Thai version[final version]

Page 1

focus Vol. 3, January 2012

in

มุมมองจากภาคประชาสังคมต่อการประชุมระดับสูงในเรื่องเอชไอวีและเอดส์ 2011(2011 HIV/AIDS High Level Meeting)

Published by APCASO in collaboration with the Asia Pacific Alliance for Sexual and Reproductive Health and Rights (APA)

การประชุมระดับสูงขององค์การสหประชาชาติเรื่องเอชไอวีและโรคเอดส์ ได้จัดขึ้น ที่นครนิวยอร์ค ในปี ค.ศ.2011

ผู้หญิงและเด็ก ผู้หญิง & ปฏิญญาทางการ

เมืองในเรื่อง เอชไอวีและโรคเอดส์

2011

ผลจากการประชุมได้มีการรับรองปฏิญญาทางการเมืองในเรื่องเอชไอวีและโรคเอดส์ มติองค์การสหประชาชาติที่ 65/277 (ซึ่งต่อไปจะถูกเรียกว่า ปฏิญญา 2011) ในInFocus ฉบับนี้ จะได้เจาะลึกลงไปว่าปฏิญญาฉบับนี้จะมีผลต่อชีวิตของผู้หญิงและเด็กผู้หญิงใน เอเชีย-แปซิฟิคอย่างไร ในปัญหาที่เผชิญอยู่และต้องมีโปรแกรมหรือกิจกรรมอะไรบ้างเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้ เอกสารฉบับนี้จะเป็นเครื่องมือในการทำ�ให้รัฐบาลยึดมั่นต่อคำ�สัญญาที่ได้ให้ ไว้ มุ่งเป้าหมายไปยังผู้หญิงและเด็กหญิงละเพื่อใช้ในการเรียกร้องให้มีการตอบสนองต่อ ปัญหาเอชไอวีและโรคเอดส์โดยมีผู้หญิงและเด็กหญิงเป็ นศูนย์กลาง มีเพียง 8 ย่อหน้าจาก 105 ย่อหน้าในปฏิญญา 2011 ที่มีคำ�ว่า “ผู้หญิง”อยู่: ในจำ�นวนนี้มี 3 ย่อหน้าเท่านั้น ที่เขียนขึ้นเพื่อผู้หญิงและ/หรือเด็กผู้หญิงโดยตรง; ย่อหน้าอื่นๆกล่าวถึงผู้หญิงในแง่ของการเป็นผู้เลี้ยงดูบุตร; อนามัยของครอบครัวและอนามัยเด็ก, บทบาทของครอบครัว; UN Women, แผนกลยุทธ์ระดับนานาชาติของUN สำ�หรับสุขภาพของผู้หญิงและเด็ก(ย่อหน้าที่ 19, 22, 43(g), 59) จากเป้าหมายและคำ�มั่นในเป้าหมาย 10 ประการ เพื่อการลดลงให้เป็นศูนย์ในปฏิญญา 2011 มี 3 ข้อที่เป็นเรื่องสำ�คัญอย่างยิ่งสำ�หรับผู้หญิงและเด็กผู้หญิง: เป้าหมายที่ 1: ลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์ 50% ภายในปี 2015 เป้าหมายที่ 3: ลดการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกให้เหลือศูนย์ ภายในปี 2015 และลดอัตราการเสียชีวิตของแม่ที่มีสาเหตุจากโรคเอดส์อย่างจริงจัง เป้าหมายที่ 7: ขจัดความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ การละเมิดและการกระทำ�ความรุนแรงอันเนื่องจากเหตุแห่งเพศ และเพิ่มความ สามารถของผู้หญิงและเด็กผู้หญิงในการป้องกันตัวเองจากการรับเชื้อเอชไอวี

in

focus

Vol. 3, January 2012

1


เปิดเผยข้อมูลสำ�คัญ เจาะลึกย่อหน้าที่สำ�คัญของปฏิญญา ผู้หญิงและเด็กผู้หญิง (ย่อหน้าที่ 19, 21, 22, 41, 53, 59(l), 60, 81)

ซึ่งรวมถึง เอชไอวี2 แม้กระนั้นก็ตาม ความต้องการและสิทธิของพวกเขาก็ ไม่ได้ถูกพูดถึงได้อย่างครอบคลุมใปฏิญญา2011

รัฐบาลได้ยืนยันคำ�มั่นส่วนใหญ่ที่เคยให้ไว้ในปฏิญญาทางการเมือง 2006: ผู้หญิงยังคงต้องแบกรับภาระที่ไม่เท่าเทียมและถูกทำ�ให้ต้องยอมรับอันเนื่องจากเหตุ ทางสรีระ ผู้หญิงยังต้องเผชิญกับความไม่เท่าเทียมทั้งทางด้านกฎหมายเศรษฐกิจ และสังคม (ย่อหน้าที่ 21), ความเท่าเทียมระหว่างเพศ,การเสริมสร้างศักยภาพผู้ หญิงและเด็กหญิง, การขจัดการละเมิด และ ความรุนแรงอันเนื่องจากเหตุแห่งเพศ และการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพซึ่งรวมถึงอนามัยการเจริญพันธ์และสุขภาพทาง เพศ/ยังคงได้รับการยอมรับว่าเป็นพื้นฐานในการลดความเปราะบางของผู้หญิงและ เด็กผู้หญิงต่อการรับเชื้อ เอชไอวี (ย่อหน้าที่ 53)

สิทธิมนุษยชนและการขจัดความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ และการละเมิดและความรุนแรงอันเนื่องจากเหตุแห่งเพศ

ย่อหน้าดังกล่าวส่วนใหญ่ไม่ได้พูดถึงผู้หญิงและเด็กผู้หญิงโดยตรง ; ปฏิญญาล้มเหลวในการยอมรับว่า ความเท่าเทียมระหว่างเพศเป็นประเด็นตัดขวาง และมีความสำ�คัญยิ่งต่อการบรรลุจุดประสงค์และเป้าหมาย ของปฏิญญา 2011 และการเข้าถึงอย่างเท่าเทียม

กลุ่มประชากรผู้ ได้รับผลกระทบหลักซึ่งเป็นผู้หญิงและเด็กหญิง (ย่อหน้า

29, 48, 59(d), 59(h), 61, 63)

หลายประเทศในเอเชียและแปซิฟิคกำ�ลังประสบปัญหาการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงใน กลุ่มผู้ ได้รับผลกระทบหลัก (Key Affected Populations - KAPs) ซึ่งถูกบ่งชี้ว่ามี ความเสี่ยงสูง” เป็นสิ่งที่สำ�คัญที่จะยอมรับความต้องการของผู้หญิงและเด็ก ผู้หญิง ที่ทำ�งานเป็นพนักงานบริการ ใช้ยาเสพติด และ/หรือกะเทยที่แปลงเพศ ในหลายๆ สถานการณ์ ผู้หญิงและเด็กหญิง รวมถึงเยาวชนกลุ่มอื่นๆได้รับผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของโรคอย่างรุนแรง หรือได้รับผลกระทบมากกว่า และอาจได้รับการ พิจารณาว่าเป็นกลุ่มประชากรผู้ได้รับผลกระทบหลัก”1 รัฐบาลมุ่งมั่นในการพุ่งเป้าหมายอย่างเข้มข้นไปสู่กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงใน การรับเชื้อเอชไอวี ในแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติด้านการป้องกัน และสร้างความมั่นใจว่าประชากรกลุ่มนีจะสามารถเข้าถึงบริการได้ (ย่อหน้า 29, 61) การตระหนักในประเด็นนีถือเป็นความก้าวหน้า แต่อย่างไรก็ดี ความต้องการเฉพาะของกลุ่มประชากรผู้ ได้รับผลกระทบหลักที่เป็นผู้หญิงและ เด็กหญิงยังคงถูกละเลย และจำ�เป็นต้องขจัดกฎหมาย นโยบายและการปฏิบัติที่เน้นการลงโทษรวมถึงการตีตราและเลือกปฏิบัติที่เป็น อุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบหลักที่มีความเสี่ยงสูงนั้นยังขึ้น อยู่กับบริบทและ พลวัตรการแพร่ระบาดเฉพาะของแต่ละประเทศ ผลของการวิจัยเป็นสิ่งจำ�เป็นเพื่อนำ�แนวทางการทำ�งานในกลุ่มผู้หญิงและเด็กหญิง ที่ได้รับผลกระทบหลักและมีความเสี่ยงสูงเพื่อให้มั่นใจว่าความต้องการเฉพาะของ พวกเขาจะได้รับการหยิบยกขึ้น มาอย่างชัดเจน ซึ่งการแยกประเภทข้อมูลตามอายุ เพศและช่องทางการระบาด(ย่อหน้า46) จะทำ�ให้ข้อมูลมีน้ำ�หนักมากขึ้น กลุ่มประชากรข้ามชาติ โดยเฉพาะผู้หญิงมักประสบกับสถานการณ์ที่ทำ�ให้มีความเปราะบางสูงตลอด กระบวนการเคลื่อนย้ายของกลุ่มประชากร; การถูกทำ�ร้าย, ถูกหาประโยชน์, ความรุนแรง, การถูกตีตราและเลือกปฏิบัติ; ขาดการเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธ์ุซึ่งนำ�ไปสู่การติดเชื้อ ทางเพศสัมพันธ์

2

in

focus

Vol. 3, January 2012

(ย่อหน้า 22, 39, 53, 59(j), 77, 80,81)

รัฐบาลยึดมั่นกับเป้าหมายที่ 7: การขจัดความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ และการละเมิดและความรุนแรงอันเนื่องจากเหตุแห่งเพศ, การมุ่งมั่นที่จะใช้ทุกมาตรการที่จะเสริมศักยภาพของผู้หญิงเพื่อเพิ่มความ สามารถของผู้หญิงและเยาวชนหญิงในการป้องกันการรับเชื้อเอช ไอวี (ย่อหน้า53) การดำ�เนินการในระดับชาติควรตอบสนองความ จากการศึกษา ต้องการเฉพาะของผู้หญิงและ แต่งงานแล้วในอินเดียจ เด็กหญิง “ผ่านการสร้างความเข้มแข็งในกฎหมาย นโยบายการบริหารจัดการและมาตรการอื่นๆเพื่อ พบว่าผู้หญิงที่เคยถูกทำ�ร ส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนของผู้หญิง โดยคู่มีโอกาสรับเช ในทุกๆด้าน” (ย่อหน้า81) นอกจากนี้ ผู้หญิงที่ ไม่เคยถูกท บทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้ชายและเด็กชายใน การสร้างความเท่าเทียม ระหว่างเพศก็เป็นสิ่งที่ถูกตระหนักถึง (ย่อหน้า 53, 59(j)) ปฏิญญา2011เรียกร้องให้มีการขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็กผู้หญิงใน ทุกรูปแบบ โดยเฉพาะ “ประเพณีที่เป็นอันตราย, การปฎิบัติที่สืบต่อกันมา, การกระทำ�ทารุณ, การข่มขืน และความรุนแรงทางเพศในรูปแบบอื่นๆ, การทำ�ร้ายร่างกายและการค้ามนุษย์ในกลุ่มผู้หญิงและเด็กหญิง” (ย่อหน้า 81) อย่างไรก็ตาม การอ้างอิงถึงการขจัด”การหาประโยชน์ทางเพศกับผู้หญิง, เด็กหญิงและเด็กชาย, รวมถึงเหตุผลในการแสวงหากำ�ไร” อาจทำ�ให้พนักงานบริการหญิงที่เป็นกลุ่มได้รับผลกระทบหลักมีความเปราะบาง

รัฐบาลมุ่งมั่นที่จะลดจำ�นวน การรับเชื้อเอชไอวีในหมู่ ผู้ ใช้ยาเสพติดลง 50% ในปี 2015 (ย่อหน้า 63) แต่ปฏิญญาล้มเหลวที่จะยอมรับในหลักฐานที่แสดง ว่าผู้หญิงที่ใช้ยาเสพติดมีสิทธิที่จะติดเชื้อเอชไอวีมาก กว่าผู้ ใช้ยาที่เป็นเพศชายและยังต้องประสบกับอุปสรรคใน การเข้าถึงบริการที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวีอันเนื่องมาจาก เหตุแห่งเพศ


มากขึ้น คณะที่ปรึกษาของUNAIDSในเรื่องเอชไอวีกับพนักงานบริการได้เรียกร้อง ให้การทำ�งานด้านกฎหมายและการออกนโยบายด้านเอชไอวีที่เกี่ยวกับพนักงานบริการ ทางเพศมีมิติด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเข้มข้น4

รัฐบาลต่างๆยังได้เรียกร้องให้มีความมุ่งมั่นและการสนับสนุนการมีส่วนร่วม อย่างแข็งขันและภาวะผู้นำ�ของเยาวชน ซึ่งรวมถึงเยาวชนที่อยูร่วมกับเอชไอวี ในทุกระดับ (ย่อหน้าที่ 56)

ได้มีการเรียกร้องให้รัฐบาลของประเทศในเอเชียแปซิฟิคให้ทำ�งานเพื่อเข้าถึงเป้าหมาย ทั่วถึงเท่าเทียม อยู่บนหลักการสิทธิมนุษยชนและสร้างมาตรการเพื่อแก้ปัญหาเรื่อง การถูกตีตรา, การเลือกปฏิบัติและอุปสรรคในด้านนโยบายและกฎหมายเพื่อแก้ ไข ปัญหาเอชไอวีอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มประชากรผู้ ได้รับ ผลกระทบหลัก5

ถึงแม้ปฏิญญา 2011 ยอมรับอย่างชัดเจนว่าเยาวชนถูกกันออกจากการได้รับข้อมูล ข่าวสารและบริการแต่ตัวปฏิญญาเองก็ส่งเสริมแค่เรื่องการงดการมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ได้กล่าวถึงการให้ความรู้เรื่องเพศวิถีศึกษาที่ครอบคลุมในกลุ่มเยาวชนทั้งที่อยู่ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

บ่อยครั้งที่การตีตราการเลือกปฏิบัติและการลงโทษทางกฎหมายกับพฤติกรรมของ กลุ่มประชากรผู้ ได้รับผลกระทบหลักเป็นอุปสรรคที่ทำ�ให้ผู้หญิงไม่สามารถแจ้ง การถูกกระทำ�ความรุนแรงและขอความช่วยเหลือได้ แม้ในปฏิญญา 2011จะได้มีการเรียกร้องให้เพิ่มประสิทธิภาพมาตรการเพื่ อขจัดความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ แต่ไม่ได้มีการพูด าในผู้หญิงที่ ถึงการขยายปฏิบัติการและทรัพยากรเพื่อให้เกิด จำ�นวนกว่า 28,000คน นโยบายและโปรแกรมที่แก้ปัญหาเรื่องสิทธิของผู้ ร้ายทางกายและทางเพศ หญิงและเด็กหญิงในบริบทของเอชไอวี นอกจาก นียังไม่มีการระบุว่าจะบูรณาการเรื่องนี้เข้าสู่แผน ชื้อเอชไอวีมากกว่า ยุทธศาสตร์และโครงการระดับชาติอย่างไร ยก ทำ�ร้ายถึงสามเท่า ตัวอย่างเช่น การสร้างระบบที่เหมาะสมในการสืบสวน และบันทึกความรุนแรงและการเชื่อมโยงระหว่าง เอชไอวี และความรุนแรงรูปแบบต่างๆ ในผู้หญิงและเด็กผู้หญิงและในกลุ่ม ประชากรหลักที่ได้รับผลกระทบ6

ภาคประชาสังคมได้เน้นถึงความจำ�เป็นในการเข้าถึงอย่างเท่าเทียมกันในความรู้เรื่อง การดูแลรักษาโดยเฉพาะสำ�หรับผู้หญิงชายขอบซึ่งบ่อยครั้งมักเข้าไม่ถึงการศึกษา และทำ�ให้มีความเสี่ยงสูงขึ้น ควรมีการรับประกันโอกาสที่เท่าเทียมกันในการศึกษา สำ�หรับทั้ง ผู้หญิงและผู้ชาย7

ความเชื่อมโยงกับสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธ์ุ (ย่อหน้าที่ 41, 53, 59(k), 62, 96, 98, 99, 100)

เป้าหมายที่ 1: ลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์ 50% ภายใน ปี 2015 (ย่อหน้า 62) เป็นเป้าหมายที่ผูกมัดในเรื่องเวลา รัฐบาลให้คำ�มั่นที่จะเพิ่ม ความพยายามเป็ นทวีคูณสำ�หรับวิธีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีโดยเอื้อให้เข้าถึง บริการด้านสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธ์ุ (ย่อหน้า59(k), 41) หญิงและ เด็กผู้หญิงควรได้ใช้สิทธิในการควบคุมในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเพศวิถีของตนรวม ไปถึงสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธ์ุ โดยปราศจากการบังคับ การถูก เลือกปฏิบัติและความรุนแรง (ย่อหน้าที่ 53) การเข้าถึงและการลงทุนสำ�หรับวธิ ีการ ป้องกันที่ผู้หญิงเป็นผู้ริเริ่มได้จะเป็นกุญแจสำ�คัญในความพยายามเหล่านี้ (ย่อหน้า ที่ 100)

กลุ่มผู้หญิงได้เรียกร้องให้เกิดการมีส่วนร่วมอย่างมีความ หมายในทุกขั้นตอนของการพัฒนาและตัดสินใจใน นโยบายและโครงการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเอชไอวี เพื่อเป็นการยกระดับความเท่าเทียมระหว่าง เพศและการพัฒนาศักยภาพของผู้หญิง รัฐบาลยึดมั่นต่อคำ�สัญญาที่จะให้ผู้ที่ อยู่ร่วมกับเอชไอวีและผู้ที่ได้รับผลกระ ทบได้มีส่วนในการตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหา เรื่องการถูกตีตราและเลือกปฏิบัติ (ย่อหน้า ที่ 57) ถึงกระนั้นไม่มีการกล่าวถึงการจัดตั้ง กลไกเพื่อสนับสนุนผู้หญิงและเด็กหญิงให้มีส่วน ร่วมอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับ เอชไอวี

การให้คำ�มั่นนั้นก็เพื่อการจัดบริการที่บูรณาการการดำ�เนินการตอบ สนองในประเด็นเอชไอวีให้มากขึ้น โดยเสริมความเข้มแข็งให้กับ ความเชื่อมโยงในด้านบริการนโยบายและโครงการระหว่าง รัฐบาลยอมรับว่า งานสุขภาพทางเพศอนามัยการเจริญพันธ์ุและอนามัย กฎหมายและนโยบาย แม่และเด็ก ภายในปี 2015 (ย่อหน้าที่ 96, 98) อย่างไร ได้กีดกันไม่ให้เยาวชนเข้าถึงการศึกษา ก็ตาม ปฏิญญา 2011 ล้มเหลวที่จะยอมรับในเรื่อง ความเชื่อมโยงระหว่างสิทธิมนุษยชนกับสุขภาพทาง ในเรื่องการป้องกันการรับเชื้อเอชไอวี เพศอนามัยการเจริญพันธ์ุและประเด็นเอชไอวี การ และบริการด้านสุขภาพทางเพศและ ดำ�เนินการตอบสนองด้านเอชไอวีที่ครอบคลุมและบูรณ เอชไอวี (ย่อหน้าที่ 25) าการมิติด้านสิทธิจะต้องเกิดขึ้น และเป็นการเสริมความเข้ม แข็งให้กับระบบสุขภาพและสังคมในระดับชาติ 8

เพศวิถีศึกษาและข้อมูล สำ�หรับเยาวชน (ย่อหน้าที่ 25, 43, 53, 56, 59b, 82) มีเยาวชนเพียง 34% ที่มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวี/ เยาวชนถูกจำ�กัดการเข้าถึงการศึกษาเรื่องสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธ์ุ และเอชไอวี รวมถึงโปรแกรมซึ่งให้ความรู้อย่างชัดเจนถูกต้องและนำ�ไปสู่การป้องกันตัว เองจากการติดเชื้อปฏิญญา2011 ได้เสนอทางออกสำ�หรับปัญหานี้โดยการสร้างความ มั่นใจทั้งเด็กหญิงและเด็กชายจะได้รับการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งมีการให้ความรู้เรื่องเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ในหลักสูตรการเรียน และการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยโดยเฉพาะสำ�หรับเด็กผู้หญิง (ย่อหน้าที่ 43)

มีการรายงานว่าผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่เป็นผู้หญิงถูกบังคับและ/หรือได้รับความ กดดันจากผู้ให้บริการด้านสุขภาพให้ทำ�แท้งหรือทำ�หมัน รวมไปถึงถูกปฏิเสธการ ทำ�แท้งที่ปลอดภัยและบ่อยครั้งมักจะเกิดควบคู่ไปกับการขาดความรู้ในเรื่องความ เสี่ยงด้านสุขภาพและขาดความรู้ว่าการถูกบังคับให้เลือกถือเป็นการละเมิดสิทธิ มนุษยชน9 ผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับเอชไอวีมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะโลหิตเป็นพิษซึ่งอาจเป็น ความเสี่ยงให้เกิดภาวะแทรกซ้อน; ดังนั้นการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมและการ ป้องกันการทำ�แท้งที่ไม่ปลอดภัยจึงเป็นเรืองสำ�คัญมาก ปฏิญญา 2011ได้กล่าวไว้ว่าผู้หญิงควรสามารถใช้สิทธิในการควบคุมทุกเรื่องที่เกี่ ยวข้องกับเพศวิถีของตน รวมไปถึงสุขภพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธ์ุ โดย ปราศจากการบีบบังคับ การถูกเลือกปฏิบัติและความรุนแรง; แต่ถึงกระนั้นอุปสรรคที่ ผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับเอชไอวีต้องเผชิญและการเข้าถึงการทำ�แท้งที่ปลอดภัยกลับไม่ได้มี การหยิบยกขึ้นมาพูด

in

focus

Vol. 3, January 2012

3


การป้องกัน/การรักษา/การดูแล/การช่วยเหลือ/บริการ (ย่อหน้าที่

ส่วนอ้างอิง

เป้าหมายที่ 3: ขจัดการติดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก ภายในปี 2015 และลดอัตราการเสียชีวิตของแม่ที่มีสาเหตุเกี่ยวข้องกับเอดส์อย่างจริงจัง (ย่อหน้าที่ 64) เป็นเป้าหมายที่ผูกมัดในเรื่องเวลาเช่นกัน เพื่อให้ประสบผลตามเป้าหมายนี้ รัฐบาลให้คำ�มั่นที่จะทำ�ให้แน่ใจว่าผู้หญิงในวัยเจริญพันธ์ุจะสามารถเข้าถึงบริการ ป้องกันการรับเชื้อเอชไอวี; ผู้หญิงท้องสามารถเข้าถึงบริการฝากครรภ์ ความรู้ การปรึกษาและบริการที่เกี่ยวกับเอชไอวี, และผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับเอชไอวีและทารก สามารถเข้าถึงการรักษาที่มีประสิทธิภาพ(ย่อหน้าที่ 59(l))

ภาคประชาสังคมได้แสดงความเป็ นห่วงในประเด็นการบังคับตรวจหาเชื้อเอชไอวีที่ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นกฎหมายและนโยบายซึ่งเน้นการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อจาก พ่อแม่สู่ลูกในกลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบหลักควรยึดมั่นในหลักการในเรื่องการ ให้ความยินยอมโดยได้รับข้อมูลรอบด้าน, การรักษาความลับ, การให้คำ�ปรึกษา ทั้ง ก่อนและหลังตรวจเลือด และบริการส่งต่อที่เหมาะสม การป้องกันการถ่ายทอด เชื้อเอชไอวีจากพ่อแม่สู่ลูกนั้นมักวางผู้หญิงในบทบาทของ “แม่” การป้องกัน การ ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากพ่อแม่สู่ลูกควรเป็นการบริการแบบเป็นองค์รวมของการ ป้องกัน, การรักษา ดูแลและช่วยเหลือสำ�หรับผู้หญิง10

ได้มีการให้คำ�มั่น โดยมีเงื่อนเวลาว่า ผู้ติดเชื้อ 15 ล้านคนเข้าถึงยาต้านไวรัส (Antiretroviral Treatment) ภายในปี 2015 (ย่อหน้า 66) แต่ไม่ได้มีการกล่าวถึง อุปสรรคในการเข้าถึงการรักษาสำ�หรับผู้หญิงชายขอบซึ่งรวมถึงการถูกตีตรา การถูก เลือกปฏิบัติ การข่มขู่ใช้กำ�ลังความหวาดกลัวในการถูกเปิดเผยสถานะ และอุปสรรคใน ทางกฎหมายและนโยบาย11

59(d), 59(l), 59(n), 64, 66, 69, 77, 98, 100)

ทุนสำ�หรับผู้หญิงและเด็กหญิง (ย่อหน้าที่ 60, 88, 89, 100) ประชาคมโลกได้ตั้ง พันธกิจร่วมกันในในการระดมทุนเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องเอชไอวี โดยตั้งเป้าหมายไว้ที่ 2.2 ถึง 2.4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐสำ�หรับประเทศที่มีรายรับ ระดับตํ่าและกลาง ในแต่ละปี (ย่อหน้าที่ 88)นอกจากนี้ยังได้มีการเรียกร้องให้ประเทศ ที่พัฒนาแล้วทำ�ตามเป้าหมายในการแบ่งรายได้ของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ 0.7%ให้เ ป็นความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ (Official Development Assistance – ODA) ภายในปี 2015 (ย่อหน้า 89) ประเทศผู้ให้ทุนยังคงไม่บรรลุเป้าหมายตามคำ�มั่นที่ให้ไว้ในเรื่อง ODA นอกจากนี้ ควรจะมีการเพิ่มยอดในการช่วยเหลือมากขึ้นด้วย เงินช่วยเหลือควรมีการส่งต่อ เข้าไปในภูมิภาค และควรมีการพัฒนาระบบการรายงานและการติดตามเงินทุนเพื่อ ให้เกิดความโปร่งใส สำ�หรับผู้หญิงและเด็กผู้หญิงที่ได้รับผลกระทบหลักในประเทศที่ มีรายรับสูงและปานกลางค่อนข้างสูง เช่น มาเลเซีย เกาหลีใต้ และบรูไนอาจตกหล่น ไปจากกระบวนการนี้ ทรัพยากรด้านการเงินสำ�หรับการป้องกันมุ่งเน้นไปที่ความต้องการของผู้หญิงและ เด็กผู้หญิงในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประชากรที่เปราะบาง (ย่อหน้า 60) ปฏิญญา 2011 ไม่ได้แสดงถึงความเชื่อมโยงในการลงทุนสำ�หรับการสร้างภาวะ ผู้นำ�สำ�หรับผู้หญิง การพัฒนาศักยภาพของชุมชน และการขจัดความรุนแรงอัน เนื่องจากเหตุแห่งเพศซึ่งถือเป็นสิ่งสำ�คัญซึ่งช่วยให้โครงการด้านเอชไอวีประสบผล สำ�เร็จ ถึงเวลาแล้วที่จะต้องพัฒนาศักยภาพของผู้หญิงและเด็กผู้หญิงเพื่อให้พวก เธอได้วางแผนและจัดการทางเลือกของตน เพื่อให้บรรลุจุดหมายของการไปให้ถึง ศูนย์ (Getting to Zero) ซึ่งได้รับการตระหนักถึงในเอกสารซึ่งตีพิมพ์ ไม่นานมานี้ UNAIDS Investment Framework องค์กรภาคประชาสังคมจะยังคงเดินหน้าร่วม กับพันธมิตรเพื่อให้ประเทศและภาคส่วนที่มีความรับผิดชอบต่างๆมุ่งสู่การลงทุน ระดับโลกเพื่อผู้หญิงและเด็กหญิง

4

in

focus

Vol. 3, January 2012

1. 1 UNAIDS Guidance for Partnerships with Civil Society, including people living with HIV and Key Populations Final Draft: CS Guidance 08/12/11 2. 2 “Health of Our Heroes: Access to Sexual and Reproductive Health Services and Information of Women Migrant Domestic Workers” Action for Health Initiatives (ACHIEVE), Inc. 2010 3. Issue Brief: “Stopping violence against women and girls for effective HIV responses”. Published by The Global Coalition on Women and AIDS. 4. 4 The Report of the UNAIDS Advisory Group on HIV and Sex Work at the 29th meeting of the UNAIDS Programme Coordinating Board, December 2011 5. 5 Extract from ‘Regional call for action to achieve universal access to HIV prevention, treatment, care and support in Asia and the Pacific’, Res. 66/10, The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UN-ESCAP) May 2010 6. Needs and rights of key affected women and girls in HIV and AIDS programmes, CNS and APA, August 2011 7. Women’s priorities Asia and the Pacific, The Athena Network and GYCA, UNAIDS and UN Women. 8. 27th meeting of the PCB, Geneva, Switzerland, 6-8 December 2010, Decisions, Recommendations and Conclusions. 9. HIV/AIDS, unwanted pregnancy and abortion. IPAS, 2008. 10. In Women’s Words. HIV priorities for Positive Change. Advancing our Action Agenda, ATHENA Network and the GCWA 11. UN AIDS Global Report on AIDS 2010

อื่นๆ: Building women’s global meaningful participation in the HLM on AIDS. Women’s priorities Asia & the Pacific, ATHENA Network and Global Coalition on Women and Aids (GCWA), UNAIDS and UN Women, 2011; Needs and rights of key affected women and girls in HIV and AIDS programmmes, Citizen News Service (CNS) and Asia Pacific Alliance for Sexual and Reproductive Health and Rights (APA), August 2011; Key messages Women’s Forum, 10th International Congress on Aids in Asia and the Pacific 2011; Issue Brief: Stopping violence against women and girls for effective responses, GCWA; Women who use drugs, harm reduction and HIV, GCWA; In Women’s Words - HIV priorities for Positive Change. Advancing our Action Agenda, ATHENA Network and GCWA; Community Innovation, Achieving sexual and reproductive health and rights for women and girls through the HIV response, ATHENA Network and UNAIDS, 2011; Report HIV and Sex Work, December 2011; Women’s priorities Asia and the Pacific, Athena network, GCWA, UNAIDS and UN Women; 27th meeting of the UNAIDS Programme Coordinating Board (PCB) Dec 2010; Report of the UNAIDS Advisory Group on HIV and Sex Work, 29th meeting of the UNAIDS PCB, Dec 2011; HIV/AIDS, unwanted pregnancy and abortion. IPAS, 2008; UN AIDS Global Report on AIDS 2010; Health of Our Heroes: Access to Sexual and Reproductive Health Services and Information of Women Migrant Domestic Workers. Action for Health Initiatives (ACHIEVE) Inc. 2010; Extract from Regional call for action to achieve universal access to HIV prevention, treatment, care and support in Asia and the Pacific, Res. 66/10, The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (UN-ESCAP) May 2010; Ten targets of the 2011 United Nationals General Assembly Political Declaration on HIV/AIDS: Targets and elimination commitments; UNAIDS Guidance for Partnerships with Civil Society, including people living with HIV and Key Populations Final Draft: CS Guidance 08/12/11.


ข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลภาคประชาสังคม หุ้นส่วนในการพัฒนา และผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ 1. ยอมรับว่าประเด็นในเรื่องผู้หญิงและเด็กผู้หญิง, เอชไอวีและโรคเอดส์ และความเท่าเทียมระหว่างเพศเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมด /และจำ�เป็นที่จะต้องหยิบยกประเด็นนีขึ้นเพื่อทำ�ให้บรรลุจุดหมายและเป้าหมายตามปฎิญญา 2011 2. ยอมรับว่าผู้หญิงและเด็กผู้หญิงซึ่งทำ�งานเป็นพนักงานบริการ, ใช้ยาเสพติด และ/หรือกะเทยแปลงเพศเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงมากที่สุด/ แต่ความต้องการของพวกเขาก็ถูกละเลย; ต้องมีการให้คำ�มั่น ที่จะรวมกลุ่มประชากรนี้ไว้ในแผนยุทธศาสตร์ป้องกันในระดับชาติอย่างครอบคลุม และทำ�ให้มั่นใจว่าจะมีบริการเหล่านั้นจัดไว้ให้พวกเขา 3. ขจัดความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ, การละเมิดและความรุนแรงอันเนื่องจากเหตุแห่งเพศ และสัญญาว่าจะดำ�เนินมาตรการใดๆที่จำ�เป็นเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้หญิงและเด็กหญิงเพื่อป้องกันตัวเอง จากความเสี่ยงในการติดเชื่อ HIV 4. ลงทุนในการสร้างภาวะผู้นำ�ในผู้หญิง, พัฒนาศักยภาพชุมชน และขจัดความรุนแรงอันเนื่องจากเหตุแห่งเพศซึ่งถือเป็นสิ่งสำ�คัญในการทำ�ให้โครงการด้านเอชไอวี ประสบผลสำ�เร็จ; และขยายปฏิบัติการและทรัพยากรสำ�หรับนโยบายและโครงการซึ่งเน้นในเรื่องสิทธิของ ผู้หญิงและเด็กหญิงในบริบทที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวี 5. ทำ�ให้แน่ใจว่าเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชายทั้งในและนอกโรงเรียนสามารถเข้าถึงเพศวิถีศึกษาที่ครอบคลุมได้ 6. ทำ�ให้แน่ใจว่าได้มีการดำ�เนินการที่ตอบสนองในเรื่องเอชไอวีและเอดส์อย่างบูรณาการ ซึ่งครอบคลุมทุกด้าน และยึดในเรื่องสิทธิเป็นหลัก สร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขและสังคมของประเทศ โดยการบูรณาการเอชไอวีเข้ากับงานบริการ โครงการและนโยบายด้านสุขภาพทางเพศ,อนามัยการเจริญพันธ์ุ และอนามัยแม่และเด็กภายในปี 2015 7. ทำ�ให้แน่ใจว่าการป้องการการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการป้องกัน, การรักษา, การดูแลและช่วยเหลือในด้านเอชไอวีแบบองค์รวมสำ�หรับผู้หญิง 8.ทำ�ให้แน่ใจว่ากฎหมายและนโยบายทั้ง หมดที่เกี่ยวข้องกับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีจะยึดมั่นกับหลักการเรื่อง การยินยอมโดยได้รับข้อมูลรอบด้าน, การรักษาความลับ, การให้คำ�ปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือดเพื่อหา เชื้อเอชไอวีและมีบริการส่งต่อเพื่อรับการรักษาดูแล และช่วยเหลือที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการการ ป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก และโครงการที่มีเป้าหมายเป็นกลุ่มประชากร ผู้หญิงและเด็กผู้หญิงที่ได้รับผลกระทบ in

focus

Vol. 3, January 2012

5


“นักการเมืองและรัฐบาลก็สามารถเป็นผู้นำ�และทำ�ตัวเป็นตัวอย่างที่ดีได้โดยต้องไม่อดทนต่อความรุนแรงที่มี

ต่อผู้หญิง ไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตาม ปฏิญญาทางการเมืองในเรื่องเอชไอวีและเอดส์ ได้ระบุไว้ว่า ผู้หญิงและเด็กหญิงมีสิทธิที่จะควบคุมและตัดสินใจอย่างเป็นอิสระรวมถึงรับผิดชอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเพศ วิถีของตน เพื่อที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันตัวเองจากการรับเชื้อเอชไอวี ซึ่งรวมไปถึงสุขภาพทาง เพศและอนามัยการเจริญพันธ์ุโดยไม่มีการบีบบังคับ การถูกเลือกปฏิบัติและความรุนแรง

Jane Bruning NGO Delegate UNAIDS PCB, Asia Pacific on behalf of APN+, National Coordinator of Positive Women Inc NZ และ สมาชิกของ the Asia Pacific Alliance for Sexual and Reproductive Health and Rights (APA)

The ‘InFocus” series of briefing papers looks at the 2011 Political Declaration from the perspectives of key issues impacting on civil society and key affected populations. The series is an initiative for collaboration between APCASO and several regional networks. APCASO and the Comprehensive Review on AIDS Since 2009 APCASO has been engaged with the 2011 Comprehensive Review on AIDS through: • Multilingual advocacy alerts for civil society advocates on the 2010 UNGASS • A regional Universal Access research project involving six countries in Asia Pacific in 2010 • A Pre-HLM preparatory forum in May 2011 • A regional listserve for dissemination of news and information on the HLM for civil society advocates. • A Facebook account for Asia Pacific civil society delegates to the 2011 HLM • Facilitation of discussions and information sharing at the HLM • Satellite and Community Forum sessions at the 10th ICAAP in 2011 • Facilitation of wider civil society understanding of the 2011 Political Declaration, the Strategic Investment Framework, UNAIDS’s Getting to Zero, Global Fund’s Investing for Impact, and other key global documents. • “InFocus” series of briefing papers for advocacy. This material may be reproduced or translated for non-commercial purposes provided that APCASO is duly acknowledged and informed.

6

in

focus

Vol. 3, January 2012

APA เป็นเครือข่ายองค์กรสมาชิกซึ่งมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้ใช้สิทธิทาง สุขภาพตามสิทธิที่พึงมีของตน โดยผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในเรื่อง อนามัยการเจริญพันธุ์ อนามัยทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ และเอชไอวี/ เอดส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค Asia Pacific Alliance for Sexual and Reproductive Health and Rights (APA) 18th Floor, Sathorn Thani II, 92 North Sathorn Road Bangkok 10500, THAILAND Tel: +66 2 236 5984, Url: http://www.asiapacificalliance.org APCASO คือเครือข่ายภาคประชาสังคมขององค์กรเอกชนและองค์กรชุมชน ซึ่งให้บริการด้านเอชไอวีและเอดส์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค Asia Pacific Council of AIDS Service Organizations (APCASO) 16-3 Jalan 13/48A, Sentul Boulevard, Off Jalan Sentul, 51000 Kuala Lumpur, MALAYSIA Tel: +603 4044-9666, Fax: +603 4044-9615, Url: www.apcaso.org Written by APA Secretariat ขอขอบคุณ: Fatimah Abdullah, Jane Bruning, Gina Davis, Alexa Johns, Rose Koenders, Dean Lewis, Susan Paxton, Milinda Rajapaksha, และ Rathi Ramanathan. Copyedited by: Moi Lee Liow, APCASO Design and lay-out by: RD Marte, APCASO Translation by: Pattaya Buranaprapa, Planned Parenthood Association of Thailand (PPAT) Proofreading by: Raks Thai Foundation Developed with funding support from UNAIDS and AusAID through AFAO


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.