ทีร่ ะลึกงานทำ�บุญครบรอบ
๒๒
22 -jähriges
Jubiläum des
ปี การก่อตัง้
วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน
Wat Buddhavihara Berlin ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ (11.06.2017)
กำ�หนดการทำ�บุญครบรอบ ๒๒ ปี การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี วันอาทิตย์ที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๐
เวลา ๑๐.๐๐ น. เวลา ๑๑.๐๐ น. เวลา ๑๒.๓๐ น. เวลา ๑๓.๓๐ น. เวลา ๑๗.๐๐ น.
ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย พิธีกรนำ�ไหว้พระ สมาทานศีล พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ นำ�กล่าวคำ�ถวายภัตตาหาร และสังฆทาน พระสงฆ์เดินรับบิณฑบาตของแห้ง ถวายภัตตาหารเพล สาธุชนร่วมกันสวดมนต์ รายการแสดงวัฒนธรรม แสดงพระธรรมเทศนา ถวายผ้าป่า รับของทีร่ ะลึก กรวดน้�ำ รับพร เสร็จพิธี
22. Jubiläum
WAT BUDDHAVIHARA
Thai Kulturzentrum Berlin Deutschland Sonntag, 11.06.2017 10.00 Uhr - Beginn der Zeremonie , Mantra-Rezitation durch die Mönche. - Almosengang 11.00 Uhr - Essen, Getränke und weitere Gaben werden den Mönchen überreicht. 12.30 Uhr Kuturelles Bühnenprogramm 13.30 Uhr - Eine Predigt im Anschluss folgt eine Spendensammlung. - Allen Teilnehmern werden gesegnet worauf die Zeremonie endet. 17.00 Uhr Ende der Feier. Wat Buddhavihara, Malchower Str. 23 13089 Berlin – Heinersdorf Tel. 030 - 416 98 44 buddhavihara@hotmail.com
พระพุทธชินราชัน นรเทพเยอรมัน อภิปูชนีย์
พระประธานประจำ�วัดพุทธวิหาร เบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระพิมลธรรม(ชอบ อนุจารี) อดีตราชบัณฑิตสงฆ์รปู แรก เป็นประธานจัดสร้าง สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อประดิษฐาน ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี Phra Buddha Tchinaraschan Norathep German Abhipudschani Die Haupt-Buddha-Statue im Wat Buddhavihara, Baujahr 1971
พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระมหาโพธิวงศาจารย์
(ทองดี สุรเตโช) ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ ผู้ดูแลอุปถัมภ์วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน วัดธรรมวิหาร ฮันโนเวอร์ วัดสังฆวิหาร สตุตการ์ต สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี วัดธรรมกิตติวงศ์ (วัดไทยปราก) กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก Der Ehrwürdige Luang Phor Phramahaphodhivongsajarn Mitglied der Königlichen Akademie von Thailand Abt des Wat Ratcha O-Ros Bangkok, Unterstützer und Berater des Wat Buddhavihara Berlin Wat Dhammavihara Hannover Wat Sanghavihara Stuttgart Wat Dhammakittiwong Thaiprague
ในภาพ คุณกรรณิการ์ ธรรมเกษร พิธีกร-นักพูดชื่อดัง ตักบาตรหลวงพ่อฯร่วมกับสาธุชนในงานทำ�บุญฉลองวัดครบรอบ ๒๑ ปี (๑๙.๐๖.๒๕๕๙)
คำ�นำ�
วันอาทิตย์ที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๐/11.06.2017 เป็นวันกำ�หนด ทำ�บุญใหญ่ประจำ�ปี “ครบรอบ ๒๒ ปีการก่อตั้งวัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี” โดยการนับเอาตอนที่เริ่มต้นซื้อวัดที่วิทเท่นเนา (มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๘) เป็นต้นมา เมื่อมาเริ่มต้นที่ตรงนี้ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระมหาโพธิวงศา จารย์ (ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต) เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร ในฐานะผู้ อุปถัมภ์และดูแล ได้ตั้งชื่อวัดว่า “วัดพุทธวิหาร” ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๔/23.12.2011 ได้เซ็นสัญญาซื้อบ้านที่ดินในเขตพังโคว์ เนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๒ งาน ได้เริ่มเข้ามาปรับพื้นที่ตั้งแต่กลางปี ๒๕๕๕/2012 และได้ย้าย เข้ามาอยู่อย่างเป็นทางการในปี ๒๕๕๖/2013 วัดพุทธวิหาร ได้พัฒนาปรับปรุงอย่างไม่ หยุดยั้ง งานใหญ่ที่จำ�เป็นต้องทำ�ในทุก ๆ ด้าน งานที่สำ�คัญอันดับต้น ๆ ได้แก่ การบูรณะ หลังคาใหม่ โดยพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระมหาโพธิวงศาจารย์ รับเป็นเจ้าภาพในการ บูรณะ ตลอดถึงการบูรณะซ่อมแซม ระบบสาธารณูปโภค อาทิไฟฟ้า น้ำ�ประปา เครื่อง ทำ�ความร้อน(ไฮซุง) ปรับพื้นที่ภายในวัดทั้งหมด ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่น้อยทีเดียว โดยค่อย เป็นค่อยไป นอกจากนั้น ก็มีงานกิจกรรมด้านการศึกษา การปฏิบัติธรรม ด้านการสาธารณ สงเคราะห์ ก็ดำ�เนินกิจกรรมไปพร้อมกัน ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา มีการพัฒนาวัดฯ ในหลายด้านทั้งด้าน ถาวรวัตถุ เช่น ความก้าวหน้าในการขออนุญาตซ่อมแซมเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย การติดตั้งไฮซุง อาคารที่พักแม่ชี การปรับปรุงลานกิจกรรม ด้านศาสนธรรม มีการปฏิบัติธรรมทั้งหลักสูตร ฤดูร้อน และหลักสูตรพิิเศษ กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทย ในโอกาสที่วัดฯ ครบรอบ ๒๒ ปี ของวัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน จึงเป็นโอกาส สำ�คัญที่ชาววัดจะได้บำ�เพ็ญกุศล เป็นมงคลแก่วัดแก่สาธุชนญาติธรรมทุกคน และอุทิศส่วน กุศลแด่บูรพาจารย์ และอุทิศส่วนกุศลแด่ท่านผู้อุปถัมภ์บำ�รุงด้วย อนึ่ง ในการนี้ได้พิมพ์หนังสือเป็นที่ระลึก ประมวลกิจกรรมของวัดพุทธวิหาร กรุง เบอร์ลิน ตลอดปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา เพื่อเป็นเครื่องระลึกถึงบุญตลอดปี และ จัดพิมพ์ธรรมะ คู่มือมนุษย์ เรื่อง ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน ของหลวงพ่อพุทธทาส และฉบับแปลเป็นภาษาเยอรมัน โดยอาจารย์ Viriya Manfred ศิษย์หลวงพ่อชา สุภทฺโท ขออนุโมทนาขอบคุณพระมหาสังวรญ์ เทศนำ� และคุณวิเชียร คุณโอ ได้ช่วยจัดรูป เล่ม ขออนุโมทนาท่านผู้อุปถัมภ์ ผู้ช่วยงานทุก ๆ ด้านไว้ ณ โอกาสนี้
พระโพธิคุณวิเทศ (พระมหาพยอม สุทสฺสโน ป.ธ.๗) เจ้าอาวาสวัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน
Zum Geleit Vor 22 Jahren hat unser Verein ein Grundstück in Wittenau, einem Teil von Reinickendorf gekauft. Zu dieser Zeit hatte unser Unterstützer, der Ehrwürdige Luangphor Phra Mahabodhiivongsacan, dem Tempel den schönen Namen ,,Wat Buddhavihara“ gegeben. Am 23. Dez. 2011 haben wir den Kaufvertrag für das über 21.000 qm große Grundstück samt Gebäuden in Pankow-Heinersdorf geschlossen. Mitte 2012 hatten wir angefangen, die Grundstücksanlage aufzuräumen und 2013 sind wir dann hier eingezogen und haben die große Renovierung gestartet. Eine der wichtigsten Arbeiten war die Erneuerung des Daches vom Hauptgebäude. Die Kosten dafür vom Ehrwürdigen Luangphor Phra Mahabodhiivongsacan übernommen. Die Heizungs- und Sanitäranlagen wurden vorerst im Nebengebäude untergebracht, danach im Hauptgebäude. Außerdem haben wir nebenbei noch Kurse zum Erlernen des Dharma in Theorie und Praxis durchgeführt. Die Soziale Projekte wurden auch weiter gemacht. Anlässlich des 22-jährigen Jubiläums veranstalten wir in diesem Jahr mit Dankbarkeit für unserer Gemeinde, unseren Vorfahren, unseren Lehrern, Freunden und allen Unterstützern eine Feier. Zur Erinnerung haben wir in diesem Heft Bilder von unserem 21-jährigen Jubiläum und anderen Aktivitäten aus dem vergangenem Jahr eingefügt. Ein herzliches Dankeschön an alle Mitwirkenden an diesem Heft: Phramaha Sangworn und Khun Wichian für die Vorbereitung und das Layout Texte, aber auch an alle anderen Helfer in sämtlichen Bereichen für diese 22-jährige Jubiläum. Besonderen Dank an Khun Manfred Viriya und BGM München für die Deutsche Version (Buddhismus genau betrachtet) aus Predigten des erwürdigen Luangphor Buddhadasa. Phraphothikunvithes (Pharamaha Payom Suthassano)
Abt des Wat Buddhavihara Berlin
บันทึกภาพ
งานทำ�บุญฉลองวัดครบรอบ ๒๑ ปี การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน เยอรมนี ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๙ และกิจกรรมตลอดปี ๒๕๕๙
Aktivitäten von
Wat Buddhavihara Berlin und der ausgewählte Bilder von dem 21-jährigen Jubiläums am 19.06.2016
[8]
ลำ�ดับกิจกรรมการทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปี การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙
เวลา ๑๐.๐๐ น. พิธีเจริญพระพุทธมนต์ - ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ไหว้พระ สมาทานศีล - พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ - นำ�กล่าวคำ�ถวายภัตตาหาร และสังฆทาน - พระสงฆ์เดินรับบิณฑบาตของแห้ง เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล / สาธุชนร่วมกันสวดมนต์ เวลา ๑๓.๓๐ น พิธถี วายพระพร เนือ่ งในโอกาสมหามงคล เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๗๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๕๙ - สาธุชนพร้อมกันในพิธี - ประธานเปิดกรวย ถวายราชสักการะ พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ แล้วถวายความเคารพ และกล่าวถวายพระพรชัยมงคล - สาธุชน ร่วมร้องเพลง สดุดีมหาราชา และเพลงสรรเสริญพระบารมี - พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา เวลา ๑๓.๔๕ น. พิธีแสดงพระธรรรมเทศนา-ถวายผ้าป่า - พิธีกรนำ�ไหว้พระ อาราธนาธรรม - พระเดชพระคุณพระมหาโพธิวงศาจารย์ องค์อุปถัมภ์วัด แสดงพระธรรมเทศนา จบแล้วถวายผ้าป่า - รับของที่ระลึก - กรวดน้ำ�รับพร เวลา ๑๕.๐๐ น. รายการแสดงวัฒนธรรม เวลา ๑๗.๐๐ น. เสร็จพิธี
[9]
พิธีเจริญพระพุทธมนต์
การทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปี การก่อตั้งวัดพุทธวิหาร
เอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน [ฯพณฯ นงนุช เพ็ชรรัตน์] ประธานในพิธี อัครราชทูตที่ปรึกษา ณ กรุงปราก ประธานจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย
[ 10 ]
พิธีเจริญพระพุทธมนต์
การทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปี การก่อตั้งวัดพุทธวิหาร พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
พระสงฆ์ - สาธุชน ร่วมพิธีทำ�บุญ
[ 11 ]
พิธีเจริญพระพุทธมนต์
การทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปี การก่อตั้งวัดพุทธวิหาร พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
เอกอัครราชทูต ผู้มีเกียรติ สาธุชน ร่วมพิธีทำ�บุญ
[ 12 ]
พิธตี กั บาตร งานทำำบุญฉลองวัดครบรอบ ๒๑ ปี
การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน
๒๒ ปี การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน
ถวายภัตตาหารเพล งานทำำบุญฉลองวัดครบรอบ
[ 13 ]
[ 14 ]
พิธีถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคล เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ๖๐ ปี ๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๙
[ 15 ]
แสดงพระธรรมเทศนา โดย พระเดชพระคุณพระมหาโพธิวงศาจารย์ องค์อป ุ ถัมภ์วดั ฯ
[ 16 ]
ถวายผ้าป่าสามัคคี สร้างวัด ทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปีการก่อตัง้ วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลนิ
[ 17 ]
การแสดงศิลปวัฒนธรม ทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปีการก่อตัง้ วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลนิ
[ 18 ]
บรรยากาศ
ภายในงาน
[ 19 ]
บรรยากาศ การเตรียมงาน - เตรียมสถานที่
ทำ�บุญครบรอบ ๒๑ ปี การก่อตัง้ วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลนิ
[ 20 ]
๑ ปี ๕๒ สัปดาห์ ๓๖๖ วัน สัง่ สมบุญ สัง่ สมบารมี ที่วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี บุญใหญ่ บุญพิเศษ กิจกรรมของวัดฯ ปี ๒๕๕๙ พิธีสวดพระอภิธรรมอุทิศถวาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทุกวัน วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง ๒๒ มกราคม ๒๕๖๐ งานบุญในแต่ละเดือน พุทธศักราช ๒๕๕๙ / 2016
มกราคม ๓ ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่, ๒๔ วันเด็ก(ไทย) กุมภาพันธ์ ๑๙-๒๑ บวชปฏิบัติธรรมวันมาฆบูชา เวียนเทียน เมษายน ๑๐ ทำ�บุญวันสงกรานต์ พฤษภาคม ๒๐-๒๒ บวชปฏิบัติธรรมวันวิสาขบูชา เวียนเทียน มิถุนายน ๑๙ ทำ�บุญพิเศษ ครบรอบ ๒๑ ปี ก่อตั้งวัดพุทธวิหาร กรกฎาคม ๑๐ ไปทำ�บุญฉลองวัดสังฆวิหาร, ๒๒-๒๔ ปฏิบัติธรรม วันเข้าพรรษา ๓๑.๐๗-๑๔.๐๘ บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน สิงหาคม ๑๔-๒๑ อบรมเยาวชนหญิงภาคฤดูร้อน, ๑๔ ทำ�บุญวันแม่, ๒๔ ทำ�บุญอุทิศพระครูวิมลสรนาm, ๒๑-๒๘ ปฏิบัติวิปัสสนาธรรมเข้ม กันยายน ๑๑ ทำ�บุญวันสารทไทย บุญข้าวสาก ตานก๋วยสลาก, ๒๓-๒๕ ทัวร์ผ้าป่าต่างประเทศ วันเทวราชเวนิส อิตาลี ตุลาคม ๑๔-๑๖ ปฏิบัติธรรมวันออกพรรษา เทศน์มหาชาติ ๑๖ วันออกพรรษา ตักบาตรเทโวโรหณะ, ๒๓ วันปิยมหาราช พฤศจิกายน ๑๓ ทำ�บุญทอดกฐิน ลอยกระทง ธันวาคม ๔ วันพ่อแห่งชาติ, ๓๑ สวดมนต์ข้ามปี
กิจกรรมต่อเนื่อง
๑. ศูนย์ กศน. วัดพุทธวิหาร [ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย] ๒. ศูนย์ฯ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ หรือ อพม. วัดพุทธวิหาร ๓. กิจกรรมเรียนวิชาชีพ ๔. กิจกรรมพบทนายความ ด้านกฎหมาย ๕. การปฏิบตั ธิ รรมวาระพิเศษ ๖. การก่อสร้าง บูรณปฏิสงั ขรณ์ เสนาสนะ ๗. การปลูกผักสวนครัว / การปลูกดอกไม้ พัฒนาวัด ๘. ร่วมทำ�บุญการกุศลในทีต่ า่ งๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ ๙. กิจกรรมวันพระตลอดปี –สมาทานอุโบสถศีล ฟังธรรม ๑๐. กิจกรรมทุกวันตลอดปี การทำ�วัตรสวดมนต์เช้า-เย็น ถวายสังฆทาน ภัตตาหาร บุญวันคล้ายวันเกิด ทำ�บุญอุทศิ บรรพบุรษุ ๑๑. กิจกรรมพิเศษ นมัสการสังเวชนียสถาน ๑๒. บริการสังคม
[ 21 ]
พิธีสวดพระอภิธรรมอุทิศถวาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง ๒๒ มกราคม ๒๕๖๐
[ 22 ]
เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๕๙ ๓ มกราคม ทำ�บุญวันขี้นปีใหม่
๒๔ มกราคม วันเด็ก
[ 23 ]
เดือน กุมภาพันธ์ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๙ ๑๙-๒๑ ก.พ. ปฏิบัติธรรมวันมาฆบูชา-เวียนเทียน
๑๐ เมษายน ทำ�บุญวันสงกรานต์
[ 24 ]
เดือน พฤษภาคม มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๙ ๒๐-๒๒ พฤษภาคม ปฏิบตั ธิ รรมวันวิสาขบูชา-เวียนเทียน
๑๙ มิถุนายน ทำ�บุญครบรอบการก่อตั้งวัด ๒๑ ปี
[ 25 ]
เดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ๒๒-๒๔ ก.ค. ปฏิบตั ธิ รรมวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา-เวียนเทียน
๓๑ ก.ค.- ๑๔ ส.ค. บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน
[ 26 ]
เดือน สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ๑๔ สิงหาคม ทำ�บุญวันแม่
๒๔ สิงหาคม ทำ�บุญอุทิศพระครูวิมลสรนาท
[ 27 ]
เดือน สิงหาคม กันยายน พ.ศ.๒๕๕๙ ๒๑-๒๘ สิงหาคม ปฏิบตั ธิ รรมฤดูรอ้ น
๑๑ กันยายน ทำ�บุญวันสารทไทย
[ 28 ]
เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ๑๔-๑๖ ต.ค. ปฏิบตั ธิ รรมวันออกพรรษา เทศน์มหาชาติ
๑๖ ตุลาคม ตักบาตรวันเทโวโรหณะ
[ 29 ]
เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๙ ๑๓ พฤศจิกายน ทำ�บุญทอดกฐิน
๑๓ พฤศจิกายน ทำ�บุญทอดกฐิน
[ 30 ]
เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ๔ ธันวาคม ทำ�บุญวันพ่อ
๓๑ ธันวาคม สวดมนต์ข้ามปี
[ 31 ]
กิจกรรมต่อเนื่อง ศูนย์ กศน., ศูนย์ อาสา พมอ. ศูนย์ กศน. - เรียนวิชาชีพ
ศูนย์ กศน. - เรียนวิชาชีพ
[ 32 ]
กิจกรรมต่อเนื่อง งานนวกรรม-สถานที่ ก่อสร้าง-บูรณะปฏิสังขรณ์
ปลูกผักสวนครัว/ไม้ดอกไม้ประดับ
[ 33 ]
กิจกรรมต่อเนื่อง การปฏิบัติธรรม วันพระ ปฏิบัติธรรมวาระพิเศษ
วันพระ สมาทานอุโบสถศีล-ฟังธรรม ตลอดปี
[ 34 ]
กิจกรรมต่อเนื่อง ประจำ�วัน-ประจำ�สัปดาห์ ถวายสังฆทาน-ภัตตาหาร
ทำ�วัตรสวดมนต์เช้า-เย็น
[ 35 ]
กิจกรรมต่อเนื่อง ทำ�บุญอุทิศ
นมัสการสังเวชนียสถาน
[ 36 ]
กิจกรรมต่อเนื่อง บริการสังคม พระสันตุฏโฐ พระเยอรมัน บรรยายให้ชาวเยอรมันฟัง
พระสันตุฏโฐ พระเยอรมัน บรรยายให้ชาวเยอรมันฟัง
เรื่อง
ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน
°√¡°“√»“ π“ °√–∑√«ß«—≤π∏√√¡ æ‘¡æ出¬·æ√à æ.». ÚııÚ (Àâ“¡´◊ÈÕ-¢“¬)
[ 38 ]
คู่มือมนุษย์ ของพุทธทาสภิกขุ เรื่อง ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน
ถ้าเราเปิดหนังสือทุกเล่มที่เขียนกัน ในสมัยปัจจุบันอันว่าด้วย ต้นเหตุ ของการเกิดศาสนาแล้ว จะเห็นว่าเขาเขียนไว้เหมือน ๆ กันตรงกันที่ว่า คนป่า ดั้งเดิมกลัวฟ้าผ่า ฟ้าร้อง กลัวความมืด กลัวพายุ กลัวสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่เหนือ ความเข้าใจ หรือความต้านทานของคนป่าเหล่านั้น และวิธีที่จะหลบหลีกอันตราย ก็คือ ต้องแสดงอาการยอมแพ้หมอบกราบ อ้อนวอนบูชา แล้วแต่คนฉลาดที่สุด ในสมัยนั้นเห็นว่า จะต้องทำ�ตามที่ตนนึกว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือผีเหล่านั้นจะชอบใจ ที่นับว่า ศาสนาเกิดขึ้นมาในโลกด้วยอำ�นาจของความกลัว และมีการปฏิบัติไป ตามความกลัว. ๑ ความกลัวของคนชั้นหลังๆ เลื่อนสูงขึ้นมาถึงความกลัวทุกข์ชนิดที่ อำ�นาจทางวัตถุช่วยไม่ได้ เช่น ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความหม่นหมองมืดมัว เพราะอำ�นาจของความอยาก ความโกรธ ความหลงผิด ถึงแม้คนเราจะมีอำ�นาจ หรือเงินทองสักเท่าไร ก็ไม่สามารถระงับอาการอันโหดร้ายของ ความทุกข์เหล่า นั้นได้ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่เจริญด้วยนักคิด นักค้นคว้า ผู้มีสติปัญญาทั้ง หลาย จึงได้ละทิ้งการไหว้บรรดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาทำ�การ ค้นหาวิธีเอาชนะความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือเอาชนะความอยาก ความโกรธ ความหลงผิดให้ได้, นี่นับว่า เป็น บ่อเกิดของศาสนาที่สูงขึ้นไปในทางปัญญา ในที่สุดก็ได้พบวิธีที่จะเอาชนะ ความเกิด แก่ เจ็บ ตายหรือเอาชนะกิเลสต่างๆ ได้. ๒ สำ�หรับพระพุทธศาสนา ก็มีมูลมาจากความกลัวแบบหลังนี้เหมือนกัน : พระพุทธเจ้า เป็นผู้พบวิธีที่จะเอาชนะ สิ่งที่คนกลัวได้เต็มตามความประสงค์ และเกิดวิธีปฏิบัติเพื่อดับความทุกข์ ชนิดที่เรียกว่า พระศาสนา พุทธศาสนาแปล ว่า ศาสนาของผู้รู้ เพราะ พุทธะ แปลว่าผู้รู้ คือรู้ความจริงของสิ่งทั้งปวงได้ถูก ต้อง เพราะฉะนั้น พุทธศาสนาจึงเป็น ศาสนาทีอ่ าศัยสติปญ ั ญา ; หรืออาศัยวิชา ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง เพือ่ ทำ�ลายความทุกข์ และต้นเหตุของความทุกข์เหล่านัน้ . ๓ การทำ�พิธีรีตอง เพื่อบูชาบวงสรวง อ้อนวอนบรรดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้น ไม่ใช่ พุทธศาสนา พระพุทธเจ้าไม่รับเข้ามาไว้ในศาสนาของพระองค์เลย เพราะเป็นสิ่ง
[ 39 ] ที่น่าขบขัน น่าหัวเราะ และถือเอาเป็นที่พึ่งอันแท้จริงไม่ได้ ; พระพุทธเจ้าทรง ปฏิเสธ การกระทำ�เช่นนั้นโดยสิ้นเชิง. ๔ มีค�ำ กล่าวในพระพุทธศาสนา “ความรู้ ความฉลาด และความสามารถ ที่ จะทำ�ให้ส�ำ เร็จประโยชน์นน่ั แหละ เป็นตัวฤกษ์ทด่ี อี ยูใ่ นตัวมันเองแล้ว ดวงดาวใน ท้องฟ้าจะทำ�อะไรได้ ประโยชน์ทค่ี วรจะได้กผ็ า่ นพ้นคนโง่ ๆ ทีม่ วั แต่นง่ั คำ�นวณ ดวงดาวในท้องฟ้าไปเสียสิน้ ” ดังนี้ ; และว่า “ถ้าน้�ำ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นแม่น�ำ้ คงคา ฯลฯ จะทำ�ให้คนหมดบาปหมดทุกข์ได้แล้ว พวกเต่า ปู ปลา หรือหอยทีอ่ าศัยอยูใ่ น แม่น�ำ้ หรือสระศักดิส์ ทิ ธิน์ น้ั ก็จะหมดบาปทุกข์ไปด้วยน้�ำ นัน้ เหมือนกัน” หรือ “ถ้า หากว่าคนจะพ้นทุกข์ได้ดว้ ยการบวงสรวง บูชาอ้อนวอนเอาๆ แล้ว ในโลกนีก้ จ็ ะ ไม่มใี คร มีความทุกข์เลย เพราะว่า ใคร ๆ ต่างก็บชู าอ้อนวอนเป็น” ๕ โดยเหตุท่ี ยังมีคนทีม่ คี วามทุกข์ทง้ั ทีไ่ ด้กราบไหว้บชู า หรือทำ�พิธรี ตี องต่างๆ อยู่ จึงถือว่าไม่เป็นหนทางทีจ่ ะเอาตัวรอดได้ ฉะนัน้ เราจะต้องพิจารณาโดยละเอียด ลออให้รู้ ให้เข้าใจว่าอะไรเป็นอะไร แล้วปฏิบตั ติ อ่ สิง่ นัน้ ๆ ให้ถกู ต้อง ๖ พุทธศาสนาไม่ประสงค์การคาดคะเน หรือทำ�อย่างที่เรียกว่าเผื่อจะเป็น อย่างนั้น เผื่อจะเป็นอย่างนี้ เราจะทำ�ไปตรง ๆ ตามที่มองเห็นด้วยปัญญาของตัว เอง โดยไม่ต้องเชื่อคนอื่น แม้จะมีคนอื่นมาบอกให้ ก็ไม่ได้หมายความว่า จะต้อง เชื่อเขาทันที เราจะต้องฟังและพิจารณาจนเห็นจริงว่า เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ แล้วจึง จะเชื่อ และพยายามทำ�ให้ปรากฏผล ด้วยตนเอง ๗ ศาสนาเหมือนกับของหลายเหลี่ยม ดูเหลี่ยมหนึ่งมันก็เป็นไปอย่างหนึ่ง ดูอีกเหลี่ยมหนึ่งมันก็ เป็นไปอีกอย่างหนึ่ง แล้วแต่ว่าบุคคลนั้นจะถือหลักการ คิด ในแนวไหนก็จะเห็นศาสนาเดียวกัน ในลักษณะที่แตกต่างกันได้ : แม้พุทธศาสนา ก็ตกอยู่ในลักษณะเช่นนี้ ๘ คนเราย่อมเชื่อความคิดเห็นของตัวเอง เพราะฉะนั้น ความจริงหรือสัจจะ สำ�หรับคนหนึ่ง ๆ นั้น มันอยู่ตรงที่ว่าเขาเข้าใจ และมองเห็นเท่าไรเท่านั้นเอง : สิ่งที่เรียกว่า “ความจริง” ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน คนเราเข้าถึงปัญหาหนึ่งๆ ได้ตื้นลึกกว่ากัน หรือด้วยลักษณะที่ต่างกัน และด้วยสติปัญญาที่ต่างกัน สิ่งใด ที่อยู่เหนือสติปัญญา ความรู้ความเข้าใจของตน หรือตนยังไม่เข้าใจ คนนั้นก็ไม่ ถือว่าเป็น ความจริงของเขา ถ้าเขาจะพลอยว่าจริงไปตามผู้อื่น เขาก็รู้สึกอยู่แก่ ใจว่า ไม่เป็นความแท้ความจริงของเขาเลย ๙
[ 40 ] ความจริงของคนหนึ่งๆ นั้น จะเดินคืบหน้าได้เสมอ ตามสติปัญญา ความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นทุกๆวัน จนกว่าจะถึงความจริงขั้นสุดท้าย คนเรามี การศึกษามาต่างกัน และมีหลักพิจารณาสำ�หรับจะเชื่อต่างๆ กันฉะนั้น ถ้าจะเอา สติปัญญาที่ต่างกันมาดูพุทธศาสนา ก็จะเกิดความคิดเห็นต่างกันไป ทั้งนี้เพราะ ว่าพุทธศาสนาก็มีอะไรๆ ครบทุกอย่างที่จะให้คนดู ๑๐ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว พุทธศาสนาคือวิธีปฏิบัติ เพื่อเอาตัวรอดจาก ความทุกข์ โดยการทำ�ให้รู้ความจริงว่า อะไรเป็นอะไร ตามที่พระพุทธเจ้าท่าน ทรงทำ�ได้ก่อนและได้ทรงสอนไว้, แต่คัมภีร์ทางศาสนานั้นย่อมมีอะไรๆ เพิ่มขึ้นได้ ทุกโอกาสที่คนชั้นหลังเขาจะเพิ่มเติมลงไป พระไตรปิฎกของเราก็ตกอยู่ในฐานะ อย่างเดียวกัน คนชั้นหลังๆ เพิ่มเติมข้อความเข้าไปตามที่เห็นว่าจำ�เป็น สำ�หรับ ยุคนั้นๆ เพื่อจะช่วยให้คนมีศรัทธามากขึ้นๆ หรือกลัวบาปรักบุญมากขึ้น ซึ่งอาจ จะมากเกินขอบเขต จนกระทั่งเกิดการเมาบุญกันใหญ่ ๑๑ แม้แต่พิธีรีตองต่าง ๆ ที่เพิ่งเกิดขึ้นและเกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธ-ศาสนา เพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็พลอยถูกนับเข้าเป็นพุทธศาสนาไปด้วย อย่างน่าสมเพช เช่น การจัดสำ�รับคาวหวานผลหมากรากไม้ เพื่อเซ่นวิญญาณของพระพุทธเจ้า อย่างที่เรียกว่าถวายข้าวพระ เป็นต้น. มันเป็นสิ่งที่มีไม่ได้ตามหลักของพุทธ ศาสนา แต่พุทธบริษัทบางพวกเข้าใจว่านี่เป็น พุทธศาสนา และได้สอนกันถือกัน อย่างเคร่งครัด ๑๒ พิธีรีตองต่างๆ ทำ�นองนี้ ได้เกิดขึ้นอย่างหนาแน่นมากมาย จนหุ้มห่อ ของจริงหรือความมุ่งหมายเดิมให้สาบสูญไป ขอยกตัวอย่าง เช่นในเรื่อง การบวช นาค ก็เกิดมีพิธีทำ�ขวัญนาค เชื้อเชิญแขกมาเลี้ยงดูกันอย่างเมามายเอิกเกริก ทำ� พิธีทั้งที่วัดและที่บ้าน บวชไม่กี่วันก็สึกออกมา แล้วกลายเป็นคนเกลียดวัดยิ่งไป กว่าเดิมก็มี นี่ขอให้คิดดูเถิดว่า สิ่งไม่เคยมีในครั้งพุทธกาลก็ได้มีขึ้น ๑๓ การบวชสมัยพระพุทธเจ้า นัน้ หมายความว่าบุคคลใดทีไ่ ด้รบั อนุญาต จาก บิดามารดาแล้ว ก็ปลีกตัวจากบ้านเรือน เป็นคนทีท่ างบ้านตัดบัญชีทง้ิ ได้ ไปอยู่ กับพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์ โอกาสเหมาะสมเมือ่ ไรท่านก็บวชให้ โดยมิได้พบหน้า บิดามารดาญาติพน่ี อ้ งเลย จนตลอดชีวติ ก็ยงั มี; แม้บางรายจะมีกลับมาเยีย่ มบิดา มารดาบ้าง ก็ตอ่ โอกาสหลังซึง่ เหมาะสม แต่กม็ นี อ้ ยเหลือเกินในพุทธศาสนา มี ระเบียบว่ามาบ้านได้กต็ อ่ เมือ่ มีเหตุผลสมควร และพึงทราบไว้ดว้ ยว่าพวกทีบ่ วชนัน้
[ 41 ] ไม่ได้เวียนมาบ้าน ไม่ได้บวชในทีต่ อ่ หน้าบิดามารดา ไม่ได้ฉลองกันเป็นการใหญ่แล้ว ไม่กว่ี นั สึก สึกแล้วก็ไม่มอี ะไรดีขน้ึ ไปกว่าเดิม อย่างทีเ่ ป็นกันอยูใ่ นเวลานี้ ๑๔ เราหลงเรียกการทำ�ขวัญนาคและการทำ�พิธีต่างๆ ตลอดถึงการฉลอง อะไรๆ เหล่านั้น ว่าเป็นพุทธศาสนาแล้วก็นิยมทำ�กันอย่างยิ่ง จนหมดเปลือง ทรัพย์ของตนหรือของคนอื่นเท่าไรก็ไม่ว่าพุทธศาสนาใหม่ๆ อย่างนี้เกิดมีมากมาย แทบจะทั่วไปทุกแห่ง ธรรมะหรือของจริงที่เคยมีมาแต่ก่อนนั้น ถูกหุ้มห่อโดยพิธี รองตองจนมิด เกิดมุ่งหมายผิดเป็นอย่างอื่นไป เช่น การบวชก็กลายเป็นเรื่อง สำ�หรับแก้หน้าเด็กหนุ่มๆ ที่ถูกหาว่าเป็นคนดิบ หาเมียยากอะไรเหล่านี้เป็นต้น ใน บางถิ่นบางแห่ง ถือเป็นโอกาสสำ�หรับรวบรวมเงินที่มีผู้นำ�มาช่วย เป็นการหาทาง ร่ำ�รวยเสียคราวหนึ่ง ถึงอย่างนั้นเขาก็เรียกว่าพุทธศาสนา ; ใครไปตำ�หนิติเตียน เข้าก็จะถูกหาว่า ไม่รู้จักพุทธศาสนา หรือทำ�ลายศาสนา ๑๕ อีกเรื่องหนึ่ง ตัวอย่าง เช่น กฐิน: พระพุทธองค์ทรงมุ่งหมายจะให้ภิกษุ ทำ�จีวรเป็นด้วยตนเองด้วยกันทุกรูป และให้พร้อมเพรียงกัน ทำ�ด้วยมือของตัวเอง ในเวลาอันรวดเร็ว ถ้าผ้าที่ช่วยกันทำ�นั้นมีผืนเดียว ก็มอบให้เป็นกรรมสิทธิ์ของ ภิกษุองค์ใดองค์หนึ่ง ซึ่งไม่จำ�เป็นจะต้องเป็นเจ้าอาวาส แต่เป็นภิกษุซึ่งหมู่สงฆ์ เห็นว่ามีคุณสมบัติ สมควรที่จะใช้จีวรผืนนั้นได้ หรือขาดแคลนผ้าจะใช้สอย ให้ เป็นผู้ใช้สอยจีวรผืนนั้นได้ ในนามของสงฆ์ทั้งหมด ๑๖ พระองค์ทรงมุ่งหมายจะให้พระทุกรูปหมดความถือเนื้อถือตัว ไม่ว่าจะ เป็นพระผู้น้อย สมภารเจ้าวัด หรือพระผู้ใหญ่มีศักดิ์มีเกียรติอะไรก็ตาม ต้องลด ตัวลงมาเป็นกุลีกันหมดในวันนั้น เพื่อจะมาระดมกันกะผ้าตัดผ้าเย็บผ้า ต้มแก่นไม้ ทำ�สีย้อมผ้า และอะไร ๆ ทุกสิ่งทุกอย่างที่จะให้จีวรนั้นสำ�เร็จได้ในวันนั้น เพราะ เป็นการรวบรวมเอาเศษผ้ามาต่อกันเป็นจีวร พระพุทธเจ้าท่านทรงมุ่งหมายให้ สิ่ง ที่เรียกว่ากฐินเป็นอย่างนั้น คือไม่ต้องไปเกี่ยวกับฆราวาสเลยก็ได้ แต่เดี๋ยวนี้กฐิน กลายเป็นเรื่องมีไว้สำ�หรับ ประกอบพิธีหรูหราหาเงินเอิกเกริก เฮฮาสนุกสนาน พักผ่อนหย่อนใจโดยไม่ได้รับผล สมความมุ่งหมายอันแท้จริง แต่กลับใช้เวลามาก เปลืองเงินมากยุ่งยากมาก จนกลายเป็นโอกาสสำ�หรับ ทำ�สำ�มะเลเทเมา คือไป ทอดกฐินเพื่อกินเหล้ากินปลา เล่นไพ่เฮฮากันอย่างสนุกสนาน หรือไม่ก็มุ่งหน้า หาเงินกันเท่านั้น ๑๗
[ 42 ] พุทธศาสนา “เนื้องอก” ทำ�นองนี้ มีขึ้นใหม่ ๆ มากมายหลายร้อย อย่าง โดยไม่ต้องระบุชื่อ เพราะมากจนระบุไม่ไหว แต่อยากจะให้เชื่อว่า “พุทธศาสนาเนื้องอก” เป็นเนื้อร้ายชนิดหนึ่งซึ่งงอกขึ้นๆจนปิดบังห่อหุ้มเนื้อดีหรือ แก่นแท้ของพุทธศาสนาให้ค่อยๆ ลบเลือนไป : ด้วยเหตุฉะนี้แหละสิ่งที่เราเรียก ว่า พุทธศาสนา ๆ จึงมีเพิ่มขึ้นมากมาย หลายประเภทจากตัวแท้ ของศาสนาที่มี อยู่ดั้งเดิม เกิดเป็นนิกายใหญ่และนิกายย่อย ๆ อีกตั้ง ๒๐-๓๐ นิกาย ที่กลาย เป็น นิกายตันตระ ที่เนื่องกับกามารมณ์ไปก็มี จำ�เป็นที่จะต้องแยกแยะให้รู้จัก ตัว พุทธศาสนาเดิมแท้ไว้เสมอ จะได้ไม่หลงงมงายยึดถือเปลือกที่หุ้มภายนอก หรือ ติดแน่นในพิธีรีตองต่าง ๆ จนเป็น การประพฤติผิดไปจาก ความมุ่งหมายเดิมที่ ถูกต้องยิ่งขึ้น ๑๘ เราควรยึดกายวาจาบริสุทธิ์ให้เป็นที่ตั้งของจิตบริสุทธิ์ เพื่อให้เกิดปัญญารู้ว่าอะไรถูก แล้วประพฤติปฏิบัติไปตามนั้น อย่าได้ถือว่าถ้าเขา ว่าเป็นพุทธศาสนาแล้วก็เป็นพุทธศาสนา เนื้องอกนั้นได้งอกมาแล้วนับตั้งแต่ วัน หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน และยังงอกเรื่อยๆ มา กระจายไปทุกทิศทุกทาง จนกระทั่งบัดนี้เลยมีเนื้องอก ก้อนโต ๆ อย่างมากมาย ๑๙ พวกเราเองจะไปอ้างเอา “พุทธศาสนาเนื้องอก” มาถือว่าเป็นพุทธ ศาสนาไม่ได้ หรือ คนในศาสนาอื่นจะมาชี้ก้อนเนื้องอก เหล่านี้ซึ่งมีอยู่อย่าง น่าบัดสี อย่างน่าละอายว่าเป็นพุทธศาสนา ก็ไม่ถูกเหมือนกัน คือไม่เป็นการ ยุติธรรม เพราะสิ่งนี้ไม่ใช่พุทธศาสนา แต่เป็น “เนื้องอก” พวกเราที่จะช่วยกัน จรรโลง พระพุทธศาสนาเพื่อให้เป็นที่พึ่ง แก่คนทั้งหลาย หรือเพื่อประโยชน์แก่ตัว เราเองก็ตาม จะต้องรู้จักจับฉวยให้ถูกตัวแท้ของพุทธศาสนา ไม่ไปถูกชิ้นเนื้อร้าย เนื้องอกดังที่กล่าวมาแล้ว ๒๐ แม้พุทธศาสนาตัวแท้ก็ยังมีหลายแง่หลายมุม ที่จะทำ�ให้เกิดการจับฉวย เอาไม่ถูกความหมายที่แท้ ของพระพุทธศาสนาก็ได้ ๒๑ ถ้ามองด้วยสายตาของนักศีลธรรม ก็จะเห็นว่า พุทธศาสนาเป็นศาสนา แห่งศีลธรรม (Moral) เพราะมีกล่าวถึงบุญบาป ความซื่อตรง ดีชั่ว ความ กตัญญูกตเวที ความสามัคคี ความเป็นคนที่เปิดเผยตัวเอง และอะไรต่างๆ อีก มากมาย ล้วนแต่มีอยู่ในพระไตรปิฎกทั้งนั้น แม้ชาวต่างประเทศก็มองดูในส่วนนี้ อยู่มาก หรือว่าชอบพุทธศาสนา เพราะเหตุนี้ก็มีอยู่มาก ๒๒ พุทธศาสนาอีกส่วนหนึ่ง สูงขึ้นไปเป็นสัจจธรรม (Truth) คือ กล่าว ถึงความจริงที่ลึกซึ้งเร้นลับ นอกเหนือไปกว่าที่คนธรรมดาสามัญ จะเห็นได้ ส่วน
[ 43 ] นี้ก็ได้แก่ความรู้เรื่องความว่างเปล่า ของสรรพสิ่งทั้งปวง (สุญญตา), เรื่องความ ไม่เที่ยง (อนิจจัง), ความเป็นทุกข์ (ทุกขัง), ความไม่ใช่ตัวตน (อนัตตา) ; หรือ เรื่องการเปิดเผยว่าทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับสนิท ของทุกข์เป็นอย่างไร และวิธีปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นอย่างไร; ในฐานะเป็น ความจริงอันเด็ดขาด ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้(อริยสัจจ์)ซึ่งทุกคนควรจะต้องรู้ นี้เรียก ว่าพุทธศาสนา ในฐานะเป็นสัจจธรรม ๒๓ พุทธศาสนา ในฐานะที่เป็นศาสนา (Religion) คือส่วนที่เป็นตัวระเบียบ ปฏิบัติ ซึ่งได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา กระทั่งผลที่เกิดขึ้นคือความหลุดพ้น และ ปัญญาที่รู้เห็นความหลุดพ้น ว่าเมื่อใครปฏิบัติแล้วจะหลุดพ้น ไปจากความทุกข์ได้ จริง นี่เรียกว่า พุทธศาสนาในฐานะที่เป็นศาสนา ๒๔ เรายังมี พุทธศาสนาในเหลี่ยมที่เป็นจิตวิทยา (Psychology) เช่น คัมภีร์พระไตรปิฎกภาคสุดท้าย กล่าวบรรยายถึงลักษณะของจิตไว้กว้างขวาง อย่างน่าอัศจรรย์ที่สุด เป็นที่งงงันและสนใจแก่นักศึกษาทางจิต แม้แห่งยุค ปัจจุบัน เป็นความรู้ทางจิตวิทยาที่จะอวดได้ว่าแยบคาย หรือลึกลับกว่าความรู้ ทางจิตวิทยาของ โลกปัจจุบันไปเสียอีก ๒๕ พุทธศาสนายังมีเหลีย่ มความรูซ้ ง่ึ จัดได้วา่ เป็นปรัชญา (Philosophy) คือสิง่ ทีท่ ดลองไม่ได้ ยังต้องอาศัยการคำ�นึงคำ�นวณ ไปตามหลักแห่งการใช้เหตุผล แห่งการคำ�นึงคำ�นวณระบอบหนึง่ แต่ถา้ เห็นแจ้งประจักษ์ได้ดว้ ยตา หรือด้วยการ พิสจู น์ทดลองตามทางวัตถุ หรือแม้เห็นชัดด้วย “ตาใน” คือญาณจักษุกต็ าม เรียก ว่า เป็นวิทยาศาสตร์ (Science) ได้ ความรูอ้ นั ลึกซึง้ เช่นเรือ่ งสุญญตาย่อมเป็น ปรัชญาสำ�หรับ ผูท้ ย่ี งั ไม่บรรลุธรรมไปพลางก่อน ; แต่จะกลายเป็นวิทยาศาสตร์ทนั ที สำ�หรับผูท้ บ่ี รรลุธรรมแล้ว เช่น พระอรหันต์ ; เพราะท่านได้เห็นแจ้งประจักษ์แล้ว ด้วยจิตใจของท่านเอง ไม่ตอ้ งคำ�นึงคำ�นวณตามเหตุผล ๒๖ หลักพระพุทธศาสนาบางประเภท ก็เป็นวิทยาศาสตร์ โดยส่วนเดียว เพราะพิสจู น์ได้ชดั แจ้งด้วยความรูส้ กึ ภายในใจ ของผูม้ สี ติปญ ั ญา ; โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ เรือ่ งอริยสัจจ์เป็นต้น ถ้าผูใ้ ดมีสติปญ ั ญาสนใจศึกษาค้นคว้าแล้วจะ มีเหตุผลแสดง อยูใ่ นลักษณะทีเ่ ป็นวิทยาศาสตร์ ไม่มดื มัวเป็นปรัชญาเหมือนอย่างบางเรือ่ ง ๒๗ สำ�หรับบุคคลผู้บูชาวัฒนธรรมก็จะพบว่ามีคำ�สั่งสอนในพระพุทธศาสนา หลายข้อทีต่ รงกับ หลักวัฒนธรรมสากล, และมีค�ำ สอนอีกมาก ทีเ่ ป็นวัฒนธรรม
[ 44 ] ของชาวพุทธ โดยเฉพาะซึง่ ดีกว่า สูงกว่าวัฒนธรรมสากลอย่างมากมาย ๒๘ แม้พุทธศาสนาส่วนที่เป็นตรรกวิทยา (Logic) ซึ่งเป็นศาสตร์ที่โยกโคลง ที่สุด ก็มีมากด้วยเหมือนกัน โดยเฉพาะในพวกพระอภิธรรมปิฎก บางคัมภีร์ เช่น คัมภีร์กถาวัตถุเป็นต้น ๒๙ แต่อย่างไรก็ตามอยากจะขอยืนยันว่า พุทธศาสนาเหลี่ยม ซึ่งชาวพุทธ จะต้องสนใจที่สุด นั้นคือ เหลี่ยมที่เป็นศาสนา ซึ่งหมายถึงวิธีปฏิบัติโดยรวบรัด เพื่อให้รู้ความจริงว่าสิ่งทั้งปวงเป็นอะไร จนถอนความยึดถือหลงใหลต่างๆ ออก มาเสียจากสิ่งทั้งปวงได้ การกระทำ�เช่นนี้เรียกว่า เราเข้าถึงตัวพระพุทธศาสนา ในฐานะเป็นพุทธศาสนา : มีผลดียิ่งไปกว่าที่จะถือเป็นเพียงศีลธรรมขั้นพื้นฐาน และสัจจธรรมอันเป็นความรู้ที่ลึกซึ้งอย่างเดียว โดยไม่ปฏิบัติอะไร, และเป็นผลดี กว่าที่จะถือเป็นปรัชญา ที่มีไว้คิดไว้นึกไว้เถียงกันอย่างสนุก ๆ แล้วไม่ละกิเลส ได้ หรือดีกว่าที่จะถือเป็นเพียงวัฒนธรรมสำ�หรับ การประพฤติที่ดีงามน่าเลื่อมใส ในด้านสังคม แต่อย่างเดียว ๓๐ อย่างน้อยที่สุด เราทั้งหลายควรถือ พุทธศาสนาในฐานะเป็นศิลปะ (Art) ซึ่งในที่นี้หมายถึงศิลปะแห่งการครองชีวิต คือ เป็นการกระทำ�ที่แยบคาย สุขุม ในการที่จะมีชีวิตอยู่เป็นมนุษย์ให้ น่าดูน่าชมน่าเลื่อมใสน่าบูชา เป็นที่จับ อกจับใจแก่คนทั้งหลาย จนคนอื่นไอใจทำ�ตามเราด้วยความสมัครใจ ไม่ต้องแค่น เข็นกัน : เราจะมี ความงดงามในเบื้องต้น ด้วยศีลบริสุทธิ์ : มีความงดงาม ในท่ามกลาง ด้วยการมีจิตใจสงบเย็น เหมาะสมที่จะทำ�งานในด้านจิต : มีความ งดงามในเบื้องปลาย ด้วยความสมบูรณ์แห่งปัญญา คือรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงว่าอะไร เป็นอะไร จนไม่มีความทุกข์เกิดขึ้นเพราะสิ่งทั้งปวงนั้น ๓๑ เมือ่ ใครมีชวี ติ อยูด่ ว้ ยความงาม 3 ประการ เช่นนีแ้ ล้ว ถือว่าเป็นผูม้ ศี ลิ ปะ แห่งการดำ�รงชีวติ อย่างสูงสุด ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนา ในฐานะเป็น ศิลปะแห่งชีวติ โดยนัยนีเ้ ป็นอันมาก และกล่าวขวัญกันมากกว่าแง่อน่ื ๆ ๓๒ การที่เราเข้าถึงตัวแท้ของ พระพุทธศาสนา จนถึงกับนำ�มาใช้เป็นแบบ แห่งการ ครองชีวิตได้นั้น มันทำ�ให้เกิด ความบันเทิงรื่นเริงตามทางของธรรมะ ไม่เหงาหงอยไม่เบื่อหน่าย หรือหวาดกลัวดังที่เกรงกันอยู่ว่า ถ้าละกิเลสกันเสีย แล้วชีวิตนี้จะแห้งแล้ง ไม่มีรสชาติอะไรเลย หรือถ้าปราศจากตัณหาต่าง ๆ โดย สิ้นเชิงแล้วคนเราจะทำ�อะไรไม่ได้ หรือไม่คิดทำ�อะไรอย่างนี้เป็นต้น แต่โดยที่แท้
[ 45 ] แล้ว ผู้ดำ�รงชีวิตอยู่อย่างถูกต้อง ตามศิลปะแห่งการครองชีวิตของพระพุทธเจ้า นั้น คือผู้มีชัยชนะอยู่เหนือสิ่งทั้งปวงที่เข้ามาแวดล้อมตน ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ บุคคลสิ่งของหรืออะไรก็ตาม จะเข้ามาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และทางใจก็ตาม ย่อมจะเข้ามาในฐานะผู้แพ้ ไม่อาจจะทำ�ให้เกิดความมืดมัว สกปรก เร่าร้อน ให้ แก่ผู้นั้นได้ อากัปกิริยาที่เป็นฝ่ายชนะ อารมณ์ทั้งปวงนี้ ย่อมเป็นที่บันเทิงเริงรื่น อย่างแท้จริง : และนี่คือข้อที่ควรถือเป็นศิลปะในพุทธศาสนา ๓๓ ธรรมะในพระพุทธศาสนา จะให้ความเพลิดเพลินแก่จิตใจ ที่ต้องการ ธรรมะ นับได้ว่าเป็นอาหารจำ�เป็นอย่างหนึ่ง เหมือนกันคนที่ตกอยู่ใต้อำ�นาจของ กิเลส ยังต้องการอาหารทางตา หู จมูก ลิ้น กาย แสวงหากันไปตาม วิสัยปุถุชน นั้นก็ถูกแล้ว แต่ยังมีอีกสิ่งหนึ่งซึ่งอยู่ลึก และไม่ต้องการอาหารอย่างนั้น สิ่งนี้คือ วิญญาณ ซึ่งเป็นอิสระหรือบริสุทธิ์ ต้องการความบันเทิงเริงรื่น คืออาหารทาง ธรรมะ นับตั้งแต่ความยินดีปรีดา ที่รู้สึกว่าตนได้ทำ�อะไรอย่างถูกต้อง เป็นที่พอใจ ของผู้รู้ทั้งหลาย, มีความสงบระงับในใจชนิดที่ กิเลสมารบกวนไม่ได้ มีความเห็น แจ่มแจ้งรู้เท่าทัน สิ่งทั้งปวงว่าอะไรเป็นอะไร ไม่ทะเยอทะยานในสิ่งใด, มีอาการ เหมือนกับนั่งลงได้ ไม่ต้องวิ่งไปวิ่งมาเหมือนคนทั้งหลาย ชนิดที่ท่านให้คำ�เปรียบ ไว้ว่า “กลางคืนอัดควัน กลางวันเป็นไฟ” ๓๔ “กลางคืนอัดควัน” นั่น หมายถึงการนอนไม่หลับ กระสับกระส่ายมือ ก่ายหน้าผาก คิดจะแสวงหาอย่างนั้นอย่างนี้ คิดจะกระทำ�เพื่อให้ได้เงิน ได้ลาภ หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ตนปรารถนา อันเป็นควันกลุ้มอยู่ในใจ เพราะมันยังมืดค่ำ�ลุกไป ไหนไม่สะดวก ต้องทนนอนอัดควันอยู่ ๓๕ ครั้นถึงเวลารุ่งขึ้น ก็ออกวิ่งว่อนไปตามความต้องการของ “ควัน” ที่ อัดไว้เมื่อคืน นี่เรียกว่า “กลางวันเป็นไฟ” เป็นอาการของจิตใจที่ไม่ได้รับความ สงบ ไม่ได้รับอาหารทางธรรมเป็นความหิวกระหาย ไปตามอำ�นาจของ กิเลสและ ตัณหา : “กลางคืนอัดควัน” ร้อนกลุ้มอยู่แล้วตลอดคืน ; “กลางวันยังเป็นไฟ” คือ ทั้งร้อนทั้งไหม้อะไรไปในตัวเสร็จ ตลอดทั้งวันแล้วจะหา ความสงบเยือกเย็น อย่างไรได้ ๓๖ ถ้าคนเราต้อง “กลางคืนอัดควันกลางวันเป็นไฟ” ไปจนตลอดชีวิต ถึง ตายแล้ว จะเป็นอย่างไรบ้าง ขอให้ลองคิดดู เขาเกิดมาทนทุกข์ทรมานจนตลอด ชีวิต คือนับตั้งแต่เกิดจนกระทั่งเน่าเข้าโลง ไปทีเดียว โดยไม่มีสติปัญญาที่จะ
[ 46 ] ระงับดับไฟ ดับควันนั้นเสียเลย บุคคลชนิดนี้จะต้องอาศัยสติปัญญาของ บุคคล ประเภทพระพุทธเจ้า สำ�หรับช่วยแก้ไขให้เบาบางลงตามส่วน เมื่อเขาได้เข้าใจสิ่ง ทั้งหลายทั้งปวงถูกต้อง ตามความเป็นจริงมากขึ้นเท่าไร ควันหรือไฟก็จะลดน้อย ลงเท่านั้น ๓๗ ทั้งหมดนี้เป็นการชี้ให้เห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าพุทธศาสนานั้น มีลักษณะ หลายเหลี่ยมหลายมุม เหมือนกับภูเขาลูกเดียว มองจากทิศต่าง ๆ กัน ก็เห็น รูปต่าง ๆ กัน ได้ประโยชน์ต่าง ๆ กัน แล้วแต่ใครจะมองอย่างไร แม้พระพุทธ ศาสนา จะมีมูลมาจากความกลัว ก็ไม่ใช่ความกลัวที่โง่เขลา ของคนป่15าเถื่อน จนถึงกับนั่งไหว้รูปเคารพ หรือไหว้สิ่งที่มีปรากฏการณ์แปลกๆ : แต่เป็นความ กลัวชนิดที่สูงด้วยสติปัญญา คือกลัวว่าจะไม่ได้รอดพ้น ไปจากการบีบคั้นของ ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือความทุกข์ทั้งหลาย ที่เรามองเห็นๆ กันอยู่ ๓๘ พุทธศาสนาตัวแท้ ไม่ใช่หนังสือ ไม่ใช่คัมภีร์ ไม่ใช่เสียงบอกเล่าตามพ ระไตรปิฎก หรือตัวพิธีรีตองต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่ตัวแท้ของพระพุทธศาสนา ตัวแท้ ต้องเป็น ตัวการปฏิบัติด้วยกายวาจาใจ ชนิดที่จะทำ�ลายกิเลส ให้ร่อยหรอหรือ หมดสิ้นไปในที่สุด ; ไม่สิ่งภายนอก เช่น ผีสางเทวดา แต่ต้องเนื่องด้วยกาย วาจาใจโดยตรง คือจะต้องบากบั่นกำ�จัด กิเลสให้หมดสิ้นไป จนเกิดความรู้แจ่ม แจ้ง สามารถทำ�อะไรให้ถูกต้อง ได้ด้วยตนเอง ไม่มีความทุกข์เกิดขึ้น ตั้งแต่ต้น จนอวสาน นี่แหละคือตัวแท้ของพระพุทธศาสนา ในส่วนที่เราจะต้องเข้าถึงให้จง ได้ อย่าได้ไปหลงยึดเอาเนื้องอกที่หุ้มห่อ พระพุทธศาสนา มากถือว่าเป็น ตัวพระ พุทธศาสนากันเลย ๓๙ ศึกษาเพ่ิมเติม ได้ที่ เวปไซต์ http://www.buddhadasa.org และ http://www.dharma-gateway.com
Buddhismus verstehen und leben – ein Handbuch für die Menschheit“ (Teil 1)
Buddhismus genau betrachtet von Buddhadāsa Bhikkhu Englischer Titel: „Handbook for Mankind“ Ursprüngliche Übersetzung ins Englische und Vorwort: Rod Bucknell. Deutsche Übersetzung: Viriya NUR ZUR FREIEN VERTEILUNG beim 22.Jubiläum des
Thailandischen Buddhisten Verein Berlin e.V.
Juni 2017
[ 48 ] Vorwort 1956 hielt der ehrwürdige Buddhadāsa Bhikkhu vor einer Gruppe zukünftiger Richter eine Reihe von Vorträgen, die später, zusammengefaßt und geordnet, zum „Handbuch für die Menschheit“ wurden. 1 Seither hat dieses kleine Buch erstaunlichen Anklang gefunden und erfreut sich mehr als fünf Jahrzehnte, nachdem die Vorträge gehalten wurden, immer noch großer Beliebtheit in Thailand ebenso wie im europäischen Sprachraum. Der Grund dafür ist offensichtlich: Ajahn Buddhadāsa eröffnet frische Einsichten in die zeitlose Wahrheit des Buddha-Dhamma auf die sehr direkte und einfache Weise, die alle seine Lehren aus zeichnet. Die Klarheit seiner Einsicht macht das Dhamma für uns lebendig, so dass jede neue Generation von Lesern ihren Nutzen daraus ziehen kann. Als Einführung in das Buddha-Dhamma” (die Wahrheit, zu der Buddha erwachte und die er lehrte) ist das Buch von unschätzbarem Wert, da es die grundlegendsten und wichtigsten Lehren des Buddhismus erklärt. Besonders für jene, die sich der Lehre Buddhas nicht als theoretischem Studium zuwenden, sondern durch ihre praktische Anwendung ihr Leben verstehen und veredeln wollen, ist das „Handbuch“ von größtem Nutzen. Der UNESCO Kalender der Jahrestage bedeutender Persönlichkeiten und historischer Ereignisse gibt den 27. Mai als den hundertsten Geburtstag von Buddhadāsa Bhikkhu (Diener des Buddha) an. Umso mehr freut es mich, auf vielfachen Wunsch eine Neuübersetzung von „Handbook for Mankind“ in diesem Jahr herausbringen zu können. Ich habe mir erlaubt, den etwas unhandlichen Originaltitel in „Buddhismus verstehen und leben“ umzuwandeln, auch um diese Neuübersetzung von anderen im Umlauf befindlichen abzugrenzen. Viriya.
1
[ 49 ]
Buddhismus genau betrachtet Wenn wir irgendeines der gängigen Bücher aufschlagen, die sich mit der Entstehung der Religionen in der Welt befassen, finden wir eine Gemeinsamkeit: Alle Autoren stimmen in dem Punkt überein, dass Religion aus der Furcht entstanden ist. Der primitive, im Wald lebende Mensch fürchtete sich vor Blitz und Donner, Dunkelheit und Stürmen und vielen ande ren Dingen, die er nicht verstehen oder kontrollieren konnte. Seine Methode, um den Gefahren, die er in diesen Phänomenen sah, zu entgehen, war es, ihnen entweder mit Demut und Unterwerfung oder mit Ehrfurcht und Anbetung zu begegnen; je nachdem, welche Verhaltensweise ihm am geeignetsten erschien. Mit fortschreitender Entwicklung des Wissens und Verständnisses der Menschen wandelte sich diese Furcht vor den Kräften der Natur zu einer Furcht vor Phänomenen, die schwerer begreifbar waren. Religionen, die auf der Anbetung von Furcht erregenden Dingen wie Naturgewalten, Geistern und Himmelswesen basierten, wurden geringschätzig als unvernünftig und lächerlich betrachtet. Schließlich wurde die menschliche Angst noch weiter verfeinert, bis sie zur Angst vor dem Leiden selbst wurde. Der Mensch begann sich vor dem Leid zu fürchten, dem man nicht mit materiellen Opfern und rituellen Handlungen beikommen kann. Er begann sich vor dem Leid zu fürchten, das dem Geborenwerden, dem Altwerden, dem körperlichen Schmerz und dem Tod innewohnt. Er empfand Furcht vor dem Leid der Enttäuschung und Hoffnungslosigkeit, das durch Begierde, Ärger und Dummheit entsteht und das weder durch große Macht noch durch großen Reich-
[ 50 ] tum gelindert werden kann. Der Buddhismus, als eine auf Einsicht beruhende höhere Religionsform, hat, wie auch alle anderen Religionen, die aus einer intelligenten Betrachtung unseres Lebens entstanden sind, seinen Ursprung in dieser Art Furcht. In Indien, einem Land mit viele n Denkern und Forschern im philosophisch-religiösen Bereich, gaben intelligente Menschen schon vor langer Zeit die Verehrung von übernatürlichen Wesen auf. Sie begannen stattdessen nach Wegen zur Überwindung von Geburt, Altern, Schmerz und Tod zu suchen, nach Wegen zur Beseitigung von Gier, Hass und Verblendung. Aufgrund dieser Suche entstand eine „höhere“, auf Einsicht gegründete Religion, eine Methode, wie man das Leid, das der Mensch fürchtet, vollkommen und endgültig überwinden kann. Der Buddha entdeckte diese Methode zur Überwindung von Geburt, Altern, Schmerz und Tod, zur Vernichtung der Herzenstrübungen2, und wir nennen sie heute „Buddhismus“. „Buddhismus“ ist „die Lehre des Erwachten“. Ein Buddha ist ein zur Erkenntnis der wahren Natur aller Dinge gelangtes Individuum, das in der Lage ist, sich allen Dingen gegenüber angemessen zu verhalten. Buddhismus ist eine Religion, die auf Intelligenz, wissenschaftlicher Vorgehensweise und Erkenntnis aufbaut und deren Ziel die Zerstörung des Leidens und seines Ursprungs ist. Jede Verehrung von heiligen Objekten durch rituelle Handlungen, Darbietung von Gaben oder Beten ist nicht Buddhismus! Der Buddha lehnte all dies als töricht, absurd und unvernünftig ab. Er lehnte
Kilesa : Herzenstrübungen, Beschmutzungen, Unreinheiten des Geistes: alle Dinge, die den Geist abstumpfen, verdunkeln, trüben, beflecken und traurig machen. Die drei Hauptkategorien der kilesa sind lobha (Gier), dosa (Hass) und moha (Verblendung). 2
[ 51 ] auch die Verehrung von Himmelswesen und Gottheiten ab, welche dem Glauben verschiedener Sekten zufolge die Sterne am Himmel bewohnten und die Schöpfer aller Dinge waren. Dem-entsprechend finden wir Aussprüche des Buddha wie diese: „Unabhängig von der Bewegung der Gestirne sind Wissen, Geschick und Fähigkeiten die günstigen Vorzeichen, die zu Erfolg und Vorteil führen. Mit dem Nutzen, der sich aus ihnen ziehen lässt, wird man den Toren, die über ihren astrologischen Berechnungen sitzen, immer voraus sein.“ Und: „Wenn die Wasser der „heiligen“ Flüsse (wie dem Ganges) wirklich Sünden und Leiden wegwaschen könnten, dann wären die Schildkröten, Krebse, Fische und Muscheln, die in diesen Flüssen leben, wohl schon längst von ihren Sünden und Leiden befreit.“ Und: „Könnte man das Leiden wirklich durch Opfergaben, Verehrung und Beten beseitigen, wäre niemand mehr in der Welt dem Leiden unterworfen, denn jeder kann opfern und beten. Da aber die Menschen immer noch dem Leiden unter-worfen sind, sogar während sie ihre Verbeugungen, Anbetungen und Rituale ausführen, ist das offensichtlich nicht der Weg, der zur Befreiung führt.“ Um Befreiung zu erreichen, müssen wir erst einmal die Dinge genau betrachten, um ihre wahre Natur zu erkennen und zu verstehen. Dann müssen wir uns auf eine Weise verhalten, die der wahren Natur der Dinge angemessen ist. Das ist die buddhistische Lehre, das müssen wir wissen und im Gedächtnis behalten. Buddhismus hat nichts mit der Verbeugung und Verehrung von Furcht einflößenden Dingen zu tun. Riten und Zeremonien wie das Spritzen von Weihwasser oder andere Äußerlichkeiten wie Opfergaben für Geister und himmlische Wesen haben nichts mit ihm zu tun. Im Gegenteil, Buddhismus gründet sich auf Vernunft und
[ 52 ] Einsicht. Nicht der Glaube an Mutmaßungen oder Annahmen wird verlangt, sondern dass wir gemäß unserer eigenen Einsicht handeln und uns nicht mit den Worten anderer zufrieden geben. Wenn uns jemand etwas erzählt, dürfen wir ihm nicht einfach blindlings glauben. Wir sollten uns das, was er zu sagen hat, anhören und durchdenken. Falls es uns vernünftig erscheint, sollten wir es vorläufig als Arbeitshypothese annehmen und uns dann daranmachen, ihren Wahrheitsgehalt für uns selbst herauszufinden. Diese Vorgehensweise ist eines der Hauptmerkmale des Buddhismus, das ihn wesentlich von anderen Weltreligionen unterscheidet. Eine Religion ist eine vielseitige Angelegenheit. Von einem bestimmten Blickwinkel aus betrachtet hat sie eine Erscheinungsform, von einem anderen Standpunkt aus gesehen eine andere. Viele Menschen betrachten Religion von der falschen Warte aus, und der Buddhismus ist da keine Ausnahme. Verschiedene Individuen mit unterschiedlichen geistigen Einstellungen gelangen notgedrungen zu unterschiedlichen Ansichten darüber. Weil jeder von uns natürlich seine eigene Meinung für richtig hält, wird die „Wahrheit“ für jeden von uns dem eigenen Verständnis und den besonderen Ansichten entsprechen. Folglich ist die „Wahrheit“ für jeden etwas an ders. Jeder dringt unterschiedlich tief in eine Problematik ein, auf unterschiedliche Weise, mit einem unterschiedlichem Maß an Intelligenz. Alles, was über die eigene Intelligenz, das eigene Wissen und Verständnis hinausgeht, erkennt man nicht als wahr an. Es widerspricht der eigenen Vorstellung, und selbst wenn man nach außen hin mit anderen konform gehen mag, weiß man doch im Innern, dass das nicht die Wahrheit ist, wie man sie selbst sieht. Wie ein Mensch Wahrheit begreift, mag sich täglich ändern und entwickeln, entsprechend der Zunahme von Intelligenz, Wissen und Verständnis, bis er schließlich bei der absoluten Wahrheit angelangt ist. Zudem hat jeder andere Überprüfungsmethoden, die er nutzt, bevor er etwas glaubt. Es versteht sich daher von selbst, dass es un-
[ 53 ] terschiedlichste Ansichten über den Buddhismus gibt. Wie gesagt, der Buddhismus ist eine praktische Methode, um sich selbst vom Leiden zu befreien durch das Erkennen der wahren Natur der Dinge, so wie das auch der Buddha getan hat. Nun ist natürlich jede religiöse Überlieferung anfällig dafür, Material zu enthalten, das bei späteren Gelegenheiten eingefügt wurde, und der Tipitaka3 ist da keine Ausnahme. Es wurden Stellen eingefügt, die den Vorstellungen der jeweiligen Zeit entsprachen, entweder um das Vertrauen der Menschen zu stärken oder aus übertriebenem religiösen Eifer. Bedauerlicherweise werden nun auch Rituale und Gebräuche, die sich später entwickelten und sich mit der Religion vermischt haben, als eigentlicher Buddhismus angesehen und akzeptiert. Das Darbringen von Süßigkeiten und Früchten als Opfergabe für die „Seele“ des Buddha etwa, das mit der gleichen Selbstverständlichkeit wie die Nahrungsspende an die Mönche durchgeführt wird, stimmt einfach nicht mit den buddhistischen Prinzipien überein. Und doch wird das von manchen Gruppierungen als wahrhaft buddhistische Praxis angesehen, als solche gelehrt und streng befolgt. Rituale und Zeremonien dieser Art sind inzwischen so zahlreich geworden, dass sie den wirklichen Buddhismus und seine ursprüngliche Zielsetzung völlig verdecken.Nehmen wir zum Beispiel die Zeremonie der Mönchsweihe. Es wurde Brauch, den neu ordinierten Mönch (bhikkhu) zu beschenken. Gäste werden eingeladen, um Essen mitzubringen und um den Zeremonien beizuwohnen, die sowohl im Tempel als auch zu Hause stattfinden, und das Ganze endet in einer Feier mit viel Lärm und Trunkenheit. Der neue Mönch verlässt den Orden nach ein paar Tagen wieder und seine Aversion
Tipitaka: wörtlich übersetzt „Dreikorb“. Die überlieferten buddhistischen Schriften unterteilt in Suttas (Lehrreden), Vinaya (Regelwerk für Mönche und Nonnen) und Abhidhamma (Theorie der Geisteszustände).
3
[ 54 ] gegen Tempel mag dann vielleicht noch größer sein, als sie vorher war. Wir dürfen nicht vergessen, dass es das zur Zeit des Buddha nicht gab. Das sind spätere Entwicklungen. Bhikkhu zu werden bedeutete zu Buddhas Zeiten einfach, dass jemand, der das Einverständnis seiner Eltern hatte, sein Zuhause und seine Familie verließ. Er hatte mit dem Leben eines Haushälters abgeschlossen, um sich dem Buddha und seinem Mönchsorden anzuschließen. Bei passender Gelegenheit würde er sich in den Orden aufnehmen lassen und vielleicht seine Familie für den Rest seines Lebens nie wiedersehen. Dass bhikkhus ihre Eltern zu bestimmten Anlässen besuchten, war eher die Ausnahme. Bhikkhus wurden auch nicht in An wesenheit ihrer Eltern ordiniert, noch wurde eine große Feier veranstaltet, nur um dann den Sangha nach wenigen Tagen kaum klüger als zuvor wieder zu verlassen, wie es heutzutage üblich ist. Wir aber ziehen das Ganze groß auf und geben unser ganzes Geld oder sogar noch das von anderen für die Geschenke des frisch ordinierten bhikkhus, die Zeremonien und Feiern aus. Und wir sind tatsächlich töricht genug, um das Buddhismus zu nennen! Dieser „Neobuddhismus“ ist so weit verbreitet, dass er fast schon flächendeckend ist. Der Dhamma, die wahre Lehre, die einst im Vordergrund stand, ist so von Zeremoniell überlagert, dass das eigentliche Ziel verdeckt, verändert und verfälscht wurde. Die Mönchsordination verkommt zu einer Pflichtübung für junge Männer, die unternommen wird, um das Gesicht zu wahren, wenn die Leute auf einen zeigen, weil man noch nie ordiniert war, oder sie dient als Voraussetzung, um eine Frau zum Heiraten zu finden4, oder man verspricht sich sonst irgendeinen weltlichen Vorteil davon. In Thailand gilt man erst als reif genug zum Heiraten, wenn man vorher eine Zeit lang Mönch war.
4
[ 55 ] Mancherorts wird die Ordination ganz einfach als gute Möglichkeit, um Geld zu verdienen, angesehen – auch eine Art reich zu werden. Sogar das nennen sie Buddhismus! Und jeder, der daran Kritik übt, wird der Unkenntnis des Buddhismus oder der Gegnerschaft bezichtigt. Ein anderes Beispiel ist das Überreichen des kathina-Tuches5. Die ursprüngliche Absicht des Buddha war es, dass alle Bhikkhus gleichzeitig den Stoff für ihre Roben bekommen sollten, sodass sie sie gemeinschaftlich, ohne großen Zeitaufwand, zusammennähen konnten. Gab es nur eine Robe, so wurde diese einem bestimmten Mönch, den die Gruppe für würdig oder bedürftig erachtete, zugewiesen und im Namen des gesamten Ordens überreicht. Buddha wollte vermeiden, dass sich ein bhikkhu eine zu hohe Meinung von sich selbst bildete. An diesem Tag musste sich jeder, gleich wie lange er schon im Orden war, in die Gruppe einfügen und mithelfen beim Zuschneiden und Nähen, beim Auskochen der Baumrinde für das Färbemittel und bei allem, was sonst noch dazu nötig war, um die Robe am gleichen Tag fertig zu stellen. Bei dieser gemeinschaftlichen Zusammenarbeit waren die Laien nicht beteiligt. Heute ist dieser Tag zu einem Picknick verkommen mit Zeremonien, Spiel und Spaß, lautem Gelächter und Geschäftemacherei, gänzlich frei von den ursprünglich angestrebten wünschenswerten Resultaten. Dieser „Neobuddhismus“ ist wie ein Tumor, der sich auf dem eigentlichen Buddhismus entwickelt hat und darauf gedeiht. Dieser Tumor existiert in Hunderten von verschiedenen Formen, zu zahlreich, um sie alle zu benennen. Seit dem Tag, an dem Buddha starb, ist der Tumor beständig gewachsen und hat sich in alle Richtungen ausgebreitet, sodass er nun bereits eine ziemliche Größe erreicht hat. Es ist eine gefährliche und bösartige Wucherung, die nach und nach das gute Material, den eigentlichen Kern des Buddhismus, fast 5
Eine Zeremonie am Ende der Regenzeit.
[ 56 ] völlig verdeckt hat. Eine Folge davon ist das Entstehen von vielen verschiedenen Sekten unterschiedlicher Größe und Bedeutung als Seitentriebe der ursprünglichen Religion. Es gibt sogar Sekten, die sich in Sinnlichkeit verstricken. Es ist unumgänglich, klar unterscheiden zu können, um festzustellen, was der echte und ursprüngliche Buddhismus ist. Wir sollten nicht töricht an der äußeren Hülle festhalten und an den verschiedenen Ritualen und Zeremonien haften und so das eigentliche Ziel aus den Augen verlieren. Die wirkliche Übung des Buddhismus beruht auf der Veredelung unserer körperlichen und sprachlichen Verhaltensweisen, gefolgt von der Reinigung des Geistes von allem, was ihn trübt, was wiederum zu Einsicht und richtigem Verständnis führt. Glaubt nicht einfach, dass dieses oder jenes Buddhismus ist, nur weil es die Leute sagen. Der „Tumor“ sollte nicht mit dem eigentlichen Buddhismus verwechselt werden. Es ist auch nicht gerechtfertigt, wenn Vertreter anderer Religionen diese schändlichen Auswüchse als Buddhismus bezeichnen. Diejenigen unter uns, die den Buddhismus fördern wollen, ob sie nun die gesamte Menschheit oder nur das eigene Wohlergehen im Blickfeld haben, sollten wissen, wie man zur wahren Essenz des Buddhismus vordringt, statt nach wertlosen Auswüchsen greifen. Selbst der wahre Buddhismus ist so vielschichtig, dass diese Tatsache zu einer falschen Vorstellung seiner wirklichen Bedeutung führe kann. Vom Standpunkt eines Moralphilosophen aus gesehen ist der Buddhismus beispielweise ein Moralsystem. Es wird von Tugend und Laster, Gut und Böse, Aufrichtigkeit, Dankbarkeit, Harmonie, Öffnung des Herzens und vielem mehr gesprochen. Der Tipitaka ist voll mit moralischen Lehren. Viele Neulinge fühlen sich von den moralischen Aspekten des Buddhismus angezogen und finden darüber Zugang zu ihm. Ein etwas tiefer gehender Aspekt ist es, den Buddhismus als die Beschreibung einer Wirklichkeit oder Wahrheit zu sehen, die tief unter
[ 57 ] der Oberfläche der Dinge versteckt und für den gewöhnlichen Menschen nicht wahrnehmbar ist. Diese Wahrheit zu erkennen heißt, zumindest intellektuell die Vergänglichkeit, die Unzulänglichkeit, das Nichtvorhandensein eines Selbst und die Leerheit aller Dinge zu erkennen. Es bedeutet, die Natur des Leidens, seinen Ursprung, sein Erlöschen sowie den Weg zur vollständigen Beseitigung des Leidens zu verstehen. Dies als absolute, sich nie änderndeWahrheit, zu deren Erkenntnis jeder durchdringen sollte, anzusehen, ist Buddhismus als Beschreibung der Wirklichkeit. Buddhismus als psychologische Lehre finden wir im dritten Teil des Tipitaka, in welchem die Natur des menschlichen Geistes bemerkenswert detailliert beschrieben wird. Auch heutzutage ist die buddhistische Psychologie noch ein Gebiet von großem Interesse und erstaunlichen Erkenntnissen für Studenten des menschlichen Geistes. Sie ist genauer und tiefschürfender als die westliche Psychologie und übertrifft ihren gegenwärtige Wissensstand bei weitem. Man kann Buddhismus auch als Philosophie oder als Wissenschaft betrachten. Rein philosophisches Wissen lässt sich zwar durch vernünftige und logische Überlegungen klar „beweisen“, aber es ist experimentell nicht nachprüfbar. Darin unterscheidet es sich von der Wissenschaft, deren Wissen aus dem deutlichen „Sehen mit eigenen Augen“, aus physikalischen Experimenten und Beweisen entsteht. Tiefgründige Erkenntnis, wie das Wissen um die „Leerheit“, ist nur Philosophie für jemanden, der noch nicht zur Wahrheit vorgedrungen ist, während es Wissenschaft für den vollständig Erwachten (Arahat) ist, der dies bereits getan und die Leerheit intuitiv und mit dem inneren Auge klar erkannt hat. Viele Aspekte des Buddhismus, darunter besonders die Vier Edlen 6
Siehe Kapitel 2
[ 58 ] Wahrheiten6, sind wissenschaftlich, insofern sie durch „Selbstbetrachtung“ experimentell klar beweisbar sind. Jeder, der an dieser Selbsterforschung interessiert ist und mit etwas Bewusstheit ausgestattet ist, wird bei seinen Nachforschungen auf das Prinzip von Ursache und Wirkung stoßen, wie bei jeder anderen wissenschaftlichen Untersuchung. Buddhismus ist also weder etwas Obskures oder Unbestimmtes noch reine spekulative Philosophie. Einige sehen im Buddhismus nur eine Kulturform, bemerkenswert vom kunsthistorischen oder soziologischen Standpunkt aus. Jeder, der sich für Kultur interessiert, wird viele Aspekte der buddhistischen Übung finden, die allen Kulturen gemeinsam sind, und auch viele, die charakteristisch buddhistisch sind und wesentlich höher entwickelt als alles, was sich in anderen Kulturen findet. Von allen diesen Aspekten ist Buddhismus als Religion derjenige, an dem ein echter Buddhist am meisten interessiert sein sollte. Buddhismus als religiöses System praktischer Übung auf der Grundlage von Moral, Sammlung und Einsicht, um befreiende Erkenntnis zu erlangen. Wissen, das es möglich macht, jede Form des Ergreifens und Festhaltens aufzugeben, Verblendung und Vernarrtheit loszuwerden und völlig unabhängig von den Dingen zu werden. Eine Vorgehensweise, die zur völligen Freiheit von Leiden führt; eine direkte Methode zum Erkennen der wahren Natur der Dinge. Zumindest sollte jeder Buddhismus als Kunstform betrachten als Lebenskunst. Mit anderen Worten: als Geschick und Kompetenz im Menschsein. Es ist die Kunst, ein beispielhaftes und lobenswertes Leben zu führen, das andere so beeindruckt, dass in ihnen ganz von selbst der Wunsch entsteht, es nachahmen zu wollen. Dazu müssen wir unsere „Ausstrahlung“ auf drei Ebenen kultivieren: als Erstes müssen wir moralische Reinheit anstreben; als Zweites üben wir den Geist darin, ruhig und gesammelt zu sein, bereit seine Arbeit
[ 59 ] zu tun; und als Drittes entwickeln wir eine solche Fülle von Weisheit und klarer Einsicht in die wahre Natur aller Dinge, dass sie nicht länger zur Leidensursache werden können. Hat jemand diese dreifache Ausstrahlung, kann man sagen, dass er die Kunst des Lebens gemeistert hat. Sind wir so weit zum Kern des Buddhismus vorgedrungen, dass er uns als Leitstern in unserem Leben dient, führt das zu spiritueller Heiterkeit und Freude, die alle Formen der Niedergeschlagenheit und der Enttäuschung vertreibt. Und auch unsere Ängste werden zerstreut, wie etwa die Angst, dass das vollständige Aufgeben aller Herzenstrübungen das Leben trocken und farblos werden ließe oder dass die völlige Freiheit von Begehren jegliches Denken und Handeln unmöglich machen würde. Das Gegenteil ist der Fall. Der Mensch, der sein Leben entsprechend der buddhistischen Lebenskunst ausrichtet, wird zum Sieger über alle Dinge. Gleich ob es sich dabei um Tiere, Menschen, Besitztümer oder sonst etwas handelt, und gleich ob sie über Augen, Ohren, Nase, Zunge, Körper oder Geist in sein Bewusstsein dringen, sie haben bereits verloren, sie sind außerstande es zu trüben, zu verschmutzen oder zu stören. Siegreich über allen Dingen zu stehen, ist echte Glückseligkeit. Der Buddha-Dhamma erfüllt den Geist dessen, der auf den Geschmack gekommen ist, mit unübertrefflicher Freude. Diese Freude am Dhamma kann man auch als eine unentbehrliche Art der Nahrung betrachten. Natürlich wird ein Mensch, der noch von den Herzenstrübungen kontrolliert wird, nach Nahrung für die Sinne verlangen und danach suchen, so wie es der Natur seiner Neigungen entspricht. Aber es existiert noch ein anderer, tiefer in ihm liegender Teil, der nicht diese Art der Nahrung sucht. Das ist das freie oder reine Element seines Geistes, das sich die Freude und das Entzücken der spirituellen Nahrung wünscht, angefangen mit der Freude, die aus moralischer Reinheit entsteht.
[ 60 ] Der Dhamma ist die Quelle der Zufriedenheit, aus dem sich die vollkommen Erwachten speisen, deren Geist durch keine Verunreinigung in seiner abgeklärten Ruhe gestört werden kann. Sie sind im Besitz der klaren Einsicht in die wahre Natur aller Dinge und haben deshalb in Bezug auf sie keinerlei Ambitionen mehr. Sie sind sozusagen in der Lage, sich ruhig hinzusetzen, ohne dauernd umherrennen zu müssen wie die Leute, von denen Buddhasagte: „Rauch in der Nacht und Feuer am Tag“. „Rauch in der Nacht“ bezieht sich auf Menschen, die aufgrund innerer Unruhe unter Schlaflosigkeit leiden. Sie liegen nachts wach und überlegen, wie dies oder das zu erledigen ist, planen, wie sie zu Geld kommen und möglichst schnell reich werden, um die vielen Dinge kaufen zu können, die sie sich wünschen. Ihr Geist ist voller „Rauch“ und alles, was sie tun können, ist bis zum Morgen dazuliegen, bis sie endlich aufstehen können, um sich die Wünsche zu erfüllen, von denen ihnen die ganze Nacht der Kopf geraucht hat. Die fieberhaften Aktivitäten der Sklaven ihrer eigenen Wünsche nennt der Buddha das „Feuer am Tage“. Das sind die Symptome eines Geistes, der nicht zur Ruhe gekommen ist und dem spirituelle Nahrung vorenthalten wurde. Es liegt am krankhaften Hunger, der durch die Herzenstrübung Begehren hervorgerufen wird. Die ganze Nacht unterdrückt das Opfer den Rauch und die Hitze, die am Morgen zu Feuer entflammen und den ganzen Tag heiß in ihm brennen. Wie kann jemand, der sein Leben lang wie „Rauch in der Nacht“ und „Feuer am Tage“ lebt, jemals geistigen Frieden und Kühle finden? Stellt euch nur mal seinen Zustand vor. Sein ganzes Leben, von der Geburt bis in den Sarg, erträgt er Leid und Qual, nur weil ihm die Einsicht fehlt, die den Rauch und das Feuer vollständig löschen kann. Um solche Beschwerden zu behandeln, müssen wir das Wissen anwenden, das uns Buddha zur Verfügung gestellt hat. Dann verringern sich Rauch und Feuer allmählich im Verhältnis
[ 61 ] zum wachsenden Verständnis der wahren Natur der Dinge. Wie wir festgestellt haben, hat der Buddhismus verschiedene Seiten, so wie ein Berg, von verschiedenen Seiten gesehen, unterschiedlich aussieht. Der Nutzen, den man aus ihm ziehen kann, ist von der Betrachtungsweise abhängig. Auch der Buddhismus hat seinen Ursprung in der Furcht; nicht in der törichten Furcht des unwissenden Menschen, der vor Götzenbildern oder unverständlichen Phänomenen niederkniet, sondern in einer höheren Art von Furcht, der Furcht, vielleicht niemals von der Unterdrückung durch Geburt, Altern, Schmerz, Tod und den anderen vielseitigen Formen des Leides, die wir erleben, frei zu sein. Der wirkliche Buddhismus besteht weder aus alten Schriften noch aus neueren Handbüchern, noch besteht er im Wort-für-Wort-Aufsagen des Tipitaka, noch in Ritualen und Zeremonien. Der wirkliche Buddhismus besteht in der Schulung von Körper, Sprache und Geist, welche die Herzenstrübungen teilweise oder vollständig vernichtet. Man muss sich nicht mit Büchern abgeben. Man sollte sich weder auf Äußerlichkeiten wie Rituale und Zeremonien noch auf Geister und Himmelswesen verlassen. Vielmehr soll man sich direkt mit dem befassen, was man denkt, sagt und tut; das heißt, beständig mit seinen Anstrengungen fortzufahren, die Herzenstrübungen zu kontrollieren und auszurotten, damit sich klare Einsicht entwickeln kann. Dann wird man sich auf natürliche Weise angemessen verhalten und von diesem Moment an frei von Leid sein. Wir sollten begreifen, dass das der wahre Buddhismus ist, und dürfen ihn nicht törichterweise mit dem „Tumor“, der ihn teilweise verdeckt, verwechseln. -------------------------------(Quelle: www.dhamma-dana.de)
[ 62 ]
เจ้าภาพผ้าป่าฉลองวัดครบรอบ ๒๒ ปี
การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ต้นที่ ๑ แม่ชเี รณู แก่นลา เกอเค่น และคณะญาติธรรม กลุม่ พรหมวิหาร -คุณวราศิณี ชมิดท์ -คุณสุจนิ ต์ จีนเจือ Sujin Kreheler -คุณพิมพรรณ หอมหวน ต้นที่ ๒ คุณอุทยั ฮอพมัน ต้นที่ ๓ คุณ Wanlapha Kühnet (แม่ภา) ต้นที่ ๔ คุณ Peter Kühnet ต้นที่ ๕ คุณทองเพชร เบคแคร์ ต้นที่ ๖ คุณ Sirilak Strofer (ป้าติว๋ ) ต้นที่ ๗ แม่ชปี ระนอม แฮร์มนั ต้นที่ ๘ คุณอรษา นาดูน ต้นที่ ๙ คุณ Ty Chi am Phon ต้นที่ ๑๐ Chanthavongsa Phongsavath, ThurHuong Nguyen, Cyndy Thuy My Nguyen ต้นที่ ๑๑ คุณสมหมาย ดวงจันดา ต้นที่ ๑๒ คุณพรพรรณ อัลเล็น คุณสุชาดา กลืด๊ ต้นที่ ๑๓ คุณศกลวรรณ บุญนุด และครอบครัว ต้นที่ ๑๔ คุณ Suree Kittler สุรยี ์ คิทเลอร์ (ร้านรักษา) ต้นที่ ๑๕ คุณวีรพรรณ คิลเปรง ต้นที่ ๑๖ คุณพ่อชลอ อร่ามศรี และครอบครัว ต้นที่ ๑๗-๑๘ คุณเวียง ไฮน์เค่ (พิม) ต้นที่ ๑๙ คุณสำ�เร็จ เครือแวงมนต์ ต้นที่ ๒๐ ร้าน TIGER ต้นที่ ๒๑ คุณบุญทัน แก้วดก คุณจันทร์ทิพย์ ไบเออร์ ต้นที่ ๒๒ คุณภัทรภร ฟรีเบล [Lucky] ต้นที่ ๒๓ คุณวันทนีพร เพียรสาขา [เปียโน] ต้นที่ ๒๔ คุณรัชนีกรณ์ คงอุทิศ ต้นที่ ๒๕ คุณแม่บรรจงจิต กุลรักษา ต้นที่ ๒๖ คุณแสงเพชร เครือแวงมนต์ และครอบครัว ต้นที่ ๒๗ คุณพรศิริ ลาเบส ต้นที่ ๒๘ คุณพิมพ์นารา สินเจิมสิริ ต้นที่ ๒๙ คุณนงคราญ ซีโมเน ด.ช.ไดมอนด์ บริบูรณ์ พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๓๐ คุณปู ชนิดาพร บารร์มันส์ คุณแม่ภูษา ทรงถ่ิน ต้นที่ ๓๑ คุณนันทิยา บาเบลีโอฟกี้ คุณปรารถนา อุลลิคซ์ (อ้อกับนุ้ย) ต้นที่ ๓๒ คุณจำ�รัส คุณสำ�อาง คุณเจสัน สุดชา ต้นที่ ๓๓ คุณสุจภี รณ์ แฮบส์เทอร์ คุณคริสต์ทอฟ แฮบส์เทอร์ และครอบครัว ต้นที่ ๓๔ คุณพิมพรรณ หอมหวล ต้นที่ ๓๕ คุณจำ�เนียร ลังเกอร์ พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๓๖ คณะศรัทธาวัดชัยสถิตย์ จังหวัดเชียงใหม่ พระครูสถิตชัยพัชร์ (พระใหญ่) ต้นที่ ๓๗ ครอบครัวคุณ
[ 63 ] ต้นที่ ๓๘ คุณแม่มะลิ ศรีดาภา และครอบครัว ต้นที่ ๓๙ คุณธัญญา คุ้มญาติ ต้นที่ ๔๐ คุณ Pok Hannover ต้นที่ ๔๑ คุณบุญมา(โอ๋) คุณวิศุลนเรศ(โล่) รัฐโพธิ์ ต้นที่ ๔๒ คุณนงนาช เชียงชุม เบล + นุช พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๔๓ น้องเทวา กับ น้องพริ้ม ต้นที่ ๔๔ คุณดวงทิพย์ เรื่องบุญฤทธิ์ ต้นที่ ๔๕ พระมหาสรัณยวัฒณ์ พิสุทธำ�รงค์ ต้นที่ ๔๖ คุณอัมพวัน เคอแลร์ พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๔๗ คุณอ่อนจันทร์ พละศรี ต้นที่ ๔๘ คุณสุทิน อาจารย์ทิวาพร ต้นที่ ๔๙ คุณปัทมาภรณ์[เจี๊ยบ] ร้าน KAMARA ต้นที่ ๕๐ สาวบ้านไทย ฮันโนเวอร์ ต้นที่ ๕๑ คุณอรัญญา เลาเออร์ ต้นที่ ๕๒ คุณสุภาณี สเตอร์ [สุ] ต้นที่ ๕๓ คุณเล็ก เสมอ Frank Thaldorf พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๕๔ คุณสุภัทตรา ซีเฟิลไบน์ ต้นที่ ๕๕ คุณสุภาภรณ์ นิตสกี้ คุณปัญญา จรรยาศิริ คุณสุจรรยา จรรยาศิริ ต้นที่ ๕๖ คุณฐิติมา ครันบัคและ ครอบครัว คุณประนอม ท่าพิกุล และครอบครัว ต้นที่ ๕๗ คุณยุพิน ครึเซอร์ พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๕๘ คุณไพจิตร และธนพนธ์ ร้านนวดต้นโพธิ์ ต้นที่ ๕๙ คุณณิชกานต์ เฮ้าเค่อ และครอบครัว ต้นที่ ๖๐ คุณอำ�พร กิลล์มันน์ [ตุ๊ก] ต้นที่ ๖๑ คุณจงจิตร มาเธส ต้นที่ ๖๒ คุณชิดกรณ์-ลุทซ์ ดีตริซ [น้องหน่อย] ต้นที่ ๖๓ คุณพูนศรี มาร์กราฟ ต้นที่ ๖๔ คุณชนกนันท์ คอร์นบุช ร้านนวด บ้านอำ�นาจ ต้นที่ ๖๕ คุณจิตรา ชมิดท์ ต้นที่ ๖๖ คุณศรีอุดร มุ่งโนนบ่อ และ ครอบครัว ต้นที่ ๖๗ คุณแม่ผัน เที่ยงกระโทก ต้นที่ ๖๘ คุณพรรณี เชอร์ฟาร์(กิ่ง) คุณอันดรีอัส ไมสท์ และครอบครัว ต้นที่ ๖๙ แม่ชีนงเยาว์ อินเอี่ยม ต้นที่ ๖๙ (๒) แม่แหม่ม กรรณิการ์ เริมลิ่ง ต้นที่ ๗๐ คุณมนฤดี คุณสว่าง แผนปั้น ต้นที่ ๗๑ คุณแม่สังเวียน ทิมคำ� ต้นที่ ๗๒ คุณอี๊ดบ้านชวนและทีมงานนักร้อง ต้นที่ ๗๓ คุณอัจจิมา อากาดและครอบครัว ต้นที่ ๗๔ คุณแมว Kraus ต้นที่ ๗๕ คุณเพ็ญศรี ซีเฟิร์ทและครอบครัว ต้นที่ ๗๖ คุณโอลี่เวอร์ คุณประกายฟ้า Moses ต้นที่ ๗๗ คุณสุรีวัลย์ กรึนา และครอบครัว ต้นที่ ๗๘ คุณป้านิด สปันดาว ต้นที่ ๗๙ คุณวัชรี ศิริเมธา (Merold) คุณยุพา คลุทท์ ต้นที่ ๘๐ คุณสมฤทธิ์ ติภาวัง + Waren Wesely RUCHIRA HOMMEN WERNER HOMMEN
[ 64 ] ต้นที่ ๘๑ คุณฉอฮวง ไฮท์เจอร์ ต้นที่ ๘๒ คุณชฎารัก พรหมจันทร์ ต้นที่ ๘๓ คุณบังอรรัตน์ ชูกส้ี ต้นที่ ๘๔ นก ทีอ่ สิ ระ (คุณหงส์ อเมริกา) ต้นที่ ๘๕ วัดสังฆวิหาร สตุตการ์ท ต้นที่ ๘๖ วัดธรรมกิตติวงศ์ กรุงปราก ต้นที่ ๘๗ คุณจุฑามาศ ติยะธะเราบินเกอร์ พร้อมครอบครัวและญาติ ต้นที่ ๘๘ คุณสิรินธร เอห์เลิร์ส ต้นที่ ๘๙ คุณสุภา วิไลวรรณและคุณอรทัย สระบัว ต้นที่ ๙๐ พ่อแท่ง แม่เครือวัลย์ สุพิศ ต้นที่ ๙๑ ปุ๋ยแพนด้าแดง ต้นที่ ๙๒ คุณแสงเดือน น้องเดวิด ซอนเน็นแบกร์ และครอบครัว ต้นที่ ๙๓ คุณสำ�เนียง เซ็นเดอร์ และครอบครัว ต้นที่ ๙๔ คุณกานต์พิชชา ขุนจ่าเมือง ต้นที่ ๙๕ คุณบุญเรือน ทองวิเศษ ต้นที่ ๙๖ คุณเจนจิรา เทพณรงค์ ต้นที่ ๙๗ คุณจันสม Demuth กับ Michael Voigt ต้นที่ ๙๘ คุณดวงพร(เปิ้ล) ไลโพลด์ ครอบครัว ต้นที่ ๙๙ คุณรุ่งทิพย์ คำ�คูนคำ� Rungtip Khamkhunkham [แม่มีมี่] ต้นที่ ๑๐๐ คุณวิเดช คุณวรรณา เทศนำ� ต้นที่ ๑๐๑ คุณวันเพ็ญ ส่งเสริม คุณอารี ดอนยาวี คุณอารียา คลึห์ ต้นที่ ๑๐๒ คุณทัศณีย์ ฟิอัน (แดง) ต้นที่ ๑๐๓ คุณเทียมจันทร์ บรันเด็นบวก ต้นที่ ๑๐๔ คุณบุญทัน ภูโอบ ต้นที่ ๑๐๕ คุณแม่สมาน อาจารย์เต็มเดือน ไกรเพชร ต้นที่ ๑๐๖ คุณไพลอง ทีฆะสุข พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๑๐๗ คุณโทนี่ Antonio Masiroianni ต้นที่ ๑๐๘ คุณโยเซฟ ปัทมา ไรเทอร์ ต้นที่ ๑๐๙ คุณแสงเดือน รุ่งไพโรจน์ ต้นที่ ๑๑๐ คุณลินดา ไรเซิร์ท (สว่างโคกกรวด) ต้นที่ ๑๑๑ Sulin Woit (น้าหน่อย) ต้นที่ ๑๑๒ คุณสนิท ดาลมันน์ Torsten Warnke ต้นที่ ๑๑๓ คุณกาญจนา โนนพิง ครอบครัว ต้นที่ ๑๑๔ บานไม่รู้โรย ต้นที่ ๑๑๕ คุณนุจรีย์ วังภูงา ต้นที่ ๑๑๖ ร้านส้มตำ� KurFürstendamm โดย คุณทิพา ปิติบุตร คุณพิชิต วังวิสัย ต้นที่ ๑๑๗ คุณอริสา เวลดุก ต้นที่ ๑๑๘ คุณศรีปราชญ์ เกิร์ทและครอบครัว ต้นที่ ๑๑๙ คุณขนุน เวล์ฟ ต้นที่ ๑๒๐ คณะแม่ครัววัดพุทธวิหาร ต้นที่ ๑๒๑ คุณวรรณี คาฮานท์ ต้นที่ ๑๒๒ คุณวิไลวรรณ ซือโด คุณอรทัย สระบัว ต้นที่ ๑๒๓ คุณเกษม(แอ๋ว) เชินการท์ ต้นที่ ๑๒๔ คุณจุฑารัฐ โวลเลเบ และครอบครัว ต้นที่ ๑๒๕ คุณวสันต์ กัลยาประสิทธิ์ คุณจันทร์บาล กรามัทซกี และพี่เวียง ต้นที่ ๑๒๖ พ่อคม ภิมคอนสาร และครอบครัว
[ 65 ] ต้นที่ ๑๒๗ คุณแพง จันทร์ขจร บีสเท่น พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๑๒๘ คุณนวลนภา(โอ) - คุณวิเชียร ทองมุก ต้นที่ ๑๒๙ คุณธรรศพร พลศักดิ์ช้าย ต้นที่ ๑๓๐ ครอบครัว บิทเทอร์ ต้นที่ ๑๓๑ คณะคนไทยในเบอร์ลิน นำ�บุญโดย คุณรำ�พึง คิมเบรว(บี) ต้นที่ ๑๓๒ คุณหนุ่ย รังสิเวค และครอบครัว ต้นที่ ๑๓๓ คุณทองยุ่น พงษ์อุทา ร้านวันทานวดไทย และครอบครัว ต้นที่ ๑๓๔ กลุ่ม ICDZ Theicon Berlin ต้นที่ ๑๓๕ คุณพิไลลักษณ์ เกฮัค ต้นที่ ๑๓๖ คุณนุชนาถ ดิททริค และครอบครัว ต้นที่ ๑๓๗ คุณสายสมร บอยม์ลา ต้นที่ ๑๓๘ คุณประนอม เมเยอร์ ต้นที่ ๑๓๙ คุณภาณุวัฒน์ เชาวรัตน์ ต้นที่ ๑๔๐ คุณธนาพร (เคราล์) โพธิ์ชัยโด TANAPORN KRAUL ต้นที่ ๑๔๑ คุณประภาพร ลาซ ต้นที่ ๑๔๒ แม่ชีนวล บรรจง โกล ต้นที่ ๑๔๓ คุณมาลิษา นาสวาสดิ์ (แตน) ต้นที่ ๑๔๔ คุณราตรี ฟิตเคา พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๑๔๕ คุณสิริเพ็ญ จันทมงคล-ลิงค์ Thomas LINGK ต้นที่ ๑๔๖ คุณโอลิเวอร์ ริกเทอร์ คุณสายฝน พีชอคคี คุณดาเนียล คุณปราณี ดิเชลล์ ต้นที่ ๑๔๗ กลุ่มนวดไทย ต้นที่ ๑๔๘ ค่ายมวยทรัพย์เย็น คุณบุศริน (จุ๋ม) คุณ Sven Markulla พร้อมครอบครัว ต้นที่ ๑๔๙ คุณอุทัยวรรณ บราวน์ ต้นที่ ๑๕๐ คุณรุ้งระพี รุ้งไพโรจน์ ต้นที่ ๑๕๑ ครอบครัวคุณจันทร์ฉาย แบคเคอร์ ครอบครัวคุณสราวุธ ไพศาลจิตร ต้นที่ ๑๕๒ คุณสุมิตรา บุญโฉม ต้นที่ ๑๕๓ ทีมงานร้านมีโชค ต้นที่ ๑๕๔ คุณวิลลี่ คุณสมควร บนอยแอร์ ต้นที่ ๑๕๕ คุณรัศมี โนนศรี ต้นที่ ๑๕๖ Sophak Thaimassage Team 1 ต้นที่ ๑๕๗ Sophak Thaimassage Team 2 ต้นที่ ๑๕๘ แม่พร ทัศนีย์ ปิ่นพรม ต้นที่ ๑๕๙ คุณเจี๊ยบ คุณเขียว สมใจ ต้นที่ ๑๖๐ โรงทานก๋วยเตี๋ยว คุณเจี๊ยบ คุณเขียว สมใจ ต้นที่ ๑๖๑ คุณแพรว ทองแสง (พี่ฝน) ต้นที่ ๑๖๒ คุณจิราภร - ลูกค่า-เอลีอา เฮนิคเคอ ร้านช่อมาลีนวดไทย ต้นที่ ๑๖๓ Rostock Georg-Wilai Simon (Leipzig) ต้นที่ ๑๖๔ คุณปัณณ์ณิกา กุลสวัสดิ์ศรี คุณพัชราภรณ์และครอบครัว อภิรักษ์วนาลี ต้นที่ ๑๖๕ สุดาลักษณ์ นวลลังกา ต้นที่ ๑๖๖ คุณไกรวิชญ์-วิภารันน์ บุญลาภ ต้นที่ ๑๖๘ คุณอำ�นวยพร คงอักษร ต้นที่ ๑๖๙ คุณมนทิรา Wildnes ใจมูล มัง่ พร้อมด้วยน้อง ต้นที่ ๑๙๙ คุณปทิตตา กุนส์เดอร์ และคุณสุขสันต์ นิลิอุสครอบครัว ๕๐ ออยโร หมายเหตุ หากมีชอ่ื ผิดพลาด ผูพ้ มิ พ์ขออภัยไว้ดว้ ย นามเจ้าภาพทัง้ หมด ข้อมูล เวลา ๑๘.๓๙ น. วันที่ ๖ มิ.ย. ๖๐ เจ้าภาพเพิม่ เติมประกาศอนุโมทนาภายหลัง
[ 66 ]
เจ้าภาพพิมพ์หนังสือที่ระลึกฉลองวัดครบรอบ ๒๒ ปี
การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เจ้าภาพ ๓๓ เล่ม Sophak Thaimassage เจ้าภาพ ๓๐ เล่ม Peter Wanlapha Kühnet แม่ภา เจ้าภาพ ๒๐ เล่ม คุณชนิดาพร บารร์มันส์ เจ้าภาพ ๑๖ เล่ม คุณหวาน กรรณิภา อาร์เร้นส์ เจ้าภาพ ๑๕ เล่ม คุณสุรีวัลย์ มาคูธร กรึนา และครอบครัว เจ้าภาพ ๑๐ เล่ม คุณจันทร์บาล กรามัทซกี, คุณแสงเดือน ฮอนเน็นแบร์ก, คุณบังอรรัตน์ ซูลกีส้ ,์ คุณอรทัย สระบัว, คุณกานต์พชิ ชา ขุนจ่าเมือง, คุณติก๊ พิมพรรณ คุณเซบัสเตียน, คุณฉอฮวง ไฮท์เจอร์, คุณสายชล ใจเย็น (เก่ง), คุณกบ ประภาพร ลาซ, คุณศิรลิ กั ษณ์ คุณอัจฉราพร ทัดพรวิภาวี, คุณสุภาณี สเตอร์ คุณสุทธิพร Hellwer คุณชยาภา ลิม้ สวาท, คุณรัศมี โนนศรี, คุณรัชนีกรณ์ คงอุทศิ , คุณสุภทั ตรา ซีเฟิลไบน์, คุณสุรยี ์ คิทเลอร์ ร้านรักษา, มิสเตอร์ กุนนาร์ คุณภัทรภร ฟรีเบล, คุณภัทรสุดา พอยเคริท,์ คุณสำ�เร็จ เครือแวงมนต์ เจ้าภาพ ๙ เล่ม คุณวันทนีพร เพียรสาขา (เปียโน) เจ้าภาพ ๖ เล่ม คุณศิริพร ริมเกาะ, คุณสุมิตรา บุญโฉม เจ้าภาพ ๕ เล่ม ด.ช.มาทิน กรามัทซกี, คุณสังเวียน คนการ เฮาพ์ต, Mr. Jens Albers, ด.ช. กิตติศักดิ์ อุ่นเรือน, แม่ชีประนอม แฮร์มัน, คุณอำ�นวย พร คงอักษร, คุณสาคร แซ่ฉว่ั , คุณสุรยี ์ กองหนูเพชร, คุณอุไรลักษณ์ เฮมิง่ วงษ์ หาจักร, คุณนงนุช มาลเค่, คุณศิริลักษณ์ สเตอร์เฟอร์, คุณเรียม ร้านไทเกอร์ เจ้าภาพ ๓ เล่ม คุณนุจรีย์ วังภูงา, คุณสุจินต์ ทับฟี่ ด.ช. Brendon Baisakal, คุณนงคราญ ซิโมเน, คุณพรศิริ ลาเพส, คุณประกายฟ้า โมเสส, แม่ชีสมบัติ ฐานวิสัย, คุณวรรณี คาฮานส์, คุณลินดา ไรเซิร์ท, คุณอ่อนจันทร์ (ใหม่) พละศรี, แม่ชีเรณู แก่นลา เก้อเค่น และครอบครัว, คุณบรรจง (จอย), คุณริสา เพิร์ทเนอร์ คุณวศิน ศรีเผือด, คุณหนูเวียง เซพันสกี้, คุณบัวเรียว ไมยาดีกิริง, คุณจำ�เนียร ลังเทอร์ เจ้าภาพ ๒ เล่ม คุณสุพรรษา ซิงเคอร์, คุณสุทธิดา ดึ๊กเกอร์, คุณแม่ตือ, คุณรัชดาพร แขวกระทุ่ม เจ้าภาพ ๑ เล่ม Felix Ullrich, Melissa Ullrich, Sulin Woit, คุณพรรณา ดุมเคอะ, คุณยุจี เลวันดาวสกี้(พร้อมครอบครัว), คุณเจนจิรา เทพณรงค์, คุณวิไลวรรณ ซือโด, คุณทองหยิบ เกรินดอฟ หมายเหตุ หากมีชอ่ื ผิดพลาด ผูพ้ มิ พ์ขออภัยไว้ดว้ ย นามเจ้าภาพทัง้ หมด ข้อมูล เวลา ๑๘.๓๙ น. วันที่ ๖ มิ.ย. ๖๐ เจ้าภาพเพิม่ เติมประกาศอนุโมทนาภายหลัง
[ 67 ]
โรงทาน งานทำ�บุญฉลองวัดครบรอบ ๒๒ ปี
การก่อตั้ง วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ๑. คณะคุณเจี๊ยบ + สมใจ + ร้านคาเมล่า ก๊่วยเตี๋ยว ๒. คณะคุณแตน ก๊วยจั๊บ ๓. คณะร้านบ้านชวน ข้าวมันไก่ ๔. ขนมเค๊ก-กาแฟ คุณแมว ๕. คณะคุณเล็ก เสมอ - สำ�อางค์ จำ�รัส ขนมจีน-ส้มตำ� ๖. คุณเล็ก เสมอ - แบร์นด์ รัตนา ไส้กรอกเยอรมัน ๗. ร้านส้มตำ�คุณนิด ข้าวหมูแดง ๘. คณะแม่ชีนวล ปอเปี๊ยะ - เสาวชาป ๙. คณะแม่ชีสมบัติ ฐานวิสัย แกงหน่อไม้-พะโล้ ๑๐. คุณเกศศิริ, คุณแดงชัยจำ� เค๊ก ๑๑. คุณไก่ สมควร-วิลลี่ ไอสครีม ๑๒. คุณเหมียว คงอักษร ขออนุโมทนา คุณชนิดาพร บารร์มันน์ ถวายอาสนะสงฆ์ ๑๖ ผืน ขออนุโมทนา Sophak Thaimassage ถวายดอกกุหลาบ
หมายเหตุ หากมีชอ่ื ผิดพลาด ผูพ้ มิ พ์ขออภัยไว้ดว้ ย นามเจ้าภาพทัง้ หมด ข้อมูล เวลา ๑๘.๓๙ น. วันที่ ๖ มิ.ย. ๖๐ เจ้าภาพเพิม่ เติมจะประกาศอนุโมทนาภายหลัง
[ 68 ]
วัดไทยในอุปถัมภ์ พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต) วัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร
วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน
WAT BUDDHAVIHARA BERLIN
ที่อยู่ :
Malchower Str. 23
13089 Berlin-Heinersdorf [Pankow] Germany Tel.: +49-30-416 98 44 E-mail: buddhavihara@hotmail.com Facebook: Payom Supis,
วัดพุทธวิหาร กรุงเบอร์ลิน,
Wat Buddhavihara Berlin, Bankverbindung: Thailaendischer Buddhisten Verein Berlin e.V.
IBAN DE19 1007 0848 0036 5288 00 BIC(SWIFT) DEUTDEDB110
การเดินทาง Bus X54 von Hellersdorf (Berlin) – Hadlichstr. (Berlin) von Pankow Richtung U Hellersdorf: aussteigen Heinersdorf Kirche Straßenbahn M2 von Alexanderplatz – Dircksenstr.: aussteigen Heinersdorf Kirche
[ 69 ]
วัดธรรมวิหาร ฮันโนเวอร์
WAT DHAMMAVIHARA HANNOVER ที่อยู่ : Am Ahlemer Turm 3 30453 Hannover Germany Tel.+49-511-768 57 46 www.watdhammavihara.de FB. WatDhammaviharaHannover
วัดสังฆวิหาร สตุ๊ตการ์ต
WAT SANGHAVIHARA STUTTGART ที่อยู่ : Lerchen Str.79, 70176 Stuttgart Germany Tel. +49-711-319 63 999 FB. wat sangkhavihara stuttgart
วัดธรรมกิตติวงศ์
(วัดไทยปราก) กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก
WAT DHAMMAKITTIWONG THAIPRAGUE ที่อยู่ : U Parku 11, Brezineves, Praha 8, 18200 Prague, Czech Republic Tel. + 420-774 849 189 FB. Thai Temple Prague
พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระมหาโพธิวงศาจารย์ ราชบัญฑิต
วัดราชโอรสาราม องค์อุปถัมภ์วัด นำ�คณะพระเถระและสาธุชน จากประเทศไทยร่วมงานและทอดผ้าป่าสร้างวัด พ.ศ.๒๕๕๘