มลพิษอากาศและสุขภาพเด็ก Air Pollotion Inpacts On Children

Page 1

AIR POLLUTION IMPACTS ON CHILDREN

http://switchboard.nrdc.org/blogs/dbailey/Final%20yes%20on%20i%20mail%20piece_Page_2_Image_0002.jpg

รายชื่อผูจัดทำ นางสาวณัฏฐคณุตน .เรือนเงิน . . 53381236 นายภัทรภูมิ . . เพียงตา . . 53381427 นางสาวรัชนี . . สายยาโน .. 53381465 นายราวิน .. . เชื้อคีตา . . 53381472 นางสาววรรนิศา . ศรีปญญา . 53381496. นางสาววรางคณา . จำปาวั น . อ. ม ชั้น53381502. โดย นิสิตวิศวกรรมสิ ่งแวดล ปที่ 3 วิศ1 วกรรมสิ ม ชั้นปที่ 3 มหาวิท่งแวดล ยาลัยอพะเยา

มลพิษอากาศ และสุขภาพเด็ก


http://www.blogcdn.com/green.autoblog.com/ media/2008/05/contaminacion.jpg

! สารมลพิษทางอากาศ (AIR POLLUTANT) มลพิษทางอากาศทำให เกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดหลาย ทาง และกอใหเกิดผลตอสิ่งแวดลอม ไดแตกตางกัน ปริมาณการปลดปลอย ของสารมลพิษทางอากาศแตละชนิด ขึ ้ น อยู  ก ั บ แหล ง กำเนิ ด ที ่ ต  า งกั น เช น เดียวกัน เชน มลพิษทางอากาศใน เมืองคือคารบอนมอนอกไซดและโฟโต เคมี ค อลออกซิ แ ดนท ในกรณี ข อง มลพิษที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน ซัลเฟอรไดออกไซดจากโรงไฟฟา ที่ใชถานหินเปนเชื้อเพลิง เปนตน แหลงกำเนิดของมลพิษในอากาศ 7 มลพิษในอากาศเกิดจากแหลง กำเนิด 2 ประเภท คือ 1. แหลงซึ่ง เคลื่อนที่ได ไดแก รถจักรยานยนต รถยนต รถสามลอเครื่อง เครื่องบิน รถไฟ เรือหางยาว และเรือยนตตางๆ ทำให เ กิ ด มลพิ ษ ขณะเคลื ่ อ นที ่ รถยนต ท ำให เ กิ ด ป ญ หามลพิ ษ ทาง

อากาศอย า งรุ น แรงการฟุ  ง กระจาย ของฝุนละอองและอนุภาคตางๆ จาก กิจกรรมผสม บด โม การกอสราง และการขนสงวัสดุและสินคา และสาร มลพิษสำคัญเหลานี้คือ ฝุนละออง คาร บ อนมอนอกไซ ไนโตรเจน ออกไซด ไฮโดรคารบอน และตะกั่ว เปนตน 2. แหลงซึ่งเคลื่อนที่ไมได ไดแก การอุตสาหกรรมตางๆ รวม ทั้งโรงจักรไฟฟา ฯลฯ แหลงเหลานี้ ระบายสารพิษออกสูบรรยากาศขณะ อยูกับที่ โรงงานอุตสาหกรรมผลิตหรือ แปรรูปวัตถุดิบไดแก การผลิตสารเคมี กระดาษ ปุย เหล็กกลา อลูมิเนียม เปนตน ซึ่งอาจมีการปลอยสารพิษ ออกมาเช น ก า ซไฮโดรเจนซั ล ไฟด ออกไซต ข องซั ล เฟอร แ อมโมเนี ย ไอออน ตะกั ่ ว สารหนู เป น ต น การเกษตร เชน การเผาพื้นที่ทำการ เกษตร การฉีดพนสารเคมี ทำใหเกิด สารมลพิษจำพวก สารหนู สารตะกั่ว ควัน และขี้เถา เปนตน

http://www.siamrath.co.th/web/sites/default/files/ carbon_trade.jpg

ซั ล เฟอร ไ ดออกไซด จากโรงไฟฟาแมเมาะที่ใช ถ า นหิ น เป น เชื ้ อ เพลิ ง

http://www.chop-wood.com/wp-content/uploads/2012/06/ สารเคมีกับการเกษตร.jpg

http://mw2.google.com/mw-panoramio/photos/medium/74300456.jpg

2


.

การปองกันและแกไขภาวะมลพิษทางอากาศ . 1. ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหลงกำเนิด โดยการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพเชื้อเพลิง ใชเครื่องยนตที่มีมลพิษนอย ปรับปรุง กระบวนการผลิต และลดมลพิษจากยานพาหนะ . 2. เขมงวดกับมาตรการลดผลกระทบดานภาวะมลพิษทาง อากาศจากภาคอุตสาหกรรม โดยตรวจสอบการปลอยมลสารตางๆ จากภาคอุตสาหกรรมใหอยูในระดับมาตรฐาน และใหมีการติดตั้ง อุปกรณตรวจจับภาวะมลพิษทางอากาศจากโรงงาน . 3. สนับสนุนการใชเทคโนโลยีการเกษตร โดยนำวัสดุเหลือใช จากภาคเกษตรมาใชเปนพลังงานเพื่อลดการเผาวัสดุเหลือใชจาก การเกษตรในที่โลง . 4. ปรับปรุงระบบการกำจัดขยะมูลฝอยชุมชนใหมีการบริหาร จัดการแบบครบวงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลดการเผาขยะในที่โลง 5. ปองกันการเกิดไฟปา ตรวจติดตามปฏิบัติการดับไฟปา และ ฟนฟูสภาพหลังเกิดไฟปา . 6. สงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ เชน พลังงานแสงอาทิตย เพื่อลด ภาวะมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม เชื้อเพลิงประเภทถานหิน . 7. ลดการใชอุปกรณเครื่องใชที่มีสารประกอบของสารที่ทำให เกิดภาวะเรือนกระจก เชน สารคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFC ) . 8. สนับสนุนใหมีการใชระบบการขนสงที่มีมลพิษนอย และสง เสริมการใชระบบขนสงมวลชน . 9. รณรงคและประชาสัมพันธใหประชาชนเขาใจอันตรายที่เกิด จากภาวะมลพิษทางอากาศ และมีสวนรวมในการปองกันแกไขมิให เกิดภาวะมลพิษทางอากาศ . 10. ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตามและ การใชบังคับกฎหมายดานการจัดการภาวะมลพิษทางอากาศ .

http://www.matichon.co.th/online/ 2011/06/13086479971308648021l.jpg

http://www.mcot9725.com/news/uploads/ 41original_Fluprevention.jpg

http://www.siamrath.co.th/web/sites/default/files/ global_warming.jpg

http://2.bp.blogspot.com/-4ukG4OvPKcc/T1bmWvzLZoI/ AAAAAAAAGjE/SPSqg5X2FsU/s1600/P1.JPG

3


การควบคุมมลพิษจาก อุตสาหกรรม ในอดีตเชื่อกันวา หาก ระบายมลพิษในระดับสูง เพื่ออาศัยให ลมและสภาพอากาศช ว ยชั ก พาสาร จนกระจายตัวไดดีแลว ยอมไมเกิด อันตราย แตบัดนี้พบวา มลพิษพน จากบริเวณที่ผลิต แตกลับไปเกิดขึ้น บริเวณไกลจากตนเหตุ ดังเชนปรากฏ หลักฐานในเรื่องฝนกรดขามพรมแดน เปนตน ดังนั้นจึงตองควบคุมมลพิษ ที่ตนกำเนิด และอาศัย หลักการ 3 ประการ คือ การใชเชื้อเพลิงที่สะอาด การควบคุมเครื่องจักร อุปกรณ และ กรรมวิธี ใหผลิตสารมลพิษนอยลง และการลดมลพิษดวยกระบวนการ ตางๆ กอนออกสูบรรยากาศ ! ในอุตสาหกรรม อาจใชเชื้อ เพลิงแตกตางกัน นับตั้งแตลิกไนต ถานหิน น้ำมันเตา หรือกาซธรรมชาติ

ดังนั้นผลของการเผาไหมจึงขึ้นอยูกับ เชื้อเพลิงเปนเบื้องตน เชื้อเพลิงซึ่ง สกปรก หรื อ มี ก ารปนเป  อ นของ ซัลเฟอรมาก ยอมกอใหเกิดมลพิษ มากกวาเชื้อเพลิง ซึ่งจัดวาสะอาด เชื้อเพลิงประเภทหลังนี้ ไดแก กาซ ธรรมชาติ ! การดั ด แปลงกระบวนการ ผลิตนั้น อาจชวยลดมลพิษได เชน โรงผลิตปูนซีเมนตในบริเวณจังหวัด สระบุรี เปลี่ยนวิธีการเปนแบบแหง แทนแบบเปยก ดังที่เคยใชในโรงผลิต ที่บริเวณบางซื่อ ทำใหลดฝุนละออง ลงไปได หมอน้ำในโรงงานมีการปรับ เปลี่ยนลักษณะวิธีการปอนเชื้อเพลิง เชน ปอนลิกไนตเหนือเตา หรือใตเตา ตลอดจนการปรับปริมาณอากาศให พอเหมาะ เหลานี้เปนวิธีการสำคัญใน การควบคุมมลพิษทางอากาศทั้งสิ้น

! การควบคุ ม สารมลพิ ษ ที ่ เปนฝุนละออง อาจเก็บกักไวไดดวย กรรมวิธีหลายแบบ นับตั้งแตการเก็บ ฝุนขนาดใหญไวในที่จำกัด ไมใหฟุง กระจาย จนอากาศนิ่ง และฝุนหนัก ตกลงสูพื้น จัดเปนวิธีพื้นฐาน เรียกวา หองตกตะกอน อนุภาคมลสารที่มี ขนาดย อ มกว า อาจแยกออกจาก อากาศ ดวยวิธีการบังคับใหหมุนวน ในที่จำกัด แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง ทำใหฝุนปะทะผนัง แลวตกลงสูที่ รองรับ อุปกรณนี้เรียกวา ไซโคลน หากฝุนแหลมคมหรือใหญมาก แรง ปะทะของฝุ  น อาจทำให ผ นั ง สึ ก หรอ บางครั้งจึงใชหองตกตะกอน เพื่อลด อนุ ภ าคมลสารประเภทนี ้ เ สี ย ก อ น ไซโคลนมีทั้งแบบแหงและเปยก ถา เปนแบบแหง ความชื้นที่ปะปนอยู ทำใหฝุนจับเขรอะกับผนัง และเกิด การผุ ก ร อ น เหล า นี ้ ทำใหอุปกรณทำงาน ไดไมดีเทาที่ควร น้ำ ไซโคลน หรื อ ของเหลวต า งๆ ใชจับฝุนได เพราะมล Cyclones สารเกาะตัวกันไดงาย เมื่อเปยกชื้น

http://www.jtsystemsinc.com/images/cover.jpg

4


7 การควบคุ ม สารมลพิ ษ ที ่ เปนกาซ อาจใชการดูดซึม การดูด ซับ หรืออาศัยปฏิกิริยาทางเคมีที่ เหมาะสม การดู ด ซึ ม มี ล ั ก ษณะ คลายคลึงกับเครื่องจับฝุนแบบเปยก เพราะอาศัยการฟุงกระจายของกาซ และของเหลว เพื่อใหผสมผสานกัน เปนอยางดี การดูดซับนั้น มีหลักการ เดียวกันกับการวางถานไมไว เพื่อดูด กลิ ่ น ตั ว ดู ด ซั บ เป น ของแข็ ง พรุ น เพื ่ อ ให ผ ิ ว สั ม ผั ส กั บ ก า ซได ม าก แรงดึ ง ดู ด ระหว า งโมเลกุ ล ของตั ว ดูดซับ จะเหลือใชตรงบริเวณผิว จึงใช แรงนี้ดูดกาซเอาไว แลวเอาไปลาง ดวยวิธีการงายๆ เพื่อนำเอาตัวดูดซับ กลับมาใชใหม คารบอน กัมมันต เปนตัวอยางหนึ่งที่นิยมใชสำหรับแยก สารทำละลาย เชน ทินเนอร ไซลีน ในหองปฏิบัติการ มีอุปกรณสำหรับ ดูดความชื้น สารเคมีซึ่งบรรจุไวในนั้น คือ ซิลิกาเจล เชนเดียวกันกับใน สินคาบางชนิด เชน สาหรายแบบแผน มีการบรรจุตัวดูดซับไวในกลองหรือ ซองดวย ทั้งนี้เพื่อรักษาสินคาใหคง ความกรอบไวไดนาน ! การควบคุ ม ก า ซซั ล เฟอร ไดออกไซด น ั ้ น นอกจากจะใช เ ชื ้ อ เพลิงที่สะอาดแลว อาจแยกซัลเฟอร ออกจากเชื ้ อ เพลิ ง ก อ น หรื อ ใช กระบวนการตางๆ ในทายที่สุดได ถานหิน โดยทั่วไปมีซัลเฟอร อยู ประมาณรอยละ 2-7 ซัลเฟอรมีอยู 3 รูป คือ ไพไรต สารประกอบอินทรีย และซั ล เฟต ไพไรต แ ยกออกจาก ถ า นหิ น ได ด  ว ยวิ ธ ี ก ารทางกายภาพ แตการแยกซัลเฟอรในรูป สารประกอบอินทรียตองใชกรรมวิธี ทางเคมี อาจแยกซัลเฟอรออกจาก น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง ได ด ว ยการอาศั ย

ปฏิกิริยากับกาซไฮโดรเจนที่ความดัน สูง ในขณะที่มีตัวเรงปฏิกิริยาอยู การ กำจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซดในขั้น สุดทาย กอนระบายออกสูบรรยากาศ นั้น อาศัยหลักการทางเคมี หรือการ ดูดซับสารเคมีที่ใช ไดแก ดางตางๆ เชน ปูนขาว ออกไซดของแมกนีเซียม และตัวเรงปฏิกิริยา เชน สารประกอบ วาเนเดียม ไมเชนนั้นก็อาจเผาทิ้งที่ อุณหภูมิสูง แลวใชน้ำจับในภายหลัง ! การควบคุ ม ก า ซไนโตรเจน ออกไซด มีหลักการคลายคลึงกับการ ควบคุมกาซประเภทนี้ ในเครื่องของ ยานยนต ท ุ ก ประการ กล า วคื อ ควบคุมสัดสวนระหวางอากาศกับเชื้อ เพลิงใหเหมาะพอดี หรือควบคุมให สัดสวนนี้แยกออกเปนสองสวนคือ ใช เชื้อเพลิงมากในขั้นตน แลวลดนอยลง ในลำดับตอไป นอกจากนั้นหลักการ ลดอุณหภูมิ ในระหวางการเผาไหม ก็ ย ั ง ใช ไ ด อ ี ก เช น เดี ย วกั น กล า วคื อ นำก า ซซึ ่ ง เกิ ด จากการสั น ดาป

หมุ น เวี ย นกลั บ เข า มาป อ น ในการ เผาไหม ในทายที่สุด หากมีกาซเหลือ ตกคางอยู ก็อาจนำมากำจัด ดวยวิธี การทางเคมี หรือกายภาพอีกตอไป !

เครื่องจับฝุน แบบเปยก

http://www.thaieditorial.com/wp-content/uploads/2011/03/ Scrubbers.jpg

http://www.greenpeace.org/seasia/th/ReSizes/OriginalWatermarked/PageFiles/107220/greenpeace-activists-dressed-a-2.jpg

5


The main air pollutants and their effects on children health. http://i.kapook.com/tripplep/20-8-53/babies1.jpg

http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=1988538

http://airexpertsofmichigan.com/blog/wp-content/uploads/ 2010/04/Small-Child-respirator.jpg

มลพิษอากาศหลักที่มีผลกระทบตอเด็ก ! โอโซน (Ozone, O3) เปนกาซที่เกิดจากปฏิกิริยา คารบอนมอนอกไซด (Carbon monoxide,CO) เปน เคมีระหวางออกไซดของไนโตรเจน ไฮโดรคารบอน และมี กาซไมมีสี ไมมีกลิ่น มีความหนาแนน 0.97 ซึ่งเบากวา แสงแดดเป น ตั ว พลั ง งานที ่ ท ำให เ กิ ด ก า ซโอโซน อากาศ ความวองไวตอการทำปฏิกิริยาต่ำและสามารถ ประโยชนของโอโซนคือ เพิ่มออกซิเจนในอากาศ ปะปนอยูในอากาศไดนาน 1-2 เดือน จัดเปน ทำใหอากาศบริสุทธิ์ขึ้น แตถาในบรรยากาศ ก า ซพิ ษ ที ่ เ ป น อั น ตรายต อ สุ ข ภาพมนุ ษ ย ของเรามีกาซโอโซนมากเกินไป ก็จะกอให O3 CO PM เนื่องจากเปนกาซที่ไมมีกลิ่น ทำใหเขาสู เกิดโทษไดมากมายเชนกัน เชน ทำใหเกิด NO2 SO2 Pb รางกายไดโดยที่เราไมรูตัวและเมื่อกาซชนิด อาการแสบตา ระคายเคืองตอระบบทางเดิน นี ้ เ มื ่ อ เข า สู  ร  า งกายสามารถสะสมอยู  ใ น หายใจ และรุ น แรงถึ ง ขั ้ น ก อ ให เ กิ ด มะเร็ ง รางกายไดโดยจะไปรวมตัวกับฮีโมโกลบินใน ผิวหนังได เพราะกาซโอโซนนั้นมีคุณสมบัติยอมให เม็ ด เลื อ ดแดงได ด ี ก ว า ออกซิ เ จนประมาณ แสงผานไดมากกวากาซชนิดอื่น จากการตรวจวัดปริมาณ 200-250 เทา ทำใหการลำเลียงออกซิเจนไปสูเซลล กาซโอโซนของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหง ตางๆ ของรางกายลดนอยลง สงผลใหรางกายเกิดอาการ ชาติพบวา โอโซนจะมีในฤดูรอนมากกวาฤดูอื่น มีคา อ อ นเพลี ย สมองขาดออกซิ เ จน และถ า ได ร ั บ ก า ซ สูงสุดชวงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม สวนในฤดูฝนความ คารบอนมอนอนไซดในปริมาณมากอาจทำใหรางกายเกิด เขมขนของโอโซนในบรรยากาศจะลดลงอยางเห็นไดชัด อาการขาดออกซิเจนเฉียบพลันถึงขึ้นเสียชีวิตได นอกจาก เนื่องจากแสงแดดซึ่งใหพลังงานตอการเกิดกาซโอโซนมี นี้ จากงานวิจัยของ JAMES J. McGRATH ซึ่งทำการวิจัย นอย ปริมาณโอโซนจะมีสูงสุดในชวงเที่ยงวัน และจะลด เกี่ยวกับผลของกาซคารบอนมอนอกไซดที่มีตอระบบ ลงเมื ่ อ แสงแดดน อ ยลง หรื อ มี ก ารเปลี ่ ย นแปลงของ หัวใจในหนูสายพันธุ Sprague Dawley พบวาหลังจาก 8 ทิศทางลมเปนที่สังเกตวาถาอากาศนิ่งไมมีลมพัดและแดด นาทีผานไปอัตราการเตนหัวใจของหนูมีคาลดลงเมื่อไดรับ จัดปริมาณโอโซนจะสูงขึ้นอยางผิดปกติ การฉีดสารละลายกาซคารบอนมอนอกไซดเขาสูกระแส 6


เลือดและเมื่อระดับความเขมขนของ กาซเพิ่มขึ้นสงผลใหอัตราการเตนของ หัวใจลดต่ำลงแสดงผลการทดลองดัง รูป

JAMES J. McGRATH, The Effects of Carbon Monoxide on the Heart: An In Vitro Study, Pharmacology Bwchemtstry & Behawor, Vol 21, Suppl, 1984, 1: 99-102

! ผลกระทบของกาซคารบอน มอนอกไซด ท ี ่ ม ี ต  อ สุ ข ภาพมนุ ษ ย ใ น ระดับที่ความเขมขนตางๆ แสดงดังนี้ ! - ระดับความเขมขน 50 ppm ถึง 200 ppm ปวดศีรษะเล็กนอยและ ออนเพลีย ! -ระดับความเขมขน 200 ppm ถึง 400 ppm คลื่นไส อาเจียน วิงเวียน ศีรษะอยางรุนแรงอาจถึงขั้นเปนลม ! -ระดับความเขมขนประมาณ 1,200 ppm อาการ หัวใจเตนเร็วขึ้น ผิดปกติ และเริ่มเตนผิดจังหวะ ! -ระดับความเขมขนประมาณ 2,000 ppm อาจถึงขั้นหมดสติ และ อาจถึงเสียชีวิต

! -ระดับความเขมขนประมาณ 5,000 ppm อาจทำใหเสียชีวิตภายใน ไมกี่นาที แตอาจจะรอดชีวิตถารีบนำผู ป ว ยออกจากบริ เ วณอั บ อากาศมาสู  บริ เ วณที ่ ม ี อ ากาศบริ ส ุ ท ธิ ์ ห รื อ มี ออกซิเจนเพียงพอ ! ฝุนละอองขนาดเล็ก (PM, Particulate Matter) อนุภาคที่เปน ของแข็ง หรือของเหลวที่แขวนลอยอยู ในอากาศหรือกาซ ยกเวนน้ำบริสุทธิ์ มีอยู 2 ขนาด คือ ฝุนละอองขนาดเล็ก วา 10 ไมครอน (PM10) และฝุนละออง ทีมีขนาดเล็กวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) สามารถผานเขาไปในทางเดินหายใจ ไดลึก โดยระบบทางเดินหายใจ เชนขน จมู ก ไม ส ามารถที ่ จ ะกรองเพื ่ อ ไม ใ ห เข า ไปในส ว นลึ ก ของระบบทางเดิ น หายใจได จึงมีอันตรายมากกวาฝุน ละอองขนาดใหญ โดยมีผลตอระบบ ทางเดิ น หายใจและระบบหั ว ใจและ หลอดเลือด ไมมากก็นอย สำหรับ ประชาชนที่สูดดมเขาไป โดยเฉพาะใน กลุมเสี่ยงไดแก เด็กและคนชรา และ คนที ่ ม ี โ รคของระบบทางเดิ น หายใจ เชนโรคภูมิแพ โรคหอบหืดเปนตน ฝุน ละอองขนาดเล็ก เกิดจากกิจกรรม ตางๆ เชน การกอสราง ฝุนละอองบน ทองถนน และการเผาไหมเชื้อเพลิง

7

! จะเกิดอะไรขึ้น เมื่อเราหายใจ อากาศที่มีฝุนละออง ระบบทางเดิน หายใจแบ ง เป น ส ว นบนและส ว นล า ง ตั้งแตโพรงจมูกและชองปาก ผานชอง คอ กลองเสียง หลอดลมใหญ หลอด ลมฝอย ไปจนถึงถุงลมปอดซึ่งเปน ส ว นปลายสุ ด ของทางเดิ น หายใจ อนุ ภ าคในอากาศสามารถกระจาย เขาไปอยูในระบบทางเดินหายใจได 4 วิธี คือ ! 1. Interception คือ การสัมผัส กั บ ผิ ว เยื ่ อ บุ ท างเดิ น หายใจโดยตรง ได แ ก อ นุ ภ าคที ่ ม ี ข นาดเล็ ก กว า 10 ไมครอน ! 2. Impaction คือ การเคลื่อนที่ ไปตามทิศทางของลมหายใจ ไดแก อนุภาคที่มีขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน ! 3. Sedimentation คือ การ ตกลงตามแรงโนมถวง ไดแกอนุภาคที่ มีขนาดใหญกวา 0.5 ไมครอน ! 4. Diffusion คือ การแพร กระจาย สำหรับอนุภาคที่มีขนาดเล็ก กวา 0.5 ไมครอน

มาตรฐาน คุณภาพอากาศ ทั่วไป


! ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2 ,Nitrogen dioxide ) เกิดจาก การสันดาปที่อุณหภูมิสูงและเปนสาร หลั ก ในกลุ  ม นี ้ ท ี ่ ก  อ ให เ กิ ด ป ญ หา มลภาวะทางอากาศ มีผลกระทบตอ สุขภาพ เชน การศึกษาในคนพบหลัก ฐานการไดรับกาซ NO2 ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว คือ ในระยะสั้น (shortterm exposure effects) ผูที่เปนโรค หอบหืดเมื่อไดรับกาซ NO2 ความเขม ขน 260 ppb เปนเวลา 15 - 30 นาที จะเสริมฤทธิ์การตอบสนองตอสารกอ ภู ม ิ แ พ ส  ง ผลต อ การอั ก เสบของทาง เดินอากาศหายใจเพิ่มขึ้น เมื่อไดรับ กาซ NO2 ความเขมขน 200 – 300 ppb เปนเวลา 30 นาทีถึง 2 ชั่วโมง สง ผลตอการเพิ่มขึ้นของการถูกกระตุน ของทางเดินอากาศหายใจ และอาจสง ผลตอการเพิ่มขึ้นของอาการโรคหอบ หื ด และการใช ย ารั ก ษาโรคในผู  ท ี ่ ม ี สุ ข ภาพดี ไ ม พ บหลั ก ฐานของผลกระ ทบตอสมรรถภาพการทำงานของปอด หรื อ การอั ก เสบของทางเดิ น อากาศ หายใจเมื่อไดรับกาซ NO2 ตํ่ากวา 1,000 ppb ในระยะยาว (long-term exposure effects) พบความสัมพันธ อยางชัดเจนของการไดรับกาซ NO2 รายป ความเขมขนในชวง 23 – 37 ppb สงผลตอการเพิ่มขึ้นของอาการ โรคหอบหื ด และการใช ย ารั ก ษาโรค และการเข า รั บ การรั ก ษาตั ว ที ่ โ รง พยาบาลและหองฉุกเฉินอันเนื่องจาก โรคหอบหืดโดยเฉพาะอยางยิ่งในเด็ก และยังพบความสัมพันธกับการตาย ก อ นวั ย อั น ควรและการเข า รั บ การ รักษาตัวที่โรงพยาบาลและหองฉุกเฉิน เนื่องจากโรคหลอดเลือดหัวใจการได รับกาซ NO2 เปนระยะเวลานาน 1 ป หรือ หลายป ความเขมขน 30 -44 ppb อาจสงผลตอการเปลี่ยนแปลง ของการเจริญเติบโตของสมรรถภาพ

การทำงานของปอดในเด็กและอาการ ของโรคหอบหืดในเด็กที่เปนหอบหืด และการคลอดกอนกำหนด ! ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2, Sulphur dioxide ) เปนกาซพิษที่ไมมี สี มีกลิ่นฉุน และรสฝาดหรือขมเปนก รดฉุนคลายกลิ่นไมขีดไฟที่ติดไฟแลว เปนกาซที่ไมติดไฟ ไมไวไฟ สวนใหญ เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงที่มีธาตุ ซัลเฟอร (ธาตุกำมะถัน) ผสมอยู ไดแก ถานหินลิกไนซ ที่ใชเปนเชื้อ เพลิงในโรงงานผลิตกระแสไฟฟา การ ปล อ ยซั ล เฟอร ไ ดออกไซด ท ี ่ ม ี ค วาม เขมขนสูง มีผลกระทบตอสุขภาพอยาง มาก กาซนี้มีอันตรายตอรางกายมาก ยิ่งขึ้นเมื่อรวมตัวกับฝุน ซึ่งรวมถึงผลก ระทบต อ การเจ็ บ ป ว ยของระบบทาง เดินหายใจ โรคปอด โรคเกี่ยวกับ หลอดเลือดหัวใจ และผูที่ไดรับผลกระ ทบมากที่สุดคือ เด็ก คนชรา และผู ปวยโรคหืด โรคหลอดเลือดหัวใจหรือ โรคปอด เชน โรคหลอดลมอักเสบ ถุง ลมโปงพอง กาซซัลเฟอรไดออกไซด เปนกาซที่มีกลิ่นเหม็น ทำใหระบบทาง เดินหายใจ เชน จมูก ลำคออักเสบ ระคายเคือง ทั้งนี้เนื่องมาจากในน้ำมัน เชื้อเพลิงรถยนตมีกำมะถันปนอยู เมื่อ เกิดการเผาไหมที่ไมสมบรูณจะมีสาร กำมะถันปนอยู เมื่อเกิดการเผาไหมที่ ไมสมบรูณจะมีกาซกำมะถันหลุดออก มาทางทอไอเสียรถยนต ถาสูดเขาไป เสมอ ๆ ทำใหเกิดหลอดลมอักเสบ เรื้อรัง ถามากทำใหลิ้นไกสั้นเกิดการ เกร็ ง หดป ด ทางเดิ น หายใจตายทั น ที สำคัญที่สุดเปนอันตรายตอปอดในราย ที่คนไขเปนโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ อยูแลว จะมีอาการเพิ่มมากขึ้น เมื่อได รับซัลเฟอรไดออกไซด ตะกั่ว (Lead, Pb) เปนแรธาตุ ประเภทโลหะ เปนสารพิษที่กอใหเกิด อันตราย โดยการปนเปอนสารตะกั่ว 8

ในอาหารน้ ำ ดื่ ม และผงฝุ  น ของ ประเทศไทย มาจากการปนเปอนใน อาหารที่จำหนายขางถนน โดยเฉพาะ บริเวณที่มีการทุบตึก เพราะอาจจะมี ผงฝุนตะกั่ว ซึ่งเปนสวนผสมในสีทา บ า นปนมาในอากาศติ ด ตามเสื ้ อ ผ า และภาชนะจากหมอกวยเตี๋ยว ตูน้ำดื่ม ภาชนะเซรามิ ค ที ่ ม ี ส ี แ ละลวดลาย สวยงามอยูในบริเวณที่ตองสัมผัสกับ อาหารโดยตรง และจากของเลนเด็กที่ ใชสีผสมสารตะกั่ว เมื่อเด็กเลนก็มักจะ อม หรือนำมือที่สัมผัสของเลนเขาปาก ก็จะรับสารตะกั่วผานทางเดินอาหาร ได เด็กเปนกลุมที่มีความเสี่ยงสูงมาก ที่จะไดรับผลกระทบ เพราะรางกาย ของเด็ ก สามารถดู ด ซึ ม สารตะกั ่ ว ให เขาสูรางกายไดมากถึง 50% เมื่อ เทียบกับผูใหญที่ดูดซึมเพียง 10-15% เทานั้น และสารตะกั่วที่อยูในรางกาย ของเด็ ก มี ส ั ด ส ว นการกระจายอยู  ใ น เนื้อเยื่อมากกวาผูใหญ รอยละ 30 ตอ รอยละ 10 ทำใหเกิดผลกระทบตอ รางกายเด็กไดมากกวา โดยไมแสดง อาการใดๆ ใหเห็นจากภายนอกเลย หากเด็ ก ได ร ั บ สารสะสมในปริ ม าณ ตะกั่วในเลือดที่เพิ่มขึ้นทุก 10 µg/m3 จะทำให สติปญญาต่ำลง 4-7 จุด จากงานวิจัยของ ตางประเทศพบวา แมในระดับต่ำกวานี้ อาจสงผลกระทบ ต อ การเรี ย นและพฤติ ก รรมของเด็ ก เช น เรี ย นรู  ช  า สมาธิ ส ั ้ น และ พั ฒ นาการถดถอยซึ ่ ง สารตะกั ่ ว ไป สามารถเขาสูรางกายคนเราโดยผาน ทางลมหายใจ ผานทางเดินอาหาร ถา ได ร ั บ ในปริ ม าณน อ ยๆร า งกายจะ กำจัดออกทางปสสาวะและตับแตถา ไดรับมากเกินไป รางกายไมสามาร กำจัดทิ้งก็จะเขาไปสะสมอยูที่กระดูก ฟน และอวัยวะตางๆ เชน ไต ตับ สมอง และปอด


! ผลต อ อาการระบบทางเดิ น หายใจ ที่ผานมา มีการศึกษาทาง ระบาดวิทยาเกี่ยวกับอาการ เฉียบพลันทางเดินหายใจในเด็กและ การสัมผัสมลพิษอากาศในกรุงเทพฯ ศึกษาครั้งแรกใน พ.ศ. 2541 พบ วาการสัมผัสมลพาอากาสระยะสั้น ทำใหเด็กมีความเสี่ยงตอการเจ็บปวย ทางระบบทางเดินหายใจเพิ่มขึ้น โดย พบวา ทำใหเด็กนักเรียนอายุ 8-12 ป มีความเสี่ยงตอการเกิดอาการทาง เดิ น หายใจส ว นบน และทางเดิ น หายใจสวนลางเพิ่มขึ้น 9% และ 7% ตามลำดับ ตอการเพิ่ม PM10 ใน ปริมาณ 30 µg/m3 และ ตอมามีการ ศึกษาใน พ.ศ. 2547 พบความเสี่ยง ของ PM10 ตอ อาการทางเดินหายใจ สวนบนและสวนลาง อาการไอและ หอบหืด ความเสี่ยงของ PM2.5 ตอ อาการหอบหืด และความเสี่ยงของ

http://www.healthcarethai.com/wp-content/ uploads/thhtlkjkaskonionhsjgiojpg

http://www.chula.ac.th/cuthnews/idcucm1/groups/ public/documents/cu_web_image/cu_p010709.jpg

NO2 ตอการเกิดอาการทางเดิน หายใจสวนลาง และหอบหืด ! นอกจากนี้พบวาการสัมผัส มลพิษอากาศเปนระยะยาว ทำให เด็กมีความเสี่ยงตอการเจ็บปวยทาง ระบบทางเดินหายใจเพิ่มมากขึ้น ใน พ.ศ. 2544 พบวาเด็กนักเรียนที่ อาศั ย บริ เ วณโดยรอบโรงไฟฟ า แมเมาะ โดยมลพิษสำคัญที่ปลอย จากโรงไฟฟา คือ SO2 และฝุนจาก เหมืองลิกไนต และการศึกษาใน กรุงเทพฯ พบเด็กนักเรียนในโรงเรียน ที ่ อ ยู  บ ริ เ วณใกล ถ นนและมี ร ะดั บ มลพิษอากาศสูง มีความเสี่ยงตอ การมี อ าการทางเดิ น หายใจสู ง กว า เด็กนักเรียนในโรงงเรียนที่อยูไกลจาก ถนนและมีระดับมลพิษอากาศต่ำกวา นอกจากนี้ยังพบวา เด็กนักเรียนใน เขตกรุงเทพฯ สัมผัส PAHs สูงกวา เด็กนักเรียนตางจังหวัดถึง 3.5 เทา เปนการบงชี้วาเด็กในกรุงเทพฯ อาจ มี ค วามเสี ่ ย งต อ การเกิ ด โรคมะเร็ ง จากสารกอมะเร็งใน PAHs มากกวา เด็กตางจังหวัด ! การลดลงของสมรรถภาพ ปอด การศึ ก ษาที ่ ผ  า นมายั ง ไม สามารถสรุปไดชัดเจนถึงผลกระทบ ของมลพิ ษ อากาศต อ สมรรถภาพ ปอดของเด็ก เนื่องจากผลการศึกษา พบความสัมพันธระดับต่ำ หรือไมพบ ความสัมพันธ ซึ่งสรุปไดดังนี้ การ ศึกษาที่อำเภอแมเมาะ พ.ศ. 2538 2543 พบวาการเจริญเติบโตทาง สมรรถภาพปอดเด็กที่อาศัยบริเวณ รอบโรงไฟฟ า แม เ มาะและพื ้ น ที ่ เปรียบเทียบไมแตกตางกัน แตผล การศึกษาบงชี้วา อาจเปนไปไดที่เด็ก ที่อาศัยโดยรอบโรงไฟฟาแมเมาะมี การเจริญเติบโตของสมรรถภาพปอด

9

ต่ำในชวงตนที่มีมลพิษอากาศสูง แต สามารถกลับมาเปนปกติได หลังจาก มีการควบคุมการปลอยมลพิษจาก โรงไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพในชวง การศึกษา และในการศึกษาผลแบบ เฉียบพลันตอสมรรถภาพปอด พบวา PM10 บริเวณรอบๆ โรงไฟฟาแมเมาะ มี ผ ลต อ การลดลงของสมรรถภาพ ปอดเด็กเพียงเล็กนอยเทานั้น สวน SO2 ไมพบวามีผลตอสมรรถภาพ ปอดเด็ก นอกจากนี้การศึกษาในเด็ก นักเรียนในกรุงเทพฯ ในป พ.ศ. 2541 ไมพบความสัมพันธระหวาง PEF และ ระดับPM10 โรคที่เกิดจากมลพิษอากาศในเด็ก 7 ผลตอการตายกอนเวลาอัน ควรจากสาเหตุตางๆ เชน โรคทาง เดินหายใจ โรคหัวใจ และการตาย จากสาเหตุธรรมชาติ นอกจากนี้ยัง พบผลแบบเฉี ย บพลั น ต อ การเกิ ด อาการทางโรคทางเดินหายใจจนตอง เขารักษาในโรงพยาบาล เชนอาการ หอบหืด ไอ เสมหะเรื้อรัง หลอดลม อั ก เสบ โรคถุ ง ลมปอดโป ง พอง วัณโรค การติดเชื้อทางเดินหายใจ สวนลาง การลดลงของสมรรถภาพ ปอด

http://www.thoentoday.com/private_folder/New54/ lung_infection.jpg


Effect of air pollution in Thailand children. http://region4.prd.go.th/images/article/news20300/ t20120731151824_402637.jpg

http://news.nipa.co.th/image/manager/ img500/9533_552000007221001.JPEG

http://www.dohiru.com/image_news/2010-06-23/Thairath_2362553153710.jpg

ผลกระทบของมลพิษตอสุขภาพเด็กในประเทศไทย ! ตั้งแต พ.ศ. 2541-2550 มีการศึกษาผลกระทบ ของมลพิษอากาศตอสุขภาพเด็ก สวนใหญเปนการศึกษา ในกรุงเทพฯ และผลการศึกษาสวนใหญสอดคลองกับการ ศึกษาในตางประเทศ คือพบผลแบบเฉียบพลันและแบบ เรื้อรัง ตอการตาย และการเจ็บปวยทางเดินหายใจ การ เขารักษาในโรงพยาบาล และการลดลงของสมรรถภาพ ปอด ซึ่งสรุปไดดังนี้ ! ผลตอการตาย การสัมผัส PM10 ระยะสั้น ทำให การตายจากสาเหตุธรรมชาติของเด็กอายุต่ำกวา 6 ปเพิ่ม ขึ้น 1.7% ตอการเพิ่ม PM10 ปริมาณ 10 µg/m3 และการ ตายของเด็กต่ำกวา 5 ปเพิ่มขึ้น 0.4% ตอการเพิ่ม PM2.5 .

(ประมาณคา PM2.5 จาก PM10) ปริมาณ 10 µg/m3 พบ ความเสี่ยงของการสัมผัส PM10 ตอ การตายกอนเวลาอัน ควรจากสาเหตุธรรมชาติ เพิ่มขึ้น 0.2% โรคทางเดิน หายใจในเด็กอายุต่ำกวา 1 ป เพิ่มขึ้น 13.8% และการตาย จากการติดเชื้อทางเดินหายใจสวนลาง ในเด็กอายุต่ำกวา 5 ป เพิ่มขึ้น 9.8% ตอการเพิ่ม PM10 ปริมาณ 10 µg/m3 และพบผลทำนองเดียวกันกับ NO2 และ O3 ดังแสดงใน ตาราง จะเห็นวามลพิษอากาศมีผลตอการตายของเด็ก จากโรคทางเดิ น หายใจสู ง กว า การตายจากสาเหตุ ธรรมชาติ

ตารางแสดง รอยละการเปลี่ยนแปลงการตาย(excessrisk[ER]) และชวงความเชื่อมั้น 95%ตอการเพิ่มระดับมลพิษ 10 μg/m3

สาเหตุการตาย

PM10

NO2

O3

ER

95 % Cl

ER

95 % Cl

ER

95 % Cl

สาเหตุธรรมชาติ(<5ป)

0.2

-1.7,2.3

-0.4

-3.1,2.2

-0.8

-2.4,0.8

โรคทางเดินหายใจ (<1 ป)

14.6

2.9, 27.6

10.7 -2.0, 25.2

3.4

-4.0, 11.3

การติดเชื้อทางเดินหายใจ สวนลาง ( < 5 ป)

7.7

-3.6, 20.3 8.2

4.9

-3.0, 13.4

-4.9, 23.2

นิตยา วัจนะภูมิ.มลพิษอากาสและสุขภาพเด็ก.Thai J Toxicology 2008:78

10


สรุป มลพิษอากาศทั้งในอาคารและ ในบรรยากาศเปนปญหาทั่วโลก มีผลตอ สุขภาพของเด็กทั้งแบบเฉียบพลันและแบบ เรื้อรัง การใชพลังงานชีวมวล และพลังงาน ฟอสซิลกอใหเกิดปญหามลพิษทั้งในและ นอกอาคาร ผลงานวิจัยจำนวนมากทั้งใน และตางประเทศ พบสารมลพิษอากาศที่ เป น อั น ตรายต อ สุ ข ภาพเด็ ก มี ห ลายชนิ ด ไดแก PM10, PM2.5, NO2, SO2 และ O3 ซึ่งมีผลตอการเจ็บปวย ของเด็กหลายดาน ได แ ก การเจ็ บ ป ว ยจากระบบทางเดิ น หายใจ การตายกอนเวลาอันควรจากโรค ระบบทางเดินหายใจ การเขารักษาในโรง พยาบาลจากโรคทางเดินหายใจ ปจจุบันนี้ ความเขาใจผลกระทบของมลพิษอากาศตอ สุ ข ภาพเด็ ก ในประเทศไทยยั ง มี ข ี ด จำกั ด เพราะการศึกษาสวนใหญเปนเรื่องมลพิษ อากาศในบรรยากาศและศึกษาใน กรุงเทพฯ ซึ่งแหลลงกำเนิดมลพิษอากาศ มาจากยานพาหนะเปนหลัก อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาที่มีอยูแสดงใหเห็นวาเด็กไทย มีความเสี่ยงตอการเจ็บปวยและตายจาก สารมลพิษในบรรยากาศหลายชนิด โดย เฉพาะอยางยิ่ง PM10 และ PM2.5 ซึ่ง สอดคลองกับผลการศึกษาในภูมิภาคอื่น เพื่อใหมีความเขาใจผลกระทบของมลพิษ อากาศต อ สุ ข ภาพเด็ ก มากขึ ้ น ควรมี ก าร ศึกษาทางระบาดวิทยา ดานนี้ในพื้นที่อื่น ซึ่งมีลักษณะของมลพิษตางจากกรุงเทพฯ รวมทั้งการศึกษามลพิษอากาศในอาคาร เพิ่มขึ้น เพราะเด็กเปนกลุมเสี่ยงที่สำคัญ ของมลพิษอากาศในอาคาร ขอมูลเหลานี้ จะเป น ประโยชน ต  อ การกำหนดนโยบาย การควบคุมมลพิษอากาศของประเทศ เพื่อ ป อ งกั น การเจ็ บ ป ว ยของเด็ ก อั น เนื ่ อ งมา จากการสั ม ผั ส มลพิ ษ อากาศและลดการ สู ญ เสี ย ทางเศรษฐกิ จ ของประชาชนและ ประเทศ

http://www.environment.ucla.edu/media/images/Child_dev4-large.jpg

ผลกระทบของมลพิษอากาศตอการพัฒนาของระบบทางเดิน หายใจ ดานการพัฒนาของปอด (Lung development) ! เด็กแรกเกิดจนถึงเด็กอายุ 6 ป มีการพัฒนาของถุงลมปอด (เจริญเติบโตขึ้น) แตชวงเด็กแรกเกิดจนถึงเด็กอายุ 2 ปนั้น จะมีอัตรา การหายใจมีที่สูงขึ้นและเด็กอายุตั้งแต 2 ป ถึง 18 ป มีจะการเจริญ เติบโตของปอดที่ใหญตามชวงอายุ ดานความเสี่ยงจากมลพิษอากาศ (Air pollution riskr ) ! เด็กแรกเกิด จนถึงเด็กอายุ 2 ป มีความเสี่ยงในการเสียชีวิต ไดเนื่องจากโรคระบบทางหายใจ เด็กอายุตั้งแต 2 ป ถึง 18 ป มี อาการไอเรื้อรังและหลอดลมอักเสบ ความสามารถของการทำงาน ปอดลดลง โรคหอบหืด ตามลำดับ สวนเด็กอายุ 2 เดือน ถึง 2 ป มี อาการทางระบบทางเดินหายใจและการเจ็บปวย และเด็กอายุตั้งแต 6 ถึง 12 ป เกิดโรคระบบทางเดินหายใจที่ตองไดรับการรักษาและ ทำใหขาดเรียน

11


เอกสารอางอิง 1. นิตยา วัจนะภูมิ.มลพิษอากาศและสุขภาพเด็ก.Thai J Toxicology 2008:77-81. 2. นิตยา วัจนะภูมิ, นันทวรรณ วิจิตรวาทการ, พงษเทพ วิวรรธนะเดช, และคณะ. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการจัดทำ (ราง) มาตรฐานฝุน ละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดลอม, 2548. 3. วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานฉบับสมบูรณ การศึกษาผลกระทบจากมลพิษทางอากาศตอสุขภาพประชาชน อำเภอแมเมาะ จังหวัดลำปาง. กรุงเทพฯ: ซี. พี. เอ็น. ซัพพลายส, 2544. 4. Bobak M, Leon DA. Air pollution and infant mortality in the Czech Republic, 1986-88. Lancet 340:1010-1014 (1992). 5. Barker DJP, Osmond C. Childhood respiratory infection and adult chronic bronchitis in England and Wales. Br Med J 293:1271-1275 (1986). 6. Collins JJ, Kasap HS, Holland WW. Environmental factors in child mortality in England and Wales. Am J Epidemiol 93:10-22 (1971). 7. Chestnut LG, Ostro DB, Vichit-Vadakan N, et al. Health effects of particulate matter air pollution in Bangkok. Research Report. Hagler Bailly, 1998. 8.David V. Bates.The Effects of Air Pollution on Children,Environment Heath Perspectives,1995:49-59. 9. Lave LB, Seskin EP. Air Pollution and Human Health. Baltimore:Johns Hopkins University Press, 1977. 10. Langkulsen U, Jinsart W, Karita K, et al. Respiratory symptoms and lung function in Bangkok school children. Eur J Public Health 2006;16(6):676-81. 11. Mortality and morbidity during the London fog of December 1952. Report No 95 on Public Health and Medical Subjects. London:Her Majesty's Stationery Office, 1954. 12. Tuntawiroon J, Mahidol C, Navasumrit P, et al. Increased health risk in Bangkok children exposed to polycyclic aromatic hydrocarbons from traffic-related sources. Carcinogenesis 2007; 28: 816-22. 13. Vichit-Vadakan N, Vajanapoom N, Ostro DB. Estimating of the Mortality of Air Pollution in Bangkok, Thailand. Research

Report. Boston: Health Effects Institute, 2007. (In press)

12


ผูจัดทำ นางสาวณัฏฐคณุตน .. นายภัทรภูมิ . . . นางสาวรัชนี . . . นายราวิน .. . . นางสาววรรนิศา . . นางสาววรางคณา . .

เรือนเงิน . 53381236 เพียงตา . 53381427 สายยาโน .53381465 เชื้อคีตา . 53381472 ศรีปญญา 53381496 จำปาวัน . 53381502

วิศวกรรมสิ่งแวดลอมชั้นปที่ 3 มหาวิทยาลัยพะเยา

13


14 http://www.daypoets.com/aday2/?p=2107


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.