บทที่ 3 พระสั งฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต และพระสั งฆราชลาโน ค.ศ. 1674 - 1679 เริ่มต้ นความสั มพันธ์ ระหว่ าง ประเทศฝรั่งเศสกับกรุ งสยามและงานแพร่ ธรรม การปกครองทั่วไปของคณะมิสซังต่ างประเทศ และของมิสซังกรุงสยาม
ok k gรับปรุ งการ n ระหว่างที่อยูใ่ นกรุ งสยามครั้งที่สองก็เช่นเดียวกับในครั้งที่หนึ่ง พระสังฆราชปัลลือ เอาใจใส่ ป a B จัดระเบียบทัว่ ไปของคณะมิสซังต่างประเทศให้ดียงิ่ ขึ้นไป ท่านได้เขียน "คําแนะนําการปกครองสามเณราลั ยกรุ ง f o สยาม"1 ซึ่งขณะนั้นเป็ นงานก่อตั้งชิ้นเอกของคณะ ในภาคตะวันออกไกล e ร่ วมกับพระสังฆราชลังแบรต์และ s e พระสังฆราชลาโน c io ญญาข้อตกลง ซึ่งทําเป็ น 13 ข้อ ข้อที่ วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1674 ประมุขมิสซังทั้งสามได้d ลงนามในสั h c สําคัญๆ มีใจความว่า : "พระสังฆราชองค์ ใดผ่ านมาในกรุ งสยาม ก็ให้ มีอาํ นาจเด็ดขาดที่จะดําเนินงานในกิจการ r A ทุกอย่ างที่เกี่ยวกับเรื่ องทางธรรมและทางโลกของทั ้งสามมิสซัง เหรั ญญิกใหญ่ จะต้ องเอาใจใส่ ดูแลวิทยาลัย จัดส่ ง s eไปยังมิสซังต่างๆ และให้ จัดส่ งเงินไปช่ วย" v i ธรรมทูตที่ประมุขมิสซังกรุ งสยามกําหนดให้ hทว่ั ไปเหล่านี้ ทําให้กรุงสยามเป็ นศูนย์ปกครองคณะมิสซังต่างประเทศในภาค c r มาตราการอันมีคุณประโยชน์ A l ตะวันออกไกลยิง่ กว่cาในเวลาที a ่ผา่ นมาแล้ว เพราะฉะนั้นในช่วงเวลานี้ จึงมีการคิดจะขอตั้งสังฆมณฑล (êvêchê) i ขึ้นที่กรุ งศรีtอo ยุธrยา คือเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1675 ได้ส่งบันทึกช่วยจําถึงกรุ งโรม กล่าวถึงความเหมาะสมที่จะ is ้น และแต่งตั้งพระสังฆราชปัลลือให้เป็ นผูป้ กครองสังฆมณฑลดังกล่าว2 แต่เรื่ องนี้ไม่เป็ นผลสําเร็จ ตั้งสัH งฆมณฑลขึ
ฝ่ ายพระสังฆราชลาโนผูไ้ ด้รับมอบหมายให้ปกครองมิสซังกรุ งสยามนั้น ถึงแม้จะมีอาํ นาจสู งกว่า เพราะ ฐานะและหนังสื อความตกลง ลงวันที่ 14 เมษายน ทําให้ท่านมีอาํ นาจ เช่นนั้น แต่ท่านก็มิได้ใช้อาํ นาจดังกล่าวทั้งใน กิจการมิสซังของท่านเองและในกิจการของคณะมิสซังต่างประเทศท่านยังคงถือพระสังฆราชลังแบรต์ เป็ นบังคับ บัญชา ลดตัวลงและขอคําปรึ กษาหารื อในกิจการทุกอย่าง ท่านปฏิบตั ิเช่นนี้ได้โดยง่ายเพราะเป็ นคนอ่อนโยนและ ถ่อมตัว และในขณะเดียวกันก็ถือเป็ นการแสดงความคารวะอันพึงมีอย่างแท้จริ งต่อพระสังฆราชลังแบรต์ผมู้ ี ความอาวุโสและความสามารถทั้งได้ทาํ งานรับใช้มาแล้วอย่างโชกโชน ดังนั้นแม้วา่ พระสังฆราชลังแบรต์ จะได้ เดินทางไปประเทศโคชินจีนในปี ค.ศ. 1676 และแม้วา่ ท่านอาพาธ ต้องนอนทรมานทนความเจ็บปวดนับเป็ น เดือนๆ แต่ตอ้ งถือว่าท่านเป็ นผูม้ ีอาํ นาจสู งสุ ดในมิสซังกรุ งสยาม จนกระทัง่ ถึงแก่มรณภาพในปี ค.ศ. 1679
1เราได้พิมพ์คาํ แนะนําสิ บข้อแรก และบอกชื่อของคําแนะนําอื่นๆ ในหนังสื อเอกสารประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับคณะมิสซังต่างประเทศ. 2เอกสารของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 202 หน้า 47
34 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
มิชชันนารีใหม่ ในช่วงเวลานี้มิชชันนารี 4 คน ได้เดินทางมาถึงกรุ งศรี อยุธยาคือ คุณพ่อแฌฟฟรารด์ เดอ แลสปี เน (Geffrard de Lespinay), คุณพ่อเลอ แกรลคฺ (Le Clergues), คุณพ่อเลอ รู (Le Roux), คุณพ่อโปมารด์ (Paumard) กับผูช ้ ่วยคนหนึ่ง ชื่อ เรอเน ชารฺ บอโน (René Charbonneau) คุณพ่อองค์แรกคือ คุณพ่อแฌฟฟรารด์ เดอ แลสปี เน นั้น เป็ นชาว เมืองวีเตร ท่านมาจากครอบครัวที่เก่าแก่และเป็ นที่รู้จกั และยกย่องมากในวงการผูพ้ ิพากษา ท่านศึกษาวิชา ปรัชญา และเทววิทยาที่กรุ งปารี ส และหลังจากได้เข้าเรี ยนที่คณะลาซาริ สต์แล้ว ก็เข้าสามเณราลัยแห่งคณะมิสซัง ต่างประเทศ แล้วออกเดินทางมากรุ งสยามเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1674 โดยเดินทางผ่านประเทศเปอร์เซีย และอินเดีย คุณพ่อกีโยม เลอ แกรลคฺ เพื่อนเดินทางมากับคุณพ่อแฌฟฟรารด์ เดอ แลสปี เน เกิดที่ บรี อุด (Brioude) ได้ชื่อว่าเป็ นคนมีสามัญสํานึกดี ความรู้จกั กาลเทศะและคุณธรรม ซึ่ งต่อไปบรรดาขุนนางชาวสยามจะนิยมชมชอบ มาก คุณพ่อฟรังซัว เลอ รู เกิดที่เมืองแซงต์โล ขออนุญาตบิดาไปเรี ยนบวชได้อย่าง ยากลําบาก บวชเป็ น พระสงฆ์เมื่ออายุ 28 ปี ไม่ยอมรับผลประโยชน์ทุกอย่างที่พระสังฆราชเดอ โลเมนี (De Loménie) เสนอให้ ท่านเดินทางออกจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อต้นปี ค.ศ.1676 และเมื่อจําเป็ นต้องแวะมาที่มะละกา ก็ซ่อนตัวอยูใ่ นเรื อ โดยสารเป็ นเวลา 6 เดือน เพราะกลัวจะตกอยูใ่ นเงื้อมมือของชาวฮอลันดา ซึ่ งขณะนั้นกําลังทําสงครามกับ ประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากต้องซ่อนตัวเป็ นเวลานานเช่นนี้ ท่านจึงเกิดเป็ นโรคลักปิ ดลักเปิ ด และถึงแก่มรณภาพ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1677 หลังจากเดินทางมาถึงกรุ งศรี อยุธยาเพียงไม่กี่เดือน ท่านยินดีที่ได้มาตาย ในดินแดน ต่างชาติ และอุทิศชีวติ แด่พระเป็ นเจ้าเพื่อความรอดของคนต่างศาสนา ท่านบอกความคิดสุ ดท้ายแก่มิตรสนิทว่า "ใจของฉันอิ่มอาบอยู่ในความชื่ นชมปี ติเมื่อคิดว่ า ไม่ ช้าจะไปสวรรค์ เสวยสุขกับพระเป็ นเจ้ า รั กพระองค์ และ พระองค์ จะรั กชั่วนิรันดร" คุณพ่อเอเจียน โปมารด์ เป็ นชาวเมืองลาวัล และเป็ นเพื่อนของคุณพ่อเลอ รู จากประเทศฝรั่งเศสมาด้วย กันแต่ทาํ งานแพร่ ธรรมไม่ได้ผลเต็มที่ เพราะไม่รู้ภาษา และไม่เคย พูดได้ดีเลย แต่ท่านเป็ นคนใจบุญและมีความรู้ ทางแพทย์ จึงทําการช่วยเหลือพวกธรรมทูตในเวลาคับขันอย่างยิง่ ยวดได้มากทีเดียว พระสงฆ์อีก 7 องค์ เดินทางออกจากประเทศฝรั่งเศสในปี ค.ศ.1678 และทุกองค์ เว้นแต่องค์เดียว เดินทาง มาถึงกรุ งสยามในปี ค.ศ. 1679 และ 1680 คือ คุณพ่อบูญอ็ ง (Bugnon) แห่งเมืองลาแฟล้ช (La Flèche), คุณพ่อเกรฺ กวั รฺ (Grègoire) แห่งเมืองลาแบสแซ็ต (Labessette) สังฆมณฑลแกลรฺ มอ็ งต์ (Clermont),คุณพ่อปัสโกต์ (Pascot) แห่ งเมืองตอนแนรฺ (Tonnerre), คุณพ่อดือแชน (Duchesne) แห่ งเมืองเปรี เกอ (Pèrigueux),คุณพ่อเลอ บลังก์ (Le Blanc) แห่ งเมืองโบน (Beaune),คุณพ่อมารฺ ตีโน (Martineau) แห่ งเมืองอังเย (Angers) และคุณพ่ออารฺ ดีเออ ั รฺ น้ นั ถึงแก่มรณภาพกลางทางที่เมืองกือแอลลา (Guella) (Ardieux) แห่ งสังฆมณฑลเมืองโลซาน คุณพ่อเกรฺ กว ในพระราชอาณาจักรโอมาน ; คุณพ่อบูญอ็ งถึงแก่มรณภาพที่กรุ งศรี อยุธยา (Siam) เมื่อเดินทางมาถึงได้ไม่นาน ; คุณพ่อปั สโกต์ถูกตําหนิเพราะมีความคิดผิดทางปรัชญา ล้มป่ วย แล้วเดินทางกลับกรุ งปารี สในปี ค.ศ. 1685 คุณพ่อดือแชนเป็ นสังฆมนตรี (chanoine) ที่เมืองเปรี เกอ และมีปริ ญญาเอกของมหา วิทยาลัยซอรฺ บอน พระสังฆราชปั ลลือยกย่องคุณวุฒิและคุณธรรมของท่านมาก จนถึงกับเขียนไว้วา่ "เราจะเอาคุณพ่ อองค์ นีเ้ ป็ น ผู้ร่วมงานและสื บตําแหน่ งทั้งในงานมิสซังฟูเกีย้ น (Fo-Kien) ทั้งในงานปกครองทั่วไปของเรา"
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
35
แต่แผนการนี้ ซึ่ งทุกคนที่รู้จกั คุณพ่อดือแชนเห็นดีเห็นชอบด้วยนั้น ปฏิบตั ิให้เป็ นอันลุล่วงไปไม่ได้ เพราะท่านถึงแก่มรณภาพเสี ยแต่ปี ค.ศ. 1684 ในปี เดียวกันนี้เองคุณพ่ออารฺ ดีเออ ก็ถึงแก่มรณภาพเช่นเดียวกัน คุณพ่อองค์น้ ีเป็ นผูท้ ี่พระสังฆราชลาโนสรรเสริ ญว่า "เป็ นคนซื่ อๆ และอ่ อนโยนมาก ทั้งมีสุขภาพดีจนน่ าจะมีอายุอยู่ ได้ ถึง 100 ปี " ; คุณพ่อเลอ บลังก์ ได้ไปประเทศจีน และได้เป็ นประมุขมิสซังยูนนาน และเป็ นสังฆราชเกียรตินาม แห่งโตรอาด (Troade) คุณพ่อมารฺ ตีโนจะทํางานที่กรุ งสยามนานกว่า จะรับแต่งตั้งเป็ นอุปสังฆราชไปอยู่ จังหวัดตะนาวศรี และมรณภาพเสี ยที่กลางทะเลในปี ค.ศ.1695 ก่อนที่กรุ งโรมจะแต่งตั้งท่านเป็ นพระสังฆราช ทายาทของพระสังฆราชลาโน และเป็ นสังฆราชเกียรตินามแห่งซาบูล (Sabule)
ประมุขมิสซังดาเนินการให้ มีความสั มพันธ์ ระหว่ าง ประเทศฝรั่งเศส กรุงโรม และกรุงสยาม ในปี ค.ศ. 1667 พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต เขียนถ้อยคําอันมีความหมายต่อไปนี้ถึงพระสังฆราช ปัลลือ ซึ่งขณะนั้นอยูใ่ นประเทศฝรั่งเศส คือ "เราจะพูดแนะก็ได้ ให้ ส่งราชทูตคนหนึ่งไปยังพระราชสํานักนี ้ ตามอย่ างชาวฮอลันดา ซึ่ งทํางานเป็ นผลดีมาก" ความสัมพันธ์ระหว่างกรุ งฝรั่งเศสกับกรุ งสยามนั้นเป็ นเรื่ องเกี่ยวพัน กับความรักบ้านเกิดและงานแพร่ ธรรมของพวกมิชชันนารี ดว้ ย ในจดหมายที่เขียนถึงกัน เขาเอ่ยถึงพระนามของ กษัตริ ยโ์ กลวิส และจักรพรรดิคอนสฺ ตนั ติน เป็ นบางครั้งบางคราว นัน่ แปลว่าเขาใฝ่ ฝันถึงเรื่ องกลับพระทัยของ พระเจ้าแผ่นดินชาวเอเชียองค์หนึ่ง ซึ่ งจะชักจูงให้ไพร่ ฟ้าข้าแผ่นดินของพระองค์กลับใจด้วย พวกเยสุ อิตก็เคย นึกฝันเช่นนี้ในพระราชสํานักของพระเจ้ากังฮี (Kang-Hi) จักรพรรดิประเทศจีนเหมือนกัน ความนึกฝันเช่นนี้เป็ น เรื่ องที่น่าชื่นชมยินดี เราเข้าใจดีวา่ ความใฝ่ ฝันดังกล่าวเป็ นเรื่ องที่เป็ นไปในศตวรรษที่ 17 ได้ง่ายกว่าใน ศตวรรษปัจจุบนั และ ถึงแม้จะไม่สาํ เร็ จเป็ นความจริ งทั้งหมดก็น่าเชื่อว่าอิทธิพลของประเทศฝรั่งเศสจะเอื้ออํานวยให้พระศาสนาคาทอลิก ได้รับการยกย่องและนับถือยิง่ ขึ้น และให้ผปู้ ระกาศ พระวรสารและผูก้ ลับใจใหม่ได้รับความเป็ นอิสระมากยิง่ ขึ้น พระสังฆราชปัลลือคงจะรับความคิดเห็นของพระสังฆราชลังแบรต์โดยง่าย เพราะในยุคเดียวกันนั้นท่าน เผยแพร่ หนังสื อเล่มหนึ่ง ท่านกล่าวในหนังสื อนั้นว่า : "พระมหากรุ ณาธิ คุณต่ างๆ ที่เราได้ รับจากพระมหากษัตริ ย์ ผู้ทรงมีพระทัยโอบอ้ อมอารี ของเรานั้น เป็ นการ ประกันอย่ างแข็งแรงสําหรั บพระมหากรุ ณาธิ คุณซึ่ งเราจะต้ องมุ่งหวังจากพระองค์ ในอนาคตอีก เช่ นเดียวกับที่พระองค์ ทรงเอาเยี่ยงดวงอาทิตย์ ในเรื่ องมีพลังความเข้ มแข็ง พระองค์ ยงั ทรงมีพระประสงค์ จะ ทรงเป็ นเหมือนดวงอาทิตย์ ในเรื่ องมีพลังอํานาจกว้ างไกล และทรงให้ เรารู้ สึกฤทธิ์ อย่ างต่ อเนื่องจนถึงในที่ ที่อยู่ห่างไกลที่สุดจากที่ที่พระองค์ ประทับอยู่ จุดมุ่งหมายของพระองค์ กค็ ือมีส่วนช่ วยให้ มนุษย์ ร้ ู จักพระ เป็ นเจ้ า"
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
36 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
เมื่อมีความปรารถนาแล้ว พระสังฆราชปัลลือก็ลงมือปฏิบตั ิการ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1667 จนถึงปี ค.ศ. 1672 ท่านทําบันทึกความจําหลายฉบับทูลพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 และถึงบรรดา เสนาบดีและบรรดาผูจ้ ดั การบริ ษทั อินเดีย ตะวันออก3 ชี้จุดต่างๆ ของฝั่งทะเลในภาคตะวันออกไกล ที่น่าจะตั้งคลังสิ นค้า นี่ไม่ใช่เรื่ องไปพิชิตดินแดนหรื อ ส่ งทหารไปหาเมืองขึ้น เป็ นแต่เรื่ องการค้าขายอย่างกว้างขวางเท่านั้น เพราะจะต้องสังเกตว่าพระสังฆราชปัลลือ ก็ดีพระสังฆราชลังแบรต์ก็ดี ไม่เคยชักชวนรัฐบาลฝรั่งเศสให้ไปพิชิตเอาอาณาจักรของคนต่างศาสนาเลย ทั้งสอง ท่านจะพูดถึงแต่การเจรจาเพื่อให้มีอนุสัญญาอันมีประโยชน์ และมีหา้ งเก็บสิ นค้า ท่านปรารถนาแต่เพียงมีความ สัมพันธ์กนั อย่างสันติที่มีประโยชน์เท่าเสมอกันต่อประเทศฝรั่งเศสและต่อประเทศอื่นๆ ต่อประโยชน์ของวิญญาณ และต่อเกียรติของพระศาสนจักร การกระทําของท่าน ทั้งสองเป็ นการตอบล่วงหน้า คือตอบผูท้ ี่จะกล่าวหาว่า มิชชันนารี เป็ นตัวแทนการเมืองที่เรี ยกและช่วยคนชาติเดียวกันปราบดินแดนที่เขาประกาศศาสนาให้อยูใ่ ต้อาํ นาจ ในรายงานต่างๆ ที่ส่งไป พระสังฆราชปัลลือกล่าวถึงการตั้งสํานักการค้าแห่งหนึ่งขึ้นในกรุ งสยาม ท่าน กล่าวว่า "ในพระราชอาณาจักรนี ้ ประเทศฝรั่ งเศสจะค้ าขายกับเกาะสุมาตรา, เกาะบอร์ เนียว และเกาะชะวา ทางทิศ ใต้ ทางทิศตะวันตกจะไปถึงสถานีต่างๆ ที่มีอยู่ในภาคเอเชี ยอาคเนย์ และเกาะมาดากัสการ์ จะสามารถตั้งและบํารุ ง สํานักที่ตั้งขึน้ ในภาคตะวันออกในประเทศ โคชิ นจีน, ตังเกี๋ย, จีน และญี่ปุ่น" ขณะนั้นเป็ นโอกาสเหมาะสําหรับดําเนินการให้พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทรงรับฟังข้อเสนอเหล่านี้ นายมองเดอ แวรคฺ (Mondevergue) ได้รับแต่งตั้งเป็ นข้าหลวงเกาะมาดากัสการ์ ,นายการ็ อง (Caron) ได้รับแต่งตั้งเป็ นผูอ้ าํ นวยการ บรรดาสํานักการค้าของเราในเอเชียภาคอาคเนย์, นายลา บุลเล เลอ กุส (La Boullaye Le Gouz) ได้ไปยัง พระราชสํานักของพระเจ้าจักรพรรดิ โอเร็ ง - เซ็บ (Aureng - Zeyb) บริ ษทั อินเดียตะวันออกมีเรื อ 26 ลํา ที่สุดมีการ เตรี ยมกองทัพเรื อ ซึ่ งอยูใ่ ต้บงั คับบัญชาของนายเดอ ลา เอย์ (M. de la Haye) จะนําธงของเราไปอวดอย่างมีชยั ใน มหาสมุทรอินเดีย ในปี ค.ศ. 1669 พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ได้พระราชทานพระราชสาสน์ และเครื่ องบรรณาการให้พระสังฆราช ปัลลือ นํามาถวายพระเจ้ากรุ งสยาม เมื่อเดินทางผ่านเมืองสุ รัต ท่านก็ขอเครื่ องบรรณาการจากผูจ้ ดั การทั้งสองของ บริ ษทั อินเดียตะวันออกคือนายโบลต์ และนาย บาร็ อง (Blot & Baron) และทั้งสองก็ยนิ ดีคล้อยตามความเห็นของ ท่านนายโบลต์ และนายบาร็ องนั้นเป็ นผูบ้ ุกเบิกอาณานิคมชั้นนําในศตวรรษที่ 17และการที่เขามีความสมัครสมาน กับบรรดาประมุขมิสซังนั้นเป็ นแต่เบื้องต้นของความสมัครสมานกับบรรดาประมุขมิสซังนั้นเป็ นแต่เบื้องต้นของ ความสมัครสมาน ซึ่ งจะมีอยูใ่ นศตวรรษที่ 19 และ 20 ในระหว่างพวกมิชชันนารี กบั พวกขยายอาณานิคม (Colonialisme) ของเราที่ดีที่สุด ที่ปอล แบรต์ (Paul Bert)4 เคยกล่าวเมื่อ 30 ปี มาแล้ว เพื่อให้สะใจความเกลียดชังที่ เขาและผูท้ ี่อยู่ รอบข้างด้วยมีอยูต่ ่อคณะสงฆ์คาทอลิกว่า "ข้ าพเจ้ าจะใช้ พวกมิชชันนารี ให้ เกิดประโยชน์ แต่ จะไม่ ช่ วยเหลือให้ เขาได้ รับประโยชน์ ” นั้น ต้องนับเป็ นการกล่าวสรรเสริ ญพวกมิชชันนารี แต่ก็ตอ้ งนับเป็ นการกล่าว
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
3จดหมายของพระสังฆราชปัลลือ เล่ม 2 หน้า 191 และต่อๆ ไป 4ปอล แบรต์ นักการเมืองฝรั่งเศส เคยเป็ นเสนาบดีกระทรวงศึกษาธิการในรัฐบาลของคัมแบตตา (ค.ศ. 1811-1882) และใน ค.ศ. 1886 ได้รับแต่งตั้งเป็ น ผูส้ าํ เร็ จราชการแคว้นอันนาม และแคว้นตังเกี๋ย (ผูแ้ ปล)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
37
คําพูดครึ กโครมที่ไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริ งด้วย กล่าวคือ คนที่มีอิทธิพลและความขยันขันแข็งนั้น ไม่วา่ จะพอใจ หรื อไม่พอใจ เราจะใช้เขาให้เกิดประโยชน์นานๆ โดยเราไม่ทาํ ประโยชน์ช่วยเขาด้วยไม่ได้ และด้วยพลังอํานาจของ เหตุการณ์ต่างๆ ผูท้ ี่สร้างความยิง่ ใหญ่ให้แก่บา้ นเกิดเมืองนอนนั้น ย่อมร่ วมเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับผูท้ ี่ทาํ งานให้แก่ พระศาสนจักรก่อน บรรดาประมุขมิสซัง ไม่ใช่แต่เพียงดําเนินการให้พระเจ้ากรุ งสยามมีความสัมพันธ์กบั ประเทศฝรั่งเศส เท่านั้น แต่ยงั ปรารถนาจะสร้างให้มีความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากรุ งสยามกับสมเด็จพระสันตะปาปาด้วย เราย่อม นึกได้โดยง่ายว่านัน่ เป็ นวิธีในความคิดของท่านอีกวิธีหนึ่ง ที่จะทําให้ประชาชนคนต่างศาสนาเห็นความสําคัญของ พระศาสนาคาทอลิกมากยิง่ ขึ้น เพราะฉะนั้นพระสังฆราชปัลลือ จึงนําพระสมณสาสน์ฉบับหนึ่งมาจากกรุ งโรม
พระเจ้ ากรุงสยามโปรดให้ พระสั งฆราชคาทอลิกเข้ าเฝ้ าอย่ างสง่ า เมื่อทรงทราบว่าพระสังฆราชชาวฝรั่งเศสจะนําพระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 และพระสมณสาสน์ ของพระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 9 อีกทั้งเครื่ องบรรณาการต่างๆ มาทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระนารายณ์ทรง ชื่นชอบพระทัยในข่าวนี้ และทรงมีความใคร่ รู้ใคร่ เห็น จึงทรงตัดสิ นพระทัยโปรดให้เข้าเฝ้ าอย่างสง่า แต่ทว่ามี ประมวลพิธีการโบราณที่จะต้องปฏิบตั ิ กล่าวคือ ผูเ้ ข้าเฝ้ าจะต้องปรากฏตัวอยูเ่ บื้องพระพักตร์พระมหากษัตริ ย ์ ในลักษณะที่เท้าไม่สวมอะไร ต้องคุกเข่า กราบลงหน้าจรดพื้น พระสังฆราชเห็นว่าธรรมเนียมเหล่านี้ขดั ต่อ พระเกียรติยศของพระสันตะปาปาและพระเจ้ากรุ งฝรั่งเศส ซึ่ งท่านเป็ นดัง่ ผูแ้ ทนอยู่ และยังขัดต่อเกียรติศกั ดิ์ส่วนตัว ด้วย แน่นอนชาวสยามต้องยืนยันว่าหาเป็ นเช่นนั้นไม่ ในที่สุด สมเด็จพระนารายณ์ทรงวินิจฉัยเรื่ องนี้ โดยทรง อนุโลมตามความประสงค์ของพระสังฆราช ได้เป็ นที่ตกลงกันว่า "ท่ านจะสวมรองเท้ า นั่งบนพรมที่ปักอย่ าง สวยงาม และจะถวายคารวะตามแบบชาวยุโรป"
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s eค.ศ. 1673 พระสังฆราชห้อมล้อมด้วยขุนนางที่ แต่งตัวเต็มยศ และ การเข้าเฝ้ ามีข้ ึนเมื่อวันที่ 18 ตุลiาคม v h แตรและปี่ เสียงแหลม เดินเข้าไปใน พระราชวัง ณ ที่น้นั สมเด็จ ทหารที่ถืออาวุธ ในท่ามกลางเสีrยc งกลอง, Aที่ส่องแสงแวววาวที่สุด ประทับอยูบ่ นพระราชอาสน์ ทรงต้อนรับท่านด้วย พระราช พระนารายณ์ทรงฉลองพระองค์ l a อัธยาศัยไมตรี อนั rดีiยc ง่ิ ในพระสมณสาสน์และ พระราชสาสน์น้ นั พระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 9 และ พระเจ้าหลุยส์ o t ที่ 14 ทรงขอบพระทั ย พระเจ้ากรุ งสยามที่ทรงมีพระทัยอารี อารอบต่อประมุขมิสซัง โปรดให้ท่านมีความเป็ นอิสระ s i H ทรงปฏิบตั ิต่อท่านด้วยนํ้าพระทัยกว้างขวาง และขอร้องพระองค์ให้ "ทรงปฏิ บัติอย่ างดีทุกประการ ต่ อท่ านสื บไป"
แต่น่าเสี ยดาย ที่เครื่ องบรรณาการต่างๆ ซึ่ งส่ งมาจากยุโรปและตกค้างอยูท่ ี่เกาะบันตัม นั้น ได้ถูกพวก ฮอลันดาริ บไป สมเด็จพระนารายณ์มิได้ทรงกังวลถึงเรื่ องนี้จนเกินไป ได้ตรัสถามถึงพระสันตะปาปา, พระเจ้า กรุ งฝรั่งเศส และความมีชยั ของพระองค์เหนือชาวฮอลันดา เพื่อแสดงพระทัยอารี อารอบและความพอพระทัย พระองค์มีรับสั่งให้มอบเสื้ อแพรสี ม่วงตัวหนึ่ง แก่พระสังฆราชปัลลือ และพระสังฆราชลังแบรต์ กับเสื้ อแพรดําตัว หนึ่งแก่พระสังฆราชลาโน ซึ่ งขณะนั้นยังไม่ได้รับการอภิเษก
38 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
เข้ าเฝ้ าอีกครั้งหนึ่ง - พระเจ้ าแผ่นดินทรงสัญญา อีกไม่กี่วนั ต่อมา พระเจ้าแผ่นดินประทับอยูท่ ี่เมืองละโว้ ทรงแสดงพระราชประสงค์จะพบพระสังฆราชทั้ง สามอีก พระสังฆราชทั้งสามจึงรี บขมีขมันจะไปยังพระตําหนัก สวมเสื้ อคลุมบ่า(mosette) ทับบนเสื้ อขาวสั้น(rochet) ขึ้นขี่ชา้ งซึ่งแต่งอย่างสวยงามแล้วเดินทางไปยังพระราชสํานัก การเข้าเฝ้ าใช้เวลา 3 ชัว่ โมง เรื่ องที่รับสั่งและกราบ ทูลเกี่ยวกับพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 เป็ นพื้น คือเรื่ อง "พระคุณลักษณะของพระองค์ อันได้ แก่ พระปรี ชาสุขมุ ความมี พระทัยมานะอย่ างไม่ ร้ ู จักแพ้ ความระวังระไวอย่ างไม่ ร้ ู จักเหน็ดเหนื่อย ความมีชัยในการรบ ความเชื่ อและ ความเร่ าร้ อนในการขยายพระอาณาจักรของพระเป็ นเจ้ า" เนื่องจากการสนทนาวิสาสะกันครั้งนี้ สมเด็จพระนารายณ์ ตรัสว่าพระองค์ทรงตัดสิ นพระทัยจะทรงถวายท่าเรื อแห่งหนึ่งแด่พระเจ้า กรุ งฝรั่งเศส และ "ในท่ าเรื อนั้น จะสร้ าง เมืองหนึ่งชื่ อพระเจ้ าหลุยส์ มหาราชก็ได้ " ความใฝ่ ฝันของบรรดาพระสังฆราชมิชชันนารี เป็ นอันเริ่ มก่อตัวจะเป็ นจริ งขึ้นแล้ว ถ้าประเทศฝรั่งเศสมา ตั้งอยูบ่ นฝั่งแม่น้ าํ เจ้าพระยา ก็เท่ากับว่าพระศาสนาคาทอลิกจะได้รับความคุม้ ครอง จะได้รับความช่วยเหลือ จะแพร่ ขยายออกไปอย่างแน่นอน และชะรอยจะมีความหมายมากกว่านั้นอีก เราไม่แปลกใจที่ได้ยนิ พระสังฆราชกราบทูล เรื่ องการกลับพระทัยของพระเจ้า คอนสฺ ตนั ตินถวายพระเจ้ากรุ งสยาม วันรุ่ งขึ้นกลุ่มพระสังฆราชสนทนากับอัคร มหาเสนาบดี ครั้งนี้ความหวังดูจะไม่เป็ นไปตามความปรารถนาของท่าน เพราะผูเ้ ขียน "จดหมายเหตุของ มิสซัง" แสดงความวิตกว่า "อัครมหาเสนาบดีผ้ นู ีจ้ ะไม่ ใช้ ความสว่ างของพระเป็ นเจ้ าให้ เกิดประโยชน์ เพราะเขาแสดงให้ เห็นเสมอว่ ามีใจผูกพันติดอยู่กับปฏิ มากรอย่ างเหลือหลาย" ข่าวเหล่านี้ส่งไปยังกรุ งโรมและประเทศฝรั่งเศส โดยมีผเู้ ขียนเล่าเรื่ องอย่างยืดยาวไปยัง สามเณราลัยแห่ง คณะมิสซังต่างประเทศ และมีลิขิตสั้นๆ ด้วยความเคารพและลงนามโดยพระสังฆราชทั้งสามไปทูลพระสันตะปาปา และพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e่ง พระเจ้ าแผ่นดินทรงสัญญาอีกครัi้ งvหนึ hยไมตรีอนื่ ๆ c พระองค์ทรงแสดงพระอั ธ ยาศั r Aในเดือนธันวาคม ในวันๆ เดียวที่พระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยาม ทรงปรากฏองค์ให้ l สองเดือนต่อมาคื อ a c i r จประพาสอย่างสง่าตามลําแม่น้าํ เจ้าพระยา สมเด็จพระนารายณ์ทรงเปลี่ยนเส้นทางที่เคย ประชาชนเห็นoในการเสด็ t เสด็จเป็iนsปรกติ ครั้งนี้เสด็จไปข้างหน้าที่ดินที่พระราชทานแก่พวกมิชชันนารี ทรงเห็นว่าที่ดินนั้นเล็กเกินไป H จึงรับสั่งให้เอาค่ายของชาวญวนเพิ่มให้ และให้ชาวญวนไปอยูท่ ี่อื่น พระองค์ตรัสเป็ นครั้งที่สองหรื อที่สามว่า ทรง ปรารถนาจะให้สร้างโบสถ์สวยงามหลังหนึ่งใกล้สามเณราลัย นอกจากพฤติการณ์ต่างๆ เหล่านี้ ซึ่ งเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับพระศาสนาคาทอลิกและประเทศฝรั่งเศสโดยตรงแล้ว ยังมีพฤติการณ์อื่นๆ ที่สาํ คัญน้อยกว่า แต่เปี่ ยมไปด้วยอัธยาศัยไมตรี ต่อพระสังฆราชทั้งสาม กล่าวคือ พระองค์ทรง ส่ งแพทย์ 2 นาย มารักษาพระสังฆราชลังแบรต์ เมื่ออาพาธ ทรงขอพระสังฆราชลาโนไปเสกบ่อทองและบ่อเงินที่ พบใหม่ พระราชทานครอบครัวชาวสยามราว 50 ครอบครัว แก่ประมุขมิสซังทั้งสามตามที่ขนุ นางได้รับ พระราชทาน และพวกมิชชันนารี ถือครอบครัวเหล่านั้นเป็ น "คนในอํานาจปกครอง" ที่สุดพระองค์ทรงอนุมตั ิแผนผัง ของโบสถ์ที่ พระสังฆราชทั้งสามได้จดั เตรี ยม และในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1674 มีรับสัง่ ให้นาํ วัสดุแรกๆ ที่ตอ้ งใช้ มายังกรุ งศรี อยุธยา
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
39
ระหว่างนั้นพระสังฆราชลาโนอยูท่ ี่พระราชสํานัก กล่าวคําปราศรัยครั้งหนึ่งแก่บรรดา ขุนนางข้าราชการ "ซึ่ งผลสําคัญที่เกิดก็คือ ทําให้ พระศาสนาเป็ นที่นิยมเชื่ อถือ" ครั้นแล้ว คอนสฺ ตนั ติน ฟอลคอน ซึ่ งเริ่ มปรากฏโฉม หน้าขึ้นในเรื่ องเล่าของพวกมิชชันนารี "ก็แสดงความเห็นว่ าพระสังฆราชองค์ นีด้ าํ เนินกิจการพระศาสนาคาทอลิก อย่ างเป็ นผลดี" ขณะนั้นพระสังฆราชทั้งสามใคร่ ทราบว่า จะหวังในพระทัยอารี อารอบของพระเจ้า แผ่นดินได้มาก น้อยเพียงใดเพื่อจะได้รับเสรี ภาพในเรื่ องศาสนา คือเสรี ภาพที่พระสังฆราชจะประกาศคําสอนคาทอลิก และเสรี ภาพ ที่ประชาชนชาวสยามจะนับถือศาสนาคาทอลิก
พระทัยอารีอารอบของพระเจ้ าแผ่ นดินมีคุณค่ าที่น่าสงสั ย พระสังฆราชลังแบรต์จะต้องเดินทางไปยังประเทศโคชินจีน พระเจ้าแผ่นดินหรื อที่ถูกเรี ยกว่า "จั๊ว" 5 ของประเทศนี้ เคยทรงสัญญาจะให้พวกคริ สตังมีความเป็ นอิสระทุกอย่าง สมเด็จพระนารายณ์ทรงแสดงให้เห็นว่า ไม่เต็มพระทัยให้ท่านเดินทางไป พระสังฆราชจึงเสนอจะล้มเลิกการเดินทางครั้งนี้และจะอยูใ่ นกรุ งสยามต่อไปถ้า พระเจ้ากรุ งสยามจะทรงยินยอมพระราชทาน พระอนุเคราะห์ (faveurs) ต่างๆ ดังที่พระศาสนาคาทอลิกได้รับใน ประเทศโคชินจีน ท่านยืน่ ข้อเสนอดังกล่าวต่อขุนนาง "ที่ไม่ เคยแสดงความขัดข้ องต่ อข้ อเสนอต่ างๆ ของท่ าน" แต่ ครั้งนี้ ขุนนางให้คาํ ตอบที่แปลกผิดกว่าทุกครั้งว่า "ท่ านขอมากเกินไปแล้ ว" พระสังฆราชเข้าใจดีวา่ ไม่ตอ้ งพูดอะไร มากกว่านั้นอีก ต่อมาไม่นาน พระเจ้าแผ่นดินทรงมีพระบัญชาให้ขนุ นางผูห้ นึ่งไปร่ วมในการฟังเทศน์และสวดมนต์ใน โบสถ์นกั บุญโยเซฟ และให้นาํ ทุกเรื่ องที่ได้เห็นได้ยนิ ไปกราบทูลให้ทรงทราบพระองค์ตรัสต่อหน้าเจ้าหน้าที่หลาย คนว่า พระองค์ไม่ทรงขัดขวางมิให้ผใู ้ ดนับถือศาสนาคาทอลิก พระองค์ทรงทําจนถึงขนาดห้ามพสกนิกรมิให้ไป โบสถ์พุทธศาสนา และทรงลงโทษหลายคน ที่ฝ่าฝื นคําสั่งนี้ พระสังฆราชลาโนกล่าวเสริ มด้วยความฉลาดทีเดียวว่า "แต่ เป็ นการยากมากที่จะรู้ ถึงมูลเหตุที่พระองค์ ทรงปฏิ บัติเช่ นนี "้
k
งานแพร่ ธรรม
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
แม้น้ าํ พระทัยโอบอ้อมอารี ของพระเจ้าแผ่นดินจะช่วยให้มิชชันนารี มีอิทธิพลเพิ่มขึ้น แต่งานแพร่ ธรรมของ เขาก็ยงั เกิดผลแต่นอ้ ย วัดที่กรุ งศรี อยุธยาเจริ ญอย่างเชื่องช้า ตามที่เห็นได้จากพฤติการณ์เล็กๆ น้อยๆ ที่เกี่ยวกับ วัดดังกล่าว และมีบนั ทึกอยูใ่ นจดหมายเหตุของมิสซัง เช่น มีการตักเตือนคนทิ้งศาสนา มีการเยีย่ มคนเจ็บป่ วย หรื อที่ ถูกจองจําในคุก มีการสอนคนเตรี ยมตัวรับศีลล้างบาปไม่กี่คน มีการจัดให้คริ สตังแต่งงานอย่างถูกต้องเรี ยบร้อย ตั้งแต่วนั ที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1673 ถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1674 พวกมิชชันนารี ประกอบพิธีศีล ล้างบาปให้แก่ผใู ้ หญ่ที่สบายดี 7 - 8 คน ให้แก่ผทู้ ี่ใกล้จะตายราว 10 คน และ แก่เด็กเล็ก 6-7 คน เขาตระเวนไปตาม อาณาบริ เวณใกล้เคียง บางครั้งก็ไปไกลจากกรุ งศรี อยุธยาพอสมควร เช่น พระสังฆราชลาโนไปไกลจนถึง 30 ลีเออ ในขณะนั้นมีการพูดถึง 4 หมู่บา้ นที่มีคนเตรี ยมตัวรับศีลล้างบาปหลายคน แต่ส่วนใหญ่จะไม่ได้รับศีลล้างบาปเลย เพราะเตรี ยมตัวเตรี ยมใจไม่เพียงพอ คุณพ่อเลอ แกลรคฺ มีสามเณรเก่าคนหนึ่งเป็ นผูช้ ่วย เป็ นชาวเมืองกัวชื่อ ร็ อก มู นิส (Munis) คุณพ่อแพร่ ธรรมอยูใ่ นหมู่ชาวมอญกลุ่มหนึ่ง "ที่ตั้งหลักแหล่ งอยู่บนฝั่ งแม่ นา้ํ อยู่ห่างจากกรุ งศรี อยุธยา เป็ นระยะทางเดินหนึ่งวัน"
ic r o ist
H
5"จัว๊ " เป็ นภาษาญวน ตรงกับคําว่า "จู๊" ในภาษาจีน และน่าจะตรงกับคําว่า "เจ้า" ในภาษาไทย (ผูแ้ ปล)
40 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ที่เมืองบางกอกในปี ค.ศ.1674 และ1675 พระสังฆราชลาโนตั้งหมู่บา้ นคริ สตังขึ้น จนเป็ นการสําเร็ จ เด็ดขาดคือ ท่านได้รับพระราชทานที่ดินเล็กๆ ผืนหนึ่ง ท่านได้ต้ งั โรงสวดขึ้น ตั้งชื่อให้วา่ "วัดปฏิ สนธิ นิรมลแห่ ง พระแม่ เจ้ า"6 ชื่อนี้เป็ นชื่อที่ยงั ไม่สู้จะเคยได้ยนิ ในสมัยนั้น เป็ นข้อพิสูจน์อย่างน่าประทับใจถึงความศรัทธาอย่าง ดูดดื่มที่พระสังฆราชลาโนมีต่อพระแม่เจ้ามารี ย ์ และยังเป็ นข้อพิสูจน์ถึงความเชื่อที่ท่านมีต่อข้อความจริ งประการ หนึ่ง ซึ่งพระศาสนจักร จะประกาศในเวลาต่อมาอีก 200 ปี พระสังฆราชมีคุณพ่อชังเดอบัว เดอ ฟาลังแด็ง เป็ น ผูช้ ่วย ซึ่งท่านกล่าวถึงว่า "ชี วิตของคุณพ่ อเป็ นชี วิตที่ถือเคร่ งครั ดมาก คุณพ่ อเป็ นคนของพระเป็ นเจ้ าโดยแท้ ท่ านทํา ให้ เราอับอายขวยใจจนไม่ สามารถจะบอกได้ ในที่สุดท่ านก็สอนสิ่ งที่พึงรู้ ให้ เรา" คุณพ่อวาเชต์ กล่าวสรรเสริ ญคุณพ่อองค์เดียวกันว่าดังนี้ "ในหมู่พวกเราทุกคน ท่ านเป็ นคนที่มีจิตตารมณ์ ธรรมทูตมากกว่ าหมด" แท้จริ งคุณพ่อชังเดอบัว เป็ นพระสงฆ์ที่มีคุณธรรมสู งเด่น ถือความยากจนและการบําเพ็ญ ตบะขั้นสู ง ท่านไม่มีเสื้ อผ้าเบ็ดเตล็ดชนิดต่างๆ มีแต่เสื้ อหล่อสี ดาํ ตัวเดียว รับประทานอาหารเพียงวันละมื้อใส่ เครื่ อง ทรมานกายกับโซ่เหล็กที่มีปลายแหลมเกือบตลอดเวลา นอนบนพื้นเปล่าไม่มีเสื่ อปูในโบสถ์ และมีข้ นั บันได พระแท่นเป็ นหัวนอน บางครั้งคุณพ่อชังเดอบัวพาพระสังฆราชลาโนไปตามบริ เวณข้างเคียงเมืองบางกอก จัดให้ท่านรับประทาน ข้าวเย็นที่หุงวันก่อนและห่อในใบตอง ใต้ตน้ ไม้ริมฝั่งแม่น้ าํ ต่อจากนั้นท่านเข้าไปในบ้านคนไข้ หรื อสนทนากับ พระภิกษุ ท่านขอมารดา ซึ่ งบางทีก็อยูท่ ี่เมืองมอร์ตาญ (Mortagne) บางทีก็อยูท่ ี่เมืองแฟลรฺ (Flers) ในแคว้นนอร์มงั ดี ให้ส่งเงินมาให้ท่านปี ละ 100 เอกู "เพื่อเลีย้ งคนทุกข์ ยากที่เล่ าเรี ยนศาสนาของเรา" ขณะนั้นที่เมืองบางกอกและในบริ เวณ ใกล้เคียง มีคนเตรี ยมตัวรับศีลล้างบาปที่เป็ นชาวสยาม ชาวมอญ และชาวกวย (cuays)7 ประมาณ 200 คน ปลายปี ค.ศ. 1675 พระสังฆราชลาโนนึกถึงเมืองพิษณุโลกขึ้นมา ก็ส่งคุณพ่อลังกลัวไปที่เมืองนี้ ครั้นไปถึง คุณพ่อพบชาวเมืองราว 40 คน ได้รับบาดเจ็บจากการวิวาทกับชาวมลายู ท่านได้รักษาพยาบาลเขาจนหายเกือบทุก คน และภายในเวลามินาน ท่านสร้างโบสถ์นอ้ ยหลังหนึ่ง ที่พกั พระสงฆ์หลังหนึ่ง และโรงพยาบาลหลังหนึ่ง ท่าน ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่คน ต่างศาสนาหลายคน และได้นาํ เด็กบางคนมาอยูก่ บั ท่าน เพื่อเตรี ยมส่ งไปสามเณราลัย ด้วยเหตุน้ ี พระสังฆราชลาโนจึงเขียนไว้เป็ นความจริ งทุกประการว่า "คุณพ่ อเป็ นที่รัก และเคารพยกย่ องของทุกคน ท่ านทําคุณประโยชน์ ได้ มากพอสมควรสําหรั บเวลาเริ่ มแรก" ในปี ค.ศ.1678 คุณพ่อลังกลัวเดินทางไปเมืองนครไทย (Lacontay) 8 เพราะชาวเมืองนี้หลายคนแสดง เจตจํานงอยากถือศาสนาคาทอลิก ทั้งๆ ที่ทาํ งานต่างๆ ท่านยังทําแผนผังที่ยงั ไม่ลงมือทํา และจะไม่ลงมือทําเร็ ว เช่นนั้น และเป็ นเรื่ องน่าแปลกที่เราได้ยนิ มิชชันนารี ในศตวรรษที่ 17 ผูน้ ้ ี พูดถึงเรื่ องจะตั้งสถานพยาบาล (sanatorium) บ้านเข้าเงียบ และสํานักพระสังฆราชขึ้น ที่พิษณุ โลก เพราะอากาศที่นน ่ั ดี และจะตั้งศูนย์ของมิสซังขึ้น ที่เมืองนี้ เพราะอยูไ่ กลจากกรุ งศรี อยุธยา และพระราชสํานัก
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
6 ปั จจุบนั คือ วัดคอนเซ็ปชัญ 7ตามประวัติวดั คอนเซ็ปชัญ ที่เขียนโดย บาทหลวงวิกตอร์ ลารฺ เก ได้บอกว่าชาวกวยคือเชลยศึกชาวเขมรที่จบั ได้ในสงคราม ซึ่งสมเด็จพระนารายณ์ทรง เลี้ยงไว้เป็ นทาสเพื่อรักษาที่ดินและทําผลประโยชน์ที่ผืนนั้นที่เมืองบางกอก ครึ่ งหนึ่งของที่ดินผืนนี้ พระองค์ได้พระราชทานให้แก่พระสังฆราชลาโนตามที่ ท่านทูลขอเพื่อใช้สร้างวัดคอนเซ็ปชัญ 8นครไทย (Lacontay) หรื อเมืองไตรตรึ งค์ ปัจจุบนั คืออําเภอนครไทย ในจังหวัดพิษณุโลก
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
41
คุณพ่อเกมไปสมทบกับท่าน แต่อยูไ่ ม่ได้กี่เดือนก็กลับวัดที่เมืองมะริ ด (Merguy) เมืองเบนการิ ม (Bengarim) และเกาะถลาง (Jongselang = ภูเก็ต) ซึ่ งคุณพ่อเปเรสเป็ นผูด้ ูแลตลอดมานั้น ไม่มีอะไรเด่นพิเศษ อย่างไรก็ตามต้อง บันทึกไว้วา่ ในปี ค.ศ. 1674 เมื่อคุณพ่อการฺ โดโซเจ้าอาวาสวัดเมืองตะนาวศรี ถึงแก่มรณภาพแล้ว สัตบุรุษเมืองนี้ได้ ขอให้คุณพ่อเปเรสเป็ นเจ้าอาวาสแทนต่อไป พระสังฆราชลาโนก็ได้อนุญาตตามที่ขอ สามปี ต่อมา ขณะที่คุณพ่อเปเรสท่องบทภาวนาในหนังสื อทําวัตรอยู่ ก็ถูกชาวฮอลันดาคนหนึ่งตีเอาโดยไม่รู้ สาเหตุ ได้มีผสู ้ ่ งข่าวต่อไปถึงเจ้าพระยาพระคลัง เจ้าพระยาพระคลังแจ้ง เหตุร้ายนั้นให้พระสังฆราชทราบ ทันที พระสังฆราชส่ งคุณพ่อฟอรฺ เฌต์มาพยาบาลคุณพ่อผูไ้ ด้รับบาดเจ็บ และสอนคําสอนสัตบุรุษ
โรงเรียนกับวิทยาลัยกลาง นอกจากงานการเหล่านี้แล้ว พวกมิชชันนารี ยงั ทํากิจการศึกษาและเมตตาจิตต่อไป หรื อทําให้เจริ ญยิง่ ๆ ขึ้น มีโรงเรี ยนเด็กชายและโรงเรี ยนเด็กหญิงที่เมืองตะนาวศรี วิทยาลัยกลางดําเนินการเป็ นที่พอใจผูก้ ่อตั้งทุกประการ แบ่งเป็ น 2 แผนก แผนกหนึ่งมีสามเณรใหญ่คือ อุป สังฆานุกร 1 คน จากสังฆมณฑลมาเก๊า อายุ 42 ปี มีผรู้ ับศีลน้อย หรื อพิธีโกน 11 คน เป็ นชาวโคชินจีน กับมีมอญ อีกคนหนึ่ง แผนกที่สอง มีไว้สาํ หรับสามเณรเล็ก แบ่งเป็ น 3 ชั้น คือชาวญวนอยูช่ ้ นั ปี ที่หนึ่ง ; ชาวจีน, ญี่ปุ่น, มะลายู, อินเดีย และโปรตุเกส อยูช่ ้ นั ปี ที่สอง ; ชาวสยามอยูช่ ้ นั ปี ที่สาม รวมทั้งหมดมีนกั เรี ยนราว 60 คน วันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1675 พระสังฆราชลาโนประกอบพิธีศีลบวช ซึ่งได้มีผบู้ วชเป็ นพระสงฆ์ 1 องค์ กับ ผูร้ ับศีลบวชขั้นต้น หรื อพิธีโกนอีก 12 คน ผูบ้ วชเป็ นพระสงฆ์ชื่อ ยวง บัปติสตา บันคายานา (Bangayana) เป็ นคนมี พื้นเพมาจากประเทศฟิ ลิปปิ นส์ อายุ 33 ปี อยูส่ ามเณราลัยมา 5 ปี แล้ว เขาพูดภาษาสเปน, โปรตุเกส และภาษาญวน ได้ "ภาษาลาตินก็พูดได้ พอสมควร" เขาผูกมัดตนด้วยการปฏิญาณว่า จะทํางานอยูใ่ นมิสซังของประมุขมิสซังจน ตลอดชีวติ เขาจึงได้รับการบวช "โดยอยู่ในความอุปการะของมิสซัง" (ad titulum missionis) วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1678 สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ ออกกฤษฎีกา ห้ามมิให้สามเณรในวิทยาลัย กลางเข้าคณะนักบวชโดยไม่ได้รับอนุญาตจากพระสันตะปาปา และสั่งให้เขาสาบานจะซื่อสัตย์ต่อมิสซังเหมือน อย่างที่สามเณรในวิทยาลัยของสมณกระทรวงเองต้องทําที่กรุ งโรม ตามกฤษฎีกาลงวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1660 วันที่ 28 สิ งหาคม และวันที่ 5 ตุลาคม ปี เดียวกัน กรุ งโรมได้ประกาศยํ้าให้ประมุขมิสซัง มีอาํ นาจที่จะบวช ชาวตะวันออกที่รู้จกั แค่อ่านภาษาลาติน แต่ไม่เข้าใจ โดยให้อยูใ่ นความอุปการะของมิสซัง (ad titulum missionis) และโดยไม่ตอ้ งรับหนังสื อจากสมณะผูป้ กครอง ท้องถิ่นของเขา สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อให้เงินอุดหนุน 1,000-1,200 เอกู แก่วทิ ยาลัยกลางหลายครั้ง พระสังฆราช ปัลลือได้รับเงินช่วยเหลือจากมิตรของท่าน แต่เงินก็ไม่พออยูเ่ สมอ และในปี ค.ศ. 1677 พระสังฆราชลาโนบ่นว่า ขาดวัตถุปัจจัย คุณพ่อชังเดอบัว ตั้งสาขาวิทยาลัยขึ้นแห่งหนึ่งที่เมืองบางกอกในปี ค.ศ. 1677 สาขาวิทยาลัยแห่งนี้มี นักเรี ยนประมาณ 12 คน ทุกคนเป็ นชาวญวนมาจากตังเกี๋ย หรื อโคชินจีน อาจารย์ของนักเรี ยนเหล่านี้คือ คุณพ่อเลอนัวรฺ กับคุณพ่อวาเชต์ คุณพ่อวาเชต์ซ่ ึ งเป็ นคนนิยม ชมชอบคนง่ายกล่าวว่า"ข้ าพเจ้ ามีความประทับใจใน ความสงบเสงี่ยมและความว่ านอนสอนง่ ายของนักเรี ยน ทั้งพอใจในการทํางานของเขาจนเป็ นการยากที่จะทําให้ ข้ าพเจ้ าชื่ นชมปี ติมากกว่ านี"้
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
42 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
โรงพยาบาล โรงพยาบาลที่กรุ งศรี อยุธยาเจริ ญเติบโตขึ้น เราจัดให้มีบา้ น 2 หลัง หลังหนึ่งสําหรับ ผูป้ ่ วยชาย อีกหลัง หนึ่งสําหรับผูป้ ่ วยหญิง ผูม้ าเข้าโรงพยาบาลมีจาํ นวนอยูใ่ นราว 50 - 90 คน ในอาคารหลังที่อยูต่ ิดกับโรงพยาบาลนี้ มีโรงจ่ายยา ซึ่งเรารักษาคนไข้ต้ งั แต่ 200 - 300 คน ทุกวัน ในบรรดายาต่างๆ ที่ใช้มากที่สุดก็มี "นํา้ มัน และนํา้ เสก" ซึ่งเราจ่ายแจกให้แก่คนเจ็บ และมีฤทธิ์ มากโดยเฉพาะสําหรับคนเป็ นโรคเรื้ อน เราจ่ายแจกนํ้าเสกให้ตามสู ตรที่ กําหนดอยูใ่ นหนังสื อจารี ต การทั้งหมดนี้ทาํ ให้พระศาสนาเป็ นที่นิยมเชื่อถือมาก เมื่อคุณพ่อลังกลัวออกเดินทางไป ประจําที่พิษณุโลกแล้ว พระสังฆราชลาโนต้องกลับไปเยีย่ มคนไข้ที่โรงพยาบาลทุกวัน ท่านใช้เวลาส่ วนตัวอยูท่ ี่นน่ั ตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึงบ่ายสามสี่ โมง วันหนึ่งขุนนางหลายคนมาที่สามเณราลัย เห็นอาคารเหล่านี้ เขาเดินเข้าไปถามคนเจ็บว่า "ใครให้ พวกเจ้ าอยู่ ที่นี่ ? ใครให้ พวกเจ้ ากิน ?" "พวกมิชชันนารี " "พวกเจ้ าให้ เงินเขาเท่ าไหร่ ?" "เขาไม่ ได้ เรี ยกร้ องอะไรหรอก และเมื่อ พวกเรากลับ เขายังให้ เสบียงเราเดินทางไป" พระเจ้าแผ่นดินทรงได้รับการกราบทูลถึงพฤติการณ์เรื่ องนี้ และเพื่อ แสดงความ นิยมยกย่อง พระองค์ทรงส่ งเก้าอี้9 ลงทองตัวหนึ่ง "คล้ ายกับธรรมาสน์ ของพระสังฆราชองค์ ใหญ่ ที่สุด ของพวกพระภิกษุ" เขาเชิญ เก้าอี้ตวั นั้นไปตั้งบนบัลลังก์ของพระสังฆราชในโบสถ์ พวกมิชชันนารี ยนิ ดีในของที่ พระเจ้าแผ่นดินทรงพระราชทานให้ พากันขับร้องบท "เต เดอุม" ขอบพระคุณพระเป็ นเจ้า
k
ความยุ่งยากกับนักพรตชาวโปรตุเกส และกับพระสั งฆราชเมืองกั seว
e c io d rch
o
ko g n a fB
ชีวติ ของพวกธรรมทูตต้องยุง่ ยากลําบากเพราะการกระทําของชาวโปรตุเกสที่ยงั ไม่หยุดยั้งที่จะใส่ ความเขา และยังคงไม่ยอมอ่อนน้อมต่อประมุขมิสซัง กรุ งโรมออกพระสมณโองการมาฉบับแล้วฉบับเล่า สั่งมาอย่างไร เขาก็ ไม่ยอมเชื่อฟัง ธรรมนูญฉบับ Cum per litteras ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1673, ฉบับ Sollicitudo Pastoralis, Illius qui charitas est กับฉบับ Decet Romanum ลงวันที่ 22 และ 23 ธันวาคม ปี เดียวกันประกาศอีกครั้งหนึ่ งว่า บรรดาประมุข มิสซังและบรรดาพระสงฆ์ของประมุขมิสซังอยูน่ อกอํานาจปกครองของพระอัครสังฆราชแห่งเมืองกัว แต่พระอัคร สังฆราชแห่งเมืองกัวก็ยงั คงเรี ยกร้องต่อไป โดยให้ประมุขมิสซังและพระสงฆ์ของประมุขมิสซังยอมอ่อนน้อม ต่อจากนั้น พระสมณโองการฉบับ Quoniam ea ลงวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1674, ฉบับ In Apostolicae Dignitatio ลงวันที่ 8 มิถุนายน และฉบับ Christianae Religionis ลงวันที่ 17 มิถุนายน ก็ออกมาในความมุ่งหมายอัน เดียวกัน พระสมณโองการเหล่านี้มาถึงเมื่อใด พระสังฆราชลาโนก็นาํ มาประกาศในโบสถ์นกั บุญยอแซฟ ที่ กรุ งศรี อยุธยา ส่ วนพวกนักพรตก็ประกาศในโบสถ์ของเขาว่า พระสมณโองการเหล่านั้นปลอมหรื อโมฆะ ที่วา่ ปลอมนั้นก็เพราะเขาบอกว่าพวกมิชชันนารี ฝรั่งเศสทําขึ้นมาเอง ส่ วนที่วา่ เป็ นโมฆะนั้นก็เพราะพระสมณโองการ ดังกล่าวพระเจ้าแผ่นดินประเทศโปรตุเกสมิได้ทรงอนุมตั ิเห็นชอบ
iv h rc
A s e
A l a
ic r o ist
H
9พระสังฆราชปัลเลอกัวบอกว่าเป็ นธรรมาสน์ (chaire) ไม่ใช่เก้าอี้ (chaise) แต่บรรดาหนังสื อที่เขียนด้วยมือ ซึ่งพูดถึงของพระราชทานนี้ ต่างเรี ยกว่าเก้าอี้ และบาทหลวง โอม็องต์ (Aumont) ที่ได้เห็นของนี้ในปี ค.ศ. 1718 ก็อธิ บายว่าเป็ นเก้าอี้ (ผูแ้ ปล)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
43
คุณพ่อบารฺ เทเลอมี ดากอสตา (d'Acosta) กับคุณพ่อยวง ดาเบรอ (d'Abreu) เป็ น พระสงฆ์ในคณะเยสุ อิตทั้ง คู่ ส่ วนพระสงฆ์อีกองค์หนึ่งมิใช่นกั พรตชื่อคุณพ่อนิโกลา เด ม็อตตา (de Motta) ทั้งสามท่านนี้เป็ นผูต้ ่อต้าน พระสังฆราชลังแบรต์อย่างหนักหน่วงที่สุด คุณพ่อดาเบรอได้รับแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะสงฆ์ (chapitre) ที่เมืองกัว ให้เป็ นผูต้ รวจการสังฆมณฑล (évêché) เมืองมะละกา เพื่อปราบสิ่ งที่เขาเรี ยกว่า "การกระทําเกินอํานาจของ พระสังฆราชแห่ งเบริ ธ" ส่ วนคุณพ่อนิโกลา เด ม็อตตานั้น ได้รับการแต่งตั้งจากพระอัครสังฆราชแห่งเมืองกัว ให้เป็ น Vicaire de vara 10 เพื่อต่อต้านบรรดาประมุขมิสซัง นักพรตทั้งสองได้ปฏิบตั ิการสมกับที่เขามุ่งหวังทุก ประการมิใช่แต่ท้ งั สองได้กล่าวคําใส่ ร้ายพระสังฆราชฝรั่งเศสเท่านั้น แต่ยงั ไม่คาํ นึงถึงข้อกําหนด กฎเกณฑ์ของเขา สักข้อเดียว ทั้งยังได้ชกั ชวนให้คริ สตังชาวโปรตุเกสทําตามอย่างเขา ซึ่ งเราก็ไม่จาํ เป็ นต้องบอกว่าคริ สตังเหล่านั้น เชื่อฟังเป็ นอันดี พระสังฆราชลาโนสั่งห้ามมิให้ประกอบพิธีมิสซาตามบ้านเอกชน แต่คุณพ่อดาเบรอก็ยงั ประกอบพิธีมิสซา สัปดาห์ละหลายครั้ง ตามบ้านของครอบครัวที่อาศัยอยูใ่ กล้โบสถ์ของพระสงฆ์ เยสุ อิต คุณพ่อฟราโกโซประกอบ พิธีศีลสมรสที่กระทําในระหว่างญาติพี่นอ้ ง โดยไม่ขอหนังสื อ ยกเว้น พระสังฆราชลาโนประกาศลงโทษ อินแตรฺ ดิกโต (Interdicto) แต่เขาก็ไม่เกรงกลัว พระสังฆราชจึงฟ้ องเขาไปยังกรุ งโรม แล้วคุณพ่อฟราโกโซ กับคุณพ่อดา เบรอ จึงต้องออกจาก กรุ งสยามไป ในช่วงเวลานั้น พระสังฆราชปั ลลืออยูท่ ี่กรุ งโรม ท่านบรรยายให้เห็นถึงสถานการณ์ยงุ่ ยากลําบากที่เกิดขึ้น แก่ประมุขมิสซัง เพราะพวกนักพรตชาวโปรตุเกสไม่ยอมนอบน้อมเชื่อฟัง สมณกระทรวงเผยแพร่ จึงวินิจฉัยว่าการ ปกครองกลุ่มชาวโปรตุเกสในประเทศที่ไม่อยูใ่ นอํานาจของประเทศโปรตุเกสโดยเฉพาะในกรุ งสยามนั้น ให้ได้แก่ บรรดาประมุขมิสซัง และดังนั้นในค่ายชาวโปรตุเกสที่กรุ งศรี อยุธยาอยูใ่ นเขตมิสซังกรุ งสยาม ในฐานะเดียวกับ ประเทศสยามส่ วนอื่นๆ คําสั่งนี้ สามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศเห็นว่า จะต้องทําให้เกิดการขัดขวางอย่างรุ นแรง และแล้ววันที่ 30 ธันวาคมปี เดียวกัน คุณพ่อเดอ บรี ซาซีเอร์ (de Brisacier) เขียนไว้วา่ "เมื่อพิจารณาว่ าค่ ายของชาวโปรตุเกสซึ่ ง หนังสื อ Relation ของพระสงฆ์ เยสุอิตอ้ างว่ ามีคนถึง 5,000 คนนั้นอยู่ในอํานาจปกครองของพระสังฆราช ก็น่าจะ สงสัยว่ าบรรดาคุณพ่ อเยสุอิตชาวโปรตุเกส ซึ่ งจําต้ องสาบานจะเชื่ อฟั งกฤษฎีกาทุกฉบับของสมณกระทรวงนั้น จะต้ องมีความยากลําบากเป็ นพิเศษที่จะรั บข้ อนี "้ พระสังฆราชปั ลลือก็มีความเห็นอย่างเดียวกัน ฉะนั้นท่าน จึงอยากให้มีการผ่อนปรนในการปฏิบตั ิ ท่าน เขียนว่า "ข้ าพเจ้ าอยากให้ พระสังฆราชแห่ ง เมแตลโลโปลิสมอบอํานาจให้ คุณพ่ อเดม็อตตา เพื่อเห็นแก่ ประโยชน์ ของความสงบ ปล่ อยให้ ท่านเป็ นอิสระที่จะใช้ อาํ นาจนั้น หรื อจะใช้ อาํ นาจของเมืองกัวตามมโนธรรมของท่ าน" ในปี ค.ศ. 1678 คําสั่งของอธิ การใหญ่ของพวกสงฆ์ดอมินิกนั มาถึงกรุ งสยาม สั่งให้ คุณพ่อโยเซฟ กอเรอา (Correa) รับรู ้อาํ นาจของประมุขมิสซังอย่างเปิ ดเผย คุณพ่อกอเรอาก็ทาํ ตามที่ได้รับคําสั่ง วันที่ 29 เมษายนปี เดียวกัน ท่านแสดงให้พระสังฆราชลังแบรต์ดูหนังสื ออนุญาต ซึ่งรับมาจากอธิการ คือ คุณพ่อฮิอาชินโท แห่งมังสาวตาร อุปสังฆราชประจําเอเชียอาคเนย์ และขออนุญาตให้ท่านสามารถใช้อาํ นาจของ ท่าน ซึ่งพระสังฆราชก็อนุญาตให้ในทันที
k
iv h rc
A s e
A l a
ic r o ist
e c io d rch
H
10คํา Vicaire de vara นี้ยงั ไม่ทราบว่าเป็ นตําแหน่งอะไรอย่างแน่ชดั (ผูแ้ ปล)
o e s
ko g n a fB
44 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
พวกพระสงฆ์เยสุ อิตเป็ นพวกที่ยอมอ่อนน้อมช้ากว่า อธิการใหญ่ของคณะขอในบันทึก ช่วยจําให้ยกเลิก คําสั่งที่ออกไปแล้ว แต่ขอไม่ได้ จึงออกคําสั่งให้ทาํ ตามที่ส่งั ดังนั้นวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1681 พระสงฆ์เยสุ อิต ที่อยุธยาจึงรับรู ้อาํ นาจของพระสังฆราชลาโนอย่างเป็ นทางการ ยังมีการต่อสู้กนั เกี่ยวกับคุณพ่อหลุยส์ แห่ง พระมารดา พระเจ้า (Luis da Madre de Deus) ด้วยคุณพ่อองค์น้ ีเป็ นพระสงฆ์ฟรังซิสกันชาวโปรตุเกส ที่ได้รับ อนุญาตจากอธิการมาทํางานในกรุ งสยามภายใต้อาํ นาจปกครองของประมุขมิสซัง นักพรตองค์หนึ่งในคณะของท่าน คือ คุณพ่ออันโตนีโอ แห่งนักบุญคาธารี นาได้เขียนจดหมายยืดยาวตําหนิความประพฤติของท่านถือท่านเป็ นผูล้ ะ ทิ้งหน้าที่และศาสนาเจ้าหน้าที่ในสมณกระทรวงสํานักงานศักดิ์สิทธิ์ ได้ประกาศบัพพาชนียกรรม ท่านพระสังฆราช ลังแบรต์ได้ส่งหนังสื อถึงกรุ งโรม และช่วยคุณพ่อหลุยส์ให้พน้ จากบัพพาชนียกรรมดังกล่าว เรื่ องนี้ได้รับอนุมตั ิเห็นชอบโดยกฤษฎีกาของสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ ลงวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1678 แต่เท่านี้ยงั ไม่พอ ยังต้องช่วยป้ องกันคุณพ่อองค์เดียวกันนี้ สู้กบั รองเจ้าคณะแขวง ซาน โทเม คือ คุณ พ่อเอมมานูแอล แห่งนักบุญนิโกลา การโจมตีเหล่านี้สิ้นสุ ดลงในปี ค.ศ. 1685 หลังจากพระสังฆราชลาโนได้รับ อนุญาตโดยกฤษฎีกาแห่งสมณกระทรวง เผยแพร่ ความเชื่อลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ให้คืนแก่คุณพ่อหลุยส์ ซึ่งอภิสิทธิ์ ทุกอย่างของ คณะฟรังซิ สกัน ที่อธิการได้ยกเลิกไป
k
สาบานจะนอบน้ อมเชื่อฟังประมุขมิสซัง
o e s
ko g n a fB
ในปี ค.ศ. 1680 ได้มีการวางมาตรการประการหนึ่ง ซึ่ งมีผลเกี่ยวกับคนจํานวนมาก และมีผลเกี่ยวกับ กรุ งสยามด้วย คือ เมื่อวันที่ 29 มกราคม พระสันตะปาปาได้ทรงมีพระบัญชา ให้นกั พรตที่เป็ นมิชชันนารี ทุกท่านใน ภาคตะวันออกไกล ทําการสาบานจะนอบน้อมเชื่อฟังประมุขมิสซัง ครั้งนี้มหาอํานาจฝ่ ายบ้านเมืองได้เข้ามา สอดแทรก กล่าวคือ ประเทศโปรตุเกส ได้เสนอ 1. จะให้เงินรายได้แก่สังฆมณฑลที่พระสันตะปาปาจะตั้งขึ้นในเขตมิสซังต่างๆ ขอเพียงแต่ให้ผปู้ กครอง สังฆมณฑลเหล่านั้นเป็ นชาวโปรตุเกส 2. จะจัดให้คณะสงฆ์ชาวพื้นเมือง ได้รับค่าเลี้ยงดู
A l a
iv h rc
ic r o ist
e c io d rch
A s e
แต่สองเรื่ องนี้เป็ นเรื่ องที่ประเทศโปรตุเกสไม่สามารถจะทําได้ เพราะยากจน ประเทศโปรตุเกสยังขู่จะถอน เงินอุดหนุนที่ให้แก่มิชชันนารี ในประเทศจีนและประเทศญี่ปุ่นด้วย เมื่อไม่มีใครรับข้อเสนอดังกล่าว ประเทศ โปรตุเกสก็ยอมรับประมุขมิสซังในภาคตะวันออกไกล ขอเพียงแต่อย่าส่ งชาวฝรั่งเศสมาอีก ฝ่ ายพระเจ้าหลุยส์ ที่14 ก็ขดั ขวางการสาบานจะนอบน้อมเชื่อฟังประมุขมิสซัง โดยอ้างว่าการสาบานเช่นนี้ลบหลู่อาํ นาจของพระองค์ โดย ให้ประมุขมิสซังมีอาํ นาจเด็ดขาดเหนือพสกนิกรบางคนของพระองค์ ยิง่ กว่านั้น เรายังกลัวกันอยู่ พักหนึ่งว่า ถ้าไม่ ถอนพันธะต้องสาบานดังกล่าวแล้ว พระองค์จะทรงห้ามมิให้สามเณราลัย คณะมิสซังต่างประเทศรับผูท้ ี่ใฝ่ ใจจะไป แพร่ ธรรม สถานการณ์น่ากลัวจนพระสังฆราชปัลลือ ขอให้ยกเลิกการสาบานดังกล่าว แต่กรุ งโรมได้ปฏิเสธไม่ยอม เมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1680 แต่ได้ยนิ ยอมให้มีการประนีประนอม คือ ยอมให้บรรดานักพรตที่เป็ นมิชชันนารี ชาวฝรั่งเศส แถลงว่า เขาสาบานโดยได้รับอนุญาตจากพระเจ้าแผ่นดิน
H
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
45
ที่กรุ งศรี อยุธยา พระสังฆราชปั ลลือกล่าวว่า คุณพ่ออังตวน โทมา แห่งคณะเยสุ อิต ได้ใช้ "เล่ ห์กลบางอย่ าง เพื่อขอบัตรแสดงว่ าได้ ปฏิ บัติจนเป็ นที่พอใจแล้ ว (satisfecit) จากพระสังฆราชลาโน โดยไม่ ต้องสาบาน" ซึ่งเมื่อ วันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1684, วันที่ 14 กุมภาพันธ์ และ วันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1685 กรุ งโรมได้สั่งให้สัตบุรุษ และนักพรต ในภาคตะวันออกไกลนอบน้อมเชื่อฟังประมุขมิสซัง และซึ่ งจํากัดอํานาจปกครองของอัครสังฆราช แห่งเมืองกัว ด้วยกฤษฎีกาเหล่านี้เอง ได้ตาํ หนิพระสังฆราชลาโนที่ยอมโอนอ่อนในหนังสื อลงวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1686 เมื่อพระสังฆราชปั ลลือถึงแก่มรณภาพในปี ค.ศ. 1684 "อันเป็ นปี ที่สิ้นสุดพายุร้าย" ตามที่คุณพ่อตาชารด์ เขียนแสดงความคิดในใจของตนเองและของคนอื่นอีกหลายคนนั้น กฤษฎีกา ฉบับหนึ่งลงวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1683 สั่งให้หยุดยั้งการสาบานดังกล่าวสําหรับนักบวช คณะเอากุสติเนียน คณะดอมินิกนั และคณะฟรังซิสกัน และกฤษฎีกาอีกฉบับหนึ่งลงวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1689 สั่งให้หยุดยั้งสําหรับนักบวชคณะเยสุ อิต
ok k gกสองสาม การต่อสู ้ตอนที่ฉกาจฉกรรจ์ที่สุดผ่านพ้นไปแล้ว เรายังจะต้องชี้ให้ดูการสู้กนั อย่าง ประปรายอี n a ครั้งในสมัยที่พระสังฆราชเดอ ซีเซ Cicé) และพระสังฆราชเดอ เกราเล éf B เป็ นพระสังฆราช oขมิสซังและมิชชันนารี ของ จากพฤติการณ์อนั น่าเศร้าสลดครั้งนี้ ยังคงเหลือความเกลียดชังอย่างรุ นแรงต่e อประมุ s าหนึ่งศตวรรษหลังจากเหตุการณ์ ประมุขมิสซัง และในหมู่คริ สตังที่สืบเชื้อสายมาจากชาวโปรตุเกส และเวลากว่ e c o ที่เราเพิง่ เล่าย่อๆ มานี้ ยังมีคริ สตังเหล่านี้บางคน เมื่อพระสงฆ์ ชาติเดียวกับเขาไม่อยู่ จะยอมตายโดยไม่รับ i dบเหตุการณ์เช่นนี้ ซึ่งเมื่อพิจารณาดูห่างๆ และอย่าง h ศีลศักดิ์สิทธิ์ ดีกว่าที่จะพึ่งพาพระสงฆ์ชาวฝรั่งเศส เมื่อประสบกั c r ใจเย็นจะต้องเห็นเป็ นเรื่ องแปลกประหลาดเป็ นอย่างน้A อย ทางที่ดีที่สุดก็ดูเหมือนจะเป็ นการงดเว้นไม่ทาํ การวิจารณ์ s้ คงจะไม่อุบตั ิข้ึนมาอีก e และติชมใดๆ และพอใจที่หวังว่าเหตุการณ์ เ ช่ น นี iv h c r A พระสังฆราชลังแบรต์l เดอ ลา ม็อต ถึงแก่มรณภาพ a c i บทบาทของท่ า น r o t s i H ในขณะเดียวกันกับที่ทรงสนับสนุนบรรดาประมุขมิสซังต่อสู้กบั ปรปักษ์ของท่านนั้น พระสันตะปาปา ผลที่เกิดจากการพิพาทกันเหล่านี้ (de
(de Qu raley)
อินโนเซนต์ ที่ 11 ทรงส่ งพระสมณสาสน์ที่มีคาํ ชมเชยมาถึงพระสังฆราชลังแบรต์ และพระสังฆราชลาโน สําหรับ พระสังฆราชองค์แรก อนิจจา ! พระสมณสาสน์ฉบับนี้ เมื่อมาถึง คงเป็ นแต่คาํ กล่าวสดุดีผตู้ าย เพราะพระสังฆราช ลังแบรต์ถึงแก่มรณภาพได้กว่า 3 เดือนแล้ว ท่านได้สิ้นชีพเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1679 ที่กรุ งศรี อยุธยา หลังจากอาพาธอย่างทรมานเป็ นเวลายาวนาน แต่ท่านก็สู้ทนอย่างศรัทธาและด้วยความมานะกล้าหาญ คุณพ่อเกม เขียนไว้วา่ "ท่ านทนทุกข์ ทรมานมากเท่ าที่จะทนทุกข์ ทรมานได้ ช่ างเป็ นที่น่าเวทนา เมื่อได้ ยินท่ านส่ งเสี ยงร้ องเวลา เจ็บปวดขึน้ อีก และท่ านก็เจ็บปวดเช่ นนั้นเกือบทุก 15 นาที หรื อครึ่ งชั่วโมง แม้ ว่าประสาทต่ างๆ ของท่ านปั่ นป่ วน และมีความทุกข์ แต่ ท่านก็มีความสงบในใจอย่ างลึกซึ ้ง ปากท่ านไม่ พรํ่าคําอื่นใดนอกจากคําว่ า "โปรดให้ ข้าฯ เจ็บปวดยิ่งขึน้ แต่ โปรดให้ มีความอดทนยิ่งขึน้ ด้ วยเถิด !"(Auge dolorem, auge patientiam)
46 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
นอกจากคําที่พวกมิชชันนารี กล่าวสรรเสริ ญท่านและเรานํามาเผยแพร่ แล้ว เราขอเพิ่มคําที่คุณพ่อ เดอ กูรฺโต แล็ง กล่าวชมเชยท่านอีกสองสามบรรทัด ต่อไปนี้: "ท่ านลังแบรต์ เป็ นดังนกอินทรี ย์ที่บินเหนือเมฆ ท่ านภาวนาและอยู่โดดเดี่ยว คนเดียวตลอดเวลา แต่ ถึง กระนั้น ท่ านตื่นเฝ้ าอยู่อย่ างน่ าพิศวง จนท่ านไม่ ละโอกาสแม้ แต่ น้อยที่จะช่ วยมิชชันนารี ของท่ านให้ ได้ รับ ประโยชน์ และความก้ าวหน้ า ท่ านมีเรื่ องร้ ายๆ และยุ่งยากลําบากกับชาวโปรตุเกส พวกแขกมุสลิมและชาว จีน แต่ ท่านก็บังคับให้ คนเหล่ านั้นปล่ อยท่ านอยู่อย่ างสงบ และไม่ ขวางกั้นทางภารกิจต่ างๆ ของท่ าน ท่ าน ทําเช่ นนีไ้ ด้ โดยไม่ ก่อศัตรู แม้ แต่ คนเดียว" พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต สมจะได้รับคําสรรเสริ ญเหล่านี้ หลังจากขอให้ต้ งั มิสซังขึ้นเป็ น ผลสําเร็ จ โดยร่ วมใจกับพระสังฆราชปั ลลือ และหลังจากท่านช่วยตั้งคณะมิสซัง ต่างประเทศและเตรี ยมก่อตั้งสาม เณราลัยในกรุ งปารี สแล้ว ท่านก็อุทิศตนอย่างสิ้ นเชิงในการ จัดระเบียบ โดยเฉพาะของมิสซังต่างๆ เดินทางจาก กรุ งสยามไปประเทศตังเกี๋ย และประเทศโคชินจีน บทบาทโดยเฉพาะของท่านในกรุ งสยาม สรุ ปเป็ นความย่อๆ ได้ ว่า ต้องสู ้รบกับชาวโปรตุเกส,ดําเนินการให้มีความสัมพันธ์ฉนั มิตรกับรัฐบาล, จัดระเบียบวิทยาลัยกลาง, บวช พระสงฆ์พ้ืนเมือง, ตั้งคณะสตรี ผรู ้ ักไม้กางเขน และโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ทั้งหมดนี้ลว้ นเป็ นสิ่ งที่เทิดเกียรติของพระ ศาสนาคาทอลิก และดูเหมือนจะช่วยเผยแพร่ พระศาสนานั้นให้ขยายกว้างออกไป.
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB