HISTORY OF JAPANESE
HISTORY OF JAPANESE
คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น (อังกฤษ: Japonism หรือ Japonisme) เดิมมาจาก ภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในภาษาอังกฤษด้วย เป็นคำ�ที่หมายถึงศิลปะตะวันตกที่ได้รับ อิทธิพลจากศิลปะของญี่ปุ่น คำ�นี้ใช้เป็น ครั้งแรกโดยชูลส์ แคลตีในหนังสือ L’Art Français en 1872 (ศิลปะฝรั่งเศสของปี ค.ศ. 1872) ที่ตีพิมพ์ในปีเดียวกัน[1] งาน ที่ถ่ายทอดจากพื้นฐานของศิลปะญี่ปุ่น โดยตรงในศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะงาน ที่สร้างโดยศิลปินชาวฝรั่งเศสเรียกว่า «japonesque” (“แบบญี่ปุ่น”)
ิ ล ป ะ ญ่ ี ปุ ่ น
ศิ ล ป ะ ญ่ ี ป ุ่น
แล
ะ
มศ ย ิ น ิ คต
The Blooming Plum Tree (ต้นพลัมบาน) ฟินเซนต์ ฟัน โคค (จากฮิโระชิเงะ), ค.ศ. 1887
ศิลปะ
HISTORY OF JAPANESE
ญีป่ นุ่
ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1860 ภาพพิมพ์แกะไม้ภา พอุกิโยะ (ukiyo-e) ของ ญี่ปุ่นกลายเป็นแหล่งของแรง บันดาลใจสำ�หรับจิตรกรสมัย อิมเพรสชันนิสม์ชาวยุโรป ในฝรั่งเศสและในประเทศ ตะวันตกและในที่สุดก็รวมไป ถึงจิตรกรนวศิลป์และบาศก นิยม (cubism) ต่อมา สิ่งที่ กระทบความรู้สึกของศิลปิน ของศิลปะญี่ปุ่นคือการละการ ใช้ทัศนมิติและเงา, การใช้สี
HISTORY OF JAPANESE
HISTORY OF JAPANESE
HISTORY OF JAPANESE
สตรีผดู้ ตี รวจชมฉากญีป่ นุ่ โดยเจมส์ ทิสโซต์ ราว ค.ศ. 1869-1870 ฟัน โคค - ภาพเหมือนของ Père Tanguy ตัวอย่างของงานที่มีอิทธิพลจากภาพอุกิโยะ
จัดในบริเวณภาพที่ราบ, เสรีภาพใน ในยุโรปและสหรัฐอเมริกา การจัดองค์ประกอบในการวางหัวเรื่อง ผู้นิยมญี่ปุ่นก็เริ่มสะสมงาน ของภาพจากศูนย์กลางของภาพ ที่ ศิลปะของญี่ปุ่นกันอย่างขนานใหญ่ ส่วนใหญ่อยู่ในมุมทแยงด้านต่ำ�จาก โดยเฉพาะงานพิมพ์ศิลปะภาพอุกิ ฉากหลัง โยะ ที่จะเห็นได้จากตัวอย่างแรกๆ ในปารีส ราว ค.ศ. 1856 ศิลปินชาว ประวัติ ฝรั่งเศสเฟลีซ บราเคอมงด์ (Félix ระหว่างสมัยKaei era (ค.ศ. Bracquemond) พบงานก็อปปีของ 1848 - ค.ศ. 1854) เรือของพ่อค้าชาว ภาพร่างเป็นครั้งแรกของหนังสือ งาน ต่างประเทศเริ่มเข้ามาค้าขายในญี่ปุ่น ร่างของโฮะกุไซ (Hokusai Manga) หลังจากการการฟื้นฟูราชวงศ์เมจิ ใน ในห้องพิมพ์ของช่างพิมพ์ของตนเอง ปี ค.ศ. 1868 แล้วญี่ปุ่นก็เริ่มการเปิด ซึ่งเป็นกระดาษที่ใช้ห่อสินค้าพอร์ซี ประเทศรับสิ่งต่างๆ จากตะวันตกที่ เลน ในปี ค.ศ. 1860 และ ค.ศ. 1861 รวมทั้งภาพถ่าย และเทคนิคการพิมพ์ ก็เริ่มมีการพิมพ์งานขาวดำ�ของภา ขณะเดียวกับที่ภาพพิมพ์แกะไม้และ พอุกิโยะในหนังสือเกี่ยวกับญี่ปุ่น งานเซรามิคภาพอุกิโยะ ที่ตามด้วย ผ้าทอ งานสัมริด เอ็นนาเมลคลัวซอน ชาร์ลส์ โบเดอแลร์ (Charles เน (cloisonné enamel) และศิลปะ Baudelaire) เขียนในจดหมายในปี สาขาอื่นของญี่ปุ่นเข้าไปเป็นที่นิยมกัน ค.ศ. 1861 ว่า “สักชั่วระยะเวลาหนึ่ง
ภาพพิมพ์ของสตรีสามคนโดย อุตะมะโระ
ผมได้รับห่อ “ของญี่ปุ่น” (japonneries) ผมก็เลยแบ่งกับเพื่อน....” และปี ต่อมา “La Porte Chinoise” ร้าน ขายสินค้าจากญี่ปุ่นก็ขายสินค้าที่ รวมทั้งภาพพิมพ์ก็เปิดขึ้นที่ถนนริโว ลีในปารีสซึ่งเป็นถนนสายที่เป็นที่ นิยมสำ�หรับการซื้อของ[1] ในปี ค.ศ. 1871 ชาร์ล กามีย์ แซง-ซองส์ก็เขียน อุปรากรองค์เดียวชื่อ La princesse jaune โดยมีหลุยส์ กาเลต์เป็นผู้เขียน บทร้อง ซึ่งเป็นเรื่องราวของเด็กหญิง ชาวดัตช์ผู้อิจฉาเพื่อนศิลปินผู้มีหลง งานภาพพิมพ์แกะไม้ภาพอุกิโยะอย่าง หัวปักหัวปำ� ในระยะแรกแม้ว่าบราเคอมงด์ จะติดต่อหางานพิมพ์ด้วยตนเอง แต่ งานพิมพ์แกะไม้ส่วนใหญ่ที่เข้ามาทาง ตะวันตกเป็นงานของจิตรกรญี่ปุ่นร่วม สมัยของระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1860
HISTORY OF JAPANESE
HISTORY OF JAPANESE
ทิวทัศน์ของ ภูเขาฟูจิภาพหนึ่งในชุด “สถานี 53 สถานี บนเส้นทางโทไกโด” (Fifty-three Stations of the Tokaido) โดยฮิโระชิเงะ ตีพิมพ์ ค.ศ. 1850
ฟัน โคค - “La courtisane” (ตามแบบไอเซน), ค.ศ. 1887
ถึง 1870 จากนั้นก็เป็นเวลานานกว่า ที่ทางตะวันตกจะได้เริ่มเห็นงานคลาส สิกของศิลปินชั้นครูรุ่นก่อนหน้านั้น ขณะเดียวกันกลุ่มปัญญาชน อเมริกันก็ยังยืนกรานว่างานพิมพ์เอะ โดะเป็นศิลปะที่หยาบ (vulgar art) ที่ มีเอกลักษณ์ของสมัยที่แตกต่างจาก งานที่มีลักษณะที่งดงาม เอียงไปทาง ศาสนา และ มีลักษณะของความ เป็นญี่ปุ่นที่เรียกว่ายามาโตะ ภาพ จากสมัยยามาโตะก็ได้แก่ภาพเขียน โดยศิลปินเซนชั้นครูเช่นนักสะสม ศิลปะ นักเขียน และนักวิพากษ์ ศิลป์ชาวฝรั่งเศสต่างก็เดินทางไปยัง ประเทศญี่ปุ่นระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1860 ถึง 1880 ที่นำ�ไปสู่การพิมพ์ บทความต่างๆ เกี่ยวกับความงาม ของศิลปะญี่ปุ่นและการเผยแพร่งาน ภาพพิมพ์จากยุคเอะโดะมากขึ้น
ภาพในชุด Yamanba and Kintaro Sakazuki
ในยุโรป โดยเฉพาะในฝรั่งเศส ใน บรรดาผู้เดินทางไปญี่ปุ่นก็ได้แก่นัก เศรษฐศาสตร์ Henri Cernuschi นั กวิพากษ์ศิลป์ ทีโอดอร์ ดูเรต์ และ นักสะสมศิลปะชาวอังกฤษวิลเลียม แอนเดอร์สันผู้ใช้เวลาอยู่หลายปีใน เอะโดะและสอนการแพทย์ (งาน สะสมของแอนเดอร์สันต่อมาซื้อโดย พิพิธภัณฑ์บริติช) นักค้าศิลปะญี่ปุ่น หลายคนต่อมาก็มาตั้งหลักแหล่ง อยู่ในปารีสปารีส เช่นTadamasa Hayashi และ Iijima Hanjuro นอกจ ากนั้นระหว่างงานนิทรรศการนานาช าติ ค.ศ. 1878 (Exposition Universelle) ที่จัดขึ้นที่ปารีสก็มีการแสดง งานจากญี่ปุ่นหลายชิ้น ศิลปินและขบวนการ ศิลปิน ญี่ปุ่นผู้มีอิทธิพลก็ได้แก่อุตามา โระ (Utamaro) และโฮะกุไซ แต่สิ่งที่
น่าสนใจที่เกิดขึ้นคือขณะที่ศิลปะญี่ปุ่น ไปมีอิทธิพลต่อศิลปินตะวันตก แต่ใน ญี่ปุ่น bunmeikaika “ความเป็น ตะวันตก”) ก็นำ�ไปสู่การลดความนิยม การสร้างงานพิมพ์ภาพในญี่ปุ่นเอง ศิลปินผู้ที่ได้รับอิทธิพล จากศิลปะญี่ปุ่นก็รวมทั้งอาร์เธอ ร์ เวสลีย์ ดาว (Arthur Wesley Dow), ปีแยร์ บอนาร์, อ็องรี เดอ ตู ลูซ-โลแทร็ก, แมรี คัสซาตต์, แอ ดการ์ เดอกา, ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัว ร์, เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์, โกลด มอแน, ฟินเซนต์ ฟัน โคค, กามีย์ ปีซา โร, ปอล โกแก็ง, เบอร์ธา ลัม (Bertha Lum), วิลล์ เบรดลีย์ (Will Bradley), ออบรีย์ เบียร์ดสลีย์ (Aubrey Beardsley), อัลฟอนส์ มูคา (Alphons Mucha), กุสตาฟ คลิมต์