MARINE BIOLOGICAL CENTER THANIDA THONGNOI ARCH THESIS RMUTT.2018
ศูนย์ชีวภาพทางทะเล (ศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเล) นางสาวฐนิดา ทองน้อย วิทยานิพนธ์ 2561
โครงการศูนย์ชีวภาพทางทะเล จ.เพชรบุรี
ฐนิดา ทองน้อย
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER
THANIDA THONGNOI
A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY, FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018
บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิติ
หน้า
CONTENT *INDEX
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5
ความสาคัญของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขั้นตอนและวิธีการศึกษา ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ
1.INTRODUCTION
หน้า 1-1 1-2 1-2 1-3 1-5
2.1 ความหมายและคาจากัดความ 2.1.1 ความหมาย 1) ความหมายของช่วยเหลือ 2) ความหมายของสัตว์ทะเล 2.1.2 คาจากัดความ 1) ศูนย์ชีวภาพทางทะเล 2.2 ประวัติความเป็นมา และสถานการณ์ 2.2.1 สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในไทย 2.2.2 จานวนและแนวโน้มสัตว์ทะเลหายาก 2.2.3 สถานการณ์การเกยตื้นของสัตว์ทะเล 2.2.4 สาเหตุการเกยตื้น 2.2..5 ผลการช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายากเกยตื้น
2.PRINCIPLE & THEORY
หน้า 2-1
2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7
2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.4 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและหลักการออกแบบ 2.4.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1) องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 2) น้าขึ้น น้าลง 2.4.2 อาคารป้องกันพายุ 2.5 การศึกษาโครงการตัวอย่าง 2.5.1 Antalya Aquarium 2.5.2 Mikolai Adamus 2.5.3 Karlovac Freshwater Aquarium and River Museum 2.6 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
หน้า 2-8
2-9 2-10 2-11 2-15 2-17 2-19 2-23
3.1 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบเมือง 3.1.1 ประวัติความเป็นมาของที่ตั้งโครงการ 3.1.2 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ 1) ลักษณะภูมิประเทศ 2) เศษฐกิจ 3) อาณาเขต 4) ประชากร 5) ฤดูกาล 6) ลักษณะอากาศ 3.2 ศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.2.1 ประวัติย่านที่ตั้ง 1) ที่ตั้ง และอาณาเขต 3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ 3.2.3 การแบ่งอาณาเขตการปกครอง 3.2.4 สถานที่สาคัญ 3.2.5 การคมนาคม อ.แหลมผักเบี้ย 1) ทางบก 2) ทางน้า
3.SITE ANALYSIS
หน้า 3-2 3-3 3-4 3-4 3-5 3-5 3-6 3-8 3-9 3-11 3-11 3-12 3-14
3.2.6 การวิเคราะห์ด้านผังเมือง 3.3 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.3.1 เกณฑ์ในการเลือกทีต่ ั้งโครงการ 3.3.2 แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน 3.3.3 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ 1) ศึกาวิเคราะห์ด้านกายภาพ 2) ลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน 3) การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.4 กฎหมายที่เกี่ยวกับทีต่ ั้งโครงการ 3.5 บริบทโดยรอบทีต่ ั้งโครงการ
หน้า 3-16 3-17 3-18 3-20 3-21 3-22 3-24 3-25 3-27
4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.3 การกาหนดโครงสร้างการบริหาร 4.3.1 รูปแบบการบริหารงานของโครงการ 4.4 โครงสร้างการบริหารงาน 4.4.1 ผังโครงสร้างการบริหารงาน 4.4.2 การกาหนดอัตราเจ้าหน้าที่ 4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4.5.1 ผู้ใช้โครงการ 4.5.2 ช่วงเวลาที่เข้ามาใช้โครงการ 4.5.3 ช่วงเวลาที่มีผลกับโครงการ 4.6 การกาหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ 4.7 สรุปพื้นที่ในการใช้สอย 4.8 การประมาณการงบประมาณในการก่อสร้าง 4.9 ระบบวิศวกรรมทีเ่ กี่ยวข้อง
4.DETAIL DETERMINATION OF THE PROJECT
หน้า 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4-6 4-7 4-8 4-9 4-10 4-11 4-16 4-17
หน้า 5.1 แนวความคิด 5.2 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ 5.3 สรุปแบบทางเลือก 5.4 การพัฒนาแบบร่างทางสถาปัตยกรรม 5.5ผลงานการออกแบบ 5.5.1 แปลน 5.5.2 แปลนหลังคา 5.5.3 รูปด้าน 1 5.5.4 รูปด้าน 2 5.5.5 รูปด้าน 3 5.5.6 รูปด้าน 4 5.5.7 รูปตัด 1 5.5.8 รูปตัด 2 5.5.9 WALL SECTION 5.5.10 EXPLODE 5.5.11 EXTERIOR PERSPECTIVE 5.5.12 INTERIOR PERSPECTIVE 5.6 หุ่นจาลอง 5.7 แบบนาเสนอ
5.CONCEPT & DESIGN
บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
หน้า
*APPENDIX หน้า 6.1 บทสรุป 6.2 ข้อเสนอแนะ
6.SUMMARY
สารบัญรูปภาพ ภาพที่ 1.1 เรือประมง ภาพที่ 1.2 การทาประมง ภาพที่ 2.1 เครื่องมือประมง ภาพที่ 2.2 เต่าทะเล ภาพที่ 2.3 เต่าทะเล ภาพที่ 2.4 ปลาฉลาม ภาพที่ 2.5 สถิติการเกยตื้น ภาพที่ 2.6 โลมาเกยตื้น ภาพที่ 2.7 พะยูน ภาพที่ 2.8 ภาพวาฬ ภาพที่ 2.9 ภาพนักท่องเที่ยวและวาฬ ภาพที่ 2.10 ทะเล ภาพที่ 2.11 หลังคาป้องกันพายุ ภาพที่ 2.12 ภาพโครงสร้างหลังคาป้องกันพายุ ภาพที่ 2.13 case study 1 ภาพที่ 2.14 case study 1 ภาพที่ 2.15 case study 1 ภาพที่ 2.16 case study 2 ภาพที่ 2.17 case study 2 ภาพที่ 2.18 case study 3 ภาพที่ 2.19 case study 3
หน้า 1-1 1-7 2.2 2-3 2-4 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-10 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20
ภาพที่ 2.20 case study 1 ภาพที่ 2.21 case study 2 ภาพที่ 2.22 case study 3 ภาพที่ 2.23 บันได ภาพที่ 2.24 บันได ภาพที่ 3.1 สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี ภาพที่ 3.2 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดเพชรบุรี ภาพที่ 3.3 อาณาเขตจังหวัดเพชรบุรี ภาพที่ 3.4 ทะเล ภาพที่ 3.5 ชาวประมง ภาพที่ 3.6 ภาพฝนตก ภาพที่ 3.7 อาณาเขตอาเภอบ้านแหลม ภาพที่ 3.8 สถานที่สาคัญ ภาพที่ 3.9 การคมนาคม ภาพที่ 3.10 image of the city ภาพที่ 3.11 เรือประมง ภาพที่ 3.12 ผังสีจังหวัดเพชรบุรี ภาพที่ 3.13 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ ภาพที่ 3.14 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ ภาพที่ 3.15 ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน ภาพที่ 3.16 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
หน้า 2-21 2-21 2-21 2-26 2-27 3-2 3-3 3-4 3-5 3-7 3-9 3-11 3-12 3-14 3-16 3-17 3-18 3-20 3-22 3-23 3-24
สารบัญรูปภาพ ภาพที่ 3.17 วาฬ ภาพที่ 3.18 ผังการใช้ประโยชน์ที่ดินแนวชายฝั่ง ภาพที่ 3.19 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ ภาพที่ 3.20 บริบทโดยรอบโครงการ ภาพที่ 4.1 โลมา ภาพที่ 4.2 วาฬ ภาพที่ 4.3 ถุงพลาสติก ภาพที่ 4.4 โลมา ภาพที่ 4.5 ภาพการดาเนินการก่อสร้าง ภาพที่ 4.6 เหล็ก ภาพที่ 4.7 ระบบปรับอากาศ ภาพที่ 4.8 โคมไฟ ภาพที่ 4.9 ถังบาบัด ภาพที่ 4.10 ระบบดาเพลิง ภาพที่ 4.11 วาฬ
หน้า 3-25 3-26 3-27 3-28 4-2 4-3 4-4 4-17 4-18 4-19 4-20 4-21 4-23 4-24 4-26
สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 เปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง ตารางที่ 2.2 กฎหมาย ตารางที่ 2.2 กฎหมาย(ต่อ) ตารางที่ 2.2 กฎหมาย(ต่อ) ตารางที่ 2.2 กฎหมาย(ต่อ) ตารางที่ 3.1 วิเคราะห์พื้นที่ตั้งโครงการ ตารางที่ 4.1 วิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยโครงการ ตารางที่ 4.1 วิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยโครงการ(ต่อ) ตารางที่ 4.1 วิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยโครงการ(ต่อ) ตารางที่ 4.1 วิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยโครงการ(ต่อ)
สารบัญแผนภูมิ หน้า 2-22 2-24 2-25 2-26 2-27 3-19 4-12 4-13 4-14 4-15
แผนภูมิ 1.1 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา แผนภูมิที่ 2.1 สถิติการเกยตื้น
หน้า 1-4 2-5
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1NTRODUCTION บทที่ 1 บทนา 1.1 ความสาคัญของโครงการ
สถานการณ์การประมงของประเทศไทยเป็นส่วนสาคัญต่อเศรษฐกิจ ซึ่ง การทาประมงใน ประเทศไทยมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ทะเล และการขยายพันธุ์ ของสัตว์ทะเลในปัจจุบัน ทาให้สัตว์ทะเลบางชนิดลดลงอย่างมาก และมีสถานะใกล้สูญพันธ์ สัตว์ทะเล เหล่านั้นเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าสัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย ซึ่งประกอบไปด้วยสัตว์ 4 ชนิด คือ เต่า ทะเล พะยูน โลมา และวาฬ สัตว์ทะเลเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทาง ทะเล ทาให้สัตว์ทะเลหายากเหล่านี้มีจานวนลดลงและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในปัจจุบันมีการพบเห็นสัตว์ทะเลหายากที่ได้รับผลกระทบจาก ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทาให้สัตว์ทะเลเหล่านั้นประสบปัญหาการเกยตื้นตายบริเวณชายฝั่ง ทะเลเป็นจานวนมาก เฉลี่ย 400 ตัวต่อปี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง(ทช.)จึงมีนโยบายจัดตั้งโครงการช่วยเหลือสัตว์ทะเลหา ยาก เพื่อเพิ่มอัตรารอดของสัตว์ทะเลมีชีวิตให้มากที่สุด นามาสู่การจัดตั้งศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเลหา ยาก
ภาพที่ 1.1 เรือประมง ที่มา : www.pexels.com 2561
จึงทาให้เกิดเป็นแนวคิดในการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบนิเวศชายฝั่ง และอนุรักษ์สัตว์ทะเล หายากในปัจจุบัน เพื่อส่งผลดีต่อระบบนิเวศ และทรัพยากรณ์ชายฝั่งทะเลให้ยั่งยืน
1-1
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1.2 วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อวิจัยและสารวจสถิติความเป็นไปได้ของสัตว์ทะเลหายาก - เพื่อเป็นศูนย์กลาง การให้ความช่วยเหลือหน่วยงานย่อยในพื้นที่ เกี่ยวกับสัตว์ทะเลหายาก - เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน/ชาวประมง - เพื่อเป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์สัตว์ทะเลหายาก - เพื่อรักษาและฟื้นฟูความสมดุลของระบบนิเวศชายฝั่งทะเล
1-2
1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา - เพื่อศึกษาแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศชายฝั่งทะเล - เพื่อศึกษาองค์ประกอบของโครงการศูนย์ชีวภาพทางทะเล - เพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมศูนย์ชีวภาพทางทะเล
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1 2 3 4 5
STEP
ISSUE
STEP
HYPOTHESIS
STEP
RESEARCH
STEP
ANALYSIS
STEP
SYNTHESIS
1.4 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
แผนภูมิ 1.1 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 01
03
02
ความเป็นมาของโครงการ
เหตุผลที่ทาให้เกิดโครงการ
ความเป็นมาของโครงการ
สถานการณ์ในปัจจุบัน และอนาคต
ด้านนโยบาย - ยุทธศาสตร์กรมประมง 2560-2564 - ยุทธศาสตร์กรมประมง 2560-2579
- ความเป็นมา - วัตถุประสงค์
ด้านกฎหมาย - กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง - เทศบัญญัตทิ เ่ี กีย่ วข้อง
ข้อจากัดทางกฎหมาย
ด้านปัญหา - ด้านกายภาพ - ด้านความรู้ในการทาประมง
- ประเด็นปัญหา - แนวทางการแก้ไขปัญหา
ลักษณะโครงการ - รัฐบาล กรมประมง
- ลักษณะอาคาร - การวางพื้นที่ใช้สอย
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - กรมประมง - ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล ข้อมูลอาคารตัวอย่าง - อาคารตัวอย่างในประเทศ - อาคารตัวอย่างภายนอกประเทศ ข้อมูลจากเอกสาร - สถานการณ์ทะเลไทย - ยุทธศาสตร์กรมประมง ข้อมูลจากการสารวจ - สถานที่ตั้ง - สภาพแวดล้อม ปัญหา
ด้านระบบ - งานระบบควบคุมคุณภาพน้า - งานระบบในการนาเสนอ - งานระบบควบคุมปรับอากาศ - งานระบบแสงในอาคาร
04 ความเป็นมาของโครงการ
การสร้างแนวความคิด - ความสัมพันธ์กับบริบทพื้นที่ - การออกแบบอาคาร การสร้างทางเลือก ออบแบบ การพัฒนาแบบ แบบสถาปัตยกรรม MODEL เอกสารข้อมูล
องค์ประกอบงานระบบต่างๆ PRESENT
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความรู้และความเข้าใจแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศชายฝั่งทะเล - เกิดความรู้และความเข้าใจองค์ประกอบของโครงการศูนย์ชีวภาพทางทะเล - เกิดความรู้และความเข้าใจในการออกแบบสถาปัตยกรรมศูนย์ชีวภาพทางทะเล
ภาพที่ 1.2 การทาประมง ที่มา : www.wordpass.com ,2561
1-5
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.LITERATURE REVIEW
บทที่ 2 ประมวลเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายและคาจากัดความ 2.1.1 ความหมาย 1.) ชีวภาพ (biological) หมายถึง เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต และสิ่งที่สืบ เนื่องมาจากสิ่งมีชีวิต (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. 2554) 2.) ทะเล (sea) หมายถึง แหล่งน้าเค็มขนาดใหญ่ขอบของมหาสมุทร และมี ขนาดเล็กกว่ามหาสมุทร (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. 2554)
2.1.2 คาจากัดความ 1.) โครงการศูนย์ชีวภาพทางทะเล (MARINE BIOLOGICAL CENTER) หมายถึง โครงการที่ให้ความรู้ความสาคัญของระบบนิเวศทางทะเล จนถึงสิ่งที่มี ชีวิตที่อาศัยในท้องทะเล ช่วยพัฒนาระบบนิเวศชายฝั่ง เพื่อเป็นการอนุรักษ์ระบบ นิเวศชายฝั่ง รวมไปจนถึงการช่วยเหลือสัตว์ทะเลที่ได้รับผลกระทบในด้านต่าง ๆ และการวิเคราะห์และเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศในพื้นที่
2-1
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.2 ประวัติความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา สถานการณ์การประมงของประเทศไทยเป็นส่วนสาคัญต่อเศรษฐกิจ ซึ่งการทาประมงในประเทศ ไทยมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ทะเล และการขยายพันธุ์ของสัตว์ทะเล ในปัจจุบัน ทาให้สัตว์ทะเลบางชนิดลดลงอย่างมาก และมีสถานะใกล้สูญพันธ์ สัตว์ทะเลเหล่านั้นเรียกอีกชื่อ หนึ่งว่าสัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย ซึ่งประกอบไปด้วยสัตว์ 4 ชนิด คือ เต่าทะเล พะยูน โลมา และวาฬ สัตว์ทะเลเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทางทะเล ทาให้สัตว์ทะเลหายากเหล่านี้มี จานวนลดลงและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในปัจจุบันมีการพบเห็นสัตว์ทะเลหายากที่ได้รับผลกระทบจากความ เสื่อมโทรมของระบบนิเวศทาให้สัตว์ทะเลเหล่านั้นประสบปัญหาการเกยตื้นตายบริเวณชายฝั่งทะเลเป็น จานวนมาก เฉลี่ย 400 ตัวต่อปี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง(ทช.)จึงมีนโยบายจัดตั้งโครงการช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายาก เพื่อเพิ่มอัตรารอดของสัตว์ทะเลมีชีวิตให้มากที่สุด นามาสู่การจัดตั้งศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเลหายาก จึงทาให้เกิดเป็นแนวคิดในการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบนิเวศชายฝั่ง และอนุรักษ์สัตว์ทะเลหายาก ในปัจจุบัน เพื่อส่งผลดีต่อระบบนิเวศ และทรัพยากรณ์ชายฝั่งทะเลให้ยั่งยืน
ภาพที่ 2.1 เครื่องมือประมง ที่มา : www.wordpass.com, 2561
2-2
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.2.1 สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย
สัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย หมายถึง โลมา วาฬ พะยูน และเต่าทะเล จัดเป็น สัตว์หายากในประเทศไทยพบในทะเลอันดามันและอ่าวไทย สัตว์ทะเลหายากเหล่านี้มีโอกาสพบ เห็นใสัตว์ทะเลธรรมชาติได้น้อยจานวนประชากรมีไม่มากนัก และมีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ แล้วทั้งสิ้น สัตว์ทะเลหายากในน่านน้าไทยประกอบด้วยกลุ่มสัตว์ทะเล 3 กลุ่ม ได้แก่ เต่าทะเล (Sea turtles) พะยูน (Dugong) โลมาและวาฬ (Whales and Dolphins) ซึ่ง ทั้งหมดถูก จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนและคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง สัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ว่าด้วยการห้ามล่า ห้ามค้า ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ โดยมีผลครอบคลุมไป ถึงไข่ ซาก ตลอดจนชิ้นส่วนต่างๆ ของสัตว์เหล่านั้นด้วย โดยจัดให้พะยูน วาฬบรูด้า วาฬ โอมูระ เต่ามะเฟือง และฉลามวาฬ เป็นสัตว์สงวน และสัตว์ทะเลหายากชนิดอื่นเป็นสัตว์ คุ้มครอง นอกจากนี สัตว์ทะเลหายากยังถูกจัดให้ อยู่ในบัญชีรายชื่อของอนุสัญญาว่า ด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งพันธุ์พืชป่าและ สัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธ์ (CITES) - เต่าทะเล 5 ชนิด ได้แก่ เต่าตนุ เต่ากระ เต่าหญ้า เต่ามะเฟือง และ เต่าหัวค้อน - พะยูนมีเพียงชนิดเดียวคือ พะยูน - กลุ่มโลมาและวาฬมี 27 ชนิด แบ่งเป็นกลุ่มที่อยู่ประจ้าถิ่นใกล้ฝั่งและกลุ่มที่มี การอพยพย้ายถิ่นระยะไกลซึ่งมักอาศัยบริเวณไกลฝั่ง ชนิดโลมาและวาฬที่มีการศึกษา ใน เชิงสถานภาพและการแพร่กระจายจ้ากัดอยู่ในกลุ่มประชากรใกล้ฝั่ง 6 ชนิด ได้แก่ โลมาปาก ขวด โลมาหั ว บาตรหลั ง เรี ย บ โลมาหลั ง โหนก โลมา อิ ร วดี วาฬบรู ด้ า และโอมู ร ะ (สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน, 2560) ภาพที่ 2.2 เต่าทะเล ที่มา : www.wordpass.com, 2561
2-3
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.2.2. จานวนและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสัตว์ทะเล - เต่าทะเล
การวางไข่ของเต่าทะเลในธรรมชาติ พบการแพร่กระจายของเต่าทะเลในประเทศไทยจ้านวน 5 ชนิด แต่พบการ วางไข่ของเต่า ทะเลเพียง 4 ชนิด แหล่งวางไข่เต่าทะเลที่สาคัญมีเหลือเพียง 10 แห่งในประเทศไทย โดยมีแหล่ง วางไข่ใหญ่ที่สุดที่บริเวณ หมู่เกาะคราม (สัตหีบ) รองลงมาเป็นหมู่เกาะสิมิลัน (พังงา) เต่าทะเลในประเทศไทยจะได้รับความ คุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครอง สัตว์ป่า ปี 2555 แต่สถิติการลดลงอย่างต่อเนื่อง มีสาเหตุหลักจากการติดเครื่องมือประมงโดย บั ง เอิ ญ ปั ญ หาการลั กลอบเก็ บไข่ เ ต่ า พื้ น ที่ วางไข่ แ ละหากิ นของเต่ า ทะเลที่ ล ดลงจาก การ พัฒนาการใช้ประโยชนพื นที่ชายฝั่ง สถิติ การวางไข่เต่าทะเลลดลงเหลือเพียง 1 ใน 5 ส่วน ภายในระยะเวลา 60 ปี
ภาพที่ 2.3 เต่าทะเล ที่มา : www.wordpass.com, 2561
- พะยูนในธรรมชาติ
พะยูนแพร่กระจายอยู่ในบริเวณแหล่งหญ้าทะเลทั้งฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก ของ ประเทศไทย การสารวจในปี พ.ศ. 2559 พบพะยูนรวมประมาณ 221 ตัว โดยพบว่าจังหวัดตรัง เป็นแหล่งประชากรพะยูนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
- โลมาและวาฬ
ภาพที่ 2.4 ปลาฉลาม ที่มา : www.wordpass.com, 2561
ข้อมูลจากการเกยตื้น และการพบเห็นในธรรมชาติพบโลมาและวาฬในประเทศไทย 27 ชนิด การศึกษาสถานภาพ และการเปลี่ยนแปลงของ จานวนประชากรโลมาและวาฬในธรรมชาติ เฉพาะในกลุ่มประชากรเจ้าถิ่นใกล้ฝั่ง โลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาเป็นกลุ่มประชากรโลมาอิรวดีเพียง 1 ใน 5 แห่ง ของโลกที่ อาศัยอยู่ในน้าจืด การสารวจในปี พ.ศ. 2559 พบเหลือน้อยกว่า 20 ตัว ทาให้ประชากร โลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลามีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ 2-4
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.2.3. สถานการณ์การเกยตื้นของสัตว์ทะเล
สถิติการเกยตื้นสัตว์ทะเลหายากในช่วง 16 ปี (พ.ศ. 2546-2559) พบ สัตว์ทะเลหายากเกยตื้นรวม 3,105 ตัว คิดเป็นค่าเฉลี่ยปีละ 190±112 ตัว ใน จ้านวนนี้ประกอบด้วยเต่าทะเล 1,775 ตัว คิดเป็นร้อยละ 57 โลมาและวาฬ 1,163 ตัว คิดเป็นร้อยละ 38 และพะยูน 167 ตัว คิดเป็นร้อยละ 5 โดยในแต่ละปีมี แนวโน้ม ของการเกยตื้นเพิ่มสูงขึ้นทั้งนี้เป็นเพราะการแจ้งข่าวสารการเกยตื้นที่สะดวก และ ความตระหนักในการรับรู้ของชุมชนชายฝั่งที่เพิ่มมากขึ้น มีค่าเฉลี่ยการเกยตื้นต่อปี ของเต่าทะเล โลมาวาฬ และพะยูน เท่ากับ 127±75, 83±62, และ 12±5 ตัวต่อปี ตามลาดับ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561) แผนภูมิที่ 2.1 สถิติการเกยตื้น
ภาพที่ 2.5 สถิติการเกยตื้น ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง, 2561
ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง , 2561
2-5
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.2.4. สาเหตุการเกยตื้น ลักษณะการเกยตื้นของสัตว์ทะเลหายากส่วนใหญ่จะเลียชีวิตมาแล้วเมื่อได้รับแจ้ง การเกยตื้นโดยเฉพาะในกลุ่มของพะยูน โลมาและวาฬ โดยมีสัดส่วนของการเกยตื้นแบบเป็นซาก ร้อยละ 83 และ ร้อยละ 65 ตามล้าดับในขณะที่เต่าทะเลมีสัดส่วนของการเกยตื้นแบบมีชีวิต ใกล้เคียงกับเสียชีวิต สาเหตุของการเกยตื้นสาหรับเต่าทะเลและพะยูนส่วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 74) เกิด จากเครื่องมือประมง โดยเฉพาะเครื่องมือประมงชายฝั่งได้แก่อวนลอย ตลอดจนกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการประมง ในขณะที่โลมาและวาฬมีสาเหตุการเกย ตื้นส่วนใหญ่จากการป่วยตาม ธรรมชาติ (ประมาณร้อยละ 63) โดยพบการติดเชื้อใน ระบบทางเดินหายใจมากที่สุด ขยะเป็นอีกสาเหตุการเกยตื้น ซึ่งมีแนวโน้มของปัญหาเพิ่มขึ้นทุกปี ค่าเฉลี่ยของเต่า ทะเลและโลมาที่กลืนขยะ และเข้าไปสะสมอยู่ในระบบทางเดินอาหารมีร้อยละ 2-3 แต่หากนับจ้านวน ของการเกยตื้นที่มีขยะทะเลเกี่ยวพันภายนอก โดยเฉพาะขยะจาพวกอวน ซึ่งพบมากในเต่าทะเลจะ มีเปอร์เซ็นต์การเกยตื้นจากสาเหตุขยะสู งถึงร้อยละ 20-40 (กรมทรั พยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง , 2561) ภาพที่ 2.6 โลมาเกยตื้น ที่มา : www.wordpass.com, 2561
2-6
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.2.5. ผลการช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายากเกยตื้น
กลุ่มเต่าทะเล ข้อมูลการช่วยเหลือเต่าทะเลระหว่างปี พ.ศ.2549-2559 รวมระยะเวลา 11 ปี พบว่าเต่าทะเลที่เกยตื้นส่วนใหญ่มีการเสียชีวิตมาก่อนแล้ว ร้อยละ 60 เต่าทะเลที่มีชีวิตขณะเกยตื้น เมื่อได้รับการช่วยเหลือและอนุบาลในสถานพัก ฟื้นของหน่วยงานภายใต้กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่งมีอัตรารอดชีวิตเฉลี่ยร้อยละ 80 โดยผลสาเร็จในการช่วยเหลือมีแนวโน้มที่ดีขึ้นตามระยะ พะยูน ข้อมูลการช่วยเหลือพะยูนระหว่างปี พ.ศ.2549-2559 รวมระยะเวลา 11 ปี พบว่า พะยูนที่เกยตื้นส่วนใหญ่มีการเสียชีวิตมาก่อนแล้วร้อยละ 89 พะยูนที่มีชีวิตขณะเกยตื้นเมื่อได้รับการ ช่วยเหลือและอนุบาลในสถานพักฟื้นของหน่วยงานภายใต้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมีอัตรา รอดชีวิตเฉลี่ยร้อยละ 45 โดยผลสาเร็จในการช่วยเหลือมีแนวโน้มที่ดีขึ้นตามระยะเวลา กลุ่มโลมา และวาฬ ข้อมูลการช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายากกลุ่มโลมา และวาฬระหว่าง ปี พ.ศ. 2549-2559 รวมระยะเวลา 11 ปี พบว่าโลมา และวาฬที่เกยตื้นส่วนใหญ่มีการเสียชีวิตมา ก่อนแล้วร้อยละ89 ความสาเร็จในการช่วยเหลือโลมาและวาฬยังมีค่อนข้างต่า เนื่องจากโลมาและวาฬ ที่เกยตื้นส่วนใหญ่มีอาการป่วยที่ค่อนข้างรุนแรง โลมาและวาฬที่สามารถช่วยเหลือได้สาเร็จมักเป็น กรณีของการเกยตื้นจากการนาทางผิดพลาด เช่น กรณีการช่วยโลมาอิรวดีจ้านวนมากกว่า 16 ตัว ที่ว่ายน้าเข้ามาบริเวณแนวไม้ไผ่ที่ติดตั้งเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ผลสาเร็จในการช่วยเหลือ มีแนวโน้มที่ดีขึ้นตามระยะเวลา (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง , 2561)
ภาพที่ 2.7 พะยูน ที่มา : www.pinteress.com, 2561
2-7
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.3.1ยุทธศาสตร์กรมประมง 5 ปี พ.ศ. 2560-2564 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการด้านการประมงและทรัพยากรสัตว์น้าให้มีความยั่งยืนและคงความ หลากหลายด้านระบบนิเวศ
กลยุทธ์ที่ 1 ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้าและแหล่งที่อยู่อาศัยเพื่อสร้างสมดุลและความหลากหลาย กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้า กลยุทธ์ที่ 3 ควบคุมและป้องกัน การทาประมงให้เป็นไปตามกฎหมายและแผนระดับชาติ กลยุทธ์ที่ 4 วิจัย พัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ทรัพยากรสัตว์น้า
ภาพที่ 2.8 ภาพวาฬ ที่มา : www.pinterest.com, 2561
2-8
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.4 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและหลักการออกแบบ 2.4.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1) องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - ทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ยว (natural resource tourism) การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เกี่ยวข้องกับธรรมชาติที่ยัง ดารงไว้ซึ่งสภาพดังเดิมของระบบนิเวศ (first hand ecosystem) และวัฒนธรรมท้ องถิ่น ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ แหล่ ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ส่วนใหญ่ จึงมักปรากฏอยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ เช่ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ขตรั ก ษาพั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า และอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ เป้นต้น สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย(2539) กล่าวถึงแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ว่ า เป็ นแหล่ ง ที่ มีจุ ด เด่ นเป็ น สิ่ ง ดึ ง ดู ด ในนั กท่ อ งเที่ ยว (nature attractions) และตั ด ขาดจากโลกภายนอก (solitude) ซึ่ ง นักท่องเที่ยวจะไม่ได้สัมผัสได้ที่ในเมืองหรือที่อยู่อาศัย นั กท่ อ งเที่ ยวเชิ ง อนุ รักษ์ สถาปั นวิ จั ยเพื่ อ พั ฒนา ประเทศไทย (2540) ระบุว่านักท่องเที่ย วเชิงอนุรักษ์สามารถ จาแนกได้เป็น 4 ประเภท
ประเภทที่ 1 นักท่องเที่ยวแบบหัวกะทิ เป็นนักท่องเที่ยวที่ เน้นความสาคัญในการศึกษาค้นคว้าขณะที่เที่ยวชมธรรมชาติ ประเภทที่ 2 นักท่องเที่ยวธรรมชาติ แบบอุ ทิศตน เป็ น นักท่องเที่ยวที่เน้นเจาะจงไปเที่ยวสถานที่ ธรรมชาติโดยเฉพาะ เพื่อ จะได้รู้ได้เข้าใจในธรรมชาติหรือประเพณีท้องถิ่น ประเภทที่ 3 นั ก ท่ อ งเที่ ย ธรรมชาติ เ ป็ น หลั ก เป็ น นักท่ องเที่ ยวที่ช อบไปสถานที่ แปลกๆ ที่ไ ม่เ คยไปมาก่ อน เช่น ไป เยือนลุ่มแม่น้าอเมซอน อุท ยานกอริ ลาในรวั นดา หรื อจุดหมาย ปลายทางอื่น ๆ ที่เ ป็นการริเ ริ่ มส าหรับโปรแกรมการท่ องเที่ ยว พิเศษ ประเภทที่ 4 นั กท่ อ งเที่ ยวธรรมชาติ ต ามโอกาส เป็ น นักท่องเที่ยวที่บังเอิญต้องไปชมธรรมชาติ เพราะเป็นส่วนหนึ่งของ โปรแกรมท่องเที่ยวที่ตนได้เลือกไ นอกจากนี้ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2539 ได้กล่าวถึงลักษณะของนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ว่าจะต้อง เป็ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ มี พ ฤติ ก รรมที่ เ หมาะสมกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ น การศึกษาหาความรู้ และประสบการณ์ เพื่อเสริมสร้างจิตสานึกใน การอนุรักษ์ธรรมชาติ
2-9
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2) การตลาดนับเป็นส่วนสาคัญในการชักจูงนักท่องเที่ยวให้ไป ท่องเที่ยวโดยเป็นสื่อกลางระหว่างนักท่องเที่ยวผู้ประกอบการ และหล่ง ท่องเที่ยวซึ่งในเชิงการตลาดจะต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนว่า การท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์มีลักษณะอย่า งไรโดยการให้ข้อมูลและสิ่งที่คาดหวังจากการ ท่องเที่ยวอย่างถูกต้องแก่นักท่องเที่ยว เพื่อเป็นการช่วยให้นักท่องเที่ยว ตัดสินใจว่ารูปแบบของการท่องเที่ยวในลักษณะเช่นนี้เหมาะสมกับรูปแบบ ความสนใจและตรงตามความต้อ งการของนักท่องเที่ยวหรือ ไม่ อีกทั้ ง ยอมรับกฎเกณฑ์ หรือกติกาในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้หรือไม่ ดังนั้น จึ ง เห็ นได้ ว่ า การตลาดเป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ส าคั ญ ในการตั ด สิ นใจลื อ กสรร ประเภทและคุณภาพของนักท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมสนับสนุน การท่องเที่ยว ในเชิงคุณภาพ มากกว่าการท่องเที่ยวเชิงปริมาณ จึงเป็นหนทาง นาไปสู่ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งส่วนใหญ่งานด้านการส่งเสริมการตลาดเป็น หน้าที่ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ, 2539)
ภาพที่ 2.9 ภาพนักท่องเทีย่ วและวาฬ ที่มา : www. pinterest.com, 2561
2-10
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2) น้าขึ้น น้าลง น้าขึ้นน้าลงเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากแรงดึงดูดของ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่กระทาต่อโลกเราครับ แต่ผลที่เกิดจากดวงจันทร์นั้น มากกว่าดวงอาทิตย์ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะมีมวลมากกว่าดวงจันทร์ถึง 27 ล้าน เท่า แต่ดวงอาทิตย์อยู่ห่างไกลจากโลกถึง 93 ล้านไมล์ (ประมาณ 390 เท่าเมื่อ เทียบกับระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์ ) ส่วนดวงจันทร์ที่เป็นบริวารของโลก นั้น อยู่ห่างจากโลกเพียง 240,000 ไมล์ ดังนั้นแรงดึงดูดของดวงจันทร์จึงมี ผลต่อโลกมากกว่าดวงอาทิตย์ และน้าที่เกิดจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์จะสูง เพียงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับระดับน้าที่สูงขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์ ในขณะที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกนั้น น้าบนพื้นโลกซึ่งเป็นของเหลว จะถูกแรง ดึงดูดของดวงจันทร์ทาให้ระดับน้าสูงขึ้นทั้งในทิศทางที่ดวงจันทร์ปรากฏขึ้นและใน ซีกโลกฝั่งตรงข้ามน้าก็จะสูงขึ้นด้วยเพราะแรงดึงดูดของโลกกับดวงจันทร์ไปรวม ในทิศทางนั้น (www.sites.google.com , 2561)
2-11
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
วัฏจักรน้าขึ้น น้าลง โลกเมื่อเกิดน้าขึ้นครั้งละ 2 แห่ง ก็จะเกิดน้าลง 2 แห่ง ด้วย ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง น้าขึ้นจะเกิดบนด้านที่หันเข้าหาดวงจันทร์ และ ด้านที่อยู่ตรงข้ามดวงจันทร์ ทุกตาแหน่งบนโลกจะเคลื่อนผ่านบริเวณที่เป็นน้า ขึ้น 2 แห่ง และบริเวณที่เป็นน้าลง 2 แห่ง ในวงรอบ25 ชั่วโมง ดังนั้นบริเวณ ต่างๆ ของโลกจึงมีน้าทะเลขึ้นและลงวันละ 2 ครั้ง ผลกระทบของน้าขึ้น น้าลง น้าขึ้นน้าลงวันละสองครั้ง มิได้เกิดขึ้นในทุกแห่ง ของโลก รู ปทรงของอ่ า ว ช่อ งทางน้ า และพื้ นมหาสมุ ทร ส่ ง ผลต่ อ การ ไหลเวียนของน้า ดังนั้นระดับน้าและเวลาของการเกิดน้าขึ้นน้าลงในแต่ละแห่งจึง แตกต่างกันมาก แม้ว่าจะเป็นสถานที่อยู่ใกล้เคียงกันก็ตาม เนื่องจากเวลาน้าลง อาจมีหินโสโครกโผล่ขึ้นเหนือน้า และช่องทางเดินเรืออาจตื้นเขิน นักเดินเรือจึง ต้องคอยติดตามเวลาการเกิดน้าขึ้นน้าลง แม้ในทุกวันนี้ นักเรียนอาจเคยเห็น ข่าวในหนัง สือพิ มพ์ว่า เรื อเกยตื้นตอนน้าลง ต้ องรอจนกว่าน้ าขึ้น จึงจะ ลอยตัวออกไปได้ ในบางครั้งน้าขึ้นน้าลงในมหาสมุทรก็ส่งผลกระทบต่อแม่น้า เห็นได้ในบริเวณปากแม่น้า น้าทะเลจะไหลเข้าไปในแม่น้าในเวลาน้าขึ้น และน้าในแม่น้า จะไหลลงสู่มหาสมุทรในเวลาน้าลง (www.sites.google.com , 2561)
ภาพที่ 2.10 ภาพทะเล ที่มา : www. pinterest.com, 2561
2-12
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
- หลังคาปั้นหยา (Hip) ป้องกันแรงปะทะได้ ดี ก ว่ า หลั ง คาแบบจั่ ว (Gable) ควรเพิ่ ม ด้ า นมุ ม หลั ง คาให้ ครอบคลุมพื้นที่อาคาร เพื่อรับแรงปะทะจากลมพายุรอบด้าน การ ออกแบบชุดหลังคาให้มีหลายแผง หลายมุมจั่วจะช่วยต้านแรงปะทะ ได้ดียิ่งขึ้น (จากการศึกษาหลังคาเอียงทามุม 30 องศาป้องกัน ความรุนแรงได้ดีที่สุด)
2.4.2 อาคารป้องกันพายุ
หลักการออกแบบอาคารป้องกันพายุ - หลีกเลี่ยงการวางผังบ้านเป็นรูปตัว L หรือตัว U เพราะเหลี่ยมมุมของผังบ้านจะให้เกิดมุมดักลม เมื่อกระแสลมไหล ผ่านออกไปไม่ได้
- ใช้โครงสร้างที่มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นได้ดี เช่น โครงสร้างเหล็กและไม้ เพราะเหล็กมีคุณสมบัติรับแรงดึงได้ ดีกว่าคอนกรีตทั่วๆไป ทาให้สามารถดูดซับแรงกระทารักษารูปทรง ให้คงสภาพอยู่ได้ ไม่แตกหักพังทลายในทันที แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่าย เพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยแต่ก็นับว่าเป็นหลักประกันที่ความคุ้มค่าต่อชีวิต และทรัพย์สิน ตัวอย่างที่เห็นได้คือ ที่ประเทศญี่ปุ่นเกิดภัยธรรมชาติ บ่อยครั้งบ้านที่นั่นมักใช้โครงสร้างเหล็กหรือไม้
ภาพที่ 2.11 ภาพหลังคากัยพายุ ที่มา : www. pinterest.com, 2561
2-13
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1 - สร้างช่องระบายลมขนาดเล็กใต้หลังคา ให้ ต่าลงมา
ประมาณ 1 เมตร หากต้องการสร้างช่องลมไว้ช่วยลดอุณหภูมิ ในหน้าร้อน ก็ควรจะเลื่อนตาแหน่งลงมาประมาณ 1 เมตร จาก จุดสูงสุดของหน้าจั่ว เพื่อลดความเสียหายจากแรงลมที่จะพัด ผ่านเข้าไปทาลายโครงสร้างหลังคาภายใน พัดผืนหลังคาหลุด ลอยไปได้ 2 - เชื่อ มโครงสร้ างหลัง คากั บเสาและผนั ง บ้า นให้ ยึ ด ติดกันแนบสนิท แข็งแรงเป็นการป้องกันลมพัดโครงหลังคาปลิว ออกจากตัวบ้าน เลือกใช้กระเบื้องมุงแบบแผ่นเล็ก หรือมีระยะยึด เกาะถี่ๆ เพื่อเพิ่มจุดยึดเกาะที่หนาแน่นมากขึ้นบนผืนหลังคา ยอม เสียกระเบื้องแผ่นเล็กจานวนไม่มากดีกว่าเสียกระเบื้องแผ่นยาวกิน พื้นที่ และการลดความเสี่ยงโครงสร้างหลังคาเสียหาย ด้วยการปู กระเบื้องชายคาออกไปไม่เกิน 50 เซนติเมตร ลดพื้นที่รับแรงปะทะ 3 - เชิงชายและไม้ปิดลอนช่วยได้ องค์ประกอบง่ายๆของ อาคาร ที่นอกจากจะใช้เก็บความเรียบร้อยของหลังคาและป้องกัน นก หนู แมลงเข้าใต้ฝ้าแล้ว ยังมีส่วนช่วยลดปริมาณลมที่จะพัด เข้าใต้หลังคา 4 - แยกโครงสร้างกันสาดจากโครงหลังคา หากต้องการ มี ช ายคายื่ น ยาวเพื่ อ ป้ อ งการแดดฝน ควรท าเป็ น ชายคาแยก ออกมาจากหลังคา เช่น ยื่นมาจากคาน ระเบียง เป็นต้น เพื่อลด ความเสียหายหากทาหลังคาที่มีชายคายื่น
1
3 2 4 ภาพที่ 2.12 ภาพโครงสร้างหลังคาป้องกันพายุ ที่มา : www. pinterest.com, 2561
2-14
Antalya Aquarium ออกแบบโดย สถาปนิก Bahadir Kul Architects สถานที่ : Turkey การออกแบบพื้ น ที่ ส าธารณะ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของการ กระจายพันธุ์สัตว์น้าและรวบรวมพันธุ์สัตว์น้าไว้มากที่สุด อีกทั้งมี การออกแบบรวมไปถึ งมี ร้ านอาหาร และพื้น ที่ข องการเรี ยนรู้และ ศึกษาของคนที่สนใจ Concept Design : เส้นโค้งและคลื่น
ภาพที่ 2.13 case study 1 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
2-15
ภาพที่ 2.14 case study 1 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
ภาพที่ 2.15 case study 1 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
Mikolai Adamus ออกแบบโดย สถาปนิก Mikolai Adamus สถานที่ : Poland การออกแบบปรั บ ปรุ ง ท่ า เรื อ งเก่ า ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ส าหรั บ การเรี ย นรู้ พั ก ผ่ อ น และนิ ท รรศการต่ า งๆ เพื่ อ ประโยชน์ในการใช้ที่ดินเก่าให้มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น อีกทั้งปลูกฝัง ความคิดในการอนุรักษ์พื้นที่เดิมให้คงไว้ Concept Design : อัตราส่วนสามเหลี่ยมทองคา
ภาพที่ 2.16 case study 2 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
2-17
ภาพที่ 2.17 case study 2 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
Karlovac Freshwater Aquarium and River Museum ออกแบบโดย 3LHD สถานที่ : Ul. Gornje Mekušje, 47000, Karlovac, Croatia พิพิธภัณฑ์สัตว์น้าจืดคาร์โลวัคที่ตั้งอยู่ริมแม่น้า Korana อาคารบางส่วนขุดลงไปในพื้นดิน และปกคลุม ด้วย ทานบดินและเขียวขจีจากขอบด้านนอก แนวคิดการออกแบบที่ ได้รับแรงบันดาลใจจากการเมืองศูนย์กลางประวัติศาสตร์คาร์ โลวัคดาว
ภาพที่ 2.18 case study 3 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
2-19
2-20 ภาพที่ 2.19 case study 3 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.5 การศึกษาโครงการตัวอย่าง
ภาพที่ 2.20 case study 1 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
Antalya Aquarium ออกแบบโดย สถาปนิก Bahadir Kul Architects สถานที่ : Turkey การออกแบบพื้นที่สาธารณะ ให้เป็นศูนย์กลางของ การกระจายพันธุ์สัตว์น้าและรวบรวมพันธุ์สัตว์น้าไว้มากที่สุด อีกทั้งมีการออกแบบรวมไปถึงมีร้านอาหาร และพื้นที่ของการ เรียนรู้และศึกษาของคนที่สนใจ Concept Design : เส้นโค้งและคลื่น
ภาพที่ 2.21 case study 2 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
ภาพที่ 2.22 case study 3 ที่มา : www. archdaily.com, 2561
Karlovac Freshwater Aquarium and River Museum
Mikolai Adamus ออกแบบโดย สถาปนิก Mikolai Adamus สถานที่ : Poland การออกแบบปรั บ ปรุ ง ท่ า เรื อ งเก่ า ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ส าหรั บ การเรี ย นรู้ พั ก ผ่ อ น และนิ ท รรศการต่ า งๆ เพื่ อ ประโยชน์ในการใช้ที่ดินเก่าให้มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น อีกทั้งปลูกฝัง ความคิดในการอนุรักษ์พื้นที่เดิมให้คงไว้ Concept Design : อัตราส่วนสามเหลี่ยมทองคา
2-21
ออกแบบโดย 3LHD สถานที่ : Ul. Gornje Mekušje, 47000, Karlovac, Croatia พิพิธภัณฑ์สัตว์น้าจืดคาร์โลวัคที่ตั้งอยู่ริมแม่น้า Korana อาคารบางส่วนขุดลงไปในพื้นดิน และปกคลุม ด้วย ทานบดินและเขียวขจีจากขอบด้านนอก แนวคิดการออกแบบที่ ได้รับแรงบันดาลใจจากการเมืองศูนย์กลางประวัติศาสตร์คาร์ โลวัคดาว
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ตาราง2.1 เปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง ชื่ออาคาร
Antalya Aquarium
Mikolai Adamus
Karlovac Freshwater Aquarium and River Museum
รูปภายในอาคาร
โครงสร้าง
คอนกรีตเสริมเหล็ก
เหล็ก
คอนกรีตเสริมเหล็ก
12000 sq.m.
2500 sq.m.
2915 sq.m.
- พื้นที่เรียนรู้ - พื้นที่สานักงาน - ร้านอาหาร
- ท่าเรือ - พื้นที่เรียนรู้ - พื้นที่สาธารณะ
- พื้นที่สาธารณะ - พื้นที่การเรียนรู้
แบบสถาปัตยกรรม
พื้นที่ องค์ประกอบ
การนามาประยุกต์ใช้
โปรแกรม ความสัมพันธ์ และ แนวความคิดในการออกแบบ
โปรแกรมและความสัมพันธ์ และรูปแบบการ เรียนรู้ในการจัดนิทรรศการ 2-22
รูปแบบการจัดการและการใช้ประโยชน์ของพื้นที่
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
BUILDIN CODE 2-23
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2.6 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 2.2 กฎหมาย
ข้อ 1
หมวดหมู่
เนื้อหา
ผังเมือง
“พื้นที่สีเขียว” ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ อัตราส่วนที่ว่างไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต
2
ลักษณะอาคาร
“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรมทาง ราชการ การเมือง การศึกา การ ศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนาม กีฬาในร่ม สนามกีฬากลางแจ้ง ตลาด ห้ามสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ ท่าจอด เรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ณาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น
3
ที่จอดรถยนต์
ในเขตเทศบาลทุกแห่งหรือในเขตท้องที่ ที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479 บังคับใช้ อาคารสาธารณะ คิดจานวนจากพื้นที่ใช้สอย รวมทั้งอาคาร 240 ตารางเมตรต่อ 1 คัน ที่มา : กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี, 2561
2-24
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ตารางที่ 2.2 กฎหมาย (ต่อ)
ข้อ
หมวดหมู่
4
ผังสี
5
ระยะร่นอาคาร
เนื้อหา ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้เป็นไปตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ - โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานตามประเภท ชนิด และจาพวกท้ายกฎกระทรวง - คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย - คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม - จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม - การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด - พื้นที่บริเวณที่ 1 บริเวณที่ 2 และ บริเวณที่ 3 ที่วัดจากแนวทะเลชายฝั่ง เข้าไปในแผ่นดินเป็นระยะ 50 เมตร ให้มีระยะห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า 20 เมตร - พื้นที่บริเวณที่ 1 บริเวณที่ 2 และ บริเวณที่ 3 ที่วัดจากแนวเขต เข้าไปในแผ่นดินระยะ 150 เมตร ให้มีได้เฉพาะอาคารสูงไม่เกิน12 เมตร
ที่มา : กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี, 2561
2-25
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ตารางที่ 2.2 กฎหมาย (ต่อ)
ข้อ
6
หมวดหมู่
เนื้อหา
ระยะร่นอาคาร (ต่อ)
-
การใช้ประโยชน์ที่ดินริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3177 ให้มีที่ว่างตามแนวเขตทางไม่น้อยกว่า 6 เมตร อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจาก กึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 6 เมตร
บันไดของอาคาร
บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยายที่มีพื้นที่รวมกัน ตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถานบริการที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือ บันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 2000 ตารางเมตรขึ้นไปต้องมีความ กว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 4 เมตร หรือน้อยกว่านั้น และระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือชาน พัก บันไดถึงส่วนต่าสุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ้นไปต้องสูงไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพื้นที่หน้าบันได ต้องมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างสุทธิของบันได เว้นแต่บันไดที่มีความกว้างสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพัก บันไดและพื้นที่หน้าบันไดจะมีความยาวไม่เกิด 2 เมตรก็ได้
ภาพที่ 2.32 บันได ที่มา : www. scg.com, 2561
ที่มา : กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี, 2561
2-26
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ตารางที่ 2.2 กฎหมาย (ต่อ)
ข้อ 7
หมวดหมู่
เนื้อหา
บันไดหนีไฟ
1. อาคารที่สูงตั้งแต่สี่ชั้นขึ้นไปและสูงไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สูงสามชั้นและมีดาดฟ้าเหนือชั้นที่สามที่มี พื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดของอาคารตามปกติแล้ว ต้องมีบันไดหนีไฟที่ทาด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อย หนึ่งแห่ง และต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้นโดนไม่มีสื่งกีดขวาง 2. บันไดหนีไผต้องมีความลาดชันน้อยกว่า 60 องศา เว้นแต่ตึกแถวและบ้านแถวที่สูงไม่เกินสี่ชั้น ให้มีบันไดหนีไฟ ที่มีความลาดชันเกิน 60 องศาได้และต้องมีชานพักบันไดทุกชั้น 3. บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และต้องมีผนังส่วนที่บันไดหนี ไฟพาดผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ - บันไดหนีไฟตามวรรคที่หนึ่ง ถ้าทอดไม่ถึงพื้นชั้นล่างของอาคารต้องมีบันไดโลหะที่สามารถเลื่อหรือยืด หย่อนลงมาจนถึงพื้นชั้นล่างของอาคารได้ 4. บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุ ถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟกั้นโดยรอบ เว้นแต่ส่วนที่เป็นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟ และต้องมีอากาศถ่ายเทจาก ภายนอกอาคาร อาคารแต่ละชั้นต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิดสู่ภายนอกอาคารได้มีพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่า 1.4 ตารางเมตร และต้องมีแสงสว่างที่เพียงพอต่อกลางวันและกลางคืน ภาพที่ 2.33 บันได ที่มา : www. scg.com, 2561
ที่มา : กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี, 2561
2-27
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3. SITE ANALYSIS
3-1
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
บทที่ 3 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 3.1 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบเมือง 3.1.1 ประวัติความเป็นมาของที่ตั้งโครงการ
ภาพที่ 3.1 สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี ที่มา : www.wordpass.com, 2561
3-2
จังหวัดเพชรบุรีมีที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศไทย มีเนื้อที่ ประมาณ 6,225.138 ตาราง กิโ ลเมตร หรือ 3,890,711ไร่ มี อาณาเขต ติดต่อจังหวัดใกล้เคียงและประเทศเพื่อนบ้าน จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้าตาล เนื่องจากมีต้น ตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคย รุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สาคัญของไทยในกลุ่มหัว เมื อ งฝ่ า ยตะวั น ตก ปั จ จุ บั น มี วั ด เก่ า แก่ แ ละบ้ า นเรื อ นทรงไทยจ านวนมาก นอกจากนี้ยังมีคาพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมือง ด่ า นส าคั ญ ระหว่ า งภาคกลางและภาคใต้ และยัง เป็ นเมื อ งท่ อ งเที่ ยวที่ ส าคั ญ เช่น หาดชะอา หาดปึกเตียน หาดเจ้าสาราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อน แก่งกระจาน เว็บไซต์ประจาจังหวัดเพชรบุรี , 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.1.2 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ 1) ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่ด้านตะวันตกเป็นป่าไม้และภูเขาสูงสลับซับซ้อน มีเทือกเขาตะนาว ศรีเป็นเส้นกั้นอาณาเขตระหว่างไทยกับพม่า เฉพาะในเขตจังหวัดเพชรบุรีมีความ ยาวประมาณ 120 กิโลเมตร แม่ น้าสายส าคัญไหลผ่าน 3 สาย ได้ แก่ แม่น้า เพชรบุรี มีความยาวตลอดสาย 227 กิโลเมตร แม่น้าบางกลอย มีความยาว 44 กิโลเมตร และแม่น้าบางตะบูน มีความยาว 18 กิโลเมตร มีประชากรอาศัย หนาแน่ นทางตะวั น ออกของพื้ นที่ ซึ่ ง เป็ นที่ ราบลุ่ มชายฝั่ ง ทะเล ลั กษณะภู มิ ประเทศจังหวัดเพชรบุรี กรมอุตุนิยมวิทยา 2561
ภาพที่ 3.2 ลักษณะภูมิประเทศจังหวัดเพชรบุรี ที่มา : www.wordpass.com, 2561
3-3
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
2) เศรฐกิจ
สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบุรี ส่วนใหญ่ขึ้นอยูก่ ับการค้าปลีกและ ค้าส่ง รองลงมาได้ แก่ ภาคบริ การการเกษตรกรรม การคมนาคมและการ ขนส่ง การอุตสาหกรรม การก่อสร้างและอื่น ๆ จากรายงานของสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปี 2544 จังหวัด เพชรบุ รี มี มู ลค่ าผลิ ต ภั ณ ฑ์ มวล รวมจั งห วั ด (G.P.P) ณ ร า ค า ตลาด 22,519 ล้ านบาท ส่ว นใหญ่ ขึ้นอยู่ กับสาขาการค้ า ส่ ง และค้ า ปลี ก มู ล ค่ า 4,821 ล้ า นบาท สาขาการบริ ก าร 3,476 ล้ า นบาท สาขา เกษตรกรรม 3,106 ล้านบาท สาขาอุตสาหกรรม 2,832 ล้านบาท สาขาการ ค ม น า ค ม แ ล ะ ก า ร ข น ส่ ง 2 , 3 9 5 ล้ า น บ า ท ร า ย ไ ด้ ป ร ะ ช า ก ร จานวน 51,522 บาท/คน/ปี
3) อาณาเขต
ภาพที่ 3.3 อาณาเขตจังหวัดเพชรบุรี ที่มา : www.wordpass.com, 2561
3-4
จังหวัดเพชรบุรีอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามเส้นทางหลวง แผ่ นดิ นหมายเลข 35 ระยะทางประมาณ 123 กิ โลเมตร มี พื้ นที่ทั้ง หมด 6,225.138 ตารางกิโลเมตรหรือ 3,890,711.20 ไร่ โดยมีส่วนที่กว้าง ที่สุดวัดได้ 103 กิโลเมตรจากทิศตะวันออก-ตะวันตกและส่วนที่ยาวที่สุดวัดได้ 80 กิโลเมตรจากทิศเหนือ-ใต้ กรมอุตุนิยมวิทยา , 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
5) ประชากร (ที่ มา: ส านั ก ทะเบี ย นกลางกรมการปกครอง) กรมการปกครองตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ เดือนธันวาคม2558 จังหวัดเพชรบุรี มีประชากร จานวน 478,589 คน เป็นชาย 231,747 คน หญิ ง 246,842 คน จ านวนครั ว เรื อ น 203,897 หลั ง คาเรื อ น สถานการณ์ด้านแรงงาน(ที่มา:สานักงานแรงงานจังหวัดเพชรบุรี) ข้อมูล ณ เดื อ นกรกฎาคม2557จั ง หวั ด เพชรบุ รีมี ส ถานประกอบกิ จ การ จ านวน 2,671แห่ง 6) ฤดูกาล จังหวัดเพชรบุรีพิจารณาตามลักษณะลมฟ้าอากาศ ของประเทศไทย แบ่งออกได้ดังนี้ คือ - ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศ จะร้อนอบอ้าวทั่วไป โดยมีเดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนที่สุดในรอบปี - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นระยะที่ลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดเข้าสู่ประเทศไทย อากาศจะชุ่มชื้นและมีฝนตกทั่วไป โดยมีฝนตกหนักในเดือนตุลาคม - ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในระยะที่ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ทาให้อุณหภูมิลดลงทั่วไป และมีอากาศหนาวเย็น และอาจมีฝนได้ตามบริเวณชายฝั่งทะเลโดยเฉพาะใน เดือนพฤศจิกายนมีฝนตกมา ส่วนเดือนธันวาคมและมกราคมมีฝนตกน้อย และอากาศอยู่ในเกณฑ์เย็น กรมอุตุนิยมวิทยา , 2561
3-5 ภาพที่ 3.4 ทะเล ที่มา : www.wordpass.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
7) ลักษณะอากาศทั่วไป จังหวัดเพชรบุรีอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมที่พัด เวี ยนเป็นประจาเป็ นฤดู กาล 2 ชนิ ด คื อ พัด จากทิศตะวั นออกเฉี ยงเหนื อในฤดู หนาว เรียกว่าฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้จังหวัดเพชรบุรีซึ่งอยู่ทางตอนบนของภาคใต้ ฝั่งตะวันออกมีฝนน้อยในช่วงฤดูหนาว และมีอากาศเย็นเป็นครั้งคราวคล้ายคลึงกับภาค กลาง แต่ในช่วงต้นฤดูอาจมีฝนตกชุกได้ ส่วนมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้ ลมนี้จะพัดประจาในฤดูฝน และเป็นลมที่พัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย จึงทาให้ประเทศไทยมี ฝนตกมาก แต่เนื่องจากจังหวัดเพชรบุรีอยู่หลังทิวเขาตะนาวศรีซึ่งปิดกั้นทางลมนี้ไว้จึง เป็นที่อับฝน และมีฝนตกน้อยในช่วงฤดูฝน ฝนส่วนใหญ่จะตกมากในช่วงฤดูหนาวคือ ระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน กรมอุตุนิยมวิทยา , 2561
3-6
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3-7
ภาพที่ 3.5 ภาพชาวประมง ที่มา : www.wordpass.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.2 ศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.2.1 ประวัติย่านที่ตั้ง
DISTRIC
อาเภอ "บ้านแหลม" เป็นชื่อเรียกตามสภาพภูมิประเทศที่เป็นแหลมยื่นลงไปในทะเล เดิมท้องที่ อาเภอบ้านแหลมมี ฐานะในทางปกครองเป็นส่ว นหนึ่งของแขวง 2 แขวง คือ ฝั่งตะวันออกของแม่น้า เพชรบุรีขึ้นอยู่กับ แขวงขุนชานาญ ทางฝั่งตะวันตกขึ้นอยู่กับ แขวงหลวงพรหมสาร เรียกชื่อตามทินนาม ของผู้เป็นนายแขวงปกครองอยู่ขณะนั้น ครั้นต่อมาได้รับการจัดตั้งเป็นอาเภอ เมื่อปี พ.ศ. 2443 ต่อมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ยุบรวมอาเภอเมืองเพชรบุรี เมื่อ ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2444)ต่อมากรมการ อาเภอเมือง ได้แจ้งมณฑลเทศาภิบาลราชบุรี ว่าท้องที่อาเภอเมือง เมืองเพชรบุรี มีพื้นที่กว้างขวาง มี พลเมือง 60,000 เศษ เหลือกาลังเกินที่กรมการอาเภอเมืองจะตรวจตรารักษาความสงบเรียบร้อยให้ ตลอดทั่วถึงได้ จึงขอแยกอาเภอใหม่ ซึ่งพระยาอมรินทร์ ฤๅไชย ข้าหลวงมณฑลเทศาภิบาลราชบุรีได้มีใบ บอกไปยังกระทรวงมหาดไทยเพื่อนาความกราบบังคบทูลต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานนามอ าเภอใหม่ ว่ า "อ าเภอบ้ า นแหลม" เมื่ อ วั น ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 (ร.ศ.123) สมัยอดีตนั้นอาเภอบ้านแหลมเป็นเสมือนเมืองท่าของเมืองเพชรบุรีที่ใช้เป็นที่ติดต่อค้าขายกับหัว เมื อ งอื่ น ดั ง นั้ น เมื อ งเพชรบุ รี จึ ง เป็ น เมื อ งที่ มี ค วามรุ่ ง เรื อ งมาแต่ ใ นอดี ต จากการติ ด ต่ อ ค้ า ขายกั บ ต่างประเทศ โดยมีสินค้าหลักก็คือ น้าตาลโตนดและเกลือ ความเป็นเมืองท่าเล็กของสยามประเทศได้สิ้นสุดลงเมื่อได้มีสนธิสัญญาเบอร์นีที่บังคับให้สยามมี การติดต่อค้าขายผ่านทางท่าเรือคลองเตยเพียงแห่งเดียว ภายหลังสนธิสัญญาเบาว์ริงได้มีผลบังคับแทน สนธิสัญญาเบอร์นีและได้ยกเลิกในรัชกาลต่อมา แต่รัฐบาลได้หันไปพัฒนาท่าเรือน้าลึกที่แหลมฉบัง หาได้มี การพัฒนาท่าเรือตามเมือง (จังหวัด) อย่างที่เคยมีมาแต่เดิมไม่ ประชาชนที่อยู่ในอาเภอบ้านแหลมในอดีตซึ่ง มักจะมีฐานะจากการค้าขายภายหลังจึงได้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานเข้าไปทามาหากินในกรุงเทพมหานคร เว็บไซต์ประจาจังหวัดเพชรบุรี , 2561 3-8
ANALYSIS
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ที่ตั้งและอาณาเขต
อาเภอบ้านแหลมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณา เขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภออัมพวาและอาเภอเมือง สมุทรสงคราม (จังหวัดสมุทรสงคราม) ทิศตะวันออก จรดอ่าวไทย ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอเมืองเพชรบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอเมืองเพชรบุรีและอาเภอเขาย้อย เว็บไซต์ประจาจังหวัดเพชรบุรี , 2561
3-9
ภาพที่ 3.6 ภาพฝนตก ที่มา : www.pinterest.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
SITE LOCATION
3-10
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ ต าบลแหลมผั กเบี้ ยเป็ น 1 ใน 10 ต าบลที่ อ ยู่ใ นอ าเภอบ้ า นแหลม จั ง หวั ด เพชรบุรี และเป็นตาบลที่อยู่ด้านทิศใต้สุดของอาเภอบ้านแหลม สาหรับแหล่งท่องเที่ยวใน ตาบลแหลมผักเบี้ยก็คือ แหลมหลวง ซึ่งเป็นแหลมยื่นออกจากฝั่งไปในทะเล โดยจะแยก ระหว่างหาดทรายกับหาดโคลนออกจากกัน โดยทิศเหนือจะเป็นหาดโคลน ด้านทิศใต้เป็นหาด ทราย สาหรับหาดทรายในตาบลแหลมผักเบี้ยนั้นเป็นหาดทรายจุดแรกของอ่าวไทยด้านซีก ใต้ สืบเนื่องจากการไหลลงของน้าจืดจากปากแม่น้าลงสู่อ่าวไทยของแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้า บางประกง แม่น้าท่าจีน แม่น้าแม่กลอง แม่น้าเพชรบุรี เมื่อตะกอนลงส่งทะเลจึงทาให้น้าทะเล ในช่วงนี้มีความขุนสูง จึงทาให้เป็นหาดโคลน แหลมหลวงจึงเหมาแก่การศึกษาระบบนิเวศได้ ทั้ง 2 ระบบ ที่อยู่ในแหลมเดียวกัน 3.2.3 การแบ่งเขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบลแหลมผักเบี้ย เป็นองค์กรส่วนปกครองท้องถิ่ น รู ป แบบหนึ่ ง ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นต าบลแหลมผั ก เบี้ ย อ าเภอบ้ า นแหลม จั ง หวั ด เพชรบุ รี โดย รับผิดชอบพื้นทั้งหมดในตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมี ทั้งหมด 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่บ้านพะเนิน หมู่ที่ 2 หมู่บ้านดอนใน หมู่ที่ 3 หมู่บ้าน ดอนกลาง หมู่ที่ 4 หมู่บ้านดอนคดี เว็บไซต์ประจาจังหวัดเพชรบุรี , 2561
ภาพที่ 3.7 อาณาเขตอาเภอบ้านแหลม ที่มา : เว็บไซต์ประจาจังหวัดเพชรบุรี , 2561
3-11
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1
2
3
6 5 4
8 7
3-12
ภาพที่ 3.8 สถานที่สาคัญ ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.2.4 สถานที่สาคัญ 1. กลุ่มอาชีพเกลือทะเลกังหัน 2. ศูนย์สงเคราะห์ราษฎร 3. สถานีอนามัยแหลมผักเบี้ย 4. วัดสมุทรโคดม 5. หาดแหลมหลวง 6. ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้า 7. องค์การบริหารส่วนตาบล 8. แพปลาชุมชน
3-13
ระยะทางจาดสถานที่ตั้งโครงการ 3.9 กิโลเมตร 2.9 กิโลเมตร 2.7 กิโลเมตร 2.1 กิโลเมตร 1.9 กิโลเมตร 1.8 กิโลเมตร 210 เมตร 1.4 กิโลเมตร
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ถนนสัญจรหลัก(ใช่เข้าสู่โครงการ) ถนนสัญจรรอง แพปลาชุมชน และท่าเรือ
3-14
ภาพที่ 3.9 การคมนาคม ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.25 การคมนาคม อ.บ้านแหลม 1) ทางบก รถยนต์สาธารณะที่เดินทางไปยังต่างอาเภอ มีให้ เลือกหลากหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นรถบัสโดยสาร, รถตู้ โดยสาร, รถสองแถว 2) ทางน้า ระบุเป็นเส้นทางเดินเรือชาวประมง
3-15
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.2.6 การวิเคราะห์ด้านผังเมือง
IMAGE OF THE CITY 01.PATH
เส้นทาง ประกอบด้วยถนนหมายเลข 4028 ต าบล แหลมผั ก เบี้ ย อ าเภอบ้ า นแหลม จังหวัด เพชรบุรี และถนนสายย่อยต่าง ๆ
02. EDGE
ขอบเขต ถูกแบ่งเขตด้วยคูคลอง และถนน สายย่อยต่าง ๆ
3-16
03. DISTRICT
ย่ า น ประกอบไปด้ ว ยย่ า ยชุ ม ชน และย่ า น สถานที่ราชการ
04. NODE
ชุมทาง ประกอบไปด้วย ท่าเรือ ตลาด แพปลาชุมชน และสถานที่ราชการ
ภาพที่ 3.10 image of the city ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
LOCATION SELECTION 3.3 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
3.3.1 เกณฑ์ในการเลือกที่ตั้งโครงการ
ภาพที่ 3.11 ภาพเรือประมง ที่มา : www.wordpass.com, 2561
3-17
-
พื้นที่ใกล้เคียงการทาประมง
-
พื้นที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการให้ ความช่วยเหลือสัตว์ทะเล
-
พื้นที่ระบบนิเวศ ใกล้ชายฝั่ง
-
มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค,สาธารณูปการ
-
ระบบคมนาคม,เข้าถึงง่าย,ใกล้เส้นทางขนส่ง
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.3.2 แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัด เพชรบุรี
“พื้นที่สีเขียว” ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใ ช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การ อยู่อาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการอื่น ให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของแปลงที่ดินที่ยื่น ของอนุญาติ (กฎกระทรวง ผังเมืองจังหวัดเพชรบุรี,2561)
SITE LOCATION ภาพที่ 3.12 ผังสีจังหวัดเพชรบุรี ที่มา : กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี, 2561
3-18
01
02
-พื้นที่ใกล้เคียงการทาประมง -พื้นที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลาง การให้ความช่วยเหลือสัตว์ทะเล -พื้นที่ระบบนิเวศ ใกล้ชายฝั่ง -มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค,สาธารณูปการ -ระบบคมนาคม,เข้าถึงง่าย,ใกล้เส้นทางขนส่ง
ที่ตั้ง อาเภอบ้านแหลม เพชรบุรี ขนาดพื้นที่11,680 ตร.ม. (7 ไร่) พื้นที่ประเภทชุมชนและการเกษตร FAR 1:10 OSR : 30
TOTAL
43/50
TOTAL
31/50
TOTAL
34/50
-พื้นที่ใกล้เคียงการทาประมง -พื้นที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลาง การให้ความช่วยเหลือสัตว์ทะเล -พื้นที่ระบบนิเวศ ใกล้ชายฝั่ง -มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค,สาธารณูปการ -ระบบคมนาคม,เข้าถึงง่าย,ใกล้เส้นทางขนส่ง
ที่ตั้ง อาเภอบ้านแหลม เพชรบุรี ขนาดพื้นที่18,532 ตร.ม. (11 ไร่) พื้นที่ประเภทชุมชนและการเกษตร FAR 1:10 OSR : 30
-พื้นที่ใกล้เคียงการทาประมง -พื้นที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลาง การให้ความช่วยเหลือสัตว์ทะเล -พื้นที่ระบบนิเวศ ใกล้ชายฝั่ง -มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค,สาธารณูปการ -ระบบคมนาคม,เข้าถึงง่าย,ใกล้เส้นทางขนส่ง
ที่ตั้ง อาเภอชะอา เพชรบุรี ขนาดพื้นที่15,621 ตร.ม. (9 ไร่) พื้นที่ประเภทชุมชนและที่พักอาศัย FAR 1:10 OSR : 30
03 3-19
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3-20
N ภาพที่ 3.13 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.3.3 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ 1) ศึกษาวิเคราะห์ด้านกายภาพ - Land use ลักษณะการใช้ที่ดิน เป็นพื้นที่สาธารณะ - Transportation สามารถน้ารถยนต์เข้ามาจอดในพื้นที่โครงการได้ - ที่ตั้งโครงการ ส่วนใหญ่เป็นชุมชนที่พักอาศัย และร้านค้าร้านอาหาร - ขนาดพื้นที่ 15,621 ตร.ม.
3-21
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
1 3.3.3 ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินของโครงการ ปัจจุบันเป็นที่โล่ง ติดกับอาคารพักอาศัย และร้านอาหาร
2 3
3-22
N ภาพที่ 3.14 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
01
02 03 ภาพที่ 3.15 ลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน ที่มา : www.googlemap.com, 2561
3-23
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
WIND
STORM
SUN
3-24
PATH
VIEW
ภาพที่ 3.16 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3.4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ตั้งโครงการ - หมวดลักษณะอาคาร “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้ โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรมทาง ราชการ การเมือง การศึกา การศาสนา การสังคม การ นันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึ กษา หอสมุด สนามกีฬ าในร่ ม สนามกีฬ ากลางแจ้ ง ตลาด ห้า มสรรพสิ นค้ า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะ จอดเรือ สุสาน ณาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น
ภาพที่ 3.17 วาฬ ที่มา : www.wordpass.com, 2561
3-25
ภาพที่ 3.13 ภาพวาฬ ที่มา : www.pinterest.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
- ระยะร่นอาคาร พื้นที่บริเวณที่ 1 บริเวณที่ 2 และ บริเวณที่ 3 ที่วัดจากแนวทะเลชายฝั่ง เข้าไปใน แผ่นดินเป็นระยะ 50 เมตร ให้มีระยะห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า 20 เมตร พื้นที่บริเวณที่ 1 บริเวณที่ 2 และ บริเวณที่ 3 ที่วัดจากแนวเขต เข้าไปในแผ่นดิน ระยะ 150 เมตร ให้มีได้เฉพาะอาคารสูงไม่เกิน12 เมตร การใช้ประโยชน์ที่ดินริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3177 ให้มีที่ว่างตามแนวเขตทาง ไม่น้อยกว่า 6 เมตร อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 6 เมตร - หมวดที่ว่างภายนอกอาคาร ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาญิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอื่นซึ่งไม่ได้ใช้ เป็นที่อยู่อาศัย ต้องมีที่ว่างไม่น้อย
ภาพที่ 3.18 ผังการใช้ประโยชน์ที่ดินแนวชายฝั่ง ที่มา : กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี, 2561
3-26
2 1
3
4 3-27
N ภาพที่ 3.19 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ ที่มา : www.googlemap.com, 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
01
02
03
04
06 ภาพที่ 3.20 บริบทโดยรอบโครงการ ที่มา : www.googlemap.com, 2561
3-28
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
บทที่ 4 ศึกษารายละเอียดโครงการ 4.1 ความเป็นมาของโครงการ สถานการณ์การประมงของประเทศไทยเป็นส่วนส าคัญต่ อ เศรษฐกิจ ซึ่ ง การทาประมงในประเทศไทยมี ปัจ จั ยที่ ส่ง ผลกระทบต่ อระบบนิเ วศ แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ ท ะเล และการขยายพั น ธุ์ ข องสั ต ว์ ท ะเลในปั จ จุ บั น สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล และป่าชายเลน (ทช. ,2560) เผย สถานการณ์ของสัตว์ทะเลที่มีผลต่อระบบนิเวศและความอุดมสมบูรณ์ด้านชายฝั่ง สัตว์ทะเลเหล่านั้นเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าสัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย ซึ่งประกอบไป ด้ ว ยสั ต ว์ 4 ชนิ ด คื อ เต่ า ทะเล พะยู น โลมา และวาฬ สั ต ว์ ท ะเลเหล่ า นี้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทางทะเล ทาให้สัตว์ทะเลหายากเหล่านี้ มีจานวนลดลงและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในปัจจุบันมีการพบเห็นสัตว์ทะเลหายากที่ ได้รับผลกระทบจากความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทาให้สัตว์ทะเลเหล่านั้นประสบ ปัญหาการเกยตื้นตายบริเวณชายฝั่งทะเลเป็นจานวนมาก เฉลี่ย 400 ตัวต่อปี
04
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)จึงมีนโยบายจัดตั้งโครงการ ช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายาก เพื่อเพิ่มอัตรารอดของสัตว์ทะเลมีชีวิตให้มากที่สุด นามา สู่การจัดตั้งศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเลหายาก
PROGRAMMING 4-1
จึงทาให้เกิดเป็นแนวคิดในการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบนิเวศชายฝั่ง และ อนุรักษ์สัตว์ทะเลหายากในปัจจุบัน เพื่อส่งผลดีต่อระบบนิเวศ และทรัพยากรณ์ ชายฝั่งทะเลให้ยั่งยืน
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
RESCUE
LEARNING
60%
40 % 4.2 วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสารวจและวิจัยสัตว์น้าหายาก - เพื่อเป็นศูนย์กลาง การให้ความช่วยเหลือหน่วยงานย่อยใน พื้นที่เกี่ยวกับสัตว์ทะเลหายาก - เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน - เพื่อเป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์สัตว์ทะเลหายาก - เพื่อรักษาและฟื้นฟูความสมดุลของระบบนิเวศชายฝั่งและทะเล
ภาพที่ 4.1 โลมา ที่มา : www.pexels.com 2561
4-2
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.3 การกาหนดโครงสร้างการบริหาร
โครงการศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเล MARINE BIOLOGICAL CENTER เป็ น โครงการที่ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ข อง จังหวัด เพชรบุรี และพัฒนาคุณภาพพื้นที่ชายฝั่งทะเลให้มี ความยั่งยืนของระบบนิเวศชายฝั่ง
4.3.1 รูปแบบการบริหารงานของโครงการ
1. วางแผนงาน 2. ปฏิบัติหน้าที่ 3. วัดผลและประเมินผล 4. การปรับปรุงและการแก้ไข โดนส่วนใหญ่การบริหารงานในโครงการเป็นหน้าที่ ของหน่ วยงานรั ฐบาลที่ เ กี่ยวข้ อ ง ส่ วนด้ านเทคนิ คหรื อ หน้าที่เฉพาะทางที่จะมีเจ้าหน้าที่จากสาขาต่าง ๆ ภายนอกเข้า มาทาหน้าที่
4-3
ภาพที่ 4.2 วาฬ ที่มา : www.pexels.com 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.4 โครงสร้างการบริหารงาน 4.4.1 ผังโครงสร้างการบริหารงาน แผนภูมิ 4.1 โครงสร้างการบริหารงาน
กรมทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่ง และป่าชายเลน
คณะกรรมการบริหาร
ฝ่ายธุรการ
ฝ่ายอาคารและสถานที่
ฝ่ายบัญชีและการเงิน
- หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่ธุรการ - เจ้าหน้าที่เอกสาร - เจ้าหน้าที่บุคคล - เจ้าหน้าที่พัสดุ
- หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่อาคาร - เจ้าหน้าที่อุปกรณ์ - เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย - เจ้าหน้าที่ฝ่ายศิลป์
- หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่บัญชี - เจ้าหน้าที่การเงิน - เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ
4-4
ฝ่ายทะเบียนและสถิติ - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่ผ่ายติดตามและ ประเมินผล - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ - เจ้าหน้าที่จัดเก็บข้อมูล
ฝ่ายช่วยเหลือและดูแล - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาพยาบาล - เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือในพื้นที่ - เจ้าหน้าที่ดูแลและฟื้นฟู
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.4.2 การกาหนดอัตราเจ้าหน้าที่
1.ฝ่ายธุรการ 1.ฝ่ายแผนงานและการเงิน จานวน 3 คน
ดาเนินการเบิกจ่ายเงินและงบประมาณทุกประเภท จัดทาเอกสาร ทางการเงินให้เป็นปัจจุบัน และกาหนดแผนงานต่าง ๆ ในโครงการ
2.ฝ่ายประชาสัมพันธ์ จานวน 3 คน
ด าเนิ น การติ ด ต่ อ และด าเนิ น งานกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ร่ ว มกั บ หน่วยงานอื่น ๆ
3. ฝ่ายทะเบียนสถิติ จานวน 3 คน
บริ ห ารการจั ด การเอกสาร สถิ ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในพื้ น ที่ และใน โครงการ
4. ฝ่ายพัสดุ จานวน 2 คน
บริ ห ารการจั ด การพั ส ดุ ห รื อ อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งใน โครงการ
2.ฝ่ายอาคารและสถานที่ 1. ฝ่ายความปลอดภัย จานวน 5 คน
ดาเนินการรักษาความปลอดภัยทั้งร่างกาย และทรัพย์สินให้แก่ผู้ที่ เข้ามาใช้โครงการ
2. ฝ่ายซ่อมบารุง จานวน 3 คน 3. ฝ่ายศิลป์ จานวน 5 คน
ปฏิบัติงานทางเทคนิคเพื่อการซ่อมแซม ประกอบ ดัดแปลง ออกแบบ ติดตั้ง และบารุงรักษา เครื่องจักร เครื่องมือ ปฏิบัติงานการจัดนิทรรศการ และรูปแบบการจัดตู้จัดแสดงพันธุ์ปลา ในโครงการ 4-5
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
3. ฝ่ายบัญชี และการเงิน 1. ฝ่ายบัญชี จานวน 2 คน 2. ฝ่ายการเงิน จานวน 2 คน
3. ฝ่ายจัดซื้อ จานวน 2 คน
ดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมกับโครงการ และกิจกรรม
จัดสรรงบประมาณการใช้จ่ายจริงภายในโครงการ บริ หารการจัด การอุ ปกรณ์ห รื อสิ่ ง ของที่ เ กี่ยวข้อ งกับโครงการ และ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
4. ฝ่ายทะเบียนและสถิติ 1.ฝ่ายติดตาม และประเมินผล จานวน 3 คน
ดาเนิ นการจัด ทาเอกสารรวบรวมข้อ มูลเชิงสถิติที่เกิด ขึ้นใน พื้นที่ และโครงการ
2. ฝ่ายจัดเก็บข้อมูล จานวน 3 คน
ดาเนินการเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และพื้นที่ใกล้เคียงใน เชิงข้อมูลของสัตว์ทะเล และระบบนิเวศ
3.ฝ่ายตรวจสอบข้อมูล จานวน 2 คน
ดาเนินการตรวจสอบข้อมูล และเอกสารในโครงการที่เกี่ยวข้อง เพื่อความถูกต้อง และแม่นยาของข้อมูล
5. ฝ่ายช่วยเหลือ และดูแล 1. ฝ่ายรักษาพยาบาล จานวน 6 คน
ดาเนินการช่วยเหลือสัตว์ทะเล และรักษา ช่วยชีวิต ให้พ้นขีด อันตราย
2.ฝ่ายช่วยเหลือในพื้นที่เกิดเหตุ ดาเนินการลงพื้นที่เพื่อทาการช่วยเหลือรักษาสัตว์ทะเลขั้นต้น จานวน 6 คน 3. ฝ่ายดูแลรักษา และฟื้นฟู ดาเนินการรักษาฟื้นฟู ดาแลอย่างใกล้ชิด จานวน 6 คน 4-6
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
BEHAVIOR
MAIN USRES
4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4.5.1 จานวนผู้ใช้โครงการ
USRES TARGET
ชาวบ้าน / ชาวประมง
นักท่องเที่ยวชาวไทย นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
10%
20%
15%
พนักงาน นักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4-7
15%
40%
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.5.2 ช่วงเวลาที่เข้ามาใช้โครงการ
TIMELINE USERS
MAIN PROGRAM SECONDARY PROGRAM 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 16.00 17.00 18.00 19.00 20.00
ชาวต่างชาติ
ชาวไทย
นักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
4-8
ชาวบ้าน / ชาวประมง
พนักงาน
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.5.3 ช่วงเวลาที่มีผลต่อโครงการ เหมาะสมกับการท่องเที่ยว มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
เหมาะสมกับการท่องเที่ยว พฤษภาคม
มิถุนายน
4-9
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ACTIVITY
4.6 การกาหนดลายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ
Research and Development 25%
วิจัยและพัฒนา แก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และ ทาการเก็บข้อมูลในเชิงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ ชายฝั่งและสัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย
Training and Learning 20%
100%
การจัดกิจกรรมอบรมและเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์ทะเล และ วิธีการอนุรักษรวมถึงการช่วยเหลือในหลายๆด้านให้ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
Rescue 40%
การช่วยชีวิตสัตว์ทะเล การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจนถึง การชันสูตรซากเพื่อการศึกษาและเรียนรู้ ที่สามารถส่งผล ต่อในการเพิ่มโอกาสการอยู่รอดของสัตว์ทะเล
Fishing 15% 4-10
การดูแลรักษาสัตว์ทะเล ที่ได้รับรวมถึงการให้ที่พักอาศัย ของสัตว์ทะเลพิการที่ไม่สามารถใช้ชีวิตในท้องทะเลต่อไปได้
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
PROGRAM ANALYSIS 5650 sq.m.
Research and Development
4.7 สรุปพื้นที่ใช้สอยภายในโครงการ
480 sq.m.
- ห้องวิจัย 4(24) - ห้องเก็บอุปกรณ์และเครื่องมือ 2(12) - ห้องผ่าซาก 2(36) - ห้องเย็น 2(12) - ห้องพักพนักงาน 2(12) - ห้องน้ารวม 2(40)
Training and Learning
96 sq.m. 24 sq.m. 72 sq.m 24 sq.m. 24 sq.m. 80 sq.m.
1700 sq.m.
- นิทรรศการ + ส่วนจัดแสดงสัตว์น้า - เก็บของ 4(12) - ห้องน้ารวม 3(40) - ห้องประชุม 2(36) - ร้ายขายของ - โถง - ห้องพักพนักงาน 2(24)
500 sq.m. 48 sq.m. 120 sq.m. 72 sq.m. 24 sq.m. 250 sq.m. 48 sq.m.
Rescue
495 sq.m.
- ห้องผ่าตัด 2(24) - ห้องปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ - ห้องเก็บอุปกรณ์ 2(12) - ห้องน้ารวม - ห้องพักแพทย์ 4(12) - ห้องพักพนักงาน
Fishing
48 sq.m. 144 sq.m. 24 sq.m. 40 sq.m. 48 sq.m. 24 sq.m.
882 sq.m.
- ห้องเตรียมอาหารแช่เย็น 72 sq.m. - ห้องแช่กระดูก 72 sq.m. - ห้องเก็บอุปกรณ์สาหรับแช่กระดูก 18 sq.m. - ห้องน้า 4(6) 24 sq.m. - ห้องพักพนักงาน 4(12) 48 sq.m. บ่อพักฟื้น ขนาดเล็ก 16 บ่อ 48 sq.m บ่อพักฟื้นขนาดกลาง 2 บ่อ 54 sq.m. บ่อพักฟื้นขนาดใหญ่ 180 sq.m. พื้นที่อเนกประสงค์ 72 sq.m.
4-11
Office
290 sq.m.
Equipments
625 sq.m.
- ห้องพักพนักงาน - ส่วนทางาน 3(36) - ห้องหัวหน้าฝ่าย 5(12) - ห้องน้ารวม - ห้องเครื่องไฟฟ้า - ห้องพนักงาน 2(20) - ห้องเก็บของ - พื้นที่วางงานประปา พื้นที่แยกขยะ พื้นที่พักขยะ ห้องเจ้าหน้าที่ พื้นที่มาติดต่อ
Service
15 sq.m. 108 sq.m. 60 sq.m. 40 sq.m. 50 sq.m. 40 sq.m. 24 sq.m. 150 sq.m. 60 sq.m. 120 sq.m. 15 sq.m. 20 sq.m.
1470 sq.m.
- พื้นที่ประชาสัมพันธ์ - ห้องพักพนักงาน - ห้องน้า - ห้องเก็บของ - ห้องพักแม่บ้าน - ที่จอดรถ - ฝ่ายศิลป์ - ห้องเก็บอุปกรณ์ ฝ่ายศิลป์ - ห้องเก็บสารเคมี
15 sq.m. 20 sq.m. 20 sq.m. 9 sq.m. 20 sq.m. 1000 sq.m. 30 sq.m. 9 sq.m. 9 sq.m.
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
Research and Development
จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
1
ห้องวิจัย
3
4
24
96
2
ห้องเก็บอุปกรณ์และเครื่องมือ
2
2
12
24
3
ห้องผ่าซาก
5
2
36
72
4
ห้องเย็น
2
2
12
24
5
ห้องพักพนักงาน
2
2
12
24
6
ห้องน้ารวม
10
2
40
80
CIRCULATION 50 % Training and Learning
480 จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
100
1
500
500
1
นิทรรศการ + ส่วนจัดแสดงสัตว์น้า
2
เก็บของ
2
4
12
48
3
ห้องน้ารวม
10
3
40
120
4
ห้องประชุม
25
2
36
72
5
ร้ายขายของ
5
1
24
24
6
โถง
150
1
250
250
7
ห้องพักพนักงาน
2
2
24
48
CIRCULATION 30 % 4-12
990
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
Rescue
จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
1
ห้องผ่าตัด
3
2
24
48
2
ห้องปฏิบัติการเจ้าหน้าที่
6
2
72
144
3
ห้องเก็บอุปกรณ์
2
2
12
24
4
ห้องน้ารวม
10
2
40
80
5
ห้องพักแพทย์
2
4
12
48
6
ห้องพักพนักงาน
4
2
24
48
CIRCULATION 50 % Fishing
588
จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
1
ห้องเตรียมอาหารแช่เย็น
5
2
36
72
2
ห้องแช่กระดูก
3
1
72
72
3
ห้องเก็บอุปกรณ์สาหรับแช่กระดูก
1
2
9
18
4
ห้องน้า
1
4
6
24
5
ห้องพักพนักงาน
2
4
12
48
6
บ่อพักฟื้น ขนาดเล็ก
16
-
48
7
บ่อพักฟื้นขนาดกลาง
2
-
54
8
บ่อพักฟื้นขนาดใหญ่
1
180
180
9
พื้นที่อเนกประสงค์
-
72
72
CIRCULATION 50 %
882
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
office
จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
1
ห้องพักพนักงาน
2
1
15
15
2
ส่วนทางาน
5
3
36
108
3
ห้องหัวหน้าฝ่าย
1
5
12
60
4
ห้องน้ารวม
10
1
40
40
CIRCULATION 30 %
Equipments
290
จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
1
ห้องเครื่องไฟฟ้า
2
1
50
50
2
ห้องพนักงาน
2
2
20
40
3
ห้องเก็บของ
2
1
24
24
4
พื้นที่วางงานประปา
2
1
150
150
5
พื้นที่แยกขยะ
4
1
60
60
6
พื้นที่พักขยะ
4
1
120
120
7
ห้องเจ้าหน้าที่
1
1
15
15
8
พื้นที่มาติดต่อ
2
1
20
20
CIRCULATION 30 %
593
4-14
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
Service
จานวนผู้ใช้งาน
จานวน/ห้อง
พื้นที่/หน่วย (ตร.ม.)
พื้นที่รวม/ หน่วย(ตร.ม.)
1
พื้นที่ประชาสัมพันธ์
2
1
-
15
2
ห้องพนักงาน
2
1
-
20
3
ห้องน้า
5
1
-
20
4
ห้องเก็บของ
2
1
-
9
5
ห้องพักแม่บ้าน
2
1
-
20
6
ที่จอดรถ
1
-
1000
7
ฝ่ายศิลป์
3
1
-
30
8
อุปกรณ์ฝ่ายศิลป์
2
1
-
9
9
ห้องเก็บสารเคมี
2
1
-
9
CIRCULATION 30 %
1410
4-15
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4-16
ภาพที่ 4.3 ถุงพลาสติก ที่มา : www.pexels.com 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.8 การประมาณการงบประมาณก่อสร้าง 1.
ราคาที่ดินตารางเมตรละ 3,750 บาทต่อตารางเมตร - โครงการมี 15,621 ตารางเมตร เท่ากับ 11,6680 x 3,750 = 43,800,000 บาท 2. ค่าก่อสร้างตารางเมตรละ 20,000 x 5,200 = 104,000,000 บาท 3. ค่าตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ (30% จากราคาค่าก่อสร้าง) 31,200,000 บาท 4. ค่าดาเนินการ (5% จากราคาก่อสร้าง) 5,200,000 บาท 5. ค่าบริหารโครงการ (2% จากราคาก่อสร้าง) 2,080,000 บาท 6. ค่าความคลาดเคลื่อน (10% จากราคาก่อสร้าง) 10,400,000 บาท รวมราคาค่าก่อสร้างทั้งหมด 152,880,000 รวมงบประมาณเป็นเงิน 316,780,000 บาท
ภาพที่ 4.4 โลมา ที่มา : www.pexels.com 2561
4-17
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง ระบบโครงสร้างฐานราก
เนื่องจากบริเวณที่ตั้งโครงการเป็นบริเวณที่ต้องมีการปรับสภาพและการปรับ ระดับด้านภูมิศาสตร์ โดยนาเทคนิคการดาเนินการที่ประหยัดและเหมาะสมกับบริเวณที่ตั้ง - การฝังท่อระบายน้าคอนกรีตไปในลักษณะ CAISSON คือการยกระดับขึ้นมา เหนือระดับน้าสูงสุดเล็กน้อย ท่อคอนกรีตจะทาหน้าที่เสมือนเขื่อนกันคลื่นกันดินทลาย และ สามารถใช้บังคับทิศทางของช่องน้าได้ เนื่องจากโครงการอยู่บริเวณทะเลซึ่งเป็นพื้นที่ ที่อาจเกิดการเคลื่อนตัวของดิน ทรายสูง จึงได้เลือกใช้ระบบเสาเข็มเจาะเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้อาคาร และลดผลกระทบสู่ บริเวณข้างเคียง
4-18
ภาพที่ 4.5 ภาพการดาเนินการก่อสร้าง ที่มา : www.pexels.com 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
คอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) คือ คอนกรีตเสริมแรงรูปแบบ หนึ่งที่เพิ่มประสิทธิภาพการรับน้าหนักด้วยการใช้เหล็กเข้ามาช่วย เนื่องจากคอนกรีต เป็นวัสดุที่รับแรงอัดได้สูง แต่มีความสามารถในการรับแรงดึงต่า อีกทั้งยังมีความ เปราะ เมื่อถูกกระทาด้วยแรงดึงจึงแตกหักได้ง่าย ในขณะที่เหล็กมีความสามารถในการ รับแรงดึง สูง เมื่ อถู กนามาใช้ งานร่ วมกันจะเกิด การการถ่ ายเทแรงภายในระหว่า ง คอนกรีตและเหล็ก ช่วยเพิ่มความสามารถในการรับแรงของวัสดุ คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก มี ส่ ว นผสมของ “คอนกรี ต ” ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยปู นซี เ มนต์ หิ น ทราย น้ า และน้ ายาผสมคอนกรี ต ตามอั ต ราส่ ว นที่ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของงาน และ “เหล็ก” นิยมใช้เป็นเหล็กเส้นกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 - 25 มิลลิเมตร หรือเหล็กข้ออ้อยเส้นผ่านศูนย์กลาง 1040 มิลลิเมตร ซึ่งขนาดของเหล็กหรือวิธีการผูกเหล็กก็จะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ของงานเช่นกัน ว่าต้องการใช้ก่อสร้างเป็นส่วนไหนของงานโครงสร้างหรืองาน สถาปัตยกรรม ซึ่งหากดูจากคุณสมบัติของคอนกรีตเสริมเหล็กแล้ว จะสามารถใช้ งานได้ในแทบทุกส่วนของอาคารตั้งแต่โครงสร้างใต้ดิน เสา คาน ปล่องลิฟต์ บันได พื้น ผนัง ไปจนถึงดาดฟ้าหรือหลังคา
ภาพที่ 4.6 เหล็ก ที่มา : www.pexels.com 2561
4-19
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
งานโครงสร้างพื้น
พื้นไม้ การปูพื้นไม้ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งาน พื้นไม้ภายนอกอาคาร เช่น ระเบียง ท่าน้า สะพานไม้ เฉลียง จะมีการตีเว้นร่องเพื่อป้องกันการยืดตัวของเนื้อไม้ เมื่อได้รับความชื้น ส่วนพื้นภายในอาคารจะเป็นไม้รางลิ้นซึ่งอบแห้งมาอย่างดี อัดกัน สนิท ตีซ่อนหัวตะปู ขัดผิดเรียบทาน้ามันเคลือบเงา ระบบพื้นโพสเทนชั่น ระบบพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงที่หลัง มีการใช้อย่าง แพร่หลายโดยเฉพาะอาคารสูง อาคารที่มีช่วงพาดยาวมาก ๆ เนื่องจากค่าก่อสร้างจะ ถู ก กว่ า และรวดเร็ ว กว่ า ระบบพื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ทั่ ว ไป ระบบพื้ น PC-Post Tensioned Slab เป็นระบบ Bonded System ซึ่งเป็นระบบที่นิยมมาก ที่สุดในปัจจุบัน มีความทันสมัยในการก่อสร้าง เพิ่มช่วงห่าง ระหว่างเสาได้มากกว่าจะมีพื้นที่การใช้ สอยมากขึ้น ระบบพื้น โพสเทนชั่น เหมาะส่าหรับระยะช่วงเสา 6 เมตรขึ้นไปก่อสร้าง รวดเร็ว ใช้เวลาประมาณ 10-14 วันต่อชั้น
ระบบปรับอากาศ
ภาพที่ 4.7 ระบบปรับอากาศ ที่มา : www.pexels.com 2561
4-20
ระบบทาน้าเย็นหมุนเวียนส่วนกลาง (CENTRAL CHILLER WATER SYSTEM) เป็นระบบที่ใช้เครื่องทาน้าเย็นในระบบปรับอากาศ โดยการเดินท่อจ่ายน้าเย็นไปยังเครื่องส่ง ลมเย็น (AIRHANDING OR FANCOIL UNIT) ซึ่งติดตั้งอยู่ตามชั้นต่าง ๆ ของ อาคารเครื่องทาน้าเย็นมีทั้งชนิดระบาย ความร้อนด้วยอากาศ (AIR COOLER WATER CHILLER) และระบายความร้อน ด้วยน้า (WATER COOLED WATER CHILLER) ครบ ชุ ด อยู่ ใ นเครื่ อ งเดี ย วกั น และเป็ น เครื่ อ งที่ ต้ อ งระบายความร้ อ นเองด้ ว ยน้ า โดยใช้ COOLING TOWER ช่วยให้น้าระบายความร้อนจากเครื่องให้เย็นลงและโคจรกับไปใช้ใน การระบายความร้อนใหม่
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ระบบไฟฟ้า
หน่วยงานที่ รับผิดชอบด้านการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้ าในปัจจุบัน คือ การ ไฟฟ้าผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยการไฟฟ้าฝ่าย ผลิต เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าให้การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคไปจาหน่าย การ ไฟฟ้านครหลวง จะจาหน่ายไฟฟ้าให้ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ส่วนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จะจาหน่ายไฟฟ้าให้กับต่างจังหวัดของทุกภาคในประเทศ
ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
แสงที่ใช้สาหรับการแสดงเพื่อสร้างบรรยากาศ ตามเนื้อเรื่องหรือการแสดงที่ ต้องการสร้างเทคนิคพิเศษต่าง ๆ ตาแหน่งและชนิดของดวงโคม ที่ใช้ควรเปลี่ยนปลงได้ ตามสมควรเพื่อให้จัดได้ ตามความต้องการของฝ่ายออกแบบและกากับแสงในการแสดง มากที่สุด ซึ่งจะสามารถโยกย้ายและให้แสงได้ตามตาแหน่งที่ต้องการ
ระบบไฟฟ้าสารอง
ไฟฟ้าฉุกเฉิน พิจารณา ถึงความสาคัญในแต่ละส่วนของโครงการ จึงแบ่ง เครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเป็น 2 แบบ - เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากลาง (GENERATOR SET) จะจ่ายไฟฟ้าไปยังส่วนกิจกรรมที่มี ความสาคัญ และมีผู้ใช้มากมี ความจาเป็นต้องดาเนินกิจกรรมต่อไปไม่ขาดตอน คือ ส่วน นิทรรศการส่ ว นโถงส่ ว นการแสดง และส่ว นอิ เ ลคโทรนิ ต ย์ เช่ น ส่ ว นรั กษาความ ปลอดภัย เป็นต้น - เครื่องกาเนิดแสงสว่างฉุกเฉิน (EMERGENCY LIGHTING) จะเป็นเครื่องให้แสง สว่างเป็นจุดเพื่อป้องกันปัญหา โจรกรรมที่อาจเกิดขึ้น ในกรณีที่ระบบไฟฟ้าขัดข้อง
4-21
ภาพที่ 4.8 โคมไฟ ที่มา : www.pexels.com 2561
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ระบบสุขาภิบาล
น้าประปาที่นามาใช้ใ นอาคารใช้ น้าจากการประปานครหลวง แต่เ นื่อ งจากจาเป็ นต้ องมี แหล่งจ่ายน้าสารองยามฉุกเฉิน จึงจาเป็นต้องสร้างถังเก็บน้าสารองไว้เพื่อเก็บน้าไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน ด้วยถังเก็บน้านี้มักสร้างไว้ในระดับดิน เพื่อให้น้าจากท่อจ่ายน้าของ การประปาสามารถไหลเข้ามาได้ โดยสะดวกโดยใช้ลูกลอย เป็นตัวควบคุมการปิดเปิดประตูน้าโครงการรับน้าประปาจากการประปานคร หลวง ซึ่งส่งมาทางท่อเมนใต้ดินบริเวณที่ตั้งของโครงการ ระบบการจ่ายน้าในโครงการเลือกใช้ระบบ จ่ายน้าแบบจ่ายจากถังเก็บน้าใต้ดิน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ถังเก็บน้าใต้ดิน ขนาดของถังน้าที่เล็กที่สุด ต้องสามารถเก็บน้าไว้ได้ไม่น้อยกว่า ผลต่างระหว่างปริมาณน้าที่สูบ ออกของถังน้า กับปริมาณน้าที่ไหลเข้าถังเก็บน้าในแต่ละรอบของการเดินเครื่องสูบน้าและขนาดของ ถังยังขึ้นกับความต้องการในการสารองน้าเอาไว้ว่าต้องการ ระยะนานเท่าใดปกติจะอยู่ในระหว่าง 6– 24 ชั่วโมงรวมทั้งปริมาณน้าสารองไว้ดับเพลิงอีกส่วนหนึ่งด้วย
4-22
ระบบจ่ายน้า มี 2 วิธีคือ - ระบบจ่ายน้าจากถังสูง (DOWN FEED SYSTEM) - ระบบสูบน้าเพิ่มความดันในช่องท่อโดยตรง (UP FEED SYSTEM) ระบบจ่ายน้าแบบ UP FEED จึงเป็นระบบที่ เหมาะสมกับโครงการมากกว่าเนื่องจาก - อาคารมีความสูงไม่มากนัก การใช้ระบบ DOWN FEED จะทาให้แรงดันในช่องท่อมีไม่ เพียงพอที่จะเข้ายังสุขภัณฑ์ ต้องเพิ่ม PUMP ทาให้เป็นการเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นกว่า การ ใช้ระบบ UP FEED - อาคารทั้งหมดไม่ได้เป็นอาคารตัวเดียวกัน การใช้ระบบ DOWN FEED ระยะทางระหว่าง อาคารจะท าให้แรงดันในช่องท่อลดลง ซึ่ง เมื่อเทียบกับระบบ UP FEED ซึ่งท่อมีแรงดันปกติ อยู่แล้วจึงเป็นการประหยัดมากกว่าการใช้ระบบ DOWN FEED ระบบน้าทิ้ง ประเภทของน้าทิ้งภายในโครงการ มีดังนี้ - น้าโสโครก (SOIL) หมายถึง น้าที่ระบายมาจากเครื่องสุขภัณฑ์ เช่น โถส้วม, ที่ปัสสาวะเป็น ต้น - น้าทิ้งหมายถึง น้าที่ระบายมาจากเครื่องสุขภัณฑ์อื่น ๆ นอกเหนือจากข้อ 1 นั่นก็คือ น้า ทิ้งจากอ่างล้างมือ และน้าที่ระบายจากเครื่องมือเครื่องใช้อื่น ๆ - น้าฝน หมายถึง น้าฝนที่ ระบายมาจากหลังคา และ สนาม ตลอดจนบริเวณอื่น ๆ ภายนอกอาคาร
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ระบบบาบัดน้าเสีย
ในระบบบาบัดน้าเสียสาหรับอาคารขนาดใหญ่ สามารถแบ่งออกเป็น 2 วิธีคือ - ระบบกาจัดน้าเสียโดยใช้ออกซิเจน - ระบบกาจัดน้าเสีย โดยไม่ใช้ออกซิเจน ระบบที่นิยมใช้กันทั่วไป จะเป็นระบบที่ใช้ออกซิเจน เพราะระบบที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะทาให้เกิด H 2S ซึ่งทาให้เกิดกลิ่นเหม็น ระบบที่ทางโครงการ เลือกใช้ คือ ระบบ ACTIVATED SLUDGEเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงใช้เนื้อที่สร้างน้อย แบคทีเรียจะย่อย สลายสารอินทรีย์ที่อยู่ในรูปของแข็ง ตะกอนแขวนลอย และที่ละลายอยู่ใน น้าโดยแบคทีเรียจะรวมกันอยู่เป็นกลุ่มลอยอยู่ใน ถังเติมอากาศซึ่งส่งน้าเสียเข้ามาบาบัดและมี เครื่องให้อากาศทางานอยู่ตลอดเวลา จากนั้นน้าเสียที่ผ่านการบาบัดแล้วและตะกอนแบคทีเรีย จะไหลเข้าไปในถังตกตะกอน เพื่อแยกเอาแบคทีเรียกลับมายังถังเติมอากาศใหม่ ส่วนน้าใสจะไหล ออกจากระบบ เพื่ อฆ่ าเชื้อ โรค และทิ้ งลงสู่ ท่อระบายน้าสาธารณะ ถัง เติ มอากาศ ควรมี ระยะเวลาเก็บน้าเสียได้ประมาณ 24 ชั่วโมง และมีค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้า ในถังเติม อากาศไม่น้อยกว่า 1-3 มิลลิกรัมต่อลิตร เครื่องเติมอากาศสามารถใช้ได้ทั้งแบบเป่าอากาศ , แบบใบพัดตีผิวน้าหรือแบบใต้น้า
ภาพที่ 4.9 ถังบาบัด ที่มา : www.pexels.com 2561
4-23
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
งานระบบอัคคีภัย อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยที่ติดตั้งภายในอาคารประกอบ 1.อุปกรณ์ตรวจจับควัน 2.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน 3.อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง ระบบตรวจจับควั นใช้ระบบเวสด้า เป็นระบบตรวจจับควั นไฟแบบสุ่ ม ตัวอย่างอาคาศ ทางานได้แม่นยากว่าระบบตรวจจับควันแบบธรรมดา ใช้หลักการ ที่ว่าเมื่อเริ่มเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการสลายตัวของวัสดุเนื่องจากความร้อนส่งผล ให้เกิดอนุภาคเล็ก ๆ จานวนมากเล็กกว่า 1 ไมครอนซึ่งระบบเวสด้าจะตรวจจับ จากอนุภาคเล็ก รูปแบบการติดตั้งระบบป้องกันอัคคีภัย ใช้ระบบที่สามารถระบุตาแหน่งได้ (Addressible system) ใช้ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้าฝอย
งานระบบลดความชื้น
งานระบบลดความชื้นที่อยู่ในอาคาร เพื่อรักษาสภาพสมดุลใน ห้องทดลองและป้องกันการผุกร่อนของเหล็ก จึงมีกระบวนการลดความชื้นที่อยู่ ในอากาศโดยเลือกใช้ การลดความชื้นด้วยสารดูดความชื้นของเหลวเนื่องจาก สามารถลดความชื้นได้ในระดับต่ากว่า 40 RH ในช่วงอุณหภูมิประมาณ22+-1 องศา โดยระบบลดความชื้นด้วยสารดูดความชื้นจะประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนดูดความชื้อ ส่วนคายความชื้น และส่วนปั๊มความร้อน
ภาพที่ 4.10 ระบบดับเพลิง ที่มา : www.pexels.com 2561
4-24
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
ระบบเทคโนโลยีพิเศษเฉพาะโครงการ ระบบหมุนเวียนน้าภายในส่วนจัดแสดง ระบบน้าแบบเปิด เป็นระบบน้าที่ได้รับความเป็นธรรมชาติของน้าทะเลมาก ที่สุด เหมาะที่จะให้ในส่วนของ Aquarium ที่มีขนาดใหญ่ Giant Tank และเป็นระบบที่ใช้ น้าครั้งเดียว ระบบน้ าปิ ด เป็ น ระบบที่ ต้ อ งการปริ ม าณน้ าเพิ่ ม เติ ม น้ อ ย ควบคุ ม อุณหภูมิได้ง่ายเหมาะกับส่วน Aquarium ที่มีขนาดเล็ก Small Tank และเป็นระบบที่ ต้องเตรียมพื้นที่สาหรับกรองน้า และน้าใช้แล้วมีการหมุนเวียน ระบบการให้อากาศในตู้เลี้ยง น้าในบ่อเลี้ยงสัตว์น้าทะเลจะไม่สกปรกมากนัก เนื่องจากมีสารอินทรีย์อยู่ในน้าสารอืนทรี ย์ละลายอยู่ในน้า จึงควรบาบัดก่อนปล่อย ทิ้งลงสู่สาธารณะ โดยจัดให้มีบ่อสาหร่ายกลางแจ้งเพื่อดูดซับสารอินทรีย์ทาให้น้า บริสุทธิ์ ระบบกรองน้าระบบการกรองน้า เลือกใช้ระบบการกรองทางชีวภาพ ที่ใช้ แบคทีเรียเป็นตัวกรอง ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง และยังเพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายขนาด และ วิสดุที่ใช้ทา Tank วัสดุที่นามาใช้ประกอบตู้แสดง
4-25
MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018
4-26
ภาพที่ 4.11 วาฬ ที่มา : www.pexels.com 2561
บรรณานุกรม การเกนตื้นตายของสัตว์ทะเลหายาก. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://prangthip3008.wordpress.com/. (วันที่ค้นข้อมูล : 22 กรกฎาคม 2561).
สถานการณ์พะยูน. (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://greennews.agency/?p=15802/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
ข้อมูลตัวชี้วัด สถิติตสัตว์ทะเลหายากเกยตื้น. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.onep.go.th/env_data/2016/01_37/. (วันที่ค้นข้อมูล : 22 กรกฎาคม 2561).
สัตว์ทะเลหายากตายคงที่กว่า 400 ตัวต่อปี. (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://news.thaipbs.or.th/content/268754/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
ช่วยชีวิตสัตว์ทะเลหายาก เสี่ยงสูญพันธุ์. (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.tv360ch3.com/%E0%B8%96%/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากเกยตื้น ระหว่างปี 2558-2560. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.dmcr.go.th/detailAll/24578/nws/141/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
นันทริกา ชันซื่อ. (2560). สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากไทย ปี 2560. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaipost.net/main/detail/535/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากตายมากสุดจากเครื่องมือประมง. (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.pptvhd36.com/news/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
สถานการณ์เต่าทะเล. (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://greennews.agency/?p=15910/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในไทย ปี 2560. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.dmcr.go.th/detailAll/19525/nws/16/. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2561).
MARINE BIOLOGICAL CENTER