถาวรไม่ใช้งาน ข. ความสม่าเสมอในการถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกับปี ก่อน 2. พิจารณานโยบายการตัดค่าเสื่ อมราคาโดยพิจารณาถึง ก. วิธีการใช้ประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากหลักเกณฑ์การ คิดค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ ที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลงระหว่างปี และวิธี การบันทึกบัญชีสินทรัพย์ที่ตดั ค่าเสื่ อมราคาเต็มแล้ว ข. ความสม่าเสมอในการถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกับปี ก่อน 3. ตรวจสอบให้ทราบผลของการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการบัญชี วิธีการ และอัตราที่ใช้คานวณค่าเสื่ อมราคา

การะดาษทา การอ้ างอิง

ปัญหาที่ ตรวจพบ

ตรวจสอบ โดย / วันที่


18

วิธีการตรวจสอบ 4. ขอสาเนางบกระทบยอดของยอดคงเหลือของบัญชียอ่ ยของสิ นทรัพย์ ถาวรกับบัญชีคุมยอดในบัญชีแยกประเภทตรวจสอบเอกสารประกอบรายการ ปรับปรุ งที่กิจการจัดทาขึ้นเพื่อให้ยอดตรงกัน 5. ทดสอบรายการกระทบยอดในขั้นตอนที่ 4 ดังนี้ ก. ในกรณี ที่บญั ชียอ่ ยอยูใ่ นรู ปแบบกระดาษทาการสิ นทรัพย์ถาวร หลักฐานแสดงการกระทบยอด จะเป็ นยอดรวมในตอนท้ายของ กระดาษทาการสิ นทรัพย์ถาวรแต่ละประเภท ข. ในกรณี ที่บญั ชียอ่ ยอยูใ่ นรู ปแบบบัตรสิ นทรัพย์ถาวร สาหรับ แต่ละรายการหลักฐานแสดงการกระทบยอดจะอยูใ่ นรู ปกระดาษ เครื่ องบวกเลข 6. ขอรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงในบัญชีสินทรัพย์ถาวร และบัญชีค่าเสื่ อม ราคาสะสมที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ทาการตรวจสอบก่อนวันสิ้นปี 7. ตรวจสอบเอกสารประกอบการเพิ่มขึ้น ใบกากับสิ นค้า การอนุมตั ิ การ กระจายต้นทุน การกระจายค่าแรง ใบขออนุมตั ิซ้ื อวัสดุ สัญญากับบริ ษทั ก่อสร้าง ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงในค่าเสื่ อมราคาสะสม มูลค่าสูญสิ้ นสะสม และการตัดบัญชีเป็ นค่าใช้จ่ายระหว่างงวด 8. ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขาย เลิกใช้หรื อจาหน่ายสิ นทรัพย์ ถาวร ในระหว่างปี ดูว่ามีการโอนค่าเสื่ อมราคาสะสม มูลค่าเสื่ อมสิ้ นสะสมหรื อการ ตัดบัญชีเป็ นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกันโอนจากบัญชีโดยถูกต้อง 9. สอบทานรายการในบัญชีงานระหว่างก่อสร้าง 10. สอบทานบัญชีค่าใช้จ่ายซ่ อมแซมและบารุ งรักษาให้แน่ใจว่าไม่มีรายจ่ายฝ่ าย ทุนทีได้บนั ทึกบัญชีเป็ นค่าใช้จ่าย

กระดาษทา การอ้ างอิง

ปัญหาที่ ตรวจพบ

ตรวจสอบ โดย / วันที่


19

วิธีการตรวจสอบ 11. พิจารณาตรวจนับสิ นทรัพย์ถาวรที่เพิ่มขึ้นที่เป็ นสาระสาคัญ หากมีทาการ ตรวจนับ ควรจะเข้าตรวจนับในโรงงานในช่วงเวลาที่การผลิตสู งสุด ทั้งนี้เพื่อดู ว่า มีสินทรัพย์ที่ได้ได้ใช้หรื อที่เกินความต้องการ 12. ตรวจสอบกรรมสิ ทธิ์ในสิ นทรัพย์ เช่น โฉนดที่ดิน สัญญาซื้ อขาย เป็ นต้น ถ้า นาสิ นทรัพย์ไปจานอง ส่ งหนังสื อยืนยันกับผูร้ ับจานอง 13. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสิ นทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้งาน ไม่ได้แสดงข้อมูลค่าที่สูงกว่า มูลค่าที่คาดว่าจะขายได้ 14. ให้ความสนใจเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ที่โอนไป/รับโอนมาจากบริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง โรงงาน และสาขา หรื อระหว่างประเภทของสิ นทรัพย์ ตรวจสอบการบันทึกค่าติดตั้ง ค่าขนส่ ง ค่ารื้ อถอนเป็ นทุนอีกครั้ง กระทบยอด การโอนเข้าและโอนออก 15. ทาการทดสอบการปฏิบตั ิตามระบบตั้งแต่วนั ที่ทาการตรวจสอบก่อนวันสิ้ น ปี จนถึงวันสิ้ นปี 3. การตรวจสอบ ณ วันสิ้ นปี 1. สอบทานรายการในบัญชีแยกประเภทที่กระทบบัญชีสินทรัพย์ถาวร และ บัญชีค่าเสื่ อมราคาสะสมระหว่างวันที่ทาการตรวจสอบก่อนวันสิ้ นปี จนถึงวัน สิ้ นปี ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการผิดปกติ 2. ขอสาเนาการกระทบยอดคงเหลือของบัญชีสินทรัพย์ถาวร และค่าเสื่ อมราคา สมสมระหว่างบัญชียอ่ ย และบัญชีคุมยอดในบัญชีแยกประเภท 3. ขอให้พนักงานของบริ ษทั จัดทาการวิเคราะห์บญั ชีสินทรัพย์ถาวร พิจารณาว่า ได้บนั ทึกกาไรหรื อขาดทุนโดยถูกต้อง 4. พิจารณาว่าจะต้องปรับมูลค่าของสิ นทรัพย์ให้ลดลง สาหรับสิ นทรัพย์ที่มีคา ขอให้จาหน่ายหรื อซื้ อหามาทดแทนใหม่ หรื อสาหรับสิ นทรัพย์ที่เลิกใช้งานแล้ว ณ วันสิ้ นปี พิจารณาจัดประเภทบัญชีใหม่

กระดาษทา การอ้ างอิง

ปัญหาที่ ตรวจพบ

ตรวจสอบ โดย / วันที่


20

วิธีการตรวจสอบ

กระดาษทา การอ้ างอิง

ปัญหาที่ ตรวจพบ

5. ตรวจสอบให้แน่ใจว่ากาไรระหว่างบริ ษทั ในเครื อ หรื อระหว่างแผนกที่ รวมอยูใ่ นสิ นทรัพย์ได้ตดั ออกจากบัญชี 6. ตรวจสอบการบันทึกสิ นทรัพย์ที่เช่า สัญญาเช่า และคานวณว่า สัญญาเช่าใดที่ ควรบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ เปรี ยบเทียบรายการเช่าสิ นทรัพย์ที่ตรวจสอบแล้ว กับ กระดาษทาการปี ก่อน และวิธีการตรวจสอบบัญชีค่าเช่า เพื่อพิจารณาว่ารายการ เช่าสิ นทรัพย์ที่สาคัญได้ตรวจสอบแล้ว 7. พิจารณาว่ามีการนาสนทรัพย์ไปค้ าประกันหนี้สินหรื อไม่ ในกรณี ที่มีการนา สิ นทรัพย์ไปค้ าประกันหลายรายการ ขอรายละเอียดสิ นทรัพย์ที่นาไปค้ าประกัน และจานวนหนี้สินที่เกี่ยวข้องกัน

วิธีการปฏิบัตจิ ริงในการตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ วิธีการตรวจสอบบัญชี 1. สอบทานนโยบายการคิดค่าเสื่อมราคาของกิจการใช้วิธีใด ซึ่งดูได้จากหมายเหตุประกอบงบการเงินในรายงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตปี ก่อน

ตรวจสอบ โดย / วันที่


21

ภาพที่ 2 นโยบายการบัญชีที่สาคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

2. ขอรายละเอียดที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จากกิจการ ตรวจสอบว่ายอดตรงกับงบทดลองหรื อไม่ ซึ่งดูได้จากทะเบียนทรัพย์สินที่แสดงข้อมูลการคิดค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ โดยเรี ยงข้อมูลตาม วันที่ซ้ือ , หมวด , แผนก ซึ่งสามารถเลือกได้ว่าต้องการเรี ยกดูขอ้ มูลตามรหัสวันที่คิดค่าเสื่ อ ม, รหัส หมวด, รหัสแผนก, รหัสประเภท, รหัสสินทรัพย์ หรื อวันที่ซ้ือได้ 3. ทดสอบการคานวณตัวเลขค่าเสื่อมราคาว่ามีการคานวณโดยถูกต้อง และใช้วิธีการคิดค่าเสื่ อม ราคาเช่นเดียวกับปี ก่อน


22

ตารางที่ 3 อายุการใช้ งานและอัตราค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน อายุการใช้ งาน(ปี )

อัตราค่ าเสื่ อมราคา/ปี

ประเภททรัพย์สิน

ร้ อยละ อย่างต่า

อย่างสู ง

อย่างต่า

อย่างสู ง

1. อาคารถาวร

15

40

2.5

6.5

2. อาคารชัว่ คราว/โรงเรื อน

8

15

6.5

12.5

15

25

4

6.5

5

15

6.5

20

4. ครุ ภณ ั ฑ์สานักงาน

8

12

8.5

12.5

5. ครุ ภณ ั ฑ์ยานพาหนะและขนส่ ง

5

8

12.5

20

6. ครุ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าและวิทยุ(ยกเว้นเครื่ อง

5

10

10

20

5

10

10

20

8.1 เครื่ องมือและอุปกรณ์

2

5

20

50

8.2 เครื่ องจักรกล

5

8

12.5

20

9.1 เครื่ องมือและอุปกรณ์

2

5

20

50

9.2 เครื่ องจักรกล

5

8

12.5

20

2 5

5 8

20 12.5

50 20

3. สิ่ งก่อสร้าง 3.1 ใช้คอนกรี ตเสริ มเหล็กหรื อโครงเหล็ก เป็ นส่ วนประกอบ 3.2 ใช้ไม้หรื อวัสดุอื่นๆเป็ นส่ วนประกอบหลัก

กาเนิดไฟฟ้ าให้มีอายุการใช้งาน 15-20ปี ) 7. ครุ ภณ ั ฑ์โฆษณาและเผยแพร่ 8. ครุ ภณ ั ฑ์การเกษตร

9. ครุ ภณ ั ฑ์โรงงาน

10. ครุ ภณ ั ฑ์ก่อสร้าง 10.1 เครื่ องมือและอุปกรณ์ 10.2 เครื่ องจักรกล


23

11. ครุ ภณ ั ฑ์สารวจ

8

10

10

12.5

12. ครุ ภณ ั ฑ์วิทยาศาสตร์ และการแพทย์

5

8

12.5

20

13. ครุ ภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์

3

5

20

33

ที่มา : กรมบัญชีกลางที่กาหนดไว้ในหลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐฉบับที่ 1 (อัตราค่าเสื่อมราคา ทรัพย์สิน) สาหรับที่ดินจะไม่มีการคานวณค่าเสื่ อมราคา การคานวณค่าเสื่ อมราคาของทรัพย์สินตัวอื่นๆ ได้แก่ 3.1 ค่าเสื่อมราคาสาหรับทรัพย์สินอายุ 5 ปี = (ราคาทุน-ซาก) x 20% / 365 3.2 ค่าเสื่อมราคาสาหรับทรัพย์สินอายุ 3 ปี = (ราคาทุน-ซาก) x 33.33% / 365 3.3 ค่าเสื่อมราคาคอมพิวเตอร์ ทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์ ที่มีสิทธิหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อม ราคาได้ภายใน 3 ปี หมายถึง เครื่ องอิเล็กทรอนิ กส์แบบอัตโนมัติทาหน้าที่เสมือนสมองกลใช้สาหรับ แก้ปัญหา ต่างๆ ทั้งที่ง่าย และซับซ้อน โดยวิธีทางคณิ ตศาสตร์ ตลอดจนอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ อนั ได้แก่ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ เครื่ องช่วยหรื อเครื่ องประกอบกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น ทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์ จึงประกอบไปด้วย คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หากบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลได้ซ้ือคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เข้ามาใช้ในกิจการมีสิทธินาไปหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่ อมราคาได้ภายใน 3 รอบระยะเวลาบัญชีนับแต่ วันที่ ได้ทรัพย์สิน นั้นมา เช่น กิจ การซื้อคอมพิว เตอร์ เข้ามาใช้งานมูลค่า 60,000 บาท ก็สามารถหัก


24

ค่าสึกหรอ และค่าเสื่ อมราคาได้ปีละ 20,000 บาท สาหรับปี สุ ดท้ายกิจการหักค่า สึ กหรอ และค่าเสื่ อม ราคาจะหมดมูลค่าไม่ได้ตอ้ งเหลือไว้ไม่น้อยกว่า 1 บาท แต่ในกรณี ที่รอบระยะเวลาบัญชีใดไม่เต็ม 12 เดือนให้เฉลี่ยตามส่วนสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีน้ นั โดยจะเลือกใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรองทัว่ ไปวิธีใดก็ได้ ซึ่งเรามักจะพบว่า บริ ษทั หรื อห้าง หุน้ ส่วนนิติบุคคลส่วนใหญ่มกั จะเลือกใช้วิธีเส้นตรงที่หกั ค่า สึกหรอ และค่าเสื่อมราคาเท่ากันทุกปี หาก นาไปคานวณค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาคอมพิวเตอร์ภายใน 3 ปี ก็จะมีอตั ราร้อยละ 33.33 ต่อปี โดยวิธี เส้นตรง ปัญหาที่มกั จะพบอยูบ่ ่อยๆ ก็คือ เมื่อกิจการได้ซ้ือคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกิจการจะต้องหักค่า สึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาภายใน 3 ปี หรื อ 33.33% ทุกครั้งใช่หรื อไม่ จะหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อม ราคา 20% ต่อปี หรื อภายใน 5 ปี ได้หรื อไม่ หลักในการหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาตามประมวล รัษฎากรนั้น บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาโดยใช้วิธีการทางบัญชีที่ รับรองทัว่ ไป ซึ่งมีอตั ราการหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาไม่เท่ากันในแต่ละปี ระหว่างอายุการใช้ ทรัพย์สิน บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลนั้นจะหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาตามวิธีน้ นั ในบางปี เกินอัตราที่กาหนดข้างต้นก็ได้ แต่จานวนปี อายุการใช้ของทรัพย์สิน เพื่อการหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่ อม ราคาต้องไม่นอ้ ยกว่า 100 หารด้วยจานวนร้อยละกาหนดข้างต้น หากกิจการเลือกหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาในอัตรา 20% ต่อปี หรื อหักภายใน 5 ปี ก็ สามารถกระทาได้เนื่องจากไม่เกินกว่าอัตราที่กฎหมายกาหนด (33.33%) นอกจากนี้ประมวลรัษฎากรได้ ให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจขนาดย่อมมีสิทธิหกั ค่า สึกหรอ และค่าเสื่อมราคาได้มากกว่าอัตราที่กฎหมาย กาหนด (33.33%) คาว่า ธุร กิจขนาดย่อม ที่มีสิทธิ หักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาได้มากกว่า อัตรา 33.33% จะต้องเป็ นบริ ษทั หรื อห้างหุ ้นส่ วนนิ ติบุคคลที่ 1.มีสินทรัพย์ถาวร ซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท 2. มีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน ข้อ 1 และ ข้อ 2 จะต้องเข้าเงื่อนไขครบทั้ง 2 ข้อภายใน 1 รอบระยะเวลาบัญชี ธุรกิจขนาดย่อม ดังกล่าวมีสิทธิหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน สาหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หกั ตามเงื่อนไข และอัตราที่กาหนดข้างต้นภายใน


25

3 ปี ตัวอย่างเช่น บริ ษทั ได้ซ้ือเครื่ องคอมพิวเตอร์มา 1 เครื่ องมูลค่า 60,000 บาท ซึ่งภายในรอบระยะเวลา บัญชีบริ ษทั มีสินทรัพย์ถาวรไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน กิจการจะคานวณค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาได้ดงั นี้ ราคาทุ นของเครื่ องคอมพิวเตอร์ 60,000 บาท หักค่ าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคา ณ วัน ที่ได้ ทรัพย์สินมา 40% เท่ากับ 24,000 บาท คงเหลือเท่ากับ 36,000 บาท หักค่าสึกหรอ และค่าเสื่ อมราคา เมื่อ สิ้นปี ที่ 1 ในอัตรา 33.33% เท่ากับ 12,000 บาท คงเหลือสิ้นปี ที่ 1 เท่ากับ 24,000 บาท ทาให้เมื่อสิ้ นรอบ ระยะเวลาบัญชีปีที่ 1 กิจการจะหักค่าสึ กหรอ และค่าเสื่ อมราคาได้เป็ นเงิ น 36,000 บาท (24,000 + 12,000) และในปี ที่ 2 และ 3 หักได้อีกปี ละ 12,000 บาท 4. วิเคราะห์บญั ชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสาหรับรายการที่เพิ่มหรื อลดต้องเข้าไปตรวจดูว่า การเพิ่มลดของการขายทรัพย์สินดังกล่าวมีเอกสารประกอบครบถ้วนได้รับการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจแล้ว 5. กรณี ที่มีการขายทรัพย์สิน ได้มีการบันทึกกาไร(ขาดทุน) จากการขายทรัพย์สินโดยถูกต้องแล้ว (สาหรับทรัพย์สินที่มีการคานวณค่าเสื่ อมราคาต้องมีการบันทึก Book Value ถึง ณ วันขายโดยถูกต้อง แล้ว) เช่น ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เมื่อ 1 กันยายน 25x1 บริ ษทั นนทรี จากัด ซื้ออุปกรณ์สานักงานราคา 250,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี ราคาซากที่คาดว่าจะขายได้เมื่อครบอายุใช้งาน 40,000 บาท บริ ษ ัทฯ ใช้วิธีเส้นตรงในการคานวณค่าเสื่ อมราคา ในวันที่ 30 กันยายน 25x8 บริ ษ ัทฯ นาอุปกรณ์ สานักงานดังกล่าวออกขายให้บุคคลภายนอกในราคา 130,000 บาท


26

การคานวณ ค่าเสื่อมราคาต่อปี = 250,000 – 40,000 /5 = 42,000 บาท/ปี ระยะเวลาการใช้งาน = 1 ก.ย. 25x5 – 30 ก.ย. 25x8 ค่าเสื่อมคาสะสมคานวณ ดังนี้ ปี 25x5 (1ก.ย. – 31 ธ.ค.) = 42,000 x 4/12 = 14,000 ปี 25x6 = 42,000 ปี 25x6 = 42,000 ปี 25x8 (1ม.ค. – 30 ก.ย.) = 42,000 x 9/12 = 31,500 รวมค่าเสื่อมราคาสะสม 129,500

บาท บาท บาท บาท บาท

คานวณกาไร(ขาดทุน)จากการขายสินทรัพย์ ราคาทุนของอุปกรณ์สานักงาน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี ราคาที่ขายได้ กาไรจากการขายเครื่ องจักร

บาท บาท บาท บาท บาท

250,000 129,500 120,500 130,000 9,500

ซึ่งในการตรวจสอบ จะต้องวิเคราะห์การเพิ่มลดของสิ นทรัพย์ หากมีก ารขายสิ นทรั พย์ตอ้ ง แสดงการคานวณกาไรหรื อขาดทุนจากการขายสิ นทรัพย์ เพื่อพิสูจน์ว่า กิจการได้ขายสิ นทรัพย์น้ นั ไป จริ ง และคานวณกาไรหรื อขาดทุนได้ถกู ต้องตามที่แสดงไว้ในงบทดลอง ณ วันสิ้นงวด


27

6. จัดทากระดาษทาการสรุ ปการเพิ่มลดของทรัพย์สิน

ภาพที่ 3 กระดาษทาการวิเคราะห์สินทรัพย์ถาวร (อาคาร,อุปกรณ์สานักงาน) เพิ่มลด


28

ภาพที่ 4 กระดาษทาการวิเคราะห์สินทรัพย์ถาวร (อุปกรณ์สานักงาน,ยานพาหนะ) เพิ่มลด (ต่อ)


29

7. สอบถามว่าทรัพย์สินที่ปรากฏในงบการเงิน รายการใดบ้างที่ มีภาระผูกพัน และขอเอกสาร สนับสนุนในเรื่ องดังกล่าว เพื่อเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไป 8. ทดสอบโดยการสุ่มตรวจนับทรัพย์สินของกิจการและเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ หลังจากตรวจสอบตามวิธีการดังกล่าวแล้ว หากกิจการมีการคานวณค่าเสื่ อมราคาไม่ถูกต้อง ก็ จะดาเนินการปรับปรุ ง และเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดังแสดงดังภาพตามลาดับ ต่อไป

ภาพที่ 5 กระดาษทาการปรับปรุ ง


30

ภาพที่ 6 การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงิน

ผลที่ได้ รับจากการปฏิบัตจิ ริง กิจการมักจะมองข้ามในการคิดค่าเสื่อมราคาเพียงเล็กน้อย บางกิจการทรัพย์สินหมดอายุการใช้ งานแล้ว แต่ยงั ตัดค่าเสื่ อมราคาไม่หมด บางกิจการมีการขายทรัพย์สินในระหว่างปี แต่ไม่มีกาไรหรื อ ขาดทุนจากการขายทรัพย์สินเกิดขึ้น ไม่ว่าจะซื้อหรื อขายกิจการต้องมีเอกสารเป็ นหลักฐานประกอบ ให้กบั ผูต้ รวจสอบบัญชี เพราะเอกสารจะเป็ นการยืนยันที่ ดี อีกทั้งบางกิจการโดยปกติจะคานวณค่าเสื่อม ราคาอุปกรณ์สานักงานที่อตั รา 20% มีอายุการใช้งาน 5 ปี แต่มีการคานวณค่าเสื่ อมราคาคอมพิวเตอร์ ด้วยอัตราเดียวกัน ซึ่งความจริ งต้องคานวณค่าเสื่ อมราคาคอมพิวเตอร์ ดว้ ยอัตรา 33.33% เป็ นต้น การ ตรวจสอบบัญชีในทางปฏิบตั ิจริ งทาให้ได้รู้ถึงข้อผิดพลาดและวิธีการแก้ไ ข ความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบ เพราะหากกิจการคานวณผิด แล้วหลังจากตรวจสอบได้มีการคานวณใหม่ มูลค่าที่แสดงนั้นต้องมีความถูกต้องด้วยเช่นกัน


31

ข้ อวิเคราะห์ เปรียบเทียบ จากการฝึ กงานเปรี ยบเทียบกับผลที่ได้รับกับวัตถุประสงค์หรื อจุดมุ่งหมายของการปฏิบตั ิงาน จากการฝึ กงานได้รับความรู้ และความเข้าใจในการตรวจสอบมากขึ้น การได้เห็นเอกสารการบันทึก บัญชีจากบริ ษทั ทาให้เจ้าใจการปฏิบตั ิงานมากขึ้น โดยการปฏิบตั ิงานสอบบัญชีจะนาความรู้ที่ได้เรี ยน มานามาประยุกต์ใช้ในหลายๆด้าน ความรู้ดา้ นการสอบบัญชีและภาษี ต้องรู้หลักการที่แน่ นอนเพื่อการ ปฏิบตั ิงานที่ได้ประสิทธิภาพและนาไปปรับปรุ งกับการทางานจริ งในอนาคต สรุป การตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในแต่ละกิจการมีการตรวจสอบที่แตกต่างกันไป ในแนวทางการตรวจสอบมีหลายวิธี ซึ่งในความเป็ นจริ งอาจจะมีขอ้ มูลไม่ท้งั หมด เช่นกิจการขนาดเล็ก อาจจะไม่มีการนาทรัพย์สินไปวางค้ าประกัน การเลือกตรวจสอบในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญจึงเพิ่มความ สะดวกได้ วิธีในการตรวจสอบบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มีดงั นี้ สอบทานนโยบายการคิ ดค่าเสื่ อม ราคาของกิจการซึ่งดูได้จากหมายเหตุประกอบงบการเงินในรายงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุ ญาตปี ก่อน ขอรายละเอียดที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จากกิจการ ตรวจสอบว่ายอดตรงกับงบทดลองหรื อไม่ ทดสอบ การคานวณตัวเลขค่าเสื่อมราคาว่ามีการคานวณโดยถูกต้อง และใช้วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาเช่นเดียวกับปี ก่อน วิเคราะห์บญั ชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสาหรับรายการที่เพิ่มหรื อลดต้องเข้าไปตรวจดูว่าการ เพิ่มลดของการขายทรัพย์สินดังกล่าวมีเอกสารประกอบครบถ้วนได้รับการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจแล้ว ถ้า กรณี ที่มีการขายทรัพย์สิน ได้มีการบันทึกกาไร(ขาดทุน) จากการขายทรัพย์สินโดยถูกต้องแล้ว(สาหรับ ทรัพย์สินที่มีก ารคานวณค่าเสื่ อมราคาต้องมีการบันทึ ก Book Value ถึง ณ วันขายโดยถูกต้องแล้ว ) หลังจากนั้นจัดทากระดาษทาการสรุ ปการเพิ่มลดของทรัพย์สิน และสอบถามว่าทรัพย์สินที่ปรากฏใน งบการเงิน รายการใดบ้างที่มีภาระผูกพัน และขอเอกสารสนับสนุนในเรื่ องดังกล่าว เพื่อเปิ ดเผยในหมาย เหตุประกอบงบการเงินต่อไป พร้อมกับทดสอบโดยการสุ่ มตรวจนับทรัพย์สินของกิจการและเอกสาร แสดงกรรมสิ ทธิ์ จากนั้นทาการปรับปรุ งเพื่อการแสดงมูลค่ าที่ ถูก ต้องเพื่อให้ผใู้ ช้ประโยชน์จ ากงบ การเงินทราบข้อมูลที่ตรงตามความเป็ นจริ งในการทาธุรกิจต่อไป


32

ข้ อเสนอแนะ การตรวจสอบบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กบั ทรัพย์สินของกิจการ หาก กิจการมีทรัพย์สินเยอะ ก็ตอ้ งใช้การตรวจสอบที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น หรื อหากกิจการมีการซื้อหรื อขาย ทรัพย์สินในระหว่างงวด ก็ตอ้ งมีการตรวจสอบในอีกหลายขั้นตอน ซึ่งข้อมูลในรายงานฉบับนี้ เพียงแต่ จะทาให้นิสิต นักศึกษาได้รับความรู้โดยภาพรวม เข้าใจประเด็นโดยหลักๆว่าวิธีการตรวจสอบบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จะตรวจดูการคานวณค่าเสื่อมราคา หากมีการซื้อทรัพย์สินเพิ่ม ก็จะต้องมีการ คานวณค่าเสื่ อมราคาแบบตามวัน ที่ได้ทรัพย์สิ นนั้น มา ซึ่ งพอที่จะช่ วยลดข้อผิด พลาดในการเปิ ดเผย ข้อมูล เนื่องจากบัญชีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์มีการคานวณค่าเสื่อมราคา ซึ่งกระทบทั้งค่าใช้จ่ายในงบ กาไรขาดทุน และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินที่เป็ นส่วนสาคัญต่อไปอีกด้วย


33

บรรณานุกรม กองแผนงาน สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . การคานวณค่ าเสื่ อมราคามูลค่ าทรัพย์ สิน (Online). planning.oop.cmu.ac.th/web/km50/.../ค่าเสื่อมราคา.doc, 21 มิถุนายน 2555. มาลินี วชิราภากร. 2555. ค่าเสื่อมราคา (Online). www.cvc-cha.ac.th/accounting/index.php, 24 มิถุนายน 2555. วัลลดา. 2553. ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการเข้ ารับการฝึ กงาน (Online). u49152792082.blogspot.com/2010/02/blog-post_27.html, 4 มิถุนายน 2555. สานักงาน A&V. 2555. การตรวจสอบบัญชี (Online). www.avaccount.com/accountcontent/ index.php?topic=8670.0, 28 กรกฎาคม 2555. อัจฉราพร โชติพฤกษ์. 2554. บทที่ 11 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (Online). dllibrary.spu.ac.th:8080/ dspace/bitstream/.../11/บทที่%2011.ppt, 18 มิถุนายน 2555.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.