การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผักเกษตรอินทรีย์ กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผักเกษตรอินทรี ย์ กรณีศึกษาวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี Analysis of Costs and Benefits of Organic Vegetable Production : A Case Study of Communities Green Heaven Nongree District Chonburi Province.

โดย นางสาวธนพร นางสาวนฤนาถ นางสาวปรัชญาณี นางสาวศุจิกา

สอนเสนาะ ศุขมณี ยงพิศาลภพ ลพบุตร

รายงานผลการศึกษานีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


ปัญหาพิเศษ โดย นางสาวธนพร สอนเสนาะ นางสาวนฤนาถ ศุขมณี นางสาวปรัชญาณี ยงพิศาลภพ นางสาวศุจิกา ลพบุตร

รหัสนิสิต 5230110333 รหัสนิสิต 5230110392 รหัสนิสิต 5230110520 รหัสนิสิต 5230110856

เรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ กรณี ศึกษาวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี Analysis of Costs and Benefits of Organic Vegetable Production : A Case Study of Communities Green Heaven Nongree District Chonburi Province.

ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร เมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2556

อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญหาพิเศษ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์นิตยา งามแดน) อาจารย์ผปู้ ระสานงานรายวิชา (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์)


การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ กรณี ศึกษาวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี Analysis of Costs and Benefits of Organic Vegetable Production : A Case Study of Communities Green Heaven Nongree District Chonburi Province.

โดย นางสาวธนพร สอนเสนาะ นางสาวนฤนาถ ศุขมณี นางสาวปรัชญาณี ยงพิศาลภพ นางสาวศุจิกา ลพบุตร

รหัสนิสิต 5230110333 รหัสนิสิต 5230110392 รหัสนิสิต 5230110520 รหัสนิสิต 5230110856

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(ก) ธนพร สอนเสนาะ และคณะ 2555: การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผัก เกษตรอินทรี ยก์ รณี ศึกษาวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี ปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาปัญหาพิเศษ: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์นิตยา งามแดน, บ.ธ.ม. 154 หน้า

การศึกษาปั ญหาพิเศษนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสภาพเศรษฐกิจและสภาพสังคมทัว่ ไป ของเกษตรกรผูผ้ ลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ศึกษาการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของการปลูกผัก แบบเกษตรอินทรี ย ์ ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อความสาเร็ จและผลที่ได้รับจากการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ต่อสภาพปั ญหาความมัน่ คงทางอาหาร และศึกษาความสัมพันธ์ของการผลิ ตผักเกษตรอินทรี ยต์ ่อ ความมัน่ คงทางอาหาร จากการศึกษาต้นทุนการผลิตสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ ต้นทุนการผลิตผันแปร และต้นทุนการผลิ ตคงที่ นอกจากนี้ ยงั มีในส่ วนของค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงาน ซึ่ งประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารผันแปรและค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารคงที่ เมื่อทราบต้นทุน การผลิตและค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานแล้ว สามารถนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลตอบแทนโดยใช้ การวิเคราะห์ทางการเงิน เพื่อพิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการ ได้แก่ การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน ระยะเวลาคืนทุน มูลค่าปั จจุ บนั สุ ทธิ และอัตราส่ วนรายได้ต่อ ต้นทุน จากการศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษครั้ งนี้ คณะผู้จ ัด ท าได้ท าการศึ ก ษาต้น ทุ น และวิ เ คราะห์ ผลตอบแทนจากการผลิ ตผักเกษตรอินทรี ย ์ กรณี ศึกษาวิสาหกิ จชุ มชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จัง หวัดชลบุ รี ผลการศึ ก ษาพบว่า การวิเ คราะห์ ก าไรส่ ว นเกิ น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสวรรค์สี เขี ย วมี ความสามารถในการทากาไรของธุ รกิ จได้ดี และเมื่อพิจารณาอัตรากาไรส่ วนเกิ น พบว่าวิสาหกิ จ ชุ มชนสวรรค์สีเขียวหนองรี มีการผลดาเนิ นงานที่ดีเช่นกัน การวิเคราะห์อตั ราผลตอบแทนจากการ ลงทุน พบว่าโครงการนี้ มีการใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์ดาเนิ นงานก่อให้เกิดผลกาไร จึงคุ ม้ ค่าต่อ การลงทุน


(ข)

กิตติกรรมประกาศ การศึกษาวิชาปั ญหาพิเศษ หลักสู ตรปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบัญชี บริ หาร ครั้งนี้ ประสบความสาเร็ จได้ดว้ ยความอนุ เคราะห์ช่วยเหลื อจาก อาจารย์ นิตยา งามแดน ซึ่ งได้ให้ คาแนะนาถึงประเด็นต่างๆ ในการค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและชี้แนะแนวทางในการแก้ไขปั ญหาใน เรื่ องนี้ มาโดยตลอด รวมถึงคณะอาจารย์ทุกท่านที่ประสิ ทธิ ประสาทวิชาความรู ้ให้ผจู้ ดั ทารายงานมี ความรู้ความเข้าใจและสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ขอขอบคุณ ดร. อนุ รักษ์ เรื องรอบ และวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์สีเขียวหนองรี ที่ได้ให้ขอ้ มูล เกี่ ยวกับต้นทุ นและผลตอบแทนในการผลิ ตผักเกษตรอิ นทรี ย ์ รวมถึ งเอกสารต่างๆ ที่ เกี่ ยวข้อง ขอขอบคุณ หอสมุดแห่งชาติ หอสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่ งเป็ นแหล่งข้อมูลที่สาคัญในการ ค้นคว้าหนังสื อและวิทยานิ พนธ์ต่างๆ ในการศึกษาครั้งนี้ ขอขอบคุ ณแรงสนับสนุ นและกาลังใจที่ ได้รับจากครอบครัวตลอดจนเพื่อนๆ ของคณะผูจ้ ดั ทา หากรายงานปั ญหาพิเศษฉบับนี้ มีขอ้ ผิดพลาดหรื อข้อบกพร่ องประการใด คณะผูจ้ ดั ทา ขออภัยเป็ นอย่างสู ง ณ ที่น้ ี

คณะผูจ้ ดั ทา กุมภาพันธ์


(ค) สารบัญ หน้า บทคัดย่อ

(ก)

กิตติกรรมประกาศ

(ข)

สารบัญ

(ค)

สารบัญภาพ

(ฉ)

สารบัญตาราง

(ช)

บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ วิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท์

1 3 3 4 5 5

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง ความมัน่ คงทางอาหาร ความสาคัญของความมัน่ คงทางอาหาร สถานการณ์ความไม่มนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย สาเหตุความไม่มนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่มนั่ คงทางอาหาร การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการพึ่งพาตนเอง

8 9 10 15 16 17


(ง) สารบัญ (ต่ อ) หน้า แนวทางการประยุกต์ใช้การพึ่งพาตนเองในระดับต่างๆ ตามแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน หลักการทาเกษตรอินทรี ย ์ เครื่ องมือทางการบัญชีบริ หาร ทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน แนวคิดพื้นฐานของการบัญชี ตน้ ทุน แนวคิดการวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริ มาณ และกาไร แนวคิดการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน แนวคิดการวิเคราะห์ผลตอบแทน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่ องสิ นค้าคงเหลือ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (NPAEs) ผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

37 50 57 63 66 71 77 80 84

บทที่ 3 การทาฟาร์ มผักเกษตรอินทรีย์ของ วิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียวหนองรี วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี จังหวัดชลบุรี ประวัติความเป็ นมาของวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี วัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน ระบบการทาฟาร์มผักเกษตรอินทรี ย ์ วิธีการดาเนินงานของวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี ระบบบัญชีที่ใช้ในการดาเนินงาน แนวทางสาหรับการจัดทาระบบบัญชีที่ควรใช้ในอนาคต

90 91 92 101 101 104

บทที่ 4 ผลการศึกษา ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อความสาเร็ จในการผลิตผักเกษตรอินทรี ยแ์ ละผลที่ได้รับจาก การผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ต้นทุนและผลตอบแทนในการปลูกผักเกษตรอินทรี ย ์ ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และกาไร

105 108 113


(จ) สารบัญ (ต่ อ) หน้า การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน การวิเคราะห์ผลตอบแทน ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ระยะเวลาคืนทุน (PB) มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) อัตราส่ วนของผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) ปั ญหาของเกษตรกรในการปลูกผักเกษตรอินทรี ยข์ องวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ดัชนีความสุ ขของเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว

115 116 117 117 119 121 122

บทที่ 5 บทสรุ ป และข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ข้อเสนอแนะ

124 126

เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง

128

ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค

133 135

รู ปภาพการสัมภาษณ์ มาตรฐานระบบเกษตรอินทรี ย ์ IFOAM มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง สิ นค้าคงเหลือ

140


(ฉ) สารบัญภาพ ภาพที่

หน้ า

2-1

แผนภาพแสดงการจาแนกต้นทุนตามลักษณะแหล่งต้นทุน

59

2-2

แผนภาพแสดงการจาแนกต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุน

60

2-3

แผนภาพแสดงการจาแนกต้นทุนตามวัตถุประสงค์ของหน่วยต้นทุน

61

2-4

กราฟแสดงกาไรและปริ มาณ

70

3-1

ภาพของ ดร.อนุรักษ์ เรื องรอบ ประธานวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว

91

3-2

ภาพผักกรี นโอ๊ค

96

3-3

ภาพผักเรดโอ๊ค

97

3-4

ภาพผักบัตเตอร์เฮด

97

3-5

ภาพผักกรี นคอส

98

3-6

ภาพผักกาดแก้ว

98

3-7

ภาพผักที่ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรี ย ์

100


(ช) สารบัญตาราง ตารางที่

หน้ า

2-1

แสดงต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร

67

4-1

แสดงรายละเอียดของวัสดุในการบารุ งรักษาและวัสดุอื่นๆ

109

4-2

แสดงมูลค่าและค่าเสื่ อมราคาของอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ของวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี

110

4-3

แสดงต้นทุนและค่าใช้จ่ายของการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ยต์ ลอดทั้งปี

111

4-4

แสดงต้นทุนผันแปรต่อหน่วยของการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ยต์ ลอดทั้งปี

112

4-5

แสดงผลตอบแทนของการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ยต์ ลอดทั้งปี

113

4-6

แสดงผลตอบแทนจากการดาเนินงานของวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี เปรี ยบเทียบกับผลตอบแทนจากการดาเนินงานในภาคธุ รกิจ

120


1

บทที่ 1 บทนำ ทีม่ ำและควำมสำคัญ เนื่ องจากโลกกาลังเผชิ ญกับปั ญหาเรื่ องของวิกฤติอาหาร อันเนื่ องมาจากอัตราการเพิ่มขึ้น ของความต้องการอาหารมีอยูส่ ู งกว่าปริ มาณการผลิต การเพิ่มขึ้นของความต้องการของสิ นค้าเกษตร มาจากปั จจัยหลัก ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรโลก รายได้ของประชากรที่ดีข้ ึนทาให้เกิด การเปลี่ยนวิถีชีวิตและวิถีการบริ โภคอาหาร โดยเฉพาะความต้องการบริ โภคอาหารที่หลากหลาย มากขึ้น ซึ่ งการเปลี่ ยนแปลงการบริ โภคอาหารในกลุ่มประชากรที่มีรายได้สูงขึ้นนั้นเป็ นปั จจัยที่ สาคัญที่ส่งเสริ มให้ราคาอาหารสู งขึ้นทัว่ โลก และการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลก ที่นาไปสู่ การ เกิดภัยพิบตั ิ ทาให้กระทบต่อการผลิตอาหารทัว่ โลก และการสารองสิ นค้าเกษตรเพื่อการส่ งออกทัว่ โลกลดลง รวมถึงความต้องการสิ นค้าเกษตรสาหรับการผลิตพลังงานชี วมวลประเภทไบโอดีเซล มากขึ้น ทาให้มีการแปลงพื้นที่เพาะปลูกพืชอาหารไปสู่ พืชพลังงานมากขึ้นทัว่ โลก โดยเฉพาะน้ ามัน ปาล์ม มันสาปะหลัง และอ้อย เป็ นต้น จากความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้น กลายเป็ นปั ญหาสาคัญที่ทวั่ โลกกาลังเผชิ ญในอนาคต เพราะการขาดแคลนอาหารก่อให้เกิดการปรับตัวสู งขึ้นของราคาอาหารตามที่กาลังประสบปั ญหาอยู่ ในปัจจุบนั ซึ่งประเทศไทยนั้นกล่าวได้วา่ เป็ นประเทศที่มีฐานเศรษฐกิจของภาคเกษตรมัน่ คง และมี ทรั พยากรธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์ ท้ งั ป่ าไม้ น้ า ที่ ดินทากิ น และภูมิอากาศ ควบคู่ไปกับความ หลากหลายของทรัพยากร แต่ตอ้ งยอมรับว่าการพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติจะทาได้น้อยลง เพราะ ทรัพยากรเสื่ อมโทรมและการลดลงอย่างต่อเนื่ อง การจะลดผลกระทบของวิกฤติอาหารที่ เกิดขึ้นใน อนาคตนั้ น มี ค วามจ าเป็ นต้อ งน าเอาเทคโนโลยี แ ละวิ ท ยาการที่ ท ัน สมัย มาใช้ ใ นการเพิ่ ม ประสิ ทธิภาพการผลิต เพื่อให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นเพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้น และเพื่อที่จะสร้าง ให้ประเทศไทยเป็ นประเทศผูส้ ่ งออกอาหารหลักด้วย ประเทศที่มีประชากรขาดแคลนอาหารจานวนมากล้วนแล้วแต่เป็ นประเทศผูส้ ่ งออกอาหาร ทั้งนั้น เพราะราคาอาหารเป็ นปั จจัยสาคัญตัวหนึ่ งในการกาหนดทิศทางของตลาดโดยเฉพาะเกษตร อุ ตสาหกรรมที่ มุ่งเน้น ปริ มาณการผลิ ตเพื่อการส่ ง ออกเป็ นหลัก แม้กระทัง่ เกษตรกรเองก็ย งั ถู ก


2 ควบคุมจากบริ ษทั ผูผ้ ลิตปุ๋ ยและยาฆ่าแมลงรายใหญ่ในการกาหนดทิศทางผลผลิตและราคาในตลาด ยังไม่นับรวมถึ งปั จจัยอีกหลายประการที่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผลผลิ ต ปั จจัยทางสิ่ งแวดล้อม เช่น ความผันผวนของสภาพภูมิอากาศอย่างรุ นแรงจนเกิดภาวะน้ าท่วมฉับพลันในพื้นที่ที่ไม่เคยถูก ท่วม ปั จจัยทางสังคม เช่ น การเข้าสู่ ภาวะสังคมผูส้ ู งอายุทาให้ขาดแรงงานด้านการเกษตร ยังไม่ รวมถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างจากสังคมเกษตรเป็ นอุตสาหกรรม ปั จจัยทางเศรษฐกิ จ เช่ น การ ปลูกพืชเชิงเดี่ยวจนทาให้ราคาผลผลิตมีความผันผวน แม้ประเทศไทยจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศที่ผลิตอาหารมากเป็ นพิเศษและได้โอกาส จากราคาสิ นค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้น แต่แท้จริ งแล้วมี เพียงเศรษฐกิ จมหภาคเท่านั้นที่จะได้โอกาสจาก ราคาสิ นค้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ความมัน่ คงทางอาหารของครัวเรื อนขนาดเล็กจะลดลง ครัวเรื อนขนาด เล็กที่มีที่ดินจานวนน้อยจะมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ครัวเรื อนที่มีผสู ้ ู งอายุทาการเกษตรก็จะ ขายที่ดินไปเพราะทาไม่ไหว ขณะเดียวกันครัวเรื อนที่มีที่ดินขนาดเล็ก หากไม่รวมตัวกันก็จะถูกขับ ออกไปจากอาชีพการเกษตร แสดงให้เห็นว่าการแข่งขันของเกษตรกรขนาดเล็กจะแข่งขันไม่ได้หาก ไม่ สนใจในการปรั บ ตัว เกษตรกรขนาดเล็ก จาเป็ นจะต้องใช้เทคนิ คในการปรั บลดต้นทุนใน การผลิต และใช้เทคนิ คที่นาไปสู่ ระบบการผลิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพจึงจะสามารถอยูร่ อดได้ จะเห็ นว่า ทิ ศทางของเกษตรกรรมเชิ ง อุ ตสาหกรรมเพื่อการส่ งออกไม่ใช่ ทางเลื อกที่ เป็ นมิ ตรกับ สิ่ งแวดล้อมและส่ งเสริ มแนวคิดการกินอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนอีกต่อไป จึงได้เกิดการรวมตัวของหน่วยงาน ต่างๆ ทาให้รูปแบบการบริ โภคกาลังเปลี่ ยนแปลงไป และเกิ ดทางเลื อกในระบบการผลิ ตทาง การเกษตรที่หลากหลายรู ปแบบมากขึ้น ทั้งเกษตรอินทรี ย ์ เกษตรผสมผสาน เกษตรธรรมชาติ วน เกษตร เป็ นต้น เห็ นได้ว่าการบริ โภคไม่ใช่ เพียงเป็ นแค่การรั บอาหารเข้า สู่ ร่างกายอี กต่อไป ผูบ้ ริ โภค จาเป็ นต้องมีส่วนร่ วมในการบริ โภคอย่างยัง่ ยืนและผสมผสานกับธรรมชาติ เพื่อที่ธรรมชาติจะยังคง สามารถผลิตอาหารให้ประชากรโลกได้ต่อไป อย่างเช่นเกษตรกรรายย่อยในชุมชนสวรรค์สีเขียวที่ ตาบลหนองรี ในจังหวัดชลบุรีที่ส่งเสริ มให้คนในชุ มชนทาเกษตรอินทรี ย ์ และมองเห็ นว่าอาชี พ เกษตรกรนั้นมีรายได้พอเลี้ยงครอบครัวและมีความสุ ขได้ เป็ นการดึงแรงงานจากภาคอุตสาหกรรม กลับคืนสู่ ภาคเกษตรกรรมอีกครั้ง ซึ่ งเป็ นการช่ วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหารในอนาคตที่อาจ เพิ่มขึ้นได้ ทั้งยังส่ งเสริ มให้เยาวชนเห็นความสาคัญของการปลูกพืชผักเกษตรอินทรี ยท์ ี่ทาให้พออยู่ พอกินไปตลอดได้ การปรับเปลี่ยนระบบการผลิตมาเป็ นแบบเกษตรอินทรี ย ์ สามารถใช้ปุ๋ยอินทรี ย ์ ที่สามารถผลิตได้เอง นอกจากจะลดต้นทุนการผลิตได้แล้ว ยังส่ งผลดี ต่อสุ ขภาพทั้งเกษตรกรและ


3 ผูบ้ ริ โภค อีกทั้งสิ นค้าเกษตรอินทรี ยก์ าลังเป็ นที่ตอ้ งการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ซึ่ งสามารถ จาหน่ายได้ในราคาที่สูงกว่าสิ นค้าเกษตรปกติอีกด้วย ปั จจุบนั ทัว่ โลกกาลังวิตกกังวลเกี่ยวกับวิกฤติ อาหารขาดแคลน การเร่ งพัฒนาประสิ ทธิ ภาพการผลิ ตสิ นค้าเกษตรและอาหารให้มีคุณภาพเป็ นที่ ยอมรับของนานาประเทศจึงเป็ นเรื่ องดี โดยเปลี่ ยนภาคการเกษตรแบบใช้สารเคมีให้เป็ นเกษตร อินทรี ยใ์ นกลุ่มเกษตรกรรายย่อย รวมทั้งลดการใช้ยาฆ่าแมลงและปุ๋ ยเคมี จึงต้องมีการศึกษาถึ ง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิ ตผัก เกษตรอินทรี ย ์ เพื่อให้ภาครั ฐ ภาคเอกชน และ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้อ งมี ค วามรู ้ ค วามเข้า ใจในการวิเ คราะห์ ต้น ทุ น และผลที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ เกษตรกร เปลี่ยนไปผลิตผักเกษตรอินทรี ยท์ ี่ส่งผลต่อความมัน่ คงทางด้านอาหารในอนาคต เป็ นการส่ งเสริ ม ให้เกษตรกรหันมาให้ความสาคัญกับการผลิ ตแบบเกษตรอินทรี ย ์ ตลอดจนสามารถแก้ปัญหาการ ผลิตและการส่ งออกผักเกษตรอินทรี ย ์ เพื่อสร้างความยัง่ ยืนให้กบั รายได้ของเกษตรกรและเศรษฐกิจ ของประเทศให้ดียงิ่ ขึ้นด้วย วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสภาพสังคมทัว่ ไปของเกษตรกรผูผ้ ลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ในวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี 2. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลิตของเกษตรกรผูผ้ ลิตผักเกษตร อินทรี ยข์ องวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี 3. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ความส าเร็ จ ในการผลิ ต ผัก เกษตรอิ น ทรี ย ์แ ละ ผลที่ได้รับจากการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ต่อสภาพปั ญหาความมัน่ คงทางอาหาร 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการผลิตผักเกษตรอินทรี ยท์ ี่มีต่อความมัน่ คงทางอาหาร ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับจำกกำรศึกษำ 1. ทาให้ทราบถึ ง สภาพเศรษฐกิ จและสภาพสังคมทัว่ ไปของเกษตรกรผูผ้ ลิ ตผักเกษตร อินทรี ยใ์ นวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี


4 2. ทาให้ทราบถึงต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตผักเกษตรอินทรี ยข์ องวิสาหกิจชุ มชน สวรรค์สีเขียวหนองรี 3. ทาให้ทราบถึงแนวทางการป้ องกันและรั บมือกับปั ญหาที่อาจเกิ ดขึ้นจากการผลิตผัก เกษตรอินทรี ยส์ าหรับการพัฒนาทางการเกษตรที่ยงั่ ยืนในอนาคต 4. เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาต้นทุนและผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์ลกั ษณะอื่นที่ คล้ายคลึงกัน วิธีกำรศึกษำ การศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิต ผักเกษตรอินทรี ย ์ กรณี ศึกษา วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี ครั้งนี้ ผูศ้ ึกษาใช้แหล่งข้อมูล ดังนี้ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิ ตผักเกษตรอินทรี ย ์ และรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ สังเกตเกี่ ยวกับวิธีการผลิต ต้นทุนที่ใช้ในการปลูกผักเกษตรอินทรี ย ์ และ ผลตอบแทนที่ได้รับจากการจาหน่ายผักเกษตรอินทรี ย ์ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตาราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ต้นทุนการปลูกผัก แบบเกษตรอินทรี ย ์ ศึ กษาผลตอบแทนจากการจาหน่ ายผักเกษตรอินทรี ย ์ นา ข้อมูลที่ได้รับมาศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ กาไร วิเคราะห์จุดคุม้ ทุน และวิเคราะห์ ทางการเงิ น โดยใช้อตั ราผลตอบแทนจากการลงทุน ระยะเวลาคืนทุน มูลค่าปั จจุ บนั สุ ทธิ และ อัตราส่ วนรายได้ต่อต้นทุน 3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (depth interview) จากประธาน วิส าหกิ จ ชุ ม ชนสวรรค์สี เ ขี ย วหนองรี และเกษตรกรเครื อ ข่ า ยในสั ง กัด รวมทั้ง จากเว็บ ไซต์ ที่ เกี่ยวข้อง จากเทปออกอากาศทางโทรทัศน์ของวิสาหกิ จชุ มชน จากบทสัมภาษณ์ทางวิทยุเครื อข่าย วิถีทางเลือก จากวารสารเครื อข่ายการเกษตร และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง


5 ขอบเขตกำรศึกษำ 1. ทาการศึ ก ษาวิเคราะห์ ตน้ ทุ นและผลตอบแทนการผลิ ต ผักเกษตรอิ นทรี ย ์ ของกลุ่ ม วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี 2. ระยะเวลาในการศึกษา ตั้งแต่ 5 พ.ย. 2555 – 31 ม.ค 2556 3. พื้นที่ในการศึกษา วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี ตาบลหนองรี อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี นิยำมศัพท์ ผัก เกษตรอิ น ทรี ย์ หมายถึ ง พื ช ผัก ที่ ไ ด้ จ ากการปลู ก แบบเกษตรอิ น ทรี ย์ (Organic agriculture) ซึ่ งเป็ นวิธีการปลูกที่หลี กเลี่ยงการใช้สารเคมี หรื อสารสังเคราะห์ต่างๆ ในทุกขั้นตอนการ เพาะปลูกและในระหว่างการดูแลรักษาผลผลิต เกษตรกร หมายถึ ง ผูท้ าการเพาะปลู ก ผัก แบบเกษตรอิ นทรี ยใ์ นวิส าหกิ จชุ ม ชนสวรรค์ สี เขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี ต้นทุน หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ย ์ ตั้งแต่กระบวนการ คัดเลือกพื้นที่ การเพาะปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และนาผลผลิตออกจาหน่าย ผลตอบแทน หมายถึง รายได้ที่ได้รับจากการจาหน่ายผลผลิตหรื อผักเกษตรอินทรี ย ์ จุ ดคุ ้ม ทุ น หมายถึ ง ระดับการผลิ ต หรื อขายผัก เกษตรอิ น ทรี ย ์ ณ ระดับใดระดับ หนึ่ ง ที่ ก่อให้เกิดรายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวม


6 วิส าหกิ จชุ ม ชน หมายถึ ง การประกอบการของชุ ม ชนเกี่ ย วกับ การปลู ก ผัก แบบเกษตร อินทรี ยเ์ พื่อจาหน่ าย ดาเนิ นการโดยคณะบุคคลที่มีวิถีชีวิตร่ วมกันประกอบกิ จการ เพื่อสร้างรายได้ และเป็ นการพึ่งพาตนเองของครอบครัวและชุมชน ความมัน่ คงทางอาหาร หมายถึง การมีปริ มาณอาหารสาหรับบริ โภคภายในครอบครัวและ ชุมชนอย่างเพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง


7

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ กรณี ศึกษา วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนและผลตอบแทนที่ เกิ ดขึ้นในการปลูกผักเกษตรอินทรี ย ์ เป็ นการส่ งเสริ มให้ทุกภาคส่ วนเห็ นความสาคัญของการทา เกษตรอินทรี ยใ์ นการช่ วยแก้ปัญหาความไม่มนั่ คงทางอาหาร โดยคณะผูจ้ ดั ทาได้รวบรวมทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับความมัน่ คงทางอาหาร เกษตรอินทรี ย ์ ต้นทุนและผลตอบแทน ดังนี้ 1. ความมัน่ คงทางอาหาร 2. ความสาคัญของความมัน่ คงทางอาหาร 3. สถานการณ์ความไม่มนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย 4. สาเหตุความไม่มนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย 5. ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่มนั่ คงทางอาหาร 6. การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการพึ่งพาตนเอง 7. แนวทางการประยุกต์ใช้การพึ่งพาตนเองในระดับต่างๆ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 8. หลักการทาเกษตรอินทรี ย ์ 9. เครื่ องมือทางการบัญชีบริ หาร ทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน 10. ผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง


8 ความมั่นคงทางอาหาร ความมัน่ คงทางอาหาร หมายถึง การเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการบริ โภคของ ประชาชนในประเทศ อาหารมี ความปลอดภัย และมี คุ ณค่ าทางโภชนาการเหมาะสมตามความ ต้องการ ตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทั้งการมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุ น รักษาความสมดุลของ ระบบนิ เวศวิทยา และความคงอยูข่ องฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะ ปกติ หรื อเกิ ดภัย พิบตั ิ สาธารณภัยหรื อการก่ อการร้ ายอันเกี่ ย วเนื่ องจากอาหาร (พระราชบัญญัติ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ, 2551: 40) สุ พาณี ธนี วุฒิ (2544: 9) ได้ให้ความหมายของความมัน่ คงทางอาหาร หมายถึ ง การที่ ประชาชนสามารถมี อาหารเพื่ อบริ โ ภคได้อย่า งเพี ย งพอ สามารถเข้า ถึ ง อาหารได้ตลอดเวลาที่ ต้องการ อาหารที่บริ โภคนั้นต้องมี ความปลอดภัย เพื่อเสริ มสร้ างสุ ขภาพและคุ ณภาพชี วิตที่ ดี ซึ่ ง สอดคล้องกับ สานักงานสนับสนุ นการพัฒนายุทธศาสตร์ แห่ งชาติ ดา้ นอาหาร (2546) ที่ได้นิยาม ความมัน่ คงทางอาหารคลอบคลุมถึงประเด็นดังต่อไปนี้ 1. การมีอาหารพอเพียงสาหรับบริ โภคของทุกคนภายในครอบครัวและชุมชน 2. อาหารมี คุ ณภาพ ปลอดภัย และมี ความหลากหลายครบถ้ว นตามหลัก โภชนาการ ตลอดจนสอดคล้องกับวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น 3. มีระบบการผลิ ตที่ เกื้ อหนุ นและรั กษาความสมดุ ลของระบบนิ เวศ สร้ างให้เกิ ดความ หลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 4. มี ร ะบบการจัดการผลผลิ ต ที่ ส อดคล้อ งเหมาะสม เป็ นธรรม และสร้ า งให้ เกิ ดการ กระจายอาหารอย่างทัว่ ถึงในระดับครอบครัวและชุมชน 5. มีความมัน่ คงทางการผลิต ผูผ้ ลิตสามารถพึ่งตนเองในด้านปั จจัยการผลิต และสามารถ นาทรัพยากรมาสร้างให้เกิดความมัน่ คงในการผลิต


9 นอกจากนี้ สุ นนั ท์ธนา แสนประเสริ ฐ (2545: 3) ยังให้ความหมายของความมัน่ คงทาง อาหาร หมายถึง การเพิ่มขึ้นของจานวนผลผลิตที่มีมากขึ้น รวมถึงโอกาสของประชาชนที่สามารถมี รายได้ในการซื้ ออาหาร และแม้แต่ประชาชนที่จนที่สุดในกลุ่มคนจนก็ตอ้ งได้รับอาหารด้วย โดย ต้องคานึ งถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมควบคู่กนั ไป ซึ่ งใกล้เคียงกับ สุ ธานี มะลิพนั ธ์ (2552: 11) ที่ได้ให้ความหมายของความมัน่ คงทางอาหาร หมายถึง การมีปริ มาณ อาหารที่เพียงพอกับความต้องการบริ โภค โดยสามารถเข้าถึ งอาหารและนาอาหารที่ มีคุณภาพ มี คุณค่าทางอาหาร มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายตามความเหมาะสมของแต่ละสังคม จากความหมายข้างต้นสามารถสรุ ปได้วา่ ความมัน่ คงทางอาหาร หมายถึง การที่ประชาชน ปราศจากความหิ วโหย และภาวะขาดแคลนอาหาร กล่ าวคื อ มี ป ริ มาณอาหารเพื่อการบริ โภคที่ เพียงพอ มี ความหลากหลายของประเภทอาหารที่ ได้รับ อาหารมี คุณภาพ ซึ่ งหมายถึ งคุ ณค่าทาง โภชนาการ และความสะอาด ปลอดภัย และประชาชนสามารถเข้าถึงอาหารอันเกิ ดจากระบบการ กระจายอย่างทัว่ ถึง ความสาคัญของความมั่นคงทางอาหาร อาหารเป็ นหนึ่ งในปั จจัยสี่ ซ่ ึ งเป็ นปั จจัยพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการรอดชี วิตและการมีสุขภาพ ทางกายที่ดี ความมัน่ คงทางอาหารจึงเป็ นเรื่ องสาคัญทั้งในปั จจุบนั และอนาคต มี 3 ประการ คือ 1. แม้เ ราจะมี อ าหารอุ ด มสมบู ร ณ์ จ นประสบปั ญ หาโรคอ้ว นและโภชนาการเกิ น ใน ประชากรกว่า ร้ อยละ 10 แล้ว แต่ ย งั มี คนที่ อดอยาก หิ วโหย ขาดอาหาร และทุ พ โภชนาการอยู่ จานวนไม่ น้อย เพราะปั ญหาการจัดสรรทรั พ ยากรที่ ไ ม่ เหมาะสม คนที่ มี อยู่แ ล้วยัง ได้ม ากเกิ น ในขณะที่คนที่ขาดกลับได้รับน้อยกว่าที่ควร 2. อิทธิ พลครอบงาของระบบทุนนิ ย มและโลกาภิวตั น์ ทาให้เรามุ่ง รับเทคโนโลยีเพื่ อ ประโยชน์ของการแข่งขันและเห็ นประโยชน์ของเงิ นตรามากกว่าคุ ณค่าของมนุ ษย์ ทาให้ไม่ใ ห้ ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ 3. ความจาเป็ นของการแสวงหาพลังงานทางเลือกใหม่ ทาให้มีการใช้ที่ดินและทรัพยากร จานวนมากที่เดิมเคยใช้ผลิตอาหาร ไปใช้ผลิตพลังงานทดแทน


10 สถานการณ์ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย ภัยคุ กคามต่างๆ กาลังท้าทายความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทย ในระดับประเทศ นอกเหนื อจากนโยบายของรั ฐที่ เป็ นสาเหตุ หลัก ของความไม่เป็ นธรรมและความเหลื่ อมล้ าทาง สังคมซึ่ งสร้ างความล้มเหลวแก่ เกษตรกรรายย่อยแล้ว ระบบเกษตรกรรมและอาหารของไทยยัง เผชิ ญภัยพิบตั ิธรรมชาติที่ทวีความรุ นแรงและมีจานวนครั้งมากขึ้นเรื่ อยๆ ด้วย ดังช่ วงมหาอุทกภัย เมื่อปลายปี 2554 ที่ผ่านมาที่ผลักภาคเกษตรและเกษตรกรรายย่อยให้เป็ นกลุ่มที่ได้รับการดูแลน้อย สุ ดจากกลไกการบริ หารจัดการของรัฐ ในระดับระหว่างประเทศนั้น วิกฤตทางการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ วิกฤตการณ์ดา้ น อาหารและพลังงาน การเติ บโตของประเทศเศรษฐกิ จเกิ ดใหม่ ได้เป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้หลาย ประเทศที่มีเงินตราสารองจานวนมากและเสี่ ยงต่อการเกิดวิกฤตอาหารและพลังงานได้เข้าไปลงทุน แย่ง ยึ ด ที่ ดิ น (land grab) ในประเทศที่ มี ศ ัก ยภาพในการผลิ ต อาหารและพลัง งานจากพื ช อย่า ง กว้า งขวาง ประเทศไทยก็ ต กเป็ นเป้ าหมายของการเข้า มาแย่ ง ยึ ด ที่ ดิ น และครอบครองระบบ เกษตรกรรมและอาหารในรู ปแบบต่างๆ ดังนั้นทางแผนงานสนับสนุ นความมัน่ คงทางอาหารและมูลนิ ธิชีววิถี (BioThai) จึงได้ทา การประชุ ม สมัช ชาวิ ช าการความมั่น คงทางอาหาร ประจ าปี 2555 ในหั ว ข้อ อิ ส รภาพทาง พัน ธุ กรรม อธิ ปไตย และความมั่ น คงทางอาหาร ระหว่ า งวัน ที่ 16-17 พฤษภาคม 2555 ณ อาคารวชิ รานุ สรณ์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อร่ วมกันผลักดันทางเลื อกและ ข้อเสนอแนะเชิ ง นโยบายจากกระบวนการมี ส่ วนร่ วมของภาคประชาสัง คมบนพื้ นฐานความมี อิสรภาพของเกษตรกรรายย่อย และระบบเกษตรกรรมไทยที่สามารถเผชิ ญหน้าการเปลี่ยนแปลง จากภายนอกอย่ า งเข้ม แข็ ง มากขึ้ น ได้ โดยตลอดทั้ง 2 วัน จะมี ก ารวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ และ แลกเปลี่ยนมุมมองข้อคิดเห็นในประเด็นแหลมคมต่างๆ ทั้งในมิติของการแย่งยึดที่ดินโดยบรรษัท ยักษ์ใหญ่และกองทุ นขนาดใหญ่ที่เข้ามายึดครองพื้นที่ การเกษตร การปนเปื้ อนจี เอ็มโอในพื้นที่ เกษตรกรรมที่จะกระทบความปลอดภัยทางอาหารและการส่ งออกสิ นค้าเกษตรของไทย ไปจนถึง การขาดความเป็ นธรรมในระบบการกระจายอาหารในภาวะวิกฤตจนเป็ นที่มาของการสร้างโมเดล การจัดการอาหารรับมือน้ าท่วม


11 เมืองไทยกาลังก้าวไปเป็ นครัวโลก แต่คนไทยอยูใ่ นสถานะความไม่มนั่ คงทางอาหาร ทั้ง ปั ญหาพื ช ปนเปื้ อนจี เอ็ม โอ ปั ญหาการถื อครองที่ ดิน บริ หารจัดการน้ า กระทบชุ ม ชน รวมศูน ย์ กระจายอาหาร สารเคมีเกษตรกรรม ปั ญหาการแย่งยึดที่ ดินและนโยบายปฏิ รูป ที่ ดินไม่มี ข ้อสรุ ป ชัดเจน ทั้ง สถานการณ์ ก าร ปนเปื้ อนพืชจีเอ็มโอที่เลวร้ายลงทุกขณะ บรรษัทข้ามชาติกอบโกยทุนทางชี วิตคนไทยแต่ละปี มูลค่า มหาศาล มหาอุทกภัยรวมศูนย์กระจายอาหารทาคนเล็กคนน้อยเดือดร้อนไปทุกที่ นโยบายสารเคมี กาจัดศัตรู พืชทาคนไทยตายเฉี ยดแสน การจัดการน้ าค้างคาใจผลกระทบส่ งตรงถึ งชุ มชน บ่มเพาะ ปั ญหาระยะยาว ทั้งหมดทั้งมวลดู เหมื อนแตกต่าง แต่มูลนิ ธิ ชีววิถี มูลนิ ธิเกษตรกรรมยัง่ ยืนและ เครื อข่าย ได้รับการสนับสนุ นจากสานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพ มาบอกเล่ า บริ บทเดียวกันในสมัชชาวิชาการความมัน่ คงทางอาหารประจาปี 2555 ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน นโยบายการบริหารจัดการนา้ กับผลกระทบต่ อเกษตรกรและชุ มชนท้ องถิ่น หาญณรงค์ เยาวเลิ ศ ประธานมูล นิ ธิเพื่อการบริ หารจัดการน้ าแบบบูรณาการ (ประเทศ ไทย) กล่าวว่า เมื่อปี ที่ผา่ นมาหลังน้ าท่วม การบริ หารจัดการน้ าคิดแต่เรื่ องน้ าท่วม แก้น้ าท่วมอย่าง เดียว ตั้งแต่ภาคเหนื อ แนวคิดหลักคือเอาน้ าลงทะเล เปลี่ยนลาคลองให้น้ าไหลเร็ วขึ้น ใช้สูตรขยาย แม่น้ าให้ใหญ่ แต่พอขยายใหญ่สิ่งที่ตามมาคือแม่น้ ามีแต่ทราย การบริ หารเอางบประมาณเป็ นตัว ตั้ง ทาให้แก้ปัญหาไม่ตรงจุด เมื่อก่ อนน้ าท่วมประมาณ 7-15 วันก็ลด แต่เดี๋ ยวนี้ หรื ออาจต่อไปใน อนาคตต้องใช้เวลานานหลายเดือน พื้นที่คลองมหาสวัสดิ์ข้ ึนไป ส่ วนใหญ่เป็ นพื้นที่นา ฝั่งติดท่าจีน นครปฐมส่ วนใหญ่เป็ นสวนมะม่วง กล้วยไม้และส้มโอ การทาคันกั้นน้ าสิ่ งที่จะเกิ ดขึ้นคือสู ญเสี ย พื้ น ที่ เ กษตรกว่ า 2 แสนไร่ ที่ ติ ด ริ มน้ าทั้ง หมด โครงการทั้ง หมดที่ ก าลัง ท า ชุ ม ชนไม่ มี ส่ ว น ร่ วม ผลกระทบจะเกิ ดขึ้ นกับ คนปลู ก ข้า วให้ค นกิ น อาจส่ ง ผลถึ ง ราคาข้า วในอนาคตรั ฐมุ่ ง เน้น ป้ องกันอุตสาหกรรม เรื่ องความมัน่ คงทางอาหารมีการพูดถึงน้อยมาก การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่อาจ ไม่ง่ายอย่างที่คิด เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอุทยานแห่ งชาติ จึงอยากสะท้อน รัฐบาลวางแผน ง่ายแต่ประชาชนไม่มีส่วนร่ วม ไม่มีการรับฟั งเสี ยงจากประชาชน ซึ่ งจะทาให้ปัญหาไม่ได้รับการ แก้ไขอย่างจริ งจัง


12 การรวมศูนย์ การกระจายอาหารกับผลกระทบต่ อความมั่นคงทางอาหารในช่ วงมหาอุทกภัย รพิ จนั ทร์ ภูมิ สัม บรรณ นัก วิจยั มูลนิ ธิ ชีววิถี กล่ า วว่า ค าถามที่ ว่าท าไมจึ งเกิ ดปั ญหาใน ระบบกระจายอาหารในช่ วงภัยพิบตั ิ ปีที่ ผ่านมา ปั จจัยหนึ่ งที่ ไม่อาจปฏิ เสธ สื บเนื่ องจากงานวิจยั พบว่า การเปิ ดเสรี ทางการค้าทาให้เกิดธุ รกิจค้าปลีกสมัยใหม่หรื อโมเดิร์นเทรดที่มีการขยายอานาจ การตลาด ห้าสิ บเปอร์ เซ็นต์ของมูลค่าตลาดรวมอยูใ่ นกรุ งเทพฯและปริ มณฑล ในระหว่างปี 2551– 2554 ร้านสะดวกซื้ อมีอตั ราการเติบโตสู งถึ งร้ อยละ 33 ไฮเปอร์ มาร์ เก็ตร้ อยละ 36 ซู เปอร์ มาร์ เก็ต ร้อยละ 15 ส่ งผลกระทบต่อร้ านค้าปลี กแบบดั้งเดิ มซึ่ งมีมูลค่าทางตลาดลดลงเหลื อ 2.2 แสนล้าน บาทเปรี ยบเที ยบกับโมเดิ ร์นเทรดที่ มีมู ลค่าสู งถึ ง 5.45 ล้านบาท การไม่ตอบสนองต่อการเข้าถึ ง อาหารในภาวะวิกฤติ เนื่ องจากระบบการกระจายอาหารที่รวมศูนย์ ส่ งผลให้โมเดิ ร์นเทรดหลาย สาขาขาดแคลนอาหารและน้ า ดื่ ม แม้ว่า จะมี ร้า นสะดวกซื้ อ ทั้ง หมด 612 แห่ ง และไฮเปอร์ ม าร์ เก็ต 237 แห่ ง เทสโก้โลตัสมีศูนย์กระจายสิ นค้าหลักเพียง 4 แห่ งคือ อ.วังน้อย (ศูนย์กระจายอาหาร สด) จ. อยุธ ยา อ. ล าลู ก กา (ศู น ย์ก ระจายอาหารสด) อ.สามโคก จ.ปทุ ม ธานี อ.บางบัวทอง จ. นนทบุรี การสต๊อกสิ นค้าภายในโมเดิร์นเทรดมีจานวนน้อย เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บสิ นค้าคงคลังที่ เกินความจาเป็ น อีกทั้งความไม่ยืดหยุ่นของระบบการจัดการ ปั ญหาและความไม่ชดั เจนทางข้อมูล ท าให้ เ กิ ด ความล่ า ช้า ในการส่ ง สิ น ค้า อุ ป โภคบริ โ ภคที่ ส าคัญ การรั บ มื อ วิ ก ฤตครั้ งต่ อ ไป ควร สนับสนุ นผูผ้ ลิตสิ นค้าในประเทศ ค้าปลีกเพื่อกระจายความเสี่ ยง กระจายอานาจทางตลาด สร้าง ความหลากหลายของการเข้าถึงอาหาร ปฏิรูปกฎหมายเพื่อการแข่งขันที่เป็ นธรรม เช่น ผลักดัน ร่ าง พ.ร.บ.การประกอบธุ รกิ จค้า ปลี ก ค้า ส่ ง และแก้ไ ขปรั บ ปรุ ง พ.ร.บ.การแข่ ง ขันทางการค้า พ.ศ. 2542 สร้ างกลไกการร่ วมมื อระหว่างรัฐ ชุ มชน ภาคประชาชนรองรับวิกฤติ จัดทาจุดยุทธศาสตร์ คลังสิ นค้าอาหาร จัดระเบียบคลังสิ นค้าของธุ รกิจค้าปลีกสมัยใหม่ และให้อานาจรัฐในการเข้าตรวจ สต็อกในคลังดังกล่าวในภาวะวิกฤต พัฒนาระบบการพึ่งพาตนเองในชุมชน สถานะของปัญหาและนโยบายการปฏิรูปทีด่ ินเพือ่ การเกษตรกรรม ผศ.ดร.ประภาส ปิ่ นตบแต่ง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปั ญหาที่ดิน มีการกระจุกตัว เกษตรกรไม่มีที่ดินทากิน เป็ นปั ญหาเรื่ องความไม่มนั่ คงในชีวติ มีการขัดแย้งในการ ถือครอง มายาวนาน ตัวเลขใหม่ที่มีการนามาเปิ ดเผยล่ าสุ ดคื อผูแ้ ทนราษฎรหลายร้ อยคนมี ที่ดิน มากกว่าร้อยไร่ ที่ดินถูกเปลี่ยนมือจากเกษตรกรรมไปเป็ นนายทุน กฎหมายปฏิรูปหลายฉบับยังหา ความชัดเจนในทางปฏิบตั ิไม่ได้


13 นโยบายรัฐบาลที่ผา่ นมามีให้คนจนเช่าที่ราชพัสดุ ปั ญหาที่พบคือที่ดินถูกเปลี่ยนมือ เพราะ วิธีคิดเอาเงิ นเป็ นตัวตั้ง ใครมีเงิ นก็เช่ าได้ เครื อข่ายปฏิ รูปที่ดินผลักดันแนวคิดที่ ดินควรถูกจัดการ โดยชุมชน ซึ่ งมีโฉนดชุมชนเกิดขึ้น มีการตั้งธนาคารที่ดิน ที่มีพระราชกฤษฎีกาออกมา มีการอนุมตั ิ โครงการนาร่ องประมาณ 11,063 ล้านบาท เพื่อนาไปซื้ อที่ดินที่อยูใ่ นข้อพิพาทใน 5 พื้นที่ แต่รัฐบาล ชุ ดปั จจุบนั ไม่ยอมตั้งกรรมการ ทาให้ทางานต่อไม่ได้ ขณะที่เรื่ องเก็บภาษีที่ดินสิ่ งปลูกสร้างหรื อที่ เรี ยกว่าภาษีกา้ วหน้า ในช่วงรัฐบาลที่ผา่ นมามีการยกร่ าง แต่ปัจจุบนั ยังไม่มีความคืบหน้า โฉนดชุ มชนเป็ นแนวคิดที่จะทาให้ชุ มชนเข้าถึ งที่ ดินอย่างยัง่ ยืนและมัน่ คง มีการบริ หาร จัดการโดยชุมชน มีการสร้างกติกาให้ชุมชนเข้ามาดูแล ป้ องกันการเปลี่ยนมือไปสู่ คนภายนอก สอด รับกับธนาคารที่ดินที่มีการจัดตั้งเป็ นองค์การมหาชนจะมีการเก็บภาษีอตั ราก้าวหน้ากับคนมีที่ดิน เยอะ ในช่วงรัฐบาลที่ผา่ นมามีชุมชนเข้าร่ วมโครงการโฉนด 38 ชุ มชน มีการยื่นความจานงจานวน มาก เพราะชาวบ้านเห็นช่องทางการเข้าถึงที่ดินมากกว่าที่ผา่ นมา แต่ยงั ไม่มีการประสานงานต่อต้อง ดูกนั ต่อไป รายงานผลการตรวจสอบการปนเปื้ อนของพืชจีเอ็มโอในประเทศไทยพ.ศ.2554-2555 ผศ.ดร.ปิ ยศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ ผอ.ห้องปฏิบตั ิการเทคโนโลยีในพืช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การปนเปื้ อนในอาหารเป็ นหนึ่งประเด็นความมัน่ คงทางอาหารที่ส่งผลกระทบต่อชี วิตความ เป็ นอยู่ประชาชน รวมทั้งส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงและอธิ ปไตยทางอาหารที่มีบทบาทโดยตรง กับความมัน่ คงของประเทศ ปั จจุบนั พื้นที่อาหารถูกท้าทายจากภัยคุกคามรอบด้าน เกิดการสู ญสลาย ของทรัพยากรพันธุ กรรมท้องถิ่นอย่างไม่หวนกลับ ฐานทรัพยากรปนเปื้ อน การล่มสลายของระบบ ผลิ ตอิ นทรี ย ์ ภาระต้นทุนในการตรวจและรับรอง ความเสี ย หายต่ อภาพลักษณ์ ของการผลิ ตทาง การเกษตรของประเทศ เกิดการผูกขาดแหล่งพันธุ์โดยบริ ษทั ข้ามชาติ เจ้าของสิ ทธิ บตั รอาจฟ้ องเรี ยก ค่าเสี ยหาย เป็ นข้ออ้างให้กลุ่มสนับสนุนใช้เหตุผลผิดตรรกะผลักดันจีเอ็มโอ งานวิจยั เป็ นไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ ทุกขึ้นตอน จากการสารวจการหลุดรอดและ ปะปนของพืชดัดแปลงพันธุ กรรมในพื้นที่เกษตรกรรมในช่ วงพฤศจิกายน2554 ถึงเมษายน 2555 ใน 319 ตัวอย่า ง แบ่ง เป็ น ฝ้ าย 27 ตัวอย่าง มะละกอ 74 ตัวอย่าง ข้าว 108 ตัวอย่าง ข้าวโพด 105 ตัวอย่าง พริ กมะเขือเทศ และถัว่ เหลื อง 5 ตัวอย่าง พบการหลุดรอดและปะบนของพืชดัดแปลง พันธุกรรมในฝ้ าย 9 ตัวอย่าง คิดเป็ นร้อยละ 33.33 โดยเฉพาะในพื้นที่จงั หวัด กาญจนบุรีและสุ โขทัย


14 การหลุ ด รอดปะปนในมะละกอ 29 ตัว อย่ า งคิ ด เป็ นร้ อ ยละ 39.19 โดยเฉพาะในพื้ น ที่ จ ัง หวัด กาญจนบุ รี สาเหตุ ส่ วนใหญ่ ม าจากความไม่ รู้ข องเกษตรกร ประเทศไทยไม่ มี ก ารอนุ ญาตตาม กฎหมายให้มีการปลูกทดสอบในพื้นที่เปิ ดและผลิตจีเอ็มโอเชิ งพาณิ ชย์ ไม่มีหน่วยงานรัฐทาหน้าที่ กากับดูแลให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการบังคับใช้กฎหมาย ปั ญหาสะสมเป็ นระยะเวลานานเกษตรกร กลายเป็ นผูท้ าผิดกฎหมายโดยไม่รู้ตวั ผลกระทบดังกล่าวสะท้อนให้เห็ นถึ งช่ องว่าง ประสิ ทธิ ภาพ ในการควบคุ มและกากับดูแลจากภาครัฐ อีกทั้งยังสะท้อนตัวอย่างการดาเนิ นการเกี่ยวกับจีเอ็มโอ เป็ นกิ จการที่ ก่ อให้เกิ ดผลกระทบต่ อชุ ม ชน กระทบการส่ ง ออก กระทบต่ อสั งคม ต่ อจากนี้ ก าร ตัดสิ นใจทาอะไรต้องโปร่ งใส เป็ นที่รับรู้และยอมรับ ที่สาคัญต้องไม่กระทบความมัน่ คงทางอาหาร ของชุมชนและประเทศ นโยบายความปลอดภัยทางอาหารกับการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พชื ผศ.ดร.นพ.ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกล่าวว่า ปั ญหา การใช้สารเคมีมีการตื่นตัวอย่างกว้างขวาง ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ พบอันตรายมากมาย โดยภาวะ เฉียบพลันทาให้ ตาพร่ า ปวดศีรษะ หายใจติดขัด มึนงง คลื่นไส้ เหงื่อออกมาผิดปกติ ปวดกล้ามเนื้ อ ผิวหนังเป็ นผื่นคัน ระบบภูมิคุม้ กัน ระบบสื บพันธุ์ผิดปกติ ขณะที่โรคมะเร็ งที่สัมพันธ์กบั สารเคมี เกษตร เช่น มะเร็ งสมอง มะเร็ งเต้านม มะเร็ งเม็ดเลือดขาว มะเร็ งต่อม น้ าเหลือง มะเร็ งลาไส้ ใหญ่ มะเร็ งไขกระดูก มะเร็ งรังไข่ มะเร็ งตับอ่อน มะเร็ งไต มะเร็ งเนื้ อเยื่ออ่อน มะเร็ งกระเพาะ มะเร็ ง อัณฑะ ต่อมลูกหมาก มะเร็ งปอด สมองเสื่ อม พาร์ กินสัน หอบหื ด ทารกในครรภ์ไม่เติบโต การ แท้งลูก พิการแต่กาเนิด ออติสติก เบาหวาน อสุ จิพิการ ประเทศไทยพบมีคนเสี ยชี วิตจากสารเคมีเกษตรมากถึง 56,000 คนต่อปี มากกว่าโรคใดๆ ที่วา่ ร้ายแรงไม่วา่ จะเป็ นโรคเอดส์ หรื อโรคอื่นๆ ขณะที่หากป่ วยเป็ นมะเร็ งต่อมน้ าเหลืองจะต้องฉี ด ยาเข็มละประมาณ 1 แสนบาท ทั้งนี้เนื่องจากสารเคมีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดีเอ็นเอ ล่าสุ ดยัง พบว่าเป็ นสาเหตุ เบาหวาน คนไทยเป็ นเบาหวานมากขึ้นโดยในปี 2552 คนอายุ เฉลี่ย 55 ปี ป่ วย เบาหวานกว่า 88 % ขณะที่ ใ นต่ า งประเทศ เช่ น สวีเดน อเมริ ก ามี ก ารคุ มเข้ม การใช้ส ารเคมี ใ น การเกษตรอย่างหนัก เพราะที่ผา่ นมาส่ งผลกระทบต่อประชากรประเทศอย่างกว้างขวาง สาหรับประเทศไทยต้องให้มีหลักเกณฑ์การพิจารณาห้ามใช้หรื อเพิกถอนทะเบียนวัตถุ อันตรายให้ชดั เจน ปั ญหาสุ ขภาพที่เกิดจากสารพิษต้องมีการพูดคุ ยกันอย่างจริ งจังว่าจะมีมาตรการ


15 ป้ องกันแก้อย่างไร ไม่ใ ช่ การกิ นดี อิ่มท้องแต่สุดท้ายเป็ นมะเร็ ง ทั้งหมดคื อสถานการณ์ ค วามไม่ มัน่ คงที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และยังต้องหาทางแก้ไขให้ได้ สาเหตุของปัญหาความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย จากการศึกษา พบว่า สาเหตุของการเกิดวิกฤติความไม่มนั่ คงทางอาหารของไทย มีดงั นี้ 1. ปั ญหาการเปลี่ ย นแปลงภูมิอากาศและภาวะโลกร้ อน ที่ สร้ า งความแปรปรวนอย่า ง รุ นแรงต่อดินฟ้ าอากาศ หรื อทรัพยากรน้ า ทาให้ผลผลิ ตทางการเกษตรเสี ยหายและมีการปรับพื้นที่ การเกษตรหลายแห่ ง ให้ ก ลายเป็ นเมื อ งหรื อ โรงงานอุ ต สาหกรรม ส่ ง ผลกระทบโดยตรงต่ อ เกษตรกรรม ทาให้ไม่สามารถคาดการณ์ เกี่ยวกับการเพาะปลูกและผลผลิตที่จะได้รับ ซึ่ งไม่เพียงมี ผลกระทบอยูแ่ ค่ในประเทศเท่านั้น แต่จะส่ งผลกระทบต่อราคาอาหารโลก 2. ปั ญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร คือการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ส่งผล กระทบต่ อความอุ ดมสมบูรณ์ ของดิ น การลดลงของความหลากหลายทางชี วภาพ รวมไปจนถึ ง ปั ญหาเกี่ ยวกับความแห้งแล้งด้วย ถึ งแม้ประเทศไทยมี ปริ มาณน้ าที่เพียงพอต่อความต้องการ แต่ มักจะประสบปั ญหาขาดแคลนน้ าในฤดู แล้ง และประสบอุ ทกภัยในฤดู ฝน รวมถึ ง ปั ญหาการใช้ ทรัพยากรดินอย่างไม่เหมาะสม เกิ ดปั ญหาชะล้างพังทลายของดิ นในอัตราสู ง มีการใช้ปุ๋ยเคมีอย่าง ไม่เหมาะสมและเพิ่มขึ้น พื้นที่ดินของประเทศเกิดปั ญหาความเสื่ อมโทรม เช่น การเกิดดินเค็ม ดิ น เปรี้ ยว และดิ นขาดอิ นทรี ยวัตถุ เป็ นสาเหตุของการเกิ ดความไม่มนั่ คงทางอาหารเพราะที่ ดินเป็ น ปัจจัยการผลิตที่สาคัญในการผลิตอาหารของประเทศ 3. ปั ญหาด้านประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น มีผลต่อความต้องการใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้น ตามไปด้วย ในขณะที่แหล่งน้ ามันจากซากพืช ซากสัตว์ดึกดาบรรพ์ใต้ดินมีปริ มาณลดน้อยถอยลง ไปเป็ นอย่างมาก อันเป็ นเหตุ ผลที่ทาให้เกิ ดความสนใจที่จะหาแหล่งพลังงานทดแทนอื่ นๆ มาใช้ แทนพลังงานน้ ามันเชื้ อเพลิ งจากซากพืชซากสัตว์ และพลังงานจากชี วมวลเหล่านี้ ซึ่ งเป็ นผลผลิ ต จากพืชเกษตรอันเป็ นที่ ทราบกันดี ว่าเป็ นแหล่งวัตถุ ดิบที่สาคัญแหล่งเดี ยวกันกับที่ ใช้ในการผลิ ต อาหารเช่ นเดี ย วกัน ทาให้ราคาน้ ามันแพง ซึ่ งท าให้เกษตรกรปรั บ การเพาะปลู ก เพื่ อรองรั บ การ บริ โภคเป็ นเพื่อรองรับการแปรรู ปเป็ นเชื้อเพลิง อาหารจึงไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชากร ทั้งโลกและมีราคาแพงขึ้น


16 4. ปั ญหาการแผ่ขยายของอาณานิ คมทางอาหาร วิกฤติอาหารและพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อปี พุทธศักราช 2550-2551 ทาให้เกิ ดความไม่มนั่ คงทางอาหารขึ้นในหลายประเทศ ประเทศผูผ้ ลิ ต น้ ามัน ประเทศอุตสาหกรรม และประเทศที่ไม่สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอ เริ่ มกระบวนการเข้า มาเช่าที่ดินและลงทุนทาการเกษตรในต่างประเทศมากขึ้น ประเทศไทยก็เป็ นเป้ าหมายหนึ่ งของการ เข้ามาลงทุ นของต่า งชาติ ทาให้ประเทศที่เคยมีความสมบูรณ์ ทางด้านอาหารต้องเปลี่ ย นมาเป็ น ประเทศผูผ้ ลิตน้ ามันแทนและทาให้ทรัพยากรธรรมชาติสูญเปล่าไป 5. ปั ญหานโยบายเกี่ ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร ในประเทศไทยยังไม่มีนโยบายและ ความตระหนักเกี่ ยวกับอาหารที่ ชัดเจน โดยรั ฐบาลมี การจัดอบรมหรื อให้ค วามรู ้ เกี่ ยวกับความ ปลอดภัยทางด้านอาหาร ขั้นตอนการวางแผนการเพาะปลูกแก่เกษตรกรเฉพาะกลุ่ม ทาให้ประชากร ส่ วนใหญ่ไม่ค่อยให้สนใจเรื่ องการสร้ างความมัน่ คงทางอาหารและไม่รู้จกั การพึ่งพาตนเองด้าน อาหาร ทั้งนี้ เพื่อการขจัดความไม่เป็ นธรรมในระบบการเกษตรและอาหารมีพ้ืนฐานอยูท่ ี่การฟื้ นฟู ศักยภาพและการเรี ยกร้องสิ ทธิของเกษตรกรและชุมชนในการอนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์จาก ทรั พ ยากรชี วภาพ การเข้า ถึ ง ทรั พ ยากรขั้นพื้ น ฐานและการพึ่ ง พาตนเองในปั จ จัย การผลิ ตทาง การเกษตร รวมถึ งการตระหนักรู ้ เท่าทัน เพื่อป้ องกันและขจัดการผูกขาดของบริ ษทั ขนาดใหญ่ที่ พยายามครอบครองฐานทรั พ ยากรอาหาร ระบบการกระจายอาหาร และวัฒนธรรมอาหารไป พร้อมๆ กัน ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่ มั่นคงทางอาหาร 1. ผูบ้ ริ โ ภคอาจได้รั บ อาหารที่ ไ ม่ มี คุ ณ ภาพและอาหารไม่ เพี ย งพอต่ อ ความต้อ งการ รู ปแบบหรื อพฤติกรรมการผลิ ตและการบริ โภคสมัยใหม่มกั จะตอบสนองความต้องการทางด้าน จิ ต ใจมากกว่า ร่ า งกาย ท าให้ เกิ ด ปั ญ หาสุ ข ภาพจากการได้รั บ อาหารที่ ป นเปื้ อนด้วยสารเคมี ที่ เกษตรกรใช้ในการกาจัดศัตรู พืช ดังนั้นสิ่ งที่ทาได้ดีที่สุดคือ ให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน การบริ โภคและรู ปแบบการใช้ชีวติ ออกกาลังกายให้มากขึ้น รับประทานผักและผลไม้ที่ปลอดภัย มี มาตรฐานรับรองเพื่อเพิม่ ความปลอดภัยในชีวติ 2. ราคาพืชผลการเกษตรเพิ่มสู งขึ้น เพราะมีความต้องการบริ โภคมากขึ้น แต่อาหารขาด แคลนเพราะถู กภัยธรรมชาติ ทาลายทาให้เกิ ดปั ญหาเงิ นเฟ้ อ ทั้งราคาน้ ามันที่ เพิ่มขึ้ น ส่ งผลไปถึ ง ราคาปุ๋ ย ค่าขนส่ งอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีความต้องการอาหารที่หลากหลายขึ้นตามจานวน


17 ประชากรโลกที่สูงขึ้นทุกปี ล้วนมีส่วนทาให้ราคาอาหารโลกเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงต้องร่ วมมือกันแก้ไข ปั ญหานี้อย่างเร่ งด่วนเพื่อที่ในระยะยาวราคาอาหารจะเข้าสู่ สภาวะปกติ 3. เกิดผลกระทบกับวิกฤตการณ์ทางเงิน เศรษฐกิจในระดับประเทศและระดับโลก เพราะ สังคมจะถูกขับเคลื่ อนด้วยอานาจของเศรษฐกิ จและการโฆษณา ประเทศจะขาดความสามารถใน การควบคุมราคาสิ นค้าในตลาด เพราะราคาอาหารถีบตัวสู งขึ้นในทุกๆปี เนื่องจากวิกฤติสิ่งแวดล้อม ที่เป็ นปั จจัยสาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการเตรี ยมความพร้อมเพื่อเป็ นศูนย์กลางการผลิตอาหารจากชุ มชน เล็กๆไปจนถึงในระดับชาติ 4. มีการตัดต่อสายพันธุ กรรมในพืชและผลไม้เพิ่มมากขึ้น ด้วยความที่เกรงกลัวว่าจะไม่ สามารถผลิตอาหารให้เพียงพอเพื่อสนองต่อความต้องการประชาชน ประเทศไทยซึ่ งเป็ นประเทศที่ มีการพัฒนาเก็บรักษาพันธุ์พืชเป็ นของตัวเองและเป็ นประเทศที่ผลิ ตสิ นค้าเกษตรจากธรรมชาติ มี เสถียรภาพในการผลิตที่ทาให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้โดยไม่ตอ้ งนาเข้าอาหารปริ มาณ แต่ ปั จจุ บนั ผลผลิ ตเกษตรธรรมชาติ ที่มีราคาสู งจึ ง มี การพันธุ์ พืชแบบตัดต่อพันธุ กรรมมากขึ้ น ซึ่ ง มี แนวโน้ม ที่ ท าให้เกิ ดความเสี่ ย งในการท าลายสุ ข ภาพของผูบ้ ริ โภค สารเคมี ที่ ใ ช้อ าจท าให้เกิ ด อันตรายต่อร่ างกายได้ จึงต้องทาการศึกษาวิจยั ให้ละเอียดจากผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อความปลอดภัยของชีวติ 5. การสู ญเสี ย พื้ นที่ ท ากิ นของเกษตรกร ซึ่ ง เกิ ดจากการเปลี่ ยนแปลงการใช้ที่ ดินเป็ น จานวนมาก ทาให้แหล่งอาหารลดจานวนลง โดยสะท้อนถึงการกระจายอาหารและความสามารถใน การจัดหาแหล่งอาหาร การควบคุ มปริ มาณ การควบคุ มคุ ณภาพอาหาร ไม่ว่าจะเป็ นการใช้พ้ืนที่ เกษตรซึ่ งเป็ นพื้นที่ อาหารเป็ นพื้นที่อุตสาหกรรม การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ งต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อ ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารในท้องทะเล ตลอดจนการแย่งยึดที่ดิน หรื อการเข้ามากว้านซื้ อ ที่ดินของนักลงทุนที่มีมากขึ้นเรื่ อยๆ การพัฒนาทีย่ ั่งยืน การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของตนเอง โดยการพัฒนาที่ยงั่ ยืน รวมความถึง การ พัฒนา 3 ด้าน คื อ เศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อมซึ่ งเชื่ อมโยง และสัมพันธ์ กนั ทั้ง 3 มิติซ่ ึ ง เป้ าหมายของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนไม่ได้อยู่ที่อตั ราการเจริ ญเติ บโตทางเศรษฐกิ จ หากอยู่ที่การ ปรับปรุ งคุ ณภาพชี วิตของประชากรโลกในทางที่ไม่เพิ่มระดับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ จนเกิ น


18 ศักยภาพของธรรมชาติที่จะผลิ ตมันให้มนุ ษย์ใช้อย่างไร้ ขีดจากัด การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนต้องอาศัย ความเข้า ใจว่ า การนิ่ ง เฉยไม่ ท าอะไรเลยมี ผ ลกระทบ และเราต้อ งหาหนทางใหม่ ๆ ในการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงสถาบันและพฤติกรรมของปัจเจกชน ผลกระทบของการพัฒนาในมิติดา้ นสิ่ งแวดล้อมและสังคม ไม่ใช่สิ่งที่เราสามารถมองเห็ น และวัดได้อย่างรวดเร็ ว เป็ นตัวเลข และชัดเจนเท่ากับการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิ จหรื อผล กาไรขาดทุนของธุ รกิจ บ่อยครั้งเวลาต้องผ่านไปนานหลายปี หรื อหลายสิ บปี ก่อนที่เราจะสามารถ พิสูจน์ได้ว่า ปั ญหาใหญ่หลายประการที่เราเคยคิดว่าเป็ นปรากฏการณ์ ธรรมชาติน้ นั แท้จริ งแล้วมี สาเหตุหลักมาจากวิถีการพัฒนาที่ มาผิดทางโดยไม่รู้ตวั ของมนุ ษย์ อาทิเช่น ปั ญหาโลกร้อน ปั ญหา ชายฝั่งถูกกัดเซาะ ปั ญหาขาดแคลนทรัพยากรน้ า ฯลฯ เพียงไม่นานก่อนสิ้ นศตวรรษที่ยี่สิบ มนุ ษย์ เคยเชื่อว่าปลาในทะเลจะมีให้เราจับชัว่ นิ รันดร น้ ามันไม่มีวนั หมดไปจากโลก การสร้างเขื่อนขนาด ใหญ่ส่งผลดี ต่อสังคมส่ วนรวมโดยไม่มีเงื่ อนไข และความเสื่ อมโทรมของระบบนิ เวศในประเทศ ห่างไกลไม่มีทางส่ งผลกระทบต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ องเรา แนวคิดว่าด้ วยการพัฒนาแบบยัง่ ยืน การพัฒนาแบบยัง่ ยืนประกอบด้วยแนวคิดอย่างน้อย 3 ประการคือ ประการแรกเป็ นแนวคิด เกี่ ยวกับความต้องการของมนุ ษย์ ประการที่สอง เป็ นแนวคิดเกี่ ยวกับขีดจากัด และประการที่สาม เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคม แนวคิดประการแรก การพัฒนาแบบยัง่ ยืนคานึงถึงแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการของมนุ ษย์ ซึ่ งอาจเป็ นความต้องการพื้นฐานในการดารงชี วิต เช่น อาหาร เครื่ องนุ่งห่ ม ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรค การมีงานทา และความต้องการที่จะมีมาตรฐานความเป็ นอยูท่ ี่ดีกว่าเดิม ความต้องการทั้ง 2 ประการ นั้นต้องอาศัยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมทั้งสิ้ น แนวคิดประการที่สอง เกี่ยวกับขีดจากัดของสิ่ งแวดล้อม สิ่ งแวดล้อม จะทาหน้าที่อย่างน้อย 2 ประการ คื อ เป็ นผู้ใ ห้ ท รั พ ยากรแก่ ก ระบวนการพัฒ นา และเป็ นที่ ร องรั บ ของเสี ยจาก กระบวนการพัฒนา ระบบสภาพแวดล้อมมีขี ดจากัดในการให้ทรั พยากร และมี ขีดจากัดในการ รองรับของเสี ย


19 ในกระบวนการพัฒนาย่อมจะต้องนาเอาทรัพยากรสิ่ งแวดล้อมมาใช้ประโยชน์ และเมื่อมี การพัฒนา จะต้องมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมทางกายและชี วภาพเกิ ดขึ้นมากบ้างน้อยบ้าง แล้วแต่ ระดับ เทคโนโลยีที่ ใ ช้ แล้ วแต่ อตั ราและปริ ม าณการใช้ป ระโยชน์จากทรั พ ยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อม แล้วแต่ความสามารถในการบริ หารจัดการกับผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมที่อาจเกิ ดขึ้น การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจะต้องไม่กระทบต่อความสามารถของคนรุ่ นต่อๆ ไป ที่จะมาใช้ประโยชน์ จะต้องไม่เกิ นศักยภาพที่ ระบบนิ เวศนั้นจะทาให้งอกงามและฟื้ นฟูข้ ึ นมาใหม่ได้ ไม่เกิ นขอบขี ด ความสามารถ ที่ระบบนิเวศจะรองรับได้ ปรี ชา เปี่ ยมพงศ์สาสนต์ (2539: 221) ได้กล่าวถึ งแนวคิดว่าด้วยการพัฒนาแบบยัง่ ยืน เป็ น แนวความคิดที่ได้รับความนิ ยมมากในปั จจุบนั ตามที่ UNFPA ได้รวบรวมคาอธิ บายเกี่ ยวกับการ พัฒนาแบบยัง่ ยืน ดังนี้ การพัฒนาแบบยัง่ ยืนเป็ นการพัฒนาที่กระจายประโยชน์ของความก้าวหน้า ทางเศรษฐกิ จได้อย่างทัว่ ถึง ตลอดจนเป็ นการพัฒนาที่ปกป้ องสิ่ งแวดล้อมในระดับท้องถิ่นและใน ระดับโลกโดยรวมเพื่อชนรุ่ นหลัง และเป็ นการพัฒนาที่ทาให้คุณภาพชี วิตดีข้ ึนอย่างแท้จริ ง แนวคิด ดังกล่าวเป็ นการจุดประกายแห่ งการรักษามรดกทางทรัพยากรทางธรรมชาติ การทาให้คุณภาพของ ชี วิตมนุ ษย์ดีข้ ึ น ในลักษณะเศรษฐกิ จแบบยัง่ ยืนเป็ นเศรษฐกิ จที่ไม่ก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อระบบ นิ เวศและรั ก ษาทรั พยากรธรรมชาติ ไ ว้ไ ด้ ซึ่ งเป็ นการเปลี่ ย นแปลงในเชิ งคุ ณภาพในระบบของ เศรษฐกิจในภาวะที่มีดุลยภาพทางระบบนิ เวศวิทยา ประเด็นนี้ น่าจะพิจารณาว่า ความยัง่ ยืนนั้นอยูท่ ี่ ระดับ (Level) ของการนาเอาทรัพยากรทางธรรมชาติไปใช้ ยิ่งในสภาวะปั จจุบนั ที่การเปลี่ยนแปลง ด้า นเศรษฐกิ จที่ เ น้น ในเรื่ อ งคุ ณ ภาพจึ ง เป็ นปั ญ หาว่า เท่ า ที่ ท รั พ ยากรมี อ ยู่ ณ ปั จจุ บ ัน และการ นาไปใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุ ษย์น้ นั ทาอย่างไรจึงจะเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงน้อยที่สุด จากประเด็นนี้น่าจะนาไปสู่ ประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสิ่ งแวดล้อม ประชากรกับการพัฒนาแบบยัง่ ยืน เกื้อ วงค์บุญสิ น (2538: 70) กล่าวว่า ประชากรของประเทศนับว่าเป็ นปั จจัยหลักสาหรับการ พัฒนาทางสังคม เศรษฐกิ จและสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งเห็ นได้จากนโยบายการพัฒนาประเทศ มุ่งที่จะลด ภาวะการเจริ ญพันธุ์ แต่บางครั้งเกิดความขัดแย้งในตัว เพราะการลดภาวะการเจริ ญพันธุ์มีผลกระทบ ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิ จหรื อไม่ ประเด็นนี้ ควรศึกษาเช่ นเดี ยวกัน เนื่ องจากโครงสร้างทาง เศรษฐกิจและสังคมนั้นล้วนต้องอาศัยทุนมนุ ษย์ ความไม่มีการควบคุมนั้นจะนามาซึ่ งความยากจน หากรั ฐ ไม่ มี ง บประมาณเพี ย งพอที่ จ ะมาจัด สรรสิ่ ง อ านวยความสะดวกขั้น พื้ น ฐานให้ ใน


20 ขณะเดียวกันหากประชากรในประเทศได้รับการจัดสรรทางการศึกษาจากรัฐเป็ นอย่างดี ส่ งผลให้มี รายได้มีโอกาสที่ดีกว่าด้านอาชี พ เหล่านี้ ลว้ นส่ งให้สุขภาพของประชาชนดี ข้ ึนและอัตราการตาย ของทารกก็อยู่ในระดับต่ า มีแรงงานที่มีคุณภาพ สตรี มีฐานทางการเงิ น สุ ขภาพดี กลายมาเป็ นตัว กาหนดให้ระดับภาวะการเจริ ญพันธุ์คงสู งอยู่ ดังนั้นความยากจนและอัตราการเจริ ญพันธุ์สัมพันธ์ กับโครงสร้ างทางเศรษฐกิ จและสังคม อาจกล่าวได้ว่าการพัฒนามีความเป็ นไปได้หากมีอตั ราการ เจริ ญพันธุ์ ล ดลง โดยกลุ่ ม ประเทศในโลกที่ ส ามซึ่ ง ควรดาเนิ นการไปพร้ อมๆ กับ นโยบายการ วางแผนครอบครัว การสาธารณสุ ข การพัฒนาชนบทและการศึกษา ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน วัฒนา สุ วรรณ และ แสง จันเจริ ญ (2536: 197-199) มีความเห็นว่า ความเจริ ญเติบโตทาง เศรษฐกิจมิได้เพิ่มสวัสดิการความเป็ นอยูข่ องประชาชนแต่กลับทาให้สวัสดิการแย่ลง ประเด็นที่เป็ น ข้อโต้แย้งของการเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ วของประชากรและผลผลิตคือ จะทาให้สิ่งมีชีวิตอื่นๆ สู ญพันธุ์ ไป กล่าวได้ว่าสิ่ งต่างๆ ในโลกนี้ มีคงที่และจะเริ่ มขาดแคลนเมื่อมีความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จ มากขึ้น อุปสงค์ต่ออาหารที่เพิ่มขึ้นของประชากรกลุ่มที่มงั่ คัง่ ร่ ารวยเป็ นเหตุให้ชาวนาต้องใช้ดินทุก ตารางนิ้วอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ แต่ความจริ งมีอยูว่ า่ ที่ดินมีคงที่การเพิ่มขึ้นของประชากรและผลผลิต จะทาให้ราคาของผลผลิตสู งขึ้น และกระตุน้ ให้เจ้าของที่ดินเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ให้สูงขึ้น Mishan ได้ เสนอให้เห็ นความแตกต่างระหว่างคาว่า Modernists และ Environmentalists พวก Modernists ต้องการบริ โภคสิ นค้าและบริ การให้ได้มากที่สุด ฉะนั้นพวกนี้ จะชอบนโยบายทุกนโยบายที่ทาให้ อัตราการเจริ ญเติบโตของผลผลิ ตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น พวกเขาไม่สนใจต่อคุณภาพชี วิต เช่น เสี ยง รบกวนและความสับสนวุ่นวายของการดารงชี วิต ส่ วนพวก Environmentalists เต็มใจที่จะสละ ความสะดวกสบายที่ได้รับจากผลผลิตของเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ งความสุ ขมากขึ้น จากทัศนะที่ให้ไว้ขา้ งต้นจะเห็นว่าความขัดแย้งระหว่างนักเศรษฐศาสตร์ สมัยนิ ยมที่เร่ งการ ผลิตกระตุน้ การบริ โภค การลงทุนเพื่อตอบสนองการบริ โภคกับนักอนุ รักษ์นิยมที่เรี ยกร้องความคง อยู่ข องทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้อม แต่ม าถึ งปั จจุ บ นั การพัฒนาได้ม าถึ งจุ ดตี บ ตัน สอง แนวความคิ ดดังกล่ าวควรประสานความคิดหาทางออกจากจุดวิกฤตทางการพัฒนา สิ่ งจาเป็ นคื อ การปรับยุทธศาสตร์ การพัฒนา ซึ่ งจะต้องมุ่งไปยังเรื่ องความมัน่ คงและเสถี ยรภาพทางนิ เวศ แต่ใน ขณะเดี ยวกันก็ไม่ละเลยเรื่ องการปรั บปรุ งชี วิตของผูย้ ากไร้ ทางด้านเศรษฐกิ จสังคม ซึ่ งจะต้องมี พื้นฐานการพัฒนายัง่ ยืนยาวนาน (Sustainable Development) มีอยู่ 2 มิติดว้ ยกันคือ


21 1. สนองความต้องการของมวลชนผูย้ ากไร้ในชนบทและในเมือง 2. วางขี ดทางนิ เวศให้แก่ กระบวนการพัฒนา เพื่อพิทกั ษ์รักษาฐานทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม เศรษฐกิจพอเพียง จุดเริ่มต้ นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แก่ สั ง คมไทยอย่า งมากในทุ ก ด้า น ไม่ ว่า จะเป็ นด้า นเศรษฐกิ จ การเมื อ ง วัฒนธรรม สั ง คมและ สิ่ งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิ บายใน เชิ ง สาเหตุ แ ละผลลัพ ธ์ ไ ด้ เพราะการเปลี่ ย นแปลงทั้ง หมดต่ า งเป็ นปั จ จัย เชื่ อ มโยงซึ่ งกัน และ กัน ส าหรั บ ผลของการพัฒนาในด้า นบวกนั้น ได้แก่ การเพิ่ ม ขึ้ นของอัตราการเจริ ญเติ บ โตทาง เศรษฐกิ จ ความเจริ ญทางวัตถุ และสาธารณู ป โภคต่า งๆ ระบบสื่ อสารที่ ทนั สมัย หรื อการขยาย ปริ มาณและกระจายการศึกษาอย่างทัว่ ถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคน ในชนบท หรื อผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมน้อย แต่วา่ กระบวนการเปลี่ ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบ ติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลาย ด้า น ทั้ง การต้อ งพึ่ ง พิ ง ตลาดและพ่ อ ค้า คนกลางในการสั่ ง สิ น ค้า ทุ น ความเสื่ อ มโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครื อญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณี เพื่อการ จัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิ มแตกสลายลง ภูมิความรู ้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ ยน กันมาถูกลืมเลือนและเริ่ มสู ญหายไป สิ่ งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชี วิต ซึ่ งเป็ นเงื่อนไข พื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนิ นชี วิตไปได้อย่างมี ศกั ดิ์ ศรี ภายใต้อานาจและ ความมีอิสระในการกาหนดชะตาชี วิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุ มและจัดการเพื่อให้ ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้องการต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปั ญหาต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่ งทั้งหมดนี้ ถือว่าเป็ นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแ่ ต่เดิม ต้อง ถู ก กระทบกระเทื อน ซึ่ งวิก ฤตเศรษฐกิ จจากปั ญหาฟองสบู่และปั ญหาความอ่ อนแอของชนบท รวมทั้งปั ญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็ นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฏการณ์น้ ีได้เป็ นอย่างดี


22 เศรษฐกิ จพอเพียง เป็ นปรัชญาที่ ช้ ี แนวทางการดารงชี วิต ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชการที่ 9 มีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็ นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจน ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็ นแนวทางการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิ จของประเทศไทย ให้ สามารถดารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนในกระแสโลกาภิวตั น์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปั ญญาชน ในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็ น อย่างเช่ น ศ.นพ.ประเวศ วะสี และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุ ภา โดยเชื่ อมโยงแนวคิ ดเศรษฐกิ จพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุ มชน ซึ่ งเคยถูกเสนอมาก่อน หน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจานวนหนึ่ งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิ ด เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นที่รู้จกั อย่างกว้างขวางในสังคมไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติได้เชิ ญผูท้ รงคุณวุฒิในทาง เศรษฐกิ จและสาขาอื่น ๆ มาร่ วมกันประมวลและกลัน่ กรองพระราชดารัสเรื่ องเศรษฐกิ จพอเพียง เพื่อบรรจุ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9 และได้จดั ทาเป็ นบทความเรื่ อง ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุ ณาขอพระราชทานพระบรม ราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุ ณาปรับปรุ งแก้ไขพระราชทานและทรง พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุ ญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติและทุก ฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทัว่ ไป เมื่อวันที่ 21พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงนี้ ได้รับการเชิ ดชูเป็ นอย่างสู งจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็ น ปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็ น แนวทางสู่ การพัฒนาแบบยัง่ ยืน โดยมีนกั วิชาการและนักเศรษฐศาสตร์ หลายคนเห็นด้วยกับแนวทาง เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง แต่ ใ นขณะเดี ย วกัน บางสื่ อ ได้มี ก ารตั้ง ค าถามถึ ง การยกย่ อ งขององค์ ก าร สหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ องค์ ประกอบของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ที่ ไม่ น้อยเกิ นไปและไม่ ม ากเกิ นไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ


23 2. ความมีเหตุผล หมายถึ ง การตัดสิ นใจเกี่ ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึ งถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ 3. ภูมิคุม้ กัน หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ทฤษฎีใหม่ 1. มีการบริ หารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่ วนที่ชดั เจนเพื่อประโยชน์สูงสุ ด ของเกษตรกรซึ่ งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน 2. มี การค านวณโดยใช้หลักวิชาการเกี่ ยวกับปริ ม าณน้ าที่ จะกักเก็บ ให้พ อเพียงต่อการ เพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี 3. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง 3 ขั้นตอน ทฤษฎีใหม่ ข้นั ต้ น ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็ น 4 ส่ วน ตามอัตราส่ วน 30:30:30:10 พื้นที่ส่วนที่หนึ่ ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้ าเพื่อใช้เก็บกักน้ าฝนในฤดูฝน และใช้ เสริ มการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้ าต่างๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวันสาหรับ ครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน หากเหลือบริ โภคก็นาไปจาหน่าย


24 พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10% เป็ นที่อยูอ่ าศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรื อนอื่นๆ ทฤษฎีใหม่ ข้นั ทีส่ อง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิ บตั ิในที่ดินของตนจนได้ผลแล้วก็ตอ้ งเริ่ มขั้นที่ สองคือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรู ปกลุ่ มหรื อสหกรณ์ ร่วมแรงร่ วมใจกันดาเนิ นการในด้านการ ผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ) การตลาด (ลานตากข้าว ยุง้ เครื่ องสี ขา้ ว การจาหน่ าย ผลผลิ ต การเป็ นอยู่ (กะปิ น้ า ปลา อาหาร เครื่ องนุ่ ง ห่ ม ฯลฯ) สวัส ดิ การ (สาธารณสุ ข เงิ นกู้) การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา) รวมถึงสังคมและศาสนา ทฤษฎีใหม่ ข้นั ทีส่ าม เมื่ อดาเนิ นการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรื อกลุ่ มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้า ไปสู่ ข้ นั ที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรื อแหล่งเงิน เช่ น ธนาคาร หรื อบริ ษทั ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชี วิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคาร หรื อบริ ษทั เอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ 1. เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสู ง (ไม่ถูกกดราคา) 2. ธนาคารหรื อบริ ษทั เอกชนสามารถซื้ อข้าวบริ โภคในราคาต่ า (ซื้ อข้าวเปลื อกตรงจาก เกษตรกรและมาสี เอง) 3. เกษตรกรซื้ อเครื่ องอุปโภคบริ โภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้ อเป็ นจานวนมาก (เป็ น ร้านสหกรณ์ราคาขายส่ ง) 4. ธนาคารหรื อบริ ษทั เอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนิ นการในกิจกรรม ต่างๆ ให้เกิดผลดียงิ่ ขึ้น


25 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดารัส ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทย เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบตั ิตน ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุ มชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และ บริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อโลก ยุคโลกาภิวฒั น์ ชี้แนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ นโดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถี ชีวติ ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิ งระบบที่ มีการเปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมัน่ คงและความ ยัง่ ยืนของการพัฒนา ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่ จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี และต้องประกอบไปด้วยสองเงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู ้ เงื่อนไข คุณธรรม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่ วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ี แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะ เป็ น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิ งระบบที่มีการ เปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤติเพื่อความมัน่ คง และความยัง่ ยืน ของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิ จพอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิ บตั ิ ตนได้ในทุ ก ระดับ โดยเน้นการปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน 3. คานิ ยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุ ณลักษณะ คือ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ื่น เช่นการ บริ โภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึ ง การตัดสิ นใจเกี่ ยวกับระดับของความ พอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึ งถึงผล ที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ และการมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว หมายถึ ง การ เตรี ยมตัวให้พร้ อมรับผลกระทบ และการเปลี่ ยนแปลงด้านต่างๆ ที่ จะเกิ ดขึ้ นโดยคานึ งถึ งความ เป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล


26 4. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนิ นกิ จกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้อง อาศัยทั้งความรู ้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้ 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้ เกี่ ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ ยวข้องอย่าง รอบด้า น ความรอบคอบที่ จ ะนาความรู ้ เหล่ า นั้นมาพิ จารณาให้ เชื่ อ มโยงกัน เพื่ อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบตั ิ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซื่อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ 5. แนวทางปฏิบตั ิ และผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงมา ประยุก ต์ใ ช้ คื อ การพัฒนาที่ ส มดุ ล และยัง่ ยืน พร้ อมรั บ ต่อการเปลี่ ย นแปลงในทุ ก ด้า น ทั้ง ด้า น เศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม ความรู ้ และเทคโนโลยี นัน่ คือ หลักแนวคิด และแนวทางเพื่อการปฏิบตั ิ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง ซึ่ งไม่ ว่าจะเป็ นบุคคล หรื อองค์กรต่างๆ สามารถปฏิบตั ิตามได้ พระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียง พระราชด ารั ส เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป็ นพระราชด ารั ส ที่ ช้ ี แนวทางการด ารงชี วิ ต ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็ นต้นมา และถูกพูดถึ งอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็ นแนวทางการแก้ไข ปั ญหาเศรษฐกิ จของประเทศไทย ซึ่ งได้เกิ ดวิกฤตการณ์ ทางการเงิ นในเอเชี ย หรื อเรี ยกทัว่ ไปใน ประเทศไทยว่า วิกฤตต้มยากุง้ เป็ นช่วงวิกฤตการเงินซึ่ งส่ งผลกระทบถึงหลายประเทศในทวีปเอเชี ย เริ่ มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ก่อให้เกิดความกลัวว่าจะเกิดการล่มสลายทางเศรษฐกิจทัว่ โลก เนื่องจากการแพร่ ระบาดทางการเงินวิกฤตดังกล่าวเริ่ มขึ้นในประเทศไทย เมื่ อค่าเงิ นบาทลดลงอย่างมากอันเกิ ดจากการตัดสิ นใจของรั ฐบาลไทย ซึ่ งมี พลเอกชวลิ ต ยงใจยุทธ เป็ นนายกรั ฐมนตรี ที่ลอยตัวค่าเงิ นบาท ตัดการอิงเงินสกุลดอลล่าร์ สหรัฐ หลังจากความ พยายามทั้งหมดที่จะสนับสนุนค่าเงินบาทเมื่อเผชิญกับการแผ่ขยายแบบเกินเลยทางการเงิน


27 พระองค์ท่านจึงได้ มีพระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็ นแนวทางในการดารงชี วิต แก่ คนไทย ดังต่อไปนี้ พระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทาน ณ วันที่ 4 ธันวาคม 2541 “เศรษฐกิจพอเพียง จะทาความเจริ ญให้แก่ประเทศได้ แต่ตอ้ งมีความเพียร แล้วต้อง อดทน ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่พูดมาก ต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าทาโดยเข้าใจกัน เชื่ อว่าทุกคนจะมีความ พอใจได้” พระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว จากวารสารชัยพัฒนา “เศรษฐกิ จพอเพียงเป็ นเสมือนรากฐานของชี วิต รากฐานความมัน่ คงของแผ่นดิ น เปรี ยบเสมือน เสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรื อนตัวอาคารไว้นนั่ เอง สิ่ งก่อสร้ างจะมัน่ คงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คน ส่ วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสี ยด้วยซ้ าไป” ความเข้ าใจของคนส่ วนมากต่ อเศรษฐกิจพอเพียง คนส่ ว นมากมัก เข้า ใจว่า เศรษฐกิ จพอเพี ย งเป็ นเรื่ องของเกษตรกรเท่ า นั้น ซึ่ ง แท้จริ ง ผู ้ ประกอบอาชีพอื่น ก็สามารถนาเอาแนวพระราชดารัสไปประยุกต์ใช้ได้ท้ งั สิ้ น ผูท้ ี่ เป็ นเจ้า ของโรงงานอุ ตสาหกรรม ก็ สามารถนามาประยุก ต์ใช้โดยเน้นการผลิ ตด้า น การเกษตรอย่างต่อเนื่อง และไม่ควรทาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เกินไป เพราะหากขนาดใหญ่เกินไป ก็จะต้องพึ่งพิงสิ นค้าวัตถุดิบและเทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้ามาผลิตสิ นค้า ต้องคานึ งถึ งสิ่ งที่อยู่ ในประเทศไทยก่อน เพื่อให้ไม่ตอ้ งพึ่งพิงต่างชาติ อย่างเช่ นปั จจุบนั ผูท้ ี่เป็ นเกษตรกร หากมีความ พอประมาณในใจตน ไม่นึกแต่จะซื้ อรถคันใหม่ หรื อเครื่ องมืออานวยความสะดวกอยูร่ ่ าไป ก็จะมี ความสุ ข เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็ นพระราชดารัสที่พระราชทานให้ประชาชนดาเนิ นตามวิถีชีวิตแห่ ง การดารงชีพที่สมบูรณ์ โดยมีธรรมะเป็ นเครื่ องกากับ และมีใจตนเป็ นสาคัญ ซึ่ งก็คือวิถีชีวิตไทยที่ยึด ทางสายกลางของความพอดี


28 หลักการและแนวทางสาคัญ 1. เป็ นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ ประหยัดก่อน ทั้งนี้ ชุมชนต้องมีความสามัคคี ร่ วมมือร่ วมใจในการช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน 2. เนื่ อ งจากข้า วเป็ นปั จ จัย หลัก ที่ ทุ ก ครั ว เรื อ นจะต้อ งบริ โ ภค ดัง นั้น จึ ง ประมาณว่ า ครอบครัวหนึ่งทานาประมาณ 5 ไร่ จะทาให้มีขา้ วพอกินตลอดปี โดยไม่ตอ้ งซื้ อหาในราคาแพง เพื่อ ยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ 3. ต้องมีน้ าเพื่อการเพาะปลูกสารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรื อระยะฝนทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนั้น จึงจาเป็ นต้องกันที่ดินส่ วนหนึ่งไว้ขดุ สระน้ า โดยมีหลักว่าต้องมีน้ าเพียงพอที่จะเพาะปลูกได้ ตลอดปี ทั้งนี้ ได้พระราชทานพระราชดาริ เป็ นแนวทางว่า ต้องมีน้ า 1,000 ลู กบาศก์เมตร ต่อการ เพาะปลูก 1 ไร่ โดยประมาณ ดังนั้น หากตั้งสมมติฐานว่า มีพ้ืนที่ 5 ไร่ ก็จะสามารถกาหนดสู ตร คร่ าวๆ ว่า แต่ละแปลง ประกอบด้วย นาข้าว 5 ไร่ พืชไร่ พืชสวน 5 ไร่ สระน้ า 3 ไร่ ขุดลึก 4 เมตร จุ น้ าได้ประมาณ 19,000 ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งเป็ นปริ มาณน้ าที่เพียงพอที่จะสารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง ที่อยู่ อาศัยและอื่นๆ 2 ไร่ รวมทั้งหมด 15 ไร่ แต่ท้ งั นี้ ขนาดของสระเก็บน้ าขึ้นอยู่กบั สภาพภูมิประเทศ และสภาพแวดล้อม ถ้าเป็ นพื้นที่ ทาการเกษตรอาศัยน้ าฝน สระน้ าควรมี ลกั ษณะลึ ก เพื่อป้ องกัน ไม่ ใ ห้น้ า ระเหยได้ม ากเกิ นไป ซึ่ ง จะท าให้ มี น้ า ใช้ตลอดทั้ง ปี ถ้า เป็ นพื้ นที่ ท าการเกษตรในเขต ชลประทาน สระน้ า อาจมี ล ัก ษณะลึ ก หรื อตื้ น และแคบ หรื อกว้า งก็ ได้ โดยพิ จารณาตามความ เหมาะสม เพราะสามารถมีน้ ามาเติมอยูเ่ รื่ อยๆ การมี ส ระเก็ บ น้ า ก็ เพื่ อให้ เกษตรกรมี น้ า ใช้อย่า งสม่ า เสมอทั้ง ปี โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ใน หน้าแล้งและระยะฝนทิ้งช่วง แต่มิได้หมายความว่า เกษตรกรจะสามารถปลูกข้าวนาปรังได้ เพราะ หากน้ าในสระเก็บน้ าไม่พอ ในกรณี มีเขื่อนอยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงก็อาจจะต้องสู บน้ ามาจากเขื่อน ซึ่ งจะ ทาให้น้ าในเขื่อนหมดได้ แต่เกษตรกรควรทานาในหน้าฝน และเมื่อถึ งฤดูแล้ง หรื อฝนทิ้งช่ วงให้ เกษตรกรใช้น้ าที่เก็บตุนนั้น ให้เกิ ดประโยชน์ทางการเกษตรอย่างสู งสุ ด โดยพิจารณาปลูกพืชให้ เหมาะสมกับฤดูกาล เพื่อจะได้มีผลผลิตอื่นๆ ไว้บริ โภคและสามารถนาไปขายได้ตลอดทั้งปี 4. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรง ค านวณและค านึ ง จากอัต ราการถื อ ครองที่ ดิ น ถัว เฉลี่ ย ครั ว เรื อ นละ 15 ไร่ อย่า งไรก็ ต าม หาก


29 เกษตรกรมีพ้ืนที่ถือครองน้อยกว่านี้ หรื อมากกว่านี้ ก็สามารถใช้อตั ราส่ วน 30:30:30:10 เป็ นเกณฑ์ ปรับใช้ได้ กล่าวคือร้อยละ 30 ส่ วนแรก ขุดสระน้ า (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ า เช่น ผักบุง้ ผักกะ เฉด ฯลฯ ได้ด้วย) บนสระอาจสร้ างเล้า ไก่ และบนขอบสระน้ าอาจปลู กไม้ยืนต้นที่ ไ ม่ใช้น้ ามาก โดยรอบได้ ร้อยละ 30 ส่ วนที่สอง ทานา ร้อยละ 30 ส่ วนที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยืน ต้น ไม้ใช้สอย ไม้เพื่อเป็ นเชื้ อฟื น ไม้สร้างบ้าน พืชไร่ พืชผัก สมุนไพร เป็ นต้น) ร้อยละ 10 สุ ดท้าย เป็ นที่อยูอ่ าศัยและอื่นๆ (ทางเดิน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ ยหมัก โรงเรื อน โรงเพาะเห็ด คอก สัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชสวนครัวหลังบ้าน เป็ นต้น) อย่า งไรก็ ตาม อัตราส่ วนดัง กล่ า วเป็ นสู ตร หรื อหลัก การโดยประมาณเท่ า นั้น สามารถ ปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยขึ้นอยู่กบั สภาพของพื้นที่ดิน ปริ มาณน้ าฝน และ สภาพแวดล้อม เช่น ในกรณี ภาคใต้ที่มีฝนตกชุ ก หรื อพื้นที่ที่มีแหล่งน้ ามาเติมสระได้ต่อเนื่ อง ก็อาจ ลดขนาดของบ่อ หรื อสระเก็บน้ าให้เล็กลง เพื่อเก็บพื้นที่ไว้ใช้ประโยชน์อื่นต่อไปได้ 5. การด าเนิ น การตามทฤษฎี ใ หม่ มี ปั จ จัย ประกอบหลายประการ ขึ้ น อยู่ ก ับ สภาพ ภูมิประเทศ สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่ น ดังนั้น เกษตรกรควรขอรับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ ด้วย และที่สาคัญ คือ ราคาการลงทุนค่อนข้างสู ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขุดสระน้ า เกษตรกรจะต้อง ได้รับความช่วยเหลือจากส่ วนราชการ มูลนิธิ และเอกชน 6. ในระหว่างการขุดสระน้ า จะมีดินที่ถูกขุดขึ้นมาจานวนมาก หน้าดิ นซึ่ งเป็ นดิ นดี ควร นาไปกองไว้ต่างหากเพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนามาเกลี่ยคลุมดิน ชั้น ล่ า งที่ เ ป็ นดิ นไม่ ดี หรื อ อาจน ามาถมท าขอบสระน้ า หรื อ ยกร่ อ งส าหรั บ ปลู ก ไม้ผ ลก็ จ ะได้ ประโยชน์อีกทางหนึ่ง ตัวอย่า งพื ช ที่ ค วรปลู กและสั ตว์ที่ ควรเลี้ ย ง มี ดังนี้ ไม้ผลและผักยืนต้น ได้แก่ มะม่ วง มะพร้าว มะขาม ขนุ น ละมุด ส้ม กล้วย น้อยหน่ า มะละกอ แคบ้าน มะรุ ม สะเดา ขี้เหล็ก กระถิ น ฯลฯ ผักล้มลุ กและดอกไม้ ได้แก่ มันเทศ เผือก ถัว่ ฝั ก ยาว มะเขื อ มะลิ ดาวเรื อง บานไม่รู้โรย กุ ห ลาบ รั ก และซ่ อ นกลิ่ น เป็ นต้น เห็ ด ได้แ ก่ เห็ ด นางฟ้ า เห็ ด ฟาง เห็ ด เป๋ าฮื้ อ เป็ นต้น สมุนไพรและเครื่ องเทศ ได้แก่ หมาก พลู พริ กไท บุก บัวบก มะเกลือ ชุมเห็ด หญ้าแฝก และพืชผัก บางชนิ ด เช่ น กะเพรา โหระพา สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้ เป็ นต้น ไม้ใช้สอยและเชื้ อเพลิ ง


30 ได้แก่ ไผ่ มะพร้าว ตาล กระถิ นณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถิ น สะเดา ขี้เหล็ก ประดู่ ชิงชัน และยางนา เป็ นต้น พืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด ถัว่ เหลื อง ถัว่ ลิ สง ถัว่ พุ่ม ถัว่ มะแฮะ อ้อย มันสาปะหลัง ละหุ่ ง นุ่ น เป็ นต้น พืชไร่ หลายชนิดอาจเก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตยังสดอยู่ และจาหน่ายเป็ นพืชประเภทผักได้ และมี ราคาดี กว่าเก็บเมื่อแก่ ได้แก่ ข้าวโพด ถัวเหลื อง ถัว่ ลิ สง ถัว่ พุ่ม ถัว่ มะแฮะ อ้อย และมันสาปะหลัง พืชบารุ งดินและพืชคลุมดิน ได้แก่ ถัว่ มะแฮะ ถัว่ ฮามาต้า โสนแอฟริ กนั โสนพื้นเมือง ปอเทือง ถัว่ พร้า ขี้เหล็ก กระถิน รวมทั้งถัว่ เขียวและถัว่ พุม่ เป็ นต้น และเมื่อเก็บเกี่ยวแล้วไถกลบลงไปเพื่อบารุ ง ดินได้ สัตว์เลี้ยงอื่นๆ ได้แก่ ปลาไน ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาดุก เพื่อเป็ นอาหารเสริ มประเภท โปรตีน และยังสามารถนาไปจาหน่ ายเป็ นรายได้เสริ มได้อีกด้วย ในบางพื้นที่สามารถเลี้ ยงกบได้ สุ กร หรื อ ไก่ เลี้ ยงบนขอบสระน้ า ทั้งนี้ มูลสุ กรและไก่สามารถนามาเป็ นอาหารปลา บางแห่ งอาจ เลี้ยงเป็ ดได้ ประโยชน์ ของทฤษฎีใหม่ 1. ให้ประชาชนพออยูพ่ อกินสมควรแก่อตั ภาพในระดับที่ประหยัด ไม่อดอยาก และเลี้ยง ตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ในหน้าแล้งมีน้ าน้อย ก็สามารถเอาน้ าที่เก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่างๆ ที่ใช้น้ าน้อย ได้ โดยไม่ตอ้ งเบียดเบียนชลประทาน 3. ในปี ที่ ฝนตกตามฤดู ก าลโดยมี น้ าดี ตลอดปี ทฤษฎี ใหม่น้ ี สามารถสร้ างรายได้ให้แก่ เกษตรกรได้โดยไม่เดือดร้อนในเรื่ องค่าใช้จ่ายต่างๆ 4. ในกรณี ที่เกิดอุทกภัย เกษตรกรสามารถที่จะฟื้ นตัวและช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ ง โดย ทางราชการไม่ตอ้ งช่วยเหลือมากนัก ซึ่ งเป็ นการประหยัดงบประมาณด้วย


31 หลักการพึง่ ตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักการการพึง่ พาตนเอง กนกกาญจน์ ฉวีวงศ์ (2552: 31 อ้างถึง สุ เมธตันติเวชกุล, 2543: 2) ซึ่ งกล่าวว่าการพึ่งตนเอง หมายถึงความสามารถในการดารงชีวติ อยูไ่ ด้อย่างไม่เดือดร้อนยึดทางสายกลางในการดารงชี วิตและ สามารถพึ่งตนเองได้และแบ่งหลักการการพึ่งพาตนเองโดยยึดหลักสาคัญเป็ น 5 ด้านดังนี้ 1. ด้านจิตใจ การพึ่งตนเองด้านจิตใจ หมายถึ ง ต้องเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ มี จิตสานึ กที่ ดี เอื้ อ อาทร ประนีประนอมนึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวม 2. ด้านสังคม การพึ่งตนเองด้านสังคมหมายถึ งการช่ วยเหลื อเกื้ อกูลกันความสามารถในการช่ วยเหลื อ เกื้อกูลกันสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนรู ้จกั ผนึกกาลัง และที่สาคัญมีกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เกิดจาก ฐานรากที่มนั่ คงและแข็งแรง 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม การพึ่ ง ตนเองด้า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ มหมายถึ ง การใช้ แ ละจัด การ ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด พร้อมทั้งหาทางเพิ่มคุณค่า โดยยึดอยูบ่ นหลักของความยัง่ ยืน 4. ด้านเทคโนโลยี การพึ่งตนเองทางเทคโนโลยีวา่ หมายถึงการเลือกใช้เฉพาะสิ่ งที่สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพแวดล้อมและการพัฒนาเทคโนโลยีของเราด้วย


32 5. ด้านเศรษฐกิจ การพึ่งตนเองด้านเศรษฐกิจหมายถึงสามารถอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเองในระดับเบื้องต้น กล่าวคือแม้ ไม่มีเงิ นก็ยงั มีขา้ วปลาผักผลไม้ในท้องถิ่นของตนเองเพื่อการยังชี พซึ่ งนาไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิ จ ของประเทศในระดับมหภาคต่อไปได้ แนวคิดการพัฒนาเพือ่ พึง่ ตนเองของเกษตรกรอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (Self-reliance) แนวพระราชดาริ เกี่ยวกับการส่ งเสริ มชุ มชนหรื อการพัฒนาชนบทที่สาคัญๆ คือ การที่ทรง มุ่งช่ วยเหลือพัฒนา คือ การที่ทรงมุ่งช่ วยเหลือพัฒนาให้เกิ ดการพึ่งตนเองได้ของคนในชนบทเป็ น หลัก กิจกรรมและโครงการตามแนวพระราชดาริ ที่ดาเนิ นการอยูห่ ลายพื้นที่ทวั่ ประเทศในปั จจุบนั นั้นล้วนแล้วแต่มีเป้ าหมายสุ ดท้ายอยูท่ ี่การพึ่งตนเองได้ของราษฎรทั้งสิ้ น ในการพัฒนาทั้งด้านอาชี พและส่ งเสริ มการเกษตร ให้เกษตรกรสามารดารงชี พอยูไ่ ด้อย่าง มัน่ คงเป็ นปึ กแผ่นนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวทรงดาเนิ นการแนะนาสาธิ ตให้ป ระชาชน ดาเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาทเป็ นไปตามหลักการพัฒนาสังคมชุมชนอย่างแท้จริ ง กล่าวคือ ทรง มุ่งช่วยเหลือพัฒนาให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของคนในชนบทเป็ นหลัก ดัง นั้น การที่ ร าษฎรในชนบทสามารถพึ่ ง ตนเองได้ม ากยิ่ ง ขึ้ น นั้น สื บ เนื่ อ งจากแนว พระราชดาริ ดา้ นการพัฒนาที่ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานแก่เกษตรกร ทั้งหลายประการ วิธีการพัฒนา 1. ทรงยึดหลักที่ไม่ใช้วิธีการสั่งการให้เกษตรกรปฏิ บตั ิตาม เนื่ องจากไม่อาจช่ วยให้คน เหล่านั้นพึ่งตนเองได้ เนื่ องจากเป็ นการปฏิ บตั ิงานโดยไม่ได้เกิ ดจากความพึงใจ ดังพระราชดารั ส ความตอนหนึ่ งว่า “..ดาริ คือ ความเห็นที่จะทา ไม่ใช่คาสั่งแต่มนั เป็ นความเห็น มีทฤษฎีอะไรต้อง บอกออกมา ฟังได้ฟัง ชอบใจก็เอาไปได้ ใครไม่ชอบก็ไม่เป็ นไร...”


33 2. ทรงเน้ น ให้ พ่ ึ ง ตนเองและช่ ว ยเหลื อ ตนเองเป็ นหลัก ส าคัญ พระบาทสมเด็ จ พระ เจ้าอยูห่ วั มักจะทรงทาหน้าที่กระตุน้ ให้เกษตรกรทั้งหลายคิดหาลู่ทางที่จะช่วยตนเอง พึ่งตนเองโดย ไม่มีการบังคับการแสวงหาความร่ วมมือจากภายนอกต้องกระทาเมื่อจาเป็ นจริ งๆ ดังพระราชดารัส ตอนหนึ่ งที่ ว่า “...คนทุกคน ไม่ว่าชาวกรุ งหรื อชาวชนบทไม่ว่ามี การศึ กษามากหรื อน้อยอย่างไร ย่อมมีจิตใจเป็ นอิสระ มีความคิดเห็น มีความพอใจ เป็ นของตนเอง ไม่ชอบการบังคับ นอกจากนั้น ยังมีขนบธรรมเนียม มีแบบแผนเฉพาะเหล่ากันอีกด้วย...” 3. พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หั ว ทรงใช้ห ลัก การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน (People Participation) เป็ นจุดหลักสาคัญในการพัฒนาตามโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ ด้วยการ ดาเนิ นการเช่ นนั้น จักช่วยให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในที่สุด ดังเคยมีพระราชดารัส ในโอกาสวันขึ้นปี ใหม่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2501 กับประชาชนชาวไทยทั้งหลายว่า “...ภาระในการ บริ หารนั้นจะประสบผลด้วยดี ย่อมต้องอาศัยความรั กชาติ ความซื่ อสัตย์สุจริ ต ความสมัครสมาน กลมเกลียวกัน ประกอบกับการร่ วมมือของประชาชนพลเมืองทัว่ ไป ข้าพเจ้าจึงหวังว่าท่านทั้งหลาย คงจะพยายามปฏิบตั ิกรณี ยกิจในส่ วนของแต่ละท่านด้วยใจบริ สุทธิ์ โดยคานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวม ทั้งนี้เพื่อได้มาซึ่ งความร่ มเย็นเป็ นสุ ขของประชาชนทัว่ ไปอันเป็ นยอดปรารถนาด้วยกันทั้งสิ้ น... ” 4. หลักสาคัญอีกประการหนึ่ ง ในการแนะนาประชาชนเกี่ยวกับโครงการอันเนื่ องมาจาก พระราชดาริ คือ ทรงใช้หลักประชาธิ ปไตยในการดาเนิ นการ เห็นได้ชดั เจนในทุกคราที่เสด็จพระ ราชดาเนินไปทรงเยีย่ มเยียนประชาชนและเกษตรกรร้องทุกข์เกี่ยวกับปั ญหาที่เกิดขึ้น หากเจ้าหน้าที่ ทัก ท้วงสิ่ ง ใดทางวิ ช าการ กราบบัง คมทู ล แล้ว ก็ ท รงรั บ ฟั ง ข้อ สรุ ป อย่า งเป็ นกลาง หากสิ่ ง ใดที่ เจ้าหน้าที่กราบบังคมทูลว่าปฏิ บตั ิได้ แต่ผลลัพธ์ อาจไม่คุม้ ค่ากับเงิ นที่ลงไป พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวก็ทรงให้เปลี่ ยนแปลงโครงการได้เสมอ เห็ นได้ชดั เจนจากพระราชดารั สศูนย์ศึกษาการ พัฒนาอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ วา่ “...เป็ นสถานที่ที่ผูท้ างานในด้านพัฒนาจะไปทาอะไรอย่างที่ เรี ยกว่า ทดลอง ก็ได้ และเมื่อทดลองแล้วจะทาให้ผอู ้ ื่นที่ไม่ใช่ผเู ้ ชี่ ยวชาญในวิชานั้นสามารถเข้าใจ ว่าเขาทากันอย่างไรเขาทาอะไรกัน...” และได้พระราชทานพระราชาธิ บายเพิ่มเติมอีกว่า “...ฉะนั้นศูนย์ศึกษาการพัฒนานี้ ถ้าทา อะไรล้มเหลวต้องไม่ถือว่าเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งถูกลงโทษ แต่เป็ นสิ่ งที่แสดงว่าทาอย่างนั้นไม่เกิดผล...”


34 5. ทรงยึ ด หลัก สภาพของท้อ งถิ่ น เป็ นแนวทางในการด าเนิ น งานตามโครงการอัน เนื่ องมาจากพระราชดาริ ทั้งด้านสภาพแวดล้อม ทางภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนี ยม ประเพณี ของแต่ละท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคของประเทศ เพราะทรงตระหนักดีกว่าการเปลี่ยนแปลง ใดที่ดาเนินการโดยฉับพลันอาจก่อผลกระทบต่อค่านิยม ความคุน้ เคย และการดารงชี พในวิถีประชา เหล่านั้นเป็ นอย่างมาก ดังนั้นจึงพระราชทานแนวคิดเรื่ องนี้ วา่ “...การพัฒนาจะต้องเป็ นไปตามภูมิ ประเทศของภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศของสังคมวิทยา คือ นิ สัยใจคอของคนเราจะไปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้ แต่ถา้ เราเข้าไปแล้วเราเข้าไปดูวา่ เขา ต้องการอะไรจริ งๆ แล้วก็อธิ บายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิง่ ...” 6. พระราชดาริ ที่สาคัญประการหนึ่ง คือ การสร้างความแข็งแรงให้ชุมชน ด้วยการสร้าง โครงสร้างพื้นฐานหลักที่จาเป็ นต่อการผลิต อันจะเป็ นรากฐานนาไปสู่ การพึ่งตนเองได้ในระยะยาว โครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ คือ แหล่งน้ า เพราะเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะทาให้เกษตรกรส่ วนใหญ่ที่ตอ้ ง พึ่งพาอาศัยน้ าฝนจักได้มีโอกาสที่จะมีผลิตผลได้ตลอดปี ซึ่ งเป็ นเงื่อนไขปั จจัยสาคัญยิ่งที่จะทาให้ ชุ มชนพึ่งตนเองได้ในเรื่ องอาหารได้ระดับหนึ่ ง และเมื่อชุ มชนแข็งแรงพร้อมดี แล้ว ก็อาจจะมีการ สร้างโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ที่จาเป็ นต่อการยกระดับรายได้ของชุ มชน เช่น เส้นทางคมนาคม ฯลฯ ซึ่ งการพัฒนาในลักษณะที่เป็ นการมุ่งเตรี ยมชุ มชนให้พร้ อมต่อการติดต่อสัมพันธ์กบั โลกภายนอก อย่างเป็ นขั้นตอนนี้ทรงเรี ยกว่า การระเบิดจากข้างใน ซึ่ งเรื่ องนี้พระองค์ทรงอธิ บายว่า “...การพัฒนา ประเทศจาเป็ นต้องท าตามล าดับ ขั้นตอน ต้องสร้ า งพื้ นฐาน คื อ ความพอมี พอกิ น พอใช้ ของ ประชาชนส่ วนใหญ่เป็ นเบื้ องต้นก่ อนโดยใช้วิธี การและอุ ปกรณ์ ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลัก วิชาการ เมื่อได้พ้นื ฐานมัน่ คงพร้อมพอควรและปฏิบตั ิได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริ มความเจริ ญและ ฐานะเศรษฐกิจชั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับ...” วิธีการพัฒนาเพื่อให้เกิดการพึ่งตนเองได้น้ ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงชี้ แนะว่าควร จะต้องค่อยๆ กระทาตามลาดับขั้นตอนต่อไป ไม่ควรกระทาด้วยความเร่ งรี บซึ่ งอาจจะเกิ ดความ เสี ยหายได้ ดังที่รับสั่งกับนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 ว่า “...ใน การสร้างความเจริ ญก้าวหน้านี้ ควรอย่างยิง่ ที่จะค่อยสร้างค่อยเสริ มทีละเล็กละน้อยให้เป็ นลาดับ ให้ เป็ นการทาไปพิจารณาไป และปรั บปรุ งไป ไม่ทาด้วยอาการเร่ งรี บตามความกระหายที่ จะสร้ าง ของใหม่ เ พื่ อ ความแปลกใหม่ เพราะความจริ ง สิ่ ง ที่ ใ หม่ แ ท้ๆ นั้น ไม่ มี สิ่ ง ใหม่ ท้ งั ปวงย่อมสื บ เนื่องมาจากสิ่ งเก่าและต่อไปย่อมจะต้องกลายเป็ นสิ่ งเก่า...”


35 พร้ อมกันนี้ ในเรื่ องเดี ยวกัน ทรงมี รับสั่งกับบัณฑิ ตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ว่า “...เมื่อมีพ้ืนฐานหนาแน่นบริ บูรณ์พร้อมแล้ว ก็ต้ งั ตนพัฒนางานต่อไป ให้ เป็ นการทาไปพัฒนาไปและปรับปรุ งไป...” 7. การส่ งเสริ มหรื อสร้ างเสริ ม สิ่ ง ที่ ช าวชนบทขาดแคลน และเป็ นความต้องการอย่า ง สาคัญ คือ ความรู้ ด้า นต่า งๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักว่า ชาวชนบทควรจะมี ความรู ้ในเรื่ องของการทามาหากิ น การทาการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยทรงเน้นถึง ความจาเป็ นที่จะต้องมี ตัวอย่างแห่ งความสาเร็ จ ในเรื่ องการพึ่งตนเอง ซึ่ งทรงมีพระราชประสงค์ที่ จะให้ราษฎรในชนบทได้มีโอกาสได้รู้ได้เห็ นถึงตัวอย่างของความสาเร็ จนี้ และนาไปปฏิบตั ิได้เอง ซึ่ งทรงมีพระราชประสงค์ที่จะให้ตวั อย่างของความสาเร็ จทั้งหลายได้กระจายไปสู่ ทอ้ งถิ่นต่างๆ ทัง่ ประเทศ วิธีการให้ความรู ้ แก่ประชาชนนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวมีพระราชดาริ ที่เกี่ยวข้อง กับการใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัยในการพัฒนาว่า “...การใช้เทคโนโลยีอนั ทันสมัยในงานต่างๆ นั้น ว่า โดยหลักการควรจะให้ผลมาก ในเรื่ องประสิ ทธิ ภาพ การประหยัดและการทุ่มแรงงาน แต่อย่างไรก็ ตามก็คงยังจะต้องคานึ งถึ งสิ่ งอื่นเป็ นพื้นฐานและส่ วนประกอบของงานที่ทาด้วย อย่างในประเทศ ของเราประชาชนทามาหาเลี้ยงตัวด้วยการกสิ กรรมและการลงแรงทางานเป็ นพื้น การใช้เทคโนโลยี อย่างใหญ่โตเต็มรู ปหรื อเต็มขนาดในงานอาชี พหลักของประเทศย่อมจะมีปัญหา เช่นอาจทาให้ตอ้ ง ลงทุนมากมายสิ้ นเปลืองเกินกว่าเหตุ หรื ออาจก่อให้เกิดการว่างงานอย่างรุ นแรงขึ้น เป็ นต้น ผลที่เกิด ก็จะพลาดเป้ าหมายไปห่ างไกลและกลับกลายเป็ นผลเสี ย ดังนั้น จึงต้องมีความระมัดระวังมากใน การใช้เทคโนโลยีที่ปฏิบตั ิงานคือ ควรพยายามใช้ให้พอเหมาะพอดีแก่สภาวะของบ้านเมืองและการ ทากินของราษฎรเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ผลด้วย เกิดความประหยัดอย่างแท้จริ งด้วย...” 8. ทรงนาความรู ้ ในด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่ เหมาะสมเข้าไปถึ งมือชาวชนบทอย่าง เป็ นระบบและต่อเนื่ อง โดยทรงมุ่งเน้นให้เป็ นขบวนการเดี ยวกับที่เป็ นเทคโนโลยีทางการผลิตที่ ชาวบ้านสามารถรับไปและสามารถไปปฏิบตั ิได้ผลจริ ง ในทางปฏิบตั ิเรื่ องนี้ พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั ทรงเลือกใช้เทคนิควิธีการต่างๆ หลายประการเพื่อบรรลุถึงเป้ าหมายที่ทรงมุ่งหวังดังกล่าว นั้นมีหลายแนวทาง เช่น 8.1 การรวมกลุ่ ม ประชาชนเพื่ อแก้ไขปั ญหาหลักของชุ มชนชนบท ซึ่ งเป็ นรากฐาน สาคัญประการหนึ่ งของการพัฒนาพึ่งตนเอง โดยเฉพาะการรวมตัวกันเป็ นรู ปของสหกรณ์ ดังนั้น ในทุกพื้นที่ที่เสด็จพระราชดาเนิน และมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ข้ ึนมาไม่วา่ ลักษณะใด


36 จะทรงเน้นเสมอถึ งความจาเป็ นที่ จะต้องกระตุน้ ให้เกิ ดการรวมตัวกันในรู ปแบบต่างๆ เพื่อแก้ไข ปั ญหาที่ชุมชนเผชิ ญอยู่รวมกัน หรื อเพื่อให้การทามาหากิ นของชุ มชนโดยส่ วนรวมเป็ นไปอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพและประหยัด จนเห็ น ได้ ว่ า กลุ่ ม สหกรณ์ ใ นโครงการพระราชด าริ ที่ ป ระสบ ความสาเร็ จหลายโครงการนั้นพัฒนาขึ้นมาจากการรวมตัวกันของราษฎรกลุ่มเล็กๆ เช่ น สหกรณ์ หุ บกะพงเกิดจากกลุ่มเกษตรกรที่ทาสวนผักในย่านนั้น เป็ นต้น 8.2 การส่ งเสริ มโดยกระตุน้ ผูน้ าชุมชนให้เป็ นผูน้ าในการพัฒนาก็เป็ นอีกวิธีหนึ่ งที่ทรง ใช้ในบางพื้นที่ตามความเหมาะสม ทรงพิจารณาผูน้ าโดยเน้นในด้านคุ ณธรรม ความโอบอ้อมอารี ความเป็ นคนในท้องถิ่ นและรั กท้องถิ่ น จากนั้นทรงอาศัยโครงสร้ างสังคมไทย โดยเฉพาะระบบ อุ ป ถัม ภ์กระตุ ้นให้ผูน้ าชุ ม ชนที่ ม กั จะมี ฐานะดี ให้เป็ นผูน้ าในการสร้ า งสรรค์ความเจริ ญให้ก ับ ท้องถิ่น โดยชาวบ้านที่ยากจนให้ความสนับสนุนร่ วมมือ ซึ่ งในที่สุดแล้วผลแห่ งความเจริ ญที่เกิดขึ้น จะตกแก่ชาวบ้านในชุมชนนั้นทุกคน ดังพระราชดาริ ที่วา่ “...ในการทางานทั้งปวงนั้น ทุกคนจะต้อง ตั้งใจจริ ง อดทนและขยันหมัน่ เพียร ซึ่ งตรงเห็ นอกเห็ นใจกัน ถ้อยทีถอ้ ยอาศัยกัน มีเมตตามุ่งดี มุ่ง เจริ ญต่อกัน ยึดมัน่ ในสามัคคีธรรม ความสุ จริ ตทั้งในความคิดและการกระทา ถือเอาความมัน่ คงและ ประโยชน์ร่วมกันเป็ นจุดหมายสาคัญ...” 8.3 การส่ งเสริ มการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองนั้นจะต้องทาอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ไม่รีบร้อน ที่จะให้เกิ ดผลในทางความเจริ ญอย่างรวดเร็ ว สิ่ งสาคัญที่มีพระราชดาริ อยู่เสมอ คือ ชุ มชนจะต้อง พึ่งตนเองได้ในเรื่ องอาหารก่อนเป็ นลาดับแรก จากนั้นจึงค่อยก้าวไปสู่ การพัฒนาในเรื่ องอื่นๆ การ ขยายการผลิตเพื่อการค้าใดๆ ก็ตาม ทรงมีขอ้ สังเกตเกี่ยวกับความพร้อมในด้านการตลาด โดยเฉพาะ ในด้านความรู ้เบื้องตนเกี่ยวกับการจัดทาบัญชีธุรกิจการเกษตรของชาวบ้านอย่างง่ายๆ อีกด้วย ซึ่ งใน เรื่ อ งนี้ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หัว ได้พ ระราชทานพระราชดาริ แ ก่ ค ณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และคณะเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงาน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เมื่อวันที่ 26 สิ งหาคม พ.ศ. 2531 ณ ศาลาดุสิดาลัย ความตอนหนึ่งว่า “...ในด้านหนึ่งที่ไม่เคยคิดกัน ในด้านการพัฒนา เช่น เจ้าหน้าที่บญั ชี ถ้าหากว่าทา การเพาะปลู ก ชาวบ้านทาการเพาะปลู ก เมื่ อมี ผลแล้วเขาบริ โภคเองส่ วนหนึ่ ง อี กส่ วนหนึ่ งก็ขาย เพื่อให้ได้ มีรายได้ แล้วก็เมื่อมีรายได้แล้วก็ไปซื้ อของที่จาเป็ นและสิ่ งที่จะมาเกื้อกูลการอาชี พของ ตัว อย่างนี้ ไม่ค่อยมีการศึกษากัน เมื่อผลิ ตอะไรแล้วก็จาหน่ ายไปก็มีรายได้ก็ตอ้ งทาบัญชี ชาวบ้าน ทาบัญชีบางที่ไม่ค่อยถูก...”


37 แนวทางการประยุกต์ ใช้ การพึง่ พาตนเองในระดับต่ างๆ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง จนถึงวันนี้ ความเข้าใจในเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับคนกลุ่มหนึ่ ง ก็ยงั เข้าใจว่า พอเพียง คือ การพึ่งตนเอง ซึ่ งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Self-sufficiency แต่คาว่า พอเพียง ในปรั ชญาของ เศรษฐกิ จพอเพีย ง ซึ่ งตรงกับค าว่า Sufficiency Economy นั้น มี ค วามหมายกว้า งกว่า แค่ก าร พึ่งตนเองได้ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับที่เลี้ ยงตัวเองได้บนพื้นฐานของความประหยัดและการลด ค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็ น เรี ยกว่า เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน ส่ วนเศรษฐกิจพอเพียงในระดับที่มีการ รวมตัวกัน เพื่ อร่ วมกันดาเนิ นงานในเรื่ องต่า งๆ มี ก ารสร้ างเครื อข่ ายและการขยายกิ จกรรมทาง เศรษฐกิ จในรู ปแบบต่างๆ โดยประสานความร่ วมมือกับภายนอก เรี ยกว่า เศรษฐกิ จพอเพียงแบบ ก้าวหน้า ดังนั้น เศรษฐกิ จพอเพียงจึงมิใช่แค่เพียงเรื่ องของการพึ่งตนเองโดยที่ไม่เกี่ ยวข้องกับใคร และมิใช่แค่เรื่ องของการประหยัด แต่ยงั ครอบคลุมถึงการข้องเกี่ยวกับผูอ้ ื่น การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่ ง กันและกัน แท้จริ งแล้ว เศรษฐกิจพอเพียงสามารถจาแนกได้เป็ น 3 ระดับ ดังนี้ (สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2556) 1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่หนึ่ง เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน ที่เน้นความพอเพียง ในระดับบุคคลและครอบครัว คือ การที่สมาชิ กในครอบครัวมีความเป็ นอยู่ในลักษณะที่สามารถ พึ่งพาตนเองได้ สามารถสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน เช่ น ความต้องการในปั จจัยสี่ ของตนเอง และครอบครั วได้ มี ก ารช่ วยเหลื อเกื้ อกูล ซึ่ ง กันและกัน มี ค วามสามัค คี ก ลมเกลี ย ว และมี ค วาม พอเพียงในการดาเนินชีวิตด้วยการประหยัดและการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็ น จนสามารถดารงชี วิต อยูไ่ ด้อย่างมีความสุ ขทั้งทางกายและใจ 2. เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สอง เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ที่เน้นความพอเพียง ในระดับกลุ่มหรื อองค์กร คือ เมื่อบุคคลหรื อครอบครัว มีความพอเพียงในระดับที่หนึ่ งแล้ว ก็จะรวม พลังกันในรู ปกลุ่ มหรื อสหกรณ์ เพื่อร่ วมกันดาเนิ นงานในด้านต่า งๆ ทั้ง ด้านการผลิ ต การตลาด ความเป็ นอยู่ สวัส ดิ ก าร การศึ ก ษา สั ง คมและศาสนา โดยได้รับ ความร่ ว มมื อ จากหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยราชการ มูลนิธิ และเอกชน


38 3. เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สาม เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ที่เน้นความพอเพียง ในระดับ เครื อข่า ย คื อ เมื่ อกลุ่ มหรื อองค์ก ร มี ค วามพอเพีย งในระดับที่ สองแล้ว ก็ จะร่ วมมื อกับ หน่วยงานภายนอกเพื่อการสร้างเครื อข่าย มีการติดต่อร่ วมมือกับธนาคารและบริ ษทั ต่างๆ ทั้งในด้าน การลงทุ น การผลิ ต การตลาด การจาหน่ า ย และการบริ หารจัดการ เพื่ อการขยายกิ จกรรมทาง เศรษฐกิจที่หลากหลาย ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชี วิตทั้งในด้านสวัสดิการ การศึกษา สังคมและ ศาสนา ให้สมประโยชน์ดว้ ยกันทุกฝ่ าย การประยุกต์ ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลหรือครอบครัว เริ่ มต้นจากการเสริ มสร้ างคนให้มีก ารเรี ยนรู ้ วิช าการและทัก ษะต่ างๆ ที่ จาเป็ น เพื่อให้ สามารถรู ้ เท่าทันการเปลี่ ยนแปลงในด้านต่างๆ พร้อมทั้งเสริ มสร้ างคุณธรรม จนมีความเข้าใจและ ตระหนักถึ งคุ ณค่าของการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับระบบนิ เวศวิทยาอย่างสมดุ ล เพือ่ จะได้มีความเกรงกลัวและละอายต่อการประพฤติผดิ มิชอบ ไม่ตระหนี่ เป็ นผูใ้ ห้ เกื้อกูล แบ่งปั น มี ส ติ ย้ งั คิ ดพิ จารณาอย่า งรอบคอบ ก่ อนที่ จะตัด สิ นใจ หรื อ กระท าการใดๆ จนกระทัง่ เกิ ด เป็ น ภูมิคุม้ กันที่ดีในการดารงชีวติ โดยสามารถคิดและกระทาบนพื้นฐานของความมีเหตุมีผล พอเหมาะ พอประมาณกับสถานภาพ บทบาทและหน้าที่ของแต่ละบุคคล ในแต่ละสถานการณ์ แล้วเพียรฝึ ก ปฏิบตั ิเช่นนี้ จนตนสามารถทาตนให้เป็ นพึ่งของตนเองได้ และเป็ นที่พ่ งึ ของผูอ้ ื่นได้ในที่สุด โดยพื้ น ฐานก็ คื อ การพึ่ ง ตนเองเป็ นหลัก การท าอะไรอย่า งเป็ นขั้นเป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจ ารณาถึ งความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสมผลและการพร้ อมรับความ เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่ วน แต่ละระดับ ครอบคลุมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมถึงจิตใจ และวัฒนธรรม การประยุกต์ ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลหรือครอบครัวในด้ านต่ างๆ ด้านเศรษฐกิจ: ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใช้ชีวติ อย่างพอควร คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มี ภูมิคุม้ กันไม่เสี่ ยงเกินไป การเผือ่ ทางเลือกสารอง


39 ด้านจิตใจ: มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีจิตสานึ กที่ ดี เอื้ออาทร ประนี ประนอม นึ กถึ ง ผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก ด้านสังคม: ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู ้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน ด้านทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม: รู ้ จกั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างคุม้ ค่าและเกิ ดประโยชน์สูงสุ ด ฟื้ นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยัง่ ยืน สู งสุ ด ด้า นเทคโนโลยี : รู้ จ ัก ใช้เ ทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม สอดคล้อ งกับ ความต้อ งการและ สภาพแวดล้อม พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านเองก่อน ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก การประยุกต์ ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุ มชน ชุ ม ชนพอเพี ย ง ประกอบด้วย บุ คคลหรื อครอบครั วต่ า งๆ ที่ มี ค วามพอเพี ย งแล้ว คื อ มี ความรู้และคุณธรรมเป็ นกรอบในการดาเนินชีวิตจนสามารถพึ่งตนเองได้ บุคคลเหล่านี้ มารวมกลุ่ม กันทากิ จกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องเหมาะสมกับสถานภาพ ภูมิสังคมแต่ละชุ มชนโดยใช้ทรัพยากร ต่างๆที่มีอยูใ่ นชุ มชนให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ผ่านการร่ วมแรง ร่ วมใจ ร่ วมคิด ร่ วมทา แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้กบั บุคคลหลายสถานภาพ ในสิ่ งที่จะสร้างประโยชน์สุขของคนส่ วนรวม และความก้าวหน้า ของชุ มชนอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยสติปัญญา ความสามารถของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง และบนพื้นฐาน ของความซื่ อสัตย์สุจริ ต อดกลั้นต่อการกระทบกระทัง่ ขยัน หมัน่ เพียร และมีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ช่ ว ยเหลื อ แบ่ ง ปั น กัน ระหว่า งสมาชิ ก ชุ ม ชน จนนาไปสู่ ค วามสามัค คี ข องคนในชุ ม ชนซึ่ งเป็ น ภูมิคุม้ กันที่ดีของชุ มชน จนนาไปสู่ การพัฒนาของชุ มชนที่สมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ต่างๆ จนกระทัง่ สามารถพัฒนาไปสู่ เครื อข่ายระหว่างชุมชนต่างๆ ตัวอย่ างกิจกรรมในชุ มชนที่สอดคล้ องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. กิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม แต่ใช้ทรัพยากร ที่มีอยูใ่ นชุ มชนอย่างคุม้ ค่า ยกตัวอย่างเช่น กิจกรรมการทาปุ๋ ยชี วภาพ การปลูกผักและข้าวที่ปลอด


40 สารพิษ การทาสวนสมุนไพรของชุ มชน การคิดค้นสารไล่แมลงสมุนไพร การทาถ่านชี วภาพ การ รวมกลุ่มขยายพันธุ์ปลา การแปรรู ปผลผลิต และการทาการเกษตรผสมผสาน เป็ นต้น 2. การรวมกลุ่มกันเพื่อทากิ จกรรมร่ วมกันของสมาชิ กด้วยต้นทุ นทางสังคมที่ มีอยู่ เช่ น การต่อต้านยาเสพติด การรวมกลุ่มเพื่อเรี ยนรู ้ผา่ นศูนย์เรี ยนรู ้ หรื อโรงเรี ยนเกษตรกรในหมู่บา้ น การ ร่ วมมือร่ วมใจของสมาชิกในชุมชนทากิจกรรมต่างๆภายในวัด การจัดตั้งร้านค้าที่เป็ นของชุ มชนเอง การจัดทาแผนแม่บทในชุ มชน การจัดตั้งกลุ่ มออมทรั พย์ กองทุนสวัสดิ การ การรวมกลุ่ มอนุ รักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการผลิตของกลุ่มต่างๆ เช่น การรวมกลุ่มทาขนมของ แม่บา้ น การรวมกลุ่มเพื่อปลูกพืชผักสวนครัว การจัดตั้งกองทุนข้าวสารร่ วมกับชุ มชนอื่นๆ ในต่าง ภูมิภาค 3. กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จิ ต ส านึ ก ท้อ งถิ่ น วิ ถี ชี วิ ต และวัฒ นธรรมตามแนว เศรษฐกิ จพอเพี ยง เช่ น พระสอนจริ ย ธรรมและศี ล ธรรมแก่ เยาวชน ครู ผูน้ าชุ ม ชน การปลู ก ฝั ง สมาชิ กในชุ มชนให้มีความเอื้ออาทรต่อกัน มากกว่าคานึ งถึงตัวเงินหรื อวัตถุ ส่ งเสริ มให้สมาชิ กทา บัญชี อย่างโปร่ งใสและสุ จริ ต การพัฒนาครู ในชุ มชนให้มีคุณภาพและมีจิตผูกพันกับท้องถิ่ นเป็ น สาคัญ ส่ งเสริ มให้สมาชิกในชุมชนพึ่งตนเอง ก่อนที่จะพึ่งหรื อขอความช่วยเหลือจากคนอื่น การประยุกต์ ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับธุรกิจ ปั ญหาสาคัญของความพยายามที่จะนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในภาค ธุ รกิ จ คื อ การขาดความเข้าใจที่ ถูก ต้องในปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง คนส่ วนใหญ่มกั นึ กว่า เศรษฐกิ จพอเพียงเป็ นเรื่ องเกษตรกรรม เป็ นเรื่ องของคนชนบท และเป็ นเรื่ องไกลตัวสาหรั บคน เมือง จึงไม่ใช่ เรื่ องที่ตนเองต้องทาความเข้าใจมากนัก ส่ วนผูท้ ี่อยูใ่ นภาคธุ รกิ จส่ วนใหญ่ ก็มีความ สงสัยว่า ปรัชญาของการดาเนิ นธุ รกิจคือการมุ่งหวังกาไรสู งสุ ด แล้วเศรษฐกิจพอเพียงจะนามาใช้ กับธุ รกิ จได้จริ งหรื อไม่ (สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิ ธิบูรณะชนบทแห่ งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์, 2556) เศรษฐกิ จพอเพีย ง มิ ไ ด้หมายถึ งเศรษฐกิ จระบบปิ ดที่ ไ ม่เกี่ ย วข้องกับ ใคร ไม่ คา้ ขาย ไม่ ส่ งออก ไม่ผลิ ตเพื่อคนอื่น ไม่ได้สนับสนุ นการปิ ดประเทศ หรื อหันหลังให้กบั กระแสโลกาภิวตั น์ แต่เน้นการสร้างภูมิคุม้ กันขณะที่ยงั มีความไม่พร้อมหรื อยังไม่แข็งแรง พร้อมๆ กับการไม่ประมาท


41 และไม่โลภมากเกิ นไป จนเมื่ อแข็งแรงพอ ก็สามารถเข้าสู่ การแข่งขันในแบบที่ ไม่ใช่ มุ่งแพ้ชนะ อย่างเอาเป็ นเอาตาย แต่เป็ นการแข่งขันอย่างสร้างสรรค์ คือเพื่อเสริ มสมรรถภาพและความเข้มแข็ง ในขณะเดียวกันเศรษฐกิจพอเพียงก็มิใช่เศรษฐกิจที่ส่งเสริ มลัทธิ บริ โภคนิ ยมอย่างไร้ขอบเขต แต่ให้ พิจารณาและใช้ประโยชน์จากกระแสโลกาภิว ตั น์อย่างชาญฉลาด รู ้เท่าทัน สามารถเลื อกรับเฉพาะ สิ่ งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในระยะยาว ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สามารถน ามาประยุ ก ต์ใ ช้ใ นภาคธุ ร กิ จ โดยไม่ ข ัด กับ หลักการของการแสวงหากาไร แต่การได้มาซึ่ งกาไรของธุ รกิจ ต้องอยูบ่ นพื้นฐานของการไม่เอารัด เอาเปรี ยบผูอ้ ื่ น หรื อแสวงหาผลกาไรจนเกิ นควรจากการเบียดเบี ยนประโยชน์ของสังคมโดยไม่ คานึ งถึ งผลกระทบที่อาจจะก่อให้เกิดวิกฤตตามมา ตลอดจนให้คานึ งถึ งการใช้ทรัพยากรในธุ รกิ จ อย่างประหยัดและอย่างมีคุณภาพ นอกจากนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง ยังมิได้ปฏิ เสธการเป็ นหนี้ หรื อการกูย้ ืมเงิ นใน ภาคธุ รกิ จ แต่เน้นการบริ หารความเสี่ ยงต่ า หมายความว่า ถึ งแม้จะกูย้ ืมเงิ นมาลงทุ นก็เพื่อดาเนิ น กิจการชนิดที่ไม่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงมากนัก สามารถจัดการได้แม้ในภาวะที่โอกาสจะเกิดขึ้นจริ งมี ไม่มากนักก็ตาม หลักความพอประมาณในระดับธุรกิจ โดยความหมายของความพอประมาณนั้น หมายถึง ความเหมาะสมของการดาเนิ นงาน ทั้ง ในแง่ ของขนาดที่ไม่เล็กเกิ นไปหรื อไม่ใหญ่จนเกิ นตัว แต่เป็ นไปตามอัตภาพและสภาพแวดล้อม และในแง่ ของจังหวะเวลาที่ ไม่เร็ วเกิ นไปหรื อไม่ช้าจนเกิ นไป แต่รู้จกั ทาเป็ นขั้นตอนเพื่อให้การ ดาเนินงานมีความก้าวหน้า โดยที่ไม่ทาให้ตนเองและผูอ้ ื่นเดือดร้อน โดยในที่น้ ี จะพิจารณาธุ รกิจใน ฐานะที่เป็ นหน่วยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ การดาเนิ นธุ รกิจที่แสวงหาเพียงกาไรสู งสุ ด (Maximize Profit) ในทางบัญชี หรื อที่เรี ยกว่า กาไรทางธุ รกิจ (Business Profit) นั้น มิใช่เป้ าหมายที่ดีที่สุดเสมอไป เนื่ องจากธุ รกิจส่ วนใหญ่มิได้ คานึงถึงต้นทุนค่าเสี ยโอกาส โดยเฉพาะต้นทุนทางการเงินในส่ วนของเจ้าของ ด้วยเหตุน้ ี การดาเนิ น ธุ รกิจจึงควรคานึงถึงกาไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit) อันเป็ นส่ วนเพิ่มมูลค่าให้กบั องค์กร อย่างแท้จริ ง มากกว่าการแสวงหาเพียงกาไรสู งสุ ดในทางบัญชี


42 ธุ ร กิ จ ที่ ส ามารถด าเนิ น กิ จ การจนมี ก าไรคุ ้ม กับ ค่ า เสี ย โอกาส หรื อ เรี ย กว่า ก าไรปกติ (Normal Profit) ในทางเศรษฐศาสตร์ มีโอกาสเกิดขึ้น 2 ช่วง โดยช่วงแรกเป็ นภาวะที่ตดั สิ นว่าธุ รกิจ นั้นสามารถดารงอยู่ได้ ยืนอยู่บนขาของตัวเองได้ พัฒนาบ่มเพาะกิ จการจนสามารถพึ่งตนเองได้ ในขณะที่ยงั มีศกั ยภาพในการเพิ่มผลผลิ ตเพื่อสร้ างกาไรต่อได้อีก กระทัง่ เมื่อธุ รกิจขยายกาลังการ ผลิตหรื อการบริ การมากจนเข้าสู่ ช่วงที่สองซึ่ งเป็ นภาวะที่คุม้ เพียงค่าเสี ยโอกาสในทางเศรษฐศาสตร์ อีกครั้งหนึ่ง แม้ตวั เลขกาไรทางธุ รกิจหรื อกาไรในทางบัญชี จะยังเพิ่มขึ้น แต่กาไรทางเศรษฐศาสตร์ มีค่าเท่ากับศูนย์ ตามกฎว่าด้วยผลตอบแทนที่ลดน้อยถอยลง (Law of Diminishing Returns) หรื อ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ธุ รกิจหมดศักยภาพในการเพิ่มผลผลิตเพื่อสร้างกาไรต่อได้อีก ภายใต้ปัจจัยหรื อ กาลังการผลิ ตหรื อการบริ การเดิ มที่มีอยู่ ด้วยเหตุน้ ี ธุ รกิ จจึ งควรดาเนิ นกิ จกรรมการผลิ ตหรื อการ บริ การที่ไม่น้อยเกิ นไป จนต่ ากว่าจุดกาไรปกติจุดที่หนึ่ ง เพื่อให้กิจการสามารถอยูร่ อดได้ และไม่ มากเกิ นไปจนสู ง กว่า จุ ดก าไรปกติ จุด ที่ ส อง เพื่ อไม่ ใ ห้กิ จการต้อ งประสบภาวะเสี่ ย งหรื อ ขาด ภูมิคุม้ กันในธุ รกิจ โดยจุดที่เหมาะสมที่สุด คือ บริ เวณประมาณกึ่งกลางของจุดกาไรปกติท้ งั สอง ใน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณที่ก่อให้เกิดกาไรทางเศรษฐศาสตร์ โดยที่ธุรกิจ ไม่จาเป็ นต้องลดศักยภาพหรื อออมความสามารถในการผลิตหรื อการบริ การ หรื อเพิ่มศักยภาพหรื อ ขยายกาลังในการผลิตหรื อการบริ การ จนทาให้กาไรทางเศรษฐศาสตร์ ลดน้อยถอยลงไปสู่ จุดกาไร ปกติ นอกจากการสร้ า งก าไรทางเศรษฐศาสตร์ โ ดยค านึ ง ถึ ง ศัก ยภาพที่ ธุ ร กิ จ สามารถได้ ประโยชน์เต็มตามความสามารถที่ พึงได้แล้ว ตามนัยของความพอประมาณในปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพียง ธุ รกิ จยังจาเป็ นต้องพิจารณาถึ งผลกระทบที่เกิ ดขึ้นในกระบวนการผลิตหรื อการบริ การที่ ต้องไม่ก่อให้เกิดการเบียดเบียนทั้งต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยในกิ จการและผูม้ ีส่วนได้เสี ยนอกกิ จการกลุ่ม ต่างๆ ตัวอย่างเช่ น การหลีกเลี่ ยงการใช้แรงงานมนุ ษย์เสมือนชิ้ นส่ วนหนึ่ งของเครื่ องจักรในระบบ โรงงานที่ขาดซึ่ งคุณภาพชีวิต การละเว้นการผลิตหรื อการบริ การที่ไม่มีการจัดการของเสี ยจนสร้าง มลภาวะให้แก่ระบบนิ เวศ การดูแลกิ จการมิให้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการแข่งขันด้วยวิธีการทุ่มตลาด หรื อใช้วธิ ีผกู ขาด เป็ นต้น การคานึ งถึ งผลที่ คาดว่าจะเกิ ดขึ้ นจากกิ จกรรมทางธุ รกิ จอย่างรอบคอบในตัวกิ จการเอง และระหว่างตัวกิจการกับหน่วยอื่นๆ ในสังคม มีส่วนสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับหลักความมีเหตุผลใน ธุ รกิจ ซึ่ งเป็ นคุณลักษณะสาคัญอีกด้านหนึ่งในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


43 หลักความมีเหตุผลในระดับธุรกิจ ในปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง นอกเหนื อจากคุ ณลักษณะด้านความพอประมาณ ยังมี คุ ณ ลัก ษณะด้า นความมี เ หตุ ผ ล ที่ ห มายถึ ง การพิ จ ารณาที่ จ ะด าเนิ น งานใดๆ ด้ว ยความถี่ ถ้ว น รอบคอบ ไม่ยอ่ ท้อ ไร้ อคติ คานึ งถึ งเหตุและปั จจัยแวดล้อมทั้งหมด เพื่อให้การดาเนิ นงานเป็ นไป อย่างถูกต้องดีงาม เกิดประสิ ทธิ ผล เกิดประโยชน์และความสุ ข โดยปราศจากการเบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ื่นนั้น สามารถนามาประยุกต์ให้เข้ากับการดาเนินธุ รกิจได้อย่างไร เมื่อพิจารณาหน่ วยธุ รกิ จหนึ่ งๆ ในทางเศรษฐศาสตร์ ถือว่าเป็ นหน่ วยการผลิ ตหรื อหน่ วย การบริ การ ทาหน้าที่แปลงปั จจัยการผลิตหรื อการบริ การให้กลายเป็ นผลผลิต เพื่อส่ งต่อไปยังหน่วย การบริ โภคที่เป็ นครัวเรื อนและผูบ้ ริ โภคลาดับสุ ด ท้าย หรื อไปยังหน่วยการผลิตอื่นตามสายอุปทาน (Supply Chain) การพิจารณาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องและผลที่เกิดขึ้นจากหน่วยการผลิต จะแยกเป็ น 2 ระดับ คือ ความมีเหตุผลในหน่ วยการผลิ ตหรื อภายในตัวกิ จการเอง กับความมีเหตุผลระหว่างตัว กิจการกับหน่วยอื่นๆ ในสังคม การพิ จ ารณาผลลัพ ธ์ ท างธุ ร กิ จ ตามวิ ถี ข องเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่ า จาเป็ นต้องวัดผลประกอบการด้วยตัวเลขทางการเงิ น เครื่ องมื อการบริ หารจัดการทางธุ รกิ จส่ วน ใหญ่ จึ งเน้นหน่ วยวัดในรู ปตัวเงิ น เช่ น ยอดขาย กาไรสุ ทธิ ฯลฯ ประกอบกับตัวเลขทางการเงิ น ดังกล่าวเป็ นหน่ วยวัดที่สามารถนับได้ง่าย เมื่อเทียบกับหน่วยวัดอื่น เช่น ความพึงพอใจของลูกค้า หรื อ ประสิ ท ธิ ภ าพในการให้ บ ริ ก าร เป็ นต้น แต่ ก็ เ ป็ นเรื่ องที่ น่า ยิน ดี ใ นระดับ หนึ่ ง ว่า ธุ รกิ จใน ปั จจุ บ นั ได้รับบทเรี ย นจากเหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ตหลายครั้ งที่ พิ สู จน์ ใ ห้เห็ นว่า การใช้ตวั วัดทางด้า น การเงินเป็ นหลักเพียงอย่างเดี ยว ไม่สามารถรอดพ้นจากผลกระทบที่เกิ ดขึ้นจากปั ญหาหรื อวิกฤต ทางเศรษฐกิ จและสั ง คม แม้ว่า หลายกิ จการได้แสดงตัวเลขผลประกอบการทางการเงิ นที่ ดีเลิ ศ เพียงใดก็ตาม จากเหตุผลดังกล่าว ธุ รกิจที่ตอ้ งการค้นหาแนวทางในการเติบโตอย่างยัง่ ยืน จึงพยายามให้ ความส าคัญ กับ ปั จ จัย อื่ น ในธุ ร กิ จ นอกเหนื อ จากตัว ชี้ วัด ทางการเงิ น ยกตัว อย่า งเช่ น การให้ ความสาคัญกับตัวชี้ วดั ด้านลูกค้า เนื่ องจากลูกค้าเป็ นผูท้ ี่สร้ างรายได้และผลกาไรทางธุ รกิ จให้แก่ กิจการโดยตรง การให้ความสาคัญกับตัวชี้ วดั ด้านกระบวนการทางธุ รกิ จ เนื่ องจากหากกิ จการไม่ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและอย่างทันท่วงที ก็ไม่สามารถ


44 รั ก ษายอดรายได้หรื อ ก าไรที่ เกิ ดขึ้ น จากลู ก ค้า ของธุ รกิ จได้ การให้ ค วามส าคัญกับ ตัวชี้ ว ดั ด้า น พนักงาน ที่เป็ นทรัพยากรสาคัญขององค์กร ซึ่ งหากไม่มีการพัฒนาทักษะของพนักงาน การสร้ าง แรงจูงใจในการทางาน โอกาสที่กิจการจะขยายตัวและเติบโตก็เกิดขึ้นได้ยาก การที่ธุรกิจให้ความสาคัญกับตัวชี้ วดั ในมุมมองที่เพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่าง มุมมองต่างๆ ในเชิงเหตุและผล (Cause and Effect) ตัวอย่างเช่น กาไรของกิจการที่ผถู ้ ือหุ ้นพึงได้รับ (มุ ม มองด้า นผูถ้ ื อ หุ ้น ) จะเกิ ด ขึ้ นได้ก็ ต่ อเมื่ อองค์ก รธุ รกิ จมี ร ายได้เพิ่ ม ขึ้ น หรื อ มี ต้น ทุ นที่ ล ดลง (มุมมองด้านการเงิน ) และการที่องค์กรจะมีรายได้เพิ่มขึ้ น ก็ต่อเมื่อองค์กรสามารถเพิ่มส่ วนแบ่ง ตลาดโดยการนาเสนอสิ นค้าและบริ การที่มีคุณภาพ (มุมมองด้านผลิตภัณฑ์) ซึ่ งเป็ นที่ตอ้ งการของ ลูกค้าหรื อทาให้ลูกค้าพึงพอใจ (มุมมองด้านลูกค้า) และการที่องค์กรจะสามารถนาเสนอสิ นค้าและ บริ การตามที่ลูกค้าต้องการได้ องค์กรจะต้องมีกระบวนการในการดาเนิ นงานที่เหมาะสมในการ นาเสนอสิ่ ง ที่ ลู ก ค้า ต้อ งการ (มุ ม มองด้า นกระบวนการทางธุ ร กิ จ) จากพนัก งานที่ มี ท ัก ษะและ ความสามารถ มี ขวัญและกาลัง ใจในการท างานที่ ดี (มุมมองด้านพนักงาน) และมี เทคโนโลยีที่ ทันสมัย สนับ สนุ นให้องค์ก รมี ก ระบวนการสร้ า งคุ ณค่ า ให้แก่ ลู ก ค้า ได้ (มุ มมองด้านระบบงาน สนับสนุน) โดยไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อมและส่ งผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม (มุมมองด้านสังคม และสิ่ งแวดล้อม) เป็ นต้น มุมมองต่างๆ ที่นาเสนอข้างต้น เป็ นเพียงตัวอย่างหนึ่ งที่แสดงให้เห็นถึงเหตุปัจจัยแวดล้อม ซึ่ งก่อให้เกิดผลลัพธ์ส่งต่อกันไปเป็ นทอดๆ ในแต่ละมุมมอง องค์กรธุ รกิจหนึ่ งๆ อาจจาแนกมุมมอง และการจัดลาดับความสาคัญที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กบั ประเภทของกิ จการ แต่จุดร่ วมหนึ่ งที่ เหมือนกัน คือ ธุ รกิจต้องบริ หารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองในแบบองค์รวมที่เป็ นเหตุเป็ น ผลซึ่ งกันและกัน ไม่สามารถบริ หารจัดการในแบบแยกเป็ นส่ วนๆ โดยไม่เกี่ยวข้องกันได้ ในระดับของความมีเหตุผลในตัวกิจการเอง จะเกี่ ยวข้องกับ การจัดการความสัมพันธ์ของ มุมมองต่างๆ ที่เกิ ดขึ้นในกิ จการ อาทิ ด้านผูถ้ ื อหุ ้น ด้านการเงิ น ด้านผลิ ตภัณฑ์ ด้านกระบวนการ ภายในธุ รกิ จ ด้านพนักงาน ด้านระบบงานสนับสนุ น เพื่อนาไปสู่ การเจริ ญเติบโต (Growth) ของ กิจการ โดยอาจเทียบได้วา่ เป็ นการดาเนินธุ รกิจตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในระดับพื้นฐาน ในระดับของความมีเหตุผลระหว่างตัวกิ จการกับหน่วยอื่นๆ ในสังคมทั้งในระดับใกล้ คือ การบริ หารความสัมพันธ์ต่อผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับองค์กรโดยตรง ได้แก่ ลูกค้า คู่คา้ ชุ มชนที่


45 องค์กรตั้งอยู่ และในระดับไกล คือ การบริ หารความสัมพันธ์ต่อผูท้ ี่เกี่ ยวข้องกับองค์กรโดยอ้อม ได้แก่ คู่แข่งขันทางธุ รกิจ ประชาชนทัว่ ไป รวมไปถึง การจัดการด้านผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและ วัฒนธรรม เพื่อนาไปสู่ ความยัง่ ยืน (Sustainability) ของกิจการ โดยอาจเทียบได้วา่ เป็ นการดาเนิ น ธุ รกิจตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในระดับก้าวหน้า สภาพที่ปรากฏของกิจการที่มีเป้ าหมายเน้นกาไรในระยะสั้น คานึ งถึงประโยชน์แต่ผถู ้ ือหุ ้น ขายผลิตภัณฑ์ที่แม้จะมีคุณภาพตามระดับของความมีเหตุผลภายในตัวกิจการ แต่หากมิได้คานึ งถึ ง สภาวะตลาด ความต้องการของลูกค้า ความเป็ นธรรมกับคู่คา้ หรื อการยอมรับของสังคมตามระดับ ของความมีเหตุผลระหว่างตัวกิจการกับหน่วยอื่นๆ ในสังคม กิจการนั้นอาจสามารถเจริ ญเติบโตได้ ระยะหนึ่ง แต่จะไม่มีความยัง่ ยืนของกิจการในระยะยาว ในความเป็ นจริ ง กิ จ การต้อ งพยายามสร้ า งความสมดุ ล ของประโยชน์ ส่ ว นตนและ ประโยชน์ส่วนรวม โดยใช้หลักความมีเหตุผลในทั้งสองระดับผสมผสานกันไป มิอาจเน้นที่ระดับ ใดระดับหนึ่ งเพียงระดับเดี ยว ในขณะเดียวกันกิจการก็ตอ้ งมีการบริ หารจัดการองค์กรให้เกิดความ สมดุ ล ของประโยชน์ ท้ งั ในระยะสั้ น ระยะปานกลาง และระยะยาว เพื่ อ การพร้ อ มรั บ ต่ อ การ เปลี่ยนแปลง ซึ่ งจะมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับคุณลักษณะด้านการมีภูมิคุม้ กันในตัวที่ ดีในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การมีภูมิค้ ุมกันทีด่ ีในระดับธุรกิจ การมี ระบบภู มิคุ ้มกันในตัวที่ ดี เป็ นคุ ณลัก ษณะที่ ส ามในปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพีย ง นอกเหนือจากคุณลักษณะด้านความพอประมาณและด้านความมีเหตุผล การมีระบบภูมิคุม้ กันในตัว ที่ดี หมายถึง การจัดองค์ประกอบของการดาเนินงาน ให้มีสภาพพร้อมรองรับต่อผลกระทบใดๆ อัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในได้เป็ นอย่างดี จากหลักความมีเหตุผลในธุ รกิ จที่คานึ งถึงการบริ หารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างมุมมอง ต่ า งๆ ในแบบองค์ ร วมที่ เ ป็ นเหตุ เ ป็ นผลซึ่ งกั น และกั น นั้ น สมควรที่ จ ะพิ จ ารณาต่ อ ไปว่ า ความสั ม พันธ์ ระหว่า งแต่ ล ะมุ ม มองนั้น มี กิ จ กรรมใดที่ เ ป็ นเหตุ แ ละปรากฏการณ์ ใ ดที่ เ ป็ นผล ตัวอย่างเช่น ระดับความยัง่ ยืนของกิจการหนึ่ งๆ จะปรากฏเป็ นผลให้เห็นได้ อาจต้องรอให้เวลาผ่าน พ้นไปแล้วระยะหนึ่ ง ในขณะที่ กิ จกรรมหรื อตัวบ่ ง ชี้ ที่ เป็ นเหตุ ข องความยัง่ ยืน เช่ น การผลิ ตที่


46 เหมาะสม การลงทุ น ที่ ไ ม่ เ กิ นตัว การใช้เทคโนโลยีที่ ป ระหยัด การไม่ เน้นก าไรระยะสั้ น เป็ น กิจกรรมหรื อวัตถุประสงค์ที่กาลังดาเนิ นอยูใ่ นกิจการ ทั้งนี้ การพิจารณาตัวบ่งชี้ ที่เป็ นเหตุ จะทาให้ ทราบถึงผลการดาเนินงานในปั จจุบนั และปั จจัยที่ จะส่ งผลต่อการดาเนิ นงานในระยะยาว ส่ วนการ พิจารณาตัวบ่งชี้ที่เป็ นผล จะทาให้ทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตหรื อสิ่ งที่เกิดขึ้นมาแล้ว ด้วยเหตุน้ ี การพิจารณาแยกแยะความสัมพันธ์ของตัวบ่งชี้ท้ งั ที่เป็ นเหตุและเป็ นผล จะทาให้ สามารถคาดการณ์ได้ถึงโอกาสและอุปสรรคที่ จะเกิ ดขึ้นในอนาคต และส่ งผลให้กิจการสามารถ วางแผนรับมือกับผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ด้วยการประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน ภายในองค์กรเป็ นข้อพิจารณาประกอบ ถือเป็ นการสร้างระบบภูมิคุม้ กันที่ดีในธุ รกิจนัน่ เอง ผลกระทบหรื อการเปลี่ยนแปลงสามารถเกิดขึ้นจากปั จจัยภายนอกซึ่ งควบคุมไม่ได้ เช่น ใน ด้านเศรษฐกิ จ ได้แก่ ความผันผวนของตลาด ฯลฯ ในด้านสังคมหรื อรัฐ ได้แก่ นโยบายสาธารณะ ต่อธุ รกิจที่ดาเนินอยู่ (หรื อที่ธุรกิจมักเรี ยกว่า License to Operate) ฯลฯ ในด้านสิ่ งแวดล้อม ได้แก่ ภัย ธรรมชาติ พลังงานในฐานะที่เป็ นปั จจัยการผลิ ต ฯลฯ และในด้านวัฒนธรรม ได้แก่ วิถีชีวิตของแต่ ละภูมิสังคม ฯลฯ ส่ วนผลกระทบที่เกิ ดขึ้นจากปั จจัยภายในซึ่ งสามารถควบคุ มและแก้ไขได้ อาทิ ปัจจัยด้านทุน ด้านเทคโนโลยี และด้านการบริ หารจัดการ เป็ นต้น โดยธรรมชาติ องค์กรจะมี การเปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเปลี่ ยนแปลงที่ เกิ ดขึ้ นจาก ปั จจัยภายใน เช่ น การโยกย้ายผูบ้ ริ หาร การเปลี่ยนผูถ้ ื อหุ ้น การปรับโครงสร้างทางธุ รกิจ จะส่ งผล ต่อความก้าวหน้าของกิ จการ ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน ตลอดจนความสามารถในการปรับตัว ให้ทนั และเข้ากับสภาวการณ์ภายนอก การสร้างภูมิคุม้ กันในส่ วนแรกนี้ จึงเป็ นการจัดองค์ประกอบ ของการด าเนิ น งานที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ปั จ จัย ภายในเพื่ อ ให้ ท ัน และเข้า กับ สิ่ ง ภายนอก ส่ ว นการ เปลี่ ยนแปลงที่เกิ ดขึ้นจากปั จจัยภายนอก เช่ น การเปลี่ยนรัฐบาล การเปลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิ จ การเกิดขึ้นของตลาดใหม่ จะส่ งผลให้เกิดทั้งโอกาสและความเสี่ ยงหรื อความผันผวนทางธุ รกิจ การ สร้างภูมิคุม้ กันในส่ วนที่สองนี้ จึงเป็ นการจัดองค์ประกอบของการดาเนิ นงานที่เกี่ ยวข้องกับปั จจัย ภายนอกเพื่อป้ องกันไม่ให้สิ่งภายในได้รับความกระทบกระเทือนเสี ยหาย การสร้างระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี จึงสามารถแบ่งได้เป็ นสองกรณี คือ การสร้างจากภายใน และการสร้ างที่ ภายนอก การสร้ างภูมิคุม้ กันจากภายใน ได้แก่ การพิจารณาและจัดองค์ประกอบ ต่างๆ ในองค์กรให้เอื้อต่อการปรับตัวเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง เช่น โรงงานไม่ควรสร้างภาระหนี้ มาก


47 จนเกินทุน เมื่อเวลาที่เจ้าหนี้ ทวงถาม กิจการก็สามารถจะชาระหนี้ ได้ ถือเป็ นการสร้างภูมิคุม้ กันใน ด้านการเงิน หรื อโรงงานควรเลือกใช้เทคโนโลยีที่สามารถบริ หารจัดการได้เอง เมื่อเวลาที่มีปัญหา กับ เทคโนโลยี กิ จการก็ สามารถจะซ่ อมแซมแก้ไ ขได้ โดยไม่ จาเป็ นต้องพึ่ งเจ้า ของเทคโนโลยี ทั้งหมด ถือเป็ นการสร้างภูมิคุม้ กันในด้านเทคโนโลยี หรื อการที่กิจการมีโครงการถ่ายทอดทักษะ และความรู ้ เกี่ ยวกับงานที่ทา ฝึ กอบรมให้พนักงานอยู่อย่างสม่ าเสมอ และเปิ ดโอกาสให้เรี ยนรู ้ สิ่ง ใหม่ๆ รวมถึงการให้ผลตอบแทนที่เป็ นธรรม กิจการก็จะสามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่ องมัน่ คง ถื อ เป็ นการสร้างภูมิคุม้ กันในด้านทรัพยากรบุคคล การสร้างภูมิคุม้ กันที่ภายนอก ได้แก่ การพิจารณาและจัดองค์ประกอบที่อยูร่ ายรอบองค์กร ให้เอื้อต่อการดาเนินงาน เช่น การส่ งเสริ มและสนับสนุนคู่คา้ เพื่อให้สามารถจัดส่ งวัตถุดิบและปั จจัย ในการผลิตหรื อการบริ การที่มีคุณภาพให้แก่กิจการด้วยการให้ความรู ้และทรัพยากรที่จาเป็ นต่างๆ เพราะหากกิ จการได้วตั ถุ ดิบที่ไม่มีคุณภาพเข้าโรงงาน ผลผลิ ตแปรรู ปที่ออกจากโรงงานก็จะไม่มี คุณภาพตามไปด้วย การช่วยเหลือผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่เกี่ยวข้องถือเป็ นการสร้างภูมิคุม้ กันแบบหนึ่ งที่มกั ถูกละเลยหรื อไม่ได้ให้ความสาคัญ กิ จการส่ วนใหญ่มวั แต่คิดถึ งตนเอง คิดว่าทาแล้วจะได้อะไร กาไรปี นี้ จะได้เท่าไร ค่าใช้จ่ายส่ วนเกิ นตรงไหนที่ตดั ออกได้อีก โดยที่ไม่ได้คิดถึงการให้หรื อการ ช่วยเหลือผูอ้ ื่นก่อน ในทางธรรมชาติน้ นั การกระทาใดๆ ย่อมต้องได้รับการตอบสนองเป็ นผลแห่ ง การกระทาอย่างหนึ่ งอย่างใดเสมอ ซึ่ งในกรณี น้ ี คือ “ได้ให้” ก็จะ “ได้รับ” ซึ่ งเป็ นข้อเท็จจริ งที่มี ความเฉี ย บขาดอยู่ในตัวเอง ฉะนั้น การที่ กิ จการเอาใจใส่ ดูแลชุ มชน สิ่ ง แวดล้อม หรื อคู่ คา้ ของ ตนเอง ผลแห่ งการกระทานี้ ก็จะหวนกลับมาจุนเจือกิจการในภายหลัง ถื อเป็ นการสร้ างภูมิคุม้ กันที่ เข้าไปเกี่ยวข้องกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยนอกองค์กร กระบวนการปรั บ ตัว (Adaptive Process) ในธุ รกิ จเป็ นสิ่ ง จาเป็ นต่ อการตอบสนอง ภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์ เห็นได้จากวัฏจักรของธุ รกิจหรื อรอบอายุของ ผลิ ตภัณฑ์โดยส่ วนใหญ่ มีคาบเวลาที่ส้ ันลง ในขณะที่มีความผันผวนเพิ่มขึ้น ทาให้ความยืดหยุ่น และการปรับตัวอย่างรวดเร็ วได้กลายเป็ นคุ ณลักษณะที่กิจการต้องสร้ างให้เกิ ดขึ้น สอดคล้องกับ คุณลักษณะด้านการมีระบบภูมิคุม้ กันที่ดีในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์ในระยะสั้นของกิจการ อาจมาจากการดาเนิ นธุ รกิจโดยใช้กลยุทธ์ดา้ นราคา เพื่อ การกระตุ ้นยอดขายหรื อการเพิ่ ม ผลก าไรเฉพาะหน้า ใช้วิธี ก ารรณรงค์เรื่ องประสิ ท ธิ ภาพและ


48 ประสิ ทธิ ผลในการทางาน เพื่อการลดค่าใช้จ่ายในส่ วนที่สามารถประหยัดได้ตามวาระที่จาเป็ น เช่น เมื่อเกิดวิกฤตด้านพลังงาน เป็ นต้น ประโยชน์ในระยะปานกลางของกิ จการ อาจมาจากการดาเนิ นธุ รกิ จโดยใช้กลยุทธ์ ด้าน ลูกค้า เป็ นการปลูกสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป้ าหมายและลูกค้า เพื่อหวังผลในการปลี่ยนกลุ่ม เป้ าหมายให้กลายมาเป็ นลูกค้าใหม่ของกิจการ ดูแลรักษาลูกค้าเดิ มของกิจการให้คงอยู่ เพื่อหวังผล ในการเพิ่มปริ มาณการขาย (Up-Selling) หรื อขยายสายผลิตภัณฑ์ (Cross-Selling) จาหน่ายให้แก่ ลูกค้ารายเดิม และแม้กระทัง่ การเปลี่ยนลูกค้าในอดี ตที่ยุติการซื้ อผลิ ตภัณฑ์ไปแล้ว ให้กลับมาเป็ น ลูกค้าของกิจการดังเดิม ประโยชน์ในระยะยาวของกิ จการ อาจมาจากการดาเนิ นธุ รกิ จโดยใช้กลยุทธ์ดา้ นวิจยั และ พัฒนา เพื่ อการสร้ า งนวัตกรรมในผลิ ตภัณฑ์ ทั้ง การออกแบบและพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ใ หม่ ๆ เพื่ อ รองรับความต้องการของตลาดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงการแก้ไขและปรับปรุ งผลิ ตภัณฑ์เดิ ม ให้มีคุณสมบัติเพิม่ ขึ้น คุณภาพดีข้ ึน คุณประโยชน์สูงขึ้น และแม้แต่การซื้ อทรัพย์สินทางปั ญญาหรื อ การซื้ อกิจการอื่น เพื่อให้ได้มาซึ่ งนวัตกรรมที่จะสร้างคุณค่าให้แก่กิจการในระยะยาว จากที่กล่าวแล้วว่า องค์กรธุ รกิ จสามารถประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงได้ในสอง ระดับ คือ เศรษฐกิจพอเพียงระดับพื้นฐาน และเศรษฐกิจพอเพียงระดับก้าวหน้า ซึ่ งมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กบั ผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายในองค์กรและภายนอกองค์กรตามลาดับ การดาเนิ นธุ รกิ จตามแนว เศรษฐกิ จพอเพียงระดับพื้นฐาน มุ่งเน้นที่ การสร้ างกิ จการเพื่อให้อยู่รอดในธุ รกิ จและการพัฒนา ศักยภาพเพื่อการเจริ ญเติบโตของกิ จการ เป็ นบันไดขั้นที่หนึ่ ง ในขณะที่การดาเนิ นธุ รกิ จตามแนว เศรษฐกิจพอเพียงระดับก้าวหน้า จะให้ความสาคัญกับการแบ่งปั นหรื อการใช้ทรัพยากรร่ วมกันหรื อ การรวมกลุ่มในแนวดิ่ งตามสายอุปทาน (Supply Chain) เป็ นบันไดขั้นที่สอง จนพัฒนามาสู่ ความ ร่ วมมือระหว่างกลุ่มธุ รกิ จต่างๆ ในแนวราบ ในลักษณะของเครื อข่ายวิสาหกิจ (Cluster) เพื่อสร้าง ให้เกิดความยัง่ ยืนของกิจการ เป็ นบันไดขั้นที่สาม การประยุก ต์ป รั ช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ย งทั้ง สามขั้นข้า งต้น ชี้ ใ ห้เห็ นถึ ง การพัฒนาที่ เริ่ มต้นจากหลักของการพึ่งพาตนเองให้ได้ก่อน (Self-Reliance) แล้วจึ งพัฒนาเป็ นการรวมกลุ่ ม ช่วยเหลือกัน (Cooperation) จนนาไปสู่ การร่ วมมือกัน (Collaboration) อย่างเป็ นขั้นตอน


49 ความรู้ และคุณธรรมในระดับธุรกิจ นอกเหนื อจากคุ ณลักษณะสามประการ อันได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันในตัวที่ ดี การดาเนิ นธุ รกิ จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงยังต้องถึ งพร้ อม ด้วย ความรู ้ที่เหมาะสมในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนิ นการทุกขั้นตอน ซึ่ งประกอบด้วย ความรอบรู ้ ในข้อเท็จจริ งเกี่ ย วกับสภาวะแวดล้อมและสถานการณ์ ที่ เกี่ ยวข้อง ทั้งหมด มี สติ หรื อความระลึ กรู ้ ซึ่ ง เป็ นเครื่ องกากับพฤติ ก รรมทางธุ รกิ จ การตลาด การสื่ อสาร ประชาสัมพันธ์ หรื อการวางแผนในเรื่ องต่างๆ ว่าจะเป็ นประโยชน์หรื อมีผลเสี ยหายหรื อไม่อย่างไร ในระยะยาว มีปัญญา หรื อความรู ้ชดั ที่เกิดขึ้นจากความฉลาดสามารถคิดพิจารณาอย่างถูกต้องแยบ คายด้วยเหตุผล ทาให้เห็นและเข้าใจทุกสิ่ งทุกอย่างได้อย่างกระจ่างชัด เป็ นความรู ้แจ้งในงานและวิธี ที่จะปฏิบตั ิงานอย่างถูกต้องเที่ยงตรง การที่จะนาเอาความรู้ มาใช้ให้เ ป็ นประโยชน์แท้จริ งได้น้ นั จาต้องมี คุณธรรมเป็ นเครื่ อง กลัน่ กรอง อันประกอบด้วย ความซื่ อสัตย์สุจริ ต สาหรับรองรับสนับสนุ นวิชาความรู ้ เพื่อนาพาไปสู่ เป้ าหมายได้อย่างถูกต้องเที่ยงตรง ความอดทน มีความเพียร ประกอบการงานด้วยความตั้งใจ ไม่ ละเลย ไม่ ท อดทิ้ ง เป็ นความเพี ย รที่ มี ล ัก ษณะกล้า แข็ง ไม่ ข าดสาย มี ค วามหนัก แน่ น อดทน ไม่ ท้อถอย ทาให้การดาเนินงานรุ ดหน้าเรื่ อยไป และความรอบคอบระมัดระวัง ที่จะพิจารณาเรื่ องต่างๆ ให้กระจ่างแจ้งในทุ กแง่ ทุกมุ ม ก่ อนที่ จะจัดการให้ถูกจุ ด ถู กขั้นตอน ถูกเหตุ ผล และสามารถนา ความรู ้ต่างๆ มาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อนาไปสู่ จุดหมายสามประการด้วยกัน คือ ความสมดุ ล การพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง และการก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ เมื่ อ น าความสั ม พัน ธ์ ข องคุ ณ ลัก ษณะ เงื่ อ นไข และจุ ด หมายในปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียงมาแสดงในเชิ งเหตุและผล (Cause and Effect) จะมีความคล้ายคลึ งกับการแสดงความ เชื่ อมโยงของยุทธศาสตร์ ใ นองค์ก รธุ รกิ จที่ นาเสนอในรู ป แบบของแผนที่ ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ทาให้เกิดแนวคิดที่จะประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านทางเครื่ องมือทางการจัดการ สมัยใหม่ ด้วยเหตุผลที่ภาคธุ รกิจเอกชนในปั จจุบนั มีความคุน้ เคยกับแผนที่ยุทธศาสตร์ ในเครื่ องมือ Balanced Scorecard สาหรับใช้บริ หารจัดการและการประเมินผลองค์กรอยูแ่ ล้ว สามารถที่จะทา ความเข้า ใจปรั ช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ย งได้อย่างเป็ นระบบ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใ น องค์กรได้ง่ายขึ้น จากการแปลงปรัชญาไปสู่ การปฏิบตั ิได้อย่างเป็ นรู ปธรรม


50 การอธิ บ ายถึ ง คุ ณลัก ษณะและเงื่ อ นไขของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งทั้ง หมดข้า งต้น โดยการ แยกแยะให้เห็นถึงคุณลักษณะและเงื่อนไขเป็ นส่ วนๆ ก็เพื่อให้เห็นความลึกซึ้ งของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เป็ นการวิเคราะห์แบบแยกส่ วนเพื่อทาความเข้าใจในทางวิชาการ แต่การนาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิน้ นั ต้องคานึ งถึงความเกี่ยวข้องของแต่ละคุณลักษณะและเงื่อนไขต่างๆ ในแบบองค์รวม ทั้ง คุ ณลัก ษณะด้านความพอประมาณ ความมี เหตุ ผ ล การมี ภูมิคุม้ กันในตัวที่ ดี ควบคู่ไปกับเงื่ อนไขด้านความรู ้ และคุ ณธรรม มิอาจใช้วิธีแยกส่ วนสาหรับการปฏิ บตั ิได้ เป็ นแต่ เพียงว่าองค์กรธุ รกิ จหนึ่ งๆ อาจมีความพร้ อมหรื อการให้น้ าหนักความเข้มข้นของคุ ณลักษณะและ เงื่ อนไขของเศรษฐกิ จพอเพี ย ง ตลอดจนการให้ความส าคัญต่ อผูม้ ี ส่วนได้เสี ย หรื อผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง แตกต่างกันกับอีกองค์กรหนึ่ง จึงเป็ นเหตุให้การนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิใช้น้ นั มี ระดับหรื อขั้นของการปฏิบตั ิที่แตกต่างกันออกไป ความพอเพียงตามนัยของปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงในแต่ละองค์กร จึงไม่จาเป็ นต้องมีขีด ระดับที่เท่ากัน มีรูปแบบเดียวกัน หรื อนาไปสู่ การเปรี ยบเทียบระดับความพอเพียงของแต่ละองค์กร ซึ่ งในความเป็ นจริ งก็ทาไม่ได้ดว้ ยเหตุที่ความพร้อมหรื อการให้น้ าหนักความเข้มข้นของคุณลักษณะ และเงื่อนไขของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการให้ความสาคัญต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยหรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้อง แตกต่างกันดังที่ได้กล่าวมาแล้ว หลักการทาเกษตรอินทรีย์ ความหมายของเกษตรอินทรีย์ คณะกรรมาธิ การการเกษตรและสหกรณ์ (2549: 42) ได้ให้ความหมายของคาว่าเกษตร อินทรี ย ์ คื อ ระบบการผลิ ตที่ค านึ งถึ งสภาพแวดล้อม การรั ก ษาสมดุ ล ของธรรมชาติ และความ หลากหลายทางชี วภาพ โดยมีระบบการจัดการนิ เวศที่คล้ายคลึงกับธรรมชาติและหลี กเลี่ยงการใช้ สารสังเคราะห์ ที่อาจก่อมลพิษในสภาพแวดล้อม รวมถึงการนาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2546: 30) ได้ให้ความหมายของเกษตรอินทรี ยไ์ ว้วา่ เกษตร อินทรี ย ์ เน้นการเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ไม่ใช้สารเคมี ใช้วสั ดุธรรมชาติ ไม่ใช้พืชหรื อสัตว์ที่มีการ ตัดต่อพันธุ กรรม เน้นความปลอดภัยของผลผลิ ต ผูผ้ ลิ ต และผูบ้ ริ โภค ตลอดจนฟื้ นฟูความอุ ดม สมบูรณ์ของดิน


51 สหพันธ์เกษตรอินทรี ยน์ านาชาติ หรื อ IFOAM ให้คานิ ยามของเกษตรอินทรี ยไ์ ว้วา่ เกษตร อิ น ทรี ย ์ คื อ ระบบการเกษตรที่ ผ ลิ ต อาหารและเส้ น ใยด้ว ยความยัง่ ยื น ทางสิ่ ง แวดล้อ ม สั ง คม เศรษฐกิ จ โดยเน้นที่หลักการปรับปรุ งบารุ งดิ น การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และนิ เวศการเกษตร เกษตรอินทรี ยจ์ ึงลดการใช้ปัจจัยการผลิ ตจากภายนอกและหลี กเลี่ ยงการใช้ สารเคมี สั ง เคราะห์ เช่ น ปุ๋ ย สารก าจัดศัตรู พื ช และเวชภัณฑ์ส าหรั บ สั ตว์ แต่ ใ นขณะเดี ย วกันก็ พยายามประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิต และพัฒนาความต้านทานต่อโรคของพืชและสัตว์ เลี้ ย ง หลัก การเกษตรอิ น ทรี ย ์เ ป็ นหลัก การสากลที่ ส อดคล้อ งกับ เงื่ อ นไขทางเศรษฐกิ จ สั ง คม ภูมิอากาศ และวัฒนธรรมท้องถิ่นด้วย องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรี ยภ์ าคเหนือ (2524) ได้ให้ความหมายของเกษตรอินทรี ย ์ไว้วา่ เป็ นระบบเกษตรที่ ไม่ใช้สารเคมี สังเคราะห์ ในการป้ องกันและกาจัดศัตรู พืช วัชพืช หรื อในการ กระตุน้ การเจริ ญเติบโตของพืชตลอดจนไม่ใช้ปุ๋ยเคมีในการปรับปรุ งบารุ งดิน แต่ให้ความสาคัญต่อ การปรับปรุ ง นอกเหนื อจากนี้ ยงั ห้ามใช้พืชหรื อดิ นและฐานชี วภาพ โดยใช้ซากพืช ปุ๋ ยพืชสด หรื อ มูลสัตว์ในการปรับปรุ ง นอกจากนี้ ยงั ห้ามใช้พืชหรื อเมล็ดพันธุ์พืชที่ มีการตัดต่อยีน และห้ามใช้ จุลินทรี ยท์ ี่มีการตัดต่อยีนในกระบวนการหมักปุ๋ ยชีวภาพ กรมวิชาการ (2548) ได้ใ ห้ความหมายเกษตรอินทรี ยห์ มายถึ ง ระบบการผลิ ตที่ คานึ งถึ ง สภาพแวดล้อม รักษาสมดุลของธรรมชาติ และความหลากหลายของทางชี วภาพ โดยมีระบบการ จัดการนิ เวศวิทยาที่คล้ายคลึ งกับธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์ไม่ว่าจะเป็ นปุ๋ ยเคมี สารเคมี ก าจัด ศัต รู พื ช และฮอร์ โมนต่ า งๆ ตลอดจนไม่ ใ ช้พื ช หรื อ สั ตว์ที่ เ กิ ด จากการตัด ต่ อ ทาง พันธุ กรรมที่อาจเกิ ดมลพิษในสภาพแวดล้อม เน้นการใช้อินทรี ยวัตถุ เช่น ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยพืช สดและปุ๋ ยชี วภาพในการปรั บ ปรุ ง บ ารุ งให้มี ความอุ ดมสมบู รณ์ เพื่ อให้ต้น พื ชมี ความแข็ง แรง สามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง รวมถึงการนาเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ดว้ ย ผลผลิ ตที่ ได้จะปลอดภัย จากสารพิ ษ ตกค้า งท าให้ป ลอดภัย ทั้ง ผูผ้ ลิ ตและผูบ้ ริ โภคและไม่ ท าให้ สภาพแวดล้อมเสื่ อมโทรมอีกด้วย สานักงานมาตรฐานสิ นค้าเกษตรและอาหารแห่ งชาติ (2546) ได้ให้ความหมายเกษตร อินทรี ยห์ มายถึง ระบบการจัดการการผลิ ตด้านการเกษตรแบบองค์รวม ที่เกื้ อหนุ นต่อระบบนิ เวศ รวมถึงความหลากหลายทางชี วภาพ วงจรชี วภาพ โดยเน้นการใช้วสั ดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการใช้ วัตถุดิบจากการสังเคราะห์ และไม่ใช้พืช สัตว์ หรื อจุลินทรี ย ์ ที่ได้จากเทคนิ คการดัดแปรพันธุ กรรม


52 หรื อพันธุ วิศวกรรม มีการจัดการกับผลิตภัณฑ์ โดยเน้นการแปรรู ปด้วยความระมัดระวัง เพื่อรักษา สภาพการเป็ นเกษตรอินทรี ยแ์ ละคุณภาพที่สาคัญของผลิตภัณฑ์ในทุกขั้นตอน สหพันธ์เกษตรอินทรี ยน์ านาชาติ ได้ให้ความหมายเกษตรอินทรี ยห์ มายถึง ระบบเกษตรที่ ผลิ ตอาหารและเส้นใยด้วยความยัง่ ยืนทางสิ่ งแวดล้อมและเศรษฐกิ จ โดยเน้นที่หลักการปรับปรุ ง บารุ งดิน เคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และนิเวศการเกษตร เกษตรอินทรี ยจ์ ึงลดการ ใช้ปัจจัยการผลิตจากภายนอกและหลีกเลี่ยงจากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ ย สารกาจัดศัตรู พืช และเวชภัณฑ์สาหรั บสัตว์ แต่ในขณะเดี ยวกันก็พยายามประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิ ต และพัฒนาความต้านทานต่อโรคของพืชและสัตว์เลี้ยง หลักการเกษตรอินทรี ยเ์ ป็ นหลักการสากลที่ สอดคล้องกับ เงื่ อนไขทางเศรษฐกิ จ สั ง คม ภู มิ อากาศและวัฒนธรรมท้องถิ่ นด้ว ย (ในวารสาร เกษตรกรรมธรรมชาติ 4/2547) จากความหมายข้างต้น ค าว่า เกษตรอิ นทรี ย ์ หมายถึ ง ระบบการเกษตรที่ ไ ม่ ใช้ส ารเคมี สังเคราะห์ ทางการเกษตรทั้งจากดิ น น้ า ลม และปั จจัยการผลิ ต อี กทั้งการใช้พนั ธุ์พืชที่ ไม่มีการ ดัดแปลงพันธุกรรม ทาให้ปลอดภัยทั้งผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภค รวมถึงสิ่ งแวดล้อมที่ดีตามไปด้วย วัตถุประสงค์ ในการทาเกษตรอินทรีย์ คณะกรรมาธิ การการเกษตรและสหกรณ์ (2549: 93) ได้กล่าวถึ งวัตถุ ประสงค์ในการทา เกษตรอินทรี ยไ์ ว้ดงั นี้ 1. การทาเกษตรอินทรี ย ์ เป็ นการทาการเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมีที่มนุ ษย์ทาขึ้น แต่ใช้วสั ดุ จากธรรมชาติทดแทนกัน เพื่อสร้างสมดุลทางธรรมชาติ 2. การทาเกษตรอินทรี ยส์ ามารถช่วยลดพิษภัยที่อาจเกิดจากสารเคมี ทั้งในดิน น้ า อากาศ และในผลผลิต รวมถึงเป็ นการคานึงถึงสุ ขภาพของผูป้ ลูก และผูบ้ ริ โภคให้ได้กินอาหารที่ไม่มีพิษภัย เพราะสารพิษตกค้างในผลผลิต ทาให้คนและสัตว์เจ็บป่ วย 3. การทาเกษตรอินทรี ยเ์ พื่อป้ องกันดินเสื่ อมโทรมจากการใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลง และ ปั ญหาปลูกพืชไม่ข้ ึน


53 รู ปแบบการทาเกษตรอินทรีย์ คณะกรรมาธิ การการเกษตรและสหกรณ์ (2549: 93) ได้กล่าวถึ งรู ปแบบการทาเกษตร อินทรี ยไ์ ว้วา่ เกษตรอินทรี ยม์ ี 2 แบบ คือ 1. เกษตรอินทรี ยต์ ามแนว IFOAM (International Federation of Organic Agriculture Movements) หรื อสหพันธ์เกษตรอินทรี ยน์ านาชาติ เป็ นสหพันธ์ขององค์กรที่ทางานเกี่ ยวข้องกับ เกษตรอิ นทรี ย ์ การดาเนิ นงานผลิ ตในแนวนี้ จ ะเป็ นการผลิ ตเพื่ อค้า ขายกับ ต่ า งประเทศ ในเชิ ง ผลิตภัณฑ์อินทรี ย ์ เช่น ข้าวอินทรี ย ์ ซึ่ งเป็ นเกษตรอินทรี ยท์ ี่มีเงื่ อนไขที่จะถูกรับซื้ อ เช่น เมล็ดพันธุ์ ข้าวก็ตอ้ งมาจากเกษตรอินทรี ย ์ ปุ๋ ยอินทรี ยจ์ ะต้องมีการตรวจสอบว่าถูกต้อง ก่อนที่จะขายผลิตภัณฑ์ ได้จะต้องมี การตรวจสอบและประเมิ นจากเจ้าหน้าที่ต่างประเทศโดยเกษตรกรจะต้องเป็ นผูอ้ อก ค่าใช้จ่าย ทาให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 2. เกษตรอินทรี ยท์ วั่ ๆไป กล่ าวคื อ เพียงขอให้ใช้วสั ดุ อินทรี ยอ์ ะไรก็ได้ ก็ใช้ไปโดยไม่ ต้องคานึงว่ามีสิ่งเจือปนเป็ นเช่นไร หลักปฏิบัติในการทาเกษตรอินทรีย์ วิฑูรย์ ปั ญญากุล และ เจษณี สุ ขจิรัตติกาล (2546: 7-8) ได้กล่าวถึงหลักปฏิ บตั ิในการทา เกษตรอิ นทรี ยไ์ ว้ว่า ระบบเกษตรอิ นทรี ยจ์ ะเลื อกใช้แนวทางในการฟื้ นฟูระบบนิ เวศการเกษตร สร้างสมดุ ลสิ่ งแวดล้อม ปรับปรุ งบารุ งดิ นเพื่อให้ตน้ พืชแข็งแรงสมบูรณ์ ด้วยวิธีการที่เป็ นมิตรกับ สิ่ งแวดล้อมมากที่สุด วิธีเหล่านี้ได้แก่ 1. การปลูกพืชหมุนเวียน โดยการปลูกพืชหมุนเวียนเปลี่ยนชนิ ดในแต่ละแปลงมากกว่าที่ จะปลูกพืชชนิ ดเดี ยวซ้ า ๆ (การปลูกพืชเชิงเดี่ยว) พืชที่ต่างชนิ ดกันจะให้ธาตุอาหารแก่ดินแตกต่าง กัน ด้วยเหตุน้ ี การปลูกพืชหมุนเวียน จึงเป็ นการบารุ งดินด้วยวิธีธรรมชาติ และยังช่วยให้เกษตรกร ไม่ตอ้ งใช้สารกาจัดศัตรู พืช เพราะวงจรชีวติ และที่อยูอ่ าศัยของแมลงศัตรู พืชถูกลดให้ส้ นั ลง 2. การปลูกพืชคลุ มดิ น พืชที่ปลูกคลุมไว้จะช่ วยรักษากิ น เพิ่มธาตุอาหาร ป้ องกันวัชพืช เติบโต ช่วยทาให้ดินโปร่ งจากระบบรากที่หยัง่ ลึกและเมื่อไถกลบก็จะเพิ่มอินทรี ยวัตถุให้กบั ดิน ถ้า


54 พืชคลุมดินเป็ นพืชตระกูลถัว่ ก็จะช่วยเพิ่มปุ๋ ยให้แก่ดินด้วย นอกจากนี้ พืชคลุมดินยังช่วยรักษาความ ชุ่มชื้นของดินและเป็ นอาหารของจุลชี พทั้งพืชและสัตว์ อย่างเช่น ไส้เดือน การสนับสนุ นวงจรชีวิต ของสิ่ งมีชีวิตที่เป็ นประโยชน์ต่อดิ น จะช่วยป้ องกันการแพร่ พนั ธุ์ของแบคทีเรี ย รา พยาธิ โรค และ แมลงซึ่ งก่อให้เกิดปั ญหา 3. การอนุ รักษ์แมลงที่มีประโยชน์ เกษตรอินทรี ยจ์ ะใช้วงจรศัตรู ในธรรมชาติหรื อตัวห้ า ตัวเบียนช่วยควบคุมศัตรู ที่มาทาลายพืชผล จึงไม่จาเป็ นต้องใช้สารเคมีกาจัดศัตรู พืช ซึ่ งจะตกค้างใน ดินอีกยาวนานหลายปี 4. การเติมปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก และปุ๋ ยพืชสด ระบบการผลิตเกษตรอินทรี ยม์ ีกฎระเบียบที่ เข้ม งวดเกี่ ย วกับ การใช้ปุ๋ ยอิ นทรี ย ์ (รวมถึ งปุ๋ ยอิ น ทรี ย ์ที่ ไ ด้จ ากสั ตว์ ) ไม่ เ หมื อ นการใช้ปุ๋ ยเคมี สัง เคราะห์ ใ นฟาร์ ม ตามแบบเกษตรเคมี การใช้ปุ๋ ยอิ นทรี ย ์ช่ ว ยเพิ่ ม อิ นทรี ย วัต ถุ ใ ห้ ก ับ ดิ น อย่า ง ต่อเนื่อง ช่วยรักษาความชุ่มชื้นและเพิ่มพูนธาตุอาหารในดิน ปุ๋ ยหมักที่ผลิตอย่างถูกต้องนอกจากจะ ช่วยฆ่าจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคและวัชพืชแล้ว ยังช่วยสร้างความอุดมสมบูรณ์ ซึ่ งกระตุน้ ให้ดินมีชีวิต และพืชผลแข็งแรง คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ (2549: 127-128) ได้กล่าวถึงหลักปฏิบตั ิในการทา เกษตรอินทรี ยไ์ ว้ดงั นี้ 1. ห้ามใช้สารเคมี สังเคราะห์ ทางการเกษตรทุ กชนิ ดไม่ว่าจะเป็ นปุ๋ ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยา ป้ องกันกาจัดศัตรู พืช และฮอร์โมน 2. เน้นการปรับปรุ งบารุ งดิ นด้วยอินทรี ยวัตถุ เช่ น ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยพืชสด ตลอดจน การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อให้พืชแข็งแรงมีความต้านทานต่อโรคแมลง 3. รักษาความสมดุลของธาตุอาหารภายในฟาร์ ม โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นมาหมุนเวียน ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด 4. ป้ องกันไม่ให้มีการปนเปื้ อนของสารเคมีจากภายนอกฟาร์ ม ทั้งจากดิน น้ า และอากาศ โดยจัดสร้างแนวกันชน ด้วยการขุดคู หรื อปลูกพืชยืนต้น และพืชล้มลุก


55 5. ใช้พนั ธุ์พืชหรื อสัตว์ที่มีความต้านทาน และมีความหลากหลาย ห้ามใช้พนั ธุ์พืชหรื อ สัตว์ที่ได้จากการตัดต่อสารพันธุ กรรม 6. การก าจัด วัช พื ช ใช้ก ารเตรี ย มดิ นที่ ดี และแรงงานคนหรื อเครื่ อ งมื อกลแทนการใช้ สารเคมีกาจัดวัชพืช 7. การป้ องกันกาจัดศัตรู พืชใช้สมุนไพรกาจัดศัตรู พืชแทนการใช้ยาเคมีกาจัดศัตรู พืช 8. ใช้ฮอร์โมนที่ได้จากธรรมชาติ เช่น จากน้ าสกัดชีวภาพแทนการใช้ฮอร์ โมนสังเคราะห์ 9. รักษาความหลากหลายทางชี วภาพ โดยการรักษาไว้ซ่ ึ งพันธุ์พืช หรื อสัตว์ สิ่ งที่มีชีวิต ทุกชนิดที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น ตลอดจนปลูกหรื อเพาะเลี้ยงขึ้นมาใหม่ 10. การปฏิบตั ิหลักการเก็บเกี่ยวและการแปรรู ปให้ใช้วิธีธรรมชาติ และประหยัดพลังงาน รวมถึงให้ความเคารพสิ ทธิมนุษย์และสัตว์ ปัญหาในการทาเกษตรอินทรีย์ คณะกรรมาธิ การการเกษตรและสหกรณ์ (2549: 129) ได้กล่าวถึ งปั ญหาในการทาเกษตร อินทรี ยไ์ ว้ดงั นี้ 1. ผลผลิตจะไม่ออกทั้งปี แต่ออกตามฤดูกาล เพราะเกษตรอินทรี ยเ์ ป็ นการทาการเกษตรที่ พึ่งพาอาศัยธรรมชาติมากกว่าการฝื นธรรมชาติ ซึ่ งจะทาให้ตอ้ งการใช้สารเคมีมากขึ้นตามไปด้วย 2. ต้นทุนผลผลิตจะสู งกว่า เพราะถึงแม้จะใช้ปัจจัยในการผลิตลดลง แต่ตอ้ งใช้แรงงานใน การดูแลและเอาใจใส่ มากขึ้น ศูนย์วิจยั กสิ กรไทย ได้กล่ าวถึ งปั ญหาในการทาเกษตรอิ นทรี ยไ์ ว้ว่า เกษตรอินทรี ยย์ งั มี ปัญหาและอุปสรรคหลัก 2 ประเด็น คือ


56 1. ปั ญหาด้านการผลิต เนื่องจากการผลิตเกษตรอินทรี ยย์ งั เป็ นการผลิตในลักษณะขนาด เล็ก เกษตรกรยังไม่สามารถผลิตในระดับใหญ่ได้ และการทาเกษตรอินทรี ยม์ ีความเสี่ ยงจากความ เสี ยหายของผลผลิตสู งกว่าเนื่ องจากการไม่ใช้สารเคมี ทาให้ปริ มาณผลผลิตต่อไร่ ต่าและมีตน้ ทุน การผลิตสู ง ส่ งผลให้ปริ มาณสิ นค้าเกษตรอินทรี ยท์ ี่ออกสู่ ตลาดน้อย 2. ปั ญหาด้านการตลาด สาหรั บตลาดในประเทศยังคงมี กลุ่ มผูบ้ ริ โภคจากัด เนื่ องจาก สิ นค้าเกษตรอินทรี ยย์ งั มีราคาสู ง ขณะเดียวกันประชาชนเองก็ยงั ขาดความตระหนักต่อความสาคัญ ของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี ยไ์ ม่มากเท่าที่ควร เครื่องมือทางการบัญชีบริหาร ทางด้ านต้ นทุนและผลตอบแทน โดยคณะผูจ้ ดั ทาได้นาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับบัญชีตน้ ทุนและการวิเคราะห์ผลตอบแทน ดังนี้ 1. แนวคิดพื้นฐานของการบัญชี ตน้ ทุน 2. แนวคิดการวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริ มาณ และกาไร 3. แนวคิดการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน 4. แนวคิดการวิเคราะห์ผลตอบแทน 5. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่ องสิ นค้าคงเหลือ 6. มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (NPAEs)


57 แนวคิดพืน้ ฐานของการบัญชี ต้นทุน ความหมายของต้ นทุน ดวงมณี โกมารทัต (2553: 26) กล่าวว่า ต้นทุน หมายถึง มูลค่าที่วดั ได้เป็ นจานวนเงินของ สิ นทรัพย์ หรื อความเสี ยสละที่กิจการได้ลงทุนไปเพื่อให้ได้สินค้า สิ นทรัพย์ หรื อบริ การต่างๆ ซึ่ ง กิ จการคาดว่าจะนาไปใช้เพื่อให้เกิ ดประโยชน์ในภายหลัง ซึ่ งสอดคล้องกับ พัชนิ จ เนาวพันธ์ (2552: 26) ได้ให้ความหมายของต้นทุน หมายถึง จานวนทรัพยากรที่จ่ายออกไปหรื อใช้ไปเพื่อให้ ได้ผลิตภัณฑ์ โดยสะสมอยูใ่ นรู ปต้นทุนผลิตภัณฑ์ เมื่อขายผลิตภัณฑ์ได้ จานวนเงินที่ได้รับทั้งหมด คือรายได้ หักด้วยจานวนต้นทุนผลิตภัณฑ์ที่จาหน่ายออกไปก็จะได้เป็ นผลกาไร เฉลิมขวัญ ครุ ฑบุญยงค์ (2554: 164) ได้ให้ความหมายว่าต้นทุน หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไป ในการผลิตสิ นค้า ประกอบด้วยต้นทุนผันแปรกับต้นทุนคงที่ นภาพร ณ เชี ยงใหม่ (2549: 73) ได้ให้ความหมายของต้นทุนไว้วา่ ต้นทุน (Cost) หมายถึง ต้นทุนของอะไรอย่างหนึ่ ง วัดออกมาในรู ปหน่วยของเงินตราซึ่ งเป็ นต้นทุนที่เกิดขึ้นโดยบุคคลบาง คน หรื อคณะบุคคล ซึ่ งสอดคล้องกับ นฤมล วัชรากร (2549: 2) ได้ให้ความหมายของต้นทุน คือ ค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึ้นในการดาเนินการผลิตสิ นค้า หรื อบริ การ ต้นทุนจะเริ่ มตั้งแต่ข้ นั ตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต การทดสอบ การจัดเก็บ และการขนส่ ง แต่อธิ บายเพิ่มเติมไว้วา่ ในกิ จการอุตสาหกรรมที่ ผลิตสิ นค้าเพื่อขายต้องรวบรวมต้นทุนการผลิตสิ นค้าที่ประกอบขึ้นเป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ปทั้งนี้ เพื่อให้ ทราบตัวเลขต้นทุนทั้งสิ้ นที่จะใช้เป็ นฐานในการกาหนดราคาขายของสิ นค้าได้ จึงกล่าวได้วา่ ต้นทุน หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากได้ทาการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การ ของธุ รกิจ


58 วัตถุประสงค์ ของการบัญชี ต้นทุน อนุรักษ์ ทองสุ โขวงศ์ (2550) และ นภาพร ณ เชียงใหม่ (2549: 73) ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ ที่สาคัญของการบัญชีตน้ ทุนไว้ดงั นี้ 1. เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold) ประจางวด ซึ่ งจะนาไปหักออกจากรายได้ในงบกาไรขาดทุน เพื่อช่ วยให้ผบู ้ ริ หารได้ทราบผลการดาเนิ นงาน ของกิจการว่ามีผลกาไรหรื อขาดทุนอย่างไร 2. เพื่อใช้ในการตีราคาสิ นค้าคงเหลื อ (Inventory Evaluation) ในธุ รกิ จอุ ตสาหกรรม สิ นค้าคงเหลือที่จะปรากฏในงบดุลจะประกอบด้ว ย วัตถุ ดิบ งานระหว่างผลิ ต และสิ นค้าสาเร็ จรู ป ซึ่ งการแสดงมูลค่าของสิ นค้าคงเหลื อเหล่านี้ ได้อย่างถูกต้อง หรื อใกล้เคียงความเป็ นจริ งมากที่สุด จาเป็ นต้องอาศัยวิธีการทางบัญชีตน้ ทุนที่มีประสิ ทธิภาพ 3. เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการตัดสิ นใจวางแผนและควบคุม (Planning and Control) ซึ่ งจะ ช่วยให้ผบู ้ ริ หารสามารถดาเนินธุ รกิจไปอย่างมีแบบแผน และบรรลุเป้ าหมายตามความต้องการของ ธุ รกิ จในที่สุด นอกจากนี้ ขอ้ มูลทางบัญชี ตน้ ทุนยังช่ วยให้ผบู ้ ริ หารได้ทราบถึ งความผิดพลาดหรื อ จุ ด บกพร่ อ งในการดาเนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ หาทางก าหนดวิธี ก ารปฏิ บ ัติ เพื่ อ แก้ไ ขเหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ได้อย่างทันท่วงที 4. เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตัดสิ นใจ (Decision Making) ทั้งนี้ ใน การดาเนิ นธุ รกิจ ผูบ้ ริ หารมักจะต้องประสบปั ญหาที่จะต้องทาการแก้ไขอยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็ น ปั ญหาในระยะสั้น หรื อปั ญหาที่จะส่ งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น การตัดสิ นใจเกี่ยวกับการรับ ใบสั่งซื้ อพิเศษ การปิ ดโรงงานชั่วคราว การเพิ่มลดรายการผลิ ต การตั้งราคาสิ นค้า การวิเคราะห์ กาไร การกาหนดกลยุทธ์ในการประมูลงาน เป็ นต้น การจาแนกประเภทของต้ นทุน เฉลิมขวัญ ครุ ฑบุญยงค์ (2554: 164-166) และ นฤมล วัชรากร (2549: 4) ได้กล่าวถึงการ จาแนกประเภทของต้นทุนว่ามีหลายประเภท ดังนี้


59 1. ต้นทุนขั้นต้นและต้นทุนแปรสภาพเป็ นการแบ่งต้นทุนตามลักษณะแหล่งต้นทุน 1.1 ต้นทุนขั้นต้น (Crime Cost) เป็ นต้นทุนที่เป็ นส่ วนประกอบสาคัญที่ใช้ในการผลิต สิ นค้า ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง 1.2 ต้นทุนแปรสภาพ (Conversion Cost) เป็ นต้นทุนที่ใช้ในการแปรสภาพวัตถุดิบ ทางตรงให้เป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ปประกอบด้วย ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายในการผลิ ต สาหรับ ต้นทุน ค่าแรงงานทางตรงบางครั้งมีจานวนไม่มากนักจึงอาจจะนาไปรวมกับต้นทุนแปรสภาพ ซึ่ ง สามารถแสดงความสัมพันธ์ของต้นทุนทั้งสองประเภท ต้นทุนผลิตภัณฑ์

วัตถุดิบทางตรง

ค่าแรงงานทางตรง

ต้นทุนขั้นต้น

ค่าใช้จ่ายในการผลิต

ต้นทุนแปรสภาพ

ภาพที่ 2-1 แผนภาพแสดงการจาแนกต้นทุนตามลักษณะแหล่งต้นทุน 2. การจาแนกต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุน ได้แก่ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) และต้นทุน ผันแปร (Variable Cost) 2.1 ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) เป็ นต้นทุนที่มีลกั ษณะผันแปรไปตามปริ มาณการ ผลิต โดยในภาพรวมหากกิ จการผลิ ตมากก็จะเสี ยต้นทุนสู งและถ้าผลิ ตสิ นค้าน้อยก็จะเสี ยต้นทุ น ต่ าลงตามลาดับการผลิ ต ในขณะเดี ยวกันหากสังเกตต้นทุนผันแปรต่อหน่ วยจะมีลกั ษณะคงที่คือ ทุกๆหน่ วยที่ผลิ ตสิ นค้าจะใช้ตน้ ทุนผันแปรเท่ากันทุ กหน่ วย ตั้งแต่หน่ วยผลิ ตที่หนึ่ งจนถึ งหน่ วย สุ ดท้าย ตัวอย่าง ได้แก่ วัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง เป็ นต้น


60 2.2 ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) เป็ นต้นทุนที่เกิ ดขึ้นคงที่ไม่วา่ จะมีระดับการผลิตเท่าใด จะผลิ ตสิ นค้าเพียงหนึ่ งหน่ วยหรื อกี่ หน่ วยก็ตามก็ตอ้ งจ่ายต้นทุนคงที่เท่าเดิ มไม่เปลี่ ยนแปลงหรื อ กล่าวอีกอย่างว่าเป็ นต้นทุนทีไม่ผนั แปรไปตามปริ มาณการผลิต และมีขอ้ สังเกตว่าต้นทุนคงที่รวมนี้ จะคงที่ต่อเมื่อมองในภาพย่อยแต่ละหน่วยของการผลิตสิ นค้าจะมีตน้ ทุนคงที่ผนั แปรไปตามปริ มาณ การผลิต ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการขาย

ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

ต้นทุนผันแปรหรื อคงที่ วัตถุดิบทางตรง

ค่าแรงงานทางตรง

ต้นทุนผันแปร

ค่าใช้จ่ายการผลิต

ต้นทุนผันแปรหรื อคงที่

ภาพที่ 2-2 แผนภาพแสดงการจาแนกต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุน นอกจากนี้ตน้ ทุนตามพฤติกรรมที่สาคัญจะมีตน้ ทุนผันแปรและต้นทุนคงที่เป็ นต้นทุนหลัก และมี บ ทบาทในการวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล เพื่ อ การตัด สิ น ใจของผูบ้ ริ ห ารแล้ว การแบ่ ง ต้น ทุ น ตาม พฤติกรรมยังมีตน้ ทุนอีกประเภทหนึ่ งเรี ยกว่าต้นทุนผสม (Mixed Cost) ซึ่ งเป็ นต้นทุนที่เป็ นเรื่ อง ยุ่งยากหากจะแยกว่าเป็ นต้นทุ นผันแปรจานวนเท่ าใดหรื อเป็ นต้นทุ นคงที่ จานวนเท่า ใด ในการ วิเคราะห์ขอ้ มูลจึงใช้เพียงต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่เท่านั้น 3. การจาแนกต้นทุ นตามวัตถุ ประสงค์ของหน่ วยต้นทุ นจะแบ่งต้นทุ นออกเป็ นต้นทุ น ทางตรง (Direct Cost) และต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost)


61 3.1 ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) โดยปกติตน้ ทุนที่ฝ่ายบริ หารต้องการใช้ในการ ตัดสิ นใจตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ ต้นทุนทางตรงจะเป็ นต้นทุนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่ วนงานที่ ต้องการวิเคราะห์ หรื อเกี่ ย วข้องกับ วัตถุ ป ระสงค์ที่ ตอ้ งการ วัตถุ ประสงค์ที่ ต้องการ อาจจะเป็ น รู ป แบบของผลิ ต ภัณ ฑ์ เขตการขาย แผนกหรื ออยู่ใ นรู ป ของกิ จ กรรมก็ ไ ด้ ต้น ทุ น ทางตรงนี้ มี ความสาคัญต่อการตัดสิ นใจมากลักษณะของต้นทุนทางตรงจะเป็ นต้นทุนที่เกิ ดจากการปฏิ บตั ิงาน โดยตรงของหน่ ว ยต้น ทุ น นั้น จึ ง เป็ นต้นทุ น ที่ ร ะบุ ไ ด้อย่า งชัด เจนว่า เป็ นความรั บ ผิ ด ชอบของ หน่วยงานใดหรื อกิจกรรมใด 3.2 ต้นทุ นทางอ้อม (Indirect Cost) เป็ นต้นทุ นที่ มี ค วามหมายตรงข้า มกับ ต้นทุ น ทางตรง กล่ าวคื อ เป็ นต้นทุ นที่ เกิ ดขึ้ นจากการดาเนิ นงานของหน่ วยงานนั้นหรื อของกิ จจกรามนี้ โดยตรง ไม่สามารถจัดหรื อระบุได้วา่ ต้นทุนส่ วนนั้นเป็ นของแผนกใดๆกรื อกิจกรรมใด ทุกแผนกมี ส่ วนร่ วมในการรับผิดชอบค่าใช้จ่ายส่ วนนั้น ส่ วนใหญ่จะเป็ นค่าใช้จ่ายส่ วนกลางจึงต้องใช้วิธีปัน ส่ วนไปให้แผนกต่างๆอย่างมีหลักเกณฑ์ เช่น ค่าเช่าโรงงาน หรื อค่าเบี้ยประกันภัยโรงงาน ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนผลิตภัณฑ์

ต้นทุนงวดเวลา

ค่าใช้จ่ายในการขาย

ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

ต้นทุนผันแปรหรื อคงที่ วัตถุดิบทางตรง

ค่าแรงงานทางตรง

ต้นทุนทางตรง

ค่าใช้จ่ายการผลิต

ต้นทุนทางตรงหรื อทางอ้อม

ภาพที่ 2-3 แผนภาพแสดงการจาแนกต้นทุนตามวัตถุประสงค์ของหน่วยต้นทุน


62 4. การจาแนกต้นทุนตามความรับผิดชอบเป็ นต้นทุนที่ควบคุ มได้ (Controllable Cost) และต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost) 4.1 ต้นทุนที่ควบคุ มได้ (Controllable Cost) เป็ นต้นทุนที่สามารถควบคุ มได้ของ ผูบ้ ริ หารระดับต่างๆ และต้นทุนประเภทเดียวกันอาจจะควบคุมได้สาหรับผูบ้ ริ หารระดับหนึ่ ง และ อาจจะเป็ นต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้สาหรับผูบ้ ริ หารอีกระดับหนึ่ง 4.2 ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost) เป็ นต้นทุนที่ผบู้ ริ หารในระดับ นั้นๆ ไม่สามารถควบคุ มได้หรื ออยู่นอกเหนื ออานาจสาหรั บผูบ้ ริ หารระดับนั้นๆ เช่ น ต้นทุนบางอย่าง อาจจะเป็ นต้นทุนที่ควบคุ มได้ของผูจ้ ดั การโรงงาน แต่ตน้ ทุนรายการนั้นอาจเป็ นต้นทุนที่ควบคุ ม ไม่ได้สาหรับผูค้ วบคุมงานได้ วงจรของบัญชี ต้นทุน ภัทรภร สายเชื้ อ (2553: 48) ได้กล่าวถึงวงจรการบันทึกต้นทุนการผลิตไว้วา่ การบันทึก ต้นทุนการผลิตเป็ นกระบวนการที่สาคัญของระบบบัญชี ตน้ ทุนทุกประเภท ก่อนที่จะทาการบันทึก ต้นทุ นการผลิ ตสิ นค้าของกิ จการ จาเป็ นต้องทราบเส้ นทางการผลิ ตสิ นค้าและระบบการบันทึ ก สิ น ค้า คงเหลื อ ของกิ จ การนั้น ๆ โดยปกติ เ ส้ น ทางการผลิ ต ของวงจรต้น ทุ น จะประกอบด้ว ย กระบวนการดังต่อไปนี้ 1. การจัดหา (Procurement) เป็ นการจัดเตรี ยมทรัพยากรต่างๆ ปั จจัยการผลิตป้ อนเข้าสู่ การผลิ ตอันได้แก่ วัตถุ ดิบ วัสดุ เครื่ องจักร โรงงาน อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ สิ่ งอานวยความ สะดวก สาธารณู ปโภคต่างๆ รวมทั้งแรงงานประเภทต่างๆ ในกรณี ที่เป็ นวัสดุ และวัตถุ ดิบต่างๆ นอกจากจะมีการสั่งซื้ อ การตรวจรับ ตรวจสอบคุณภาพแล้วยังรวมไปถึงการเก็บรักษาวัตถุดิบให้อยู่ ในสภาพพร้อมใช้งานได้ 2. การผลิต (Production) เป็ นกระบวนการที่สาคัญที่สุด ซึ่ งเป็ นการนาปั จจัยการผลิ ต ทรัพยากรต่างๆเข้าสู่ กระบวนการผลิ ตในโรงงาน จนกระทัง่ ผลิ ตเสร็ จออกมาเป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ป


63 3. การเก็บสิ นค้า (Warehouse) เป็ นขั้นตอนสิ นค้าที่ผลิตเสร็ จจากโรงงาน จะถูกตรวจนับ แล้วเข้าเก็บรักษาไว้ในคลังสิ นค้า เพื่อรอจาหน่ายต่อไป 4. การขาย (Selling) เป็ นขั้นตอนการขายสิ นค้าให้กบั ลูกค้า ซึ่ งจะนาสิ นค้าจากคลังสิ นค้า เพื่อส่ งมอบให้กบั ลูกค้า พร้อมทั้งเก็บเงินค่าขายนั้นด้วย จากวงจรต้นทุน 4 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น เรี ยกได้อีกอย่างหนึ่ งว่า วงจรต้นทุนการผลิ ต (Manufacturing Cost Accounting Cycle) แนวคิดการวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ และกาไร องค์ ประกอบในการวิเคราะห์ กมลทิพย์ คาใจ (2553: 58) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบในการวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริ มาณ และ กาไรไว้ดงั นี้ ต้นทุน สามารถแบ่งได้เป็ นต้นทุนการผลิต ซึ่ งประกอบด้วย ค่าวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงาน ทางตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิต และต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการขายและ การบริ หาร เช่นเงินเดือนพนักงานขาย ค่าเช่าสานักงาน ค่าโฆษณา ค่านายหน้า ค่ารับรอง ปริ มาณหรื อจานวน หมายถึง ปริ มาณหรื อจานวนหน่วยของสิ นค้าที่ขาย กาไร หมายถึง รายได้หกั ค่าใช้จ่าย ประโยชน์ ของการวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ และกาไร 1. ใช้ในการกาหนดราคาขาย 2. ใช้ในการกาหนดปริ มาณขายว่าจะต้องขายให้ได้เท่าไรจึงจะคุม้ ทุนหรื อให้ได้กาไรตาม เป้ าหมาย


64 3. ใช้ในการกาหนดส่ วนผสมในการขายเพื่อให้ได้กาไรตามเป้ าหมายในกรณี ที่มีการขาย สิ นค้าหลายชนิด 4. ใช้ในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเพิ่มลดสายผลิ ตภัณฑ์ การขยายกาลังการผลิ ต การซื้ อ หรื อผลิตเอง 5. ใช้ในการกาหนดต้นทุ นผันแปรและคงที่ เพราะการเปลี่ ยนแปลงในปั จจัยดังกล่ าวมี ผลกระทบต่อจุดคุม้ ทุน ความสั มพันธ์ ของต้ นทุน ปริมาณ และกาไร นฤมล วัชรากร (2549: 10-12) กล่าวว่า การแบ่งแยกต้นทุนตามพฤติกรรมได้จดั ประเภท เป็ นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร สามารถนามาใช้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของต้นทุนที่มีผลกระทบ ต่ อ รายได้ ปริ มาณ และก าไร การวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งต้ น ทุ น ปริ มาณ ก าไร (Cost Volume Profit Analysis) เป็ นการสารวจอย่างเป็ นระบบถึงความสัมพันธ์ระหว่างราคาขาย ปริ มาณการผลิต ต้นทุนผันแปร ค้นทุนคงที่รวมค่าใช้จ่าย และส่ วนผสมผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่ขาย ฝ่ ายบริ หารสามารถนาผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริ มาณ กาไร ไปใช้ พิจารณาวางแผนและตัดสิ นใจเรื่ องราวต่าง ๆ อื่นได้แก่ การวางแผนกาไร การตั้งราคาขาย การเลือก กลยุทธ์การตลาด การเลือกส่ วนผสมของผลิตภัณฑ์ที่จะขาย และการวิเคราะห์ผลกระทบของต้นทุน ที่มีต่อกาไร ฝ่ ายบริ หารจะต้องนาผลของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ กาไร มาใช้ใ นการตัด สิ น ใจอย่า งถู ก ต้อ งและรวดเร็ ว จึ ง จะก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด การวิเ คราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ กาไร สามารถวิเคราะห์ได้โดยใช้ 1. กาไรส่ วนเกิน (Contribution Margin) เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และ กาไร โดยกาไรส่ วนเกินนั้น คานวณจากรายได้หกั ด้วยต้นทุนผันแปร จากสู ตรดังนี้ กาไรส่ วนเกิน

= ยอดขาย – ต้นทุนผันแปร


65 หลักการเกี่ ยวกับกาไรส่ วนเกิ นจะมีประโยชน์อย่างมากสาหรับธุ รกิ จโดยเฉพาะสามารถ นาไปใช้วางแผนธุ รกิจ ทาให้รู้ถึงความสามารถในการทากาไรของธุ รกิจได้เป็ นอย่างดี 2. อัตรากาไรส่ วนเกิ น (Contribution Margin Ratio) เป็ นอัตราส่ วนที่เกิ ดจากการหาร กาไรส่ วนเกินด้วยยอดขาย ซึ่ งกาไรส่ วนเกินเกิดจากยอดขายหักต้นทุนผันแปร ดังสู ตร อัตรากาไรส่ วนเกิน =

ยอดขาย ต้นทุนผันแปร ขาย

X 100

การวิเคราะห์ อตั รากาไรส่ วนเกิ น ต้องสมมติ ให้ตน้ ทุนผันแปรต่อหน่ วยและราคาขายต่อ หน่ วยคงที่ตลอดช่ วงการวิเคราะห์ อัตรากาไรส่ วนเกิ นนี้ จะเป็ นประโยชน์อย่างมากในการดาเนิ น นโยบายธุ รกิจ เช่น ถ้ากิ จการมีอตั รากาไรส่ วนเกิ นเป็ นจานวนมาก หากกิ จการคิดว่าจะเพิ่มรายได้ จากการดาเนิ นงานโดยวิธีเพิ่มยอดขายก็จะต้องส่ งเสริ มการขายให้มากขึ้ นเพื่อจะทาให้ยอดขาย เพิ่มขึ้น ในทางตรงข้ามถ้ากิจการมีอตั รากาไรส่ วนเกินน้อยอาจจะต้องใช้วธิ ี ลดต้นทุนก่อนมากกว่าที่ จะใช้วธิ ี เพิ่มยอดขาย 3. กาไรส่ วนเกินต่อหน่วย (Unit Contribution Margin) เป็ นจานวนเงินจากทุก ๆ หน่วย ของการขายที่จะสามารถชดเชยต้นทุนคงที่และยังมีเหลือเป็ นกาไรจากการดาเนิ นงาน ดังนั้น กาไร ส่ วนเกินต่อหน่วยจึงคานวณได้จากราคาขายต่อหน่วยลบด้วยต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ดังสู ตร กาไรส่ วนเกินต่อหน่วย = ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย นภาพร ณ เชี ยงใหม่ (2549: 81-82) ได้กล่าวถึงการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และกาไรไว้วา่ เป็ นเทคนิ คการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของต้นทุนและกาไรที่เป็ นผลจาก การเปลี่ ยนแปลงของหน่วยขาย เนื่ องจากปั จจุบนั ผูบ้ ริ หารต้องเผชิ ญหน้ากับปั ญหาเกี่ ยวกับการตั้ง ราคาขาย การกาหนดจานวนหน่วยขาย กาหนดจานวนการขายผสม และต้นทุนอันได้แก่ ต้นทุนผัน แปรและต้นทุ นคงที่ หากต้นทุ นคงที่ จ่ายจานวนคงที่ ตลอดช่ วงการผลิ ตและดาเนิ นงาน โดยให้ หน่ วยขายเท่ากับหน่ วยผลิ ต จานวนต้นทุ นที่ เปลี่ ยนแปลงคื อต้นทุนผันแปร ซึ่ งจะเปลี่ ยนแปรไป ตามจานวนหน่วยขายและหน่วยผลิตนั้น


66 ซึ่ งได้กล่าวถึงความสาคัญของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ กาไรไว้ ด้วยว่า ผูบ้ ริ หารใช้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และกาไร เป็ นเครื่ องมือใน การบริ หาร เพื่อจะได้ทราบว่าต้นทุนและกาไรเปลี่ยนแปลงไปเท่าไรหากกิจการเพิ่มหน่วยการผลิต และขาย ดังที่กล่าวข้างต้นแล้วว่า ผูบ้ ริ หารต้องเผชิ ญหน้ากับการตัดสิ นใจในปั ญหาเกี่ยวกับการตั้ง ราคาขาย การกาหนดหน่ วยขาย กาหนดหน่ วยขายผสม และบริ หารต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ ดังนั้นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และกาไร จะช่ วยผูบ้ ริ หารในเรื่ องต่างๆ ได้แก่ การคานวณจุดคุม้ ทุนของกิจการทั้งในรู ปจานวนเงินและจานวนหน่วย ถ้าเพิ่มค่าโฆษณาจะมี ผลกระทบต่อหน่วยขายและกาไรอย่างไร จะขายกี่หน่วยจึงจะทาให้ได้กาไรที่ตอ้ งการ ถ้าเพิ่มราคา ขายให้สูงขึ้นจะทาให้กาไรส่ วนเกินเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ถ้าราคาขายเปลี่ยนแปลงจะทาให้กาไร ส่ วนเกินเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร จะขายเพิ่มขึ้นกี่หน่วยจึงจะชดเชยค่าวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้น และผลของ ค่าวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นจะกระทบกาไรอย่างไร ถ้าเพิ่มสมรรถภาพการผลิตโดยต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น จะทา ให้กาไรเปลี่ยนแปลงอย่างไร อัตราส่ วนร่ วมในตลาดควรเป็ นเท่าใด จึงทาให้ผลตอบแทนจากการ ลงทุนเป็ นไปตามเป้ าหมาย จะจัดอัตราการขายผสมเท่าใด จึงจะทาให้ได้รับกาไรสู งสุ ด ระดับความ ปลอดภัยในการคาดคะเนของยอดขายของปี ต่อไป เพื่อให้ค่าขายสู งกว่าจุดคุ ม้ ทุน และอัตราการ จัดการขายผสมเปลี่ยนแปลงจะมีผลทาให้กาไรส่ วนเกินลดลงเท่าไร แนวคิดการวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน ความหมายของจุดคุ้มทุน เฉลิมขวัญ ครุ ฑบุญยงค์ (2554: 167) ได้กล่าวว่า การคานวณหาจุดคุม้ ทุน เป็ นการนาต้นทุน ผันแปรกับต้นทุนคงที่มาพิจารณาปริ มาณหรื อยอดขายที่มีผลทาให้บริ ษทั พอดี ทุน คือ ไม่ได้กาไร และไม่ขาดทุน (กาไร = 0) นภาพร ณ เชี ยงใหม่ (2549: 82) ได้ให้ความหมายของจุดคุม้ ทุน คือ หน่วยขายที่ทาให้ค่า ขายรวมเท่ากับต้นทุนรวม เป็ นจุดที่ไม่ได้กาไรและไม่ขาดทุน กาไรสุ ทธิ จะเกิดขึ้นเมื่อจานวนหน่วย ขายสู งกว่าจุดคุม้ ทุนและจะขาดทุนเมื่อจานวนหน่วยขายต่ากว่าจุดคุม้ ทุน ดังนั้นจุดคุม้ ทุนจะอธิ บาย ถึงหน่วยขายต่าสุ ดที่ตอ้ งกระทาการขาย การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนจะให้ขอ้ มูลในการวัดค่าผลกระทบ ของพฤติกรรมต้นทุนในแต่ละระดับการขายที่ต่างกัน การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนจะช่วยวางแผนให้ได้ จานวนกาไรที่ตอ้ งการ และวัดระดับปลอดภัยสัมพันธ์กบั หน่วยในขั้นต่อไป


67 กมลทิพย์ คาใจ (2553: 58) ได้ให้ความหมายคาว่าจุดคุม้ ทุน หมายถึง จุด ณ ระดับการ ดาเนิ นงานของธุ รกิจที่ปริ มาณสิ นค้าหรื อบริ การของธุ รกิจมีผลทาให้ธุรกิจมีรายได้เท่ากับค่าใช้จ่าย รวมทั้งสิ้ นของสิ นค้าหรื อบริ การนั้น หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งว่า หมายถึ งจุด ณ ระดับการดาเนิ นงาน ของธุ รกิจที่ไม่มีกาไรขาดทุน คือ มีค่าเท่ากับศูนย์ ดังที่กล่าวมาข้างต้น สรุ ปความหมายของจุดคุม้ ทุนได้วา่ หมายถึง จุดที่ทาให้กาไรเป็ นศูนย์ หรื อจุดที่รายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวม หรื อหมายถึงจุดที่กาไรส่ วนเกินรวมเท่ากับต้นทุนคงที่รวม วิธีการคานวณจุดคุ้มทุน กมลทิพย์ คาใจ (2553: 58-62) ได้กล่าวถึงวิธีการคานวณจุดคุม้ ทุนไว้ดงั นี้ ข้อมูลที่ตอ้ งใช้ในการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนประกอบด้วย ยอดขาย ต้นทุนผันแปร และต้นทุน คงที่ ดังนั้นสิ่ งสาคัญในการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน คือ การแยกต้นทุนที่มีอยูท่ งั หมดออกเป็ นต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปร ทั้งต้นทุนการผลิต และไม่เกี่ยวข้องกับผลิต การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนเป็ นเทคนิ คในการวางแผนกาไรระยะสั้นของผูบ้ ริ หาร โดยเทคนิ คนี้ จะอาศัยหลักเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนและรายได้ เช่นจะมีการพิจารณาว่ากิจการควรจะ มีการผลิ ตและขายสิ นค้าปริ มาณเท่าไร จึงจะได้กาไรตามที่ ตอ้ งการ หรื อควรจะขายให้มียอดขาย ปริ มาณเท่าไรถึงจะคุม้ กับค่าใช้จ่ายทั้งสิ้ น และการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนจะอาศัยพฤติกรรมของต้นทุน มาใช้ในการวิเคราะห์ ซึ่ งจะแบ่งต้นทุนเป็ นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปรดังนี้ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนการผลิตคงที่ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ ค่าใช้จ่ายในการขายคงที่

ต้นทุนผันแปร ต้นทุนการผลิตผันแปร วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หารผันแปร

ตารางที่ 2-1 แสดงต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร


68 การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนสามารถคานวณได้ 3 วิธี คือ วิ ธี ที่ 1 การวิ เ คราะห์ จุ ด คุ ้ม ทุ น โดยใช้ส มการ การค านวณจุ ด คุ ้ม ทุ น โดยใช้ส มการมี แนวความคิดมาจากการคานวณหากาไรขาดทุนของกิจการ คือ รายได้รวม – ต้นทุนรวม = กาไรสุ ทธิ รายได้จากการขาย – ต้นทุนผันแปร – ต้นทุนคงที่ = กาไรสุ ทธิ สมการนี้ถา้ จะแสดงในรู ปของจุดคุม้ ทุน คือ จุดที่กาไรมีค่าเท่ากับ 0 จะเป็ นดังนี้ รายได้จากการขาย = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนผันแปร (ราคาขายต่อหน่ วย x จานวนหน่ วยขาย) = ต้นทุนคงที่ + (ต้นทุ นผันแปรต่อหน่ วยขาย x จานวนหน่วยขาย) หรื อ ขาย/หน่วย = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนผันแปร/หน่วย โดยให้คูณ เท่ากับ จานวนหน่วยขาย ณ จุดคุม้ ทุน วิธีที่ 2 การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนโดยใช้กาไรส่ วนเกิน กาไรส่ วนเกิน (Contribution Margin) หมายถึง รายได้จากการขายส่ วนเหลือภายหลังจาก การหักต้นทุนผันแปรและรายได้น้ ี มีจานวนเพียงพอที่จะชดเชยต้นทุนคงที่แล้ว รายได้ที่เหลือก็คือ ส่ วนที่เป็ นกาไรประจางวดบัญชีน้ นั การคานวณหากาไรส่ วนเกิ น สามารถแสดงได้ 3 วิธี คือ วิธีกาไรส่ วนเกิ นในจานวนรวม (Contribution Margin) วิธีกาไรส่ วนเกินต่อหน่วย (Unit Contribution Margin) และวิธีอตั รากาไร ส่ วนเกิน (Contribution Ratio)


69 ผูบ้ ริ หารสามารถนาข้อมูลเกี่ ยวกับกาไรส่ วนเกิ นในลักษณะต่างๆ ไปใช้ประโยชน์ในการ ตัดสิ นใจดาเนินงานได้ และการวิเคราะห์ จุดคุม้ ทุนจากกาไรส่ วนเกินสามารถเขียนเป็ นสู ตรได้ดงั นี้ 1. อัตรากาไรส่ วนเกิน (%)

=

2. ขาย ณ จุดคุม้ ทุน (บาท)

=

3. ปริ มาณ ณ จุดคุม้ ทุน (หน่วย) =

รายได้รวม ต้นทุนผันแปร รายได้รวม

X 100

ต้นทุนคงที่ อัตรากาไรส่ วนเกิน ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย

วิธีที่ 3 การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนโดยใช้กราฟ การหาจุดคุม้ ทุนโดยใช้กราฟเป็ นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และ กาไร ซึ่ งเราเรี ยกว่า การเขียน กราฟ CVP ซึ่ งจุดคุม้ ทุนที่เกิดขึ้น คือ จุดที่เส้นรายได้รวมตัดกับเส้น ต้นทุนรวม ส่ วนของพื้นที่ที่อยู่สูงกว่าจุดคุ ม้ ทุน คือ ส่ วนกาไร ส่ วนของพื้นที่ที่อยูต่ ่ ากว่าจุดคุม้ ทุน คือ ส่ วนขาดทุน กราฟแสดงกาไรและปริ มาณ (Profit-Volume Graph) เป็ นกราฟที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างกาไรและปริ มาณเท่านั้น โดยที่ไม่สนใจต้นทุน ซึ่ งเรี ยกว่าเส้น PV กราฟ โดยที่เส้นกราฟนี้ จะใช้แนวคิดของกาไรส่ วนเกิ นและเป็ นเส้นที่แสดงให้เห็ นกาไรหรื อขาดทุนตามระดับต่างๆของ จานวนหน่วย ซึ่ งจุดคุม้ ทุนจะเกิดขึ้นเมื่อเส้นกาไรส่ วนเกินตัดกับเส้นกาไร


70

ภาพที่ 2-4 กราฟแสดงกาไรและปริ มาณ ซึ่งเฉลิมขวัญ ครุ ฑบุญยงค์ (2554: 167) ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า การสร้างกราฟเพื่อหาจุดคุม้ ทุน มีขอ้ จากัดบางประการ ดังนี้ 1. จานวนที่ชดั เจนของต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ การสร้างกราฟเพื่อหาจุดคุม้ ทุนนั้น จาเป็ นต้องแบ่งกลุ่มเพื่อหายอดรวมของต้นทุนผันแปรและนามารวมกันเป็ นต้นทุนผันแปรต่อหน่วย และแบ่งกลุ่มของต้นทุนคงที่ เพื่อนามารวมเป็ นต้นทุนคงที่รวม ถ้าไม่สามารถกาหนดได้วา่ รายการ ใดเป็ นต้นทุนผันแปรหรื อต้นทุนคงที่ เมื่อสร้างกราฟเพื่อหาจุดคุม้ ทุน อาจทาให้จุดคุม้ ที่ไ ด้ผิดพลาด ไปจากความเป็ นจริ ง 2. การแบ่งมาตราส่ วนทั้งแกน x และแกน y การสร้างกราฟจุดคุม้ ทุนจะต้องมีการกาหนด อัตราส่ วนเพื่อกาหนดให้กบั แกน x และแกน y ที่เป็ นอัตราส่ วนเดียวกัน การสร้างกราฟเพื่อวิเคราะห์หาจุดคุม้ ทุน โดยนาตัวเลขปริ มาณ ต้นทุนคงที่รวม ต้นทุนผัน แปรรวม ต้นทุนรวม และรายได้รวมมาสร้ างกราฟ จะได้เส้นรายได้รวมตัดกับเส้นต้นทุ นรวม ณ จุดตัดของเส้นรายได้รวมกับเส้นต้นทุนรวม จุดนั้นคือ จุดคุม้ ทุน ถ้าลากจากจุดตัดมายังแกน x จะได้ ปริ มาณ ณ จุดคุม้ ทุน ถ้าลากจากจุดตัดมายังแกน y จะได้จานวนเงินคุม้ ทุน


71 แนวคิดการวิเคราะห์ ผลตอบแทน การวิเคราะห์ ทางการเงิน ในการวิเคราะห์ผลตอบแทนของการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ จะใช้หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ ทางการเงิน 4 ประการ คือ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment: ROI) ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period: PB) มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present value: NPV) และ อัตราส่ วนรายได้ต่อต้นทุน (Benefit-Cost Ratio: B/C) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment: ROI) เป็ นอัตราส่ วนใช้วดั ความสัมพันธ์ระหว่างกาไรและสิ นทรัพย์ที่ใช้ในการลงทุน (Invested assets) ว่าในการลงทุนมี ผลตอบแทนอยูท่ ี่เท่าไร ซึ่ งช่วยให้สามารถประเมินการลงทุนได้วา่ การลงทุนนั้นคุม้ ค่าหรื อไม่ วิธีคานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน

หรื อ

ROI (%) =

กาไรสุ ทธิ สิ นทรัพย์ที่ใช้ในการลงทุน

ผลตอบแทนจากการลงทุน ต้นทุนในการลงทุน ต้นทุนในการลงทุน

x 100

ระยะเวลาคืนทุน (PB) ฐาปนา ฉิ่ นไพศาล (2551: 144) ได้กล่าวว่าระยะเวลาคืนทุน หมายถึง ระยะเวลาที่กระแส เงินสดรับสุ ทธิ เท่ากับเงินสดจ่ายลงทุนสุ ทธิ


72 เพชรี ขุมทรัพย์ (2541) ได้อธิ บายว่า ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period หรื อ PB) หมายถึง ระยะเวลาจะเป็ นจานวนปี เดือน หรื อวันที่กระแสเงินสดรับจากโครงการสามารถชดเชยกระแสเงิน สดจ่ายลงทุนสุ ทธิ ตอนเริ่ มโครงการ โสภณ ฟองเพชร (2545: 91) ได้อธิ บ ายว่า ระยะเวลาคื นทุ น (Payback Period) คื อ ระยะเวลาที่บริ ษทั จะได้รับจานวนเงินกลับคืนเท่ากับกระแสเงินสดจ่ายลงทุน เนื่ องจากวิธีระยะเวลา คืนทุนจะทาการวัดค่าโครงการลงทุนจะได้เงิ นกลับคืนเร็ วมากน้อยอย่างไร ในการตัดสิ นใจเลื อก โครงการลงทุนนั้นจะพิจารณาว่าโครงการลงทุนนั้นใช้ระยะเวลาน้อยกว่าหรื อเท่ากับระยะเวลาคืน ตามที่บริ ษทั ต้องการหรื อไม่ สรุ ปได้ว่า ระยะเวลาคืนทุนของโครงการ (Payback Period) หมายถึ ง ระยะเวลาการ ดาเนินงานโครงการที่ทาให้ผลตอบแทนสุ ทธิ ของโครงการ มีค่าเท่ากับค่าใช้จ่ายในการลงทุนพอดี หรื ออาจกล่าวได้วา่ ระยะเวลาคืนทุนของโครงการ คือ จานวนปี ในการดาเนินงานซึ่ งทาให้ผลกาไรที่ ได้รับในแต่ละปี รวมกันแล้ว มีค่าเท่ากับเงินลงทุนเริ่ มแรก ข้ อดีของวิธีระยะเวลาคืนทุน 1. การคานวณระยะเวลาการคืนทุนนั้นจะใช้กระแสเงินสด (Cash Flow) ไม่ใช่กาไรตาม บัญชี (accounting profit) ซึ่ งเน้นให้เห็นถึงผลตอบแทนและต้นทุนของโครงการลงทุนที่เกิดขึ้นใน เวลาที่แท้จริ ง 2. ระยะเวลาคืนทุนนี้ง่ายต่อการทาความเข้าใจและง่ายต่อการคานวณ 3. ระยะเวลาคืนทุนใช้เป็ นเครื่ องมือในการคัดสรรโครงการลงทุนที่น่าสนใจเบื้องต้น ข้ อเสี ยของวิธีระยะเวลาคืนทุน 1. วิธี ระยะเวลาคื น ทุ นไม่ ไ ด้ค านึ ง ถึ ง แนวความคิ ดเกี่ ย วกับ มู ล ค่ า เงิ นตามเวลา (Time Value of Money)


73 2. วิธีระยะเวลาคื นทุ นไม่ได้สนใจว่ากระแสเงิ นสดที่ ได้รับหลังจากคื นทุ นแล้วจะเป็ น อย่างไร วิธีคานวณระยะเวลาคืนทุน (PB) สู ตรการคานวณ

=

เงินลงทุนเริ่ มแรก กระแสเงินสดที่ได้รับในแต่ละปี

กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน = รายได้ – ค่าใช้จ่าย + ค่าเสื่ อมราคา มูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ (NPV) มูลค่าสุ ทธิ ของโครงการ (Net Present Value: NPV) เป็ นเครื่ องมือทางการเงินที่ช่วยในการ ประเมินโครงการอย่างหนึ่ ง โดยเริ่ มจากการจัดทางบกระแสเงินสดล่วงหน้า เพื่อนากระแสเงิ นสด ล่วงหน้าในแต่ละปี มาทาการปรับมูลค่าให้เป็ นมูลค่าปั จจุบนั ซึ่ งตัวปรับมูลค่ากระแสเงิ นสดก็คือ ต้นทุนทางการเงิ นของผูล้ งทุน โดยปกติจะคานวณมาจาก อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลบวกด้วย อัตราดอกเบี้ ย ส่ วนเพิ่ ม เพื่ อชดเชยความเสี่ ย งโครงการ เช่ น ถ้า เรานาเงิ นไปลงทุ นในพันธบัตร รั ฐบาลถื อเป็ นการลงทุ นที่ ไ ม่มี ค วามเสี่ ย งเลย จะได้ว่า ตัวปรั บ มูล ค่า กระแสเงิ นสดเท่า กับ อัตรา ดอกเบี้ยพันธบัตร เพราะอัตราดอกเบี้ยส่ วนเพิ่มมีความเสี่ ยงเท่ากับศูนย์ แต่ถา้ เรานาเงินไปลงทุนใน หุ ้นที่ มีความเสี่ ยงสู ง จะได้ว่าตัวปรั บกระแสเงิ นสดมีค่าเท่ากับอัตราดอกเบี้ ยพันธบัตรด้วยอัตรา ดอกเบี้ยส่ วนเพิ่ม โดยสมมติให้อตั ราดอกเบี้ยพันธบัตรเท่ากับ 5% จะได้อตั ราดอกเบี้ยส่ วนเพิ่มจาก การลงทุนในหุ น้ เท่ากับ 10% ดังนั้นต้นทุนทางการเงินของการลงทุนในหุ น้ ต้องเป็ น 15% เป็ นต้น เมื่อทราบเหตุผลของการปรับมูลค่ากระแสเงินในอนาคต ให้เป็ นมูลค่าปั จจุบนั และการหา ต้นทุนทางการเงินแล้ว ต่อไปจะเป็ นหลักการคานวณหามูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ คือ การนากระแสเงินสด แต่ละปี มาปรับด้วยต้นทุนทางการเงิน เพื่อเปลี่ยนกระแสเงินสดสุ ทธิ ล่วงหน้าให้เป็ นกระแสเงินสด ปั จจุบนั แล้วนากระแสเงินสดแต่ละปี มารวมกัน ผลลัพธ์ที่ได้คือ มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ หรื อมูลค่าสุ ทธิ ของโครงการ เมื่ อคานวณหามูลค่าสุ ทธิ ของโครงการได้ ขั้นต่อไปคื อการตัดสิ นใจลงทุน โดยมี หลักเกณฑ์คือ ถ้ามูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) ของโครงการลงทุนมากกว่าหรื อเท่ากับศูนย์ โครงการ ลงทุนก็จะได้รับเลื อกลงทุน ในทางกลับกัน ถ้ามูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) ของโครงการลงทุนน้อย


74 กว่าศูนย์ หมายความว่าโครงการนั้นไม่เหมาะสมในการลงทุ น หรื ออาจกล่ าวได้ว่าโครงการให้ ผลตอบแทนต่ากว่าต้นทุนทางการเงิน ซึ่งมีผไู้ ด้ให้ความหมายไว้วา่ เพชรี ขุมทรัพย์ (2541) ได้กล่าวว่า มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ เกิดจากผลต่างระหว่างมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุ ทธิ กบั มูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดจ่ายลงทุนสุ ทธิ ฐาปนา ฉิ่ นไพศาล (2551: 149) ได้อธิ บายว่า มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ หมายถึง ผลต่างระหว่าง มูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุ ทธิ แต่ละปี ตลอดอายุโครงการ กับมูลค่าปั จจุบนั ของเงินสดจ่าย ลงทุน ณ อัตราค่าของเงิน โสภณ ฟองเพชร (2545: 93) ได้กล่าวว่า มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value หรื อ NPV) ของโครงการลงทุน คือ มูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงิ นสดรับหลังภาษีของโครงการลงทุนหัก ด้วยกระแสเงินสดจ่ายลงทุน สรุ ปได้วา่ มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value: NPV) หมายถึง ผลต่างระหว่างมูลค่า ปั จ จุ บ ัน ของกระแสเงิ น สดรั บ สุ ท ธิ ต ลอดอายุ ข องโครงการกับ เงิ น ลงทุ น เริ่ ม แรก ณ อัต รา ผลตอบแทนที่ตอ้ งการหรื อต้นทุนของเงินทุนของโครงการ ข้ อดีของวิธีมูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ 1. วิธีมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ เป็ นการใช้กระแสเงิ นสด (Cash Flow) มากกว่ากาไรทางบัญชี (Accounting Profit) ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นเวลาที่แท้จริ งของผลตอบแทนที่ได้รับจากโครงการลงทุน 2. วิธีมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ได้นาแนวความคิดเกี่ยวกับมูลค่าเงินตามเวลามาใช้ประกอบการ คานวณ ซึ่ งทาให้สามารถทาการเปรี ยบเทียบระหว่างผลตอบแทนจากโครงการลงทุนกับเงินลงทุน ได้อย่างมีเหตุผลมากยิง่ ขึ้น 3. เนื่องจากการตัดสิ นใจเลือกโครงการลงทุนโดยวิธีมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ น้ ี จะทาการเลือก โครงการลงทุนที่มีมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ เป็ นบวกเท่านั้น เพราะฉะนั้นจะเป็ นผลทาให้มูลค่าของบริ ษทั สู งขึ้น


75 ข้ อเสี ยของวิธีมูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ การใช้วิธี มู ล ค่ า ปั จจุ บ นั สุ ท ธิ น้ ันต้องค านึ งถึ งรายละเอี ย ดของการประมาณการกระแส เงินสดของโครงการลงทุน ซึ่ งอาจมีความผิดพลาดได้ง่ายในการประมาณการข้อมูล วิธีคานวณมูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ (NPV) มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ สามารถแสดงได้ดงั สมการต่อไปนี้

โดยที่ ACFt k IO N

= = = =

กระแสเงินสดรับหลังภาษีในระยะเวลา t อัตราต้นทุนของเงินทุนหรื ออัตราผลตอบแทนที่ตอ้ งการ (อัตราคิดลด) กระแสเงินสดจ่ายลงทุน อายุของโครงการลงทุน

มูลค่าปั จจุ บนั สุ ทธิ ของโครงการลงทุ นเป็ นการวัดมูลค่ าของโครงการลงทุ นเป็ นการวัด มูลค่าของโครงการลงทุนในรู ปแบบของมูลค่าเงิน ณ ปั จจุบนั เนื่ องจากกระแสเงินสดของโครงการ ลงทุนจะถูกลดค่ามาเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยการเปรี ยบเทียบระหว่างมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสด รับกับกระแสเงิ นสดจ่ายลงทุนของโครงการลงทุน ในการตัดสิ นใจเลื อกลงทุนในโครงการลงทุน นั้นจะพิจารณาดังนี้ 1. ถ้ามูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) ของโครงการลงทุนมากกว่าหรื อเท่ากับศูนย์ โครงการ ลงทุนก็จะได้รับเลือกลงทุน (NPV ≥ 0.0: ยอมรับโครงการลงทุน) 2. ถ้ามูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) ของโครงการลงทุนน้อยกว่าศูนย์ โครงการลงทุนนั้นไม่ ควรลงทุน (NPV < 0.0: ไม่ยอมรับโครงการลงทุน) ซึ่ งเป็ นไปในทางเดียวกันกับ จินตภูมิ (2546, 134) ที่กล่าวว่า จากสู ตรการคานวณหามูลค่า สุ ทธิ ของโครงการ (NPV) จะเห็นได้วา่ มีการกาหนดให้ตน้ ทุนทางการเงินใช้เป็ นอัตราส่ วนลด เพื่อ


76 ปรั บ กระแสเงิ นสดสุ ท ธิ ล่วงหน้าในแต่ ละปี ของโครงการ ซึ่ ง กระแสเงิ นสดสุ ทธิ ข องโครงการ คานวณมาจากกระแสเงินสดรับหักด้วยกระแสเงินสดจ่ายของแต่ละปี เมื่อคานวณแล้วพบว่า NPV ที่ คานวณได้เป็ นศูนย์ แสดงถึ งโครงการมีความเหมาะสมในการลงทุน หมายความว่ากระแสเงินสด สุ ทธิ ที่ได้รับจากโครงการมีความคุ ม้ ค่าต่อเงิ นที่ลงทุนไป และมีผลตอบแทนจากการลงทุนเท่ากับ ต้น ทุ น ทางการเงิ น หรื อ ถ้า NPV เป็ นบวกแสดงถึ ง โครงการมี ค วามเหมาะสมในการลงทุ น หมายความว่ากระแสเงินสดรับมากกว่าเงินสดจ่าย นัน่ คือโครงการจะมีกระแสเงินสดสุ ทธิ มากกว่า ที่ลงทุนไป หรื อ

หรื อ

NPV

=

NPV CFt k I n

= = = = =

มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ กระแสเงินสดรับสุ ทธิ แต่ละปี ตั้งแต่ปีที่ 1-ปี ที่ n อัตราผลตอบแทนที่ตอ้ งการหรื อค่าของทุน เงินสดจ่ายลงทุนสุ ทธิ ของโครงการ อายุของโครงการ

มูลค่าปั จจุบนั (NPV) = PVB - PVC = มูลค่าปั จจุบนั ของผลตอบแทน – มูลค่าปั จจุบนั ค่าใช้จ่าย

ทั้งนี้ การที่จะหา NPV ได้ จะต้องทาความเข้าใจมูลค่าปั จจุบนั ซึ่ งหมายถึงการปรับค่าของ เงิ นที่จะได้ในอนาคตให้เป็ นค่าในปั จจุบนั โดยมีตวั แปรคือ r ซึ่ งหมายถึงอัตราคิดลดหรื ออัตรา ดอกเบี้ยที่เหมาะสมที่คาดว่าจะได้รับ อัตราส่ วนของผลตอบแทนต่ อต้ นทุน (B/C) อัตราส่ วนรายได้ต่อต้นทุน (Benefit-Cost Ratio: B/C) คือ อัตราส่ วนระหว่างมูลค่าปั จจุบนั ของรายได้ต่อมู ลค่ าปั จจุ บ นั ของต้นทุ นตลอดอายุโครงการ ซึ่ งหลักเกณฑ์ในการตัดสิ นใจเลื อก


77 โครงการคือ B/C มากกว่า 1 แสดงว่า โครงการนี้ ให้ผลประโยชน์มากกว่าต้นทุนที่ได้ลงไปจึงควร ลงทุนในโครงการลงทุนนี้ วิธีคานวณอัตราส่ วนของผลตอบแทนต่ อต้ นทุน (B/C) B/C ratio = มูลค่าปั จจุบนั ของผลประโยชน์ของโครงการ มูลค่าปั จจุบนั ของต้นทุนของโครงการ

หรื อ

B/C

=

กาหนดให้

Bt = มูลค่ารายได้ของโครงการในปี ที่ t Ct = มูลค่าต้นทุนของโครงการปี ที่ t i = อัตราคิดลด t = ระยะเวลาของโครงการคือ ปี ที่ 1,2 ….. n = อายุของโครงการ

(B/C > 1 คุม้ ค่าการลงทุน , B/C = 1 เท่าทุน , B/C < 1 ไม่คุม้ ทุน ขาดทุน) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่องสิ นค้ าคงเหลือ การวัดมูลค่ าสิ นค้ าคงเหลือ ในวันสิ้ นงวดที่จะจัดทางบการเงินสิ นค้าคงเหลือ ต้องวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า


78 ต้ นทุนของสิ นค้ าคงเหลือ ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลื อต้องประกอบด้วยต้นทุนทั้งหมดในการซื้ อ ต้นทุนแปลงสภาพ และต้นทุ นอื่นๆ ที่ เกิ ดขึ้ น เพื่อให้สิ นค้าคงเหลื อนั้นอยู่ในสถานที่ และอยู่ในสภาพที่ เป็ นอยู่ใ น ปัจจุบนั การบันทึกมูลค่าของต้นทุนสิ นค้าคงเหลือ ณ วันที่ได้มา จะประกอบด้วย ราคาซื้ อ อากรขา เข้า ภาษีอื่น ค่าขนส่ ง และต้นทุนอื่นๆ ซึ่ งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่ งสิ นค้าสาเร็ จรู ป วัตถุดิบ และบริ การ ต้นทุนในการซื้ อจะต้องหักส่ วนลดการค้า และเงินที่ได้รับคืนออกด้วย ต้นทุนของสิ นค้า คงเหลือยังรวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิตสิ นค้า เช่น ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต คงที่ เป็ นต้นทุนการผลิตที่เกิดขึ้นโดยไม่สัมพันธ์กบั ปริ มาณการผลิต และค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร ซึ่ งจะผันแปรโดยตรงกับปริ มาณการผลิต นอกจากนี้ ยงั รวมถึ งต้นทุนอื่นที่เกิ ดขึ้นเพื่อทาให้สินค้า คงเหลืออยูใ่ นสถานที่และสภาพที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั การวัดมูลค่าของต้นทุ นสิ นค้าคงเหลื อ อาจนาวิธีตน้ ทุนมาตรฐานมาใช้เพื่อความสะดวก หากสามารถประมาณต้นทุนได้ใกล้เคียงกับต้นทุนจริ ง หรื อวิธีราคาขายปลีก มักใช้กบั อุตสาหกรรม ค้าปลี กเพื่อวัดมูลค่าต้นทุนสิ นค้าคงเหลื อที่มีกาไรใกล้เคี ยงกันและมีการเปลี่ ยนแปลงชนิ ดสิ นค้า เป็ นจานวนมากอย่างรวดเร็ ว การคานวณต้ นทุน ในการคานวณต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือควรใช้วธิ ีราคาเฉพาะเจาะจง สาหรับสิ นค้าคงเหลือ ที่ ร ะบุ ช นิ ด จ านวนชิ้ น ได้อ ย่ า งชัด เจน สิ น ค้า แต่ ล ะชนิ ด มี ล ัก ษณะไม่ เ หมื อ นกัน ซึ่ งวิ ธี ร าคา เฉพาะเจาะจงนี้ จะไม่ เหมาะสมกับ กรณี ที่ สิ น ค้า คงเหลื อมี รายการจานวนมากและมี ล ัก ษณะที่ สามารถสับเปลี่ยนกันได้ นอกจากนี้ ตน้ ทุนสิ นค้าคงเหลื อ จะคานวณมูลค่าโดยวิธีเข้าก่อนออกก่อนหรื อวิธีถวั เฉลี่ ย ถ่วงน้ าหนัก สาหรับสิ นค้าคงเหลือทุกชนิดที่มีลกั ษณะและการใช้คล้ายคลึงกัน วิธีเข้าก่อนออกก่อน สิ นค้าคงเหลื อรายการที่ซ้ื อมาหรื อผลิ ตขึ้นก่อนจะขายออกไปก่อน ดังนั้นสิ นค้าคงเหลือที่เหลื ออยู่ ณ วันสิ้ นงวดจึงเป็ นสิ นค้าที่ซ้ื อมาหรื อผลิตขึ้นในครั้งหลังสุ ด สาหรับวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก ต้นทุน


79 สิ นค้าคงเหลือแต่ละรายการจะกาหนดจาการถัวเฉลี่ยต้นทุนของสิ นค้าที่เหมือนกัน ณ วันต้นงวดกับ ต้นทุนของสิ นค้าที่เหมือนกันที่ซ้ื อมาหรื อผลิตขึ้น มูลค่ าสุ ทธิทจี่ ะได้ รับ ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลื ออาจจะไม่ได้รับคืนถ้าสิ นค้าเกิดความเสี ยหาย ล้าสมัย หรื อราคา ขายลดลง การตี ราคาสิ นค้าคงเหลื อลดลงจากราคาทุนให้เท่ากับมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับจะทาให้ไม่ แสดงมูลค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากการขายหรื อประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้ การประมาณการมู ลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ จะต้องอ้างอิ งกับหลักฐานเกี่ ยวกับจานวนเงิ นที่ คาดว่าจะ ได้รับจากสิ นค้าคงเหลือซึ่ งเชื่อถือได้มากที่สุดขณะที่ประมาณมูลค่า และจะต้องประเมินมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับใหม่ในแต่ละรอบระยะเวลาถัดไป การเปิ ดเผยข้ อมูล กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลต่อไปนี้ในงบการเงิน 1. นโยบายการบัญชีที่ใช้ในการวัดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือและวิธีที่ใช้คานวณราคาทุน 2. มูลค่าตามบัญชี รวมของสิ นค้าคงเหลื อและมูลค่าตามบัญชี ของสิ นค้าคงเหลื อแต่ละ ประเภท จาแนกตามความเหมาะสมของแต่ละกิจการ 3. มูลค่าตามบัญชีรวมของสิ นค้าคงเหลือที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย 4. มูลค่าของสิ นค้าคงเหลือที่รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีน้ นั 5. มูลค่าของสิ นค้าคงเหลือที่ปรับลดลงและรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีน้ นั 6. มูลค่าการบันทึกกลับรายการในส่ วนที่มีการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ซึ่ งกิจการรับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีน้ นั


80 7. เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ทาให้มีการกลับรายการปรับลดมูลค่าสิ นค้า 8. มูลค่าตามบัญชีของสิ นค้าคงเหลือที่ใช้เป็ นหลักประกันหนี้สิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการทีไ่ ม่ มีส่วนได้ เสี ยสาธารณะ (NPAEs) การนาเสนองบการเงิน มีการกาหนดงบการเงิ นที่สมบูรณ์ ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน ซึ่ งนาเสนอข้อมูล เกี่ ยวกับฐานะการเงิ นของกิ จการ ณ วันสิ้ นงวด งบกาไรขาดทุ น แสดงถึ งผลการดาเนิ นงานของ กิจการสาหรับงวด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้าของ แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในรายการที่ เป็ นองค์ประกอบต่างๆ ของเจ้าของในระหว่างงวด และหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ที่แสดงถึ ง ข้อ มู ล เกี่ ย วกั บ เกณฑ์ ที่ ใ ช้ ใ นการจัด ท างบการเงิ น นโยบายการบัญ ชี ที่ ใ ช้ แ ละข้ อ มู ล อื่ น ๆ นอกเหนือจากที่นาเสนอในงบการเงิน แต่ไม่ได้กาหนดให้กิจการต้องจัดทางบกระแสเงินสด การเปลี่ ย นแปลงนโยบายการบั ญ ชี การเปลี่ ย นแปลงประมาณการทางบั ญ ชี แ ละการแก้ ไ ข ข้ อผิดพลาด การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี หมายถึง การเปลี่ยนแปลงวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชี ซึ่ ง เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปเป็ นอีกวิธีหนึ่ ง ซึ่ งเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ที่ รับรองทัว่ ไปเช่นเดียวกัน การเปลี่ ยนแปลงประมาณการทางบัญชี หมายถึ ง การปรั บปรุ งมู ลค่ าตามบัญชี ของ สิ นทรัพย์ หรื อหนี้ สิน หรื อจานวนที่มีการใช้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ในระหว่างงวด อันเป็ นผลมา จากการประเมินสภาพปั จจุบนั ของสิ นทรัพย์และหนี้สิน และการประเมินประโยชน์และภาระผูกพัน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์และหนี้ สินนั้น การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชี เป็ นผลจากการได้รับ ข้อมูล ใหม่ หรื อมี ก ารพัฒนาเพิ่ม เติ มจากเดิ ม การเปลี่ ย นแปลง ประมาณการจึงไม่ถือเป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาด


81 ข้อผิดพลาดในงวดก่อน หมายถึง การละเว้นการแสดงรายการและการแสดงรายการที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งในงบการเงิ นของกิ จการในงวดใดงวดหนึ่ งหรื อหลายงวดก็ตาม ซึ่ งข้อมูลดังกล่าว ประกอบด้วย ข้อมูลมี อยู่ในงบการเงิ นของงวดก่อนที่ได้รับการอนุ มตั ิให้เผยแพร่ และสามารถ คาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถหาข้อมูลได้ และนามาใช้ในการจัดทาและการแสดง รายการในงบการเงิน ข้อผิดพลาดดังกล่าว รวมถึงผลกระทบจากการคานวณผิดพลาด ข้อผิดพลาด จากการใช้นโยบายการบัญชี การมองข้ามหรื อการตีความข้อเท็จจริ งผิดพลาด และการทุจริ ต สิ นค้ าคงเหลือ ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือจะประกอบด้วยต้นทุนทั้งหมดในการซื้ อ ต้นทุนแปลงสภาพ และ ต้นทุนอื่นๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อให้สินค้าคงเหลือนั้นอยูใ่ นสถานที่และอยูใ่ นสภาพที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั ต้น ทุ น ในการซื้ อของสิ น ค้า คงเหลื อ จะประกอบด้ว ยราคาซื้ อ อากรขาเข้า และภาษี อื่ น รวมทั้งค่าขนส่ ง ค่าขนถ่ าย และต้นทุ นอื่ นๆ ซึ่ งเกี่ ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่ งสิ นค้าสาเร็ จรู ป วัตถุดิบและบริ การ โดยหักด้วยส่ วนลดการค้า เงินที่ได้รับคืนและรายการอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน ในการคานวณต้นทุนของสิ นค้าเมื่อขายนั้น กาหนดให้กิจการเลือกใช้วิธีการคานวณต้นทุน ได้ 3 วิธี ได้แก่ วิธีราคาเจาะจง วิธีเข้าก่อนออกก่อน และวิธีถวั เฉลี่ยต้นทุนสิ นค้าที่ซ้ื อเข้ามาแต่ละ งวด ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่าของราคาทุนในการได้มาของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จากการแลกเปลี่ยนกับ รายการสิ นทรัพย์ที่เป็ นตัวเงิ นและไม่เป็ นตัวเงิ น กิ จการต้องวัดมูลค่าต้นทุ นของสิ นทรัพย์ที่ได้มา ด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่นาไปแลกเปลี่ยน ในส่ วนการครอบครองอาคารชุ ดหรื อสิ นทรัพย์ อื่นที่มีลกั ษณะคล้า ยคลึ งกัน ในสถานการณ์ ที่กิจการได้สิทธิ ในการครอบครองและใช้ประโยชน์ กิจการต้องรับรู ้ตน้ ทุนทั้งหมดของการได้มาซึ่ งอาคารชุด หรื อสิ นทรัพย์อื่นที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน ไว้เป็ นรายการอาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาเป็ นหน่วยเดียวกัน


82 กิจการต้องปั นส่ วนรายจ่ายที่เกิดขึ้นให้กบั รายการสิ นทรัพย์ทุกรายการที่รวมอยูใ่ นรายจ่าย นั้น และบันทึ ก รายการแต่ล ะรายการเป็ นสิ นทรัพย์แยกจากกัน ในกรณี ที่ การคิ ดค่ าเสื่ อมราคามี รู ปแบบที่แตกต่างกันทั้งรู ปแบบการให้ประโยชน์ อายุการให้ประโยชน์ ค่ าเสื่ อมราคา กิ จการต้องคิ ดค่าเสื่ อมราคาสาหรั บส่ วนประกอบของรายการที่ ดิน อาคาร และอุ ปกรณ์ แต่ละส่ วนที่มีนยั สาคัญแยกต่างหากจากกัน โดยกิ จการต้องปั นส่ วนจานวนที่คิดค่าเสื่ อมราคาของ สิ น ทรั พ ย์อ ย่า งมี ร ะบบตลอดอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ ข องสิ น ทรั พ ย์ ซึ่ งการคิ ดค่ า เสื่ อมราคาของ สิ นทรัพย์จะเริ่ มต้นเมื่อสิ นทรัพย์น้ นั พร้อมใช้งาน จานวนที่คิดค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์ตอ้ งเป็ นจานวนเงินหลังจากหักมูลค่าคงเหลือ มูลค่า คงเหลือ หมายถึง จานวนเงินที่กิจการคาดว่าจะได้รับในปั จจุบนั จากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ หลังจาก หักต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์น้ นั หากสิ นทรัพย์น้ นั มีอายุและสภาพที่คาด ว่าจะเป็ น ณ วันสิ้ นสุ ดอายุการให้ประโยชน์ ต้ นทุนการกู้ยมื ต้นทุ นการกู้ยืม หมายถึ ง ดอกเบี้ ย และต้นทุ นอื่ นที่ เกิ ดขึ้ นจากการกู้ยืม ของกิ จการ โดย ต้นทุนการกูย้ มื อาจรวมถึง ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นและ ระยะยาว รวมทั้งภาษีที่เกี่ ยวข้องกับดอกเบี้ยดังกล่าวที่ผกู ้ ตู้ อ้ งรับภาระ โดยต้นทุนการกูย้ ืมให้รับรู ้ ตามวิธีอตั ราผลตอบแทนที่แท้จริ ง ต้นทุนการกูย้ ืมที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้ าง หรื อการผลิตสิ นทรัพย์ที่เข้า เงื่ อนไข เช่ น โรงงาน เป็ นต้น ให้รับรู ้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของราคาทุนของสิ นทรัพย์ และสาหรับต้นทุน การกูย้ มื อื่นจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที่ตน้ ทุนนั้นเกิดขึ้น


83 ภาษีเงินได้ กิจการต้องรับรู ้ภาษีเงินได้ที่ตอ้ งชาระให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไร ขาดทุน โดยใช้วธิ ี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ซึ่ งแสดงภาระภาษีเงินได้ที่กิจการค้างชาระสุ ทธิ จากภาษีหกั ณ ที่จ่ายให้รับรู ้เป็ นหนี้สิน ประมาณการหนีส้ ิ น และหนี้สินทีอ่ าจเกิดขึน้ ประมาณการหนี้สินจะต้องรับรู ้ก็ต่อเมื่อเป็ นไปตามเงื่อนไขทุกข้อต่อไปนี้ 1. กิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นผลจากเหตุการณ์ในอดีตไม่วา่ ภาระผูกพันนั้น จะเป็ นภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันจากการอนุมาน 2. มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จ ต่อกิจการเพื่อจ่ายชาระภาระผูกพันดังกล่าว 3. สามารถประมาณจานวนของภาระผูกพันได้อย่างน่าเชื่อถือ รายได้ ได้กาหนดการวัดมูลค่าของรายได้ ไว้ดงั นี้ 1. กิ จการต้องวัดมู ล ค่า ของรายได้โดยใช้มู ล ค่ ายุติธ รรมของสิ่ ง ตอบแทนที่ ไ ด้รับ หรื อ ค้างรับ 2. กิ จการต้องกาหนดจานวนรายได้ตามที่กิจการตกลงกับผูซ้ ้ื อหรื อผูใ้ ช้สินทรั พย์ ซึ่ ง จานวนรายได้ดัง กล่ า วเป็ นมู ล ค่ า ยุติธรรมของสิ่ ง ตอบแทนที่ ไ ด้รับ หรื อค้า งรั บ สุ ท ธิ จากจานวน ส่ วนลดการค้าและส่ วนลดตามปริ มาณซื้ อที่กิจการกาหนด


84 3. เมื่อกิจการแลกเปลี่ยนสิ นค้าหรื อบริ การที่มีลกั ษณะและมูลค่าใกล้เคียงกัน กิจการต้อง ไม่ถือว่าการแลกเปลี่ยนนั้นก่อให้เกิดรายได้ เมื่อกิจการแลกเปลี่ยนสิ นค้าหรื อบริ การที่มีลกั ษณะไม่ เหมือนกัน กิ จการต้องถื อว่าการแลกเปลี่ ยนนั้นก่อให้เกิ ดรายได้ กิ จการต้องวัดมูลค่าของรายได้ ดังกล่าวโดยใช้มูลค่ายุติธรรมของสิ นค้าหรื อบริ การที่ได้รับ ปรับปรุ งด้วยจานวนเงินสดหรื อรายการ เทียบเท่าเงินสดที่มีการโอนระหว่างกัน หากมูลค่ายุติธรรมของสิ นค้าหรื อบริ การที่ได้รับไม่สามารถ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ 4. กิจการต้องวัดมูลค่าของรายได้โดยใช้มูลค่ายุติธรรมของสิ นค้าหรื อบริ การที่นาไปแลก ปรับปรุ งด้วยจานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่มีการโอนระหว่างกัน ผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง บุษรา ใจยศ (2551) ได้ศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของการผลิตกล้วย ไข่ในจังหวัดตาก มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิ จและสังคมของเกษตรกรที่ปลู ก กล้วยไข่และวิเคราะห์ ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิ ตกล้วยไข่ของเกษตรกร โดยข้อมูลที่ ใช้ใน การศึกษาได้จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์เกษตรกร ในเขตตาบลยกกระบัตร อาเภอสามเงา จังหวัดตาก โดยแบ่งกลุ่มเกษตรกรเป็ น 2 กลุ่ม คือ เกษตรกรที่ผลิตกล้วยไข่ตามระบบการจัดการ คุณภาพ(Good Agricultural actice : GAP) และเกษตรกรผูผ้ ลิตกล้วยไข่ที่ไม่ได้ผลิตตามระบบการ จัดการคุณภาพ (Non-Good Agricultural actice : Non-GAP) ศึกษาโดยใช้การวัดมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) และอัตราส่ วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) จากผลการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทน ของการผลิตกล้วยไข่ พบว่าการลงทุนของเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม มีความเป็ นไปได้หรื อให้ผลคุม้ ค่าต่อ การลงทุ น แต่เมื่ อเปรี ยบเที ยบมูลค่าปั จจุ บนั สุ ทธิ (NPV) และอัตราส่ วนผลตอบแทนต่อต้นทุ น (B/C) เกษตรกรที่ผลิตกล้วยไข่ตามระบบการจัดการคุณภาพ จะมีความคุม้ ค่าต่อการลงทุนมากกว่า เกษตรกรที่ไม่ได้ผลิตกล้วยไข่ตามระบบการจัดการคุณภาพ ผดุงศักดิ์ ตันติรัษฎากร (2541) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทน ทางการเงินจากการทาสวนมะขามหวาน ในอาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อศึกษาการวิเคราะห์ ทางการเงิ นของการลงทุนทาสวนมะขามหวาน เปรี ยบเทียบเมื่อมีโครงการกับไม่มีโครงการที่ให้ ผลตอบแทนทางการเงิ นที่ ดีที่ สุ ด ท าการสัม ภาษณ์ ประชากรตัวอย่าง ก าหนดรู ปแบบของสวน มะขามหวานเปรี ยบเทียบกับการเพาะปลู กข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ แบ่งขนาดของสวนตามขนาดพื้นที่


85 เพาะปลูก คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ โดยใช้การวัดมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) อัตราส่ วน รายได้ต่อค่าใช้จ่าย (B/C) และอัตราผลตอบแทนของการลงทุน (IRR) ผลการศึกษาพบว่า การลงทุน ทาสวนมะขามหวานในทุกขนาดให้ผลตอบแทนที่คุม้ ค่าในการลงทุน ดังนั้นการลงทุนในการทา สวนมะขามหวานจึงเป็ นไปได้สูง ไพบุญ พวงวัดโพธิ์ (2543) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของ ระบบการปลูกพืชบนพื้นที่สูง: กรณี ศึกษาบ้านป่ าคาสุ ขใจ อาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชี ยงราย เพื่อ วิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของระบบการปลูกพืชบนพื้นที่สูงในรู ปแบบต่างๆ วิเคราะห์ขอ้ มูล ที่รวบรวมจากการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ความคุม้ ค่าทางการเงินของระบบการปลูกพืชบนพื้นที่สูง 3 ระบบ คือ ระบบการปลูกพืชแบบพืชเดี่ยวในกรณี ที่คิดและไม่คิดต้นทุนการชะล้างพังทลายของ ดิน ระบบการปลูกพืชไร่ ระหว่างแถวไม้ยืนต้นโตเร็ ว และระบบการปลูกพืชแบบพืชแซม โดยการ วัดมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) และอัตราส่ วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (BCR) จากการศึกษาพบว่า เมื่อ ไม่คานึงถึงต้นทุนการชะล้างพังทลายของดิน ระบบการปลูกพืชแบบพืชเดี่ยวให้ผลตอบแทนสู งสุ ด รองลงมาเป็ นระบบการปลูกพืชไร่ ระหว่างแถวไม้ยืนต้นโตเร็ ว และระบบการปลูกพืชแบบพืชแซม ตามลาดับ แต่เมื่อคานึ งถึงต้นทุนการชะล้างพังทลายของดิน ระบบการปลูกพืชแบบพืชเดี่ ยวจะให้ ผลตอบแทนต่าสุ ด เสรี ทรงชัยกุล (2543) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิต น้ าดื่ม เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ ในโครงการผลิตน้ าดื่มบรรจุภาชนะที่ปิดสนิ ทในเขต อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด ชี ย งใหม่ ซึ่ งเงิ น ลงทุ น เป็ นการกู้ยื ม เงิ น ทั้ง หมดจากธนาคารพาณิ ช ย์ แบ่ ง กรณี ศึกษาออกเป็ น 2 กรณี คือ การใช้น้ าบาดาลเป็ นแหล่งน้ าในการผลิต และการใช้น้ าประปาเป็ น แหล่ งน้ าในการผลิ ต โดยการวัดมูลค่าปั จจุ บนั (NPV) อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) อัตรา ผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) และอัตราส่ วนระหว่างผลได้สุทธิ และมูลค่าการลงทุน (N/K) จาก การศึกษาพบว่า การลงทุนการผลิตน้ าดื่มเป็ นโครงการที่ใช้เงินลงทุนไม่มากแต่ให้ผลตอบแทนที่สูง และพบว่าควรใช้น้ าบาดาลเป็ นแหล่งน้ าในการผลิตนน้ าดื่มเหมาะสมกว่าการใช้น้ าประปา จริ ญา โลหะ (2547) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของการผลิต ทุเรี ยนที่ปลอดภัยจากสารพิษ กรณี ศึกษา อาเภอแกลง จังหวัดระยอง วัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อ ศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผูป้ ลูกทุเรี ยน ศึกษากระบวนการผลิตและโครงสร้าง ต้นทุนการผลิ ตของทุเรี ยน และศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนเปรี ยบเทียบระหว่างการผลิ ตทุเรี ยน


86 ของเกษตรกรที่ผลิตทุเรี ยนปลอดภัยจากสารพิษกับเกษตรกรที่ผลิตทุเรี ยนโดยใช้สารเคมีทวั่ ไป ได้ ทาการสุ่ มตัวอย่างจากเกษตรกรผูป้ ลูกทุเรี ยน จานวน 2 กลุ่ม คือเกษตรกรที่ผลิตทุเรี ยนปลอดภัยจาก สารพิ ษ และเกษตรกรที่ ผ ลิ ต ทุ เ รี ย นโดยใช้ส ารเคมี ท วั่ ไป เครื่ องมื อที่ ใ ช้ใ นการศึ ก ษา คื อ การ วิเคราะห์ตน้ ทุนในส่ วนของกาไรสุ ทธิ รายได้สุทธิ กาไรสุ ทธิ เหนื อต้นทุนที่เป็ นเงินสด พบว่ากาไร สุ ท ธิ ข องเกษตรกรที่ ผ ลิ ต ทุ เ รี ย นปลอดภัย จากสารพิ ษ สู ง กว่ า เกษตรกรที่ ผ ลิ ต โดยใช้ ส ารเคมี โดยทัว่ ไป ฐิ ติพร กิ ตติ สาเรศ (2549) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการ ลงทุนปลูกพริ กหวานแบบไม่ใช่ดินในอาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ วัตถุประสงค์ในการศึกษา แบ่ง ออกเป็ น 2 แบบ ได้แก่ 1) เพื่อวิเคราะห์ตน้ ทุนตามหลักทางการบัญชี เป็ นการนาต้นทุนทั้งที่เป็ นเงิน สด และไม่ใช่เงินสดมาใช้ 2) เพื่อวิเคราะห์ตน้ ทุนตามหลักปฏิบตั ิของเกษตรกร เป็ นการนาต้นทุน การลงทุนที่เป็ นเงินสดมาใช้เท่านั้น ได้ทาการสุ่ มตัวอย่างจากเกษตรกรที่ปลูกพริ กหวานแบบไม่ใช่ ดินในอาเภอแม่ริม จังหวัดเชี ยงใหม่ จานวน 300 ราย เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) และอัตราผลตอบแทนโครงการ (IRR) พบว่า ต้นทุนและผลตอบแทนของเกษตรกรไม่ คุม้ ค่ากับการลงทุน วุฒิศกั ดิ์ สุ รินการ (2550) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของ การปลู ก ฝรั่ ง พันธุ์ ก ลมสาลี่ ใ นเขตอาเภอเมื อง จัง หวัด ล าปาง ได้ท าการสุ่ ม ตัวอย่า งในการแบ่ ง เกษตรกรออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีขนาดพื้นที่สวนฝรั่งน้อยกว่า 10 ไร่ และกลุ่มที่มีขนาด 10 ไร่ ขึ้นไป เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) และอัตราผลตอบแทนโครงการ (IRR) พบว่า การลงทุนทาสวนฝรั่งกลมสาลี่ในเขตพื้นที่เมืองน้อยกว่า 10 ไร่ มีความเป็ นไปได้สูง และคุม้ ค่าต่อการลงทุน พรรณทิพย์ อินม่วง (2551) ได้ศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร วัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผลิตภัณฑ์ สมุนไพรของสวนพฤกษศาสตร์ ภาคตะวันออก ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหิ นซ้อน อาเภอพนมสาร คาม จังหวัดฉะเชิ งเทรา ได้ทาการสุ่ มตัวอย่าง โดยกาหนดอายุโครงการ 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 25502565 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน (BCR) และอัต ราผลตอบแทนโครงการ (IRR) พบว่า สามารถท าการลงทุ น ในโครงการนี้ เพราะให้ ผลตอบแทนที่คุม้ ค่า


87 สัญญา ธานี และคณะ (2547) ได้ศึกษาเรื่ องการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนจากการ ปลู ก กระเที ย มในจัง หวัด ล าปาง เพื่ อ ศึ ก ษาสภาพทั่ว ไปของเกษตรกรผูป้ ลู ก กระเที ย ม ต้น ทุ น ผลตอบแทน และการรวิเคราะห์ ทางการเงิ น โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ ประชากรตัวอย่าง และการ วิเคราะห์ทางการเงินเพื่อวัดมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) อัตราส่ วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย (BCR) และ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน(IRR) จากผลการศึกษาพบว่า ผลตอบแทนสุ ทธิ โดยเปรี ยบเทียบใน การปลู ก กระเที ย มโดยใช้เครื่ องมื อ ได้ผ ลตอบแทนน้อ ยกว่า การปลู ก กระเที ย มโดยใช้แ รงงาน เกษตรกร การลงทุนปลูกกระเทียมมีความเป็ นไปได้ในการลงทุน และจากการศึกษายังพบปั ญหาที่ เกิดขึ้นจากการปลูกกระเทียมของเกษตรกร คือ การขาดแคลนแรงงาน การลงทุนสู ง ราคาปั จจัยการ ผลิ ตแพง แหล่งน้ าในการเพาะปลูกไม่เพียงพอ ส่ วนปั ญหาจากการใช้เครื่ องมือทางการเกษตร คือ การงอกของกระเทียมมีน้อย การเตรี ยมดิ นไม่เหมาะสมสาหรั บการใช้เครื่ องปลูก มีฝนตกทาให้ ความชื้นมีมาก ซึ่ งเป็ นปั ญหาที่แก้ไขได้ยาก จิรวรรณ ขุนทองปาน (2551) ได้ศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนจากการ เพาะปลูกอ้อยโรงงาน อาเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โดยมี วตั ถุ ประสงค์ คื อ เพื่ อศึกษา วิเคราะห์ ต้น ทุ นและผลตอบแทนทางการเงิ น ของการท าไร่ อ้อ ยโรงงาน เพื่ อค้น หาปั ญ หาและ อุปสรรคต่างๆ ในการทาไร่ ออ้ ยโรงงาน และเพื่อส่ งเสริ มแนวทางการเพิ่มผลตอบแทนในการปลูก อ้อ ยโรงงาน โดยท าการศึ ก ษาจากเกษตรกรที่ มี โ ควตาส่ ง อ้อยให้ ก ับ โรงงานน้ า ตาลในท้อ งที่ เครื่ องมื อที่ ใ ช้ใ นการศึ ก ษา ได้แก่ การวิเคราะห์ จุดคุ ้ม ทุ น ระยะเวลาคื นทุ น มูล ค่ าปั จจุ บนั สุ ท ธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C Ratio) และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ผลจาก การวิเคราะห์ ผลตอบแทนจากการลงทุนพบว่า การเพาะปลูกอ้อยในพื้นที่อาเภอหัวหิ น จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ ให้ผลตอบแทนที่คุม้ ค่ากับเงินลงทุน หากพิจารณาถึงอัตราความเสี่ ยงและภาษีเงิน ได้พบว่า การเพาะปลูกอ้อยยังคงให้ผลตอบแทนที่คุม้ ค่าต่อการลงทุนแต่มีอตั ราส่ วนที่ลดลงจากเดิม ดวงจิตร์ กั้วศรี (2551) ได้ศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผ้าไหม แพรวาลายเกาะบ้านโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ โดยมีวตั ถุประสงค์ในการศึกษา ได้แก่ เพื่อ วิเคราะห์ตน้ ทุนการผลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการผลิตผ้าไหมแพรวา ลายเกาะ และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการบริ หารต้นทุนการผลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ โดยศึกษา จาก ผูผ้ ลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ บ้านโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ จานวน 55 คน เครื่ องมือ ที่ใช้ในการศึกษา คือ การสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ร้อยละ ค่าเฉลี่ ย และผลตอบแทนต่อยอดขาย ผล การศึกษาวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ สรุ ปได้ดงั นี้ ต้นทุนการ


88 ผลิต ต้นทุนวัตถุดิบเป็ นต้นทุนที่สูงเป็ นอันดับสองรองจากค่าแรงงาน เนื่ องจากไม่สามารถควบคุม ราคาวัตถุดิบได้ ส่ วนค่าแรงงานทางตรง อาจเนื่ องมาจากในการผลิ ตผ้าไหมแพรวาเกาะนั้น ผูท้ ี่ทา การทอจะต้องเป็ นบุ ค คลที่ มีป ระสบการณ์ และความชานาญ ต้องใช้เวลามากที่ สุดเมื่ อเที ย บกับ ค่าแรงงานในกระบวนการอื่นๆ ไม่เช่นนั้นจะทาให้ลวดลายของผ้าขาดความประณี ตงดงาม สาหรับ ค่าใช้จ่ายในการผลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ ค่าสี สาหรับการย้อมไหมที่สุด อาจเนื่ องมาจากเป็ นสี ชนิดพิเศษเมื่อย้อมเส้นไหมจะมีสีสดใส เงางาม คงทน เมื่อนาไปใช้และจะไม่ด่างไม่ตกสี และเป็ น เอกลักษณ์ของผ้าไหมแพรวาลายเกาะ และผลตอบแทนจากยอดขาย ซึ่ งในการผลิตผ้าไหมแพรวา ลายเกาะ ในปั จจุ บ นั จะผลิ ตผ้า ไหมตามค าสั่ ง ของลู ก ค้า สิ นค้า ที่ ผ ลิ ตออกมาจึ ง สามารถขายได้ ทั้งหมด แสดงว่าผูบ้ ริ โภคหันมาสนใจสิ นค้าพื้นเมืองเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งทาให้ได้ขอ้ มูลด้านต้นทุนและ ผลตอบแทนการผลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ สามารถนาไปเป็ นข้อมูลในการวางแผนการวิเคราะห์ ต้นทุนการผลิตผ้าไหมแพรวาลายเกาะ บ้านโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ให้มีการบริ หาร จัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพต่อไป พัชริ กา เหมืองหม้อ (2554) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ ตน้ ทุนและผลตอบแทนจาก การปลูกสตรอเบอร์ รี่ของเกษตรกรในตาบลบ่อแก้ว อาเภอสะเมิง จังหวัดเชี ยงใหม่ การศึกษาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ ได้แก่ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดการด้านการผลิตสตรอเบอร์ รี่ของเกษตรกรผูป้ ลูก สตรอเบอร์ รี่ในพื้นที่ ตาบลบ่อแก้ว อาเภอสะเมิง จังหวัดเชี ยงใหม่ เพื่อวิเคราะห์ตน้ ทุนและ ผลตอบแทนจากการปลูกสตรอเบอร์ รี่ของเกษตรกรผูป้ ลูกสตรอเบอร์ รี่ และเพื่อศึกษาความไหวตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงของโครงการ โดยศึกษาจากเกษตรกรผูป้ ลูกสตรอเบอร์ รี่ ในเขตพื้นที่ตาบลบ่อ แก้วอาเภอสะเมิง จังหวัดเชี ยงใหม่ โดยมีขนาดไร่ เป็ นเล็ก กลาง และใหญ่ ตามลาดับ เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษา คือ มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) อัตราส่ วนผลตอบแทน ต่อต้นทุน (B/C ratio) และระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) ผลจากการศึกษาวิธีการจัดการด้าน การผลิ ตสตรอเบอร์ รี่ของเกษตรกรในพื้นที่แห่ งนี้ พบว่า เกษตรกรส่ วนใหญ่จะปลูกสตรอเบอร์ รี่ พันธุ์พระราชทาน เบอร์ 329 เนื่องจากออกผลดก สวย ผิวหนา และผลการการวิเคราะห์ตน้ ทุนและ ผลตอบแทน พบว่า มีความเหมาะสมคุม้ ค่าต่อการลงทุน


89

บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา การผลิตผักเกษตรอินทรีย์ของวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี ตั้งอยูท่ ี่ เลขที่ 30/1 หมู่ที่ 13 ถนน ช่องมะเฟื่ อง ตำบลหนองรี อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัด ชลบุรี เบอร์โทรศัพท์ 081-8062406 สภำพแวดล้อมโดยทัว่ ไปของตำบลหนองรี เป็ นที่รำบสู ง ทำงตอนเหนือของตำบลเป็ นที่ลุ่ม ทำงทิศใต้มีภูเขำเขียวเป็ นแนวตลอด ทำให้มีทรัพยำกรป่ ำไม้อยู่ตำมแนวเขำเป็ นจำนวนมำก และ ตำมบริ เวณพื้นที่ ข องชุ ม ชนมี ก ำรขุดดิ นลู ก รั ง ท ำให้มีแหล่ งน้ ำ อุ ดมสมบู รณ์ เหมำะแก่ ก ำรท ำ เกษตรกรรม เนื้ อที่ท้ งั หมดของตำบลโดยประมำณ 21,638 ไร่ โดยเป็ นพื้นที่บำ้ นช่องมะเฟื อง จำนวน 1,745 ไร่ 58 ครัวเรื อน เศรษฐกิ จโดยรวมของตำบลหนองรี ข้ ึนอยู่กบั กำรเกษตรและกำร ประกอบอุตสำหกรรมขนำดเล็ก นอกจำกนี้ ยงั มีอำชี พต่ำงๆ ที่เสริ มสร้ำงเศรษฐกิจชุ มชน เช่น กำร รวมตัวของกลุ่ มต่ ำงๆ เพื่ อทำกิ จกรรมร่ วมกันเสริ มสร้ ำงรำยได้ ประชำชนในตำบลหนองรี ส่ วนใหญ่ประกอบอำชี พเกษตรกรรม ได้แก่ สวนมะพร้ำว สวนมะม่วง ปลูกพืชผักสวนครัว และ เลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงเป็ ด เลี้ยงไก่ อำจกล่ำวได้วำ่ ชุมชนหนองรี เป็ นชุมชนเกษตรกรเล็กๆ ในจังหวัดชลบุรี ซึ่ งมีกำรทำไร่ ทำ นำมำเป็ นเวลำนำน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นกำรเพำะปลูก ไม่ว่ำจะเป็ นพืชผัก สวนผลไม้ นำข้ำว และ ส่ วนที่เหลือเป็ นที่อยูอ่ ำศัย มีบุคคลภำยนอกพยำยำมเข้ำมำตั้งโรงงำนอุตสำหกรรม แต่คนในชุ มชนก็ ช่วยกันควบคุมเพื่อให้พ้ืนที่ในบำงส่ วนยังคงเป็ นพื้นที่สีเขียว ปั ญหำที่พบเจอของคนในชุมชนคือ กำรประกอบอำชีพแล้วได้รับค่ำจ้ำงน้อย มีงำนทำไม่ตลอดทั้งปี และเกษตรกรได้รำคำที่ไม่ยุติธรรม กำรเพำะปลูกในแต่เดิมยังใช้สำรเคมีกนั อยูม่ ำก เพรำะสำรเคมีหำซื้ อได้ง่ำย เร่ งกำรเติบโต และให้ ผลผลิตที่รวดเร็ ว ซึ่ งในปั จจุบนั ยังคงมีเกษตรกรที่ใช้สำรเคมีอยู่ แต่ลดลงจำกเดิมเมื่อมีกำรส่ งเสริ ม กำรทำเกษตรอินทรี ยเ์ กิดขึ้น


90 ประวัติความเป็ นมาของวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียวหนองรี ดร.อนุรักษ์ เรื องรอบ ประธำนวิสำหกิจชุ มชนสวรรค์สีเขียว หนองรี เป็ นผูน้ ำชุ มชนในกำร ปลูกผักปลอดสำรเคมี ซึ่ งเดิมปลูกเพื่อเก็บไว้รับประทำนเองเท่ำนั้น แต่หลังจำกมองเห็นโอกำสและ ต้องกำรสร้ำงรำยได้ให้กบั คนในชุมชน จึงเกิดเป็ นสิ นค้ำพืชผักอินทรี ยท์ ี่ปลูกโดยไม่ใช้สำรเคมี โดย มีเกษตรกรเข้ำร่ วมจำนวน 9 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 16 จำกจำนวน 58 ครัวเรื อนในหมู่บำ้ นช่อง มะเฟื องทั้งหมด ดร.อนุ รักษ์ เรื องรอบ ไม่ได้จบกำรศึกษำทำงด้ำนกำรเกษตรโดยตรง แต่หันมำสนใจใน เรื่ องนี้ เนื่องจำกโดยส่ วนตัวเป็ นคนที่ชื่นชอบเรื่ องของกำรเกษตรเป็ นพื้นฐำนอยูแ่ ล้ว เมื่อ 2 ปี ที่แล้ว ในระหว่ำงกำรเขียนงำนวิจยั ปริ ญญำเอก และได้มีโอกำสมำอยูท่ ี่ชุมชนหนองรี จึงมีควำมคิดริ เริ่ มที่ จะลงมือทำ และส่ งเสริ มให้คนในชุมชนได้ทำด้วย ในตอนแรกก็จะไม่ทรำบว่ำจะต้องทำอย่ำงไร แต่ เมื่อมีกำรปลูกผักให้ได้เห็นและทดลองปลูกตำม คนในชุมชนก็จะรู ้สึกว่ำเป็ นสิ่ งที่สำมำรถทำได้จริ ง และก็จะเริ่ มปลูกในพื้นที่ของตัวเอง จำกนั้นก็จะสนับสนุ นให้คนในชุ มชนได้เริ่ มทำกำรเพำะปลูก และรับซื้ อผักไปส่ งออกตลำด ทั้งยังทำกำรตลำดให้ชุมชนด้วย กำรทำเกษตรอินทรี ยข์ ้ ึนอยูก่ บั ว่ำจะ ทำหลำกหลำยมำกน้อยเพียงใด แรกเริ่ มเดิมที ดร.อนุรักษ์ มีควำมตั้งใจที่จะปลูกผักทั้งหมด 15 ชนิด เช่น ผักบุง้ คะน้ำ ผักพื้นบ้ำน ผักสมุนไพรและผักสลัดด้วย แต่เมื่อเริ่ มลงมือปลูกผักจริ งกำรบริ หำร จัดกำรนั้น มี ค วำมยุ่ง ยำก และสิ่ ง ที่ ท ำกำรเพำะปลู ก ได้ผ ลผลิ ตดี ที่ สุ ด คื อ ผัก สลัด จึ งหันมำให้ ควำมสำคัญกับกำรปลูกผักสลัด สร้ ำงตรำสิ นค้ำ สร้ำงกำรรับรู้จำกบุคคลภำยนอก ให้ผกั สลัดเป็ น สิ นค้ำหลักและเมื่อผักสลัดเริ่ มเป็ นที่รู้จกั ของตลำดแล้วก็จะเริ่ มขยำยตลำดเป็ นผักอื่นๆ กำรที่ทำให้ ผักสลัดเริ่ มเป็ นที่รู้จกั ของตลำดมำกขึ้น ก็จะเป็ นเรื่ องง่ำยที่จะเริ่ มปลูกผักชนิดอื่นๆ จำกบทบำทของนัก ธุ รกิ จ แต่ หันมำสนใจท ำผัก เกษตรอิ นทรี ย ์ เนื่ องจำกมองเห็ นว่ำ ถ้ำ สำมำรถสร้ำงตรำผลิตภัณฑ์ได้ก็จะสำมำรถสร้ำงส่ วนต่ำงของรำคำ สร้ำงกำไรได้ ส่ วนหนึ่ งคือมอง ว่ำกำรทำเกษตรอินทรี ยท์ ำให้ชีวิตมีควำมสุ ขมำกขึ้น สำมำรถทำเป็ นอำชี พสร้ำงรำยได้ให้แก่ตนเอง และชุมชน


91

ภำพที่ 3-1 ภำพของ ดร. อนุ รักษ์ เรื องรอบ ประธำนวิสำหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว วัตถุประสงค์ ในการดาเนินงาน วัตถุประสงค์หลักของวิสำหกิ จชุ มชนสวรรค์สีเขียวในกำรปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ย ์ มี ดังนี้ 1. ต้องกำรผลักดันให้ชุมชนมีกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกำรผลิต ไม่วำ่ จะเป็ นกำรผลิ ต เพื่อบริ โภค หรื อกำรผลิตเพื่อส่ งไปจำหน่ำย ส่ งเสริ มให้เกิดพฤติกรรมกำรลด ละ เลิกกำรใช้สำรเคมี สำเหตุที่เลือกนำเอำชำวบ้ำนมำมีส่วนร่ วมก่อตั้งเป็ นกลุ่มวิสำหกิจชุ มชน เนื่ องจำกต้องกำรที่จะทำ ผักอินทรี ยร์ ่ วมกับชำวบ้ำน 2. ต้องกำรผลักดันให้ชุมชนหนองรี เป็ นพื้นที่ปลูกผักเกษตรอินทรี ย ์ ใช้พ้ืนที่และชุ มชนนี้ เป็ นตัวขับเคลื่ อนให้เกิ ดเป็ นกำรท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศน์ พัฒนำคุ ณภำพชี วิตของคนในชุ มชน เพื่อให้ พื้นที่หนองรี เป็ นรู ปแบบจำลองในกำรพัฒนำเป็ นพื้นที่เกษตรอินทรี ยต์ ่อไป ซึ่ งวำงแผนควำมสำเร็ จ ไว้ 3-5 ปี ปั จจุบนั นี้ดำเนิ นงำนมำได้แล้ว 10 เดือน และบุคคลภำยนอกมองมำก็เชื่ อว่ำโมเดลหนองรี นี้ สำมำรถเกิ ดขึ้นได้จริ ง ซึ่ งถ้ำประสบควำมสำเร็ จก็จะสำมำรถสร้ำง Green Haven หรื อ สวรรค์สี เขียวได้ในทุกๆ พื้นที่ ไม่เฉพำะชุมชนหนองรี เท่ำนั้น


92 3. กำรทำให้ครบวงจรของเกษตรแบบอิน ทรี ยแ์ ละสำมำรถต่อยอดเป็ นสถำนที่พกั ผ่อน ของนักท่องเที่ยวแบบเกษตรแบบนิ เวศน์ ซึ่ งจะเป็ นกำรผลักดันให้หนองรี น้ นั ประสบควำมสำเร็ จ มำกยิง่ ขึ้น ระบบและขั้นตอนการผลิตผักเกษตรอินทรีย์ เนื่องจำกควำมต้องกำรผลผลิตทำงกำรเกษตรในระบบเกษตรอินทรี ย ์ กำลังมีควำมต้องกำร และเป็ นที่ยอมรับมำกขึ้นเรื่ อยๆ ของผูบ้ ริ โภคทั้งในและต่ำงประเทศ เกษตรกรเองก็อยำกปลอดภัย จำกสำรเคมี ไม่มีใครอยำกใช้สำรเคมีเพรำะอันตรำยทั้งตนเองและผูบ้ ริ โภค แต่ถำ้ ไม่ใช้แล้วจะใช้ อะไรทดแทน ปัญหำในกำรเพรำะปลูกที่เกษตรกรพบมี 2 ประกำรใหญ่ คือ เรื่ อง ดินตำย หรื อควำม ไม่อุดมสมบูรณ์ของดินถ้ำไม่ใช้ปุ๋ยเคมีแล้วจะใช้อะไรทดแทน และปั ญหำของกำรป้ องกันและกำจัด ศัตรู พืช ถ้ำไม่ใช้สำรเคมีแล้วจะใช้อะไรทดแทน แนวทำงที่จะปรับปรุ งแก้ไขให้ดินตำยกลับกลำยเป็ น ดินที่มีชีวิตสำมำรถเพำะปลูกพืชให้ ได้ผลผลิ ตสู ง และมี คุณภำพดี ไม่ว่ำจะเป็ นพืชอะไรก็ตำมและต้องเป็ นแนวทำงที่จะสำมำรถผลิ ต ผลผลิ ต ที่ ป ลอดภัย จำกสำรพิ ษ ทำงกำรเกษตร ทั้ง ผูผ้ ลิ ต และผูบ้ ริ โภค ช่ วยรั ก ษำสิ่ ง แวดล้อ ม สำมำรถทำเป็ นอำชีพได้อย่ำงยัง่ ยืน ซึ่ งก็คือแนวทำงกำรเกษตรที่ไม่ใช้สำรเคมี แต่จะใช้ควำมสำคัญ ของดินเป็ นอันดับแรก ด้วยกำรปรับปรุ งดินให้มีพลังในกำรเพำะปลูก เหมือนกับดินในป่ ำที่มีควำม อุ ดมสมบูรณ์ ตำมธรรมชำติ และใช้หลักกำรป้ องกันกำจัดศัตรู พืชโดยไม่ใ ช้สำรเคมี โดยกำรนำ ทรัพยำกรธรรมชำติที่มีอยูอ่ ย่ำงจำกัดมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เป็ นวิธีกำรที่ไม่ก่อให้เกิดผลเสี ย ต่อสภำพแวดล้อมไม่เป็ นอันตรำยต่อเกษตรกรและผูบ้ ริ โภค สำมำรถให้ผลผลิตที่มีท้ งั ปริ มำณและ คุณภำพ เป็ นระบบเกษตรที่มีควำมยัง่ ยืนเป็ นอำชีพที่มนั่ คง ความสมดุลตามธรรมชาติ ทีม่ าของเกษตรอินทรีย์ โดยธรรมชำติของป่ ำไม้จะมีตน้ ไม้นำนำชนิ ดขึ้นปะปนกันมีใบไม้หล่นทับถมกันสัตว์ป่ำ ถ่ำยมูลไว้ที่ผิวหน้ำดิ นคลุ กเคล้ำกันกับใบไม้และซำกพืชซำกสัตว์ โดยมีสัตว์เล็กๆ เช่ น ไส้ เดื อน กิ้งกือ จิ้งหรี ด ฯลฯ กัดแทะเป็ นชิ้นเล็กๆ และมีจุลินทรี ยท์ ี่อยูใ่ นดินช่วยย่อยสลำยจนกลำยเป็ นฮิวมัส ซึ่ งเป็ นแหล่ ง ธำตุ อ ำหำรพื ช และใช้ ใ นกำรเจริ ญ เติ บ โตของต้น ไม้ใ นป่ ำนั่น เอง ดัง นั้ น จึ ง ไม่ จำเป็ นต้องเอำปุ๋ ยเคมีไปใส่ ในป่ ำ นอกจำกนี้ ใบไม้และเศษพืชที่ปกคลุมผิวดินก็เป็ นกำรคลุมผิวหน้ำ


93 ดินไว้ป้องกันกำรสู ญเสี ยควำมชื้ นภำยในดิ นทำให้หน้ำดิ นอ่อนนุ่มสะดวกต่อกำรไชชอนของรำก พืชไม่มีใครนำเอำยำฆ่ำแมลงไปฉี ดพ่นให้ตน้ ไม้ในป่ ำแต่ตน้ ไม้ในป่ ำก็เจริ ญเติบโตแข็งแรงต้ำนทำน โรคและแมลงได้ตำมธรรมชำติ ถึ ง แม้จะมี โรคและแมลงรบกวนบ้ำ งก็ ไม่ ถึง ขั้นเสี ยหำยและยัง สำมำรถให้ผ ลผลิ ตได้ตำมปกติ นัน่ ก็ คือ ต้นไม้ที่ข้ ึ นอยู่บ นดิ นที่ มีควำมอุ ดมสมบูรณ์ จะสำมำรถ ต้ำ นทำนโรคและแมลงได้ นอกจำกนี้ พื ช ในป่ ำก็ มิ ไ ด้เป็ นพื ช ชนิ ด เดี ย วกัน ทั้ง หมด แต่ เป็ นพื ช หลำกหลำยชนิ ดทำให้มีควำมหลำกหลำยทำงชี วภำพ มีแหล่งอำหำรที่หลำกหลำยของแมลง และ แมลงบำงชนิดก็เป็ นแมลงศัตรู ธรรมชำติของแมลงศัตรู พืช ดังนั้นจึงเกิดสมดุลตำมธรรมชำติ โอกำส ที่แมลงศัตรู พืชจะระบำดจนเกิดควำมเสี ยหำยจึงมีน้อย ดังนั้นเกษตรกรจึงสำมำรถจำลองสภำพป่ ำ ไว้ใ นไร่ น ำ โดยกำรปลู ก พื ช ให้ห ลำกหลำยชนิ ด ซึ่ ง เป็ นที่ ม ำของกำรเกษตรในระบบอิ น ทรี ย ์ หลักกำรผลิ ตผักอินทรี ย ์เป็ นหลักกำรที่ เลี ยนแบบมำจำกป่ ำที่สมบูรณ์ นนั่ เอง ซึ่ งจะประกอบด้วย หลักทำงกำรเกษตรที่คำนึงถึง ดิน พืช แมลงและสภำพแวดล้อมควบคู่กนั ไปทุกด้ำน หลักการปรับปรุ งดินให้ มีความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งสามารถทาได้ โดย 1. กำรใช้ปุ๋ยอินทรี ยแ์ ละปุ๋ ยชีวภำพ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยหมักปุ๋ ยน้ ำชีวภำพ และปุ๋ ยพืชสด ส่ วนปุ๋ ยจุลินทรี ยช์ ีวภำพ ได้แก่ ไรโซเบียม เชื้อรำ ไมโคไรซ่ ำ ปุ๋ ย และจุลินทรี ยเ์ หล่ำนี้ จะให้ท้ งั ธำตุ อำหำรหลัก ธำตุอำหำรรองแก่พืชอย่ำงครบถ้วน จึงใช้ทดแทนปุ๋ ยเคมี 2. กำรคลุมดิน ทำได้โดยใช้เศษพืชต่ำงๆ เช่น ฟำงหญ้ำแห้ง ต้นถัว ใบไม้ ขุยมะพร้ำว เศษ เหลือทิ้งจำกไร่ นำ หรื อ กระดำษหนังสื อพิมพ์ พลำสติกคลุมดิน หรื อกำรปลูกพืชคลุมดิน กำรคลุม ดินมีประโยชน์หลำยประกำร คือ ช่วยป้ องกันกำรชะล้ำงของหน้ำดินและรักษำควำมชุ่มชื้ นของดิน เป็ นกำรอนุ รั ก ษ์ดิ น และน้ ำ ช่ ว ยท ำให้ ห น้ำ ดิ น อ่ อ นนุ่ ม สะดวกต่ อ กำรไชชอนของรำกพื ช ซึ่ ง ประโยชน์ต่ำงๆ ของกำรคลุมดินดังกล่ำวมำจะช่วยส่ งเสริ มให้พืชเจริ ญเติบโตและให้ผลผลิตดี 3. กำรปลูกพืชหมุนเวียน เนื่ องจำกพืชแต่ละชนิ ดต้องกำรธำตุอำหำรแตกต่ำงกันทั้งชนิ ด และปริ ม ำณ อี ก ทั้ง ระบบรำกยัง มี ค วำมแตกต่ ำ งกันทั้ง ในด้ำ นกำรแผ่ก ว้ำ งและหยัง่ ลึ ก ถ้ำ มี ก ำร จัดระบบกำรปลูกพืชอย่ำงเหมำะสมแล้วจะทำให้กำรใช้ธำตุอำหำรมีท้ งั ที่ถูกใช้และสะสมสลับกัน ไปทำให้ดินไม่ขำดธำตุอำหำรธำตุใดธำตุหนึ่ง


94 หลักการปลูกพืชหลายชนิด เป็ นกำรจัดสภำพแวดล้อมในไร่ นำ ซึ่ งจะช่ วยลดกำรระบำดของโรคและแมลงศัตรู พืชได้ เนื่องจำกกำรปลูกพืชหลำยชนิดจะทำให้มีควำมหลำกหลำยทำงชี วภำพ มีแหล่งอำหำรที่หลำกหลำย ของแมลงจึงมีแมลงหลำยชนิดมำอำศัยอยูร่ ่ วมกัน ในจำนวนแมลงเหล่ำนี้ จะมีท้ งั แมลงที่เป็ นศัตรู พืช และแมลงที่ เป็ นประโยชน์ที่จะช่ วยควบคุ มแมลงศัตรู พืชให้คล้ำยคลึ งกับธรรมชำติ ในป่ ำที่ อุดม สมบูรณ์นนั่ เองมีหลำยวิธีได้แก่ ปลูกดำวเรื องเพื่อไล่ไส้เดือนในดิน ปลูกผักหลำยชนิ ด ทำให้ตอ้ งมี กำรปลูกพืช ดังนี้ 1. กำรปลูกพืชหมุนเวียน เป็ นกำรไม่ปลูกพืชชนิ ดเดียวกันหรื อตระกูลเดียวกัน ติดต่อกัน บนพื้ น ที่ เ ดิ ม กำรปลู ก พื ช หมุ น เวี ย นจะช่ ว ยหลี ก เลี่ ย งกำรระบำดของโรคและแมลง และเป็ น ประโยชน์ในกำรปรับปรุ งดิน 2. กำรปลู กพืชแซม กำรเลื อกพืชมำปลู กร่ วมกัน หรื อแซมกันนั้นพืชที่ เลื อกมำนั้นต้อง เกื้อกูลกัน เช่น ช่วยป้ องกันแมลงศัตรู พืช ช่วยเพิ่มธำตุอำหำรให้อีกชนิ ดหนึ่ ง ช่วยคลุมดิน ช่วยเพิ่ม รำยได้ก่อนเก็บเกี่ยวพืชหลัก เป็ นต้น หลักการป้องกันและกาจัดโรคและแมลงศัตรู ผกั โดยไม่ ใช้ สารเคมี 1. กำรป้ องกันและกำจัดโดยวิธีกล โดยไม่ใช้สำรเคมี เช่ น กำรใช้มือจับแมลงมำทำลำย กำรใช้มุง้ ตำข่ำย กำรใช้กบั ดักแสงไฟ กำรใช้กบั ดักกำวเหนียวเป็ นต้น 2. กำรใช้ตำข่ำยไนล่อนสี ขำว หรื อสี ฟ้ำคลุมแปลงผัก เพื่อป้ องกันผีเสื้ อกลำงคืนมำวำงไข่ ที่ใบพืชผักสำมำรถป้ องกันแมลงประเภทหนอนใยผัก หนอนกระทู ้ และหนอนผีเสื้ ออื่นๆ ได้ แต่ ด้วงหมัดผักกำดและเพลี้ ยอ่อนยังเข้ำไปทำลำยพืชผักได้ ให้ใช้สำรควบคุ มแมลงจำกดอกไพรี ทริ น ฉี ดพ่น กำรปลูกผักในมุง้ มีขอ้ เสี ยตรงที่ไม่มีตน้ ไม้บงั ลม เมื่อมีลมพำยุขนำดย่อมพัดมำอย่ำงรุ นแรง ในฤดูแล้ง มุง้ ไนล่อนซึ่ งใหญ่มำกจะถูกลมตีแตกเสี ยหำยทั้งหลัง กำรใช้มุง้ ตำขำยครอบแปลงขนำด เล็ก หรื อขนำดผ้ำคลุมแปลงเพำะกล้ำจะไม่เกิดปั ญหำมุง้ แตกเพรำะลมแต่อย่ำงใด


95 3. กำรใช้กบั ดักแมลงสี เหลื องเคลื อบวัสดุ เหนี ยว แมลงศัตรู พืชจะชอบบินเข้ำหำวัตถุ สี เหลื อ งมำกที่ สุ ด หำกใช้ว สั ดุ ที่ มี ล ัก ษณะข้น เหนี ย วไปทำเคลื อ บวัส ดุ สี เ หลื อ ง เช่ น แกลลอน น้ ำมันเครื่ องสี เหลื อง ถังพลำสติ ก สี เหลื อง แผ่นพลำสติ ก สี เหลื อง แผ่นไม้ท ำสี เหลื องหรื อแผ่น สังกะสี ทำสี เหลือง วำงติดตั้งบนหลักไม้ให้อยูเ่ หนื อต้นพืชเล็กน้อย หรื อติดตั้งในแปลงปลูกผักห่ ำง กันทุก 3 ตำรำงเมตร ให้แผ่นสี เหลืองสู งประมำณ 1 เมตร ขนำดแผ่นสี เหลืองควรมีขนำด 1 ตำรำง ฟุต ก็จะลดอันตรำยกำรทำลำยของแมลงกับพืชผักของเรำได้อย่ำงมำกแมลงศัตรู พืชที่เข้ำมำติดกับ ดักสี เหลืองได้แก่ แมลงงัน หนอนชอนใบ ผีเสื้ อกลำงคืนของหนอนกระทูห้ ลอดหอม ผีเสื้ อกลำงคืน ของหนอนใบผัก ผีเสื้ อกลำงคืนของหนอนกระทูผ้ กั ผีเสื้ อกลำงคืนของหนอนคืบกะหล่ ำ แมลงวัน ทอง แลงหวี่ข ำว เพลี้ ย ไฟ เพลี้ ย จัก จัน่ และเพลี้ ย อ่ อน กำวเหนี ย วที่ มี ข ำยในท้องตลำด มี ชื่ อว่ำ “อพอลโล่” หรื อ “คันริ ว” ป้ ำยกำวเหนียวครั้งหนึ่งจะอยูท่ นได้นำน 10-15 วัน หลักการป้องกันและกาจัดวัชพืชโดยไม่ ให้ ใช้ สารเคมี 1. ใช้วธิ ีกำรถอนด้วยมือ ใช้จอบถำง ใช้วธิ ีกำรไถพรวนพลิกดินตำกแดดไว้ 2. ใช้ว สั ดุ ค ลุ ม ดิ น ซึ่ งเป็ นกำรปกคลุ ม ผิ วดิ นช่ ว ยอนุ รั ก ษ์ดินและน้ ำ และเป็ นกำรเพิ่ ม อินทรี ยวัตถุ ให้กบั ดิ นอีกด้วยโดยส่ วนใหญ่มกั ใช้วสั ดุ ตำมธรรมชำติ ได้แก่ เศษซำกพืชหรื อวัสดุ เหลวใช้ในกำรเกษตร เช่น ฟำงข้ำว ตอซังพืช หญ้ำแห้ง ต้นถัว ขุยมะพร้ำว กำกอ้อย แกลบ เป็ นต้น นอกจำกนี้ยงั มีพลำสติกที่ผลิตขึ้นสำหรับกำรคลุมดินโดยเฉพำะซึ่ งสำมำรถนำมำใช้ได้เช่นกัน 3. ปลูกพืชคลุมดิน เช่น กำรปลูกพืชตระกูลถัว่ คลุมดิน เป็ นต้น ขั้นตอนการปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย์ วำงแผนกำรผลิตเป็ นระบบ ควรเลือกพื้นที่ที่เหมำะสมสำหรับเตรี ยมแปลงปลูกผัก คัดเลือก เมล็ดพันธุ์ที่ดี โดยกำรรับซื้ อจำกสมำชิ กที่นำมำจำหน่ำย น้ ำหมักที่ใช้คือน้ ำผักที่ผลิตเอง เพรำะจะมี สำรที่ช่วยให้เจริ ญเติบโตได้ดว้ ยตัวมันเอง กำรรักษำผักให้คงรู ปได้นำน ทำได้ดว้ ยกำรน็อกเย็นด้วย น้ ำแข็ง เพื่อยับยั้งจุลินทรี ยท์ ี่ทำให้ผกั เน่ำ กำรปลูกผักเกษตรอินทรี ยต์ อ้ งใช้กำรดูแลเป็ นพิเศษ ซึ่ ง พันธุ์ผกั สลัดที่ใช้ปลูกมี 5 สำยพันธุ์ ได้แก่ กรี นโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์ เฮด คอส และผักกำดแก้ว ซึ่ ง ทั้ง 5 สำยพันธุ์น้ ี มีกำรปรับตัวในพื้นที่ดีมำก และพันธุ์ที่ปรับตัวได้ดีที่สุดคือ ผักกำดแก้ว พันธุ์ ที่


96 ตลำดต้อ งกำรมำกที่ สุ ด ได้แ ก่ พัน ธุ์ ผ กั กำดแก้ว และคอส โดยจะท ำกำรสั่ ง ซื้ อ เมล็ ด พัน ธุ์ จ ำก มหำวิทยำลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ แต่ละสำยพันธุ์มีลกั ษณะ ดังนี้ 1. กรี นโอ๊ค (Green Oak) ลักษณะเป็ นทรงพุม่ ใบสี เขียวอ่อนลักษณะปลำยใบหยักโค้งมน ซ้อนกันเป็ นชั้น คุณค่ำทำงโภชนำกำร: ช่วยสร้ำงเม็ดเลือด บำรุ งประสำท เส้นผม สำยตำและกล้ำมเนื้อ

ภำพที่ 3-2 ภำพผักกรี นโอ๊ค 2. เรดโอ๊ค (Red Oak) ลักษณะเป็ นผักใบสี แดงเข้มและเขียวเข้ม ใบซ้อนกันเป็ นชั้นปลำย ใยหยิกแยกเป็ นแฉก เป็ นพุม่ หยักสี สวยงำม คุณค่ำทำงโภชนำกำร: มีกำกใยอำหำรมำกมำย ย่อยง่ำย บำรุ งสำยตำ กล้ำมเนื้ อ ป้ องกันโรค ปำกนกกระจอก ล้ำงผนังลำไส้ กำจัดพวกไขมัน มีธำตุเหล็ก และวิตำมินซี สูง


97

ภำพที่ 3-3 ภำพผักเรดโอ๊ค 3. บัตเตอร์เฮด (Butter Head) ลักษณะเป็ นทรงพุม่ ห่อหัว ใบมีสีเขียว กำบใบห่ อเข้ำหำกัน เป็ นชั้นๆ คล้ำยดอกกุหลำบ คุณค่ำทำงโภชนำกำร: ช่วยบำรุ งประสำท บำรุ งกล้ำมเนื้ อ บำรุ งเส้นผม บำรุ งสำยตำ บำรุ ง ผิว และช่วยลดคอเลสเตอรอล

ภำพที่ 3-4 ภำพผักบัตเตอร์เฮด


98 4. กรี นคอส (Green Cos) ลักษณะทรงสู ง ใบสี เขียวเข้ม ห่ อตั้งขึ้นซ้อนกันหลวมๆ หลำย ชั้น ลำต้นโต ก้ำนใบใหญ่ คุณค่ำทำงโภชนำกำร: ช่วยป้ องกันโรคโลหิ ตจำง ช่วยให้เส้นเลือดฝอยแข็งตัว

ภำพที่ 3-5 ภำพผักกรี นคอส 5. ผักกำดแก้ว (Lettuce) เป็ นผักสี เขียวค่อนข้ำงอ่อน ใบห่ อเป็ นหัว เนื้ อใบหนำกรอบเป็ น แผ่นคลื่น เป็ นพืชที่ปลูกง่ำย ตลำดมีควำมต้องกำรสู ง คุ ณค่ำทำงโภชนำกำร: มีวิตำมินซี สูง ช่ วยป้ องกันโรคโลหิ ดจำง บรรเทำอำกำรท้องผูก เหมำะ สำหรับผูท้ ี่ป่วยเป็ นโรคเบำหวำน

ภำพที่ 3-6 ภำพผักกำดแก้ว


99 ขั้นตอนกำรปลูกผักสลัดเกษตรอินทรี ย ์ มีดงั นี้ 1. กำรเตรี ยมดินและแปลงปลูก ในอันดับแรกต้องตรวจดูสภำพของดิ น หำกดิ นผ่ำนกำร ปลูกมำหลำยครั้ง ก็ควรพักฟื้ นให้ดินดี จำกนั้นปรับพื้นที่ให้เรี ยบและโปร่ ง เพื่อให้ดินละเอียดขึ้น และตำกดินไว้ 7 วัน เพื่อกำจัดโรคพืชและแมลง ขุดถอนและกำจัดพืชที่ไม่ตอ้ งกำรออก จำกนั้นยก แปลงขนำด 1.20 x 40 เมตร ยกร่ องสู ง 50 เซนติเมตร หว่ำนปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมัก เพื่อเพื่อควำมร่ วน ซุ ยและไถพรวนอีกครั้งหนึ่ ง ใส่ ปุ๋ยอินทรี ย ์ เพื่อเพิ่มควำมอุดมสมบูรณ์ของดินให้เหมำะสมกับกำร ปลูกผัก ครำดกลบปุ๋ ย และปรับหน้ำแปลงให้เรี ยบ 2. กำรย้ำยกล้ำปลูก ควรรดน้ ำแปลงผักที่เตรี ยมไว้แล้วให้ชุ่ม แล้วย้ำยกล้ำผักจำกกระบะ ลงในแปลงแต่ยงั ไม่ตอ้ งรดน้ ำเพื่อไม่ให้ดินอัดแน่นเกินไป เพรำะอำจจะทำให้รำกขำดอำกำศหำยใจ หลังจำกนั้นรดน้ ำแปลงผักให้ชุ่มอีกครั้งในตอนเช้ำ เพื่อไม่ให้ดินอัดแน่ นที่ตน้ กล้ำ ระยะปลูกผัก 3-4 ต้น แล้วแต่ควำมกว้ำงของหน้ำแปลง ถ้ำหน้ำแปลงกว้ำงประมำณ 1 เมตร จะใช้ระยะปลูก 3 ต้น ควรทำกำรย้ำยกล้ำผักในตอนเย็น เพื่อให้ผกั พักตัวช่วงกลำงคืน และฟื้ นตัวเร็ วขึ้น ใน 1 ปี สำมำรถ ปลูกผักได้ 2-3 ครั้ง ขึ้นอยูก่ บั ควำมต้องกำรของตลำด แต่ไม่ควรปลูกในมำกกว่ำนี้เพรำะจะทำให้ดิน เสื่ อมเร็ ว และควรมีกำรพักแปลงอย่ำงน้อย 1 รุ่ น เพื่อให้ดินฟื้ นตัว 3. กำรเตรี ยมวัสดุเพำะ ได้แก่ วัสดุเพำะกล้ำ ประกอบไปด้วย แกลบเผำ 3 ส่ วน ดิน 1 ส่ วน ปุ๋ ยหมัก 1 ส่ วน และกระบะเพำะกล้ำผัก ขนำด 6x17 ช่อง จะเพำะได้ประมำณ 108 ต้น เมล็ดพันธุ์ผกั ที่เพำะได้มีควำมงอกประมำณ 80 % 4. วิธีเพำะกล้ำผัก นำวัสดุเพำะมำผสมกัน และนำใส่ กระบะเพำะ ใช้ไม้จิ้มกลำงหลุมของ วัสดุเพำะนำเมล็ดผักหยอดลงในหลุมกระบะ เพำะหลุมละ 1 เมล็ดแล้วกลบด้วยวัสดุ เพำะบำงๆ จำกนั้นนำกระบะเพำะวำงไว้ในร่ มรำไร หรื อในโรงเรื อนแล้วรดน้ ำให้ชุ่ม วันละ 2 ครั้ง เมล็ดผักจะ งอกหลังหยอดเมล็ด 3-5 วัน หลังจำกผักมีใบ 3-5 ใบ หรื อ มีอำยุประมำณ 20 วัน ให้ยำ้ ยกล้ำปลูกลง ในแปลง


100

ภำพที่ 3-7 ภำพผักที่ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรี ย ์ 5. กำรให้น้ ำและกำจัดวัชพืช กำจัดวัชพืช โดยกำรถอนหญ้ำด้วยมือ 1-2 ครั้ง และใช้ แรงงำนคนเดินฉี ดสำยยำงตำมแปลงเพรำะน้ ำจำกสำยยำงจะสำมำรถชะล้ำงไข่ของแมลงศัตรู พืชที่ ติดอยูท่ ี่ใบลงดินได้ จำกนั้นจุลินทรี ยใ์ นดินก็ยอ่ ยกินไข่แมลงศัตรู พืชเหล่ำนี้ นอกจำกนี้ ผปู ้ ลูกจะได้ ถือโอกำสตรวจแปลงไปในตัวหำกมีควำมผิดปกติก็จะพบเห็นทันที หน้ำหนำวรดน้ ำวันละ 1 ครั้ง เวลำเช้ำก่อนแดดออก เพรำะจะช่วยชะล้ำงน้ ำค้ำงตอนเช้ำ ซึ่ งน้ ำค้ำงมีฤทธิ์ เป็ นกรดสำมำรถทำให้ เกิดโรครำน้ ำค้ำงได้ จะเน้นในช่วงหน้ำหนำวและหน้ำมรสุ ม หน้ำร้อนรดน้ ำวันละ 2 ครั้ง ถ้ำอำกำศ ร้อนมำก ให้รดน้ ำตอนบ่ำย เพื่อช่วยลดอุณหภูมิภำยในแปลง ซึ่ งไม่เป็ นอันตรำยต่อต้นพืช หน้ำฝน ถ้ำฝนตกก็ไม่ตอ้ งรดน้ ำ ถ้ำฝนตกมำกเกิ นไปจะทำให้ดินแน่ นพืชจะขำดอำกำศหำยใจ จะต้องใช้ ตะขอคุย้ ดินรอบต้นเพื่อให้มีกำรถ่ำยเทอำกำศ ทั้งนี้เมื่อพบโรคและแมลงจะใช้แรงงำนคนกำจัด โดย เด็ดใบหรื อถอนต้นทิง้ เพื่อไม่ให้เกิดกำรแพร่ ระบำด 6. กำรเก็บเกี่ยว เรดโอ๊ค อำยุเก็บเกี่ยว 45-50 วัน สลัดแก้ว อำยุเก็บเกี่ยว 70 วัน บัตเตอร์ เฮด อำยุเก็บเกี่ยว 50 วัน คอส อำยุเก็บเกี่ยว 55 วัน และกรี นโอ๊ค อำยุเก็บเกี่ ยว 40 วัน ในกำรเก็บ เกี่ยว ใช้มีดตัดโคนต้นของผัก ตัดใบแก่ออก แล้ววำงใส่ ตะกร้ำ ระวังอย่ำให้ผกั ช้ ำ เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็ จ แล้ว ควรพักแปลงทิ้งไว้ประมำณ 1 เดือน และทำกำรปรับปรุ งบำรุ งดินเพื่อให้ดินอุดมสมบูรณ์ พร้อมที่จะปลูกผักในครั้งต่อไป 7. กำรปฏิบตั ิหลังกำรเก็บเกี่ยว ล้ำงทำควำมสะอำดผัก ตัดแต่งส่ วนที่เน่ำเสี ย หรื อผิดปกติ ออก แล้วทำปูนแดงที่รอยตัด เพื่อป้ องกันเชื้ อโรคเข้ำทำลำย คัดขนำดคุณภำพของผัก ทำกำรบรรจุ


101 ในถุงพลำสติก หรื อตะกร้ำ เพื่อกำรขนส่ ง รถที่ใช้รถขนส่ งเป็ นรถของเกษตรกร เป็ นรถห้องเย็นเพื่อ ป้ องกันควำมเสี ยหำยของผัก และให้ผกั สดอยู่ตลอด และกำรขนส่ ง 1 เที่ยว สำมำรถบรรจุได้ 90 กิโลกรัม จะส่ งทุกสัปดำห์ในวันพุธ และผักสดสำมำรถเก็บไว้ในตูเ้ ย็นได้นำนถึง 2 สัปดำห์ วิธีการดาเนินงานของวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียวหนองรี วิธีกำรดำเนินงำนของวิสำหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี มีดงั นี้ 1. เริ่ มจำกกำรจัดประชุ มเพื่อหำรื อ ซึ่ งสมำชิ กประกอบด้วยเกษตรชุ มชนหนองรี รวมทั้ง เกษตรอำเภอ เกษตรตำบล เข้ำมำมีส่วนร่ วมในกำรประชุ ม โดยมีผนู ้ ำคือ คุณอนุ รักษ์ เรื องรอบ เป็ น ประธำนในกำรขับเคลื่ อนกำรดำเนิ นงำน หลังจำกได้ขอ้ สรุ ปแล้ว จึงทำกำรจัดตั้ง วิสำหกิ จชุ มชน สวรรค์สีเขียวแห่งนี้ข้ ึนมำ 2. วิสำหกิจมีกำรส่ งเสริ มให้ทำกำรเกษตรอินทรี ย ์ โดยค่อยๆ เริ่ มเปลี่ยนแปลงจำกกำรทำ เกษตรด้วยสำรเคมี มำเป็ นกำรทำเกษตรอินทรี ย ์ และมีแบบอย่ำงให้เห็ นได้จำกประธำนวิสำหกิ จ ชุมชน ซึ่ งมองเห็นว่ำสำมำรถพัฒนำต่อยอดกำรเกษตรอินทรี ยใ์ ห้มีมูลค่ำเพิ่ม 3. ส่ งเสริ มให้สมำชิ กทำกำรปลูกผักเกษตรอินทรี ย ์ รวมถึ งศึกษำดูงำนจำกแหล่งเรี ยนรู ้ เกษตรอิ นทรี ยใ์ นสถำนที่ ต่ำงๆ เพื่อให้สมำชิ กได้รับควำมรู ้ และเปลี่ ยนแปลงพฤติ กรรม จนถึ งมี ควำมพร้อมสู่ กำรทำเกษตรอินทรี ย ์ 4. นำผักที่สมำชิ กปลูกได้ มำจำหน่ำยออกสู่ ตลำด ทำกำรตลำดผ่ำนสื่ อ Social Network เป็ นสื่ อในกำรแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น หรื อ ขำยสิ นค้ำ โดยขนส่ งสิ นค้ำผ่ำนรถและจัดส่ งให้ถึงที่ ซึ่ งผักเกษตรอินทรี ยไ์ ร้ สำรพิษ เป็ นที่ตอ้ งกำรของตลำดเป็ นอย่ำงมำก จนเล็งเห็ นว่ำสำมำรถสร้ ำง เป็ นธุ รกิจของชุมชนให้สมำชิกในชุมชนมีรำยได้อย่ำงยัง่ ยืน ระบบบัญชีทใี่ ช้ ในการดาเนินงาน วิธีกำรจดบันทึกบัญชีที่วสิ ำหกิจชุมชนใช้ในกำรปฏิบตั ิงำน คือ กำรทำบัญชี รำยรับ-รำยจ่ำย อย่ำงง่ ำ ย โดยใช้โปรแกรม Excel ช่ วยในกำรจัดท ำ คื อ มี กำรจดบันทึ กกิ จกำรต่ ำงๆ อย่ำงเป็ น


102 ระเบียบ กำรลงบัญชี รำยรับ -รำยจ่ำย จำกนั้นทำกำรสรุ ปกำรปฏิบตั ิกำรและยอดประจำวัน เพื่อนำ เป็ นหลักฐำนไปประเมินผลงำนและปรับปรุ งแก้ไขกำรทำงำนในครั้งต่อไป นอกจำกนั้นอำจบันทึก ข้อมูลรำยรับ –รำยจ่ำยของกำรปฏิบตั ิงำนไว้เพื่อเป็ นข้อมูลในกำรประเมินผลงำน ข้อมู ล ที่ ไ ด้รับ จำกกำรบันทึ ก บัญ ชี แ ละผลกำรปฏิ บตั ิ งำนจะนำมำใช้ประโยชน์ ใ นกำร ตัดสิ นใจทำกำรปลู ก พืช ให้ส อดคล้องกับ ควำมต้องกำรของตลำด แนวโน้มของรำคำ ตลอดจน เหตุกำรณ์ ต่ำงๆ ที่มีผลกระทบต่อกำรดำเนิ นกิจกรรมได้อย่ำงเหมำะสมยิ่งขึ้น ทำให้ผผู ้ ลิ ตทรำบได้ ว่ำ กิ จ กำรของตนเป็ นอย่ำ งไร เป็ นวิ ธี ก ำรอย่ ำ งหนึ่ งที่ จ ะแสดงฐำนะทำงกำรเงิ น และผลกำร ดำเนินงำนว่ำมีรำยรับ-รำยจ่ำยอย่ำงไร ช่วยในกำรประเมินผลกำรดำเนิ นงำนว่ำมีกำไร หรื อขำดทุน อย่ำงไร แนวทำงกำรบันทึกบัญชีที่ใช้ดำเนินงำนของกิจกำร มีดงั นี้ 1. กำรบันทึกทรัพย์สิน หนี้ สิน จดบันทึกรำยกำรทรัพย์สินหมุนเวียนและทรัพย์สินถำวร ต่ำงๆ เช่น ที่ดินในกำรเพำะปลูก เครื่ องมือ อุปกรณ์กำรเกษตรต่ำงๆ ปุ๋ ย ปั จจัยกำรผลิตอื่นๆ จำนวน ผลผลิ ต ผลผลิ ตที่ ค งเหลื อ ตลอดจนหนี้ สินต่ ำงๆ ที่ เกิ ดขึ้ นในกำรดำเนิ นกำรผลิ ต ในกำรบันทึ ก ทรัพย์สินและหนี้ สินต่ำงๆ เพื่อจะนำไปใช้ในกำรสรุ ปฐำนะทำงกำรเงิน และเป็ นข้อมูลที่จะใช้ใน กำรคำนวณหำรำยได้สุทธิ ต่อไป 2. กำรจดบันทึกกำรปฏิ บตั ิงำนเป็ นกำรบันทึกข้อมูลในด้ำนกำรผลิ ตจำกกำรเพำะปลูก ได้แก่ 2.1 พันธุ์พืช บันทึก ชื่ อพันธุ์ พืช กำรคัดเมล็ดพันธุ์ กำรเพำะพันธุ์ รวมถึงรำยละเอียด ต่ำงๆ ที่เกี่ ยวข้อง เพื่อหำวิธีกำรที่เหมำะสมและให้ผลดีที่สุดในกำรเพำะปลูก วิธีกำรเก็บเกี่ ยว โรค แมลง ศัตรู พืชอื่นๆ เพื่อพิจำรณำกำรปลูกครั้งต่อไป 2.2 สภำพแวดล้อมในกำรเพำะปลู ก ได้แ ก่ ปริ ม ำณน้ ำ ฝน กำรกระจำยตัวของฝน สภำพแสง ทิศทำงลม รวมถึงมำตรกำรกำรกำจัดโรคและศัตรู พืชอื่นๆ ปริ มำณผลผลิตที่ได้คุม้ ค่ำกับ กำรลงทุนหรื อไม่ และเพื่อหำวิธีกำรปรับปรุ งในกำรปลูกครั้งต่อไป


103 2.3 ผลผลิต จัดทำรำยงำนปริ มำณผลผลิตที่จดั จำหน่ำยไปยังผูบ้ ริ โภครำยย่อย และส่ ง จำหน่ ำยตำมร้ำนอำหำรในตัวจังหวัด เพื่อเป็ นแนวในกำรวำงแผน กำหนดจำนวน และขนำดของ พื้นที่ในกำรผลิตครั้งต่อไปได้อย่ำงถูกต้อง 2.4 กำรตลำด เป็ นข้อมูลที่มีควำมสำคัญมำก ในฐำนะผูผ้ ลิตควรรับทรำบข้อมูลต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรตลำด เช่น แหล่งรับซื้ อ ควำมเคลื่อนไหวที่เกี่ ยวกับปริ มำณและรำคำของผลผลิ ต ในแต่ล ะช่ วงของปี กำรบันทึ ก ข้อมูล ดัง กล่ ำวนี้ จะเป็ นข้อมู ลพื้ นฐำนอย่ำงหนึ่ ง ที่ จะช่ วยในกำร ตัดสิ นใจเกี่ยวกับกำรจัดระบบกำรปลูกพืช กำรจัดจำหน่ำย ควำมผันผวนของรำคำในตลำดได้ 3. แนวทำงกำรจดบันทึกกำรปฏิบตั ิงำนในกำรปลูกผักเกษตรอินทรี ยส์ ิ่ งที่ตอ้ งทำกำรจด บันทึกขณะปฏิบตั ิงำน คือ 3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับพืชที่ปลูก สภำพสิ่ งแวดล้อมที่เหมำะสมกับกำรปลูก กำรปฏิบตั ิดูแล รักษำ กำรเก็บเกี่ยว กำรเก็บรักษำและกำรจำหน่ำย เพื่อให้เกษตรกรรับทรำบและเป็ นแนวทำงในกำร ปฏิบตั ิ 3.2 กำรจดบันทึกกำรปฏิบตั ิงำนทุก ๆ ขั้นตอนที่ได้ปฏิ บตั ิในกำรปลู ก จนถึ งขั้นตอน กำรเก็บเกี่ยวและกำรจำหน่ำยผลผลิตสู่ ผบู ้ ริ โภค 3.3 จดบันทึกค่ำใช้จ่ำยแต่ละครั้งในกำรปลูกใน 1 ฤดูกำล เช่ น ค่ำเมล็ดพันธุ์ รำคำ ปุ๋ ย ค่ำเครื่ องมื อและอุ ปกรณ์ ที่ ใช้ในกำรปลูก พืช ค่ำแรงงำน ค่ำฮอร์ โมนบ ำรุ งผัก แล้วจดบันทึ ก ค่ำใช้จ่ำยรวมยอดไว้ 3.4 จดบันทึกผลผลิตที่ได้ในกำรปลูกใน 1 ฤดูกำล เช่ น ผลผลิ ตจำนวนกี่ กิโลกรั ม ต่อแปลง รำคำที่จำหน่ำยต่อกิโลกรัมทั้งผูบ้ ริ โภครำยย่อยและร้ำนค้ำ 4. นำเงินทุนและรำยได้นำไปคำนวณหำผลกำไร


104 แนวทางสาหรับการจัดทาระบบบัญชีและการบันทึกผลการปฏิบัติทคี่ วรใช้ ในอนาคต ในกรณี ที่จดั ตั้งกิ จกำรขนำดเล็กอำจไม่ตอ้ งมีระบบบัญชี ที่ซับซ้อนหรื อยุ่งยำกนัก เพรำะ อำจมีค่ำใช้จ่ำยจำนวนมำก และต้องอบรมพนักงำนอีกด้วย เพรำะวิธีกำรปฏิบตั ิงำนของแต่ละธุ รกิจ มีควำมแตกต่ำงกัน ขณะเดียวกันธุ รกิจขนำดเล็กก็มีควำมจำเป็ นที่จะต้องวำงระบบบัญชี เช่นกัน เพื่อ ควำมเจริ ญเติ บ โตทำงธุ รกิ จและกำรจัดกำรที่ ดีใ นอนำคต โดยพิจำรณำทำงเลื อกที่ ดีที่ สุดให้ก ับ บริ ษทั ของผูป้ ระกอบกำรเองเท่ำนั้น เพรำะกำรจ้ำงบริ ษทั บัญชี อำจจะไม่ใช่ทำงเลือกที่ดีที่สุดให้กบั ธุ รกิ จที่มีขนำดเล็กได้เสมอไปเนื่ องจำกจะสิ้ นเปลื องค่ำใช้จ่ำยเป็ นจำนวนมำก อย่ำงไรก็ดี ระบบ บัญชี น้ นั ทำได้มำกกว่ำแค่เก็บข้อมูล แต่สำมำรถใช้เป็ นดัชนี ทำงกำรเงินได้อีกด้วย เนื่ องจำกระบบ บัญชีจะมีส่วนประกอบต่ำงๆ เหล่ำนี้ 1. สำมำรถเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน รำยรับ รำยจ่ำย ค่ำบริ หำรจัดกำรต่ำงๆ 2. สำมำรถจัดกำรข้อมูลได้ เช่น กำรจัดเรี ยงข้อมูล หรื อค้นหำข้อมูลตำมวัน ตำมประเภท ของรำยกำรได้ 3. มีฐำนข้อมูลทำงบัญชี สำมำรถนำข้อมูลเข้ำในรู ปแบบฟอร์ มทำงบัญชีได้ หรื อสำมำรถ คำนวณได้ 4. มี รำยงำนทำงกำรเงิ น สำมำรถแสดงรำยงำน แสดงงบแสดงฐำนะกำรเงิ น งบก ำไร ขำดทุนเพื่อเปรี ยบเทียบกับงบประมำณได้ 5. วิเครำะห์ระบบกำรเงิ น เพื่อหลี กเลี่ ยงปั ญหำที่อำจเกิ ดขึ้น หรื อใช้เงิ นทุนที่มีได้อย่ำง เต็มที่ โดยสรุ ปแล้วกำรวำงระบบบัญชีจะต้องสะท้อนควำมจริ งในกำรดำเนิ นงำน ต้องเที่ยงตรง ป้ องกันกำรทุ จริ ต สำมำรถตรวจสอบซึ่ ง กันและกันได้ เพื่อนำข้อมูล มำใช้ใ นกำรตัดสิ นใจอย่ำ ง ทันเวลำ


105

บทที่ 4 ผลการศึกษา ในการศึ ก ษาครั้ งนี้ ไ ด้ก ารวิเ คราะห์ ต้นทุ น และผลตอบแทนการผลิ ต ผัก เกษตรอิ น ทรี ย ์ กรณี ศึกษาวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัด ชลบุรี โดยผูศ้ ึกษาได้ทาการศึกษา ต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิต ซึ่ งมีปัจจัยสาคัญที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ต้นทุน และทาการ วิเคราะห์จุดคุม้ ทุนจากการผลิต รวมถึงการวิเคราะห์ อตั ราส่ วนทางการเงิ นจากการผลิตผักเกษตร อินทรี ย ์ ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อ ความสาเร็ จในการผลิตผักเกษตรอินทรี ย์และผลที่ได้ รับจากการผลิตผัก เกษตรอินทรีย์ 1. การจัดการปั จจัยการผลิ ตให้เพียงพอ เป็ นไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ เช่ น การ คัดเลือกดินที่ใช้ในการเพาะปลูก หลักการสาคัญของเกษตรอินทรี ยค์ ือการว่าด้วยเรื่ องของคุณภาพ ดิน ดินดีเป็ นดินมีชีวติ มีธาตุอาหารสมบูรณ์ตามธรรมชาติ มีจุลินทรี ยแ์ ละสิ่ งมีชีวิตหลากหลายชนิ ด ที่ช่วยย่อยสลายอินทรี ยวัตถุ ปล่อยธาตุอาหารให้พืชและทาให้ดินมีความร่ วนซุ ยอย่างพอเหมาะที่จะ ให้รากพืชชอนไชหาอาหารได้อย่างกว้างขวาง ซึ่ งหมายความว่าพืชที่ได้รับอาหารอย่างสมดุลก็จะมี ความแข็งแรง ระบบรากสามารถดูดซับน้ าและดินตามธรรมชาติได้เต็มประสิ ทธิ ภาพ ได้ธาตุอาหาร สู ง ผลที่ ตามมาก็คื อเกษตรกรจะได้ผ ลผลิ ตที่ เติ บโตแข็ง แรงดี พืช ผักมี คุณค่ าทางโภชนาการสู ง รสชาติ อร่ อย สามารถจาหน่ ายได้ใ นราคาสู ง เพราะเป็ นที่ ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ รวมถึงไม่มีผลกระทบที่เกิดจากสภาวะสารเคมีสะสมในร่ างกายอีกด้วย 2. การจัดการระบบการผลิตที่ดี และความรู ้ ความเข้าใจในการประกอบธุ รกิ จผักเกษตร อินทรี ยข์ องผูผ้ ลิต มีผลให้สามารถทาการเกษตรอินทรี ยไ์ ด้ผลผลิ ตดี ผลผลิ ตอุดมด้วยคุ ณค่าทาง อาหารโดยมีตน้ ทุนการผลิตที่ต่าลง และผูผ้ ลิตมีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน 3. ศักยภาพในการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ และทัศนคติที่ดีต่อผักเกษตรอินทรี ยข์ องผูผ้ ลิ ต และผูป้ ระกอบการ สามารถพัฒนาได้โดยการถ่ายทอดความรู ้ในเรื่ องของการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ให้กบั ผูผ้ ลิตและผูป้ ระกอบการศึกษา เพื่อจะได้เข้าใจถึงผลดีที่เกิดขึ้นในการทาเกษตรอินทรี ย ์


106 4. การตลาดผักเกษตรอินทรี ยท์ ี่เอื้อให้ผบู ้ ริ โภคเข้าใจผักเกษตรอินทรี ยแ์ ละขยายความ ต้องการของผูบ้ ริ โภค ซึ่ งต้องอาศัยการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรี ยอ์ ย่างถูกต้อง จากภาครัฐและภาคเอกชน 5. การจัดการโลจิสติกส์ที่สนับสนุนผักเกษตรอินทรี ย ์ หากมีการจัดการระบบโลจิสติกส์ ที่ดีก็จะสามารถลดต้นทุนของสิ นค้าเกษตรได้ อีกทั้งยังช่วยลดความเสี ยหายของสิ นค้าก่อนจะถึงมือ ผูม้ ือบริ โภคได้อีกด้วย การจัดการโลจิสติกส์ที่เหมาะสมจะช่วยประหยัดระยะเวลาในการดาเนิ นงาน แต่ละขั้นตอนให้ลดน้อยลง ในเรื่ องการจัดส่ งปั จจัยการผลิต ว่าจะสามารถจัดส่ งอย่างไรให้สินค้ามี คุณภาพมากที่สุด และทันต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภค 6. พฤติ ก รรมผูบ้ ริ โ ภคผัก เกษตรอิ น ทรี ย ์ที่ เหมาะสมและความเชื่ อ มั่น ของผูบ้ ริ โ ภค เนื่ องจากผูบ้ ริ โภคหลายรายยังไม่เชื่ อมัน่ ว่าระบบการผลิ ตเกษตรอิ นทรี ยจ์ ะปลอดสารเคมี อย่า ง แน่ นอน ต้องมี การส่ งเสริ มการประชาสัมพันธ์ และการออกเครื่ องหมายรั บรองมาตรฐานทัว่ ไป สาหรั บแสดงกับสิ นค้าเกษตรอิ นทรี ย ์ เพื่อช่ วยให้ผูบ้ ริ โภคเกิ ดความมัน่ ใจในการเลื อกซื้ อสิ นค้า เกษตรอินทรี ย ์ รวมถึงอาจส่ งผลให้ขายสิ นค้าเกษตรอินทรี ยไ์ ด้เพิ่มมากขึ้น 7. กลุ่มและเครื อข่ายผักเกษตรอิ นทรี ยท์ ี่ครอบคลุ มและเข้มแข็ง เศรษฐกิ จชุ มชนหรื อ วิสาหกิจชุ มชนที่เข้าร่ วมการพัฒนา เสริ มสร้างทักษะและขีดความสามารถ เพื่อความพร้อมในการ ผลิตเชิงพาณิ ชย์เพื่อนาไปสู่ การขยายผลในเชิงอุตสาหกรรม 8. การสื่ อสารและประชาสัมพันธ์เชิ งรุ กที่ก่อให้เกิ ดผลกระทบเชิ งพฤติ กรรมที่ ดีต่อผัก เกษตรอิ นทรี ย ์ เริ่ มจากการวางเป้ าหมายให้กบั เกษตรกรและพยายามที่ จะสนับสนุ น โดยทาการ สื่ อสารและประชาสัมพันธ์แบบเข้าถึงพื้นที่ในชุ มชนต่างๆเพื่อให้เกษตรกรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จากการท าเกษตรเคมี สั ง เคราะห์ เป็ นเกษตรอิ นทรี ย ์ ชี้ ใ ห้เห็ น ถึ งข้อดี ของการท าเกษตรอิ นทรี ย ์ ถ่ า ยทอดองค์ค วามรู ้ แ ละภู มิ ปั ญ ญาซึ่ งกัน และกัน เนื่ อ งจากการท าเกษตรอิ น ทรี ย ์มี แ นวทางที่ สอดคล้องกับวิถีชีวติ ของชุ มชน อยูภ่ ายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งให้ประชาชนมีสุขภาพ ดี มี เงิ นออม และมีภูมิคุม้ กันที่ดี หากคนในชุ มชนมองเห็ นถึ งความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพ ชี วิตความเป็ นอยูแ่ ละสุ ขภาพที่ดีแล้ว ก็จะสามารถเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรมให้หันมาทาเกษตรแบบ อินทรี ยไ์ ด้ไม่ยากนัก


107 9. มาตรฐานและระบบการรับรองผักเกษตรอิ นทรี ยแ์ ละชัดเจนเหมาะสม สหพันธ์ เกษตรอินทรี ยน์ านาชาติ (International Federation of Agriculture : IFOM) ให้คานิยามของเกษตร อินทรี ยว์ า่ เป็ นระบบการเกษตรที่ผลิตอาหารและเส้นใยด้วยความยัง่ ยืนทางสิ่ งแวดล้อม สังคม และ เศรษฐกิจ โดยเน้นหลักการปรับปรุ งบารุ งดิน การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และ นิ เวศการเกษตร เกษตรอินทรี ยจ์ ึงลดการใช้ปัจจัยการผลิ ตภายนอก และหลี กเลี่ ยงการใช้สารเคมี สังเคราะห์ เช่น ปุ๋ ย สารกาจัดศัตรู พืช และเวชภัณฑ์สาหรับสัตว์ เป็ นต้น ในขณะเดียวกันก็พยายาม ประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิตและพัฒนาความต้านทานโรคของพืชและสัตว์เลี้ยง 10. ฐานข้อมูลผักเกษตรอินทรี ยท์ ี่น่าเชื่ อถือ และสามารถเข้าถึ งได้ครอบคลุมในทุกๆด้าน เพื่อให้ได้การยอมรับถึงผลผลิตที่มีคุณภาพและน่าเชื่ อถือ ควรจัดทาฐานข้อมูลการผลิตเพื่อเพิ่มวาง ไว้วางใจให้แก่ผบู ้ ริ โภค โดยให้ผบู ้ ริ โภคเข้าถึ งช่ องทางของข้อมูลได้ว่า สิ นค้ามีแหล่งผลิ ตที่ไหน กระบวนการการผลิ ตเป็ นอย่างไร นอกจากนี้ ควรมีการจัดทาฐานข้อมูลสิ นค้าด้วยเพื่อรองรับการ ขยายตลาดให้ผโู ้ ภคได้ขอ้ มูลที่น่าเชื่อถืออย่างเพียงพอ 11. การวิจยั ที่สนับสนุ นการดาเนิ นงานผักเกษตรอินทรี ย ์ เพื่อสนับสนุ นอาหารโลกเป็ น อาหารปลอดภัย หลายๆหน่วยงานควรมีโครงการสนับสนุ นงานวิจยั เพื่อคิดค้นและพัฒนาแนวคิด หรื อนวัตกรรมทางเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการผลิตสิ นค้าเกษตรอินทรี ย ์ โดยเฉพาะงานด้านการผลิตที่ ช่ วยลดการใช้สารเคมี ใ นการเกษตร งานวิจยั ที่ เกี่ ยวข้องกับการขยายตลาดเพื่อผลักดันให้สินค้า เกษตรอินทรี ยไ์ ด้มาตรฐานในระดับสากลมากขึ้น 12. นโยบายและกฎหมายที่สนับสนุนผักเกษตรอินทรี ยท์ ี่เหมาะสม ภาครัฐควรมีนโยบาย ที่จะพยายามแก้ไ ขปั ญหาความไม่ ม นั่ คงทางอาหารด้วยการปรั บ เปลี่ ย นระบบการผลิ ตแบบใช้ สารเคมี ม าเป็ นระบบเกษตรอิ นทรี ย ์ ด้วยการลดอัต ราการใช้ส ารเคมี และส่ ง เสริ ม เกษตรกรรม ทางเลือก ซึ่ งปั จจุบนั ผูบ้ ริ โภคนิ ยมเลือกซื้ อผลผลิตที่ได้จากเกษตรธรรมชาติมากยิ่งขึ้น มีอุปสงค์ที่ เพิ่มสู งขึ้นในตลาดโลก ถึงผลที่ได้น้ นั เกษตรกรหลายรายยังไม่เชื่ อว่ากระบวนการผลิตตามแนวทาง เกษตรอินทรี ยจ์ ะช่วยเพิม่ ผลผลิต และผลิตผลจะมีคุณภาพรวมถึงได้ราคาดีมากกว่าเดิม แต่ถา้ หากมี นโยบายส่ งเสริ มให้เห็นความสาคัญของเกษตรอินทรี ย ์ เกษตรกรก็จะผลิตผักเกษตรอินทรี ยก์ นั มาก ขึ้น


108 13. การมีศกั ยภาพและทัศนคติที่ดีต่อเกษตรอินทรี ยข์ องเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ต่อเกษตรอินทรี ย ์ หากรัฐบาลหาทางส่ งเสริ มให้เกษตรกรไทยหันมาปลูกเกษตรอินทรี ยม์ ากขึ้น และ รัฐให้ออกนโยบายช่วยเหลือให้สิทธิ ประโยชน์ต่างๆ แก่เกษตรกร ด้วยการสนับสนุนงบประมาณใน การทาเกษตรอิ นทรี ย ์ จะช่ วยให้มีเกษตรสนใจในทาเกษตรอินทรี ยเ์ พิ่มขึ้ น สาคัญคื อภาครั ฐต้อง สร้างมาตรฐานการผลิตให้สินค้าเกษตรอินทรี ยภ์ ายในประเทศเพื่อสร้างความน่าเชื่ อถือให้กบั นานา ประเทศให้รู้จกั และยอมรับสิ นค้าเกษตรอินทรี ยข์ องไทย 14. การสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ และภาคเอกชนอย่ า งจริ งจัง และต่ อ เนื่ อ ง ในปัจจุบนั มีผปู ้ ระกอบการธุ รกิจอาหารและการเกษตรจานวนหลายราย ที่ได้ให้ความสนใจในการ ปรั บเปลี่ ยนการผลิ ตมาเป็ นเกษตรอิ นทรี ย ์ ซึ่ งผูป้ ระกอบการเหล่านี้ มกั จะมี ฟาร์ มเป็ นของตัวเอง หรื อไม่ก็มีฟาร์ มเกษตรกรที่รับจ้างการผลิตให้อยู่ ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ โลก ที่ทาให้การขายสิ นค้าเกษตรและอาหารทัว่ ไปชะลอตัวลง ประกอบกับสิ นค้าการเกษตรแทบ ทุกชนิ ดมีการปรับตัวสู งเพิ่มขึ้น ทาให้ผลิตภัณฑ์เกษตรทัว่ ไปของประเทศไทยเริ่ มมีความสามารถ ในการแข่ ง ขันในต่ า งประเทศได้น้อยลง การปรั บเปลี่ ย นมาทาผลิ ตภัณฑ์เกษตรอิ นทรี ย ์ จึงเป็ น กลยุทธ์ใหม่ที่ผปู ้ ระกอบการไทยหันมาให้ความสนใจ ซึ่งจะช่วยลดปั ญหาความไม่มนั่ คงทางอาหาร ที่เกิ ดขึ้น ทั้งนี้ เพราะเกษตรอินทรี ยค์ านึ งถึ งธรรมชาติและสร้ างความยัง่ ยืนให้กบั แหล่งทรัพยากร อาหารด้วย ต้ นทุนและผลตอบแทนในการปลูกผักเกษตรอินทรีย์ ต้ นทุนการผลิต จากการศึกษาต้นทุนของการปลูกผักสลัดแบบเกษตรอินทรี ย ์ โดยการค้นคว้าข้อมูลและ สัมภาษณ์จากผูน้ ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนและเกษตรกรผูป้ ลูกผักแบบเกษตรอินทรี ย ์ พบว่าในการปลูก ผักสลัดแบบเกษตรอินทรี ยต์ น้ ทุนที่เกิดขึ้นนั้นประกอบด้วยต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปร เป็ นค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิ ดขึ้นโดยผันแปรตามปริ มาณการผลิ ต ซึ่ งได้แก่ ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าบารุ งรักษาพันธุ์พืช ค่าวัสดุในการบารุ งรักษาและวัสดุอื่นๆ มีรายละเอียดดังนี้


109 ค่าเมล็ดพันธุ์ : ในการปลูกผักสลัดบนพื้นที่ 0.5 ไร่ ใช้เมล็ดพันธุ์ 5 ชนิด ชนิดละ 160 บาท ต่อระยะเวลาในการปลูก 1 รอบ (45 วัน) ปุ๋ ยอินทรี ย ์ : ราคา 2,000 บาท ใช้ได้นาน 12 เดือน น้ าหมักชีวภาพ : ราคา 150 บาท ใช้ได้นาน 1 เดือน ฮอร์โมนหวานกรอบ : ราคา 1,300 บาท ใช้ได้นาน 3 เดือน กลูโคส : ราคา 300 บาท ใช้ได้นาน 1 เดือน ไตรโคเดอร์มา : ราคา 180 บาท ใช้ได้นาน 1 เดือน น้ าตาล : ราคา 150 บาท ใช้ได้นาน 1 เดือน สารสกัดชีวภาพ : ราคา 1,000 บาท ใช้ได้นาน 3 เดือน ปูนมาร : ราคา 200 บาท ใช้ได้นาน 1 เดือน วัสดุในการบารุ งรักษาและวัสดุอื่นๆ รายละเอียดดังตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-1 แสดงรายละเอียดของวัสดุในการบารุ งรักษาและวัสดุอื่นๆ วัสดุในการบารุ งรักษา จอบ จานวน 3 ด้าม เสี ยม จานวน 3 ด้าม คราด จานวน 3 ด้าม สายยางรดน้ า 15 เมตร จานวน 5 เส้น บัวรดน้ า จานวน 2 ใบ รวม วัสดุอนื่ ๆ ตาชัง่ 2 กก. จานวน 1 ตัว ตะแกรง จานวน 1 โหล กะละมัง จานวน 1 โหล ลังพลาสติก จานวน 20 ใบ รวม

ราคา (บาท) 720 540 600 450 144 2,454 ราคา (บาท) 250 150 599 4,800 5,799

ต้นทุนคงที่ เป็ นค่าใช้จ่ายการผลิ ตที่เกิ ดขึ้นคงที่ ไม่ผนั แปรตามปริ มาณการผลิ ต ซึ่ งได้แก่ ค่าซ่อมแซมและบารุ งรักษา ค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ รายละเอียดดังตารางที่ 4-2


110 ตารางที่ 4-2 แสดงมูลค่าและค่าเสื่ อมราคาของอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตผักเกษตรอินทรี ยข์ อง วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี ค่าอุปกรณ์ กระบะเพาะเมล็ด สปริ งเกอร์ ปั้ มน้ า ตูท้ าความเย็น No.1 ตูท้ าความเย็น No.2 รถขนส่ งผัก คอมพิวเตอร์ รวม

ราคา (บาท) 1,080 6,000 2,000 30,000 20,000 560,000 25,000 644,080

จานวนปี ที่ใช้ (ปี ) 3 5 5 5 5 10 5

ค่าเสื่ อมราคา ต่อปี (บาท) 360 1,200 400 6,000 4,000 56,000 5,000 72,960

ที่มา: จากการสัมภาษณ์และการคานวณ

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงาน นอกจากต้นทุนการผลิ ต ซึ่ งประกอบด้วยต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่แล้ว ยังมีค่าใช้จ่าย ในส่ วนของค่า ใช้จ่า ยในการดาเนิ นงาน ประกอบด้วยค่า ใช้จ่า ยในการขายและค่า ใช้จ่ายในการ บริ หาร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร แบ่งเป็ นค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารผันแปร ได้แก่ ค่า ขนส่ ง (ค่าน้ ามัน+ค่าทางด่วน) ค่าบรรจุภณ ั ฑ์ ค่าวัสดุสานักงาน ค่าสาธารณู ปโภค และค่าใช้จ่ายใน การขายและบริ หารคงที่ ได้แก่ ค่าโฆษณา และค่าใช้จ่ายในการพัฒนาความรู ้ ซึ่ งเป็ นค่าใช้จ่ายที่ เกิ ดขึ้นจากการพาสมาชิ กไปศึกษาดูงาน เพื่อเป็ นการเพิ่มพูนความรู ้และนามาพัฒนากระบวนการ ผลิตให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น


111 ตารางที่ 4-3 แสดงต้นทุนและค่าใช้จ่ายของการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ยท์ ี่เกิดขึ้นตลอดทั้งปี รายการ ต้ นทุนการผลิต : ต้ นทุนการผลิตผันแปร 1) ค่าเมล็ดพันธุ์ 2) ปุ๋ ยอินทรี ย ์ 3) น้ าหมักชีวภาพ 4) ฮอร์ โมนหวานกรอบ 5) กลูโคส 6) ไตรโคเดอร์มา 7) น้ าตาล 8) สารสกัดชีวภาพ 9) ปูนมาร์ล 10) วัสดุในการดูแลรักษา 11) วัสดุอื่นๆ รวมต้ นทุนการผลิตผันแปร ต้ นทุนการผลิตคงที่ 1) ค่าเสื่ อมราคา-อุปกรณ์การเกษตร 2) ค่าเสื่ อมราคา-ตูท้ าความเย็น No.1 3) ค่าเสื่ อมราคา-ตูท้ าความเย็น No.2 2) ค่าซ่อมแซมและบารุ งรักษา รวมต้ นทุนการผลิตคงที่ รวมต้ นทุนการผลิต ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร : ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหารผันแปร 1) ค่าขนส่ ง (ค่าน้ ามัน+ค่าทางด่วน) 2) ค่าบรรจุภณั ฑ์ 3) ค่าวัสดุสานักงาน

จานวนเงิน (บาท)

6,400.00 2,000.00 1,800.00 5,200.00 3,600.00 2,160.00 1,800.00 4,000.00 2,400.00 2,454.00 5,799.00 37,613.00 1,960.00 6,000.00 4,000.00 13,250.00 25,210.00 62,823.00

33,600.00 2,592.00 1,200.00


112 รายการ 4) ค่าสาธารณูปโภค รวมค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหารผันแปร ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหารคงที่ 1) ค่าโฆษณา 2) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาความรู ้ 3) ค่าเสื่ อมราคา-รถขนส่ งผัก 4) ค่าเสื่ อมราคา-คอมพิวเตอร์ รวมค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหารคงที่ รวมค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร

จานวนเงิน (บาท) 4,800.00 42,192.00 8,000.00 5,500.00 56,000.00 5,000.00 74,500.00 116,692.00

ตารางที่ 4-4 แสดงต้นทุนผันแปรต่อหน่วยของการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ยต์ ลอดทั้งปี รายการ ต้นทุนการผลิตผันแปร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารผันแปร ต้นทุนผันแปรรวม (บาท) ปริ มาณที่ผลิต (กก.) - ร้านอาหาร - ขายปลีก ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (บาท/กก.) - ร้านอาหาร - ขายปลีก

จานวน 37,613.00 42,192.00 79,805.00 2,080.00 2,600.00 38.37 30.69

ผลตอบแทนจากการผลิต ผลตอบแทนที่ ไ ด้รับ จากการปลู ก ผัก สลัดแบบเกษตรอิ นทรี ย ์ แบ่ ง ได้เป็ น 2 กลุ่ ม คื อ ประเภทขายส่ ง ให้ร้า นอาหารและประเภทขายปลี ก ซึ่ ง การขายส่ งให้ร้านอาหารจะขายในราคา


113 กิโลกรัมละ 160 บาท ปริ มาณ 40 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ ส่ วนการขายปลีกนั้นจะขายในราคากิโลกรัม ละ 300 บาท ปริ มาณ 50 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ ผลตอบแทนที่ได้รับทั้งหมดดังตารางที่ 4-5 ตารางที่ 4-5 แสดงผลตอบแทนของการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ยต์ ลอดทั้งปี รายการ

จานวน

ปริ มาณที่ผลิต (กก.) - ร้านอาหาร - ขายปลีก ราคาขาย (บาท/กก.) - ร้านอาหาร - ขายปลีก ผลตอบแทนรวม (บาท) ต้นทุนการผลิตรวม (บาท) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารรวม (บาท) ผลตอบแทนจากการดาเนินงาน (บาท) ภาษีเงินได้ (บาท) กาไรสุ ทธิ (บาท)

2,080.00 2,600.00 160.00 300.00 1,112,800.00 62,823.00 116,692.00 933,285.00 933,285.00

การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตผักเกษตรอินทรีย์ การวิ เ คราะห์ ต้น ทุ น ปริ ม าณ ก าไร เป็ นการวิ เคราะห์ บ นฐานข้อ มู ล ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัย 3 ประการ คือ ต้นทุน รายได้ และกาไร รวมถึงปั จจัยทั้ง 3 ประการจะมี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อระดับกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกันมีการเปลี่ยนแปลงไป สมการ แสดงรู ปแบบของความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริ มาณ กาไร มีดงั นี้ กาไรส่ วนเกิน

= รายได้ – ต้นทุนผันแปร = 1,112,800 .00 – 79,805.00 = 1,032,995 บาท

แสดงให้เห็นว่า วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวมีความสามารถในการทากาไรของธุ รกิจได้ดี


114

อัตรากาไรส่ วนเกิน = = =

รายได้รวม – ต้นทุนผันแปร รายได้รวม 1,112,800.00 – 79,805.00 1,112,800.00

(%) (%)

92.83 % หรื อ ร้อยละ 92.83

จากการคานวณแสดงให้เห็ นว่า วิสาหกิ จชุ มชนสวรรค์สีเขียวหนองรี มีการดาเนิ นงานที่ดี เพราะมีอตั รากาไรส่ วนเกินมากถึง 92.83% กาไรส่ วนเกินต่อหน่วย (ร้านอาหาร) = ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = 160.00 – 38.37 = 121.63 บาท กาไรส่ วนเกินต่อหน่วย (ขายปลีก)

= ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = 300.00 – 30.69 = 269.31 บาท

แสดงให้เห็ นว่า จานวนเงิ นจากทุ ก ๆ หน่ วยของการขายในร้ านอาหารและขายปลี ก จะ สามารถชดเชยต้นทุ นคงที่ และยังมี เหลื อเป็ นกาไรจากการดาเนิ นงานทั้งหมด 121.63 บาท และ 269.31 บาท ตามลาดับ การศึก ษาต้นทุ นและผลตอบแทนในการลงทุ นโดยใช้ก ารวิเคราะห์ ทางการเงิ น เพื่ อ พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการ ได้แก่ จุดคุม้ ทุน (Break Even point) อัตราผลตอบแทนจาก การลงทุน (Return on Investment: ROI) ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period: PB) มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present value: NPV) และอัตราส่ วนรายได้ต่อต้นทุน (Benefit-Cost Ratio: B/C) โดยใช้สูตร ดังต่อไปนี้


115 1. การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน เพื่อหาปริ มาณการผลิตที่ คุม้ ทุนและยอดขายที่คุม้ ทุน สามารถ คานวณได้ดงั นี้

ยอดขาย ณ จุดคุม้ ทุน

= =

ต้นทุนคงที่ อัตรากาไรส่ วนเกิน 99,710.00 0.9283

= 107,411.40 บาท

ปริ มาณการผลิต ณ จุดคุม้ ทุน (ร้านอาหาร)

= =

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 99,710.00

121.63 = 819.78 หน่วย

ปริ มาณการผลิต ณ จุดคุม้ ทุน (ขายปลีก)

= =

ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 99,710.00

269.31 = 370.24 หน่วย ดัง นั้นจุ ดคุ ้ม ทุ นของการผลิ ตผัก เกษตรอิ นทรี ย ์ใ นปี 2555 รายได้ ณ จุ ดคุ ้ม ทุ นเท่ า กับ 107,411.40 บาท และปริ มาณการผลิต ณ จุดคุม้ ทุน สาหรับร้านอาหารและขายปลีก เท่ากับ 819.78 กิโลกรัม และ 370.24 กิโลกรัม ตามลาดับ


116 ส่ วนเกินทีป่ ลอดภัย (Margin of Safety) สามารถคานวณได้ดงั ต่อไปนี้ ส่ วนเกินที่ปลอดภัย

= ยอดขาย - ยอดขาย ณ จุดคุม้ ทุน = 1,112,800 - 107,411.40 = 1,005,388.60 บาท

อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย = =

ยอดขาย – ยอดขาย ณ จุดคุม้ ทุน ยอดขาย 1,112,800.00 – 107,411.40 1,112,800.00

× 100

× 100

= 90.35 % หรื อ ร้อยละ 90.35 จากการคานวณแสดงให้เห็นว่า ยอดขายของวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์สีเขียวหนองรี สามารถ ลดลงได้ถึง 1,005,388.60 บาท ก่ อนเกิ ดการขาดทุ น หรื ออาจกล่ าวได้ว่าในยอดขาย 100 บาท วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี มีส่วนเกินที่ปลอดภัยประมาณ 90 บาท 2. อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) วิธีคานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน = = ROI

กาไรสุ ทธิ สิ นทรัพย์ที่ใช้ในการลงทุน 933,285.00 652,323.00

(%) (%)

= 1.43 % หรื อ ร้อยละ 143

ผลการศึกษาวิเคราะห์พบว่าโครงการมีอตั ราผลตอบแทนจากการลงทุนเท่ากับ ร้อยละ 143 แสดงว่าโครงการนี้ มีการใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์ดาเนิ นงานก่อให้เกิ ดผลกาไร จึงคุ ม้ ค่าต่อการ ลงทุน


117 3. ระยะเวลาคืนทุน (PB) วิธีคานวณระยะเวลาคืนทุน (PB) สู ตรการคานวณ = กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน

เงินทุนเริ่ มแรก กระแสเงินสดในการดาเนินงาน

= รายได้ – ค่าใช้จ่าย + ค่าเสื่ อมราคา = 1,112,800.00 – 116,692.00 + 61,000.00 = 1,057,108.00 บาท

ระยะเวลาคืนทุน = 652,323.00 1,057,108.00 = 0.61 ปี ดังนั้น โครงการจะมี ระยะเวลาในการคื นทุ นเท่ากับ 0.61 หรื อ เป็ นระยะเวลาประมาณ 7 เดือน 4. มูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ (NPV) มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ สามารถแสดงได้ดงั สมการต่อไปนี้ NPV

= PVB - PVC = มูลค่าปั จจุบนั ของผลตอบแทน – มูลค่าปั จจุบนั ของค่าใช้จ่าย

เงินลงทุนเริ่ มแรก ปี 2555 กระแสเงินสดดาเนินงาน ณ ปี 2555

= 652,333.00 บาท = รายได้ - ค่าใช้จา่ ย + ค่าเสื่ อมราคา = 1,112,800.00 – 116,692.00 + 61,000.00 = 1,057,108.00 บาท


118 สาหรับปี 2556 - 2559 ตั้งข้อสมมติฐานว่ากระแสเงินสดดาเนิ นงานจะเพิ่มขึ้นร้ อยละ 5 (1.05) กระแสเงินสดดาเนินงาน ณ ปี 2556

= 1,057,108.00 x 1.05 = 1,109,963.40 บาท

กระแสเงินสดดาเนินงาน ณ ปี 2557

= 1,109,963.40 x 1.05 = 1,165,461.57 บาท

กระแสเงินสดดาเนินงาน ณ ปี 2558

= 1,165,461.57 x 1.05 = 1,223,734.65 บาท

กระแสเงินสดดาเนินงาน ณ ปี 2559

= 1,223,734.65 x 1.05 = 1,284,921.38 บาท

ปี ที่ 1 ม.ค. 2555 31 ธ.ค. 2555 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557 31 ธ.ค. 2558 31 ธ.ค. 2559

กระแสเงินสด อัตราคิดลด * 7.5% -652,333.00 1,057,108.00 0.9302 1,109,963.40 0.8653 1,165,461.57 0.8050 1,223,734.65 0.7488 1,284,921.38 0.6966

กระแสเงินสดคิดลด -652,333.00 983,321.86 960,451.33 938,196.56 916,332.51 895,076.23

หมายเหตุ: อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงจากอัตราดอกเบี้ยเงินกูข้ องธนาคารพาณิ ชย์ ณ ปี ปั จจุบนั คาดการณ์วา่ ในอนาคต อาจเพิ่ม/ลด ไม่เกิน 1%

NPV

= -652,333.00 + 983,321.86 + 960,451.33 + 938,196.56 + 916,332.51 + 895,076.23 = 4,041,045.49 บาท


119 ผลจากการวิเคราะห์ พ บว่า ณ ระดับ อัตราคิ ดลดร้ อยละ 7.5 ต่ อปี โครงการมี มู ล ค่ า ปัจจุบนั สุ ทธิ (NPV) เท่ากับ 4,041,045.49 บาท แสดงให้เห็นว่าการผลิตผักเกษตรอินทรี ยข์ องตาบล หนองรี จังหวัดชลบุรี คุม้ ค่าแก่การลงทุน 5. อัตราส่ วนของผลตอบแทนต่ อต้ นทุน (B/C) วิธีคานวณอัตราส่ วนของผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) B/C ratio = = =

PVB PVC ผลรวมของกระแสเงินสดรับคิดลด เงินลงทุนเริ่ มแรก 4,041,045.49 652,333.00

= 6.19 (B/C > 1 คุม้ ค่าการลงทุน, B/C = 1 เท่าทุน, B/C < 1 ไม่คุม้ ทุน ขาดทุน) ผลการศึกษาวิเคราะห์พบว่า ณ ระดับอัตราคิดลดร้ อยละ 7.5 ต่อปี โครงการมีอตั ราส่ วน ผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C Ratio) เท่ากับ 6.19 แสดงว่า โครงการดังกล่าวเป็ นที่ยอมรับ ซึ่ งผัก เกษตรอินทรี ยใ์ ห้ผลตอบแทนจากการลงทุนสู งกว่าต้นทุนของโครงการ จึงคุม้ ค่าต่อการลงทุน จากข้อมูลข้างต้นจะพบว่า การดาเนิ นงานของวิสาหกิจชุ มชนไม่ได้มองในส่ วนของค่าแรง เป็ นต้นทุนการผลิต เนื่องจากเกษตรกรเห็นว่าเป็ นผูป้ ลูกผักด้วยตนเองไม่มีการจ้างแรงงาน และเป็ น ความสุ ขจากการใช้พ้นื ที่และเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่ งหากมองในมุมของภาคธุ รกิจจะต้องมีการ คานวณค่าแรงและรวมเป็ นต้นทุนการผลิตด้วย ซึ่ งหากมีการคิดค่าแรงงานจะพบว่า ในช่วงลงเมล็ด ใหม่และช่วงเก็บผลผลิตมีตน้ ทุนค่าแรงประมาณ 250 บาท/วัน และในการดูแลรักษามีตน้ ทุนค่าแรง ประมาณ 100 บาท/วัน ดังนั้นในการปลูกผักบนพื้นที่ 0.5 ไร่ ต้นทุนค่าแรงเท่ากับ 38,900 บาทต่อปี


120 นอกจากนี้ ยงั มีในส่ วนของค่าเช่าพื้นที่ซ่ ึ งต้องรวมเป็ นต้นทุนการผลิตเช่นกัน หากประเมิน ราคาที่ดินพบว่า การเช่าที่ดินเพื่อทาการเกษตรมีค่าเช่าที่ดินประมาณไร่ ละ 1,000 บาทต่อปี 1 ดังนั้น ในการปลูกผักบนพื้นที่ 0.5 ไร่ ต้นทุนค่าเช่าที่ดินเท่ากับ 500 บาทต่อปี เมื่อนามารวมเป็ นต้นทุนการผลิตจะทาให้ตวั เลขของต้นทุนการผลิตจากเดิม 62,823 บาท บวกกับค่าแรงซึ่ งเป็ นต้นทุนผันแปร 38,900 บาทต่อปี และค่าเช่าที่ดินซึ่ งเป็ นต้นทุนคงที่ 500 บาท ต่อปี ทาให้ตน้ ทุนการผลิตเพิ่มขึ้นเป็ น 102,223 บาท และผลตอบแทนจากการดาเนินงานลดลงเป็ น 893,885 บาท แสดงการเปรี ยบเทียบผลตอบแทนดังตารางที่ 4-6 ตารางที่ 4-6 แสดงผลตอบแทนจากการดาเนินงานของวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี เปรี ยบเทียบกับผลตอบแทนจากการดาเนินงานในภาคธุ รกิจ รายการ ผลตอบแทนรวม (บาท) ต้นทุนการผลิตรวม (บาท) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารรวม (บาท) ผลตอบแทนจากการดาเนินงาน (บาท) ภาษีเงินได้ (บาท) กาไรสุ ทธิ (บาท)

วิสาหกิจชุ มชน 1,112,800.00 62,823.00 116,692.00 933,285.00 933,285.00

ภาคธุรกิจ 1,112,800.00 102,223.00 116,692.00 893,885.00 893,885.00

นอกจากต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนจากการดาเนินที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ในส่ วนของ การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนต่างๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย จากการวิเคราะห์จะพบว่า เดิมมี กาไรส่ วนเกิ นเท่ากับ 1,032,995 บาท ลดลงเป็ น 994,095 บาท ทาให้อตั รากาไรส่ วนเกิ นเท่ากับ ร้อยละ 89.33 การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนพบว่า ยอดขาย ณ จุดคุม้ ทุนเปลี่ยนแปลงไปเป็ น 112,179.60 บาท และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนลดลงเป็ นร้อยละ 137

1

กรมธนารักษ์ จังหวัดชลบุรี, 2556


121 ปัญหาของเกษตรกรในการปลูกผักเกษตรอินทรีย์ของวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียว จากการศึ ก ษาปั ญหาและอุ ป สรรคในการปลู ก ผักเกษตรอิ นทรี ย ์ของเกษตรกร พบว่า มี ปั ญหา ดังต่อไปนี้ 1. ปัญหาในด้านการผลิต 1.1 ปั ญหาโรคระบาดและศัตรู พืช เป็ นปั ญหาที่พบมากที่สุดในการผลิตผักอินทรี ย ์ โดยเฉพาะ ในช่ วงเก็ บ เกี่ ย วจะพบโรคต่ า งๆ ได้แ ก่ โรคใบจุ ด โรคหัวเน่ า โรครากปม เป็ นต้น โดยเฉพาะโรคหนอนชอนใบและหนอนกินใบ ถ้าอุณหภูมิไม่สูง ความชื้ นสู งแผลจะมีสีดา ใบจะ ตายและบางลง ถ้าอากาศแห้งจะทาให้ใบแห้งเป็ นผลให้แบคทีเรี ยสามารถเข้าทางบาดแผลที่แมลง กัดกินหรื อทางรู เปิ ดของใบได้ ในส่ วนของการแพร่ ระบาดไปตามน้ า ซึ่ งในแต่ละฤดูการเพาะปลูก มักจะมีปัญหาในแต่ละช่วงแตกต่างกันไป เช่น ในฤดูร้อนจะเกิดปั ญหาผักขม ในฤดูฝนพื้นที่ชุ่มน้ า ทาให้ผกั เจริ ญเติบโตได้ไม่เต็มที่ ในฤดู หนาวเกิ ดปั ญหาผักชะลูด อี กทั้งการที่ แมลงกิ นใบ ทาให้ ได้ผลผลิตผักน้อยลงด้วย โดยปั ญหาต่างๆเหล่านี้ ลว้ นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงตามสภาพธรรมชาติ ตามวิถีของเกษตรอินทรี ยท์ ี่เหมาะสมจึงไม่สามารถกาจัดโรคระบาดและศัตรู พืชได้ดว้ ยสารเคมี แต่ มีวธิ ี ที่ช่วงลดและป้ องกันความเสี ยหายได้คือ เสริ มสร้างความแข็งแรงให้กบั พืช โดยให้ความสาคัญ ต่อการปรับปรุ งบารุ งดินและการปรับสภาพแวดล้อมของระบบนิ เวศ เมื่อมีสภาพดินที่อุดมสมบูรณ์ และสภาพแวดล้อมที่ดี การรบกวนจากศัตรู พืชและโรคระบาดก็จะน้อยลง 1.2 ปั ญหาด้านแรงงาน แรงงานที่มีความสนใจในการปลูกผักเกษตรอินทรี ยย์ งั มีอยู่ จานวนน้อยมากในชุ มชน เนื่ องจากเกษตรกรที่ผลิ ตผักจากสารเคมีบางส่ วนเห็ นว่า การทาเกษตร อินทรี ยต์ อ้ งใช้เวลาในการดูแลเป็ นจานวนมาก ให้ผลผลิ ตได้นอ้ ยกว่า ทาให้เกิดปั ญหาการผลิ ตไม่ เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภค และยังไม่สามารถเพิ่มกาลังการผลิตได้ในปั จจุบนั 2. ปัญหาด้านการตลาด 2.1 เนื่ อ งจากราคาผัก เกษตรอิ น ทรี ย ์ย งั ถู ก มองว่า มี ร าคาสู ง เมื่ อเที ย บกับ ราคาผัก ทัว่ ๆไปตามท้องตลาด ดังนั้นเมื่อสิ นค้าของชุ มชนเข้าตลาดในช่วงแรกจะได้รับกระแสตอบรับจาก


122 ผูบ้ ริ โภคไม่ดีนกั เพราะผูบ้ ริ โภคมักจะคานึงถึงด้านราคาเป็ นอันดับแรก ทาให้ผกั เกษตรอินทรี ยข์ อง ชุมชนยังจาหน่ายไม่ได้มากนัก 2.2 การจัดจาหน่ายสู่ ผบู ้ ริ โภครายย่อย โดยชุ มชนมีลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายหลัก คือ กลุ่ม พนักงานบริ ษทั ซึ่ งส่ วนมาก กรณี ที่ช่วงเดื อนนั้นๆที่มีจานวนวันหยุดหลายวัน ทาให้ยอดคาสั่งซื้ อ มักจะลดลงตามไปเพราะวิสาหกิจฯมีการบริ การจัดส่ งถึงที่ตามบริ ษทั ต่างๆสู่ ผบู ้ ริ โภครายย่อย ทาให้ ไม่สามารถประมาณการผลิตได้แน่นอน ดัชนีความสุ ขของเกษตรกรวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สีเขียว ในยุคอดีตนั้นอาชี พของคนส่ วนใหญ่ในตาบลหนองรี คือ การทาการเกษตร ปลูกผัก ปลูก ผลไม้ ซึ่ งแต่เดิมทาการเกษตรโดยใช้สารเคมีจานวนมาก การใช้สารเคมีดงั กล่าวทาให้เกิดการสะสม ตกค้าง และเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพในระยะยาว อีกทั้งการทาเกษตรเคมียงั มีตน้ ทุนการผลิตเกี่ยวกับ สารเคมี จานวนมาก ซึ่ ง เกษตรกรไม่ สามารถควบคุ ม ราคาได้ ทาให้ต้องประสบกับ ปั ญหาภาระ หนี้ สินจานวนมาก และสารเคมี ที่ไ ด้จากการทาเกษตรอาจเป็ นอันตรายแก่ เกษตรกรผูป้ ลู กและ ผูบ้ ริ โภคอีกด้วย จากความคิดริ เริ่ มในการเปลี่ ยนแปลงวิถีทางการเกษตรของดร.อนุ รักษ์ เรื องรอบ ได้บุกเบิกก่อตั้งวิสาหกิ จชุ มชนสวรรค์สีเขียวหนองรี ข้ ึนในช่วงต้นปี ที่ผา่ นมา เพื่อให้เกษตรกรใน ชุ มชนหนองรี เปลี่ ย นวิถีชีวิตจากการท าเกษตรเคมี มาเป็ นเกษตรอิ นทรี ยม์ ากขึ้ นและได้ขอความ ร่ วมมือจากศูนย์ส่งเสริ มการเกษตรของตาบลหนองรี ให้เข้ามามีส่วนร่ วมอีกด้วย จากการสั ม ภาษณ์ เกษตรกรในเครื อข่ า ยวิส าหกิ จฯ ซึ่ ง เกษตรกรผูใ้ ห้ สั ม ภาษณ์ จ านวน 3 ครัวเรื อนของเกษตรกรเครื อข่ายทั้งหมด คิดเป็ นร้อยละ 33.33 ได้ยืนยันว่า การทาเกษตรอินทรี ย ์ ทาให้มีความสุ ขกว่าแต่เดิมมากขึ้นเพราะเป็ นการเกษตรที่พ่ งึ พาธรรมชาติ เกษตรกรจะได้สัมผัสและ ใช้ชีวิตอยูร่ ่ วมกับธรรมชาติเป็ นส่ วนใหญ่ และสามารถรอดพ้นจากปั ญหาภาระขาดทุนและหนี้ สิน รายรับที่ได้ก็สามารถเลี้ ยงตนเองและครอบครัวได้ไม่ลาบาก อีกทั้งการเกษตรอินทรี ยย์ งั สามารถ กระจายความสุ ขไปอย่างทัว่ ถึงทั้งส่ วนของผูบ้ ริ โภค และเพื่อนบ้านในชุมชนด้วย เพราะจากการทา เกษตรอินทรี ยน์ ้ นั ต้นทุ นการผลิ ตต่อหน่ วยมี จานวนต่ ากว่าการเกษตรแบบใช้สารเคมี เกษตรกร สามารถลดต้นทุนการผลิตได้จากเดิม เนื่ องจากลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับสารเคมีในการเพาะปลูก เช่น ยาฆ่าแมลง ยาปราบวัชพืช ปุ๋ ยเคมี เป็ นต้น โดยการทาเกษตรอินทรี ยจ์ ะใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยพืชสด น้ าหมักชี วภาพ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ หรื อปุ๋ ยชี วภาพแทน เพื่อฟื้ นฟูดินให้เหมาะสมแก่การเพาะปลู กซึ่ งปุ๋ ย


123 ส่ ว นหนึ่ งได้ม าจากเศษผัก ผลไม้ใ นครั ว เรื อนหรื อ เป็ นวัช พื ช ในชุ ม ชนท าให้ มี ต้น ทุ น ต่ า ลง นอกจากนี้ วิสาหกิจชุ มชนสวรรค์สีเขียวก็ให้ความสาคัญกับผูผ้ ลิต ด้วยการรับซื้ อผักเกษตรอินทรี ย ์ จากเกษตรกรในราคายุติธรรม โดยใช้นโยบายการประกันราคากลางโดยอ้างอิงจากราคาตลาดเป็ น หลัก เกษตรกรมี ค วามพึ ง พอใจกับ ราคาที่ ไ ด้รั บ เป็ นอย่า งยิ่ ง แต่ สิ่ ง ที่ ส าคัญ เหนื อ สิ่ ง อื่ น ใดคื อ เกษตรกรของวิสาหกิ จชุ มชนทุกคนจะมีสุขภาวะที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ รวมถึงสภาวะความ เป็ นอยู่ที่ ดีด้า นร่ า งกาย จิ ตใจ สัง คม และสภาพแวดล้อมโดยรวม ท าให้มี ภูมิ ต้านทานที่ ดีและมี ความสามารถในการสร้างสุ ขภาวะที่ดีท้ งั ตนเองและผูบ้ ริ โภค ส่ งผลให้ผบู ้ ริ โภคได้อาศัยอยูร่ ่ วมกัน กับธรรมชาติ อย่างสงบสุ ข มีผลให้ผบู ้ ริ โภคได้รับคุ ณค่าทางโภชนาการสู งและเป็ นประโยชน์ต่อ สุ ขภาพ ทั้งผูใ้ ห้และผูร้ ับต่างก็มีความสุ ขด้วยกันทั้งสิ้ น


124

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการศึกษา การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตผักเกษตรอินทรี ยข์ องวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์ สี เขียวหนองรี ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรี มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสภาพสังคม ทัว่ ไปของเกษตรกร ศึ ก ษาวิเ คราะห์ ต้น ทุ นและผลตอบแทนในการผลิ ต ผัก เกษตรอิ นทรี ย ์ของ วิสาหกิจชุมชน รวมถึงปั จจัยที่มีผลกระทบต่อความสาเร็ จในการผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ เพื่อศึกษาว่า ความสัมพันธ์ของการผลิ ตผักเกษตรอินทรี ยน์ ้ นั ส่ งผลต่อความมัน่ คงทางอาหารซึ่ งเป็ นวิกฤติทาง อาหารของโลกที่สาคัญในปั จจุบนั โดยสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ต้นทุนรวมของกิ จการทั้งปี เท่ากับ 179,515 บาท แบ่งเป็ นต้นทุนผันแปรและต้นทุน คงที่เท่ากับ 79,805 บาทและ 99,710 บาท ตามลาดับ คิดเป็ นร้อยละ 44.46 และร้อยละ 55.54 ของ ต้นทุนทั้งหมด จะเห็ นได้ว่า ต้นทุนส่ วนมากเป็ นต้นทุนคงที่ เพราะมีการใช้ประกอบการผลิตมาก ที่ สุด ส่ วนรายได้จากการผลิ ตผักอิ นทรี ยต์ ่อปี เท่ากับ 1,112,800 บาท และมี กาไรสุ ทธิ เท่ากับ 933,285 บาท สาหรับการทาเกษตรอินทรี ยส์ ามารถลดต้นทุนการผลิตได้ ทั้งในส่ วนต้นทุนการผลิต คงที่ เช่ น ค่าอุ ปกรณ์ ค่าน้ ามัน โดยทาการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการใช้งานให้มากขึ้ น รวมกลุ่ ม เกษตรกรเพื่ อช่ วยเหลื อซึ่ ง กันและกันได้ ส่ วนต้นทุ นการผลิ ตผันแปร เช่ น ปุ๋ ยอิ นทรี ย ์ น้ า หมัก ชีวภาพ ค่ากลูโคสและสารสกัดที่เกี่ยวข้องบางส่ วนสามารถผลิตใช้เองในครัวเรื อนได้และบางส่ วน หาซื้ อได้ในราคาประหยัด สามารถลดค่าใช้จ่ายของสารเคมีสังเคราะห์ที่บางตัวราคาสู ง เพราะต้อง นาเข้าจากต่างประเทศ อีกทั้งมีเรื่ องอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมาเกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์ผลตอบแทนการผลิต โดยใช้อตั ราส่ วนทางการเงินในการวิเคราะห์ ได้แก่ 2.1 คานวณกาไรส่ วนเกิน 1,032,995 บาท หรื อคิดเป็ นอัตราร้อยละ 92.83 แสดงให้ เห็ นว่า วิสาหกิ จชุ มชนสวรรค์สีเขียวมีการดาเนิ นงานที่ดี เพราะสามารถสร้ างกาไรได้ถึงร้ อยละ 92.83 จากต้นทุนผันแปรทั้งหมด


125 2.2 คานวณจุดคุม้ ทุน โดยมียอดขาย ณ จุดคุม้ ทุน 107,411.40 บาท และมีปริ มาณการ ผลิ ต ณ จุดคุ ม้ ทุนสาหรับร้ านอาหารและขายปลี ก ที่ 819.78 กิ โลกรั ม และ 370.24 กิ โลกรั ม ตามลาดับ 2.3 คานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ได้ร้อยละ 143 แสดงให้เห็นว่ามี ความคุม้ ค่าต่อการลงทุน และสามารถใช้สินทรัพย์ดาเนินงานให้เกิดประโยชน์ได้ 2.4 คานวณระยะเวลาคืนทุน (PB) ได้เท่ากับ 0.61 ปี แสดงว่าโครงการจะมีระยะเวลา ในการคืนทุนในอีก 0.61 ปี หรื อประมาณ 7 เดือน 2.5 คานวณมูลค่าปั จจุ บนั สุ ทธิ (NPV) โดยกาหนดอัตราคิ ดลดที่ ร้อยละ 7.5 อายุ โครงการ 5 ปี ได้เท่ากับ 4,041,045.49 บาท แสดงให้เห็นว่า การผลิตผักเกษตรอินทรี ยข์ องวิสาหกิจ ชุมชนมีความคุม้ ค่าต่อการลงทุน 2.6 คานวณอัตราส่ วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) ได้เท่ากับ 6.19 บาท แสดงให้เห็น ว่าโครงการดังกล่าวเป็ นที่ยอมรับ ซึ่งผักเกษตรอินทรี ยใ์ ห้ผลตอบแทนจากการลงทุนสู งกว่าต้นทุน ของโครงการ จึงคุม้ ค่าต่อการลงทุน จากการวิเคราะห์ท้ งั หมด จะพบว่าการลงทุนผลิ ตผักเกษตรอินทรี ยใ์ นวิสาหกิจชุ มสวรรค์ สี เขียว มีแนวโน้มการเจริ ญเติบโตในกิ จการอย่างต่อเนื่ อง และคุม้ ค่าในการเสี่ ยงสาหรับการลงทุน อย่างมาก 3. วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ของการผลิ ตผักเกษตรอิ นทรี ยท์ ี่ มีต่อความมัน่ คงทางอาหาร โดยกระบวนการท าเกษตรอิ น ทรี ย ์ เป็ นการเกษตรที่ มี แ นวคิ ด อยู่ บ นฐานของธรรมชาติ การ เพาะปลูกต้องพึ่งพาธรรมชาติเป็ นหลัก โดยเฉพาะการดูแลดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะกับการ เพาะปลูก การดูแลรักษาแหล่งน้ าให้ใสสะอาด และการฟื้ นฟูความหลากหลายทางชี วภาพ ดังนั้น การทาเกษตรอินทรี ยจ์ ะประสบผลสาเร็ จได้เกษตรกรจะต้องมีความรู้ ความชานาญในกระบวนการ ของระบบนิ เวศ นอกจากนี้ แล้วเกษตรอินทรี ยย์ งั ให้ความสาคัญต่อเกษตรกรผูผ้ ลิ ตและชุ มชน เพื่อ มุ่งหวังให้เกิ ดความความสมดุลในวงจรอาหาร การประหยัดพลังงาน การอนุ รักษ์ระบบนิ เวศทาง การเกษตร โดยปฏิ เสธการใช้สารเคมี อย่างเข้ม งวดและรั ก ษาทรั พยากรธรรมชาติ ให้ส มดุ ล เพื่ อ


126 ก่ อให้เกิ ดความยัง่ ยืนในสิ่ งแวดล้อม เพื่ อที่ ในอนาคตจะสามารถป้ องกันปั ญหาความมัน่ คงทาง อาหารได้ หากสังคมและชุ มชนส่ งเสริ มให้มีการทาเกษตรอิ นทรี ยเ์ พิ่มขึ้น และให้รัฐบาลเข้ามามี บทบาทอย่างจริ งจัง โดยเริ่ มจากการให้ความรู ้ ปลู กฝั งความคิ ดแก่ คนในชุ มชน ให้มีการเรี ยนรู ้ กระบวนการปลูกพืชแบบอินทรี ยแ์ ละวางระบบเกษตรอินทรี ยใ์ ห้ดีเพื่อชี วิตของคนในชุ มชน อีกทั้ง สร้างความสามัคคีในชุ มชนเพื่อให้ตระหนักถึ งคุ ณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็ นแหล่ งอาหาร ของโลกถือเป็ นการสร้างความมัน่ คงทางอาหารด้วย ไม่เพียงเท่านั้นยังสามารถถ่ายทอดองค์ความรู ้ ให้ลูกหลานที่กาลังเติบโตช่วยกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยูเ่ ป็ นแหล่งอาหารที่ยงั่ ยืนต่อไป ข้ อเสนอแนะ จากการศึกษาทาให้ได้ขอ้ เสนอแนะเพื่อเป็ นประโยชน์สาหรับการนาไปเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ การผลิตผักเกษตรอินทรี ย ์ ได้ดงั นี้ 1. แนวทางการจัดการต้ นทุนให้ มีประสิ ทธิภาพ เพื่ อป้ องกันไม่ใ ห้ธุรกิ จประสบกับ ปั ญหาขาดทุ น ฉะนั้นธุ รกิ จควรมี การบริ หารจัดการ ต้นทุ นที่ดีและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยจากข้อมูล การวิเคราะห์ ต้นทุ นและผลตอบแทนการผลิ ตผัก เกษตรอินทรี ยข์ องวิสาหกิจชุ มชนสวรรค์สีเขียวหนองรี เป็ นโครงการที่น่าลงทุนและมีผลตอบแทน ที่คุม้ ค่าก็ตาม แต่การเพาะปลูกยังมีความเสี่ ยงค่อนข้างสู ง เนื่องจากการทาเกษตรอินทรี ย ์ข้ ึนอยู่กบั สภาพ ดิน ฟ้ า อากาศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กับผักสลัดเป็ นพืชที่ไม่ค่อยทนกับสภาพอากาศร้อน การ ดูแลเรื่ อง ปุ๋ ยที่ ใช้ในการเพาะปลู กจึงเป็ นสิ่ งสาคัญ เนื่ องจากปุ๋ ยเป็ นปั จจัยสาคัญในการทาเกษตร อินทรี ย ์ ซึ่ งจะไม่ใช้ปุ๋ยเคมี จึ งจาเป็ นที่ จะต้องมีปัจจัยการผลิ ตอื่นมาทดแทนส่ วนนี้ ซึ่ งปุ๋ ยถื อเป็ น ต้นทุ นที่ สาคัญ หากเป็ นเกษตรอิ นทรี ย ์ควรผลิ ตปุ๋ ยจากธรรมชาติ ข้ ึ นมา โดยวิส าหกิ จ ก็ค านึ งถึ ง ต้นทุนด้านนี้ เพียงแต่ยงั อยูใ่ นช่วงเริ่ มต้นเท่านั้น และยังไม่มีแผนในระยะยาวเพื่อช่วยลดต้นทุนการ ผลิต เพื่อให้มีตน้ ทุนที่มีประสิ ทธิ ภาพในอนาคต วิสาหกิจควรดาเนิ นการส่ งเสริ มการผลิตให้ได้ท้ งั ปริ มาณและคุณภาพที่มีมาตรฐาน โดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพเพื่อลดต้นทุนการผลิตอย่างถาวร


127 2. ขยายกาลังการผลิตเพือ่ รองรับการบริโภคทีม่ ีเพิม่ ขึน้ ถึงแม้วา่ การผลิตผักเกษตรอินทรี ยข์ องวิสาหกิจชุมชนสวรรค์สีเขียว จะสามารถสร้างรายได้ ให้เกษตรกรอย่างเพียงพอ แต่ในขณะเดียวกัน ควรมองหาแหล่งรับซื้ อเพื่อขยายตลาดในอนาคตด้วย เพื่ อยกระดับ เกษตรอิ นทรี ย ์ข องวิส าหกิ จให้เป็ นที่ รู้จกั มากขึ้ น เพื่ อเพิ่ม ขี ดความสามารถในการ แข่งขัน โดยเริ่ มจากให้คนในชุ มชนมีองค์ความรู้ เรื่ องเกษตรอินทรี ยอ์ ย่างชานาญ ให้ตระหนักถึ ง คุณประโยชน์จากการทาเกษตรอินทรี ยใ์ นหลายๆ ด้าน เพื่อดึงดูดให้หนั มาทาเกษตรอินทรี ยก์ นั มาก ขึ้น ในขณะเดียวกันวิสาหกิจต้องมองหาช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นเพื่อกระจายสิ นค้าให้มากขึ้นและ กระจายกลุ่มเป้ าหมายเพิ่มขึ้น อาจเป็ นห้างสรรพสิ นค้าในพื้นที่ชุมชนหรื อจังหวัดใกล้เคียงที่ มีความ พร้อมและมีกาลังซื้ อสู ง 3. การส่ งเสริมและให้ การสนับสนุนจากผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้ องทุกองค์ กร เนื่องจากความต้องการของตลาดผูบ้ ริ โภคมีมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปั จจุบนั นี้ กระแสการ ดูแลรักษาสุ ขภาพของประชากรเพิ่มขึ้น ทาให้ผบู ้ ริ โภคใส่ ใจในการเลือกซื้ ออาหารที่ปลอดภัยจาก สารเคมีต่างๆที่ไม่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย การพัฒนาในภาคการผลิตควรมีแผนเพื่อรองรับความ ต้องการในส่ วนนี้ และจาเป็ นอย่า งมากที่ หน่ ว ยงานของภาครั ฐหรื อผูท้ ี่ มี ส่ วนเกี่ ย วข้อ งควรจะ ช่วยกันร่ วมดาเนิ นงานกันอย่างใกล้ชิดเพื่อพัฒนาภาคธุ รกิจการเกษตร ซึ่ งปั จจุบนั นับได้วา่ ภาครัฐ อาจเข้ามามี ส่วนเกี่ ย วข้องกับวิสาหกิ จฯค่อนข้า งมาก แต่ย งั ไม่ มีประสิ ทธิ ภาพเท่าที่ ค วรเพราะมี งบประมาณสนับสนุ นไม่ เพี ยงพอ ดัง นั้นหากต้องการให้ธุ รกิ จเกษตรอิ นทรี ย ์มีก ารพัฒนาอย่า ง ต่อเนื่องและยัง่ ยืนควรมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนเพื่อดาเนินงานในส่ วนนี้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ข้อมู ลจากการศึ กษาวิเคราะห์ ตน้ ทุ นและผลตอบแทนการผลิ ตผักเกษตร อินทรี ย ์ กรณี ศึกษาวิสาหกิ จชุ มชนสวรรค์สีเขียว ตาบลหนองรี จังหวัดชลบุรีครั้ งนี้ เป็ นเพียงการ นาเสนอข้อมูลเบื้องต้นสาหรับเกษตรกรหรื อผูท้ ี่สนใจในการลงทุน เพื่อใช้ประกอบการตัดสิ นใจ หากในภายภาคหน้าหลายๆ ปั จจัยมีการเปลี่ยนแปลงไป อาจมีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่มีความเป็ นสมบูรณ์และใกล้เคียงความจริ งมากที่สุด


เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง กนกกาญจน์ ฉวีวงศ์. 2552. การศึกษาการดาเนินชี วิตโดยใช้ หลักการพึ่งตนเองตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียงของบุ ค ลากรโรงเรี ยนประถมศึ ก ษา ส านั ก งานเขตภาษี เจริ ญ สั งกัด กรุ งเทพมหานคร.สารนิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. กมลทิพย์ คาใจ. 2553. การบัญชีเพือ่ การจัดการ. เชียงใหม่: ไอดารา ก็อปปี้ เทค. กระทรวงอุตสาหกรรม. 2554. วิกฤติการอาหารโลกภัยใหม่ แห่ งศตวรรษที่ 21 (online). แหล่งที่มา: http://www.industry.go.th/ops/pio/kamphaengphet/Lists/annuity/ Disp.aspx?List=7aadc3d2-0e41-46a9-b8fa-c8da61323bdd&ID=41. 20 พฤศจิกายน 2555. กสานติ์ คาสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน. 2555. จับชีพจรสถานการณ์เด่ นความมั่นคงทางอาหาร (online). แหล่งที่มา: www.isranews.org/community-news.html, 31 มกราคม 2556. กลุ่มเกษตรออร์ แกนิค. 2554. แนวทางการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของไทย (online). แหล่งที่มา: http://www.kasetorganic.com. 2 กุมภาพันธ์ 2556. กองบรรณาธิการนิตยสารชีวจิต. 2554. ความมั่นคงทางอาหาร (online). แหล่งที่มา: www.ideaforlife.net/health/article/0076.html, 31 มกราคม 2556. คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา. 2549. การใช้ ปุ๋ยในการทาเกษตรอินทรี ย์. กรุ งเทพฯ: มสท. คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา. 2549. การบัญชีเพือ่ การจัดการ. กรุ งเทพฯ: มสท.


เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง (ต่ อ) จริ ญา โลหะ. 2547. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตทุเรียนทีป่ ลอดภัยจาก สารพิษ กรณีศึกษา อาเภอแกลง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษศาสตร์ เกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จิรวรรณ ขุมทองปาน. 2551. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนของการเพาะปลูกอ้ อยโรงงาน อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ . วิทยานิพนธ์บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต คณะ บริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ . เฉลิมขวัญ ครุ ฑบุญยงค์. 2554. การบัญชีเพือ่ การจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ: ซี เอ็ดยูเคชัน่ . ชมชวน บุญระหงส์. 2551. เกษตรอินทรีย์ในระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืนและระบบตลาดทีเ่ ป็ นธรรม. ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: โคขยัน มีเดีย ทีม. ฐาปนา ฉิ่ นไพศาล. 2551. การเงินธุรกิจ. 2,000 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุ งเทพฯ: ยงพลเทรดดิ้ง. ฐิติพร กิตติสาเรศ. 2549. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนการลงทุนปลูกพริกหวานแบบไม่ ใช่ ดินในอาเภอแม่ ริม จังหวัดเชี ยงใหม่ . วิทยานิพนธ์ บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาการ จัดการอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดวงจิตร์ กั้วศรี . 2551. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผ้ าไหมแพรวาลายเกาะบ้ าน โพนอาเภอคาม่ วง จังกวัดกาฬสิ นธุ์. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี , มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ดวงมณี โกมารทัต. 2553. การบัญชี ต้นทุน. 3,000 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นภาพร ณ เชียงใหม่. 2549. การบัญชีบริหาร. 3,000 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั พัฒนา วิชาการ (2535) จากัด.


เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง (ต่ อ) นาลินี. 2555. ดัชนีวดั ความสุ ขของคนในชุ มชน (online). แหล่งที่มา: http://news.voicetv.co.th/thailand/40979.html. 18 ธันวาคม 2555. บุษรา ใจยศ. 2551. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตกล้ วยไข่ ในจังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ผดุงศักดิ์ ตันติรัษฎากร. 2541. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินจากการทาสวน มะขามหวาน ในอาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ปี การเพาะปลูก 2540/41. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษศาสตร์ เกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พรรณทิ พย์ อิ นม่วง. 2551. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผลิตภัณฑ์ สมุ นไพร. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ , มหาวิทยาลัยรามคาแหง. พัชนิจ เนาวพันธ์. 2552. บัญชี เพือ่ การบริหารธุรกิจตามแนวคิดกระบวนการจัดการเชิ งกลยุทธ์ . 1,000 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . พัชริ ภา เหมืองหม้อ . 2553. การวิเคราะห์ ต้นทุ นและผลตอบแทนจากการปลู กสตอร์ เบอรี่ ของ เกษตรกรในตาบลบ่ อแก้ ว อาเภอสะเมิง จังหวัดเชี ยงใหม่ . วิทยานิ พนธ์เศรษฐศาสตร์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ไพบุญ พวงวัดโพธิ์ . 2543. วิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนของระบบการปลูกพืชบนพืน้ ทีส่ ู ง: กรณีศึกษาบ้ านป่ าคาสุ ขใจ อาเภอแม่ ฟ้าหลวง จังหวัดเชี ยงราย. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภัทรภร สายเชื้อ. 2553. การวางระบบบัญชี . กรุ งเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการ.


เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง (ต่ อ) มูลนิธิชยั พัฒนา. 2555 แนวคิดการพัฒนาเพือ่ พึง่ ตนเองของเกษตรกรอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (online). แหล่งที่มา: www.chaipat.or.th/chaipat/index.php/th/concept-and-theorydevelopment/to-develop-self-reliance-of-farmers, 22 มกราคม 2556. มูลนิธิชยั พัฒนา. 2555. เศรษฐกิจพอเพียง (online). แหล่งที่มา: www.chaipat.or.th/chaipat/content/porpeing/porpeing.html, 31 มกราคม 2556. วิจิตรา พูลเพิ่มทรัพย์. 2541. หลักการบัญชี ต้นทุน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วิฑูรย์ ปัญญากุล. 2546. สถานการณ์เกษตรอินทรีย์ไทย เกษตรอินทรีย์โลก. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั อัมริ นทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ . วุฒิศกั ดิ์ สุ รินการ. 2550. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกฝรั่งพันธุ์กลมสาลีใ่ น เขตอาเภอเมือง จังหวัดลาปาง. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์ปฏิบตั ิการข้อมูลการตลาดสิ นค้าเกษตรอินทรี ย.์ 2551. เกษตรอินทรีย์ (online). แหล่งที่มา: http://www.organic.moc.go.th/. 20 พฤศจิกายน 2555. สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2555. พระราชกรณียกิจ และ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (online). แหล่งที่มา: http://www.sufficiencyeconomy.org/, 31 มกราคม 2556. สมัชชาวิชาการความมัน่ คงทางอาหาร. 2555. อิสรภาพทางพันธุกรรม อธิปไตยและความมั่นคง ทางอาหาร (online). แหล่งที่มา: www.prachatai.com/activity/2012/05/40531, 31 มกราคม 2556.


เอกสารอ้างอิงและสิ่ งอ้างอิง (ต่ อ) สวนผักคนเมือง. 2555. ความ (ไม่ ) มั่นคงทางอาหารของคนในเมือง (online). แหล่งที่มา: www.thaicityfarm.com/autopagev4/show_page.php?topic_id=440&auto_id=39&Topic Pk=, 31 มกราคม 2556. สัญญา ธานีและคณะ. 2548. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกกระเทียมในจังหวัด ลาปาง. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก. สานักงานสนับสนุนการพัฒนายุทธศาสตร์ แห่งชาติดา้ นอาหาร (สยอ.) กระทรวงสาธารณสุ ข, 2546, ความมั่นคงทางอาหารของคนไทย, เอกสารอัดสาเนา สุ ธานี มะลิพนั ธ์. 2552. ความมั่นคงทางอาหารของชาวลัวะบ้ านป่ ากา อาเภอบ่ อเกลือ จังหวัดน่ าน. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สุ นนั ท์ธนา แสนประเสริ ฐ. 2545. ความมั่นคงทางอาหารกับเกษตรกรรมในไทย. นนทบุรี: ซี ทรู มีเดีย จากัด. สุ พาณี ธนีวฒ ุ ิ. 2544. ความมั่นคงทางอาหารของสั งคมไทยในสายตาโลก. ม.ป.ท. สุ ภาสิ นี ตันติศรี สุข. 2555. การพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ สิ่ งแวดล้อมทีย่ งั่ ยืน (online). แหล่งที่มา: www.stou.ac.th/Schools/Sec/ejournal6-2/file/1-2-1.pdf, 2 กุมภาพันธ์ 2556 เสรี ทรงชัยกุล. 2543. การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตนา้ ดื่ม. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ องค์กรสนับสนุนความมัน่ คงทางอาหาร. 2555. วิเคราะห์ ปัญหาความไม่ มั่นคงทางอาหาร (online). แหล่งที่มา: www.facebook.com/media/set/?set= a.377086855641939.107412.130044917012802&type=3, 31 มกราคม 2556.


ภาคผนวก ก



ภาคผนวก ข


ระบบอินทรีย์ IFOAM ระบบอิ น ทรี ย ์ IFOAM เป็ นระบบที่ พ ฒ ั นาขึ้ น โดยสหพัน ธ์ เ กษตรอิ นทรี ย ์น านาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements - IFOAM) ซึ่ งได้ริเริ่ มจัดตั้งโครงการ รับรองระบบงานเกษตรอินทรี ย ์ IFOAM (IFOAM Accreditation Programme) ขึ้นในปี พ.ศ. 2535 เพื่อให้บริ การรับรองระบบงานแก่หน่วยตรวจรับรองเกษตรอินทรี ยต์ ่างๆ ทัว่ โลก ต่อมา ในปี พ.ศ. 2540 สหพันธ์ฯ ได้จดั ตั้ง IOAS (International Organic Accreditation Service) ขึ้น เพื่อทาหน้าที่ใน การให้ บ ริ ก ารรั บ รองระบบงานนี้ ภายใต้ก รอบของโครงการรั บ รองระบบงานเกษตรอิ นทรี ย ์ IFOAM โดย IOAS จดทะเบี ย นเป็ นองค์กรไม่แสวงกาไร มี สานักงานใหญ่ต้ งั อยู่ในประเทศ สหรัฐอเมริ กา สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ยไ์ ด้รับการรับรองระบบงานเกษตรอินทรี ย ์ IFOAM นี้จาก IOAS ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 โดยเป็ นหน่วยตรวจรับรองเกษตรอินทรี ยแ์ ห่ งแรกในเอเชี ยที่ได้รับ การรับรองระบบงานนี้ ในระบบนี้ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ สามารถให้บริ การตรวจ รั บ รองเกษตรอิ น ทรี ย ์ใ นขอบข่ า ยเกี่ ย วกับ การเพาะปลู ก พื ช การเก็ บ ผลผลิ ต จากป่ าและพื้ น ที่ ธรรมชาติ การเพาะเลี้ ย งสั ตว์น้ า การแปรรู ป และจัดการผลผลิ ต และปั จจัย การผลิ ตเพื่ อการค้า สาหรับผูป้ ระกอบการที่ตอ้ งการ ส่ งออก มีหลายประเทศที่ผนู ้ าเข้าต้องการสิ นค้าเกษตรอินทรี ยท์ ี่ได้ รับรองมาตรฐานใน ระบบนี้ เช่น มาเลเซี ย สิ งคโปร์ ฮ่องกง ออสเตรเลีย นิวซี แลนด์ สหพันธ์เกษตรอินทรี ยน์ านาชาติ (International Federation of Agriculture : IFOM) ให้คา นิ ย ามของเกษตรอิ นทรี ย ์ว่าเป็ น “ระบบการเกษตรที่ ผ ลิ ตอาหารและเส้ นใยด้วยความยัง่ ยืนทาง สิ่ งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิ จ โดยเน้นหลักการปรับปรุ งบารุ งดิ น การเคารพต่อศักยภาพทาง ธรรมชาติของพืช สัตว์ และนิเวศการเกษตร เกษตรอินทรี ยจ์ ึงลดการใช้ปัจจัยการผลิตภายนอก และ หลี กเลี่ ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่ นปุ๋ ย สารกาจัดศัตรู พืช และเวชภัณฑ์สาหรั บสัตว์ และใน ขณะเดี ยวกันก็พยายามประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิ ตและพัฒนาความต้านทานโรคของ พืช และสั ตว์เลี้ ย ง” หลัก การเกษตรอิ นทรี ย ์จึงเป็ นหลักการสากลที่ ส อดคล้องกับ เงื่ อนไขทาง เศรษฐกิ จ สังคม ภูมิอากาศและวัฒนธรรมของท้องถิ่ น เนื่ องจากก่อให้เกิ ดผลผลิ ตที่ ปลอดภัยจาก สารพิษ และช่วยฟื้ นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน มีหลักการของการอยูร่ ่ วมกันและพึ่งพิงธรรมชาติ ทั้งบนดินและใต้ดิน ใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเห็นคุณค่า และมีการอนุรักษ์ให้อยูอ่ ย่างยัง่ ยืน นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาแบบเป็ นองค์รวมและความสมดุ ลที่เกิ ดจากความหลากหลายทาง ชี วภาพในระบบนิ เวศทั้งระบบ ซึ่ งได้แสดงตารางเปรี ยบเที ยบความแตกต่า งระหว่างผัก เกษตร อินทรี ยก์ บั ผักประเภทต่างๆ ดังนี้


ผั ก เ ก ษ ต ร ผัก ปลอดภั ย จาก ผักอนามัย ผักไร้สารพิษ อินทรี ย ์ สารพิษ การใช้ปุ๋ยเคมี ไม่ใช้ ใช้ได้ ใช้ได้ ไม่ใช้ การใช้สารเคมีกาจัดแมลง ไม่ใช้ ใช้ได้ ใช้ได้ ไม่ใช้ การใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช ไม่ใช้ ใช้ได้ ใช้ได้ ไม่ใช้ การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ ไม่ใช้ ใช้ได้ ใช้ได้ ไม่ใช้ การใช้ เ มล็ ด พัน ธุ์ ดัด แปลง ไม่ ไ ด้ ร ะบุ ถึ ง การ ไ ม่ ไ ด้ ร ะ บุ ถึ ง ไม่ ไ ด้ร ะบุ ถึ ง การ ไม่ใช้ พันธุกรรม(GMOs) ห้ามใช้ การห้ามใช้ ห้ามใช้ ชมรมเกษตร ส า นั ก ง า น หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบใน ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก ร ม วิ ช า ก า ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ มาตรฐาน การรับรองคุณภาพ การเกษตร เกษตร ชมรมกสิ ก รรมไร้ เกษตรอินทรี ย ์ สารพิษ กระบวนการผลิต

ระยะการปรับเปลีย่ นเป็ นเกษตรอินทรีย์ 1. พื้นที่การผลิตที่ตอ้ งการขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรี ยต์ อ้ งผ่านระยะปรับเปลี่ ยน โดยช่วงเวลาดังกล่าว ผูผ้ ลิตต้องปฏิบตั ิตามมาตรฐานเกษตรอินทรี ยข์ อง สานักงานมาตรฐานเกษตร อินทรี ย ์ และได้รับการตรวจและรับรองจาก สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ แต่ผลิตผลที่ได้จาก พืชที่ปลูกในช่ วงระยะปรั บเปลี่ ยนนี้ จะยังไม่สามารถจาหน่ ายเป็ นผลิ ตผลอิ นทรี ยไ์ ด้ วันที่สมัคร ขอให้มีการรับรองมาตรฐานฯ ให้นบั เป็ นวันที่ 1 ของการเริ่ มต้นของการเปลี่ยนเป็ นเกษตรอินทรี ย ์ หรื อเป็ นวันเริ่ มต้นของระยะการปรั บ เปลี่ ยน โดยเกษตรกรต้องเริ่ มปฏิ บตั ิ ตามมาตรฐานเกษตร อินทรี ยข์ อง สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ นับตั้งแต่วนั ดังกล่าว 2. ในกรณี ที่เป็ นการผลิตพืชล้มลุก (ผัก และพืชไร่ ) ช่ วงระยะการปรับเปลี่ ยนจะใช้เวลา 12 เดือน โดยผลิตผลของพืชที่ปลูกในวันที่พน้ ระยะการปรับเปลี่ ยนแล้ว จะสามารถจาหน่ายเป็ น "ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี ย"์ และสามารถใช้ตราสานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ได้ ยกเว้นพืชผัก หลายฤดู เช่น ผักพื้นบ้าน กล้วย มะละกอ ฯลฯ อนุญาตให้สามารถเก็บเกี่ยวผลิตผลและจาหน่ายเป็ น "ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี ย"์ ได้หลังจากพ้นระยะการปรับเปลี่ยน12 เดือนแล้ว


3. ในกรณี ที่เป็ นการผลิ ตไม้ยืนต้น ช่ วงระยะการปรับเปลี่ยนจะใช้เวลา 18 เดือน โดย ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวในวันที่พน้ ระยะการปรับเปลี่ยนแล้ว จะสามารถจาหน่ายเป็ น "ผลิตภัณฑ์เกษตร อินทรี ย"์ และสามารถใช้ตราสานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ยไ์ ด้ 4. สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ อาจจะกาหนดระยะการปรับเปลี่ยนให้เพิ่มขึ้นได้ โดยพิ จ ารณาจากประวัติ ก ารใช้ส ารเคมี ใ นฟาร์ ม ปั ญ หาการปนเปื้ อนมลพิ ษ ในพื้ น ที่ น้ ัน และ มาตรการในการจัดการสารเคมีทางการเกษตรหรื อมลพิษที่ปนเปื้ อนในฟาร์ ม 5. สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ อาจยกเว้นระยะการปรับเปลี่ ยนได้ หากพื้นที่การ ผลิตนั้นได้ทาการเกษตรตามหลักการในมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ มาเป็ นเวลาหลายปี แล้ว ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั หลักฐานที่นามายืนยันกับ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ เช่ น บันทึกการใช้ปัจจัยการผลิตในฟาร์ ม บันทึกการผลิ ตพืชในพื้นที่ดงั กล่าว บันทึกจากองค์กรที่ ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับผูผ้ ลิตที่แสดงว่าพื้นที่ดงั กล่าวไม่มีการใช้สารเคมีมาเป็ นเวลานานและ ได้รับการฟื้ นฟูสภาพดิ นโดยธรรมชาติ บทความในสิ่ งตี พิมพ์ที่ไม่เกี่ ยวข้องกับผูผ้ ลิ ต ฯลฯ ทั้งนี้ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ ขอสงวนสิ ทธิ์ ในการพิจารณาเป็ นกรณี ไป แนวทางปฏิบัติตามชนิดและพันธุ์ของพืชปลูก 1. เมล็ดพันธุ์และส่ วนขยายพันธุ์พืชที่นามาปลูกต้องผลิตจากระบบเกษตรอินทรี ย ์ ควร เลือกใช้พนั ธุ์พืชที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น และมีความต้านทานต่อโรคและแมลง 2. ในกรณี ที่ไม่สามารถหาเมล็ดพันธุ์และส่ วนขยายพันธุ์พืชจากระบบเกษตรอินทรี ยไ์ ด้ อนุญาตให้ใช้จากแหล่งทัว่ ไปได้ แต่ตอ้ งไม่มีการคลุกสารเคมี ยกเว้น ในกรณี จาเป็ นที่เพิ่งเริ่ มมีการ ทาเกษตรอินทรี ยก์ นั ในพื้นที่น้ นั หรื อมีเหตุสุดวิสัย อาจอนุ โลมให้ใช้เมล็ดพันธุ์หรื อส่ วนขยายพันธุ์ พืชที่คลุกสารเคมีได้ (เช่น ซื้ อจากท้องตลาด) แต่เกษตรกรจะต้องพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุ์และส่ วน ขยายพันธุ์พืชขึ้นเองในไร่ นา หรื อแลกเปลี่ยนกันระหว่างสมาชิกที่ทาเกษตรอินทรี ย ์ ภายในปี 2552 3. ในกรณี ไ ม้ยื น ต้น ถ้า กิ่ ง พัน ธุ์ ห รื อ ส่ ว นขยายพัน ธุ์ พื ช ที่ น ามาปลู ก ในฟาร์ ม เกษตร อินทรี ย ์ ไม่ได้มาจากระบบเกษตรอินทรี ย ์ ผลิ ตผลที่ได้จากการปลูกในฟาร์ มเกษตรอินทรี ยใ์ นช่ วง


12 เดื อนแรก จะยังไม่สามารถจาหน่ ายภายใต้ตรา สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ได้ ห้ามใช้ พันธุ์พืชที่มาจากการปรับปรุ งพันธุ์โดยวิธีการทาพันธุวศิ วกรรม (genetic engineering) การจัดการดิน นา้ และปุ๋ ย 1. ควรมีการตรวจวิเคราะห์ดินอย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อวางแผนปรับปรุ งดิน และวางแผน การจัดการธาตุอาหารให้เหมาะสม รวมทั้งเป็ นแนวทางในการเลื อกชนิ ดพืชที่เหมาะสมกับสภาพ พื้นที่ 2. ควรรักษาระดับความเป็ นกรด-ด่างของดินที่เหมาะสมต่อพืชปลูก ในกรณี ที่จาเป็ นอาจ ใช้ปูนขาว โดโลไมท์ ปูนมาร์ ล หรื อขี้เถ้าไม้ เป็ นต้น 3. ไม่ควรปล่อยที่ดินให้วา่ งเปล่า ควรปลูกพืชตระกูลถัว่ คลุมดิน เช่น ถัว่ แป๋ ถัว่ ลาย ถัว่ ดา ถัว่ เขียว ถัว่ แดง ถัว่ พร้ า ไมยราบไร้ หนาม โสน ปอเทือง และควรมีการปลูกพืชตระกูลถัว่ หรื อพืช บารุ ง ดิ น อื่ นๆ เป็ นปุ๋ ยพื ช สด โดยอาจปลู ก ก่ อนหรื อ หลัง พื ช หลัก หรื อ ปลู ก เป็ นพื ช หมุ น เวี ย น 4. หลี กเลี่ยงหรื อลดการใช้เครื่ องจักรขนาดใหญ่ เช่น รถแทรกเตอร์ เนื่ องจากทาให้เนื้ อ ดินแน่นแข็งดินไม่ร่วนซุ ย การระบายน้ าไม่ดี ควรมีมาตรการอนุรักษ์น้ าที่ใช้ในการทาฟาร์ ม


ภาคผนวก ค


มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินคาคงเหลือ คําแถลงการณ มาตรฐานการบัญ ชีฉบั บนี้ ได ปรั บปรุง ใหเ ปน ไปตามเกณฑที่กํ าหนดขึ้น โดย มาตรฐานการบัญชี ระหวางประเทศ เรื่อง สินคาคงเหลือ พ.ศ. 2552 ซึ่งเปน การแกไขของคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ระหวางประเทศที่สิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (IAS 2 Inventories (Bound volume 2009))

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 1/14


สารบัญ ยอหนาที่

บทนํา วัตถุประสงค ขอบเขต คํานิยาม การวัดมูลคาสินคาคงเหลือ

บทนํา 1-บทนํา 17 1 2-5 6-8 9-33

ตนทุนของสินคาคงเหลือ ตนทุนในการซื้อ ตนทุนแปลงสภาพ ตนทุนอื่นๆ ตนทุนของสินคาคงเหลือของผูใ หบริการ ตนทุนของผลิตผลทางการเกษตรที่เก็บเกี่ยวจากสินทรัพยชีวภาพ เทคนิคสําหรับการวัดมูลคาของตนทุนสินคาคงเหลือ การคํานวณตนทุน มูลคาสุทธิที่จะไดรับ

การรับรูเปนคาใชจาย การเปดเผยขอมูล วันถือปฏิบัติ การยกเลิกมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม

10-22 11 12-14 15-18 19 20 21-22 23-27 28-33

34-35 36-39 40 41-42

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 2/14


มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ประกอบดวยยอหนาที่ 1 ถึง 42 ทุกยอหนามีความสําคัญเทากัน และมาตรฐาน การบัญชีฉบับนี้ตองอานโดยคํานึงถึงขอกําหนดของแมบทการบัญชี ในกรณีที่ไมไดใหแนวปฏิบัติในการ เลือกและการใชนโยบายการบัญชี ใหกิจ การถือปฏิบัติตามขอ กําหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด

บทนํา บทนํา 1.

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินคาคงเหลือ ใชแทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ฉบับที่ 31 เดิม) เรื่อง สินคาคงเหลือ โดยใหถือปฏิบัติสําหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เปนตนไป ทั้งนี้ สนับสนุนใหนําไปใชกอนวันถือปฏิบัติ

เหตุผลในการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ฉบับที่ 31 เดิม) เรื่อง สินคาคงเหลือ บทนํา 2.

คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชีไดเห็นสมควรใหปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ฉบับที่ 31 เดิม) เรื่อง สินคาคงเหลือ ซึ่งบังคับใชมาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2540 นั้น ดังนั้น คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชีจึงเห็นสมควรใหปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม เพื่อลดจํานวนทางเลือก ความซ้ําซอน และความไมสอดคลองที่เกิดขึ้นภายในมาตรฐานการบัญชี

บทนํา 3.

วัตถุประสงคหลักในการปรับ ปรุงมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ฉบับที่ 31 เดิม) เรื่อง สินคา คงเหลือนี้ ถือเป นการปรั บปรุงภายใตขอบเขตจํากั ดดังกล าวเพื่อลดทางเลือกในการใชวิ ธี วัดมูลคาสินคาคงเหลือ คณะกรรมการไมไดพิจารณาแกไขถึงหลักการพื้นฐานทางการบัญชีใน เรื่องสินคาคงเหลือที่กลาวถึงในมาตรฐานการบัญชี (ฉบับเดิม)

การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ บทนํา 4.

การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญจากมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ฉบับที่ 31 เดิม) สรุปได ดังนี้

วัตถุประสงคและขอบเขต บทนํา 5.

มี ก ารปรั บ ปรุ ง วั ต ถุ ป ระสงค แ ละขอบเขตของมาตรฐานการบั ญ ชี โดยได ย กเลิ ก คํ า ว า “ตามระบบวิธี ตนทุนเดิม” เพื่อใหมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้สามารถใชกับสินคาคงเหลือทุกประเภท ที่ไมไดระบุเปนขอยกเวนในขอบเขตของมาตรฐานการบัญชี

ความชัดเจนของขอบเขต บทนํา 6.

มาตรฐานการบั ญชี ฉบับนี้ กํ าหนดใหสิ นค าคงเหลื อบางประเภทอยูนอกขอบเขตของมาตรฐาน การบัญชีฉบับนี้ ในขณะที่สิ นคาคงเหลือบางประเภทไดรับยกเวนเฉพาะสวนที่เกี่ยวกับขอกําหนดใน การวัดมูลคาตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 3/14


บทนํา 7.

ยอหนาที่ 3 มีการแบงแยกที่ชัดเจนระหวางประเภทของสินคาคงเหลือที่อยูนอกขอบเขตทั้งหมด ของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ (ตามที่กลาวไวในยอหนาที่ 2) และประเภทของสินคา คงเหลือ ที่ อ ยู น อกขอบเขตของข อ กํ า หนดในการวั ด มู ล ค า สิ น ค า คงเหลื อ แต อ ยู ใ นขอบเขตของ ขอกําหนดอื่นในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้

ขอยกเวนของขอบเขต ผูผ ลิตสินคาทางการเกษตรและผลิ ตภั ณฑจากปา การเก็บเกี่ยว แรและผลิตภัณฑจากแร บทนํา 8.

ผลิ ตผลทางการเกษตรภายหลั ง

มาตรฐานการบัญชีฉบั บนี้ไมถื อปฏิบั ติกับการวัดมู ลค าของสิ นค าคงเหลื อของผู ผลิต สิน คา ทางการเกษตรและผลิตภัณ ฑจากป า ผลิตผลทางการเกษตรภายหลัง การเก็บ เกี่ ยว แรแ ละ ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากแร เ นื่ อ งจากถู ก วั ด มู ล ค า ด ว ยมู ล ค า สุ ท ธิ ที่ จ ะได รั บ ตามวิ ธี ที่ ถื อ ปฏิ บั ติ ในอุตสาหกรรมนั้น มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไดมีการแกไขโดยยกเลิกคําวา “สินแร” และ ใชคํา วา “แรและผลิต ภัณฑ จากแร ” แทน เพื่อใหมีความชัดเจนว าขอบเขตการยกเวนไมได จํากัดอยูเฉพาะชวงแรกของการสกัดสินแร สินคาคงเหลือของนายหนา - ผูคาสินคาโภคภัณฑ

บทนํา 9.

มาตรฐานการบัญชี ฉบับ นี้ไมถือปฏิบัติกับการวัด มูลคาของสินค าคงเหลือของนายหนา-ผูคา สินคาโภคภัณฑ ตราบเทาที่สินคาคงเหลือเหลานั้นถูกวัดมูลคาโดยใชมูลคายุติธรรมหักตนทุน ในการขาย

ตนทุนของสินคาคงเหลือ ตนทุนในการซื้อ บทนํา 10. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไมอนุญาตใหนําผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นโดยตรงจาก การซื้อสินคาดวยสกุลเงินตราตางประเทศไปรวมเปนตนทุนในการซื้อสินคานั้น ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลง จากมาตรฐานฉบั บเดิ ม เพื่ อใหสอดคลองกั บมาตรฐานการบั ญชี ฉบั บที่ 21 (ปรั บปรุ ง 2552) เรื่ อง ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงของอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต า งประเทศ (เมื่ อ มี ก าร ประกาศใช) ซึ่งยกเลิกการใชแนวทางที่อาจเลือกปฏิบัติของการนําผลตางของอัตราแลกเปลี่ยน มาบันทึกเปนตนทุน ตนทุนอื่น บทนํา 11. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดยอหนาที่ 18 เพิ่มเติมเพื่อความชัดเจนในกรณีที่มีการซื้อสินคา โดยมีเงื่อนไขการจา ยชําระเงินนานเกินกวาระยะเวลาการไดสินเชื่อ ตามปกติ ผลตางระหวาง จํ านวนเงิ น ที่ จ า ยจริ งกั บราคาซื้ อที่ ต อ งจ า ยภายใต เ งื่ อนไขการให สิ นเชื่ อ ตามปกติ ให รั บ รู เปนดอกเบี้ยจายตลอดระยะเวลาการจัดหาเงิน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 4/14


การคํานวณตนทุน ความสม่ําเสมอ บทนํา 12. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กํ าหนดใหกิจการใชวิธีการคํานวณตนทุนวิธีเดียวกันสําหรับสินคา คงเหลือทุกประเภทซึ่งมีลักษณะและการใชที่คลายคลึงกัน การยกเลิกวิธีเขาหลัง ออกกอนในการคํานวณตนทุน บทนํา 13. มาตรฐานการบัญชี ฉบับ นี้ไมอนุญ าตใหใชวิธี เขาหลังออกกอ นในการวัดมูล คาต นทุนสิน คา คงเหลือ

การรับรูคาใชจาย บทนํา 14. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ยกเลิกการอางอิงถึงหลักการจับคูรายไดกับคาใชจาย บทนํา 15. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้อธิบายถึ งสถานการณที่ทํ าใหกิ จการตองกลับ รายการของมู ลค า สินคาที่ปรับลดลงที่รับรูในงวดกอน

การเปดเผยขอมูล

สินคาคงเหลือที่แสดงดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย บทนํา 16. มาตรฐานการบัญ ชีฉ บับ นี้กํ าหนดใหเป ดเผยมูลคาตามบั ญชี ของสินค าคงเหลือที่แ สดงดวย มูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย การปรับลดมูลคาของสินคาคงเหลือ บทนํา 17. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหมีการเปดเผยมูลคาสินคาคงเหลือที่ปรับลดลงซึ่งกิจการ ไดรับรูเปนคาใชจายในงวดบัญชีนั้น และยกเลิกขอกําหนดในการเปดเผยมูลคาของสินคาคงเหลือ ที่แสดงดวยมูลคาสุทธิที่จะไดรับ

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 5/14


มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินคาคงเหลือ วัตถุประสงค 1.

มาตรฐานการบัญ ชีฉบับนี้ มีวัตถุ ประสงคเ พื่ อกํ าหนดวิ ธีปฏิบัติทางบั ญชีสํา หรับ สินคาคงเหลือ ประเด็นหลักของการบัญชีสําหรับสินคาคงเหลือ คือ จํานวนตนทุนที่จะรับรูเปนสินทรัพยและยกยอดไปจนกวา จะมีการรับรูร ายได ที่สัมพันธ กัน มาตรฐานการบัญ ชีฉบับ นี้กํ าหนดแนวปฏิบัติในการคํ านวณหา ตนทุนของสินคาคงเหลือและการรับรูเปนคาใชจายในภายหลัง รวมทั้งการปรับลดมูลคาสินคาคงเหลือ ใหเทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ นอกจากนี้มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ยังใหแนวทางเกี่ ยวกับวิธีการ คํานวณหาตนทุนของสินคาคงเหลืออีกดวย

ขอบเขต 2.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ถือปฏิบัติกับสินคาคงเหลือทุกประเภทยกเวน 2.1 งานระหวางก อสรางภายใตสัญ ญากอสรางซึ่งรวมถึง สัญญาการใหบริก ารที่เกี่ยวของ โดยตรง (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญากอสราง) 2.2 เครื่อ งมือ ทางการเงิน (ดูมาตรฐานการบัญ ชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2552) เรื่อ ง การแสดงรายการเครื่อ งมือทางการเงิน (เมื่อ มีการประกาศใช) และมาตรฐานการ บัญ ชี ฉบับ ที่ 39 เรื่อง การรับ รูและการวัด มูล คาเครื่องมือ ทางการเงิน (เมื่อ มีก าร ประกาศใช)) 2.3 สินทรัพยชีวภาพที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทางการเกษตรและผลิตผลทางการเกษตร ณ จุด เก็บเกี่ยว (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช))

3.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไมถือปฏิบัติกับการวัดมูลคาของสินคาคงเหลือที่ถือไวโดย 3.1 ผูผลิ ตผลิตภัณฑ ทางการเกษตร ผลิตภัณ ฑจากปา ผลิตผลทางการเกษตรภายหลั ง การเก็บเกี่ยว แร และผลิตภัณฑจากแร เนื่องจากสินคาคงเหลือเหลานั้นวัดมูลคาดวย มูลคาสุทธิที่จะไดรับซึ่งเปนวิธีที่ถือปฏิบัติกันอยางแพรหลายในอุตสาหกรรมเหลานั้น เมื่อกิจการวัดมูลคาสินคาคงเหลือดังกลาวดวยมูลคาสุท ธิที่จะไดรับ การเปลี่ยนแปลง ในมูลคาดังกลาว จะรับรูในกําไรหรือขาดทุนในงวดที่มีการเปลี่ยนแปลงมูลคานั้น 3.2 นายหนา-ผูคาสินคาโภคภัณฑ ซึ่งวัดมูลคาสินคาคงเหลือดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุน ในการขาย เมื่อสินคาคงเหลือดังกลาววัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย โดยการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน ในงวดที่มีการเปลี่ยนแปลงมูลคานั้น

4.

สินคาคงเหลือตามที่กลาวไวในขอ 3.1 ซึ่งวัดมูลคาดวยมูลคาสุทธิที่จะไดรับ ณ ขั้นตอนของการ ผลิตที่กําหนดไวแนนอน เชน เมื่อเก็บเกี่ยวผลิตผลทางการเกษตร หรือเมื่อมีการสกัดแรไดแลว และมีความแนนอนวากิจการจะสามารถขายสินคาคงเหลือนั้นไดเนื่องดวยมี การทํา สัญญาซื้อขาย ลวงหนาไวแลว หรือมีการประกันราคาโดยรัฐบาล หรือสินคานั้นมีตลาดซื้อขายคลองรองรับ และมี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 6/14


ความเสี่ยงนอยมากที่จะขายสินคาคงเหลือนั้นไมได สินคา คงเหลือดังกลาวอยูน อกเหนือขอบเขต ของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ เฉพาะในเรื่องขอกําหนดเกี่ยวกับการวัดมูลคา 5.

นายหนา-ผูคา คือ ผูซึ่งซื้อหรือขายสินคาโภคภัณฑเพื่อบุ คคลอื่นหรือเพื่อตนเอง สินคาคงเหลือ ที่กลาวถึงในขอ 3.2 โดยสวนใหญเปนสินคาคงเหลือที่ไดมาโดยมีวัตถุประสงคเพื่อขายในอนาคต อัน ใกลเพื่อที่จะไดรับกําไรจากการผันผวนของราคาหรือจากสวนตางของราคาซื้อขายของนายหนา-ผูค า ในกรณีที่สินคาคงเหลือเหลานั้นถูกวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย สินคาคงเหลือดังกลาว จะอยูนอกเหนือขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้เฉพาะในเรื่องขอกําหนดเกี่ยวกับการวัดมูลคา

คํานิยาม 6.

7.

คําศัพทที่ใชในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะดังนี้ สินคาคงเหลือ

หมายถึง สินทรัพยซึ่ง มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังตอไปนี้ 1) ถื อ ไว เ พื่ อ ขายตามลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ ตามปกติของกิจการ 2) อยูในระหวางกระบวนการผลิตเพื่อใหเปนสินคา สําเร็จรูปเพื่อขาย 3) อยู ในรูปของวัตถุ ดิบ หรือ วัส ดุที่ มีไ วเ พื่อ ใช ใน กระบวนการผลิตสินคาหรือใหบริการ

มูลคาสุทธิที่จะไดรับ

หมายถึง ราคาโดยประมาณที่คาดวาจะขายไดตามลักษณะการ ประกอบธุร กิจ ตามปกติ หักด วยประมาณการตน ทุน ในการผลิตสิ นค านั้ นใหเสร็จ และต นทุน ที่จํา เป นต อง จายไปเพื่อใหขายสินคานั้นได

มูลคายุติธรรม

หมายถึง จํ า นวนเงิ น ที่ ผู ซื้ อ และผู ข ายตกลงแลกเปลี่ ย น สินทรัพย หรือ จา ยชํ า ระหนี้สิ นในขณะที่ ทั้ งสองฝ า ย มี ค วามรอบรู แ ละเต็ ม ใจในการแลกเปลี่ ย น และ สามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระ

มูลคาสุทธิที่จะไดรับ หมายถึง จํานวนเงินสุทธิที่กิจการคาดวาจะไดรับจากการขายสินคาตามลักษณะ การประกอบธุรกิจตามปกติของกิจการ มูลคายุติธรรมสะทอนใหเห็นถึงจํานวนเงินซึ่งจะไดรับจาก การแลกเปลี่ยนของสินคาคงเหลือชนิดเดียวกันระหวางผูซื้อและผูขายที่มีความรอบรู และเต็มใจใน การแลกเปลี่ยนในตลาด มูลคาสุทธิที่ จะไดรับสะทอนถึงมูลคาเฉพาะของกิจการ ในขณะที่มูลคา ยุติธรรมไมไ ดสะทอนถึงมูล คา ดังกลาว มูลค าสุ ทธิที่จ ะไดรั บของสิ นค าคงเหลื ออาจจะไมเทากับ มูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 7/14


8.

สินคาคงเหลือรวมถึงสินคาที่ซื้อและถือไวเพื่อขาย เชน สินคาที่ผูคาปลีกซื้อและถือไวเพื่อขาย หรือที่ดิน และอสังหาริมทรัพยอื่นที่ถือไวเพื่อขาย สินคาคงเหลือรวมถึงสินคาสําเร็จรูปที่ผลิต หรือสินคาระหวาง ผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ หรื อ วั ส ดุ ที่ ถื อ ไว เ พื่ อ รอที่ จ ะใช ใ นกระบวนการผลิ ต และในกรณี ที่ เ ป น กิ จ การ ผูใหบริการ สินคาคงเหลือจะรวมถึงตนทุนงานใหบริการ (ตามที่กลาวไวในยอหนาที่ 19) ซึ่งกิจการ ยังไมไดมีการรับรูรายไดที่เกี่ยวของ (ดูมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับ ปรุง 2552) เรื่อง รายได (เมื่อมีการประกาศใช))

การวัดมูลคาสินคาคงเหลือ 9.

สินคาคงเหลือตองวัดมูลคาดวยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับ แลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา

ตนทุนของสินคาคงเหลือ 10.

ตนทุนของสินคาคงเหลือต องประกอบดวยตนทุนทั้งหมดในการซื้อ ตนทุนแปลงสภาพ และ ตนทุนอื่นๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อใหสินคาคงเหลือนั้นอยูในสถานที่และอยูในสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน

ตนทุนในการซื้อ 11.

ตนทุนในการซื้อของสินคาคงเหลือประกอบดวย ราคาซื้อ อากรขาเขา และภาษีอื่น (สุทธิจากจํานวน ที่กิจการจะไดรับคืนในภายหลังจากหนวยงานที่มีหนาที่จัดเก็บภาษี) รวมทั้งคาขนสง คาขนถาย และตนทุนอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการไดมาซึ่งสินคา สําเร็จรูป วัตถุดิบ และบริการ ในการ คํานวณหาตนทุนในการซื้อสินคาใหนําสวนลดการคา เงินที่ไดรับคืนและรายการอื่นๆ ที่คลายคลึง กันมาหักออกดวย

ตนทุนแปลงสภาพ 12.

ตนทุนแปลงสภาพของสินคาคงเหลือ ประกอบดวย ตนทุนที่เกี่ยวของโดยตรงกับสินคาที่ผลิต เชน คาแรงงานทางตรง รวมถึงคาใชจายการผลิตทั้งสวนที่คงที่ที่ปนสวนอยางเปนระบบ และคาใชจายการผลิต ผันแปรซึ่งเกิดขึ้นเพื่อแปลงสภาพวัตถุดิบใหเปนสินคาสําเร็จรูป คาใชจายการผลิตคงที่ คือ ตนทุนการผลิต ทางออมที่เกิดขึ้นในการผลิตโดยไมสัมพันธกับปริมาณการผลิต เชน คาเสื่อมราคา และคาบํารุงรักษา อาคารโรงงานและอุปกรณ โรงงาน และต นทุนเกี่ ยวกับฝายจั ดการโรงงานและการบริ หารโรงงาน คาใชจ ายการผลิตผันแปร คือ ตนทุนการผลิตทางออมที่ผันแปรโดยตรงหรือคอนขางจะผันแปรโดยตรง กับปริมาณการผลิต เชน วัตถุดิบทางออม และคาแรงงานทางออม

13.

การปนสวนคาใชจายการผลิตคงที่เขาสูตนทุนแปลงสภาพอางอิงจากฐานกําลังการผลิตปกติ กําลังการผลิต ปกติ คือ การผลิตที่คาดวาจะผลิตไดโดยเฉลี่ยในหลายชวงเวลาหรือในหลายฤดูกาลภายใตสภาวการณ ปกติ โดยคํานึงถึงกําลังการผลิตที่สูญเสียอันเกิดจากการบํารุงรักษาตามแผนที่วางไว ระดับการผลิตที่ เกิดขึ้นจริงอาจนํามาใชไดหากใกลเคียงกับกําลังการผลิตปกติ จํานวนคาใชจ ายคงที่ที่ ปนส วนเขา แตละหนวยการผลิตจะตองไมเพิ่มขึ้นแมวาการผลิตจะลดต่ําลงหรือไมมีการผลิต คาใชจายในการผลิต ที่ไมไดถูกปนสวนใหรับรูเปนคาใชจายในงวดที่เกิดคาใชจายนั้น ในชวงเวลาที่มีการผลิตสูงผิดปกติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 8/14


จํานวนคาใชจ ายคงที่ตอหนวยก็จะถูกปนสวนเขาสินคาแตละหนวยที่ผลิตนอยลง เพื่อไมใหสินคา คงเหลือมีมูลคาสูงกวาตนทุน คาใชจายการผลิตผันแปรจะปนสวนเขาสินคาแตละหนวยที่ผลิตตาม ตนทุนการผลิตที่ใชจริง 14.

ในกระบวนการผลิ ตหนึ่ง อาจมี การผลิ ตผลิต ภัณ ฑพ รอ มกั นมากกว าหนึ่ งชนิด เชน กรณี ที่มี การ ผลิ ตผลิต ภัณฑร วมหรือ กรณี ที่มี ผลิต ภัณฑ หลั กและผลิ ตภั ณฑพ ลอยได หากตน ทุน แปลงสภาพ ของแตล ะผลิตภัณฑ ไมอาจระบุแ ยกกัน ไดอ ยางชั ดเจน ก็ใหใชเกณฑ การปน สว นที่สมเหตุสมผล และสม่ําเสมอ ตัวอยางของเกณฑที่ใชในการปนสวน เชน การใชมูลคาขายของแตละผลิตภัณฑ ณ ขั้นตอนการผลิตที่ส ามารถแยกผลิตภัณ ฑไดอยา งชั ดเจน หรื อเมื่อ การผลิต เสร็ จสิ้น เปน เกณฑ สําหรับผลิตภัณฑพลอยได ซึ่งโดยสวนใหญมีลักษณะที่ไมเปน สาระสําคัญ มักจะวัด มูลคาโดยใช มูลคาสุทธิที่จะไดรับและนํามูลคาดังกลาวไปหักจากตนทุนของผลิตภัณฑหลัก ดังนั้น มูลคาตามบัญชี ของผลิตภัณฑหลักจึงไมแตกตางอยางเปนสาระสําคัญจากตนทุนของผลิตภัณฑหลัก ตนทุนอื่นๆ

15.

ตนทุนอื่นที่จะนําไปรวมในตนทุนสินคาคงเหลือได หากเปนตนทุนที่เกิดขึ้นเพื่อทําใหสินคาคงเหลือ อยูในสถานที่และสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน เชน อาจเปนการเหมาะสมที่จะนําคาใชจายที่ไมไดเกิดขึ้นจาก การผลิตหรือตนทุนในการออกแบบผลิตภัณฑสํ าหรับลูกคา รายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะไปรวมเปน ตนทุนของสินคาคงเหลือนั้น

16.

ตั ว อย า งของต น ทุ น ที่ ไ ม นํ า มารวมเป น ต น ทุ น สิ น ค า คงเหลื อ และให รั บ รู เ ป น ค า ใช จ า ยในงวด ที่เกิดขึ้น เชน 16.1 วัตถุดิบ คาแรงงานหรือคาใชจายการผลิตอื่นที่สูญเสียเกินกวาปกติ 16.2 ตนทุนในการเก็บรักษาสินคา เวนแตเปนตนทุนที่จําเปนในกระบวนการผลิตกอนจะถึงขั้นตอน การผลิตถัดไป 16.3 คาใชจายในการบริหารที่ไมเกี่ยวกับการทําใหสินคาอยูในสถานที่และอยูในสภาพที่เปนอยู ในปจจุบัน 16.4 ตนทุนในการขาย

17.

ในบางสถานการณ กิ จ การอาจนํ า ต น ทุ น การกู ยื ม มารวมเป น ต น ทุ น ของสิ น ค า คงเหลื อ ได หากเปน ไปตามเงื่อนไขที่กํา หนดไวตามมาตรฐานการบัญ ชี ฉบั บที่ 23 (ปรั บปรุง 2552) เรื่ อง ตนทุนการกูยืม

18.

กิ จ การอาจจะซื้อ สิน คา โดยมีก ารจ า ยชํา ระเงิน นานเกิ น กว า ระยะเวลาที่ไดรั บ สิน เชื่อ ตามปกติ ในกรณีดั งกลา วผลต างระหว างจํานวนเงิ นที่ จา ยจริง กับ ราคาซื้อ ที่ต องจ ายภายใตเ งื่อ นไขการให สินเชื่อตามปกติ ใหรับรูเปนดอกเบี้ยจายตลอดระยะเวลาการจัดหาเงิน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 9/14


ตนทุนของสินคาคงเหลือของผูใหบริการ 19.

ในกรณีที่ผูใหบริการมีสินคาคงเหลือใหวัดมูลคาสินคาดังกลาวดวยตนทุนในการผลิต ตนทุนดังกลาวโดย สวนใหญประกอบดวย คาแรงงาน และตนทุนอื่นที่เกี่ยวกับบุคลากรที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับ การใหบริการ ซึ่งรวมถึงบุคลากรที่ควบคุมและดูแล และตนทุนที่เกี่ยวของกับการใหบริการ สวนคาแรงงาน และตน ทุ น อื่ น ที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การขายและการบริ ห ารบุ คลากรทั่ ว ไปจะไม ร วมเป น ต น ทุน งาน ใหบริการ แตใหรับรูเปนคาใชจายในงวดที่เกิดขึ้น ตนทุนของสินคาคงเหลือของผูใหบริการไมรวมถึงกําไร หรือคาใชจายที่ไมเกี่ยวของซึ่งมักนํามาใชเปนปจจัยหนึ่งในการคิดคาบริการของผูใหบริการ

ตนทุนของผลิตผลทางการเกษตรที่เก็บเกี่ยวจากสินทรัพยทางชีวภาพ 20.

ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช) สินคาคงเหลือที่เปนผลิตผล ทางการเกษตรซึ่งเก็บเกี่ยวจากสินทรัพยชีวภาพจะวัดมูลคาเมื่อรับรูรายการเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรม หักตนทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว มูลคาดังกลาวใหถือเปนตนทุนของสินคาคงเหลือตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับนี้

เทคนิคสําหรับการวัดมูลคาของตนทุนสินคาคงเหลือ 21.

เทคนิคสําหรับการวัดมูลคาของตนทุนสินคาคงเหลือ เชน วิธีตนทุนมาตรฐานหรือวิธีราคาขายปลีก อาจนํ ามาใช เพื่อ ความสะดวก หากวิธี การประมาณต นทุ นดัง กล าวใหผ ลใกลเ คียงกับ ตนทุ นจริง ตนทุนมาตรฐานกําหนดจากการใชวัตถุดิบ วัสดุโรงงาน คาแรงงาน ประสิทธิภาพและการใชกําลัง การผลิตในระดับปกติ ตนทุนมาตรฐานตองมีการทบทวนอยูเสมอและปรับ ปรุงเมื่อจําเปนเพื่อให สอดคลองกับสถานการณปจจุบัน

22.

วิธีราคาขายปลี กมักจะใชกับอุ ตสาหกรรมคา ปลีกเพื่ อวั ดมูลค าต นทุนสิ นค าคงเหลือประเภทที่มี กําไรใกลเคียงกันและมีการเปลี่ยนแปลงชนิดสินคาเปนจํานวนมากอยางรวดเร็วซึ่งในทางปฏิบัติไม อาจใชวิธีการตนทุนอื่นได ตนทุนของสินคาคงเหลือนี้สามารถคํานวณหาไดโดยใชมูลคาขายของสินคา หักดวยอัตรารอยละของกําไรขั้นตนที่เหมาะสม อัตรากําไรขั้นตนนี้ตองคํานึงถึงสินคา คงเหลือที่มี การลดราคาใหต่ํา ลงกวา ราคาขายเดิ ม โดยปกติมักจะใชอัตรารอยละถัว เฉลี่ยของแผนกขายปลีก แตละแผนก

การคํานวณตนทุน 23.

ตนทุนสินคาคงเหลือของแตละรายการ ซึ่งโดยปกติไมอาจสับเปลี่ยนกันได หรือเปนสินคาหรือบริการ ที่ผลิตขึ้ นและแยกตางหากไว สํ าหรับโครงการหนึ่งโครงการใดโดยเฉพาะตองคํานวณโดยใชวิ ธี ราคาเจาะจง

24.

ตนทุนตามวิธีราคาเจาะจงเปนวิธีการบันทึกตนทุนที่เจาะจงไดในสินคาคงเหลือแตละรายการ วิธีนี้ จึงเหมาะ ที่จะใชสําหรับสินคาที่แยกไวสําหรับโครงการหนึ่งโครงการใดโดยเฉพาะ โดยไมคํานึงวาสินคาคงเหลือ ดังกลาวจะซื้อมาหรือผลิตขึ้นเอง อยางไรก็ดี การบันทึกตนทุนตามวิธีราคาเจาะจงจะไมเหมาะสม หากสินคาคงเหลือมีจํานวนรายการมากและโดยปกติมีลักษณะสับเปลี่ยนกันได ในสถานการณเชนนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 10/14


วิธีที่เลือกตีราคาสินคาคงเหลือรายการที่เหลือ อาจเปนชองทางการกําหนดผลกระทบของกําไรหรือขาดทุน ไดลวงหนา 25.

ตนทุนสินคาคงเหลือนอกจากที่กลาวในยอหนา 23 ตองคํานวณมูลคาโดยวิธีเขากอนออกกอน หรือ วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก กิจการตองใชวิธี การคํานวณมูลคาดวยวิธี เดียวกันสําหรับสินคาคงเหลือ ทุกชนิดที่มีลักษณะและการใชคลายคลึงกัน สําหรับสินคาคงเหลือที่มีลักษณะและการใชตางกัน อาจใชวิธีคํานวณตนทุนที่ตางกันไปไดหากเหมาะสม

26.

ตัวอยางเชน สินคาคงเหลือของสวนงานปฎิบัติการหนึ่งอาจมีการใชสินคาคงเหลือชนิดเดียวกันที่แตกตาง ไปจากสวนงานปฎิบัติการอีกแหงหนึ่ง อยางไรก็ตาม ความแตกตางทางดานสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร ของสินคาคงเหลือ (หรือภายใตข อกําหนดทางภาษีต างๆ) ไมใชเหตุผลที่เพียงพอที่จะใชวิ ธีการคํา นวณ ตนทุนที่แตกตางกัน

27.

วิธีเขา กอ นออกก อ นมีขอ สมมติฐานว า สิ น คา คงเหลือรายการที่ซื้อ มาหรื อ ผลิต ขึ้น ก อนจะขาย ออกไปกอน จึงเปนผลใหสินคาคงเหลือรายการที่เหลืออยู ณ วันสิ้นงวดเปนสินคาที่ซื้อมาหรือผลิตขึ้น ในครั้งหลังสุด สําหรับวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ตนทุนสินคาคงเหลือแตละรายการจะกําหนดจากการ ถัวเฉลี่ยตนทุนของสินคาที่เหมือนกัน ณ วันตนงวดกับตนทุนของสินคาที่เหมือนกันที่ซื้อมา หรือผลิตขึ้น ในระหวางงวด ซึ่งวิธีการคํานวณตนทุนถัวเฉลี่ยอาจคํานวณเปนระยะๆ ไปหรือคํานวณทุกครั้งที่ไดรับสินคา ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับสถานการณของกิจการ

มูลคาสุทธิที่จะไดรับ 28.

ตนทุนของสินคาคงเหลืออาจจะไมไดรั บคืนถาสินคาคงเหลือเหลานั้นเกิดความเสียหาย หรือเกิดความลาสมัย บางสวนหรือทั้งหมด หรือราคาขายลดลง ตนทุนของสินคาคงเหลืออาจจะไมไดรับคืนหากประมาณการ ตนทุนในการทําตอใหเสร็จหรือประมาณการตนทุนที่เกิดขึ้นเพื่อทําใหสินคาขายไดเพิ่มขึ้น การตีราคา สิน คาคงเหลื อลดลงจากราคาทุน ใหเ ทา กับมูล คาสุ ทธิ ที่จ ะไดรับ สอดคลอ งกั บแนวความคิ ดที่ว า สินทรัพย ไมควรแสดงมูลคาตามบัญชีที่สูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับจากการขายหรือประโยชนที่ จะไดรับจากการใช

29.

การลดมูลคาของสินคาคงเหลือลงใหเทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรั บ มักพิจารณาจากสินคาแตละรายการ แตใน บางสถานการณ อาจพิจารณาจากกลุมสินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกันหรือมีความเกี่ยวพันกัน โดยอาจเปนกรณี สินคาที่มีความเกี่ยวของกับสายผลิตภัณฑเดียวกันที่มีวัตถุประสงคหรือการใชประโยชนขั้นสุดทายเหมือนกัน หรือมีการผลิตหรือขายในพื้นที่ทางภูมิศาสตรเดียวกัน และในทางปฏิบัติไมสามารถแยกจากรายการอื่น ในสายผลิตภัณฑเดียวกันได อยางไรก็ดี ถือเปนการไมเหมาะสมที่จะปรับลดมูลคาสินคาลงโดยใชเกณฑ การจัดประเภทของสินคาคงเหลือ เชน สินคาคงเหลือสําเร็จรูป หรือสินคาคงเหลือทุกประเภทในสวนงาน ปฎิบัติการใดสวนงานปฎิบัติการหนึ่ง โดยทั่วไปผูใหบริการมักคํานวณตนทุนแยกตามการใหบริการแต ละงาน ซึ่งใชกําหนดคาบริการตามงานนั้น ดังนั้น ตนทุนสําหรับงานใหบริการใหพิจารณาแยกตามงาน แตละงาน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 11/14


30.

ประมาณการมูลคาสุทธิที่จะไดรั บใหอางอิงกับ หลัก ฐานเกี่ยวกั บจํ านวนเงินที่คาดวาจะไดรั บจาก สินคาคงเหลือซึ่งเชื่อถือไดมากที่สุดในขณะที่ประมาณมูลคา ประมาณการดังกลาวใหพิจารณาการ เปลี่ยนแปลงของราคาหรือตน ทุนที่เกี่ยวของโดยตรงกับเหตุการณที่เกิดขึ้นภายหลังวันสิ้นงวดซึ่ง ยืนยันวาสถานการณนั้นไดปรากฏอยูแลว ณ วันสิ้นงวด

31.

ในการประมาณมูลคาสุทธิที่จะไดรั บ ใหพิจารณาถึงวัตถุประสงคของกิจการในการถือครองสินคาคงเหลือดวย ตัวอยางเชน มูลคาสุทธิที่จะไดรับของสินคาคงเหลือที่กิจการถือไวเพื่อขายหรือใหบริการตามสัญญา ที่แนนอน ใหถือตามราคาที่กําหนดไวในสัญญานั้น หากจํานวนตามสัญญาการขายนั้นมีนอยกวาปริมาณ สินคาคงเหลือที่ถือครองไว มูลคาสุทธิที่จะไดรับของสินคาคงเหลือสวนที่เกินกวาปริมาณในสัญญา ใหถือตามราคาขายโดยทั่วไป กิจการอาจตองบันทึกประมาณการหนี้สินจากปริมาณสินคาคงเหลือตาม สัญญาขายที่แนนอนสวนที่เกินปริมาณสินคาคงเหลือที่ถือไวหรือที่เกิดจากสัญญาซื้อที่แนนอนของกิจการ ประมาณการหนี้สินดังกลาวใหปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น

32.

กิจการตองไมปรับมูลคาวัตถุดิบ หรือวัสดุอื่นที่ถือไวเพื่อใชในการผลิตสินคาใหลดต่ํากวาราคาทุน ถาสินคาสําเร็จรูปที่ผลิตจากวัตถุดิบหรือวัสดุนั้นคาดวาจะขายไดในราคาเทากับหรือสูงกวาราคาทุน อยางไรก็ตาม เมื่อการที่ราคาวัตถุดิ บลดลงเปนขอบงชี้วา ตนทุนของสินคาสําเร็จรูปนั้นสูงกวามูลคาสุทธิ ที่จะไดรับ กิจการตองปรับลดมูลคาวัตถุดิบใหลดลงเทากับมูลคาสุทธิที่ไดรับ ในสถานการณเชนนี้ ตนทุนเปลี่ยนแทนของวัตถุดิบอาจจะเปนมูลคาที่ดีที่สุดในการกําหนดมูลคาสุทธิที่จะไดรับ

33.

กิจการตองประเมินมูลคาสุทธิที่จะไดรับใหมในแตละรอบระยะเวลาถัดไป เมื่อสถานการณที่ทําให มีการปรับลดมูลคาสินคาคงเหลือใหต่ํากวาราคาทุน หมดไป หรือเมื่อมีหลักฐานที่ชัดเจนวามูลคา สุทธิที่จะไดรับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสถานการณทางเศรษฐกิจ ใหกิจการบันทึกกลับ รายการ ปรับลดมูลคาของสินคาคงเหลือ (ไดไมเกินจํานวนของมูลคาที่ปรับลดเดิม) เพื่อใหมูลคาตาม บัญชีใหมแสดงมูลคาด วยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จ ะไดรับที่ปรับปรุงใหมแลวแตจํานวนใดจะต่ํา กวา ตัวอยางของกรณีนี้ เชน การที่สินคาคงเหลือรายการหนึ่งยกมาในงวดบัญชีถัดมาดวยมูลคาสุทธิที่จะ ไดรับเนื่องจากราคาขายลดลง และยังไมไดขายออกไปแตตอมาราคาขายไดเพิ่มขึ้น

การรับรูเปนคาใชจาย 34.

เมื่อมีการขายสินคาคงเหลือออกไป มูลคาตามบัญชีของสินคานั้นตองรับรูเปนคาใชจายในงวดที่มี การรับรูรายไดที่เกี่ยวของ มูลคาที่ลดลงของสินคาคงเหลือเนื่องจากการปรับมูลคาใหเทากับ มูลคาสุทธิที่จะไดรับ รวมทั้งผลขาดทุนทั้งหมดที่เกี่ยวกับสินคาคงเหลือตองบันทึกเปนคาใชจาย ในงวดที่ปรับมูลคาสินคาใหลดลงหรือมีผลขาดทุนเกิดขึ้น จํานวนที่เกิดจากการกลับรายการปรับลด มูลค าสินคาคงเหลือที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลคาสุทธิที่จ ะไดรับตองรับรูโดยนําไปหักจาก มูลคาของสินคาคงเหลือที่รับรูเปนคาใชจายในงวดบัญชีที่มีการกลับรายการดังกลาว

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 12/14


35.

สินคาบางสวนอาจถูกปนสวนไปยังบัญชีสินทรัพยอื่น เชน สินคาที่ใชเปนสวนประกอบของที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่สรางขึ้นเอง สินคาคงเหลือที่ปนสวนไปยังสินทรัพยประเภทอื่นในลักษณะนี้ใหรับรู เปนคาใชจายตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพยนั้น

การเปดเผยขอมูล 36.

กิจการตองเปดเผยขอมูลทุกขอตอไปนี้ในงบการเงิน 36.1 นโยบายการบัญชีที่ใชในการวัดมูลคาสินคาคงเหลือ และวิธีที่ใชคํานวณราคาทุน 36.2 มูลคาตามบัญ ชีรวมของสินคาคงเหลื อและมู ลค าตามบั ญชี ของสินคาคงเหลื อแตละ ประเภทจําแนกตามความเหมาะสมของแตละกิจการ 36.3 มูลคาตามบัญชีของสินคาคงเหลือที่แสดงดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย 36.4 มูลคาของสินคาคงเหลือที่รับรูเปนคาใชจายในงวดบัญชีนั้น 36.5 มู ล ค า ของสิ น ค า คงเหลื อ ที่ ป รั บ ลดลงที่ รั บ รู เ ป น ค า ใช จ า ยในงวดบั ญ ชี นั้ น ตาม ขอกําหนดในยอหนาที่ 34 36.6 มูลคาการกลับรายการปรับลดมูลคาสินคาคงเหลือ ซึ่งกิจการรับรูโดยนําไปหักจากมูลคา ของสินคาคงเหลือที่รับรูเปนคาใชจายในงวดบัญชีตามขอกําหนดในยอหนาที่ 34 36.7 เหตุ ก ารณ ห รื อ สถานการณ ที่ ทํ า ให มี ก ารกลั บ รายการปรั บ ลดมู ล ค า สิ น ค า ตาม ยอหนาที่ 34 36.8 มูลคาตามบัญชีของสินคาคงเหลือที่ใชเปนหลักประกันหนี้สิน

37.

ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ มู ล ค า ตามบั ญ ชี ข องสิ น ค า คงเหลื อ ที่ จํ า แนกตามประเภทของสิ น ค า ตลอดจน การเปลี่ยนแปลงสินคาคงเหลือประเภทดังกลาวที่เปนประโยชนตอผูใชงบการเงิน โดยทั่วไปสินคาคงเหลือจะถูก จัดประเภทเปนสินคาที่มีไวเพื่อขาย สินคาสําเร็จรูป สินคาระหวางทํา วัตถุดิบและวัสดุการผลิตสําหรับ สินคาคงเหลือของผูใหบริการ อาจแสดงเปนงานระหวางทํา

38.

มูลคาสินคาคงเหลือที่รับรูเปนคาใชจายในระหวางงวด ซึ่งโดยสวนใหญหมายถึงตนทุนขาย ประกอบดวย ตนทุนทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการวัดมูลคาของสินคาที่ขายไป และคาใชจายในการผลิตที่ไมจัดสรร และตนทุนการผลิต สวนที่สูญเสียเกินปกติ ในบางสถานการณกิจการอาจมีเหตุผลในการรวมตนทุนอื่นๆ เขาไปดวย เชน ตนทุนในการจัดจําหนายสินคา

39.

บางกิจการรายงานกําไรหรือขาดทุนในรูปแบบที่มีผลใหจํานวนที่เปดเผยแตกตางไปจากตนทุนของสินคา ที่รั บรู เป นคาใชจ ายในระหวางงวด ภายใตรู ปแบบนี้ กิ จการจะนํ าเสนอการวิ เคราะหคาใชจ ายโดยจํ าแนก ตามลักษณะคาใชจาย ในกรณีนี้ กิจการจะเปดเผยตนทุนที่รับรูเปนคา ใชจายสําหรับวัตถุดิบและ วัสดุสิ้นเปลือง ตนทุนแรงงาน และตนทุนอื่นพรอมกับมูลคาการเปลี่ยนแปลงสุทธิของสินคาคงเหลือ สําหรับงวดนั้น

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 13/14


วันถือปฏิบัติ 40.

มาตรฐานการบัญชีนี้ใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เ ริ่มในหรือหลั งวัน ที่ 1 มกราคม 2554 เปนตนไป ทั้งนี้ สนับสนุนใหนําไปใชกอนวันถือปฏิบัติ หากกิจการนํามาตรฐาน การบัญชีฉบับนี้ไปถือปฏิบัติสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มกอนวันที่ 1 มกราคม 2554 กิจการ ตองเปดเผยขอเท็จจริงดังกลาวดวย

การยกเลิกมาตรฐานการบัญชี 41.

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใหใชแทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินคาคงเหลือ

42.

(ยอหนานี้ไมเกี่ยวของ)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) หนา 14/14



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.