จุดเริ่มต้นพระศาสนจักรไทย

Page 1

ประวัตศิ าสตร์ พระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย


I. จุดเริ่มต้ นคริสตศาสนาในสยาม + เข้ ามาครั้งแรก ของ Nestorians : ธรรมชาติพระและธรรมชาติ มนุษย์ ของพระเยซูแยกจากกัน มารีย์จึงไม่ ใช่ แม่ ของพระเจ้ า - 1511 ความสั มพันธ์ กบั Portugal - 1544 Antonio da Paiva - 1552 Francesco Xaverio Sir James Lanchester 1592 “สยาม”








II. มิชชันนารีในสมัยอยุธยา 1) Dominicans 1567 2 ท่ าน - ชื่อ Jeronimo da Cruz , Sebastiao da Canto - ปี 1567 จากเอกสาร ของ Provincial ปี 1569 จากเอกสาร Chapter ปี 1571




- จุดประสงค์ ของการเข้ ามา ดูแลวิญญาณ ชาว Portuguese

- อุปสรรคของการประกาศพระศาสนา 1. ความอิจฉาริษยาของมุสลิม 2. ศาสนาใหม่ และเป็ นศาสนาของคนต่ างชาติ 3. ตัวอย่ างไม่ ดีและการล่ าอาณานิคม 4. ท่ าทีของพระเจ้ าแผ่ นดิน 5. พุทธศาสนา 6. การสงครามกับพม่ า





2) Franciscans และ Augustinians จากหนังสื อ Portugal na Tailandia (M Teixeira) Franciscans เข้ ามาปี 1582 Augustinians เข้ ามาปี 1677 3) Jesuits ก) ความพยายามครั้งแรก - Balthasar Segueira ชาวโปรตุเกส เข้ ามาปี 1607 ทํางานในอินเดีย 30 ปี อยู่ในสยาม ประมาณ 2 ปี ครึ่ง






- สาเหตุการเข้ ามา พระเอกาทศรถ (1605-1610) ส่ งคณะฑูต พบผู้แทน กษัตริย์โปรตุเกสทีเ่ มือง Goa และส่ งจดหมายให้ พระสหายคือ Tistao Golayo ชวนให้ มาสยาม Golayo เป็ นเพือ่ นทีด่ ีของคณะ jesuit ที่ India - สาเหตุของความล้ มเหลว 1. Segueira ชรามากแล้ ว และป่ วย (55 หรือ 59 ปี ) เสี ยชีวติ ที่ Piple (เพชรบุรี) 2. จํานวนมิชชันนารี 1 คน ในการทํางาน น้ อยเกินกําลัง


ข) ความพยายามครั้งที่ 2 (1626-1632) 1. คุณพ่อ Morejon , spanish อายุ 63 ปี - สาเหตุการเข้ ามา - เพือ่ กลับไปญีป่ ุ่ นสถานทีท่ ่ านเคยทํางาน ตั้งแต่ ปี 1586 1625 มาสยามเพือ่ ดูสถานการณ์ และไปญีป่ ุ่ น - Spain กับ สยาม มีความไม่ เข้ าใจกัน Spain ยึดเรือชาว Dutch ในแม่ นํา้ เจ้ าพระยา ทหารสยามจับกัปตันและทหารอีก 30 คน


- Morejon คุ้นเคยกับญีป่ ุ่ น ทหารองครักษ์ กษัตริย์สยาม เป็ นญีป่ ุ่ น และสู้ รบกับทหารสเปน อธิการที่ Macau จึงส่ งให้ Morejon 1. ก่ อตั้งสยามเป็ นดินแดนแพร่ ธรรม 2. ปลดปล่ อยเชลยชาวสเปนทีอ่ ยู่ในคุก - ภารกิจสํ าเร็จ - การปลดปล่ อยชาวสเปน ท่ านก็เดินทางกลับ


2. คุณพ่อ Antonio Cardim , portuguese - สาเหตุการเข้ ามา - ภารกิจทีแ่ ท้ คอื ไปลาว - ท่ านกับ Morejon สร้ างบ้ านเยซูอติ หลังแรก มีวดั ด้ วย (ค่ ายญีป่ ุ่ น ?) - บันทึกเรื่องราวทีเ่ กิดขึน้ ทีส่ ยาม (1645) และตีพมิ พ์ ในสมัยนั้น ให้ ข้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์ - 1629 ป่ วยและเดินทางไป Manila




3. Romano Nixi , japanese - อภิบาลชาวญี่ปุ่นในสยาม 400 คน - ถูกคริสตังเลวคนหนึ่งใส่ ร้าย ถูกจับ และขังคุก - ทหารญี่ปุ่นช่ วย Nixi ออกมาได้ - ทหารหลวงโจมตีค่ายญี่ปุ่น 1632 - Nixi หลบหนีได้ ไปกัมพูชา และ Mocao เสี ยชีวติ 4. Giulio Cesare Margico , Italian - ถึง 1627 - ชาวสยามเกลียดชังชาวสเปนทีท่ ําสงครามโจรสลัด และเข้ าใจว่ า Margico มีสวนรู้ เห็น - ถูกคริสตังเลวใส่ ร้าย พร้ อมกับ Nixi ถูกจับขังคุก และถูกวางยาพิษ ตายในคุก


ค) ความพยายามครั้งที่ 3 1. Giovanni Filippo de Marini, Italian - เข้ ามาถึง 15 ก.พ. 1642 - เขียนบันทึกเรื่องราวสยาม และได้ รับการตีพมิ พ์ - จุดมุ่งหมายเพือ่ ไป ญีป่ ุ่ น มิได้ มาแพร่ ธรรม ออกจากสยาม 1643 2. Tomasso Valguarnera , Italian - ครั้งแรก 1655 - 1670 1670 - 1675 ผู้ตรวจการแขวงจีนและญีป่ ุ่ น - ครั้งสอง 1675 - 1677 เสี ยชีวติ 1677




- สาเหตุการเข้ ามา - อภิบาลคริสตังชาวญีป่ ุ่ น ตามทีเ่ ขียนขอมา - 1656 สร้ างบ้ านพัก พร้ อมวัด ในค่ ายโปรตุเกส และเป็ นอธิการองค์ แรก - 1666 มีโรงเรียนในบ้ านพักด้ วย - 1660 – 1670 สร้ างวิทยาลัย San Salvador จากเงินของ กัปตันโปรตุเกส Sebastiao Andreas เข้ าเป็ น Brother และเสี ยชีวติ ทั้งเงินและทรัพย์ สิน 14,000 Scudi Romani เพือ่ สร้ างวิทยาลัย - พระเจ้ าแผ่ นดิน ให้ สร้ าง ป้ อมปราการทีก่ รุงเทพฯ นนทบุรี อยุธยา หัวเมือง และตําหนักใหม่ ทีล่ พบุรี - เขียนงานเป็ นภาษาสยามหลายชิ้น เช่ น พจนานุกรมภาษา สยาม แต่ ยงั หาไม่ พบ




3. John Baptist Maldonado , Belgian - ในอยุธยา 1673 – 1691 เป็ นอธิการ - เป็ นผู้นําในการสาบานนอบน้ อมต่ อทหารฝรั่งเศส - เยีย่ ม ท่ านลาโน ทีค่ ุกและช่ วยเหลือ





SUPPOSED TO BE THE DOMINICAN CHURCH





JAPANESE CAMP IN AYUTTHAYA



OBJECTS FOUND




SUPPOSED TO BE

THE JESUIT CHURCH




WAT TAWET






สรุปงานของ Jesuit ในสยาม สมัยอยุธยา 1. จุดประสงค์ ของการเข้ ามา ไม่ ใช่ เพือ่ สยามโดยตรงเลย 2 การเข้ ามาไม่ ต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ 1655 – 1709 มี 30 องค์ มีระยะเวลาทีข่ าดช่ วงไปด้ วย 3. เป็ นมิชชันนารี ทีม่ ีใจร้ อนรน มีความสามารถ 4. Inculturation ไม่ ประสบผลสํ าเร็จ De Nobili , Matteo Ricci, Valguarnera


III ภูมิหลังประวัตศิ าสตร์ พระศาสนจักรคาทอลิกในสยาม 1) สั งคายนาเมืองเตรนโต (Trento) (1545-1563) - การแยกตัวของสั ทธิความเชื่อต่ างๆ Lutheran, Anglican, Calvin, Zwingli, etc. - แนวคิดทางเทววิทยา และแนวทางปฏิบัติใหม่ ๆ - ชีวติ ของพระศาสนจักร - Hierarchy : Nepotism, Absentism, Benefices, Secularism - ชีวติ ของพระสงฆ์


- ชีวติ ของฆราวาส - ฟังเทศน์ 100 ครั้ง ต่ อปี - ภาพศักดิ์สิทธิ์, บทภาวนาต่ างๆ - แก้บาปรับศีลตามกําหนดปาสกา, รับพระคุณการุณย์ - อดอาหาร และใช้ โทษบาป 160 วันต่ อปี - สร้ างแท่ น แห่ พระรูปต่ างๆ แสวงบุญ - กลัวบาป ปี ศาจ เชื่อเรื่องพ่ อมดหมอผี โชคลาง อัศจรรย์ ไสยศาสตร์ และซูแปรติซัง - พระคุณการุ ณย์ เป็ นหนทางแห่ งความรอด เคารพพระธาตุได้ - พระคุณการุ ณย์ 2 ล้ านปี เป็ นต้ น


- จุดประสงค์ เพือ่ - ตัดสิ นลงโทษเฮเรติ๊ก - ปฏิรูปพระศาสนจักร - เพือ่ ความเป็ นหนึ่งเดียว ต้ านพวกเติร์ก - สรุ ปข้ อคําสอนและคําสั่ ง 1. ศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ 2. นอกพระศาสนจักร ไม่ มีความรอด 3. พระศาสนจักรตีความพระคัมภีร์ 4. การเตรียมตัวเป็ นพระสงฆ์ 5. ปฏิรูปพระศาสนจักร Absentism และ Benefices


2) ระบบ Padroado คือสั ญญาระหว่ างพระศาสนจักรกับรัฐ ต้ นกําเนิดของระบบ Padroado 1. การเดินเรือ เริ่มต้ นโดย Henry, the Navigator 21 ส.ค. 1415 พบเกาะ Ceuta และยึดไว้ ได้ Pope ให้ อาํ นาจในการ ปกครองดินแดนทีไ่ ด้ รับมา พระเจ้ าเฮนรี่ พยายามนําคริสตศาสนา เข้ าไปในดินแดนใหม่ - ประเทศสเปนขึน้ มาเป็ นมหาอํานาจ เอาชนะแขกมัวร์ (714-1469) Ferdinando และ Isabella สมรสกัน 1469 รวมอาณาจักรเข้ า ด้ วยกัน 1492 ไล่ แขกมัวร์ และยึดกรานาดา ทีส่ ุ ดรวมโปรตุเกส ปี 1580 - 1640


- ความยิง่ ใหญ่ ของสเปน โดย Cristoforo Columbus ค้ นพบ อเมริกา 1492 - Bulla ของ Pope Alexander 6 และการแบ่ งโลก 2. การรุ กรานของพวกแขกมัวร์ ยึด Constantinople ได้ 29 พ.ค. 1453 3. เอกสารมอบสิ ทธิพเิ ศษของ Pope ตั้งแต่ ปี 1418 สิ ทธิทมี่ อบให้ - การค้ นพบดินแดนใหม่ ถูกสงวนไว้ เฉพาะโปรตุเกส - อํานาจในการเจรากับผู้ค้นพบดินแดนใหม่ รวมถึงมุสลิมด้ วย - สร้ างวัดวาอาราม และจัดหาคณะนักบวช - เสนอชื่อผู้จะเป็ นสั งฆราช


ระเบียบของ Padroado - ธรรมฑูตต้ องโดยสารเรือของโปรตุเกสเท่ านั้น - ออกเดินทางจากลิสบอน ต้ องเรียนภาษาและชื่อโปรตุเกส - ปฏิญาณซื่อสั ตย์ ต่อกษัตริย์โปรตุเกส - ภายใต้ การนําของพระสงฆ์ โปรตุเกส จุดอ่ อนของระบบ - ไม่ ส่งเสริมพระสงฆ์ พนื้ เมือง - ไม่ นิยมเข้ าไปตั้งถิ่นฐานในแผ่ นดิน - ไม่ สามารถตอบสนองประเทศมิสซังได้


3) สมณกระทรวงเผยแผ่ ความเชื่อ (Propaganda Fide) จุดอ่อนของโปรตุเกส ทําให้ Pope Gregory 15 ตั้งกระทรวงนีข้ นึ้ 6 ม.ค. 1622 จากการตรวจสอบ ปี 1625, 1628, 1644 สรุ ปสภาพของการ แพร่ ธรรมได้ - ความขัดแย้ งระหว่ าง สั งฆราชกับนักบวช, นักบวชกับนักบวช - การค้ าขายของนักบวช - ไม่ สนใจภาษาและวัฒนธรรมท้ องถิ่น - เขตสั งฆมณฑลกว้ างเกินไป - ธรรมฑูตยุ่งกับการเมือง - ไม่ เตรียมสงฆ์ พนื้ เมือง - ไม่ ประกาศสมณสารของ Pope ในเขตมิสซัง


ก) จุดมุ่งหมายของการส่ ง Vicaire Apostolique - ความหมายของตําแหน่ ง Vicaire Apostolique - ไม่ ล่วงลํา้ สิ ทธิพเิ ศษของโปรตุเกส - ปฏิเสธบางดินแดนว่ าขึน้ ต่ อโปรตุเกส (jurisdiction) ข) ข้ อคําสอนของ Propaganda Fide - Famous Instruction ปี 1659 1. ก่อนออกเดินทาง - คุณสมบัติของผู้ร่วมงาน - ความร้ อนรนในทางศาสนา - อายุและสุ ขภาพเหมาะสม - ส่ งรายชื่อให้ แก่ สมณฑูตทีป่ ารีส


- การติดต่ อสื่ อสาร ต้ องแน่ นอน ปลอดภัย ทั้งวิธีการและ คนทีไ่ ว้ ใจได้ ออกเดินทางเร็วทีส่ ุ ด ลับทีส่ ุ ด 2. ระหว่ างการเดินทาง - ใช้ เส้ นทางบก ผ่ านเปอร์ เซีย และมองโกล - บันทึก และสั งเกตุทุกอย่ างทีพ่ บ ส่ งกลับไปกระทรวง 3. ภารกิจทีต่ ้ องกระทํา - ตั้งคณะสงฆ์ พนื้ เมือง - ห้ ามยุ่งกับการเมือง และการค้ าขาย - ประยุกต์ วฒ ั นธรรม และประเพณีของประชาชน - จัดตั้งการศึกษา ทั้งทางศาสนาและวิชาการ


4) คณะสงฆ์ M.E.P - พ่ อ Alexandre de Rhodes เสนอ Pope และไป Paris 1652 เพือ่ นสงฆ์ เยซูอติ 20 องค์ สนใจ - Lambert de la Motte และ Francois Pallu


MGR. PALLU AND MGR. LAMBERT DE LA MOTTE


MGR. COTOLENDI AND POPE SENT THE VICAIRES APOSTOLIQUES


IV. การเข้ ามาของคณะสงฆ์ M.E.P.ในกรุงศรีอยุธยา - เข้ ามาในฐานะ Vicaire Apostolique - จุดมุ่งหมายเพือ่ รอเวลาเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางทีแ่ ท้ จริง - เตรียมตัวก่ อนออกเดินทาง - ตั้งสามเณราลัย เตรียมธรรมฑูต - พิมพ์หนังสื อเกีย่ วกับมิสซังจีน - ภารกิจจะสํ าเร็จได้ - สั งฆราชต้ องมีผู้ช่วย 4-5 คน เดินทางไปด้ วย - เงินค่ าเดินทางสํ าหรับ 2 ปี - เงินทุนของพระสงฆ์ - เครื่องใช้ ต่างๆ NB. Rome ไม่ มีภาระหาเงินช่ วยธรรมฑูต


- กลุ่มแรก - Lambert de la Motte , Bishop of Beryth และสงฆ์ 2 องค์ ถึง อยุธยา 22 ส.ค. 1662 (De Bourges, Deydier) - กลุ่มสอง - Ignatio Cotolendi สงฆ์ 2 องค์ และฆราวาส 1 คน Cotolendi และฆราวาส เสี ยชีวติ ระหว่ างทาง - กลุ่มสาม - Francois Pallu , สงฆ์ 7 องค์ , ฆราวาส 2 ตายระหว่ างทาง 6 คน ถึงอยุธยา 24 มกราคม 1664 สรุป : จากฝรั่งเศส 17 คน ถึง สยาม 9 คน ตายกลางทาง 8 คน


คุณพ่อDe Bourgesได้ เขียนหนังสื อบรรยายการเดินทางไว้ กรมศิลปากรแปล ชื่อว่ า “จดหมายเหตุการเดินทางของพระสั งฆราชแห่ งเบริธ ประมุขมิสซังสู่ อาณาจักรโคจินจีน” สุ รปความได้ ว่า - เดินทางเข้ าตะวันออกกลาง ไปมองโกล อินเดีย มะริด ตะนาวศรี กุยบุรี ปรานบุรี เพชรบุรี อยุธยา จึงใช้ เวลานานกว่ าปกติ - ไม่ มีประเทศใดในโลก ทีม่ ีศาสนามากมาย และเสรี คาทอลิก 2000 ส่ วนใหญ่ เป็ นโปรตุเกส มีโบสถ์ กลาง 2 แห่ ง คือ Dominican และ Jesuit - ลักษณะของชาวสยาม - เล็งเห็นผลประโยชน์ จากชาวต่ างชาติ - ชาวสยามเห็นว่ า ทุกศาสนานั้นดี


V. ความขัดแย้งระหว่าง Padroado และ Vicaire Apostolique ความคิดเห็นของ Vicaire Apostolique - Jesuit ในตังเกีย๋ ถูกไล่ ออกจากดินแดน - P.F และ M.E.P. คิดว่ า เป็ นการปฏิรูปพระศาสนาจักร แม้ จะต้ องมี ความไม่ เข้ าใจกันเกิดขึน้ - สถานการณ์ เบือ้ งต้ น แสดงว่ า ไม่ น่ามีปัญหา 1. พ่ อ Cardozo, s.j. ทีต่ ะนาวศรี ต้ อนรับอย่ างดี เชิญไปโปรดศีลกําลังด้ วย 2. สนทนากับพระภิกษุ ด้ วยความเข้ าใจกันและกัน เคารพกันและกัน



ความคิดเห็นของ Padroado - ล่วงลํา้ สิทธิพเิ ศษของ Padroado เรื่องงานแพร่ ธรรมและการค้าขายด้ วย

- ไม่ สามารถยอมรับอํานาจของสั งฆราชฝรั่งเศสได้ , Siam ขึน้ กับ Malacca

เหตุการณ์ แห่ งความไม่ เข้ าใจกันในอยุธยา - ได้ รับการต้ อนรับ และพักทีบ่ ้ านของโปรตุเกส - ย้ ายไปพักทีค่ ่ ายโคจินจีน ด้ วยเหตุผลทีว่ ่ า 1. เป็ นหน้ าทีท่ จี่ ะต้ องเผยแพรศาสนาแก่ ชาวโคจินจีน อยู่แล้ว 2. สภาพวิญญาณในค่ ายโปรตุเกส “แย่ มาก” - จับกุมพระสั งฆราช แต่ ทสี่ ุ ดก็ปล่ อย (การจับกุมครั้งแรก)


- ปลุกปั่นไม่ ให้ เชื่อถึงอํานาจของสั งฆราช ใส่ ความว่ าร้ าย และบอกว่ า เป็ นคนหลอกลวง - มีคาํ สั่ งให้ จับกุม หรือขัดขวางมิให้ เข้ าไปในมิสซัง จาก Lisboa และ Goa - พ่ อ Fragoso O.P. เป็ นเจ้ าหน้ าทีศ่ าล inquisition เรียกตัวท่ านไป Goa แต่ ท่านไม่ ไป แต่ แสดงหนังสื อมอบอํานาจให้ ดู - ท่ าน Lambert ยังได้ ทาํ หนังสื อแจ้ งเรื่องการมาของท่ านแก่ รองเจ้ าคณะแขวงเยซูดิตทีม่ าเก๊ าด้ วย - พยายามบังคับท่ านให้ ออกไปจากค่ าย วางแผนการประทุษร้ าย - ไปพักค่ ายฮอลันดา


- กรณีเรือทีเ่ ดินทางไปจีนแตก ต้ องกลับมาสยามอีก ทําให้ เกิดความ ไม่ พอใจ - วางแผนกําจัดท่ าน ลักพาตัว แต่ กท็ าํ ไม่ สําเร็จ เพราะ ชาวญวน 12 คน เข้ ามาป้ องกันไว้

- ท่ านลังแบร์ ต ลาออก แต่ โรมปฏิเสธ 20 มิ.ย. 1665 - พ่อ Frgoso ประกาศประณามท่ านลังแบร์ ตว่ า ไม่ มีอาํ นาจเหนือสยาม ห้ ามคริสตังติดต่ อกับท่ าน - พ่อ Fragoso ประกาศ Excommunition ท่ านลังแบร์ ต ติดไว้ หน้ าโบสถ์ เซนต์ ดอมินิกนั

- ท่ าน Lambertประกาศ Excommunication พ่อ Fragoso - Pope ประกาศว่ า Excommunicationทีพ่ ่อ Fragoso ทํานั้นโมฆะ - 27 เม.ย. 1674 อธิการใหญ่ เยซูอติ มีคาํ สั่ งให้ ทุกคนรับรุ้อาํ นาจของท่ าน


การยอมรับอํานาจของพระสั งฆราช - Bulla ต่ างๆ 1673 -1674 ให้ ยอมรับอํานาจ - Padroado แจ้ งว่ าเป็ นโมฆะ หรือ Bulla ปลอม - พ่อ d’Acosta, d’Abreu และ de Motta, s.j. ต่ อต้ านฝรั่งเศส อย่ างหนัก ไม่ ยอมเชื่อฟังคําสั่ งของสั งฆราช - อธิการใหญ่ Dominican สั่ งให้ สงฆ์ ในคณะรับรู้อาํ นาจของ สั งฆราช 1678 - อธิการใหญ่ Jesuit ส่ งให้ รับรู้ อาํ นาจ 10 ต.ค. 1681 - 29 มกราคม 1680 Pope สั่ งมิชชันนารีทุกคนสาบานนอบน้ อม เชื่อฟังสั งฆราช


- Portugal ขู่จะถอนเงินช่ วยเหลือจีนและญีป่ ุ่ น - Portugal ยอมให้ สาบานได้ แต่ มีข้อแม้ ไว้ ว่า จะไม่ ส่งฝรั่งเศสมาอีก - Louis 14 ขัดขวางการสาบานของ มิชชันนารีชาวฝรั่งเศส - Pallu ขอให้ ยกเลิกการสาบานเพราะ Louis 14 จะห้ ามบ้ านเณร มิสซัง M.E.P. - Pope ยินยอมให้ สาบาน โดยมีเงือ่ นไขว่ า ได้ รับอนุญาตจาก Louis 14 - กฤษฎีกายืนยันอีก 3 ฉบับ 24 ม.ค. 1684, 14 ก.พ. 1685 และ 10 ก.ค. 1685 * 1669 ท่ าน Lambert และ Pallu ขอให้ ต้งั Siam เป็ นมิสซังสํ าเร็จ 4 มิ.ย. 1669 25 มี.ค. 1674 ท่ าน Laneau ได้ รับการแต่ งตั้งเป็ น Vicaire Ap. * ปัญหาความขัดแย้ งไม่ ยุติ แม้ มีกฤษฎีกาก็ตาม


VI. Jesuit และ Vicaire Apostolique

Background - Urbano VIII 22 ก.พ. 1633 Bulla ห้ ามมิชชันนารี ทําธุรกิจ การค้ าขาย - Famous Instuction 1659 ห้ ามเช่ นเดียวกัน คาดโทษรุ นแรง - Pallu มาถึง ตะนาวศรี พบพ่อ Cardoso คุยกันเรื่องมิชชันนารีค้าขาย 1. พ่ อ Joseph Tissanier,s.j. เขียนหนังสื อ Religiosus Negotiator หลังจากปรึกษากับท่ าน Lambert, Pallu และ พ่อ Altier,s.j. เชื่อว่ า สงฆ์ secular และ jesuit ทําการค้ าขาย


- ภาคแรก แสดงว่ า กฏเกณฑ์ คณะเยซูอติ วางบทลงโทษสงฆ์ ค้าขาย - ยํา้ กฏเกณท์ Urbano VIII - ท่ าน Lambert ออก Partoral letter 15 ต.ค. 1667 กล่าวหา jesuit ค้ าขายอย่ างรุ นแรง - พ่ อ Jacques le Faure, s.j. ตอบโต้ Partoral letter ยืนยันความ ยากจนของคณะ และว่ า พ่อ De Bourges และ Deydier ก็ค้าขาย - พ่ อ Valguarnera ตอบโต้ Lambert อธิบายกรณีของท่ านเอง และยืนยันว่ า พิสูจน์ แล้ วว่ า ไม่ จริง - 17 มิ.ย. 1669 Pope Clement IX ออกธรรมนูญ มีคาํ อธิบาย 7 ประการ ห้ ามการค้ าขาย




VII. ความเจริญก้ าวหน้ าของพระศาสนาจักรในอยุธยา - นโยบายของพระนารายณ์ - เปิ ดประเทศ - เสรีภาพทางศาสนา - ความสามารถของมิชชันนารี - Valguarnera - ล่าม, นักดาราศาสตร์ , วิทยาศาสตร์ ,ภาษาศาสตร์ ,กฎหมาย ฯลฯ


องค์ ประกอบหลักของความเจริญก้ าวหน้ า 1. ความสั มพันธ์ กบั ประเทศสยาม และการติดต่ อทางการฑูต ก. คณะฑูตโปรตุเกส 1511 พระรามาธิบดีที่ II 1516 ทําสนธิสัญญาทางการค้าและตั้งคลังสินค้า (1534 ทหารโปรตุเกสช่ วยรบชนะเชียงกรานและเชียงใหม่ ได้ รับ พระราชทานทีด่ ินที่ ต. บ้ านดิน) ข. พระเอกาทศรถ ส่ งฑูตไปยัง Hollanda ปี 1607 และทําสนธิสัญญา ทางการค้ ากับ Hollanda ปี 1617 และส่ งฑูตไป Goa ด้ วย ค. 1618 ส่ งฑูตไป Goa เพือ่ ต่ อไปยัง Portugal แต่ ถึงแค่ Goa ง. 1620 สยามส่ งฑูตไป Goa ขอบคุณที่ Portugal ช่ วยรบพม่ า


จ. Pallu นําพระราชสาส์ น Pope Clement IX และ Louis XIV มาถึง อยุธยา 27 พ.ค. 1673 (ภายใต้ ความคิดจะให้ พระนารายณ์ กลับใจ) ฉ. ฑูตไทยคณะแรกไปฝรั่งเศส พ่อ Gaymes เป็ นล่ าม ออกเดินทาง 24 ธ.ค. 1680 เรืออับปางใกล้ ๆ เกาะ มาดากาสกา ช. ฑูตไทยคณะทีส่ องไปฝรั่งเศส - Pallu กลับจากยุโรปครั้งทีส่ อง 4 ก.ค. 1682 นําสาส์ น Louis XIV มาด้ วย - คณะฑูตออกจากอยุธยา 14 ม.ค. 1684 พ่อ Vachet เป็ นล่ าม เข้ าเฝ้ า King Charles ของอังกฤษก่ อน และไปเฝ้ ากษัตริย์ ฝรั่งเศสทีแ่ วร์ ซายน์


ซ. ฑูตฝรั่งเศสคณะแรกมาอยุธยา 1685 - Chevalier de Chaumont ราชฑูต - Abbe de Choisy อุปฑูต ขุนนาง 12 คน, M.E.P. 4 องค์ , Jesuit 6 องค์ นักดาราสตร์ คณิตศาสตร์ Guy Tachard อยู่ในนีด้ ้ วย - พระนารายณ์ ยกสงขลาให้ ฝรั่งเศส เพือ่ การค้ าขายแข่ งกับฮอลันดา - ทําอนุสนธิสัญญา ทางศาสนาและการค้ า







ญ. ฑูตไทยคณะทีส่ ามฝรั่งเศส - โกษาปาน พ่อ เดอ ลีออน เป็ นล่ าม พ่อตาชาร์ ดไปด้ วย, เณรอันโตนีโอ ปิ นโต รวม 40 คน ออกเดินทาง ธ.ค. 1685 – Brest 18 มิ.ย. 1686 ออกจากฝรั่งเศส 14 ม.ค. 1687 และออกจาก Brest 1 มี.ค. 1687 ฎ. ฑูตฝรั่งเศสคณะทีส่ อง เดินทางมาพร้ อมกับคณะฑูตไทยคณะทีส่ าม - De la Loubere ถึงปากนํา้ 27 ก.ย. 1687 - Desfarges นายพลและทหาร 636 นาย - Jesuit 14 รู ป - ทําสั ญญาการค้ า - พยายามให้ พระนารายณ์ กลับใจ - ความขัดแย้ งระหว่ าง Falcon และ la Loubere


ฐ. ฑูตไทย ชุ ดทีส่ ี่ ไปฝรั่งเศส - พ่อ Guy Tachard ราชฑูตพิเศษ - ขุนนางไทย 3 คน ครูสอนคําสอนตังเกีย๋ 2 คน บุตรข้ าราชการไทย 12 คน - ออกเดินทาง 3 ม.ค. 1688 ถึง Brest เดือน ก.ค. - เข้ าเฝ้ า Pope เดือนธันวาคม - ทําสั ญญากับฝรั่งเศส 1 มี.ค. 1689 (เวลานั้น ข่ าวรัฐประหารในไทย มาถึงแล้ว) - หนังสื อ Siam and the Vatican ใน ศต. 17 - 25 ปี ไทย - วาติกนั











2. การสมัชชาทีก่ รุ งศรีอยุธยา ค.ศ. 1664 (Synod of 1664) - ความหมายของ Synod สั งฆราช + สงฆ์ + ฆราวาส = การตัดสิ นใจ จาก Situation - สาเหตุ สถานการณ์ ในสยามเอือ้ อํานวย สภาพทางวิญญาณของคริสตชนในสยาม “แย่ มาก” - ผลของ Synod 1. การก่อตั้งบ้ านเณร - ตามคําสั่ งของ instruction 1659 - เปิ ดเป็ นโรงเรียนสอนภาษาและวิทยาศาสตร์ แก่ เด็กๆ


- สามเณรมาจากอาณาจักรต่ างๆ ของตะวันออกไกล - บวชครั้งแรก ปี 1669 (31 มี.ค. 1668) - ฟรังซิสโก เปเรย์ - ครู สอนคําสอนชาวตังเกีย๋ 2 คน - โคจินจีนอีก 1 คน - 14 ต.ค. 1685 Chevalier de Chaumont เยีย่ มบ้ านเณร ให้ ความเห็นว่ า เหมือนบ้ านเณร Saint Lazare - 1686 สามเณรอายุ 20 ปี Antonio Pinto มาเรียนต่ อที่ Propaganda Fide เดินทางพร้ อมคณะฑูตโกษาปาน - แสดง These ทีม่ หาวิทยาลัย Sorbonne, Notre Dame และต่ อหน้ า Pope ที่ Rome


- เสี ยกรุงปี 1767 ย้ ายไปอยู่ที่ Hondot ในกัมพูชา Viramparnam ในอินเดีย และ1808 อยู่ที่ Penang 2. จัดพิมพ์ “คู่มือมิชชันนารี” - instruction ปี 1659 และแนวปฏิบัติในงานแพร่ ธรรม - พิมพ์ 12 ครั้ง, ภาษาลาติน 10 ครั้ง, ฝรั่งเศส 2 ครั้ง - คู่มือเรียนวิชา Missiology 3. Apostolic Congregation “Amantes de la Croix” 3 สาขา 1. สั งฆราช + พระสงฆ์ 2. นักบวชหญิง 3. ฆราวาส ร่ างวินัย และแนวทางปฏิบัติ (132 – 136)


Pallu กลับไปยุโรป 17 ม.ค. 1665 1. รายงานสภาพของมิสซัง 2. ขอการรับรองคณะ “รักไม้ กางเขน” 3. รายงานเรื่อง นักบวชพ่ อค้ า 4. ขออํานาจปกครองสยาม 5. ขอธรรมฑูตเพิม่ ขึน้


ถึง Rome 20 เม.ย. 1667 การตัดสิ นของ Rome 1. ก่อตั้ง Mission of Siam 4 ก.ค. 1669 2. ห้ ามนักบวชทําการค้ าขาย 3. รับรองคู่มือมิชชันนารี จาก Synod 1664 4. ไม่ รับรองคณะ “รักกางเขน” เพราะเห็นว่ า เคร่ งครัดไป 1669 ตั้งคณะนักบวชหญิงทีต่ ังเกีย๋ โดยท่ าน Lambert 1670 วินัยคณะฉบับแรก










VIII. ปัญหาและอุปสรรคของงานประกาศพระศาสนาในสมัยกรุงศรีอยุธยา 1. การกลับใจของชาวสยาม - ยาก เพราะผูกพันกับพุทธศาสนา - ท่ าทีต่อชาวต่ างชาติ เป็ นพวกแสวงหาผลประโยชน์ ทางการค้ า และล่าอาณานิคม ไม่ ไว้ วางใจ - ยอมรับอํานาจสู งสุ ดของกษัตริย์ - วิธีการของมิชชันนารีในการกลับใจชาวสยาม - ใช้ วธิ ีโต้ เถียงหลักการพุทธศาสนา - พยายามกลับใจพระภิกษุ


2. ความขัดแย้ ง และกรณีพพิ าทระหว่ างมิชชันนารี - Padroado และ Vicaires Apostoliques - Jesuits และ Vicaires Apostoliques 3. ความเข้ าใจผิดในนโยบายของพระนารายณ์ ต่อชาวต่ างชาติ - Guy Tachard และ Louis XIV เข้ าใจผิดว่ าพระนารายณ์ จะกลับใจ ต้ องการใช้ อทิ ธิพล 4. การปฏิวตั ิ 1688 ของพระเพทราชา และการเบียดเบียน - สมัยพระเจ้ าท้ ายสระ (1709-1733) หินแห่ งความอับยศ ห้ ามมิชชันนารีออกจากเมืองหลวง ห้ ามใช้ ภาษาสยามและบาลี ห้ ามประกาศศาสนาแก่ ชาวสยาม มอญ และลาว - ความไม่ สะดวกในการแพร่ ธรรม ปี 1743 – 1749 5. การรุกรานของพม่ า


MGR. DE CICE (1700-1727)


IX. คาทอลิกในสมัยกรุงรัตนโกสิ นทร์ 1. พระเจ้ าตากสิ น จนถึง รัชกาลที่ 4

- เสี ยกรุ ง 1767 วัดคาทอลิกถูกทําลายลง คริสตังจํานวนมากถูกกวาด ต้ อนไปพม่ า (ยกเว้ น วัดจันทบุรีไม่ ถูกทําลาย วัดนีต้ ้ังขึน้ ปี 1750) - พ่ อ Corre กับคริสตชน 300 คน หนีไปเขมรและกลับมา 1769 - พ่ อ Corre กลับมาทีก่ รุ งเทพฯ 1769 เวลานั้นมีคริสตังเพียง 14 คน - พระเจ้ าตากสิ นพระราชทานทีด่ ินสร้ างวัดซางตาครู้ ส คริสตังทีเ่ ขมรกลับมา


- พระเจ้ าตากสิ น ให้ คริสตังรับราชการด้ านต่ างๆ แต่ ต้องถือ นํา้ พิพฒ ั น์ สัตยา และเข้ าพิธีทางพุทธบางอย่ าง แต่ พระสั งฆราช Le Bon ห้ ามพิธีเหล่านี้ - พระเจ้ าตากสิ น ห้ ามคนไทยถือคริสต์ ทีส่ ุ ดขับไล่ พระสั งฆราช และมิชชันนารีอกี 2 องค์ ออกจากพระนคร


รัชกาลที่ 1 (1782-1809) -

ปลดปล่อยชาวคริสต์ ทถี่ ูกกักขังในวัง ทหารคริสต์ ไม่ ต้องเข้ าพิธีถือนํา้ เชื่อมสั มพันธ์ กบั โปรตุเกส เชื้อเชิญมิชชันนารีกลับประเทศ เกิดความแตกแยกระหว่ าง คริสตังโปรตุเกส และพระสั งฆราชฝรั่งเศส คริสตัง 1 ใน 4 ยอมรับอํานาจฝรั่งเศส พระอนุชาพระเจ้ าแผ่ นดิน (เจ้ าชายบุญมา) พระราชทานทีด่ ิน สร้ างวัดใหม่ (กาลหว่ าร์ ) ให้ กบั คริสตชนทีไ่ ม่ ยอมรับพระสั งฆราช




- พระคุณเจ้ า การ์ โนลต์ มาถึงกรุงเทพฯ 1795 เวลานั้นมีคริสตชน 1,000 คน เป็ นคนดั้งเดิมสยาม 400 และ 600 เป็ นผู้ลภี้ ัย 1793 พระเจ้ าแผ่ นดินตามคริสตังเขมร 250 คน รวมกับ 450 คน ทีม่ ีอยู่แล้ว ตั้งรกรากทีว่ ดั คอนเซ็ปชัญ - พระคุณเจ้ า การ์ โนลต์ ตั้งโรงพิมพ์ทซี่ างตาครู้ส 1796 “หนังสื อเล่มแรก” - ตลอด 25 ปี พระคุณเจ้ า การ์ โนลต์ บวชพระสงฆ์ 8 องค์ แต่ ไม่ ใช่ คนไทย - รัชกาลที่ 1 สวรรคต มีชาวคริสต์ ประมาณ 3,000 คน (1809) โดยทัว่ ๆ ไป มิชชันนารีมีเสรีภาพในการถือศาสนา





The Conception Church



รัชกาลที่ 2 (1809-1824)

- จํานวนมิชชันนารีลดลง สื บเนื่องมาจากการปฏิวตั ิฝรั่งเศส บ้ านเณรทุกแห่ งในฝรั่งเศสปิ ดลง เงินช่ วยเหลือลดลง - มิชชันนารีองค์แรกทีเ่ ข้ ามาได้ แก่ พ่อ Picot ในปี 1822 - ปี นีเ้ อง ท่ านชนะคดี เอาวัดกาลหว่ าร์ กลับคืนมาจากพวกโปรตุเกส และท่ านเป็ นเจ้ าอาวาสองค์ แรกของกาลหว่ าร์ - พระศาสนจักรไม่ ก้าวหน้ าเท่ าทีค่ วร สั งคมใหม่ ได้ แก่สังคมจีนในสยาม - คุณพ่อราโบ โปรดศีลล้ างบาปคนจีนนับร้ อยคน ในปี 1810 - การห้ ามแพร่ ศาสนาแก่ คนไทยยังคงมีอยู่ นโยบายปิ ดประเทศป้องกัน การล่าอาณานิคม


MGR. FLORENS (1811-1834)


รัชกาลที่ 3 (1824-1851) -

มีนโยบายปิ ดประเทศ ป้องกันอังกฤษ 1826 อังกฤษยึดตะนาวศรี รัชกาลที่ 3 ไม่ ไว้ วางใจมิชชันนารี ถือว่ าเป็ น ฝรั่ง ชาวสยามก็มีท่าทีเช่ นกัน ชาวคริสต์ ถูกมองว่ า อาจจะเป็ นจารชน ชาวคริสต์ จะออกจากกรุ งเทพฯ ต้ องมีใบอนุญาต ปี 1833 ชาวเวียดนาม 1600 มากรุ งเทพฯ พร้ อมกับกองทัพสยาม มีพ่อ 1 องค์ ซิสเตอร์ 2 รู ป มาถึงกรุงเทพฯ 1834 - พระราชทานทีด่ ินทีส่ ามเสน - Pallegoix มาถึงสยาม 1830 เวลานั้นห้ ามการประกาศศาสนา ภาคตะวันออก








- ปี 1838 วัดซางตาครู้สมีคริสตัง 480 คน ส่ วนใหญ่ รับราชการ วัดคอนเซ็ปชัญมีคริสตัง 697 คน รับราชการเช่ นกัน วัดกาลหว่ าร์ มีการกลับใจของคนจีนจํานวนมาก โดยคุณพ่อ Albrand - ปี 1849 อหิวาตกโรคในกรุงเทพฯ โหรได้ ทูลว่า ฝรั่งฆ่ าสัตว์จํานวนมาก เสนอให้ เอาสั ตว์ มาถวายโดยฝรั่ง ให้ พระองค์ เลีย้ งไว้ บาทหลวงหลายองค์ ถือว่ าเป็ น Superstition ขับไล่บาทหลวง 8 องค์ ในกรุ งเทพฯ เหลือท่ านปัลเลอกัว องค์ เดียว


รัชกาลที่ 4 (1851-1868) - พ่ อปัลเลอกัว ได้ รับแต่ งตั้งและอภิเษกเป็ นสั งฆราชผู้ช่วย 3 มิ.ย. 1838 - ปี 1841 กรุงโรมแยกเขตการปกครอง - สยามตะวันออก : สยามและลาว - สยามตะวันตก : แหลมมลายา เกาะสุ มาตรา และพม่ าตอนใต้ - ท่ านปัลเลอกัว มีความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาต่ างๆ - มีความสั มพันธ์ ทดี่ ีกบั รัชกาลที่ 4 ตั้งแต่ ทรงผนวชอยู่ทวี่ ดั ราชาธิวาส มักแลกเปลีย่ นความรู้กนั ทางด้ านภาษา


- หนังสื อสั พะ พะจะนะ พาสาไท - หนังสื อปุจฉา วิสัชนา 1846 วิจารณ์ พุทธศาสนา ราชาการสั่ งให้ หยุดเผยแพร่ - ความสั มพันธ์ ทดี่ ีกบั วาติกนั - ท่ าน Dupond ( 1865 – 1872) (1868 – 1910)







2. รัชการที่ 5 และพระสั งฆราช ฌอง หลุยส์ เวย์ (1875-1909) ปี 1867 รายงานประจําปี กล่ าวว่ า คริสตชนมีท้งั หมด 8,000 คน ประกาศศาสนาไปตามจังหวัดต่ างๆ 12-5 แห่ ง สร้ างวัด 8 แห่ ง มิชชันนารีเข้ ามาเพิม่ 21 องค์ ปี 1864 (ร.4) สมภารปาน กลับใจ และได้ รับบวชขั้น Acolytus ก่อตั้งวัดเพลง หลานชายได้ บวชเป็ นพระสงฆ์ ในเวลาต่ อมา สมัยท่ านดือปองด์ ชาวจีนและชาวสยามมีการกลับใจมาก เหตุด้วย 1. มิชชันนารี ไถ่ทาสให้ เป็ นอิสระโดยไม่ ต้องการเรื่ องการเปลีย่ นศาสนา 2. แบบอย่ างของการอทุ ศิ ตน เสียสละ รั กเพือ่ นมนุษย์ 3. ขุนนางไทย สนับสนุนชาวจีนให้ กลับใจ เพือ่ มิให้ เข้ าสามคม “อั๊งยี”่


ปี 1872 มิสซังสยามมีคริสตชน 10,000 คน มิชชันนารี 20 องค์ สงฆ์ พนื้ เมือง 8 องค์ รัชกาลที่ 5 : ปรับปรังพัฒนาประเทศ พระสั งฆราชเวย์ : เรียนภาษาสยาม บาลี 5 ธ.ค. 1875 อภิเษกเป็ นสั งฆราช ทีว่ ดั สามเสน ได้ รับสาส์ นแสดงความยินดีจากรัชกาลที่ 5 และ The Second King (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ)




งานของพระสั งฆราชเวย์

1. งานประกาศศาสนา ทางภาคอีสานและลาว 1881 1899 กรุงโรมแยกมิสซังลาวจากมิสซังสยาม - ปัญหาเรื่องการเลือกตั้งพระสั งฆราช 2. สร้ างวัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา ใหม่ สร้ างปี 1883 เสร็จสมบูรณ์ 1891 - เพราะเป็ นศูนย์ กลางเดิม และมีสังฆราช 8 องค์ มิชชันนารี 30 องค์ มาอยู่ทวี่ ดั 3. 1909 มิสซังสยามมี23,600 คน, วัดและโรงสวด 57 แห่ ง กลุ่มคริสตชน 79 กลุ่ม, เณร 59 คน, มิชชันนารี 44 องค์ สงฆ์ พนื้ เมือง 21 องค์ , นักบวชชาย 17, นักบวชหญิง 123 รู ป ครู คาํ สอน 21 คน,วิทยาลัย 3 แห่ ง, โรงเรียน 62,โรงพยาบาล 1 แห่ ง







วิธีการทีใ่ ช้ ในการแพร่ ธรรม 1. ความสั มพันธ์ อนั ดีกบั รัฐบาลสยาม - วิกฤติการณ์ วงั หน้ า: จุดยืน ไม่ ให้ มิสซังเข้ าไปเกีย่ วข้ องกับการเมือง - ส่ งคุณพ่อแปร์ ไร เป็ นล่ าม ตามคําขอของเสนาบดีกระทรวง การต่ างประเทศ เจรจาความเมือง ระหว่ าง กงสุ ลฝรั่งเศส รัฐบาลกัมพูชา และไซง่ อน - วิกฤติการณ์ ระหว่ างสยามและฝรั่งเศส 1893 ฝรั่งเศส เรียกร้ อง ฝั่งลาวตะวันออกของแม่ นํา้ โขง (Pavie และ เรือรบ 3 ลํา ทีแ่ ม่ นํา้ เจ้ าพระยา, ยึดจันทบุรีและ ตราด เพือ่ เป็ นการบีบบังคับไทย)








Pavie ให้ สังฆราชเวย์ และมิชชันนารีท้งั หมด ไปอยู่ทกี่ งสุ ลฝรั่งเศส เพราะจะยิงถล่ มกรุ งเทพฯ 14 ก.ค. 1893 ท่ านเวย์ ไม่ ยอม และ ขอร้ องไม่ ให้ ถล่มกรุ งเทพฯ ทีส่ ุ ดฝรั่งเศสก็ไม่ ได้ ยงิ ถล่ มกรุงเทพฯ. - รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรป 1897 เข้ าเฝ้ า Pope Leo XIII เป็ นทีป่ ระทับใจรัชกาลที่ 5 อย่ างยิง่ 2. นโยบายสอดคล้องกับการปรับปรุงประเทศ - การศึกษา ชาวยุโรปขยายตัวมากขึน้ และชาวสยามต้ องการเรียนภาษยุโรปมากขึน้

เปิ ดอัสสั มชัญคอลเลจ 15 ก.พ. 1885 – St. Cabriel Bro. เปิ ดคอนแวนต์ สําหรับเด็กหญิง 1885 – St. Mauz


- โรงพยาบาล ได้ รับการสนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศส เปิ ดอย่ างสง่ า 15 ก.ย. 1899 ซิสเตอร์ คณะ St. Paul de Charlres - การพิมพ์และงานแพร่ ธรรมของพระคุณเจ้ า - โรงพิมพ์แห่ งแรก วัดซางตาครู้ ส - โรงพิมพ์อสั สั มชัญ ท่ านปัลเลอกัว ย้ ายมาทีอ่ สั สั มชัญ 1838 - ท่ านเขียนและเรียบเรียงงานไว้ หลายเล่ ม สํ าหรับการศึกษาและ การสอนคําสอน กิจศรัทธา พจนานุกรม - สามเณราลัย - ย้ ายจากเมืองหลวง ไปสร้ างทีบ่ างช้ าง 1893 – 1903 - ครู คาํ สอน - ปัจจัยสํ าคัญทีส่ ุ ดของานแพร่ ธรรม


อุปสรรคของานแพร่ ธรรม 1. ระบบการปกครองของประเทศสยาม - แบ่ งชั้นวรรณะ และระบบทาส จะมีผู้มีอาํ นาจเหนือตนเสมอ 2. สมาคมลับของชาวจีน ตัว่ เซีย, อั้งยี่ : รักชาติจีน ปกป้ องผลประโยชน์ และกําไรของชาว จีน บังคับชาวจีนให้ เข้ าสมาคม รักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี การเข้ าเป็ นคริสตชน เท่ ากับการทรยศ คริสตังชาวจีนถูกทําร้ าย 1897 รัฐบาลสยามบังคัลให้ สมาคมจดทะเบียน 3. ปัญหาทางการเมืองกับประเทศฝรั่งเศส (1897, 1907) - ฝรั่งเศสยึดตังเกีย๋ และอินนัม ระหว่ างปี 1883+1884 - ชาวสยามไม่ สามารถแยกแยะระหว่ างคริสตชนและชาวฝรั่งเศส 4. ทัศนคติของมิชชันนารีต่อพุทธศาสนา - ปุจฉา วิสัชชนา พิมพ์ 1894, 1897


X คาทอลิกใน ศตวรรษที่ 20

1. งานประกาสพระศาสนา - มิสซังราชบุรี, จันทบุรี, เชียงใหม่ 2. อุปสรรคของการแพร่ ธรรม - หนังสื อ ปุจฉา วิสัชนา (ทัศนคติเกีย่ วกับพุทธศาสนา) - ระหว่ างสงครามอินโดจีน - มรณสั กขีทสี่ องคอน - มรณสั กขีทกี่ รุงเทพฯ


หลังจากสั งคายนาวาติกนั ที่ 2 (1961-1964) สถานการณ์ ต่างๆ ดีขนึ้ มีการ inculturation และใช้ เหตุผลมากขึน้ โดยเฉพาะ ทางด้ านการสอนคําสอนและพิธีกรรม 3. เหตุการณ์ สําคัญ - การแต่ งตั้งพระคาร์ ดนิ ัลองค์ แรก 2 ก.พ. 1983 - การเสด็จเยีย่ มเยียนประเทศไทยของ Pope John Paul II 10 – 11 พ.ค. 1984 - การเลือกตั้ง Pope Benedict XVI - คณะนักบวชต่ างๆ เข้ ามาทํางานในประเทศไทย


HIS EMINENCE MICHAEL CARDINAL MICHAI KITBUNCHU



















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.