microsoft powerpoint

Page 1

L/O/G/O

Ãкºà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà (Information and Communication Technology System)

www.themegallery.com


L/O/G/O

àÊ¹Í ÍÒ¨ÒàÊبµÔ µÃÒ ¨Ñ¹·Ã ÅÍ ÍÒ¨Òà»ÃШíÒÃÒÂÇÔªÒ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ÊíÒËÃѺ¤ÃÙ (PC54504)

www.themegallery.com


¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¢ŒÍÁÙÅ (Data) ข้อมูล (Data) มีความหมายแตกต่างจากสารสนเทศ (Information) หรื อสารนิ เทศ พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาํ จํากัดความคําว่า ข้อ มู ล (data) หมายถึ ง ข้ อ เท็ จ จริ งหรื อสิ่ งที่ ถื อ หรื อยอมรั บ ว่ า เป็ น ข้อเท็จจริ ง สําหรั บใช้เป็ นหลักอนุ มานหาความจริ ง หรื อการคํานวณ ข้อมูลจึงมักมีความหมายในลักษณะที่เป็ นข้อมูลดิบ (Raw Data) เรี ยกได้ ว่าเป็ นสิ่ งที่ได้จากการสังเกต

www.themegallery.com


¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ෤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È • สารสนเทศ (Information) หมายถึงข่าวสารที่ได้จากการนําข้อมูลดิบ (Raw Data) มาคํานวณทางสถิติหรื อประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึง ข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยูใ่ นรู ปที่สามารถนําไปใช้งานได้ทนั ที (วาสนา สุ ขกระสานติ 2541: 6-1) • เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนําเอา วิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางปฏิบตั ิและอุตสาหกรรม (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2539: 406)

www.themegallery.com


¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¡ÒÃÊ×Íè ÊÒà การสื่ อสาร คือกระบวนการสําหรั บแลกเปลี่ ยนสารรู ปแบบอย่าง ง่ายของสาร คือ จะต้องส่ งจากผูส้ ่ งสารหรื ออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผูร้ ับ สารหรื ออุปกรณ์ถอดรหัส การสื่ อสาร หมายถึง การติดต่อระหว่างมนุษย์ดว้ ยวิธีต่าง ๆ ซึ่ งทํา ใ ห้ ฝ่ า ย ห นึ่ ง รั บ รู ้ ค ว า ม ห ม า ย จ า ก อี ก ฝ่ า ย ห นึ่ ง แ ล ะ เ กิ ด ก า ร ตอบสนอง ปั จ จุ บ ัน การสื่ อสารมี ม ากมายหลายวิ ธี อ าจเป็ น วิ ท ยุ โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์โทรศัพท์มือถือ ดาวเทียม ระบบโทรคมนาคม หรื อ การสื่ อสารระบบเครื อข่ายที่ อาศัยดาวเที ยมและสายเคเบิลใยแก้ว เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า อินเตอร์เน็ท ก็ได้ www.themegallery.com


ÃкºáÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃàªÔ§Ãкº ร ะ บ บ ห ม า ย ถึ ง ก า ร นํ า ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ อั น ไ ด้ แ ก่ คน (People) ทรัพยากร (Resource) แนวคิด (Concept) และกระบวนการ (Process) มาผสมผสานการทํางานร่ วมกันเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายอย่างใด อย่างหนึ่ งตามที่ได้วางแผนไว้ โดยภายในระบบอาจประกอบไปด้วยระบบ ย่ อ (Subsystem) ต่ า งๆ ที่ ต้อ งทํา งานร่ ว มกัน เพื่ อ ให้ บ รรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ เดียวกัน

www.themegallery.com


www.themegallery.com


ÅѡɳТͧÃкº ระบบมีลกั ษณะที่ควรรู้และศึกษาดังนี้ • การทํางานของหน่วยงานย่อยต่างๆ ของระบบ จะต้องมีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องประสานกัน โดยมีวตั ถุประสงค์หรื อความมุ่งหมายร่ วมกันหรื อ อย่างเดียวกัน • ระบบอาจถูกจําแนกแยกเป็ นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรื อหลายประเภท ทั้งนี้สุดแต่ใครเป่ งผูจ้ าํ แนก และผูท้ ี่ทาํ การจําแนกจะเห็นว่าควรแบ่งหรื อ ควรจะจัดเป็ นประเภทใด เช่น เป็ นระบบเปิ ดหรื อระบบปิ ด ระบบ เครื่ องจักร หรื อระบบกึ่งเครื่ องจักร เป็ นต้น www.themegallery.com


ÇÔ¸Õ¡ÒÃàªÔ§Ãкº ระบบมีการดําเนินงาน 8 ขั้นตอน 1) ปัญหา (identify problem) รวบรวมสิ่ งที่เป็ นปัญหา 2) จุดมุ่งหมาย (objective) กําหนดวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ปัญหา 3) ศึกษาข้อจํากัดต่างๆ (constraints) พิจารณาขอบเขตเพื่อการศึกษาข้อจํากัดระบุ หน้าที่ของส่ วนต่างๆ 4) ทางเลือก (alternative) ค้นหาและเลือกวิธีการต่างๆ ในการแก้ปัญหา 5) การพิจารณาทางเลือกที่เหมาะสม (selection) หาทางแก้ปัญหาที่จะสามารถ แก้ปัญหาได้จริ ง 6) การทดลองปฏิบตั ิ (implementation) ทดลองปฏิบตั ิกบั กลุ่มย่อย 7) การประเมินผล (evaluation) หาจุดดีจุดด้อย และ 8) การปรับปรุ งแก้ไข (modification) ปรับปรุ งส่ วนที่บกพร่ อง และนําส่ วนดีไป ปฏิบตั ิ www.themegallery.com


º·ºÒ·¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧÃкºà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทําให้มีการ พัฒ นาคิ ด ค้น สิ่ ง อํา นวยความสะดวกต่ อ การดํา รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริ มปั จจัยพื้นฐานทําให้มนุษย์มีชีวิตความเป็ นอยูท่ ี่ ดีข้ ึน เช่น การสร้างที่พกั อาศัยที่มีคุณภาพมาตรฐาน การผลิตสิ นค้าและ การให้บริ การต่างๆ ที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้มากขึ้น

www.themegallery.com


ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§Ãкº 1. สิ่ งที่ป้อนเข้าไป ( Input ) หมายถึง สิ่ งต่างๆ ที่จาํ เป็ นต้องใช้ใน กระบวนการหรื อโครงการต่างๆ เช่น ในระบบการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยน อาจ ได้แก่ ครู นักเรี ยน ชั้นเรี ยน หลักสูตร ตารางสอน วิธีการสอน เป็ นต้น 2. กระบวนการหรื อการดําเนินงาน ( Process) หมายถึง การนําเอาสิ่ งที่ ป้ อนเข้าไป มาจัดกระทําให้เกิดผลบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ เช่น การสอนของ ครู หรื อการให้นกั เรี ยนทํากิจกรรม เป็ นต้น 3. ผลผลิต หรื อการประเมินผล (Output) หมายถึง ผลที่ได้จากการกระทําใน ขั้นที่สอง ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน หรื อผลงานของนักเรี ยน เป็ นต้น

www.themegallery.com


ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§Ãкº

สิ่ งที่ป้อนเข้าไป (In put)

กระบวนการ (Process)

ภาพองค์ ประกอบของระบบ www.themegallery.com

ผลผลิต (Out put)


ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§Ãкºà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà บุคลากร เป็ นส่ วนประกอบที่สาํ คัญ เพราะบุคลากรที่มีความรู ้ ความสามารถ และเข้าใจวิธีการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จะเป็ นผูด้ าํ เนินการ ในการทํางาน ทั้งหมด บุคลากรจึงต้องมีความรู ้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ขั้นตอนการปฏิบตั ิ เป็ นระเบียบวิธีการปฏิบตั ิงานในการจัดเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ ใน

www.themegallery.com


รู ปแบบที่จะทําให้เป็ นสารสนเทศได้ เช่น กําหนดให้ มีการป้ อนข้อมูลทุกวัน ป้ อน ข้อมูลให้ทนั ตามกําหนดเวลา มีการแก้ไขข้อมูลให้ถกู ต้องอยูเ่ สมอ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการจัดการสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ช่วย ประมวลผล คัดเลือก คํานวณ หรื อพิมพ์รายงาน ผลตามที่ตอ้ งการ คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ทาํ งานได้รวดเร็ ว มีความแม่นยําในการทํางาน ซอฟต์แวร์ คือลําดับขั้นตอนคําสัง่ ให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทํางานตามวัตถุประสงค์ที่วาง ไว้ ซอฟต์แวร์ จึงหมายถึงชุดคําสัง่ ที่เรี ยง เป็ นลําดับขั้นตอนสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ ทํางานตามต้องการ และประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตอ้ งการ

www.themegallery.com


ข้อมูล เป็ นวัตถุดิบที่ทาํ ให้เกิดสารสนเทศ ข้อมูลที่เป็ นวัตถุดิบจะต่างกัน ขึ้นกับ สารสนเทศที่ตอ้ งการ เช่น ในสถานศึกษามักจะต้องการ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูลนักเรี ยน ข้อมูลผลการเรี ยน ข้อมูลอาจารย์ ข้อมูลการใช้จ่ายต่าง ๆ ข้อมูลเป็ น สิ่ งที่สาํ คัญประการหนึ่งที่มีบทบาทต่อการให้เกิด สารสนเทศ

www.themegallery.com


ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ การจัดทําระบบสารสนเทศ มีข้นั ตอน 4 ขั้นดังนี้ 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection) 2) การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) 3) การเก็บรักษาข้อมูล (Data storing) 4) การนําเสนอข้อมูล (Data Presentation

www.themegallery.com


ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศสามารถแยกตามหน้าที่ที่แตกต่างกันได้ดงั นี้ 1. ระบบสํ านักงานอัตโนมัติ (Office Automatic System หรือ OAS ) เป็ นระบบที่ ใช้บุคลากรน้อยที่สุด โดยอาศัยเครื่ องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่ อสารเชื่องโยง ข่าวสารระหว่างเครื่ องมือเหล่านั้นเข้าด้วยกัน QAS มีจุดมุ่งหมายให้เป็ นระบบที่ไม่ ใช้กระดาษ (Paperless System) ส่ งข่าว สารถึงกันด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange) แทน ซึ่งมีรูปแบบในการใช้งาน 2 ลักษณะคือ • รู ปแบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic • รู ปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Meeting System)

www.themegallery.com


2. ระบบประมวลผลรายการประจําวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) เป็ นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรม หรื อการปฏิบตั ิงานประจําหรื องานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสิ นค้า การบันทึกจํานวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทําธุรกรรมหรื อปฏิบตั ิงานใน ลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสิ นค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของลูกค้า จํานวนและราคาของสิ นค้าที่ขาย ไป รวมทั้งวิธีการชําระเงินของลูกค้า

www.themegallery.com


• 3. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information System หรือ MIS ) คือระบบที่ให้สารสนเทศ ที่ผบู ้ ริ หารต้องการ เพื่อให้ สามารทํางาน ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยจะรวมทั้งสารสนเทศภายใน และภายนอกสารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปั จจุบนั นอกจากนี้ระบบนี้จะต้องให้สารสนเทศในช่วงเวลาที่เป็ นประโยชน์ เพื่อให้ผบู้ ริ หารสามารถตัดสิ นใจในการวางแผนการควบคุม และการ ปฏิบตั ิการขององค์กรได้อย่าง ถูกต้อง

www.themegallery.com


4. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support System หรือ DSS) เป็ นระบบที่ พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง เนื่องจาก ถึงแม้วา่ ผูท้ ี่มีหน้าที่ในการ ตัดสิ นใจจะสามารถใช้ประสบการณ์หรื อใช้ขอ้ มูลที่มีอยูแ่ ล้วในระบบเอ็มไอเอส ของบริ ษทั สําหรับทําการตัดสิ นใจได้อย่างมีประสิ ทธิภาพในงานปกติ 5. ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารระดับสู ง (Executive Informaion Systyem หรือ EIS ) เป็ นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุน สารสนเทศและการตัดสิ นใจสําหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูงโดยเฉพาะ หรื อ สามารถกล่าวได้วา่ ระบบนี้คือส่ วนหนึ่งของ DSS ที่แยก ออกมา เพื่อเน้นการให้สารสนเทศที่สาํ คัญต่อdการบริ การต่อผูบ้ ริ หาร

www.themegallery.com


• 6. ปัญญาประดิษฐ์ (AI:Artificial Intelligence)ระบบที่ทาํ ให้เครื่ อง คอมพิวเตอร์กลายเป็ นผูช้ าํ นาญการ ในสาขาใดสาขาหนึ่ง คล้ายกับ มนุษย์ ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็ นระบบ คอมพิวเตอร์ที่ช่วยผูบ้ ริ หารแก้ไขปั ญหาหรื อทําการ ตัดสิ นใจ

www.themegallery.com


ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ยังมีการสับสนอยูม่ ากระหว่างคําว่า ระบบสารสนเทศ ( Information System) กับ เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology) ความจริ งทั้งสองคําคือสิ่ ง เดียวกันแต่แตกต่างกันที่เทคโนโลยี ในส่ วนแรก หมายถึงระบบที่มีการนําข้อมูลดิบ ไปประมวลผลให้อยูใ่ นรู ปสารสนเทศที่พร้อมใช้งาน เช่น การอ่านข่าวในหน้า หนังสื อพิมพ์แล้วไปเล่าต่อให้อีกคนหนึ่งฟัง ก็ถือได้วา่ เป็ นระบบสารสนเทศอย่าง หนึ่งแล้ว เพราะมีการอ่านข้อมูลดิบจากแหล่งข่าวสารแล้วมีการประมวลผลใน สมอง บันทึกจดจํา และมีการแจกจ่ายไปยังบุคคลอื่น

www.themegallery.com


ตัวอย่ างเทคโนโลยีเพือ่ นําระบบสาระสนเทศมาใช้

1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจําข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบตั ิ ตามคําสัง่ ที่บอก เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทาํ งานอย่างใดอย่างหนึ่งได้ คอมพิวเตอร์น้ นั ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรี ยกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์น้ ีจะต้องทํางานร่ วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรื อที่เรี ยกกันว่า ซอฟต์แวร์ (Software)

www.themegallery.com


ระบบสารสนเทศ เป็ นระบบที่ช่วยเสริ มประสิ ทธิภาพการทํางานโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและสื่ อสาร ระบบสารสนเทศประกอบด้วย

1.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น คียบ์ อร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse) จอภาพ (monitor) จอภาพสัมผัส (touch screen) ปากกาแสง (light pen) เครื่ องอ่านรหัสแท่ง (barcode reader) เครื่ องพิมพ์ (printer) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสําหรับเสื่ อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็ น เครื อข่าย เช่น โมเด็ม (modem) และสายสัญญาณ www.themegallery.com


1.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมหรื อ ชุดคําสัง่ ( instruction ) ที่ใช้ควบคุมการทํางาน ของเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เพื่อให้ทาํ งานตามคําสัง่ ของผูใ้ ช้ โดยทัว่ ไป โปรแกรม 1.3) โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรื อดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ (device driver) เป็ นโปรแกรมที่ช่วยในการติดตั้ง ระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรื อใช้ งานอุปกรณ์ต่างๆ ได้

www.themegallery.com


1.4) โปรแกรมแปลภาษา เป็ นโปรแกรมที่ทาํ หน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็ นรหัสที่อยูใ่ นรู ปแบบที่เครื่ องคอมพิวเตอร์สามารถ ทํางานได้ ดังรู ปที่ 1.9 ตัวอย่างตัวแปลภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา ตัวแปลภาษาชี

www.themegallery.com


1.5 บุคลากร (people) บุคลากรเป็ นองค์ประกอบที่ สําคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ ในที่น้ ีหมายถึง บุคลากรที่เป็ นผูพ้ ฒั นาระบบสารสนเทศ 1.6 ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน (procedure) ระบบ สารสนเทศต้องมีข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานที่เป็ น ลําดับขั้นชัดเจน เพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดําเนินงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ทั้งใน สถานการณ์ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิ น

www.themegallery.com


องค์กรต่างๆ มีการลงทุนจํานวนมากในการจัดหาระบบสารสนเทศที่มี ประสิ ทธิภาพเพื่อนํามาช่วยงานทั้งด้านการบริ หารและการจัดการงานทัว่ ไปของ องค์กร โดยเน้นที่คุณภาพของระบบสารสนเทศและความคุม้ ค่าในการลงทุน การ ใช้ระบบสารสนเทศจะเริ่ มจากการนําขย้อนมูลป้ อนเข้าสู่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบ คอมพิวเตอร์จะทําการประมวลข้อมูลเหล่านั้น แล้วจึงส่ งผลลัพธ์ออกมาให้กบั ผูใ้ ช้ ผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศจะนําสารสนเทศนั้นไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจในการทํา กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง

รู ป แสดงกระบวนการประมวลผลข้อมูล และการใช้ สารสนเทศ

www.themegallery.com


2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่ อสารรับ/ส่ งข้อมูลจากที่ไกล ๆ เป็ นการส่ งของข้อมูล ระหว่างคอมพิวเตอร์หรื อเครื่ องมือที่อยูห่ ่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ ขอ้ มูล หรื อสารสนเทศไปยังผูใ้ ช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซึ่งรู ปแบบของข้อมูลที่รับ/ส่ งอาจเป็ นตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสี ยง (Voice) เทคโนโลยีที่ใช้ในการ สื่ อสารหรื อเผยแพร่ สารสนเทศ

www.themegallery.com


เทคโนโลยีโทรคมนาคมสมัยใหม่ การ

สื่ อสารผ่านดาวเทียม (satellite-based communication) ดาวเทียมจะมีเครื่ องถ่ายทอดสัญญาณติดตั้งอยู่ การสื่ อสารโดยผ่านดาวเทียม จะทําโดยการส่ งสัญญาณสื่ อสารจากสถานีภาคพื้นดินแห่งหนึ่งขึ้นไปยังดาวเทียม เมื่อดาวเทียมรับก็จะส่ งกลับมายังสถานีภาคพื้นดินอีกแห่งหนึ่งหรื อหลายแห่ง เราจึง ใช้ดาวเทียมเพื่อแพร่ ภาพสัญญาณโทรทัศน์ได้ การรับจะครอบคลุมพื้นที่ที่ดาวเทียม ลอยอยู่ ซึ่งจะมีบริ เวณกว้างมากและทําได้โดยไม่มีอุปสรรคทางภูมิศาสตร์

www.themegallery.com


การสื่ อสารด้ วยเส้ นใยนําแสง (fiber optic) การสื่ อสารด้ วยเส้ นใยนําแสง เส้นใยนําแสง มีลกั ษณะเป็ นท่อแก้วที่อ่อนตัวอยูใ่ นสายที่หุม้ ด้วยพลาสติก ลักษณะของท่อแก้วหุม้ ด้วยสาร พิเศษที่ทาํ ให้เกิดการหักเหของแสงอยูภ่ ายใน ท่อแก้ว ดังนั้นเราสามารถส่ งแสงจากปลาย ด้านหนึ่งให้ไปปรากฏที่ปลายอีกด้านหนึ่งได้ แม้วา่ เส้นใยนําแสงนั้นจะคดงอไปอย่างไรก็ ตามก็จะส่ งแสงเข้าไปในท่อแก้วได้ เมื่อมีการ นําเอาข้อมูลเข้าไปผสมกับแสง เพื่อให้แสง กระพริ บตามการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล ทํา ให้เรารับส่ งสัญญาณข้อมูลไปกับแสงได้ การ รับส่ งข้อมูลเข้าไปในแสงทําได้มากและ รวดเร็ ว www.themegallery.com

เส้ นใยนําแสง


แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 บริ ษทั ไอบีเอ็มได้นาํ ไมโครคอมพิวเตอร์ออกจําหน่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ในขณะนั้นใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ 8088 เพียงไม่กี่ปีต่อมาก็ได้ พัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ 80286 หากย้อนกลับไปในอดีต พบว่า ไมโครคอมพิวเตอร์เปลี่ยนรุ่ นใหม่บ่อยมาก บริ ษทั ผูพ้ ฒั นาไมโคร โพรเซสเซอร์ได้คิดค้นและพัฒนาให้ขีดความสามารถเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ในปี พ.ศ. 2545 ไมโครโพรเซสเซอร์รุ่ นเพนเทียมโฟร์ของบริ ษทั อินเทล และรุ่ นเอธรอนของ บริ ษทั เอเอ็มดี ทํางานได้ดว้ ยความเร็ วกว่า 2,000 เมกะเฮิรตซ์ ขีดความสามารถของ คอมพิวเตอร์รุ่นนี้มีความเร็ วในการคํานวณเพิม่ ขึ้น มีผลทําให้พฒั นาการทาง ซอฟต์แวร์กา้ วหน้าไปจากเดิมมาก

www.themegallery.com


ขณะเดียวกันความจุของหน่วยความจําหลักที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์กเ็ พิ่มขึ้น เป็ นลําดับ ไมโครคอมพิวเตอร์ที่บริ ษทั ไอบีเอ็มพัฒนาขึ้น ในปี พ.ศ 2524 มี หน่วยความจําเพียง 64 กิโลไบต์ แต่ปัจจุบนั แนวโน้มของหน่วยความจําใน ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นหลายร้อยเมกะไบต์จนมีแนวโน้มถึงกิกะไบต์ในไม่ชา้ นี้

www.themegallery.com


ประโยชน์ และตัวอย่ างของการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารไปใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีส่วนทําให้ชีวติ ความเป็ นอยูข่ องคนใน ปัจจุบนั มีความสะดวกสบายมากขึ้น ทําให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่ อสารถึงกันได้ง่าย และรวดเร็ ว มีการทํากิจกรรมหลายสิ่ งหลายอย่างร่ วมกันง่ายขึ้น การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น 1. ด้ านการศึกษา ; เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนํามาใช้เพื่ออํานวยความ สะดวกในการบริ หารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัด ตารางสอน นอกจากนี้ยงั ใช้เป็ นเครื่ องมือในการเพิม่ โอกาสทางด้านการศึกษาและเพิม่ ประสิ ทธิภาพการเรี ยนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในด้าน การศึกษา ดังรู ป

www.themegallery.com


2. ด้ านการแพทย์ และสาธารณสุ ข ;เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารถูกนํามาใช้เริ่ มต้งแต่การทําทะเบียนคนไข้ การรักษาพยาบาล ทัว่ ไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้อย่ารวดเร็ วและ แม่นยํา นอกจากนี้ยงั ใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการวิจยั ทาง การแพทย์ รักษาคนไข้ดว้ ยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน เครื อข่ายการสื่ อสารเครื่ องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่า อีเอ็มไอ สแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูกนํามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อ ตรวจหาความผิดปกติในสมอง เช่น ดูเนื้องอกพยาธิเลือดออกใน สมอง และต่อมาได้พฒั นาให้ถ่ายภาพหน้าตัดได้ทว่ั ร่ างกาย เรี ยกชื่อ ว่า ซีเอที ( CAT-Computerized Axial Tomography scanner: CAT scanner )

www.themegallery.com


3. ด้ านการเกษตรและอุตสาหกรรม ;เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูก นํามาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทําระบบข้อมูลเพื่อการเกษตร และพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร นอกจากนี้ยงั ช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้าน อุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทาํ งานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่องาน อุตสาหกรรมที่ตอ้ งเสี่ ยงภัยและเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรง ผลิตและควบคุมการจ่ายไฟฟ้ า รวมถึงงานที่ตอ้ งทําซํ้าๆ เช่น โรงงานประกอบ รถยนต์ และโรงงานแบตเตอรี่

www.themegallery.com


จบการนําเสนอ

www.themegallery.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.