สวดมนต์ทำวัตรเช้า - เย็น แปล

Page 1






(นาที)

ภาค ๑ คําทําวัตรเชาและเย็น คําบูชาพระรัตนตรัย ปุพพภาคนมการ

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

คําทําวัตรเชา

พุทธาภิถตุ ิ ธัมมาภิถตุ ิ สังฆาภิถตุ ิ รตนัตตยัปปณามคาถา สังเวคปริกิตตนปาฐะ

คําทําวัตรเย็น พุทธานุสสติ พุทธาภิคตี ิ ธัมมานุสสติ ธัมมาภิคตี ิ สังฆานุสสติ สังฆาภิคตี ิ

(๐๑:๓๒) (๐๑:๒๘) (๑๘:๕๓) (๐๓:๓๑) (๐๑:๒๖) (๐๒:๔๒) (๐๓:๒๐) (๐๗:๕๔) (๑๗:๒๙) (๐๑:๕๐) (๐๔:๑๖) (๐๑:๐๖) (๐๔:๐๒) (๐๒:๒๐) (๐๓:๕๕)


เนื้อธรรม (นาที)

ภาค ๒ บทสวดมนตพิเศษ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖.

บทพิเศษ ๑

(ตอนเชา)

สรณคมนปาฐะ อัฏฐสิกขาปทปาฐะ ท๎วัตติงสาการปาฐะ เขมาเขมสรณทีปกคาถา อริยธนคาถา ติลักขณาทิคาถา ภารสุตตคาถา ภัทเทกรัตตคาถา ธัมมคารวาทิคาถา โอวาทปาฏิโมกขคาถา ปฐมพุทธภาสิตคาถา ธาตุปจจเวกขณปาฐะ ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ บทพิจารณาสังขาร สัพพปตติทานคาถา ปฏฐนฐปนคาถา

(๔๑:๒๕) (๐๑:๔๓) (๐๒:๐๔) (๐๒:๒๙) (๐๒:๒๑) (๐๑:๓๓) (๐๓:๑๑) (๐๑:๑๖) (๐๒:๐๐) (๐๒:๒๕) (๐๒:๐๙) (๐๑:๓๐) (๐๖:๓๐) (๐๐:๕๔) (๐๒:๔๑) (๐๒:๕๕) (๐๕:๔๔)


เนื้อธรรม ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑.

บทพิเศษ ๒ (ตอนเย็น)

อริยอัฏฐังคิกมัคคปาฐะ อตีตปจจเวกขณปาฐะ ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณปาฐะ ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ อุททิสสนาธิฏฐานคาถา

(นาที)

(๓๔:๐๖) (๑๕:๔๒) (๐๕:๐๒) (๐๕:๕๙) (๐๐:๕๒) (๐๖:๓๑)

บทพิเศษ ๓

๒๒. ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ ๒๓. ปจจเวกขณอุโบสถศีล

(๐๕:๓๐) (๑๙:๔๘)

บทพิเศษ ๔

๒๔. บทแผเมตตา

(๐๑:๔๑)



คําทําวัตรเชาและเย็น

(เริ่มตนดวย คําบูชาพระรัตนตรัย และ ปุพพภาคนมการ)

คําบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูม ีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ขาพเจาอภิวาทพระผูมพี ระภาคเจา, ผูรู ผูตนื่ ผูเบิกบาน. (กราบ ๑ ครั้ง)

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมทีพ่ ระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว; ธัมมัง นะมัสสามิ. ขาพเจานมัสการพระธรรม. (กราบ ๑ ครั้ง)

สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ สาวกของพระผูม ีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว; สังฆัง นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระสงฆ. (กราบ ๑ ครั้ง)


ปุพพภาคนมการ (คํานมัสการ)

(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความนอบนอมอันเปนสวนเบื้องตน แดพระผูมีพระภาคเจาเถิด.)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ.

ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น; ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส; ตรัสรูช อบไดโดยพระองคเอง.

(วา ๓ ครั้ง)




๑. พุทธาภิถุติ

(คําสรรเสริญพระพุทธเจา)

(หันทะ มะยัง พุทธาภิถตุ ิง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจาเถิด.)

โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจานั้น พระองคใด; อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี; โลกะวิท,ู เปนผูรูโลกอยางแจมแจง; อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษย ทั้งหลาย; พุทโธ, เปนผูรู ผูต ื่น ผูเบิกบานดวยธรรม; ภะคะวา, เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม สั่งสอนสัตว;


โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัหม๎ ะกัง, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกตั ว๎ า ปะเวเทสิ, พระผูม ีพระภาคเจาพระองคใด, ไดทรงทําความดับทุกขใหแจง ดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว, ทรงสอนโลกนี้ พรอมทัง้ เทวดา, มาร พรหม, และหมูสัตว พรอมทั้งสมณพราหมณ, พรอมทัง้ เทวดาและมนุษยใหรูตาม; โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผูม ีพระภาคเจาพระองคใด, ทรงแสดงธรรมแลว; อาทิกัลย๎ าณัง, ไพเราะในเบื้องตน; มัชเฌกัลย๎ าณัง, ไพเราะในทามกลาง; ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, ไพเราะในที่สุด; สาตถัง สะพ๎ยญั ชะนัง เกวะละปะริปณุ ณัง ปะริสทุ ธัง พ๎รัหม๎ ะจะริยัง ปะกาเสสิ, ทรงประกาศพรหมจรรย, คือแบบแหงการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสทุ ธิ์ บริบรู ณ สิ้นเชิง, พรอมทั้งอรรถะ (คําอธิบาย) พรอมทั้งพยัญชนะ (หัวขอ); ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น; ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระผูม พี ระภาคเจาพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระพุทธคุณ)


๒. ธัมมาภิถุติ

(คําสรรเสริญพระธรรม)

(หันทะ มะยัง ธัมมาภิถตุ ิง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด.)

โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมนั้นใด, เปนสิ่งที่พระผูมพี ระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว; สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งทีผ่ ูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง; อะกาลิโก, เปนสิ่งทีป่ ฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล; เอหิปส สิโก, เปนสิ่งทีค่ วรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด; โอปะนะยิโก, เปนสิ่งทีค่ วรนอมเขามาใสตัว; ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูห,ิ เปนสิ่งทีผ่ ูรูก็รูไดเฉพาะตน; ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปชู ะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น; ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น ดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระธรรมคุณ)


๓. สังฆาภิถุติ

(คําสรรเสริญพระสงฆ)

(หันทะ มะยัง สังฆาภิถตุ งิ กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระสงฆเถิด.)

โย โส สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจานั้น หมูใ ด, ปฏิบัติดีแลว; อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว; ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติเพือ่ รูธรรม เปนเครือ่ งออกจากทุกขแลว; สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว; ยะทิทงั , ไดแกบุคคลเหลานี้คือ; จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา, คูแหงบุรษุ ๔ คู,* นับเรียงตัวบุรษุ ได ๘ บุรุษ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมพี ระภาคเจา;


อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสกั การะที่เขานํามาบูชา; ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสกั การะที่เขาจัดไวตอนรับ; ทักขิเณยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน; อัญชะลีกะระณีโย, เปนผูที่บคุ คลทั่วไปควรทําอัญชลี; อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา; ตะมะหัง สังฆัง อะภิปชู ะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระสงฆหมูนนั้ ; ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมูนั้น ดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระสังฆคุณ)

*

๔ คูคือ โสดาปตติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามิมรรค, สกทาคามิผล, อนาคามิมรรค, อนาคามิผล, อรหัตตมรรค, อรหัตตผล.


๔. รตนัตตยัปปณามคาถา (คาถานอบนอมพระรัตนตรัย)

(หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกติ ตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย กลาวคํานอบนอมพระรัตนตรัยและบาลีที่กําหนดวัตถุเครื่องแสดงความสังเวชเถิด.)

พุทโธ สุสทุ โธ กะรุณามะหัณณะโว, พระพุทธเจาผูบริสทุ ธิ์ มีพระกรุณาดุจหวงมหรรณพ; โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, พระองคใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด; โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, เปนผูฆาเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก; วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ; ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, พระธรรมของพระศาสดา สวางรุง เรืองเปรียบดวงประทีป; โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, จําแนกประเภทคือ มรรค ผล นิพพาน, สวนใด; โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดทีช่ ี้แนวแหงโลกุตตระนั้น; วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอือ้ เฟอ;


สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต, พระสงฆเปนนาบุญ อันยิ่งใหญกวานาบุญอันดีทั้งหลาย; โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, เปนผูเห็นพระนิพพาน, ตรัสรูตามพระสุคต, หมูใด; โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, เปนผูละกิเลสเครื่องโลเล เปนพระอริยเจา มีปญญาดี; วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนนั้ โดยใจเคารพเอื้อเฟอ; อิจเจวะเมกันตะภิปชู ะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสงั ขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปท ทะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา. บุญใด ที่ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งวัตถุ ๓, คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยสวนเดียว, ไดกระทําแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้น,ี้ ขออุปททวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย, จงอยามีแกขาพเจาเลย, ดวยอํานาจความสําเร็จ อันเกิดจากบุญนั้น.


๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ (คําแสดงสังเวช)

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนโน, พระตถาคตเจาเกิดขึ้นแลว ในโลกนี้; อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูไกลจากกิเลส, ตรัสรูช อบไดโดยพระองคเอง; ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, และพระธรรมทีท่ รงแสดง เปนธรรมเครื่องออกจากทุกข; อุปะสะมิโก ปะรินพิ พานิโก, เปนเครื่องสงบกิเลส, เปนไปเพื่อปรินิพพาน; สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, เปนไปเพื่อความรูพรอม, เปนธรรมที่พระสุคตประกาศ; มะยันตัง ธัมมัง สุตว๎ า เอวัง ชานามะ, พวกเราเมื่อไดฟงธรรมนั้นแลว, จึงไดรูอยางนี้วา:– ชาติป ทุกขา, แมความเกิด ก็เปนทุกข; ชะราป ทุกขา, แมความแก ก็เปนทุกข; มะระณัมป ทุกขัง, แมความตาย ก็เปนทุกข; โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา, แมความโศก ความร่ําไรรําพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข;


อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ความประสบกับสิง่ ไมเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข; ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ความพลัดพรากจากสิ่งเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข; ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง, มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งนัน้ นั่นก็เปนทุกข; สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา, วาโดยยอ อุปาทานขันธทงั้ ๕ เปนตัวทุกข; เสยยะถีทงั , ไดแกสิ่งเหลานี้คือ:– รูปปู าทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตงั้ แหงความยึดมั่น คือรูป; เวทะนูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตงั้ แหงความยึดมั่น คือเวทนา; สัญูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตงั้ แหงความยึดมั่น คือสัญญา; สังขารูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตงั้ แหงความยึดมั่น คือสังขาร; วิญญาณูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตงั้ แหงความยึดมั่น คือวิญญาณ;


เยสัง ปะริญญายะ, เพื่อใหสาวกกําหนดรอบรูอ ุปาทานขันธ เหลานี้เอง; ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผูม ีพระภาคเจานั้น เมื่อยังทรงพระชนมอยู; เอวัง พะหุลงั สาวะเก วิเนติ, ยอมทรงแนะนําสาวกทั้งหลาย เชนนี้เปนสวนมาก; เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ, อนึ่ง คําสั่งสอนของพระผูม ีพระภาคเจานั้น, ยอมเปนไปในสาวกทั้งหลาย, สวนมาก, มีสวนคือการจําแนกอยางนี้วา:– รูปง อะนิจจัง, รูปไมเทีย่ ง; เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไมเที่ยง; สัญญา อะนิจจา, สัญญาไมเที่ยง; สังขารา อะนิจจา, สังขารไมเที่ยง; วิญญาณัง อะนิจจัง, วิญญาณไมเที่ยง; รูปง อะนัตตา, รูปไมใชตัวตน; เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไมใชตัวตน; สัญญา อะนัตตา, สัญญาไมใชตัวตน; สังขารา อะนัตตา, สังขารไมใชตัวตน; วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไมใชตัวตน;


สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ,

สังขารทัง้ หลายทัง้ ปวง ไมเที่ยง; ธรรมทัง้ หลายทั้งปวง ไมใชตัวตน ดังนี้; เต (หญิงวา ตา) มะยัง โอติณณาม๎หะ, พวกเราทัง้ หลาย เปนผูถูกครอบงําแลว; ชาติยา, โดยความเกิด; ชะรามะระเณนะ, โดยความแกและความตาย; โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, โดยความโศก ความร่าํ ไรรําพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ทั้งหลาย; ทุกโขติณณา, เปนผูถูกความทุกข หยั่งเอาแลว; ทุกขะปะเรตา, เปนผูมีความทุกข เปนเบื้องหนาแลว; อัปเปวะนามิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ า ปญญาเยถาติ. ทําไฉน การทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้, จะพึงปรากฏชัด แกเราได.


(สําหรับอุบาสก-อุบาสิกาสวด)

จิระปะรินพิ พุตมั ป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, เราทั้งหลาย ผูถึงแลวซึ่งพระผูมพี ระภาคเจา, แมปรินพิ พานนานแลว พระองคนนั้ เปนสรณะ; ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ถึงพระธรรมดวย ถึงพระสงฆดวย; ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปช ชามะ, จักทําในใจอยู ปฏิบัติตามอยู ซึ่งคําสั่งสอนของพระผูม ีพระภาคเจานั้น ตามสติกําลัง; สา สา โน ปะฏิปต ติ, ขอใหความปฏิบัตนิ ั้นๆ ของเราทั้งหลาย; อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สังวัตตะตุ. จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกข ทัง้ สิ้นนี้ เทอญ.


(สําหรับภิกษุ-สามเณรสวด)

จิระปะรินพิ พุตมั ป ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, เราทั้งหลาย อุทิศเฉพาะพระผูมพี ระภาคเจา, ผูไกลจากกิเลส, ตรัสรูช อบไดโดยพระองคเอง, แมปรินพิ พานนานแลว พระองคนนั้ ; สัทธา อะคารัสม๎ า อะนะคาริยงั ปพพะชิตา, เปนผูมีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกี่ยวของดวยเรือนแลว; ตัสม๎ งิ ภะคะวะติ พ๎รหั ม๎ ะจะริยงั จะรามะ, ประพฤติอยูซึ่งพรหมจรรย ในพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น; ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปนนา, ถึงพรอมดวยสิกขาและธรรมเปนเครือ่ งเลี้ยงชีวิต ของภิกษุทั้งหลาย; ตัง โน พ๎รัหม๎ ะจะริยัง อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สังวัตตะตุ. ขอใหพรหมจรรยของเราทัง้ หลายนั้น, จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกข ทัง้ สิ้นนี้ เทอญ.

(จบคําทําวัตรเชา)





๑. พุทธานุสสติ

(คําระลึกถึงพระพุทธเจา)

(หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระพุทธเจาเถิด.)

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลย๎ าโณ กิตติสทั โท อัพภุคคะโต, ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระภาคเจานั้น, ไดฟุงไปแลวอยางนี้วา:– อิตปิ  โส ภะคะวา, เพราะเหตุอยางนี้ๆ พระผูม ีพระภาคเจานั้น; อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี; โลกะวิท,ู เปนผูรูโลกอยางแจมแจง; อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษย ทั้งหลาย; พุทโธ, เปนผูรู ผูต ื่น ผูเบิกบานดวยธรรม; ภะคะวาติ. เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม สั่งสอนสัตว, ดังนี้.


๒. พุทธาภิคีติ

(คําสรรเสริญพระพุทธเจา)

(หันทะ มะยัง พุทธาภิคตี งิ กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระพุทธเจาเถิด.)

พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยตุ โต, พระพุทธเจาประกอบดวยคุณ, มีความประเสริฐแหงอรหันตคุณ เปนตน; สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, มีพระองคอันประกอบดวยพระญาณ, และพระกรุณาอันบริสุทธิ;์ โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, พระองคใด ทรงกระทําชนที่ดีใหเบิกบาน, ดุจอาทิตยทําบัวใหบาน; วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง, ขาพเจาไหวพระชินสีห ผูไ มมีกิเลสพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา; พุทโธ โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระพุทธเจาพระองคใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย; ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคน้นั อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่หนึ่ง ดวยเศียรเกลา;


พุทธัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกสิ สะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา, พระพุทธเจาเปนนาย มีอสิ ระเหนือขาพเจา; พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตสั สะ เม, พระพุทธเจาเปนเครื่องกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา; พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญั ชีวติ ัญจิทงั , ขาพเจามอบกายถวายชีวติ นี้ แดพระพุทธเจา; วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหงั ) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตงั , ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความตรัสรูดีของพระพุทธเจา; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมม,ี พระพุทธเจาเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา; พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจา, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้;


สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวงอยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น. (กราบหมอบลงวา)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี; พุทเธ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขา พเจากระทําแลว ในพระพุทธเจา; พุทโธ ปะฏิคคัณห๎ ะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระพุทธเจา จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น; กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป. *

บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในทีน่ ี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว” ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมือ่ ผูขอตั้งใจทําจริงๆ และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.


๓. ธัมมานุสสติ

(คําระลึกถึงพระธรรม)

(หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด.)

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนสิง่ ที่พระผูม ีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว; สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งทีผ่ ูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง; อะกาลิโก, เปนสิ่งทีป่ ฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล; เอหิปส สิโก, เปนสิ่งทีค่ วรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด; โอปะนะยิโก, เปนสิ่งทีค่ วรนอมเขามาใสตัว; ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูหตี ิ. เปนสิ่งทีผ่ ูรูก็รูไดเฉพาะตน, ดังนี้.


๔. ธัมมาภิคีติ

(คําสรรเสริญพระธรรม)

(หันทะ มะยัง ธัมมาภิคตี งิ กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด.)

ส๎วากขาตะตาทิคณุ ะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรม เปนสิง่ ที่ประเสริฐ เพราะประกอบดวยคุณ, คือความที่พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสไวดีแลว เปนตน; โย มัคคะปากะปะริยัตติวโิ มกขะเภโท, เปนธรรมอันจําแนกเปน มรรค ผล ปริยัติ และนิพพาน; ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม จากการตกไปสูโลกที่ชั่ว; วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง, ขาพเจาไหวพระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเปนเครื่องขจัดเสีย ซึ่งความมืด; ธัมโม โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระธรรมใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย; ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่สอง ดวยเศียรเกลา;


ธัมมัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกสิ สะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม, พระธรรมเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา; ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตสั สะ เม, พระธรรมเปนเครือ่ งกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา; ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญั ชีวติ ตัญจิทงั , ขาพเจามอบกายถวายชีวติ นี้ แดพระธรรม; วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหงั ) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธมั มะตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมม,ี พระธรรมเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;


ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี;้ สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น. (กราบหมอบลงวา)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี; ธัมเม กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขา พเจากระทําแลว ในพระธรรม; ธัมโม ปะฏิคคัณห๎ ะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น; กาลันตะเร สังวะริตงุ วะ ธัมเม. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอไป. *

บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในทีน่ ี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว” ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมือ่ ผูขอตั้งใจทําจริงๆ และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.


๕. สังฆานุสสติ

(คําระลึกถึงพระสงฆ)

(หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระสงฆเถิด.)

สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว; อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว; ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติเพือ่ รูธรรม เปนเครือ่ งออกจากทุกขแลว; สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว; ยะทิทงั , ไดแกบุคคลเหลานี้คือ; จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา, คูแหงบุรษุ ๔ คู,* นับเรียงตัวบุรษุ ได ๘ บุรุษ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมพี ระภาคเจา;


อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสกั การะที่เขานํามาบูชา; ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสกั การะที่เขาจัดไวตอนรับ; ทักขิเณยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน; อัญชะลีกะระณีโย, เปนผูที่บคุ คลทั่วไปควรทําอัญชลี; อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา, ดังนี้. *

๔ คูคือ โสดาปตติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามิมรรค, สกทาคามิผล, อนาคามิมรรค, อนาคามิผล, อรหัตตมรรค, อรหัตตผล.


๖. สังฆาภิคีติ

(คําสรรเสริญพระสงฆ)

(หันทะ มะยัง สังฆาภิคตี ิง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระสงฆเถิด.)

สัทธัมมะโช สุปะฏิปต ติคุณาทิยตุ โต, พระสงฆที่เกิดโดยพระสัทธรรม, ประกอบดวยคุณ มีความปฏิบัติดี เปนตน; โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, เปนหมูแหงพระอริยบุคคลอันประเสริฐ ๘ จําพวก; สีลาทิธมั มะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีล เปนตน อันบวร; วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสทุ ธัง, ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจาเหลานั้น อันบริสุทธิด์ วยดี; สังโฆ โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระสงฆหมูใด เปนสะระณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย; ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนนั้ อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่สาม ดวยเศียรเกลา; สังฆัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกสิ สะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ, พระสงฆเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;


สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระสงฆเปนเครื่องกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา; สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญั ชีวติ ัญจิทงั , ขาพเจามอบกายถวายชีวติ นี้ แดพระสงฆ; วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหงั ) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปน นะตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความปฏิบัติดขี องพระสงฆ; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมม,ี พระสงฆเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา; สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี;้ สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.


(กราบหมอบลงวา)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี; สังเฆ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขา พเจากระทําแลว ในพระสงฆ; สังโฆ ปะฏิคคัณห๎ ะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระสงฆ จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น; กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระสงฆ ในกาลตอไป. *

บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในทีน่ ี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว” ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมือ่ ผูขอตั้งใจทําจริงๆ และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.

(จบคําทําวัตรเย็น)







๑. สรณคมนปาฐะ

(คําระลึกถึงพระรัตนตรัย)

(หันทะ มะยัง ติสะระณะคะมะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาเพื่อระลึกถึงพระรัตนตรัยเถิด.)

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ; ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ. ทุติยมั ป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งทีส่ อง ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ; ทุติยมั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งทีส่ อง ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; ทุติยมั ป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. แมครั้งทีส่ อง ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ. ตะติยมั ป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งทีส่ าม ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ; ตะติยมั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งทีส่ าม ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; ตะติยมั ป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. แมครั้งทีส่ าม ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ.


๒. อัฏฐสิกขาปทปาฐะ (คําแสดงศีล ๘)

(หันทะ มะยัง อัฏฐะสิกขาปะทะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงศีล ๘ เถิด.)

ปาณาติปาตา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฆา; อะทินนาทานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจาของไมไดใหแลว; อะพ๎รหั ม๎ ะจะริยา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการกระทําอันมิใชพรหมจรรย; มุสาวาทา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดไมจริง; สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการดื่มสุรา และเมรัย, อันเปนทีต่ ั้งของความประมาท; วิกาละโภชะนา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล;


นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสกู ะ ทัสสะนะ มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มัณทะนะ วิภสู ะนัฏฐานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฟอนรํา, การขับเพลง การดนตรี, การดูการเลนชนิดเปนขาศึกตอกุศล, การทัดทรงสวมใส การประดับ การตกแตงตน, ดวยพวงมาลา ดวยเครื่องกลิ่น และเครื่องผัดทา; อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี. เจตนาเปนเครื่องเวนจากการนั่งนอนบนที่นอนสูง และที่นอนใหญ.


๓. ท๎วัตติงสาการปาฐะ

(คําแสดงอาการ ๓๒ ในรางกาย)

(หันทะ มะยัง ท๎วตั ติงสาการะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงอาการ ๓๒ ในรางกายเถิด.)

อัตถิ อิมสั ม๎ งิ กาเย, เกสา, ผมทั้งหลาย; นะขา, เล็บทั้งหลาย; ตะโจ, หนัง; นะหารู, เอ็นทั้งหลาย; อัฏฐิมญิ ชัง, เยื่อในกระดูก; หะทะยัง, หัวใจ; กิโลมะกัง, พังผืด; ปปผาสัง, ปอด; อันตะคุณงั , ลําไสสุด; กะรีสัง, อุจจาระ; เสมหัง, เสลด; โลหิตงั , โลหิต; เมโท, มัน; วะสา, น้ําเหลือง; สิงฆาณิกา, น้ําเมือก; มุตตัง, น้ํามูตร; มัตถะเก มัตถะลุงคัง, อิติ.

ในรางกายนี้ม:ี – โลมา, ขนทั้งหลาย; ทันตา, ฟนทั้งหลาย; มังสัง, เนื้อ; อัฏฐี, กระดูกทัง้ หลาย; ไต; วักกัง, ยะกะนัง, ตับ; ปหะกัง, มาม; อันตัง, ลําไส; อุทะริยงั , อาหารในกระเพาะ; ปตตัง, น้ําดี; ปุพโพ, หนอง; เสโท, เหงื่อ; อัสสุ, น้ําตา; เขโฬ, น้ําลาย; ละสิกา, น้ําลื่นหลอขอ; เยื่อมันสมอง ในกระโหลกศีรษะ; ดังนี้แล.


๔. เขมาเขมสรณทีปกคาถา

(คาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษม)

(หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปก ะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษมเถิด.)

พะหุง เว สะระณัง ยันติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ, อารามะรุกขะเจต๎ยานิ มะนุสสา ภะยะตัชชิตา, มนุษยเปนอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแลว, ก็ถือเอาภูเขาบาง ปาไมบาง, อารามและรุกขเจดียบาง เปนสรณะ; เนตัง โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมุตตะมัง, เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ, นั่น มิใชสรณะอันเกษมเลย, นั่น มิใชสรณะอันสูงสุด, เขาอาศัยสรณะนัน่ แลว ยอมไมพน จากทุกขทั้งปวงได; โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต, จัตตาริ อะริยะสัจจานิ สัมมัปปญญายะ ปสสะติ, สวนผูใดถือเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะแลว, เห็นอริยสัจจ คือความจริงอันประเสริฐ ๔ ดวยปญญาอันชอบ; ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง, อะริยญั จัฏฐังคิกงั มัคคัง ทุกขูปะสะมะคามินัง, คือเห็นความทุกข, เหตุใหเกิดทุกข, ความกาวลวงทุกขเสียได, และหนทางมีองค ๘ อันประเสริฐ เครื่องถึงความระงับทุกข;


เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง, เอตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ. นั่นแหละ เปนสรณะอันเกษม, นั่น เปนสรณะอันสูงสุด, เขาอาศัยสรณะนัน่ แลว ยอมพนจากทุกขทั้งปวงได.

๕. อริยธนคาถา

(คาถาสรรเสริญพระอริยเจา)

(หันทะ มะยัง อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาสรรเสริญพระอริยเจาเถิด.)

ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา, ศรัทธา ในพระตถาคตของผูใด ตัง้ มั่นอยางดี ไมหวั่นไหว; สีลญั จะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตงั , และศีลของผูใดงดงาม เปนที่สรรเสริญที่พอใจ ของพระอริยเจา; สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชภุ ตู ญั จะ ทัสสะนัง, ความเลือ่ มใสของผูใดมีในพระสงฆ, และความเห็นของผูใดตรง; อะทะฬิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะ ชีวิตงั , บัณฑิตกลาวเรียกเขาผูนั้นวา คนไมจน, ชีวิตของเขาไมเปนหมัน; ตัสม๎ า สัทธัญจะ สีลญั จะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง, อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะสาสะนัง. เพราะฉะนั้น เมื่อระลึกได ถึงคําสัง่ สอนของพระพุทธเจาอยู, ผูมีปญญาควรกอสรางศรัทธา ศีล ความเลือ่ มใส และความเห็นธรรมใหเนืองๆ.


๖. ติลักขณาทิคาถา

(คาถาแสดงพระไตรลักษณ)

(หันทะ มะยัง ติลักขะณาทิคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระไตรลักษณเปนเบื้องตนเถิด.)

สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ, เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา สังขารทั้งปวงไมเที่ยง; อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสทุ ธิยา, เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง, นั่นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด; สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ, เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา สังขารทั้งปวงเปนทุกข; อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสทุ ธิยา, เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง, นั้นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด; สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ, เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา ธรรมทั้งปวงเปนอนัตตา; อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสทุ ธิยา, เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง, นั่นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด; อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน, ในหมูมนุษยทั้งหลาย, ผูที่ถึงฝงแหงพระนิพพานมีนอยนัก;


อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ, หมูมนุษยนอกนั้น ยอมวิง่ เลาะอยูต ามฝงในนี้เอง; เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวตั ติโน, ก็ชนเหลาใด ประพฤติสมควรแกธรรม ในธรรมที่ตรัสไวชอบแลว; เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทตุ ตะรัง, ชนเหลานั้น จักถึงฝงแหงพระนิพพาน, ขามพนบวงแหงมัจจุ ที่ขามไดยากนัก; กัณห๎ ัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะปณฑิโต, จงเปนบัณฑิตละธรรมดําเสีย แลวเจริญธรรมขาว; โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง, ตัตร๎ าภิระติมจิ เฉยยะ หิตว๎ า กาเม อะกิญจะโน. จงมาถึงที่ไมมนี ้ํา จากที่มนี ้ํา, จงละกามเสีย, เปนผูไมมคี วามกังวล, จงยินดีเฉพาะตอพระนิพพาน อันเปนที่สงัด ซึ่งสัตวยินดีไดโดยยาก.


๗. ภารสุตตคาถา (คาถาแสดงภารสูตร)

(หันทะ มะยัง ภาระสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงภารสูตรเถิด.)

ภารา หะเว ปญจักขันธา, ขันธทั้ง ๕ เปนของหนักเนอ; ภาระหาโร จะ ปุคคะโล, บุคคลแหละ เปนผูแบกของหนักพาไป; ภาราทานัง ทุกขัง โลเก, การแบกถือของหนัก เปนความทุกข ในโลก; ภาระนิกเขปะนัง สุขงั , การสลัดของหนัก ทิ้งลงเสีย เปนความสุข; นิกขิปตว๎ า คะรุง ภารัง, พระอริยเจา สลัดทิ้งของหนัก ลงเสียแลว; อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ, ทั้งไมหยิบฉวยเอาของหนักอันอื่น ขึ้นมาอีก; สะมูลัง ตัณห๎ ัง อัพพุย๎หะ, ก็เปนผูถอนตัณหาขึ้นได กระทั่งราก; นิจฉาโต ปะรินพิ พุโต. เปนผูหมดสิ่งปรารถนา ดับสนิทไมมีสวนเหลือ.


๘. ภัทเทกรัตตคาถา

(คาถาแสดงผูมีราตรีเดียวเจริญ)

(หันทะ มะยัง ภัทเทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงผูมีราตรีเดียวเจริญเถิด.)

อะตีตงั นาน๎วาคะเมยยะ นัปปะฏิกงั เข อะนาคะตัง, บุคคลไมควรตามคิดถึงสิ่งที่ลวงไปแลว ดวยอาลัย, และไมพงึ พะวงถึงสิ่งที่ยังไมมาถึง; ยะทะตีตมั ปะหีนนั ตัง อัปปตตัญจะ อะนาคะตัง, สิ่งเปนอดีตก็ละไปแลว, สิ่งเปนอนาคตก็ยังไมมา; ปจจุปปนนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปส สะติ, อะสังหิรงั อะสังกุปปง ตัง วิทธา มะนุพร๎ ูหะเย, ผูใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหนาในที่นั่นๆ อยางแจมแจง, ไมงอนแงนคลอนแคลน, เขาควรพอกพูนอาการเชนนั้นไว; อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง โก ชัญญา มะระณัง สุเว, ความเพียรเปนกิจที่ตองทําวันนี้, ใครจะรูค วามตาย แมพรุง นี้; นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา, เพราะการผัดเพี้ยนตอมัจจุราชซึ่งมีเสนามาก ยอมไมมสี ําหรับเรา; เอวังวิหาริมาตาปง อะโหรัตตะมะตันทิตัง, ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุน.ิ มุนีผูสงบ ยอมกลาวเรียก ผูมีความเพียรอยูเชนนั้น, ไมเกียจครานทั้งกลางวันกลางคืนวา, “ผูเปนอยูแมเพียงราตรีเดียว ก็นาชม”.


๙. ธัมมคารวาทิคาถา

(คาถาแสดงความเคารพพระธรรม)

(หันทะ มะยัง ธัมมะคาระวาทิคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงความเคารพพระธรรมเถิด.)

เย จะ อะตีตา สัมพุทธา เย จะ พุทธา อะนาคะตา, โย เจตะระหิ สัมพุทโธ พะหุนนัง โสกะนาสะโน, พระพุทธเจาบรรดาที่ลวงไปแลวดวย, ที่ยังไมมาตรัสรูดวย, และพระพุทธเจาผูขจัดโศกของมหาชนในกาลบัดนีด้ วย; สัพเพ สัทธัมมะคะรุโน วิหะริงสุ วิหาติ จะ, เอสา พุทธานะธัมมะตา, อะถาป วิหะริสสันติ พระพุทธเจาทั้งปวงนั้น ทุกพระองค เคารพพระธรรม, ไดเปนมาแลวดวย, กําลังเปนอยูด วย, และจักเปนดวย, เพราะธรรมดาของพระพุทธเจาทั้งหลาย เปนเชนนัน้ เอง; ตัสม๎ า หิ อัตตะกาเมนะ มะหัตตะมะภิกงั ขะตา, สัทธัมโม คะรุกาตัพโพ สะรัง พุทธานะสาสะนัง, เพราะฉะนั้น บุคคลผูรักตน หวังอยูเ ฉพาะคุณเบื้องสูง, เมื่อระลึกไดถึงคําสั่งสอนของพระพุทธเจาอยู, จงทําความเคารพพระธรรม; นะ หิ ธัมโม อะธัมโม จะ อุโภ สะมะวิปากิโน, ธรรมและอธรรม จะมีผลเหมือนกันทั้งสองอยาง หามิได; อะธัมโม นิระยัง เนติ ธัมโม ปาเปติ สุคะติง, อธรรม ยอมนําไปนรก, ธรรม ยอมนําใหถึงสุคติ;


ธัมโม หะเว รักขะติ ธัมมะจาริง, ธรรมแหละ ยอมรักษาผูป ระพฤติธรรมเปนนิจ; ธัมโม สุจิณโณ สุขะมาวะหาติ, ธรรมทีป่ ระพฤติดแี ลว ยอมนําสุขมาใหตน; เอสานิสงั โส ธัมเม สุจณิ เณ. นี่เปนอานิสงส ในธรรมทีต่ นประพฤติดีแลว.


๑๐. โอวาทปาฏิโมกขคาถา (คาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกข)

(หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกขเถิด.)

สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง, การไมทาํ บาปทั้งปวง; กุสะลัสสูปะสัมปะทา, การทํากุศลใหถึงพรอม; สะจิตตะปะริโยทะปะนัง, การชําระจิตของตนใหขาวรอบ; เอตัง พุทธานะสาสะนัง. ธรรม ๓ อยางนี้ เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาทัง้ หลาย. ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีตกิ ขา, ขันติ คือความอดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง; นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, ผูรูทั้งหลาย กลาวพระนิพพานวาเปนธรรมอันยิ่ง; นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, ผูกําจัดสัตวอื่นอยู ไมชื่อวาเปนบรรพชิตเลย; สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต. ผูทําสัตวอื่นใหลําบากอยู ไมชื่อวาเปนสมณะเลย.


อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, ปาติโมกเข จะ สังวะโร, มัตตัญุตา จะ ภัตตัสม๎ งิ , ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง, อะธิจิตเต จะ อาโยโค,

การไมพดู ราย, การไมทาํ ราย; การสํารวมในปาติโมกข; ความเปนผูรูประมาณในการบริโภค; การนอน การนั่ง ในที่อนั สงัด; ความหมัน่ ประกอบในการทําจิต ใหยิ่ง;

เอตัง พุทธานะสาสะนัง. ธรรม ๖ อยางนี้ เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาทัง้ หลาย.


๑๑. ปฐมพุทธภาสิตคาถา

(คาถาพุทธภาษิตครัง้ แรกของพระพุทธเจา)

(หันทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสิตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพุทธภาษิตครั้งแรกของพระพุทธเจาเถิด.)

อะเนกะชาติสงั สารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสงั , เมื่อเรายังไมพบญาณ, ไดแลนทองเที่ยวไปในสงสารเปนอเนกชาติ; คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนปั ปุนัง, แสวงหาอยูซึ่งนายชางปลูกเรือน, คือตัณหาผูสรางภพ, การเกิดทุกคราว เปนทุกขรา่ํ ไป; คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ, นี่แนะ นายชางปลูกเรือน, เรารูจักเจาเสียแลว, เจาจะทําเรือนใหเราไมไดอีกตอไป; สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏงั วิสงั ขะตัง, โครงเรือนทั้งหมดของเจาเราหักเสียแลว, ยอดเรือนเราก็รื้อเสียแลว; วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา. จิตของเราถึงแลวซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแตงไมไดอกี ตอไป, มันไดถึงแลวซึ่งความสิ้นไปแหงตัณหา, คือถึงนิพพาน.


๑๒. ธาตุปจจเวกขณปาฐะ

(คําพิจารณาปจจัย ๔ ใหเห็นเปนของไมงาม)

(หันทะ มะยัง ธาตุปจ จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาปจจัย ๔ ใหเห็นเปนของไมงามเถิด.)

(พิจารณาจีวร)

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเ นืองนิจ; ยะทิทงั จีวะรัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ จีวร, และคนผูใชสอยจีวรนัน้ ; ธาตุมตั ตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคจุ ฉะนียานิ, ก็จีวรทัง้ หมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมงั ปูตกิ ายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนียานิ ชายันติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.


(พิจารณาอาหาร)

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเ นืองนิจ; ยะทิทงั ปณฑะปาโต, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ บิณฑบาต, และคนผูบริโภคบิณฑบาตนั้น; ธาตุมตั ตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิสสัตโต, นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพโพ ปะนายัง ปณฑะปาโต อะชิคจุ ฉะนีโย, ก็บิณฑบาตทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมงั ปูตกิ ายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนีโย ชายะติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.


(พิจารณาทีอ่ ยูอ าศัย)

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเ นืองนิจ; ยะทิทงั เสนาสะนัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ เสนาสนะ, และคนผูใชสอยเสนาสนะนั้น; ธาตุมตั ตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิสสัตโต, นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคจุ ฉะนียานิ, ก็เสนาสนะทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมงั ปูตกิ ายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนียานิ ชายันติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.


(พิจารณายารักษาโรค)

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเ นืองนิจ; ยะทิทงั คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ เภสัชบริขารอันเกือ้ กูลแกคนไข, และคนผูบริโภคเภสัชบริขารนั้น; ธาตุมตั ตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพโพ ปะนายัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคจุ ฉะนีโย, ก็คิลานเภสัชบริขารทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมงั ปูตกิ ายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนีโย ชายะติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.


๑๓. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ

(คําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจา)

(หันทะ มะยัง ปจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจาเถิด.)

หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, บัดนี,้ เราขอเตือนทานทั้งหลายวา; วะยะธัมมา สังขารา, สังขารทัง้ หลาย มีความเสื่อมไปเปนธรรมดา; อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ทานทั้งหลาย, จงทําความไมประมาทใหถงึ พรอมเถิด; อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา. นี้เปนพระวาจามีในครั้งสุดทาย ของพระตถาคตเจา.


๑๔. บทพิจารณาสังขาร (คาถาพิจารณาธรรมสังเวช)

(หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพิจารณาธรรมสังเวชเถิด.)

สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขาร คือรางกาย จิตใจ, แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิน้ , มันไมเทีย่ ง, เกิดขึ้นแลวดับไป, มีแลวหายไป; สัพเพ สังขารา ทุกขา, สังขาร คือรางกาย จิตใจ, แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทัง้ สิ้น, มันเปนทุกข ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแลว แก เจ็บ ตายไป; สัพเพ ธัมมา อะนัตตา, สิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่เปนสังขาร แลมิใชสงั ขาร ทัง้ หมดทั้งสิ้น, ไมใชตัวไมใชตน, ไมควรถือวาเรา วาของเรา วาตัว วาตนของเรา; อะธุวัง ชีวิตงั , ชีวิตเปนของไมยั่งยืน; ธุวงั มะระณัง, ความตายเปนของยั่งยืน; อะวัสสัง มะยา มะริตพั พัง, อันเราจะพึงตายเปนแท; มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตงั , ชีวิตของเรามีความตาย เปนที่สุดรอบ;


ชีวิตงั เม อะนิยะตัง, มะระณัง เม นิยะตัง,

ชีวิตของเราเปนของไมเทีย่ ง; ความตายของเราเปนของเที่ยง;

วะตะ, อะยัง กาโย, อะจิรงั , อะเปตะวิญญาโณ, ฉุฑโฑ, อะธิเสสสะติ, ปะฐะวิง, กะลิงคะรัง อิวะ, นิรัตถัง.

ควรที่จะสังเวช; รางกายนี้; มิไดตั้งอยูนาน; ครั้นปราศจากวิญญาณ; อันเขาทิ้งเสียแลว; จักนอนทับ; ซึ่งแผนดิน; ประดุจดังวาทอนไมและทอนฟน; หาประโยชนมิได.


๑๕. สัพพปตติทานคาถา

(คาถาแผสว นบุญใหแกสรรพสัตวทงั้ หลาย)

(หันทะ มะยัง สัพพะปตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแผสวนบุญใหแกสรรพสัตวทั้งหลายเถิด.)

ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม, เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา, สัตวทั้งหลาย ไมมีที่สุด ไมมปี ระมาณ, จงมีสวนแหงบุญทีข่ าพเจา ไดทําในบัดนี้, และแหงบุญอื่นทีไ่ ดทําไวกอนแลว; เย ปยา คุณะวันตา จะ มัย๎หงั มาตาปตาทะโย, ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐา วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน, คือจะเปนสัตวเหลาใด, ซึ่งเปนทีร่ ักใครและมีบญุ คุณ เชน มารดา บิดา ของขาพเจาเปนตน ก็ดี, ที่ขาพเจาเห็นแลว หรือไมไดเห็น ก็ดี, สัตวเหลาอื่นที่เปนกลางๆ หรือเปนคูเวรกัน ก็ด;ี สัตตา ติฏฐันติ โลกัสม๎ งิ เต ภุมมา จะตุโยนิกา, ปญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว, สัตวทั้งหลาย ตั้งอยูในโลก, อยูในภูมทิ ั้ง ๓, อยูในกําเนิดทั้ง ๔, มีขันธ ๕ ขันธ มีขันธขนั ธเดียว มีขันธ ๔ ขันธ, กําลังทองเที่ยวอยูใ นภพนอยภพใหญ ก็ด;ี


ญาตัง เย ปตติทานัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยัง, เย จิมงั นัปปะชานันติ เทวา เตสัง นิเวทะยุง, สัตวเหลาใด รูสว นบุญที่ขา พเจาแผใหแลว, สัตวเหลานั้น จงอนุโมทนาเองเถิด, สวนสัตวเหลาใด ยังไมรสู วนบุญนี้, ขอเทวดาทั้งหลาย จงบอกสัตวเหลานั้น ใหรู; มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา, สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน, เขมัปปะทัญจะ ปปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา. เพราะเหตุที่ไดอนุโมทนาสวนบุญที่ขา พเจาแผใหแลว, สัตวทั้งหลายทั้งปวง, จงเปนผูไมมเี วร อยูเปนสุขทุกเมื่อ, จงถึงบทอันเกษม กลาวคือพระนิพพาน, ความปรารถนาทีด่ ีงามของสัตวเหลานั้น จงสําเร็จเถิด.


๑๖. ปฏฐนฐปนคาถา

(คาถาวาดวยการตัง้ ความปรารถนา)

(หันทะ มะยัง ปฏฐะนะฐะปะนะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาวาดวยการตั้งความปรารถนากันเถิด.)

ยันทานิ เม กะตัง ปุญญัง เตนาเนนุททิเสนะ จะ, ขิปปง สัจฉิกะเรยยาหัง ธัมเม โลกุตตะเร นะวะ, บุญใดที่ขา พเจาไดทําในบัดนี้, เพราะบุญนั้น และการอุทิศแผสวนบุญนั้น, ขอใหขาพเจาทําใหแจงโลกุตตธรรม ๙ ในทันที; สะเจ ตาวะ อะภัพโพหัง สังสาเร ปะนะ สังสะรัง, ถาขาพเจาเปนผูอ าภัพอยู, ยังตองทองเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร; นิยะโต โพธิสตั โต วะ สัมพุทเธนะ วิยากะโต, นาฏฐาระสะป อาภัพพะฐานานิ ปาปุเณยยะหัง, ขอใหขาพเจาเปนเหมือนโพธิสัตวผเู ที่ยงแท, ไดรับพยากรณแตพระพุทธเจาแลว, ไมถึงฐานะแหงความอาภัพ ๑๘ อยาง; ปญจะเวรานิ วัชเชยยัง ระเมยยัง สีละรักขะเน, ปญจะกาเม อะลัคโคหัง วัชเชยยัง กามะปงกะโต, ขาพเจาพึงเวนจากเวรทัง้ ๕, พึงยินดีในการรักษาศีล, ไมเกาะเกี่ยวในกามคุณทั้ง ๕, พึงเวนจากเปอกตมกลาวคือ กาม;


ทุททิฏฐิยา นะ ยุชเชยยัง สังยุชเชยยัง สุทฏิ ฐิยา, ปาเป มิตเต นะ เสเวยยัง เสเวยยัง ปณฑิเต สะทา, ขอใหขาพเจาไมพึงประกอบดวยทิฏฐิชั่ว, พึงประกอบดวยทิฏฐิที่ดีงาม, ไมพึงคบมิตรชัว่ , พึงคบแตบัณฑิตทุกเมื่อ; สัทธาสะติหิโรตตัปปาตาปกขันติคุณากะโร, อัปปะสัยโ๎ ห วะ สัตตูหิ เหยยัง อะมันทะมุย๎หะโก, ขอใหขาพเจาเปนบอที่เกิดแหงคุณ, คือ ศรัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ ความเพียร และขันติ, พึงเปนผูท ี่ศัตรูครอบงําไมได, ไมเปนคนเขลา คนหลงงมงาย; สัพพายาปายุปาเยสุ เฉโก ธัมมัตถะโกวิโท, เญยเย วัตตัต๎วะสัชชัง เม ญาณัง อะเฆวะ มาลุโต, ขอใหขาพเจาเปนผูฉลาดในอุบาย, แหงความเสื่อมและความเจริญ, เปนผูเฉียบแหลมในอรรถและธรรม, ขอใหญาณของขาพเจาเปนไป ไมของขัดในธรรมที่ควรรู, ดุจลมพัดไปในอากาศ ฉะนั้น; ยา กาจิ กุสะลา ม๎ยาสา สุเขนะ สิชฌะตัง สะทา, เอวัง วุตตา คุณา สัพเพ โหนตุ มัย๎หงั ภะเว ภะเว, ความปรารถนาใดๆ ของขาพเจาที่เปนกุศล, ขอใหสําเร็จโดยงายทุกเมือ่ , คุณที่ขาพเจากลาวมาแลวทั้งปวงนี,้ จงมีแกขาพเจาทุกๆ ภพ;


ยะทา อุปปชชะติ โลเก สัมพุทโธ โมกขะเทสะโก, ตะทา มุตโต กุกมั เมหิ ลัทโธกาโส ภะเวยยะหัง, เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจา ผูแสดงธรรมเครื่องพนทุกข, เกิดขึ้นแลวในโลก, เมื่อนั้น, ขอใหขาพเจาพนจากกรรมอันชั่วชาทั้งหลาย, เปนผูไดโอกาสแหงการบรรลุธรรม; มะนุสสัตตัญจะ ลิงคัญจะ ปพพัชชัญจุปะสัมปะทัง, ละภิตว๎ า เปสะโล สีลี ธาเรยยัง สัตถุสาสะนัง, ขอใหขาพเจาพึงไดความเปนมนุษย, ไดเพศบริสุทธิ,์ ไดบรรพชา อุปสมบทแลว, เปนคนรักศีล มีศีล, ทรงไวซงึ่ พระศาสนาของพระศาสดา; สุขาปะฏิปะโท ขิปปาภิญโญ สัจฉิกะเรยยะหัง, อะระหัตตัปผะลัง อัคคัง วิชชาทิคณุ ะลังกะตัง, ขอใหเปนผูมีการปฏิบัติโดยสะดวก, ตรัสรูไดพลัน, กระทําใหแจงซึ่งอรหันตผลอันเลิศ, อันประดับดวยธรรม มีวิชชา เปนตน; ยะทิ นุปปชชะติ พุทโธ กัมมัง ปะริปรู ญั จะ เม, เอวัง สันเต ละเภยยาหัง ปจเจกะโพธิมตุ ตะมัน ติ. ถาหากพระพุทธเจาไมบังเกิดขึ้น, แตกุศลกรรมของขาพเจาเต็มเปยมแลว, เมือ่ เปนเชนนั้น, ขอใหขาพเจาพึงไดญาณ เปนเครือ่ งรูเฉพาะตน อันสูงสุดเทอญ.





๑๗. อริยอัฏฐังคิกมัคคปาฐะ (คําแสดงอริยมรรคมีองค ๘)

(หันทะ มะยัง อะริยัฏฐังคิกะมัคคะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงอริยมรรคมีองค ๘ เถิด.)

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค, หนทางนีแ้ ล, เปนหนทางอันประเสริฐ, ซึ่งประกอบดวยองค ๘; เสยยะถีทงั , ไดแกสิ่งเหลานี้ คือ:– (๑) สัมมาทิฏฐิ, ความเห็นชอบ; (๒) สัมมาสังกัปโป, ความดําริชอบ; (๓) สัมมาวาจา, การพูดจาชอบ; (๔) สัมมากัมมันโต, การทําการงานชอบ; (๕) สัมมาอาชีโว, การเลี้ยงชีวิตชอบ; (๖) สัมมาวายาโม, ความพากเพียรชอบ; (๗) สัมมาสะติ, ความระลึกชอบ; (๘) สัมมาสะมาธิ. ความตั้งใจมั่นชอบ. (องคมรรคที่ ๑)

กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาทิฏฐิ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความเห็นชอบ เปนอยางไรเลา?; ยัง โข ภิกขะเว ทุกเข ญาณัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความรูอันใด เปนความรูในทุกข; ทุกขะสะมุทะเย ญาณัง, เปนความรูในเหตุใหเกิดทุกข;


ทุกขะนิโรเธ ญาณัง, เปนความรูในความดับแหงทุกข; ทุกขะนิโรธะคามินิยา ปะฏิปะทายะ ญาณัง, เปนความรูในทางดําเนินใหถึง ความดับแหงทุกข; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาทิฏฐิ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา ความเห็นชอบ. (องคมรรคที่ ๒)

กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความดําริชอบ เปนอยางไรเลา?; เนกขัมมะสังกัปโป, ความดําริในการออกจากกาม; อะพ๎ยาปาทะสังกัปโป, ความดําริในการไมมุงราย; อะวิหงิ สาสังกัปโป, ความดําริในการไมเบียดเบียน; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป. ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา ความดําริชอบ. (องคมรรคที่ ๓)

กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาวาจา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, การพูดจาชอบ เปนอยางไรเลา?; มุสาวาทา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดไมจริง;


ปสณุ ายะ วาจายะ เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดสอเสียด; ผะรุสายะ วาจายะ เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดหยาบ; สัมผัปปะลาปา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดเพอเจอ; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวาจา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา การพูดจาชอบ. (องคมรรคที่ ๔)

กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, การทําการงานชอบ เปนอยางไรเลา?; ปาณาติปาตา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฆา; อะทินนาทานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจาของไมไดใหแลว; กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการประพฤติผิดในกามทัง้ หลาย; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา การทําการงานชอบ.


(องคมรรคที่ ๕)

กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, การเลี้ยงชีวิตชอบ เปนอยางไรเลา?; อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, สาวกของพระอริยเจาในธรรมวินัยนี้; มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ, ละการเลีย้ งชีวิตทีผ่ ิดเสีย; สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกงั กัปเปติ, ยอมสําเร็จความเปนอยูดวยการเลี้ยงชีวิตทีช่ อบ; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา การเลี้ยงชีวิตชอบ. (องคมรรคที่ ๖)

กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาวายาโม, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความพากเพียรชอบ เปนอยางไรเลา?; อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้; อนุปปนนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนุปปาทายะ, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยงั อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณ๎หาติ ปะทะหะติ,


ยอมทําความพอใจใหเกิดขึ้น, ยอมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตั้งจิตไว, เพื่อจะยังอกุศลธรรม อันเปนบาปทีย่ ังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น; อุปปนนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง ปะหานายะ, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยงั อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณ๎หาติ ปะทะหะติ, ยอมทําความพอใจใหเกิดขึ้น, ยอมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตั้งจิตไว, เพื่อจะละอกุศลธรรม อันเปนบาปทีเ่ กิดขึ้นแลว; อะนุปปนนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง อุปปาทายะ, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยงั อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณ๎หาติ ปะทะหะติ, ยอมทําความพอใจใหเกิดขึ้น, ยอมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตั้งจิตไว, เพื่อจะยังกุศลธรรมที่ยังไมเกิด ใหเกิดขึ้น; อุปปนนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง ฐิตยิ า, อะสัมโมสายะ, ภิยโยภาวายะ, เวปุลลายะ, ภาวะนายะ, ปาริปรู ยิ า, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยงั อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณ๎หาติ ปะทะหะติ,


ยอมทําความพอใจใหเกิดขึ้น, ยอมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตั้งจิตไว, เพื่อความตั้งอยู, ความไมเลอะเลือน, ความงอกงามยิ่งขึ้น, ความไพบูลย, ความเจริญ, ความเต็มรอบ, แหงกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวายาโม. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา ความพากเพียรชอบ. (องคมรรคที่ ๗)

กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาสะติ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความระลึกชอบ เปนอยางไรเลา?; อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้; กาเย กายานุปสสี วิหะระติ, ยอมเปนผูพิจารณาเห็นกายในกาย อยูเปนประจํา; อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได;


เวทะนาสุ เวทะนานุปส สี วิหะระติ, ยอมเปนผูพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยูเ ปนประจํา; อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; จิตเต จิตตานุปส สี วิหะระติ, ยอมเปนผูพิจารณาเห็นจิตในจิต อยูเปนประจํา; อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; ธัมเมสุ ธัมมานุปส สี วิหะระติ, ยอมเปนผูพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยูเปนประจํา; อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะติ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา ความระลึกชอบ.


(องคมรรคที่ ๘)

กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสะมาธิ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความตั้งใจมัน่ ชอบ เปนอยางไรเลา?; อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้; วิวจิ เจวะ กาเมหิ, สงัดแลวจากกามทั้งหลาย; วิวจิ จะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ, สงัดแลวจากธรรมที่เปนอกุศล ทั้งหลาย; สะวิตกั กัง สะวิจารัง, วิเวกะชัง ปติสขุ ัง ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เขาถึงปฐมฌาน, ประกอบดวย วิตก วิจาร, มีปติและสุข อันเกิดจากวิเวก แลวแลอยู; วิตกั กะวิจารานัง วูปะสะมา, เพราะความที่ วิตก วิจาร ทั้ง ๒ ระงับลง; อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส, เอโกทิภาวัง, อะวิตกั กัง อะวิจารัง, สะมาธิชงั ปติสขุ ัง ทุติยงั ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เขาถึงทุตยิ ฌาน, เปนเครื่องผองใสแหงใจในภายใน, ใหสมาธิเปนธรรมอันเอกผุดมีขึ้น, ไมมีวิตก ไมมีวจิ าร, มีแตปตแิ ละสุข อันเกิดจากสมาธิ แลวแลอยู;


ปติยา จะ วิราคา,

อนึ่ง เพราะความจางคลายไป แหงปต;ิ อุเปกขะโก จะ วิหะระติ, สะโต จะ สัมปะชาโน, ยอมเปนผูอยูอุเบกขา, มีสติและสัมปชัญญะ; สุขญั จะ กาเยนะ ปะฏิสงั เวเทติ, และยอมเสวยความสุขดวยนามกาย; ยันตัง อะริยา อาจิกขันติ, อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารีต,ิ ชนิดที่พระอริยเจาทั้งหลาย, ยอมกลาวสรรเสริญผูนั้นวา, “เปนผูอยูอุเบกขา มีสติอยูเปนปรกติสุข”, ดังนี้; ตะติยัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เขาถึงตติยฌาน แลวแลอยู;

สุขสั สะ จะ ปะหานา, เพราะละสุขเสียได; ทุกขัสสะ จะ ปะหานา, และเพราะละทุกขเสียได; ปุพเพวะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา, เพราะความดับไปแหงโสมนัสและโทมนัสทั้ง ๒ ในกาลกอน; อะทุกขะมะสุขงั อุเปกขาสะติปาริสทุ ธิง, จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เขาถึงจตุตถฌาน, ไมมีทุกข ไมมสี ขุ , มีแตความที่สติ เปนธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แลวแลอยู; อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะมาธิ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากลาววา ความตั้งใจมัน่ ชอบ.



๑๘. อตีตปจจเวกขณปาฐะ

(คําพิจารณาปจจัย ๔ หลังใชสอยแลว)

(หันทะ มะยัง อะตีตะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาปจจัย ๔ หลังใชสอยแลวเถิด.)

(พิจารณาจีวร)

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า ยัง จีวะรัง ปะริภตุ ตัง, จีวรใด อันเรานุง หมแลว ไมทนั พิจารณา ในวันนี้; ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, จีวรนั้น เรานุงหมแลว เพียงเพื่อบําบัดความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดความรอน; ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย; ยาวะเทวะ หิรโิ กปนะปะฏิจฉาทะนัตถัง. และเพียงเพื่อปกปดอวัยวะ อันใหเกิดความละอาย.


(พิจารณาอาหาร)

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า โย ปณฑะปาโต ปะริภตุ โต, บิณฑบาตใด อันเราฉันแลว ไมทนั พิจารณา ในวันนี้; โส เนวะ ทะวายะ, บิณฑบาตนั้น เราฉันแลว ไมใชเปนไปเพือ่ ความเพลิดเพลิน สนุกสนาน; นะ มะทายะ, ไมใชเปนไปเพื่อความเมามัน เกิดกําลังพลังทางกาย; นะ มัณฑะนายะ, ไมใชเปนไปเพื่อประดับ; นะ วิภสู ะนายะ, ไมใชเปนไปเพื่อตกแตง; ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายัสสะ ฐิติยา, แตใหเปนไปเพียงเพื่อความตั้งอยูไ ดแหงกายนี้; ยาปะนายะ, เพื่อความเปนไปไดของอัตภาพ; วิหงิ สุปะระติยา, เพื่อความสิ้นไปแหงความลําบาก ทางกาย; พ๎รัหม๎ ะจะริยานุคคะหายะ, เพื่ออนุเคราะหแกการประพฤติ พรหมจรรย; อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ, ดวยการทําอยางนี้, เรายอมระงับเสียได ซึ่งทุกขเวทนาเกา คือความหิว;


นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไมทาํ ทุกขเวทนาใหมใหเกิดขึ้น; ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ. อนึ่ง ความเปนไปโดยสะดวกแหงอัตภาพนีด้ วย, ความเปนผูหาโทษมิไดดวย, และความเปนอยูโดยผาสุกดวย, จักมีแกเรา, ดังนี้. (พิจารณาทีอ่ ยูอ าศัย)

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า ยัง เสนาสะนัง ปะริภตุ ตัง, เสนาสนะใด อันเราใชสอยแลว ไมทันพิจารณา ในวันนี;้ ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เสนาสนะนั้น เราใชสอยแลว เพียงเพื่อบําบัดความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดความรอน; ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย; ยาวะเทวะ อุตปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสลั ลานารามัตถัง. เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟาอากาศ, และเพื่อความเปนผูยินดีอยูได ในที่หลีกเรนสําหรับภาวนา.


(พิจารณายารักษาโรค)

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า โย คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริภตุ โต, คิลานเภสัชบริขารใด อันเราบริโภคแลว ไมทันพิจารณา ในวันนี;้ โส ยาวะเทวะ อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, คิลานเภสัชบริขารนั้น เราบริโภคแลว เพียงเพื่อบําบัด ทุกขเวทนา อันบังเกิดขึ้นแลว มีอาพาธตางๆ เปนมูล; อัพย๎ าปชฌะปะระมะตายาติ. เพื่อความเปนผูไมมีโรคเบียดเบียน เปนอยางยิ่ง, ดังนี้;


๑๙. ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณปาฐะ (คําสําหรับบรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ)

(หันทะ มะยัง ปพพะชิตะอะภิณหะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะนามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําสําหรับบรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ เถิด.)

ทะสะ อิเม ภิกขะเว ธัมมา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมทั้งหลาย ๑๐ ประการ เหลานี้, มีอยู; ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, เปนธรรมทีบ่ รรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจ; กะตะเม ทะสะ?, ธรรมทัง้ หลาย ๑๐ ประการนั้น เปนอยางไรเลา?; (๑)

เววัณณิยมั หิ อัชฌูปะคะโตติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, คือบรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, เราเปนผูเ ขาถึงเฉพาะแลว ซึ่งวรรณะอันตาง อันพิเศษ, ดังนี้;

(๒)

ปะระปะฏิพทั ธา เม ชีวกิ าติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, การเลี้ยงชีวิตของเรา เนื่องเฉพาะแลวดวยผูอื่น, ดังนี้;


(๓)

อัญโญ เม อากับโป กะระณีโยติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, ระเบียบการปฏิบัตอิ ยางอื่น ที่เราจะตองทํามีอยู, ดังนี้;

(๔)

กัจจิ นุ โข เม อัตตา สีละโต นะ อุปะวะทะตีติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, เมื่อกลาวโดยศีล, เรายอมตําหนิติเตียนตนเองไมได มิใชหรือ, ดังนี้;

(๕)

กัจจิ นุ โข มัง อะนุวิจจะ วิญู สะพ๎รัหม๎ ะจารี สีละโต นะ อุปะวะทันตีติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, เมื่อกลาวโดยศีล, เพื่อนสพรหมจารีที่เปนวิญูชน, ใครครวญแลว, ยอมตําหนิติเตียนเราไมได มิใชหรือ, ดังนี้;

(๖)

สัพเพหิ เม ปเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโวติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, ความพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ ทัง้ สิ้น, จักมีแกเรา, ดังนี้;


(๗)

กัมมัสสะโกม๎หิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลย๎ าณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามีติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, เราเปนผูม ีกรรมเปนของตน, มีกรรมทีต่ องรับผลเปนมรดกตกทอด, มีกรรมเปนที่กาํ เนิด, มีกรรมเปนเผาพันธุ, มีกรรมเปนที่พงึ่ อาศัย, เราทํากรรมใดไว ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม, เราจักเปนผูรับผลตกทอดแหงกรรมนั้น, ดังนี้;

(๘)

กะถัมภูตสั สะ เม รัตตินทิวา วีตปิ ะตันตีติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, วันคืนลวงไปลวงไป, ในเมื่อเรากําลังเปนอยูในสภาพเชนไร, ดังนี้;

(๙)

กัจจิ นุ โขหัง สุญญาคาเร อะภิระมามีติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึ่งพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจวา, เรายอมยินดีในโรงเรือนอันสงัดอยูหรือหนอ, ดังนี้;


(๑๐)

อัตถิ นุ โข เม อุตตะริมะนุสสะธัมมา อะละมะริยะญาณะทัสสะนะวิเสโส อะธิคะโต, โสหัง ปจฉิเม กาเล สะพ๎รัหม๎ ะจารีหิ ปุฏโฐ นะ มังกุ ภะวิสสามีติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเ นืองนิจวา, ญาณทรรศนะอันวิเศษ ควรแกพระอริยเจา, อันยิ่งกวาวิสัยธรรมดาของมุนษย, ที่เราไดบรรลุแลว, เพื่อเราจะไมเปนผูเกอเขิน เมื่อถูกเพื่อนสพรหมจารีดว ยกัน ถามในภายหลัง, มีอยูแกเราหรือไม, ดังนี้;

อิเม โข ภิกขะเว ทะสะ ธัมมา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมทั้งหลาย ๑๐ ประการ เหลานี้แล; ปพพะชิเตนะ อะภิณ๎หงั ปจจะเวกขิตพั พา, เปนธรรมทีบ่ รรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยูเนืองนิจ; อิต.ิ ดวยอาการ อยางนี้แล.


๒๐. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ

(คําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจา)

(หันทะ มะยัง ปจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจาเถิด.)

หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, บัดนี,้ เราขอเตือนทานทั้งหลายวา; วะยะธัมมา สังขารา, สังขารทัง้ หลาย มีความเสื่อมไปเปนธรรมดา; อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ทานทั้งหลาย, จงทําความไมประมาทใหถงึ พรอมเถิด; อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา. นี้เปนพระวาจามีในครั้งสุดทาย ของพระตถาคตเจา.


๒๑. อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (คาถาอุทศิ และอธิษฐาน)

(หันทะ มะยัง อุทสิ สะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาอุทิศและอธิษฐานเถิด.)

อิมนิ า ปุญญะกัมเมนะ, อุปช ฌายา คุณุตตะรา, อาจะริยปู ะการา จะ, มาตา ปตา จะ ญาตะกา, สุริโย จันทิมา ราชา, คุณะวันตา นะราป จะ, พ๎รห๎มะมารา จะ อินทา จะ, โลกะปาลา จะ เทวะตา, ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ, มัชฌัตตา เวริกาป จะ, สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ, ปุญญานิ ปะกะตานิ เม, สุขงั จะ ติวธิ งั เทนตุ, ขิปปง ปาเปถะ โวมะตัง. *

(บทที่ ๑)

ดวยบุญนี้ อุทิศให; อุปชฌาย ผูเลิศคุณ; แลอาจารย ผูเกื้อหนุน; ทั้งพอแม แลปวงญาติ; สูรย จันทร และราชา; ผูทรงคุณ หรือสูงชาติ; พรหม มาร และอินทราช; ทั้งทวยเทพ และโลกบาล; ยมราช มนุษยมติ ร; ผูเปนกลาง ผูจองผลาญ; ขอให เปนสุขศานต ทุกทัว่ หนา อยาทุกขทน; บุญผอง ที่ขาทํา จงชวยอํานวยศุภผล; ใหสุข ๓ อยางลน; ใหลุถึง นิพพานพลัน* (นิพพานเทอญ).

ถาจะหยุดวาเพียงเทานี้ ใหเปลี่ยน “นิพพานพลัน” เปน “นิพพานเทอญ”


(บทที่ ๒)

เย เกจิ ขุททะกา ปาณา, มะหันตาป มะยา หะตา, เย จาเนเก ปะมาเทนะ, กายะวาจามะเนเหวะ, ปุญญัง เม อะนุโมทันตุ, คัณหันตุ ผะละมุตตะมัง, เวรา โน เจ ปะมุญจันตุ, สัพพะโทสัง ขะมันตุ เม. *

สัตวเล็ก ทั้งหลายใด; ทั้งสัตวใหญ เราห้ําหั่น; มิใชนอย เพราะเผลอพลัน; ทางกายา วาจา จิต; จงอนุโมทนากุศล; ถือเอาผล อันอุกฤษฏ; ถามีเวร จงเปลื้องปลิด; อดโทษขา อยาผูกไว* (ทั่วหนาเทอญ).

ถาจะหยุดวาเพียงเทานี้ ใหเปลี่ยน “อยาผูกไว” เปน “ทั่วหนาเทอญ”


(บทที่ ๓)

ยังกิญจิ กุสะลัง กัมมัง, กัตตัพพัง กิริยงั มะมะ, กาเยนะ วาจามะนะสา, ติทะเส สุคะตัง กะตัง, เย สัตตา สัญญิโน อัตถิ, เย จะ สัตตา อะสัญญิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัย๎หงั , สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต, เย ตัง กะตัง สุวทิ ิตงั , ทินนัง ปุญญะผะลัง มะยา, เย จะ ตัตถะ นะ ชานันติ, เทวา คันต๎วา นิเวทะยุง, สัพเพ โลกัมห๎ ิ เย สัตตา, ชีวันตาหาระเหตุกา, มะนุญญัง โภชะนัง สัพเพ, ละภันตุ มะมะ เจตะสา, *

กุศลกรรม อยางใดหนึ่ง; เปนกิจซึง่ ควรฝกใฝ; ดวยกาย วาจา ใจ; เราทําแลว เพื่อไปสวรรค; สัตวใด มีสัญญา; หรือหาไม เปนอสัญญ; ผลบุญ ขาทํานั้น; ทุกๆ สัตว จงมีสว น; สัตวใดรู ก็เปนอัน; วาขาให แลวตามควร; สัตวใด มิรูถวน; ขอเทพเจา จงเลาขาน; ปวงสัตว ในโลกีย; มีชีวิต ดวยอาหาร; จงได โภชนสาํ ราญ; ตามเจตนา ขาอาณัติ* (ของขาเทอญ).

ถาจะหยุดวาเพียงเทานี้ ใหเปลี่ยน “ขาอาณัต”ิ เปน “ของขาเทอญ”


อิมนิ า ปุญญะกัมเมนะ, อิมนิ า อุททิเสนะ จะ, ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ, ตัณห๎ ปุ าทานะเฉทะนัง, เย สันตาเน หินา ธัมมา, ยาวะ นิพพานะโต มะมัง, นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ, ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว, อุชจุ ิตตัง สะติปญ ญา, สัลเลโข วิริยมั ห๎ นิ า,

(บทที่ ๔)

ดวยบุญนี้ ที่เราทํา; แลอุทิศ ใหปวงสัตว; เราพลันได ซึ่งการตัด; ตัวตัณหา อุปาทาน; สิ่งชั่ว ในดวงใจ; กวาเราจะ ถึงนิพพาน; มลายสิ้น จากสันดาน; ทุกๆ ภพ ที่เราเกิด; มีจิตตรง และสติ ทั้งปญญาอันประเสริฐ; พรอมทั้งความเพียรเลิศ เปนเครื่องขูดกิเลสหาย; มารา ละภันตุ โนกาสัง, โอกาส อยาพึงมี แกหมูมาร สิ้นทั้งหลาย; กาตุญจะ วิริเยสุ เม, เปนชองประทุษราย ทําลายลาง ความเพียรจม; พุทธาทิปะวะโร นาโถ, พระพุทธ ผูบวรนาถ; ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม, พระธรรม ที่พึ่งอุดม; นาโถ ปจเจกะพุทโธ จะ, พระปจเจกะพุทธะสม-; สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง, ทบพระสงฆ ที่พงึ่ ผยอง; เตโสตตะมานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพนัน้ ; มาโรกาสัง ละภันตุ มา, ขอหมูมาร อยาไดชอง; ทะสะปุญญานุภาเวนะ, ดวยเดชบุญ ทั้ง ๑๐ ปอง; มาโรกาสัง ละภันตุ มา. อยาเปดโอกาส แกมาร เทอญ.





๒๒. ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ

(คําพิจารณาปจจัย ๔ ในขณะทีใ่ ชสอย)

(หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาปจจัย ๔ ในขณะนีเ้ ถิด.)

(พิจารณาจีวร)

ปะฏิสงั ขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว นุงหมจีวร; ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อบําบัดความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดความรอน; ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย; ยาวะเทวะ หิรโิ กปนะปะฏิจฉาทะนัตถัง. และเพียงเพื่อปกปดอวัยวะ อันใหเกิดความละอาย.


(พิจารณาอาหาร)

ปะฏิสงั ขา โยนิโส ปณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว ฉันบิณฑบาต; เนวะ ท๎วายะ, ไมใหเปนไปเพื่อความเพลิดเพลิน สนุกสนาน; นะ มะทายะ, ไมใหเปนไปเพื่อความเมามัน เกิดกําลังพลังทางกาย; นะ มัณฑะนายะ, ไมใหเปนไปเพื่อประดับ; นะ วิภสู ะนายะ, ไมใหเปนไปเพื่อตกแตง; ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายัสสะ ฐิติยา, แตใหเปนไปเพียงเพื่อความตั้งอยูไ ดแหงกายนี้; ยาปะนายะ, เพื่อความเปนไปไดของอัตภาพ; วิหงิ สุปะระติยา, เพื่อความสิ้นไปแหงความลําบาก ทางกาย; พ๎รัหม๎ ะจะริยานุคคะหายะ, เพื่ออนุเคราะหแกการประพฤติ พรหมจรรย; อิติ ปุรานัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ, ดวยการทําอยางนี้, เรายอมระงับเสียได ซึ่งทุกขเวทนาเกา คือความหิว;


นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไมทาํ ทุกขเวทนาใหมใหเกิดขึ้น; ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ. อนึ่ง ความเปนไปโดยสะดวกแหงอัตภาพนีด้ วย, ความเปนผูหาโทษมิไดดวย, และความเปนอยูโดยผาสุกดวย, จักมีแกเรา, ดังนี้. (พิจารณาทีอ่ ยูอ าศัย)

ปะฏิสงั ขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ, เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว ใชสอยเสนาสนะ; ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อบําบัดความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดความรอน; ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบําบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย; ยาวะเทวะ อุตปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสลั ลานารามัตถัง. เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟาอากาศ, และเพื่อความเปนผูยินดีอยูไดในที่หลีกเรนสําหรับภาวนา.


(พิจารณายารักษาโรค)

ปะฏิสงั ขา โยนิโส คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ, เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว บริโภคเภสัชบริขาร อันเกื้อกูลแกคนไข; ยาวะเทวะ อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อบําบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึ้นแลว มีอาพาธตางๆ เปนมูล; อัพย๎ าปชฌะปะระมะตายาติ. เพื่อความเปนผูไมมีโรคเบียดเบียน เปนอยางยิ่ง, ดังนี้.


๒๓. ปจจเวกขณอุโบสถศีล (คําพิจารณาอุโบสถศีล)

(หันทะ มะยัง อุโปสะถัฏฐังคะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาอุโบสถศีลเถิด.)

(องคอุโบสถที่ ๑)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; ปาณาติปาตัง ปะหายะ, ทานละการฆาสัตวมีชีวิตแลว; ปาณาติปาตา ปะฏิวริ ะตา, เวนขาดจากการฆาสัตวมชี ีวิตแลว; นิหติ ะทัณฑา นิหติ ะสัตถา, ทิ้งเครื่องทุบตีแลว, ทิ้งเครือ่ งศัสตราแลว; ลัชชี ทะยาปนนา, มีความละอายแกบาป, ถึงพรอมแลวดวยความขวนขวาย เพราะกรุณา; สัพพะปาณะภูตะหิตานุกมั ปโน, วิหะรันติ, เปนผูเฉยไมไดในการเกื้อกูลแกสัตวมีชีวิตทั้งปวง;


อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ ปาณาติปาตัง ปะหายะ, ก็ละการฆาสัตวมชี ีวิตแลว; ปาณาติปาตา ปะฏิวริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวนขาดจากการฆาสัตวมชี ีวิตแลว; นิหติ ะทัณโฑ (หญิงวา ทัณฑา) นิหิตะสัตโถ (หญิงวา สัตถา), ทิ้งเครื่องทุบตีแลว, ทิ้งเครือ่ งศัสตราแลว; ลัชชี (หญิงวา ลัชชิน)ี ทะยาปนโน (หญิงวา ปนนา), มีความละอายแกบาป, ถึงพรอมแลวดวยความขวนขวาย เพราะกรุณา; สัพพะปาณะภูตะหิตานุกมั ปโน (หญิงวา กัมปน)ี วิหะรามิ, เปนผูเฉยไมไดในการเกื้อกูลแกสัตวมีชีวิตทั้งปวง; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๒)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; อะทินนาทานัง ปะหายะ, ทานละการถือเอาสิ่งของที่เขาไมใหแลว; อะทินนาทานา ปะฏิวริ ะตา, เวนขาดจากการถือเอาสิ่งของที่เขาไมใหแลว; ทินนาทายี ทินนะปาฏิกังขี, ถือเอาแตสิ่งของที่เขาให, มีความมุงหวังแตสิ่งของที่เขาให; อะเถเนนะ สุจภิ ูเตนะ อัตตะนา วิหะรันติ, มีตนเปนคนไมขโมย, มีตนเปนคนสะอาดเปนอยู; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ อะทินนาทานัง ปะหายะ, ก็ละการถือเอาสิ่งของที่เขาไมใหแลว; อะทินนาทานา ปะฏิวริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวนขาดจากการถือเอาสิ่งของที่เขาไมใหแลว; ทินนาทายี (หญิงวา ทายิน)ี ทินนะปาฏิกงั ขี (หญิงวา กังขิน)ี , ถือเอาแตสิ่งของที่เขาให, มีความมุงหวังแตสิ่งของที่เขาให; อะเถเนนะ สุจภิ ูเตนะ อัตตะนา วิหะรามิ, มีตนเปนคนไมขโมย, มีตนเปนคนสะอาดเปนอยู; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๓)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; อะพ๎รหั ม๎ ะจะริยงั ปะหายะ, ทานละความประพฤติอันมิใชพรหมจรรยเสียแลว; พ๎รัหม๎ ะจารี อาราจารี, เปนผูประพฤติพรหมจรรย, ประพฤติหางไกลจากกามคุณ; วิระตา เมถุนา คามะธัมมา, เวนจากการประพฤติของคนที่อยูกันเปนคู, อันเปนของสําหรับชาวบาน; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ อะพ๎รหั ม๎ ะจะริยงั ปะหายะ, ก็ละความประพฤติอันมิใชพรหมจรรยเสียแลว; พ๎รัหม๎ ะจารี (หญิงวา จาริน)ี อาราจารี (หญิงวา จาริน)ี , เปนผูประพฤติพรหมจรรย, ประพฤติหางไกลจากกามคุณ; วิระโต (หญิงวา ระตา) เมถุนา คามะธัมมา, เวนจากการประพฤติของคนที่อยูกันเปนคู, อันเปนของสําหรับชาวบานเสีย; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๔)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; มุสาวาทัง ปะหายะ, ทานละการพูดเท็จแลว; มุสาวาทา ปะฏิวริ ะตา, เวนขาดจากการพูดเท็จแลว; สัจจะวาทิโน สัจจะสันธา, เปนผูพูดแตคําจริง, ธํารงไวซึ่งความจริง; เฐตา ปจจะยิกา, เปนผูมีคาํ พูดเชื่อถือได, เปนผูพูดมีเหตุผล; อะวิสงั วาทะกา โลกัสสะ, ไมเปนคนลวงโลก; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ มุสาวาทัง ปะหายะ, ก็ละการพูดเท็จแลว; มุสาวาทา ปะฏิวริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวนขาดจากการพูดเท็จแลว;


สัจจะวาที (หญิงวา วาทิน)ี สัจจะสันโธ (หญิงวา สันธา), เปนผูพูดแตคําจริง, ธํารงไวซึ่งความจริง; เฐโต (หญิงวา เฐตา) ปจจะยิโก (หญิงวา ยิกา), เปนผูมีคาํ พูดเชื่อถือได, เปนผูพูดมีเหตุผล; อะวิสงั วาทะโก (หญิงวา วาทิกา) โลกัสสะ, ไมเปนคนลวงโลก; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๕)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา ปะหายะ, ทานละการดื่มสุราและเมรัย, อันเปนทีต่ ั้งของความประมาทแลว; สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา ปะฏิวริ ะตา, เวนขาดจากการดื่มสุราและเมรัย, อันเปนทีต่ ั้งของความประมาทแลว; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา ปะหายะ, ก็ละการดื่มสุราและเมรัย, อันเปนทีต่ ั้งของความประมาทแลว; สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา ปะฏิวริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวนขาดจากการดื่มสุราและเมรัย, อันเปนทีต่ ั้งของความประมาทแลว; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๖)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; เอกะภัตติกา, ทานมีอาหารวัน ๑ เพียงหนเดียว; รัตตูปะระตา, งดการบริโภคในราตรี; วิระตา วิกาละโภชะนา, เวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ เอกะภัตติโก (หญิงวา ติกา), ก็เปนผูมอี าหารวัน ๑ เพียงหนเดียว; รัตตูปะระโต (หญิงวา ระตา), งดการบริโภคในราตรี; วิระโต (หญิงวา ระตา) วิกาละโภชะนา, เวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๗)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะ มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะ มัณฑะนะวิภสู ะนัฏฐานา ปะฏิวริ ะตา, ทานเปนผูเวนขาดแลว, จากการฟอนรํา, การขับเพลง, การดนตรี, การดูการเลนชนิดเปนขาศึกตอกุศล, การทัดทรงสวมใส, การประดับ, การตกแตงตน, ดวยพวงมาลา, ดวยเครื่องกลิ่นและเครื่องผัดทา; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะ มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะ มัณฑะนะวิภสู ะนัฏฐานา ปะฏิวริ ะโต (หญิงวา ระตา), ก็เปนผูเวนขาดแลว, จากการฟอนรํา, การขับเพลง, การดนตรี, การดูการเลนชนิดเปนขาศึกตอกุศล, การทัดทรงสวมใส, การประดับ, การตกแตงตน, ดวยพวงมาลา, ดวยเครื่องกลิ่นและเครื่องผัดทา; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


(องคอุโบสถที่ ๘)

ยาวะชีวงั อะระหันโต, จําเดิมแตตนจนตลอดชีวิต, พระอรหันตทั้งหลาย; อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนัง ปะหายะ, ทานละการนอนบนที่นอนสูง และที่นอนใหญแลว; อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา ปะฏิวริ ะตา, เวนขาดจากการนอนบนที่นอนสูง และที่นอนใหญแลว; นีจะเสยยัง กัปเปมิ, มัญจะเก วา ติณะสันถะระเก วา, ยอมสําเร็จการนอนบนที่นอนอันต่ํา, บนเตียงนอย, หรือบนเครื่องลาดอันทําดวยหญา; อะหัมปชชะ อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทิวะสัง, แมเราในวันนี้, ตลอดคืน ๑ วัน ๑ นี;้ อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนัง ปะหายะ, ก็ละการนอนบนที่นอนสูง และที่นอนใหญแลว; อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา ปะฏิวริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวนขาดจากการนอนบนที่นอนสูง และที่นอนใหญแลว; นีจะเสยยัง กัปเปมิ, มัญจะเก วา ติณะสันถะระเก วา, ยอมสําเร็จการนอนบนที่นอนอันต่ํา, บนเตียงนอย, หรือบนเครื่องลาดอันทําดวยหญา; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตัง อะนุกะโรมิ, เราทําตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อุปะวุตโถ ภะวิสสะติ. และอุโบสถจักเปนอันเราเขาอยูแลว.


เอวัง อุปะวุตโถ โข ภิกขะเว, อัฏฐังคะสะมันนาคะโต อุโปสะโถ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อุโบสถอันประกอบดวยองค ๘, ที่อริยสาวกเขาอยูแลว, ดวยอาการอยางนี้; มะหัปผะโล โหติ มะหานิสงั โส, ยอมมีผลใหญ, มีอานิสงสใหญ; มะหาชุตโิ ก มะหาวิปผาโร, มีความรุง เรืองใหญ, มีความแผไพศาลใหญ; อิติ. ดวยประการฉะนีแ้ ล.





๒๔. บทแผเมตตา สัพเพ สัตตา, สัตวทั้งหลาย, ที่เปนเพื่อนทุกข, เกิด แก เจ็บ ตาย, ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น; อะเวรา, จงเปนสุขๆ เถิด, อยาไดมีเวรแกกันและกันเลย; อัพ๎ยาปชฌา, จงเปนสุขๆ เถิด, อยาไดเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย; อะนีฆา, จงเปนสุขๆ เถิด, อยาไดมีความทุกขกายทุกขใจเลย; สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ. จงมีความสุขกายสุขใจ, รักษาตนใหพนจากทุกขภัย, ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้นเทอญ.


กะตัง ปุญญะ พะลัง มัย๎หงั สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต. ขอปวงสัตวทั้งสิ้นนั้น, จงเปนผูมีสวนไดเสวยผลบุญ, ที่ขาพเจาทั้งหลาย, ไดกระทําแลวนี้เทอญ. สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ.



















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.