คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน

Page 1

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการ ควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน


สารบัญ ถ่านหินคืออะไร ? 3 ………………………………………………………………………………………………..… การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน 5 ………………………………………………………………………………………………..… เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด 6 ………………………………………………………………………………………………..… การประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ 9 ………………………………………………………………………………………………..… ตัวอย่างการประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ 10 ………………………………………………………………………………………………..…

มลพิษอากาศจากการล้างถ่านหินและการควบคุมมลพิษ 13 ………………………………………………………………………………………………..… การตรวจวัดมลพิษอากาศและการรายงานผล 16 ………………………………………………………………………………………………..…

กฎหมายและการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 17 ………………………………………………………………………………………………..… เอกสารอ้างอิง 22 ………………………………………………………………………………………………..…

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 2


ถ่านหินคืออะไร ?

ถ่านหิน

เกิดจากการทับถม ของซากพื ช ตาม

ธรรมชาติ เป็นเวลานับล้านปี เมื่อได้รับแรง ดัน และความร้อน รวมทั้งการกระทำของ จุ ลิ น ทรี ย์ ถ่ า นหิ น ประกอบด้ ว ยธาตุ ที ่ สำคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้นมีธาตุหรือสาร อื่น เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่ มีจำนวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่ำ เมื่อนำมาเผาจะให้ความร้อนมา ถือว่าเป็น ถ่ า นหิ น คุ ณ ภาพดี สามารถแยกประเภท ตามลำดับชั้นได้เป็น 5 ประเภท คือ 1 พี ต ( P e a t ) เ ป็ น ขั ้ น แ ร ก ใ น กระบวนการ กระบวนการเกิดถ่านหิน

ประกอบด้ ว ยซากพื ช ซึ่ง บางส่ ว นได้ ส ลาย 
 ตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ 2

ลิ ก ไนต์ ( Lignite) มี ซ ากพื ช

หลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็น ถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง 3

ซับบิทูมินัส(Subbituminous)

มีสีดำ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมใน การผลิตกระแสไฟฟ้า 4

บิทูมินัส (Bituminous) เป็น

ถ่ า นหิ น เนื้อ แน่ น แข็ ง ประกอบด้ ว ยชั้น ถ่านหินสีดำมันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการ ถลุงโลหะ 5

แอนทราไซต์(Anthracite) เป็น

ถ่านหินที่มีลักษณะดำเป็นเงา ติดไฟยาก

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 3


ถ่านหินคืออะไร ? ซึ่งปัจจุบัน ถ่านหินชนิดซับบิทูมินัสและลิกไนต์ เป็นถ่านหินที่นิยม นำมาใช้ เ ป็ น เชื้อ เพลิ ง ในการผลิ ต ไฟฟ้ า โดยถ่ า นหิ น ชนิ ด ที่ ประเทศไทยมีอยู่มากคือ ลิกไนต์ ซึ่งโรงไฟฟ้าแม่เมาะได้นำมาเป็น เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้านานกว่า 30 ปี ในสถานการณ์ที่ก๊าซธรรมชาติใกล้จะหมด พลังงานทาง เลื อ กหนึ ่ ง ที ่ น่ า จะเป็ น คำตอบของปั ญ หาด้ า นพลั ง งานคื อ

พีต

พลังงานถ่านหินที่ใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด เนื่องจากถ่านหิน มีปริมาณสำรองในโลกมากทำให้ราคามีความผันผวนน้อย เมื่อ เปรียบเทียบกับเชื้อเพลิงชนิดอื่น อีกทั้งการพัฒนากระบวนการ กำจัดหรือลดมลสาร และการนำถ่านหินคุณภาพดี ปริมาณ ซัลเฟอร์ต่ำ ค่าความร้อนสูงมาใช้ทำให้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ใน

ลิกไนต์

ราคาเหมาะสมและเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด

ชนิดถ่านหิน พีต ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส

ความ ร้อน ต่ำ ปาน

กลาง ปาน

ความ ปริมาณ ปริมาณ ชื้น

ขี้เถ้า

กำมะถัน

สูง

สูง

ไม่แน่นอน

สูง

สูง

ต่ำ-สูง

ปาน

ปาน

ปาน

กลา

กลาง

กลาง

กลาง

บิทูมินัส

สูง

ต่ำ

ต่ำ

ต่ำ

แอนทราไซต์

สูง

ต่ำ

ต่ำ

ต่ำ

ซับบิทูมินัส

บิทูมินัส

แอนทราไซต์

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 4


การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน

รู้หรือไม่ ?

การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน

ถ่านหินที่นำมาใช้ในภาคอุตสาหกรรม

การใช้ภายในประเทศไทยมี

2

ภาคได้แก่

ภาคการผลิตไฟฟ้า (Power Sector) และ ภาคอุตสาหกรรม (Non-power Sector or Industrial Sector) เชื้อเพลิงถ่ านหินจะถูก นำไปเผาไหม้ในหม้อไอน้ำเพื่อนำความร้อน

ก๊าซธรรมชาติ 70.04%

17.49%

ไ ป ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า ห รื อ ผ ลิ ต ไ อ น้ ำ เ ช่ น อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์

ลิกไนต์

โรงบ่มยาสูบ

พลังน้ำ

อุตสาหกรรมสิ่งท่อ เคมีภัณฑ์ ฯลฯ

9.17%

ก า ร ใ ช้ ถ่ า น หิ น เ ป็ น เ ชื ้ อ เ พ ลิ ง มั ก เ กิ ด ปั ญ หาในเรื ่ อ งของสิ ่ ง แวดล้ อ มตามมา เนื ่ อ งจากเชื ้ อ เพลิ ง ถ่ า นหิ น ยั ง ไม่ เ ป็ น ที ่ ยอมรั บ จากประชาชน จึ ง จำเป็ น ต้ อ งหา เทคโนโลยีที่มีช่วยทำให้มลพิษการใช้ถ่านหิน ลดลงที่เรียกว่า เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology:CCT) เทคโนโลยี แ ต่ ล ะ ช นิ ด อ า จ จ ะ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ต่ อ คุ ณ สมบั ติ ถ่ า นหิ น แตกต่ า งกั น ไป บาง เทคโนโลยีสามารถประยุกต์ใช้ได้กับถ่านหิน คุณภาพต่ำและสูง ในขณะที่บางเทคโนโลยี สามารถใช้ ไ ด้ เ ฉพาะถ่ า นหิ น ที ่ มี คุ ณ ภาพ ค่อนข้างดี ดังนั้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ถ่านหินสะอาดจึงเป็นสิ่งจำเป็นและสามารถ เลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี ร องรั บ ที่เ หมาะสมตาม

ไทยใช้พลังงานเท่าไหร่ จากข้ อ มู ล สั ด ส่ ว นการใช้ เ ชื ้ อ เพลิงผลิตพลังงานไฟฟ้าในระบบของ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) ระบุว่า ในปี 2558 มีการใช้ เ ชื ้ อ เ พ ลิ ง ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ใ น ประเทศไทยแบ่ ง ได้ เ ป็ น ดั ง นี ้ ก๊ า ซ ธรรมชาติร้อยละ 70.04, ลิกไนต์ร้อย ละ 17.49, พลั ง น้ ำ ร้ อ ยละ 9.17, พลังงานทดแทนร้อยละ 2.37, น้ำมัน เตาร้ อ ยละ 0.71, พลั ง งานน้ ำ มั น ดีเซลร้อยละ 0.14 และซื้อต่างประเทศ ร้อยละ 17.1

คุณสมบัติของถ่านหินที่มีได้ คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 5


เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

Typical coal cleaning plant process flow diagram. (Source Classification Codes in parenthesis.)

เทคโนโลยี ถ ่ า นหิ น สะอาด (Clean

เป็ น การสร้ า งคุ ณ ค่ า เพิ ่ ม เป้ า หมาย

Coal Technology) ทำให้การผลิตไฟฟ้า

สุดท้ายองการพัฒนาเทคโนโลยี ถ่านหิน

จากเช้ือเพลิงถ่านหินมี ประสิทธิภาพสูง

สะอาดคือไม่มีการปล่อยมลภาวะและก๊าซ

ข้ึน และมีผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้ อมน้อยท่ี

คาร์ บ อนไดออกไซด์ อ อกส่ ู บ รรยากาศ

สุ ด ปั จ จุ บั น นี ้ เ ทคโนโลยี ถ่ า นหิ น สะอาด (Clean Coal Technology) มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องสามารถลดหรือกำจัดภาวะ ที ่ เ กิ ด จ า ก า ร ใ ช้ หิ น เ ป็ น เ ช้ ื อ เ พ ลิ ง จ น สามารถเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ง แวดล้ อ ม มี ก าร พั ฒ นาเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม้ แ ละ การให้ความร้อน การเปลี่ยนถ่าน หินให้ เป็ น ก๊ า ซเชื้อ เพลิ ง หรื อ เช้ือ เพลิ ง เหลว

หรือที่เรียกว่า Zero emission โดยเทคโน โลยถ่ า นหิ น สะอาดสามารถนำมาใช้ ไ ด้ หลายลักษณะเริ่มตั้งแต่ 1.การทำเหมืองถ่านหิน โดยทั่ว ไปการทำเหมื อ งถ่ า นหิ น จะ แบ่งออกเป็น 2 แบบด้วยกัน คือ การทำ เหมืองแบบเหมืองเปิด (surface mining)

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 6


เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด 2.เทคโนโลยี ถ ่ า นหิ น สะอาดก่ อ น การเผาไหม้ (Pre–Combustion) เทคโนโลยีกลุ่มน้ีเป็นการนำถ่านหิน

จากเน้ือถ่านหิน ซ่ึงวิธีน้ีจะทำให้ไพไรติก ซัลเฟอร์ถูกกำจัดออกได้ประมาณร้อยละ 90 นอกจากน้ียั ง มี วิ ธี ท ำความสะอาด

มาผ่ า นประบวนการเผื้อ ลดปริ ม าณเถ้ า

ถ่านหินทางกายภาพอีกวิธีหน่ึงเรียกว่า

และกำมะถั น ในขณะเดี ย วกั น เป็ น การเพิ่ม

การลอยผ่านปล่อง (column flotation)

ค่ า ความร้ อ รของถ่ า นหิ น ก่ อ นนำมาเผา

เป็นการทำความสะอาดถ่านหิน โดยอาศัย

ไหม้ซ่ึงหมายถึงเทคโนโลยีกลุ่มน้ีเป็นการ

หลักการท่ีผงถ่านหินมีคุณสมบัติทางเคมี

ทำความสะอาดโดยวิ ธี ท างกายภาพเคมี

ซ่ึง สามารถยึดติดกับฟองอากาศได้ เมื่อ

และชีวภาพเพื่อให้ถ่านหินมี คุณภาพดีข้ึน

ให้ฟองอากาศเคลื่อนที่ผ่านผงถ่านหินและ

และมี ม ลพิ ษ น้ อ ยลงก่ อ นที่จ ะถู ก นำไปใช้

น้ ำ ซ่ึง บรรจุ ใ นอุ ป กรณ์ ที่เ รี ย กว่ า ปล่ อ ง

งานซ่ ึ ง จะช่ ว ยเพิ ่ ม ค่ า ความร้ อ นของ

(column) ผงถ่านหินจะติดขึ้นไปกับฟอง

ถ่านหินก่อนนาไปเผาไหม้เป็นเช้ือเพลิงโดย

อากาศ ทิ้งให้สารประกอบอนินทรีย์ เช่น

อ า จ เ รี ย ก ขั ้ น ต อ น น้ ี ว่ า ก า ร ป รั บ ร ะ ดั บ

pyritic sulfur และแร่ธาตุ ต่างๆ จมอยู่

ถ่านหิน (coalupgrading) โดยมีด้วยกัน

ชั้นล่าง

3 วิธีคือ 2.1 การทำความสะอาดโดยวิธีทาง กายภาพ (physical cleaning)

2.2 การทำความสะอาดโดยวิธีทาง เคมี (chemical cleaning) เป็นการใช้สารเคมีเข้าไปทำปฏิกิริยา

เป็นการกำจัดสิ่งเจือปนประเภท ฝุ่น

กั บ ผงถ่ า นหิ น ซ่ ึ ง สารเคมี ดั ง กล่ า วมี

ละออง ดิ น หิ น และสารประกอบพวก

คุ ณ สมบั ติ ใ นการกำจั ด พวกสิ ่ ง เจื อ ปน

กำมะถั น อนิ น ทรี ย์ ซ่ ึ ง มี เ หล็ ก เป็ น ส่ ว น ประกอบ เช่น ไพไรติกซัลเฟอร์ (pyritic sulfur) เป็ น ต้ น โดยมี ว ิ ธ ี การคื อ นำ ถ่ า นหิ น มาบดให้ มี ข นาดเล็ ก กว่ า ขนาด ของฝุ่น ผงแล้ ว ล้ า งผ่ า นน้ ำ โดยอาศั ย หลั ก การความแตกต่ า งของความหนา แน่นของถ่านหินกับสารเหล่าน้ี จะทำให้สิ่ง เจือปนต่างๆ ที่ไม่ต้องการจะถูกแยกออก

ต่ า งๆ ที่ไ ม่ ส ามารถกำจั ด ได้ โ ดยวิ ธี ท าง ก า ย ภ า พ ใ น ก า ร ท ำ ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ ผ ง ถ่ า น หิ น เ พื ่ อ ก ำ จั ด ก ำ ม ะ ถั น แ ล ะ เ ถ้ า เทคโนโลยี ใ นกลุ่ม น้ี ได้ แ ก่ Molten caustic leaching 2.3 การทำความสะอาดโดยวิธีทาง ชีวภาพ (Biological cleaning) วิธีน้ีเป็นเทคโนโลยีที่ยังค่อนข้างใหม่

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 7


เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด โดยใช้สิ่งมีชีวิตเล็กๆ จำพวกแบคทีเรียและ เช้ือ ราบางชนิ ด ที่ใ ช้ ก ำมะถั น เป็ น อาหาร เข้ า ไปช่ ว ยในการกำจั ด กำมะถั น ในถ่ า นหิ น และสามารถนำสิ่ง มี ชี วิ ต เหล่ า น้ีม าทำการ เพาะเล้ียงเพื่อ สกัดเอาเอนไซน์ที่ใช้สำหรับ การย่ อ ยสลายกำมะถั น มาใช้ เพ่ ื อ เร่ ง

การลอยผ่านปล่อง (column flotation)

กระบวนการกำจัดกำมะถันในถ่านหิน 3. เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดขณะเผา ไหม้(Combustion) เป็นเทคโนโลยีที่มุ่งเน้นการปรับปรุง เตาเผาและหม้อไอน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเผาไหม้ ถ่ า นหิ น และลดมลพิ ษ ที่เ กิ ด จากการเผาไหม้ โ ดยเฉพาะกำมะถั น ใน ถ่านหินลงได้เป็นอย่างดี 3.1เทคโนโลยี ถ ่ า นหิ น สะอาดขณะ เผาไหม้ เป็ น เทคโนโลยีที่เก่ีย วข้ อ งกั บ ระบบ การเผาไหม้ถ่านหินโดยการปรับปรุงเตา เผาและหม้อไอน้ำเพื่อเพิ่ม่ประสิทธิภาพใน การเผาไหม้ ถ่ า นหิ น และลดมลพิ ษ ที่เ กิ ด จากการเผาไหม้ ซ่ึง เทคโนโลยี ใ นกลุ่ม น้ี ไ ด้ แ ก่ P u l v e r i z e d F u e l ( P F ) combustion, Fluidized Bed Combustion (FBC), Integrated Gasification Combined Cycle (IGCC) และ Ultra Super Critical (USC)

Rulverized Fuel (PF) Combustion 3.2 เทคโนโลยี ถ่ า นหิ น สะอาดโดย การแปรรูป (Coal conversion) เป็ น เ ท ค โ น โ ลยี ท ี ่ พ ั ฒ น าข้ ึ น เพ่ ื อ แปรรูปถ่านหินให้เป็นก๊าซเช้ือเพลิง (Coal gasification) หรื อ เช้ือ เพลิ ง เหลวจาก ถ่านหิน (coal liquefaction) โดยแต่ละ เทคโนโลยีจะมีรายละเอียดดังต่อไปน้ี ได้แก่ Coal gasification Technology,

Coal

Liquefaction Technology

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 8


การประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ การปลดปล่อยมลพิษจากขั้นตอนการเตรียมถ่านหินทั้งกระกระบวนการแบบเปียก และแห้งโดยมากจะเป็นฝุ่นละออง (PM) จากการขนย้ายถ่านหิน สายพานลำเลียงถ่ านหิน เครื่องย่อยและคัดแยกถ่านหิน การปลดปล่อยมลพิษที่สำคัญที่สุกในการล้างถ่านหินคือ final preparation ซึ่งมี การทำให้ แ ห้ ง ด้ ว ยความร้ อ นซึ่ง การเผาไหม้ ถ่ า นหิ น ด้ ว ยความร้ อ นทำให้ เ กิ ด มลพิ ษ อากาศคือ VOC SO2 NOX และ CO2 ซึ่งสามารถประเมินการปล่อยมลพิ ษได้จากตาราง การประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ PM EMISSION FACTORS FOR COAL CLEANING

GASEOUS POLLUTANT EMISSION FACTORS FOR COAL CLEANING

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 9


ตัวอย่างการประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ สมการที่ใช้ในการประมาณการปล่อยมลพิษมีดังนี้ E = A×EF×(1-ER/100) เมื่อ E = ปริมาณการปล่อยมลพิษ A = อัตราการทำกิจกรรม EF = ตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ, lb/ton (1 lb/ton = 2 kg/Mg = 2kg/ton) ER =ประสิทธิภาพการควบคุมมลพิษ, % ตัวอย่างการคำนวณ Emissions Factors บริษัท A มีแผนการผลิตถ่านหินปี 2556 ในประเทศออสเตรเลียทั้งหมด 15,300,000 ตัน มีซัลเฟอร์ 0.65% อยากทราบว่าบริษัท A จะปล่ อยแต่ละมลพิ ษเท่าไหร่ ในทุกขั้น ตอนการล้างถ่านหิน

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 10


ตัวอย่างการประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ จากสมการ E = A×EF×(1-ER/100) เมื่อ E = ปริมาณการปล่อยมลพิษ A = อัตราการทำกิจกรรม

EF = ตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ, lb/ton (1 lb/ton = 2 kg/Mg = 2kg/ton)

ER =ประสิทธิภาพการควบคุมมลพิษ, % 
 ถ้าการล้างถ่านหินใช้ Multilouvered dryer จะมีการปลดปล่อยมลพิษ PM = 15,300,000 ton/year x 3.7 x (1-0/100) x 2 kg/ton = 133.22 x 106 kg/year CO2 = 15,300,000 ton/year x 160 x (1-0/100) x 2 kg/ton = 4896 x 106 kg/year ถ้าการล้างถ่านหินใช้ Fluidized bed dryer จะมีการปลดปล่อยมลพิษ PM = 15,300,000 ton/year x 6 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 795.6 x 106 kg/year PM2.5= 15,300,000 ton/year x 1.1 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 33.66 x 106 kg/year SO2 = 15,300,000 ton/year x 1.4 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 42.84 x 106 kg/year NOx = 15,300,000 ton/year x 0.16 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 4.896 x 106 kg/year CO2 = 15,300,000 ton/year x 30 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 918 x 106 kg/year

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 11


ตัวอย่างการประมาณด้วยตัวคูณปริมาณการปล่อยมลพิษ ถ้าการล้างถ่านหินใช้ Fluidized bed dryer with venturi scrubber จะมีการ ปลดปล่อยมลพิษ PM = 15,300,000 ton/year x 0.17 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 5.2 x 106 kg/year VOC = 15,300,000 ton/year x 0.072 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 2.2 x 106 kg/year NOx = 15,300,000 ton/year x 0.16 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 4.896 x 106 kg/year CO2 = 15,300,000 ton/year x 30 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 918 x 106 kg/year ถ้าการล้างถ่านหินใช้ Fluidized bed dryer with venturi scrubber and tray scrubber จะมีการปลดปล่อยมลพิษ PM = 15,300,000 ton/year x 0.025 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 0.765 x 106 kg/year SO2 = 15,300,000 ton/year x 0.072 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 2.2 x 106 kg/year NOx = 15,300,000 ton/year x 0.16 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 4.896 x 106 kg/year CO2 = 15,300,000 ton/year x 30 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 918 x 106 kg/year ถ้าการล้างถ่านหินใช้ Air tables with fabric filter จะมีการปลดปล่อยมลพิษ PM = 15,300,000 ton/year x 0.032 x (1-ER/100) x 2 kg/ton = 0.98 x 106 kg/year คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 12


มลพิษอากาศจากการล้างถ่านหินและการควบคุมมลพิษ มลพิ ษ อากาศจากการประกอบกิ จ การเหมื อ งแร่ มี ส าเหตุ ม าจากกระบวนล้ า ง ถ่านหิน (Coal Cleaning) บรรทุก

ประกอบด้วย

การบดย่อย

การขนถ่ายลำเลี ยงจากรถ

สายพานลำเลียงถ่านหิน การเก็บรวบรวม และการคัดแยกขนาดขนาดถ่านหิน

โดยมากจะเป็นฝุ่นละออง (PM,⌽) และการปลดปล่อยมลพิษที ่สำคัญที่สุดในการล้าง ถ่านหินอีกขั้นตอนคือ final preparation ซึ่งเป็นการทำให้แห้งด้ วยความร้อนซึ่งการเผา ไหม้ถ่านหินด้วยความร้อนทำให้เกิดมลพิษอากาศคือ VOC SO2 NOX และ CO2

Type to enter text

Typical coal cleaning plant process flow diagram. (Source Classification Codes in parenthesis.)

การจัดการและควบคุมฝุ่นละออง เครื่องบด (Crusher) ยุ้งรับหินใหญ่ (Hopper) และตะแกรงร่อนคัดเศษหิน ดิน ทราย (Scalping Screen) ต้องสร้างอาคารปิดคลุม 3 ด้านมีหลังคา มีอาคารปิดคลุม เคร่ืองจักรอุปกรณ์ทั้งหมดอย่างมิดชิด พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องฉีดสเปรย์น้ำบริเวณปาก ยุ้งรับหินใหญ่ และบริเวณจุดกำเนิดฝุ่นทุกจุด ระบบสายพานลําเลียง ต้องสร้างอุปกรณ์ปิดคลุมโดยตลอด และติดตั้งเครื่องฉีด คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 13


มลพิษอากาศจากการล้างถ่านหินและการควบคุมมลพิษ การบรรทุกขนส่งหิน เส้นทางขนส่ง การบำบัดฝุ่นละอองและก๊าซมลพิษ

หิ น ภ า ย ใ น โ ร ง ล้ า ง ถ่ า น หิ น ต ้ อ ง มี ก า ร

ลาดยางปิ ด คลุ ม หรื อ เป็ น ถนนคอนกรี ต

ม ล พิ ษ อ า ก า ศ จ า ก ก ร ะ บ ว น ล้ า ง ถ่านหิน (Coal Cleaning) การบดย่อย การ

พ้ืน ที่เ ก็ บ กองถ่ า นหิ น ต้ อ งเป็ น ลานคอน- ขนถ่ า ยลำเลี ย งจากรถบรรทุ ก สายพาน กรีตหรือหินบดอัดแน่น จำกัดความเร็วและ ลำเลียงถ่านหิน การเก็บรวบรวม และการ ประเภทของรถให้ ใ ช้ ค วามเร็ ว ไม่ เ กิ น 30 คัดแยกขนาดขนาดถ่านหิน โดยมากจะเป็น

km/h ฉีดพรมน้ำเพื่อลดปริมาณฝุ่นละออง ฝุ่นละออง (PM) และจากขั้นตอน final บนเส้นทางลูกรังหรือถนนดิน ทำการล้าง preparation ทำให้เกิดมลพิ ษอากาศ คือ ล้อรถบรรทุกก่อนออกนอกโรงล้างถ่านหิน VOC SO2 NOX และ CO2 รถบรรทุกที่ขนส่งต้องอยู่ในสภาพที่ดีไม่มี

ระบบบำบั ด ฝุ่น ละออง (PM) เม่ือ

รอยรั่วให้ถ่านหินร่วงหล่นได้ และมีผ้าใบปิด ถ่านหินถูกเผาไหม้จะมีฝุ่นละอองต่างๆเกิด คลุมมิดชิด

ข้ึนในกระบวนการดังนั้น เพ่ือเป็นการกำจัด

สภาพภูมิทัศน์ ทำแนวกำแพงทึบหรือ ฝุ่น ละอองจะมี ก ารใช้ อุ ป กรณ์ ส ำหรั บ การ ตาข่ า ยดั ก ฝุ ่ น หรื อ แนวคั น ดิ น และแนว ดั ก จั บ ฝุ่น ละอองท่ีเ กิ ด โดยทั่ว ที่ใ ช้ กั น อยู่ ต้นไม้ทรงสูงหนาแน่นทึบ ปิดกั้นทิศทางลม ได้ แ ก่ เ ครื่อ งกั ด ฝุ่น ด้ ว ยไฟฟ้ า (Electrostatic precipitator) ไซโคลน (Cyclone และเสี ย งตามความเหมาะสมของสภาพ Separator) และระบบถุงกรอง (bag filter) พื้นที่ การกำจั ด ก๊ า ซซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์

เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ก ำ ก๊ า ซ ซั ล เ ฟ อ ร์ ไ ด ออกไซด์ ที่ถู ก ปล่ อ ยออกมาพร้ อ มก๊ า ซทิ้ง หลังการเผาไหม้โดยการฉีด ส่วนผสมของ น้ำหินปูนเข้าไปทำปฏิกิริยากัลก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ที่ผ สมอยยู่ใ นก๊ า ซทิ้ง นั้น ผล ของ ปฏิกิริยาดังกล่าวจะทำให้เกิดการรวม ตั ว และตกตะกอนเป็ น ยิ บ ซั ม ซ่ ึ ง เป็ น สาร คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 14


มลพิษอากาศจากการล้างถ่านหินและการควบคุมมลพิษ การกำจั ด ก๊ า ซไนโตรเจนออกไซด์

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) ที่เกิด

เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ำ จั ด ก๊ า ซ ไ น โ ต ร เ จ น จากการเผาไหม้น้ัน ใช้เทคโนโลยีการเผา ออกไซด์ ที่ถู ก ปล่ อ ยออกมาพร้ อ มก๊ า ซทิ้ง ไ ห ม้ ถ่ า น หิ น บ ด ( P u l v e r i z e d Co a l หลังการเผาไหม้ กระบวนการท่ีใช้กันแพร่ Combustion) เป็ น เชื้อเพลิ งในการผลิ ต หลายและมีประสิทธิภาพสูง คือ Selective กระแสไฟฟ้า ระดับ Ultra supercritical ซึ่ง catalytic reduction (SCR) ในระบบน้ีใช้ เป็นเทคโนโลยี ที่มีประสิทธิภาพสูง ทาให้ใช้ แอมโมเนีย ทำ ปฏิกิริยากับก๊าซไนโตรเจน เชื้อ เพลิ ง ถ่ า นหิ น น้ อ ยลง รวมท้ัง ลดการ ออกไซด์เกิดเป็นไนโตรเจนและน้ำ

ระบายมลสารและปริมาณการปล่อยก๊าซ

มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป พ.ศ. 2535 สารมลพิษ 1.ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO)

2.ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)

3.ก๊าซโอโซน (O3)

4.ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)

5.ตะก่ัว (Pb)

6.ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM 10)

7.ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 100 ไมครอน

8.ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน

ค่าเฉลี่ยความเข้มข้น
 ในเวลา

ค่ามาตรฐาน

วิธีการตรวจวัด

1

ชั่วโมง

ไม่เกิน 30 ppm

34.2 มก./ลบ.ม.

8

ชั่วโมง

ไม่เกิน 9 ppm

10.26 มก./ลบ.ม.

Infrared Detection

1

ชั่วโมง

ไม่เกิน0.17 ppm

0.32 มก./ลบ.ม.

Chemiluminescence

1

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.10 ppm

0.20มก./ลบ.ม.

8

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.07 ppm

0.14 มก./ลบ.ม.

1

ปี

ไม่เกิน 0.04 ppm

0.10 มก./ลบ.ม.

24

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.12 ppm

0.30 มก./ลบ.ม.

1

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.3 ppm

0.78 มก./ลบ.ม.

1

เดือน

ไม่เกิน 1.5 ไมโครกรัม./ลบ.ม.

24

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.12 มก./ลบ.ม.

1

ปี

ไม่เกิน 0.05 มก./ลบ.ม.

Volume)

24

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.33 มก./ลบ.ม.

Gravimetric (High

1

ปี

ไม่เกิน 0.10 มก./ลบ.ม.

Volume)

24

ชั่วโมง

ไม่เกิน 0.05 มก./ลบ.ม.

Federal Reference

1

ปี

ไม่เกิน 0.025 มก./ลบ.ม.

Non-Dispersive

Chemiluminescence

UV-Fluorescence Pararosaniline

Atomic Absorption Spectrometer

Gravimetric (High

method

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 15


การตรวจวัดมลพิษอากาศและการรายงานผล ตรวจวัดคุณภาพอากาศ การตรวจวัดฝุ่น

(SO2) ท่ีใช้กันอยุ่ในปัจจุบันใช้วิธีการตรวจ SO2 โดยวิธีพาราโรซานิลีน (Pararosani

โดยทำการตรวจวั ดทุ ก ๆ 3 เดื อ น line) เป็นวิธีการมาตรฐาน และวิธียูวีฟลู ออ ครั้งละ 5 วันต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความ เรสเซนซ์ (UV-Fluorescence) เป็นวิธีเทียบ

เข้มข้นของมลสารทางอากาศต่างๆ ได้แก่ เท่า TSP และ PM10 พร้อมทั้งตรวจวัดและนำ วิธีตรวจวัดค่าไนโตรเจนไดออกไซด์ เสนอข้อมูลความเร็วและทิศทางลมในช่วง (NO2) ท่ีใช้กันอยุ่ในปัจจุบันใช้วิธีการตรวจ เวลาทำการตรวจวัดคุณภาพอากาศด้วย

วัด NO2 โดยวิธีเคมีลูมิ เนสเซนส์ (Chemi

วิ ธี ก า ร เ ก็ บ ตั ว อ ย่ า ง แ ล ะ luminescence) เป็นวิธีการมาตรฐาน วิเคราะห์มลสารทางอากาศ ทำตามกำหนด วิ ธ ี ต รวจวั ด คาร์ บ อนมอนอกไซด์

ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร (CO) ท่ีใช้ กันอยุ่ในปัจจุบันใช้วิธีการตรวจ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(สผ.) โดยอ้างอิง
 วัด CO โดยวิ ธีการวัดก๊าซคาร์บอนมอนอก ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม ฉบับที่

10 (2538) ออกตามความในพระราช บั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ ่ ง แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกำหนด มาตรฐานคุ ณ ภาพอากาศในบรรยากาศ ทั่วไป หรือสถาบันอื่นที่เป็นที่ยอมรับดังนี้
 - เก็บตัวอย่าง TSP โดยใช้ High Volume Sampler และวิเคราะห์โดย วิธี Gravimetric - เก็บตัวอย่าง PM-10 Sampler และ วิเคราะห์โดยวิธี Gravimetric

การตรวจวัดก๊าซ การตรวจวัดในบรรยากาศ วิธีตรวจวัดค่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์

ไซด์ (CO) โดยระบบ เอนดีไออา (Non Dispersive Infrared Detection: NDIR) เป็นวิธีมาตรฐาน การตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศจากแหล่ ง กำเนิดท่ีอยู่กับที่ การใช้ อุ ป กรณ์ ต รวจวดั อย่ า งต่ อ เนื่อง(Continuous Emission Monitoring System,CEMS) สามารถนำมาใช้กับ ก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจน ออกไซด์ (NO) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) คาร์บอนไดนอก ไซด์ (CO2)

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 16


กฎหมายและการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติการทำเหมืองแร่ ร.ศ. 120 - รัฐบาลมีอำนาจที่จะรักษาทางน้ำและจัดการได้ตามสมควร ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นการใช้ เรือแพ เพาะปลูก ทำเหมืองแร่ หรือทำประโยชน์ใดๆ โดยไม่ยกอำนาจให้แก่ผู้ใดผู้ หนึ่ง - การใช้น้ำล้างแร่หรือเททิ้งมูลดินและสิ่งอื่นๆ ซึ่งขุดจากเหมืองนั้นห้ามทิ้งลงในน้ำ ซึ่งเป็นทางเรือแพขึ้นล่องทางน้ำใช้เพาะปลูก หรือเพื่อบริโภค และห้ามทิ้งทับถมใน ที่ซึ่งยังมีแร่หรือที่ซึ่งทำการเพาะปลูก ถนนหนทางที่บ้านเรือน กรณีการทำเหมือง ที่เป็นลานแร่ และโดยลักษณะภูมิประเทศไม่อาจปฏิบัติตามข้อห้ามแห่งบทบัญญัติ ให้ข้าหลวงราชโลหกิจหรือผู้ทำการแทนมีอำนาจให้ใบอนุญาตผ่อนผันตามสมควร - ในจังหวัดเหมืองแร่ใดมีแร่ พรรณไม้ หรือสิ่งใดๆ ที่มีพิษ ผู้รับประทานบัตรต้อง ระวังอย่าให้สิ่งมีพิษนั้นลงสู่ทางน้ำซึ่งใช้บริโภคหรือเพาะปลูกให้เป็นอันตรายแก่ ผู้คนและพืชพรรณ พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา ๖ จัตวา[๑๖]

เพื่อประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศ รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม*โดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำหนดพื้นที่ใดที่มิใช่แหล่งต้นน้ำหรือป่าน้ำซับซึม ที่ได้ ทำการสำรวจแล้วปรากฏว่ามีแหล่งแร่อุดมสมบูรณ์ และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงให้เป็น เขตแหล่งแร่เพื่อออกประทานบัตรชั่วคราว หรือประทานบัตรได้เป็นอับดับแรกก่อนการ สงวนหวงห้าม หรือใช้ประโยชน์อย่างอื่นในที่ดินในพื้นที่นั้น แต่ทั้งนี้ให้คำนึงถึงผลกระ ทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วย พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา ๑๓๑/๑ ผู้ถืออาชญาบัตร ประทานบัตร หรือใบอนุญาตอื่นใดตามพระราช บัญญัตินี้ต้องรับผิดชอบในการกระทำของตน ต่อความเสียหาย หรือความเดือดร้อน รำคาญใดอันเกิดขึ้นแก่บุคคล ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นในเขตที่ได้รับอนุญาต ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าความ เสียหายนั้นเกิดจากการกระทำของผู้ถืออาชญาบัตร ประทานบัตร หรือใบอนุญาตนั้น”

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 17


กฎหมายและการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 - ให้พนักงานเจ้าที่ที่มีอำนาจ ตรวจ ค้น กัก ยึด หรืออยัดผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้องใน กรณีที่มีเหตุสงสัยว่าการประกอบกิจการของ โรงงานอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ บุคคล พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๓ เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการดังต่อไปนี้ - ให้ราชการส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจกู้ยืม เพื่อจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย หรือน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสียหรืออุปกรณ์อื่นใด สำหรับใช้เฉพาะในกิจการของ ราชการส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจนั้น - ให้เอกชนกู้ยืมในกรณีที่บุคคลนั้น มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องจัดให้มีระบบบำบัด อากาศเสีย หรือน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย หรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อการควบคุม บำบัดหรือขจัดมลพิษที่เกิดจากกิจกรรมหรือการดำเนินกิจการของตนเองหรือ บุคคลนั้นเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเป็นผู้รับจ้างให้บริการบำบัดน้ำ เสียหรือกำจัดของเสียตามพระราชบัญญัตินี้ มลพิษทางอากาศและเสียง มาตรา ๖๔ ยานพาหนะที่จะนำมาใช้จะต้องไม่ก่อให้เกิดมลพิษเกินกว่า มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิดที่กำหนดตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๖๕

ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าได้มีการใช้ยานพาหนะโดย

ฝ่าฝืนตามมาตรา ๖๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจออกคำสั่งห้ามใช้ยานพาหนะนั้น โดยเด็ดขาดหรือจนกว่าจะได้มีการแก้ไขปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษ จากแหล่งกำเนิดที่กำหนดตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๖๖

ในการออกคำสั่งห้ามใช้ยานพาหนะตามมาตรา ๖๕ ให้พนักงานเจ้า

หน้ า ที่ผู้อ อกคำสั่ง ทำเครื่อ งหมายให้ เ ห็ น ปรากฏเด่ น ชั ด เป็ น ตั ว อั ก ษรที่มี ข้ อ ความว่ า “ห้ามใช้เด็ดขาด” หรือ “ห้ามใช้ชั่วคราว” หรือเครื่องหมายอื่นใดซึ่งเป็นที่รู้และเข้าใจของ ประชาชนโดยทั่วไปว่ามีความหมายอย่างเดียวกันไว้ ณ ส่วนใดส่วนหนึ่งของยานพาหนะ นั้นด้วย การทำและการยกเลิกเครื่องหมายห้ามใช้ตามวรรคหนึ่ง หรือการใช้ ยานพาหนะ ในขณะที่มีเครื่องหมายดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดใน คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 18


กฎหมายและการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรา ๖๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๖๕ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่ง ให้ยานพาหนะหยุดเพื่อตรวจสอบหรือเข้าไปในยานพาหนะหรือกระทำการใดๆ ที่จำเป็น เพื่อตรวจสอบเครื่องยนต์ และอุปกรณ์ของยานพาหนะนั้นได้ มาตรา ๖๘

ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอำนาจ

ประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทของแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือมลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่บรรยากาศไม่เกินมาตรฐาน ควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิดที่กำหนดตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการใด กำหนดโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายอื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา ๕๖ หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกำหนดเป็นพิเศษสำหรับเขตควบคุมมลพิษตาม มาตรา ๕๘ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษที่กำหนดตามวรรคหนึ่งมีหน้าที่ต้อง ติ ด ตั้ง หรื อ จั ด ให้ มี ร ะบบบำบั ด อากาศเสี ย อุ ป กรณ์ ห รื อ เครื่อ งมื อ อื่น ใดสำหรั บ การ ควบคุม กำจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่เจ้า พนักงานควบคุมมลพิษกำหนด เว้นแต่จะได้มีระบบ อุปกรณ์หรือเครื่องมือดังกล่าว ซึ่ง เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษได้ทำการตรวจสภาพและทดลองแล้วเห็นว่ายังใช้การได้อยู่ แล้ว เพื่อการนี้เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษจะกำหนดให้มีผู้ควบคุมการดำเนินงานระบบ บำบัดอากาศเสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมือดังกล่าวด้วยก็ได้ การตรวจสอบและควบคุม มาตรา ๘๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ ซึ่งมีระบบบำบัดอากาศ เสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมือสำหรับควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียหรือมลพิษอื่น ระบบ บำบัดน้ำเสีย หรือระบบกำจัดของเสีย ตามมาตรา ๖๘ หรือมาตรา ๗๐ เป็นของตนเอง มีหน้าที่ต้องเก็บสถิติและข้อมูลซึ่งแสดงผลการทำงานของระบบหรืออุปกรณ์ และเครื่อง มือดังกล่าวในแต่ละวัน และจัดทำบันทึกรายละเอียดเป็นหลักฐานไว้ ณ สถานที่ตั้งแหล่ง กำเนิดมลพิษนั้น และจะต้องจัดทำรายงานสรุปผลการทำงานของระบบ หรืออุปกรณ์และ เครื่องมือดังกล่าวเสนอต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่แหล่งกำเนิดมลพิษนั้นตั้ง อยู่อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 19


กฎหมายและการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การเก็บสถิติ ข้อมูล การจัดทำบันทึกรายละเอียดและรายงานให้ทำตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง ในกรณีที่ระบบบำบัดอากาศเสีย ระบบบำบัดน้ำเสีย หรือระบบกำจัดของเสีย หรือ อุปกรณ์ และเครื่องมือดังกล่าวในวรรคหนึ่ง จะต้องมีผู้ควบคุมตามที่เจ้าพนักงาน ควบคุมมลพิษกำหนด ให้ผู้ควบคุมมีหน้าที่ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่งแทน เจ้าของหรือผู้ครอบครอง ค่าบริการและค่าปรับ มาตรา ๙๒

เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษตามมาตรา ๖๘ หรือ

มาตรา ๗๐ ผู้ใดละเว้นไม่ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือของตนที่มีอยู่สำหรับการควบคุม มลพิษอากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน หรือละเว้นไม่ทำการบำบัดน้ำเสียหรือกำจัดของ เสียโดยใช้ระบบบำบัดน้ำเสีย หรือระบบกำจัดของเสียของตนที่มีอยู่และลักลอบปล่อยทิ้ง มลพิษน้ำเสียหรือของเสียดังกล่าวออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกเขตแหล่งกำเนิดมลพิษ ของตนจะต้องเสียค่าปรับรายวันในอัตราสี่เท่าของจำนวนเงินค่าใช้จ่ายประจำวันสำหรับ การเปิดเดินเครื่องทำงานของอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือระบบบำบัดน้ำเสียหรือระบบกำจัด ของเสียของตนตลอดเวลาที่ดำเนินการเช่นว่านั้น

การทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบทางกายภาพ รายละเอียดผลกระทบด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สามารถแยกออกเป็น 1)

สภาพภูมิประเทศ เสนอลักษณะของภูมิประเทศโดยรอบพื้นที่ศึกษาของ

โครงการที่กำหนดในขอบเขตการศึกษาโดยละเอียด

ระดับความสูงต่ำและลักษณะโดด

เด่นเฉพาะ เช่น พื้นที่สูงชั้น หรือ ราบลุ่มน้ำท่วมขัง ฯลฯ 2) ธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว ลักษณะทางธรณีวิทยา เช่น ชนิดของชั้นหินและ การเกิด ตำแหน่ง ความหนา รอยแตก รอยเลื่อน (Fault) และคุณสมบั ติทางธรณี เป็นต้น และการเกิดแผ่นดินไหว เช่น สถิติการเกิดแผ่นดินไหว 3) ทรัพยากรดิน เสนอข้อมูลลักษณะของชุดดิน พร้อมแผนที่ชุดดิน ความอุดม สมบูรณ์ของดินและความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 20


กฎหมายและการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) อุตุนิยมวิทยา และคุณภาพอากาศ ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาคาบ 30 ปี หรือ อย่างน้อย 10 ปี ของสถานีตรวจวัดที่ใกล้ที่สสุด ข้อมูลคุณภาพอากาศทุติยภูมิจาก หน่วยงาน หรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่ใช้ให้เป็นข้อมูลปัจจุบันมากที่สุดแและอยู่ ใกล้มากที่สุด พร้อมแสดงตำแหน่งตรวจวัดคุณภาพอากาศ การเก็บตัวอย่างคุณภาพ อากาศ ในระหว่างการศึกษา ควรครอบทั้งฤดูฝน และฤดูแล้ง โดยมีระยะเวลาเก็บ ตัวอย่าง 7 วันต่อเนื่องต่อครั้งที่ครอบคลุมวันหยุด พร้อมทั้งตรวจวัดทิศทางและ ความเร็วลมตลอดการเก็บตัวอย่าง รวมทั้งเขียนบรรยาย 5) ด้านเสียง เสนอผลการตรวจวัดระดับความเข้มของเสียง (Leq-24, Ldn L90และ Lmax) ไม่น้อยกว่า 3 วันต่อเนื่องที่ครอบคลุมวันหยุด 6) คุณภาพน้ำ รายละเอียดคุณภาพน้ำทั้งในแหล่งน้ำใช้และแหล่งรองรับน้ำทิ้ง 7) การจัดการกากของเสีย รายละเอียดวิธีการจัดการกากของเสียในปัจจุบัน สถานที่ ผู้ให้บริการ และความสามารถในการให้บริการขนส่งและกำจัด

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 21


เอกสารที่เกี่ยวข้อง อานนท์ ธีระมาด. ๒๕๕๖. Clean Coal Technologies (CCT). (ออนไลน์). แหล่ง ที่มา : http://www.cssckmutt.in.th/cssc/cssc_classroom/Solarenergy/ Assignment/SolEn54/SolEn54_Doc/15_Clean%20Coal%20Doc.pdf. ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๘ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. ๒๕๕๔. เทคโนโลยีถ่านหิน. (ออนไลน์). แหล่ง ที่ม า : http://projects-pdp2010.egat.co.th/projects1/index.php? option=com_content&view=article&id=3:coal-technology&catid=1 :intro duction-of-coal. ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๘ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. ๒๕๕๘. โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบ่ี และ ท่ า เที ย บเรื อ บ้ า นคลองรั ้ ว . (ออนไลน์ ) . แหล่ ง ที ่ ม า : http://projectspdp2010.egat.co.th/projects1/images/Article/001.pdf. ๒๐ ธันวาคม กาญจนา สวยสม. ๒๕๕๘. แนะนำคู่มือปฏิบัตรการโครงการ”โรงโม่ เหมืองหิน ติด ดาว”. (ออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ม า : http://http://infofile.pcd.go.th/air/ SCM_manual.pdf. ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๘

คู่มือการประมาณการปลดปล่อยมลพิษและการควบคุมมลพิษจากกระบวนการล้างถ่านหิน l 22



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.