นาฏศิลป์

Page 1


ประวัตคิ วามเป็ นมาของนาฏศิลป์ ไทย

นาฏศิลป์ ไทย เป็ นศิลปะแห่งการฟ้ อนรา ที่มีสมมติฐานมาจากธรรมชาติ แต่ได้รับการตกแต่งและ ปรับปรุ งให้งดงามยิง่ ขึ้น จนก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจแก่ผดู ้ ูผชู ้ ม โดยแท้จริ งแล้วการฟ้ อนราก็คือ ศิลปะของการเคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น แขน ขา เอว ไหล่ หน้าตา ฯลฯ ด้วยเหตุน้ ี ธรรมชาติที่เป็ นพื้นฐานเบื้องต้นของการฟ้ อนราจึงมาจากอิริยาบท ต่าง ๆ ของมนุษย์ ได้แก่ ยืน เดิน นัง่ นอน ฯลฯ ตามปกติการเดินของคนเราจะก้าวเท้าพร้อมทั้งแกว่งแขนสลับกันไปเช่นเมื่อก้าว เท้า ซ้ายก็จะแกว่งแขนขวาออก และเมื่อก้าวเท้าขวาก็จะแกว่งแขนซ้ายออกสลับกันเพือ่ เป็ นหลักในการ ทรงตัว ครั้นเมื่อนามาตกแต่งเป็ นท่าราขึ้น ก็กลายเป็ นท่าเดินที่มีลีลาการก้าวเท้าและแกว่งแขน ให้ ได้สดั ส่วนงดงามถูกต้องตามแบบแผนที่กาหนด ตลอดจนท่วงทานองและจังหวะเพลง นาฏศิลป์ ไทย เกิดมาจากอากัปกิริยาของสามัญชนเป็ นพื้นฐาน ซึ่งโดยทัว่ ไปมนุษย์ทุกคนย่อมมี อารมณ์ต่าง ๆ ได้แก่ รัก โกรธ โศกเศร้า เสี ยใจ ดีใจ ร้องไห้ ฯลฯ แต่ที่น่าสังเกตก็คือ เมื่อมนุษย์มี อารมณ์อย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้น นอกจากจะมีความรู ้สึกเกิดขึ้นในจิตใจแล้วยังแสดงปฏิกิริยาตอบ โต้ออกมาทางกาย ในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น รัก - หน้าตากิริยาที่แสดงออก อ่อนโยน รู ้จกั เล้าโลม เจ้าชู ้ โกรธ - หน้าตาบึ้งตึง กระทืบเท้า ชี้หน้าด่าว่าต่าง ๆ โศกเศร้า,เสียใจ - หน้าตากิริยาละห้อยละเหี่ย ตัดพ้อต่อว่า ร้องไห้ สรุ ปได้วา่ นาฏศิลป์ ไทย เกิดมาจากกิริยาท่าทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณ์ของมนุษย์ปุถุชน อากัปกิริยาต่าง ๆ เหล่านี้เป็ นมูลเหตุให้ปรมาจารย์ทางศิลปะนามาปรับปรุ งบัญญัติสดั ส่วนและ


กาหนดวิธีการขึ้น จนกลายเป็ นท่าฟ้ อนรา โดยวางแบบแผนลีลาท่าราของมือ เท้า ให้งดงาม รู ้จกั วิธี เยือ้ ง ยัก และกล่อมตัว ให้สอดคล้องสัมพันธ์กนั จนเกิดเป็ นท่าราขึ้น และมีววิ ฒั นาการปรับปรุ งมา ตามลาดับ จนดูประณี ตงดงาม อ่อนช้อยวิจิตรพิสดาร จนถึงขั้นเป็ นศิลปะได้ นอกจากนี้ นาฏศิลป์ ไทย ยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่เป็ นเรื่ องของเทพเจ้า และตานานการฟ้ อนรา โดยผ่านเข้า สู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนามาปรับปรุ งให้ เป็ นรู ปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรู ปศิวะปางนาฏราช ที่สร้างเป็ นท่าการร่ าย ราของ พระอิศวร ซึ่งมีท้งั หมด 108 ท่า หรื อ 108 กรณะ โดยทรงฟ้ อนราครั้งแรกในโลก ณ ตาบล จิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปั จจุบนั อยูใ่ นรัฐทมิฬนาดู นับเป็ นคัมภีร์สาหรับการฟ้ อนรา แต่งโดยพระภรตมุนี เรี ยกว่า คัมภีร์ ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็ นอิทธิพลสาคัญต่อแบบแผนการสืบสาน และการถ่ายทอดนาฏศิลป์ ของ ไทยจนเกิดขึ้นเป็ นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรี ยน การฝึ กหัด จารี ต ขนบธรรมเนียม มาจนถึงปั จจุบนั อย่างไรก็ตาม บรรดาผูเ้ ชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ ไทยได้ สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฎศิลป์ ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่ เข้ามาสู่ประเทศไทย ตั้งแต่ สมัยกรุ งศรี อยุธยาตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฎราชที่สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็ น ระยะที่ไทยเริ่ มก่อตั้งกรุ งสุโขทัย ดังนั้นท่าราไทยที่ดดั แปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็ น ความคิดของนัก ปราชญ์ในสมัยกรุ งศรี อยุธยา และมีการแก้ไข ปรับปรุ งหรื อประดิษฐ์ข้ นึ ใหม่ใน สมัยกรุ งรัตนโกสินทร์ จนนามาสู่การประดิษฐ์ข้ นึ ใหม่ในสมัยกรุ งรัตนโกสินทร์จนนามาสู่การ ประดิษฐ์ ท่าทางการร่ ายราและละครไทยมาจนถึงปั จจุบนั ( thaigoodview.ประวัติความเป็ นมา

ความสาคัญและคุณค่าของนาฏศิลป์ ไทย ความสาคัญของนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ นอกจากจะเป็ นเครื่ องมือบันเทิงใจสาหรับมนุษย์แล้ว นาฏศิลป์ ยังเป็ น การแสดงออกทางศิลปวัฒนธรรมที่ดีของชาติ และมีความสาคัญต่อวิถีชีวติ ของมนุษย์ในพิธีกรรมต่างๆ ตลอดทั้งยังสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่าง


ของสังคม ซึ่งส่งผลให้นาฏศิลป์ มีความสาคัญดังนี้ 1 นาฏศิลป์ แสดงถึงความเป็ นเอกลักษณ์ประจาชาติ ที่แสดงให้เห็นถึงระดับ จิตใจสภาพความเป็ นอยูค่ วามรู ้ความสามารถ ความเป็ นไทย ความเจริ ญรุ่ งเรื อง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ดังที่ เรณู โกศินานนท์ (2535, 6) กล่าวถึงนาฏศิลป์ ไทย ที่แสดงถึงความเป็ นไทยไว้ดงั นี้ 1.1 ท่าราอ่อนช้อยงดงาม และแสดงอารมณ์ตามลักษณะที่แท้จริ งของคนไทย 1.2 มีดนตรี ประกอบ 1.3 คาร้อง หรื อเนื้อร้องจะต้องเป็ นคาประพันธ์ คาร้องนี้ทาให้ผสู ้ อนหรื อผูร้ า กาหนดท่าราไปตามเนื้อร้อง 1.4 เครื่ องแต่งกายซึ่งต่างกับของชาติอื่นมีแบบอย่างของตนโดยเฉพาะ 2 นาฏศิลป์ เป็ นแหล่งรวมของศิลปะแขนงต่างๆ เช่น ศิลปะในการประพันธ์ หรื อวรรณคดี ศิลปะในการเขียนภาพ ศิลปะในการปั้ น หล่อ แกะสลัก ศิลปะในการออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ ศิลปะในการออกแบบเครื่ องแต่งกาย ตลอดจนไฟฟ้ า แสง เสียง ดังนั้นจึงกล่าวได้วา่ นาฏศิลป์ คือเป็ นแหล่งรวมของศิลปะสาขาต่างๆ เข้าด้วยกัน จากความสาคัญของนาฏศิลป์ ทีก่ ล่าวมาในข้างต้น จึงได้จดั ให้มีการเรี ยนการสอน นาฏศิลป์ และส่งเสริ มลักษณะนิสยั ที่ดีแก่นกั เรี ยน ดังนี้ 1. ส่งเสริ มการอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย 2. ให้มีความรู ้ ความเข้าใจ และมีความสามารถเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทย 3. ปลูกฝังลักษณะนิสยั ทางศิลปะ 4. ฝึ กปฏิบตั ิเพือ่ เกิดความรู ้ความชานาญ สามารถปรับปรุ งและส่งเสริ มการแสดงออก


คุณค่าที่ได้รับจากนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ ถือเป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันล้ าค่าของมนุษยชาติ ควรที่มนุษย์ควรรู ้จกั เข้าใจศึกษา และนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง แก่ผอู ้ ื่น และแก่สงั คมโดยส่วนรวม โดยพิจารณาว่า นาฏศิลป์ มีส่วนใดบ้างในการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ ทั้งที่เป็ นกิจกรรมส่วนตัวและส่วนรวมตั้งแต่ อดีตจนถึงปั จจุบนั มนุษย์ได้ใช้นาฏศิลป์ เป็ นกิจกรรมส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของการดารงชีวติ ในเวลา ปกติ และในโอกาสพิเศษอยูต่ ลอดเวลา ซึ่งอาจสรุ ปได้วา่ มนุษย์เราได้รับคุณค่าจากนาฏศิลป์ ไทย ดังนี้ ๑.เพือ่ การสื่อสาร นาฏศิลป์ เป็ นกระบวนการหนึ่งที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสาร ธรรมชาติเอื้อให้มนุษย์ ใช้ร่างกายประกอบการเล่าเรื่ องเพือ่ ให้การเล่าเรื่ องตื่นเต้นสนุกสนาน นาฏศิลป์ ได้พฒั นาต่อมาโดยที่ มนุษย์เลือกสรรและสร้างสรรค์ท่าทางต่างๆ ให้มีความหมายเฉพาะที่เข้าใจและสื่อสารกันได้ใน กลุ่มชนนั้นๆ หรื ออาจกล่าวได้วา่ นาฏศิลป์ ได้พฒั นาจากรู ปลักษณ์ที่ง่าย และเป็ นส่วนประกอบของ คาพูดหรื อวรรณศิลป์ ไปสู่การสร้างภาษาของตนเองขึ้นที่เรี ยกว่า“ภาษาท่ารา”โดยกาหนดกันใน กลุ่มชนที่ใช้นาฏศิลป์ นั้นๆว่าท่าใดมีความหมายอย่างไร

๒. เพือ่ งานพิธีกรรมต่างๆ นาฏศิลป์ ใช้เป็ นเครื่ องดนตรี ที่พลังพิเศษ หรื อเป็ นอานาจเหนือ ธรรมชาติในตัวเองของผูท้ าหน้าที่เป็ นพ่อมดหรื อหมอผี หรื ออีกนัยหนึ่งคนเหล่านี้ใช้นาฏศิลป์ สื่อสารกับพลังเหนือธรรมชาติให้เข้ามาสิงสถิตในตนเองหรื อผ่านตนไปยังสิ่งที่ตอ้ งการรับอิทธิพล เหล่านั้นการฟ้ อนราในลักษณะนี้มกั เป็ นการแสดงเดี่ยว แต่ในบางครั้งบางแห่งก็มีการแสดงเป็ นกลุ่ม การฟ้ อนราในพิธีผฟี ้ าในภาคเหนือ เพือ่ รักษาโรคหรื อสะเดาะเคราะห์ จะเริ่ มด้วยพิธีกรหญิงฟ้ อนนา ในลักษณะเข้าทรง แล้วผูท้ ี่เคยรักษาหายมาก่อนซึ่งมักมาร่ วมงานเพือ่ ร่ วมให้พลังใจก็จะลุกขึ้นรา ตาม ฟ้ อนผีมดผีเม็งในภาคเหนือจะมีบรรดาสมาชิกหญิงมาเข้าทรงเป็ นหมู่และฟ้ อนราร่ วมกัน เพือ่ สะเดาะเคราะห์หรื อรักษาโรค และพิธีกรรมอีกลักษณะหนึ่ง คือ การฟ้ อนราเพือ่ บูชาหรื อบวงสรวง สิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยมิได้เข้าทรง แต่เป็ นการแสดงที่เน้นความงดงาม เช่น การราแก้บนที่ศาลพระพรหม แยกราชราชประสงค์ การแสดงเหล่านี้เป็ นการแสดงแก้บนซึ่งอาจเป็ นรู ปของการแสดงแก้บน ลิเก แก้บน และการฟ้ อนรา อีกลักษณะหนึ่งเป็ นการฟ้ อนราบูชาแต่ไม่ได้แก้บนใดๆ แต่เป็ นการฟ้ อน บูชาครู หรื อเป็ นพุทธบูชา เช่นการราถวายมือในพิธีไหว้ครู นาฏศิลป์ ไทย หรื อการราไหว้ครู มวย ก่อนการชกเป็ นต้น


๓. เพือ่ งานพิธีการต่างๆ ในสังคมหนึ่งย่อมมีพธิ ีการต่างๆ ของมนุษย์ แต่ละพิธีการมีความสัมพันธ์ แตกต่างกันออกไป เช่น พิธีการต้อนรับแขกเมืองสาคัญ พิธีแห่เทวรู ปที่เคารพประจาปี เพือ่ เป็ นสิ ริ มงคล พิธีฉลองงานสาคัญเช่นงานวันเกิดงานวันครบรอบเป็ นต้น พิธีที่กล่าวมานี้นิยมจัดให้มีการ ฟ้ อนราขึ้น ๒ ลักษณะใหญ่ๆ คือ การฟ้ อนราเป็ นขบวนแห่ไปตามทางและการฟ้ อนราบนเวที ขบวนฟ้ อนราจะปรากฏในพิธีการ เช่น การฟ้ อนบายศรี สู่ขวัญโดยเจ้านายฝ่ ายเหนือทั้งชายและหญิง เพือ่ รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พิธีฟ้อนราแสดงชุดพระถังซัมจัง๋ ไปอัญเชิญพระไตรปิ ฏ กจากอินเดียในงานตรุ ษจีนที่นครสวรรค์ การฟ้ อนราในพิธีเซิ้ งบั้งไฟขอฝนทางภาคอีสาน การฟ้ อน ราหน้าขบวนแห่นาค ประหนึ่งจาลองมารผจญพระพุทธเจ้าก่อนจะเข้าพระอุโบสถ การฟ้ อนรา ขันโตกเพือ่ นาอาหารมาในพิธีขนั โตกรับแขกสาคัญสาคัญของเมืองเหนือ ส่วนการฟ้ อนราบนเวที เช่น การราอวยพรวันเกิด การราเบิกโรงก่อนแสดงละคร และการฟ้ อนราในพิธีเปิ ดเทศกาลกีฬา ต่างๆ ๔. เพือ่ ความบันเทิงและการสังสรรค์ มนุษย์มกั มีการพบปะสังสรรค์กนั ในโอกาสต่างๆ อยูเ่ สมอ เช่น การจัดงานรื่ นเริ งตามฤดูกาล เพือ่ เฉลิมฉลองเมื่อสิ้นฤดูกาลเก็บเกี่ยวอันเหน็ดเหนื่อย และเก็บ เกี่ยวได้ผลดี หรื อการฉลองเริ่ มฤดูฝนอันเป็ นนิมิตรแห่งการเริ่ มต้นฤดูเพาะปลูก ในรอบปี หนึ่ง มี เทศกาลสาคัญหลยครั้ง อาทิ งานราลึกถึงบรรพบุรุษ หรื อเหตุการณ์สาคัญในอดีต งานรื่ นเริ งหรื อ งานราลึกเหล่านี้มกั จะมีการเฉลิมฉลองต่างๆ นาฏศิลป์ ให้ความบันเทิงแก่ผมู ้ าร่ วมงานต่างๆ เช่น การราอวยพรในวันเกิด ในงานรื่ นเริ งต่างๆ ๕. เพือ่ การออกกาลังกายและพัฒนาบุคลิกภาพ การฝึ กหัดราไทยต้องอาศัยกาลังในการฝึ กซ้อม และ ในการแสดงอย่างมาก เหมือนกับได้ออกกาลังกายอยูต่ ลอดเวลา เป็ นการกระตุน้ หรื อบาบัด ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่ างกาย ทาให้กระฉับกระเฉง ไม่เครี ยด เป็ นการสร้างเสริ มบุคคลิกภาพและมี การทรงตัวที่สง่างามด้วย ๖. เพือ่ การอนุรักษ์และเผยแพร่ นาฏศิลป์ เป็ นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชุมชน ในชุมชนหนึ่งๆ มัก มีการสืบทอด และอนุรักษ์วฒั นธรรมทางนาฎศิลป์ ของตนเอาไว้มิให้สูญหาย มีการสอนมีการแสดง และเผยแพร่ นาฏศิลป์ ไทยให้ทอ้ งถิ่นอื่น หรื อนาไปเผยแพร่ ในต่างแดน


ประเภทของนาฎศิลป์ ไทย นาฎศิลป์ คือ การร่ ายราที่มนุษย์ได้ปรุ งแต่งจากลีลาตามธรรมชาติให้สวยสดงดงาม โดยมี ดนตรี เป็ นองค์ประกอบในการร่ ายรา นาฎศิลป์ ของไทย แบ่งออกตามลักษณะของรู ปแบบการแสดงเป็ นประเภทใหญ่ ๆ 4 ประเภท คือ 1. โขน เป็ น การแสดงนาฎศิลป์ ชั้นสูงของไทยที่มี เอกลักษณ์ คือ ผูแ้ สดงจะต้องสวมหัวที่ เรี ยกว่า หัวโขน และใช้ลีลาท่าทางการแสดงด้วยการเต้นไปตามบทพากย์ การเจรจาของผูพ้ ากย์ และตามทานองเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่ พาทย์ เรื่ องที่นิยมนามาแสดง คือ พระราชนิพนธ์ บทละครเรื่ องรามเกียรติ์ แต่งการเลียนแบบเครื่ องทรงของพระมหากษัตริ ยท์ ี่เป็ นเครื่ องต้น เรี ยกว่า การแต่งกายแบบ “ยืน่ เครื่ อง” มีจารี ตขั้นตอนการแสดงที่เป็ นแบบแผน นิยมจัดแสดงเฉพาะพิธี สาคัญได้แก่ งานพระราชพิธีต่าง ๆ 2. ละคร เป็ น ศิลปะการร่ ายราที่เล่นเป็ นเรื่ อง ราว มีพฒั นาการมาจากการเล่านิทาน ละครมี เอกลักษณ์ในการแสดงและการดาเนินเรื่ องด้วยกระบวนลีลาท่ารา เข้าบทร้อง ทานองเพลงและ เพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่ พาทย์มีแบบแผนการเล่นที่เป็ น ทั้งของชาวบ้านและของหลวงที่ เรี ยกว่า ละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน เรื่ องที่นิยมนามาแสดงคือ พระสุธน สังข์ทอง คาวี อิเหนา อุณรุ ท นอกจากนี้ยงั มีละครที่ปรับปรุ งขึ้นใหม่อีกหลายชนิด การแต่งกายของละคร จะเลียนแบบเครื่ องทรงของพระมหากษัตริ ย ์ เรี ยกว่า การแต่งการแบยืนเครื่ อง นิยมเล่นในงานพิธี สาคัญและงานพระราชพิธีของพระมหากษัตริ ย ์ 3. ระ และ ระบา เป็ นศิลปะแห่งการร่ ายราประกอบเพลงดนตรี และบทขับร้อง โดยไม่เล่น เป็ นเรื่ องราว ในที่น้ ีหมายถึงราและระบาที่มีลกั ษณะเป็ นการแสดงแบบมาตรฐาน ซึ่งมีความหมาย ที่จะอธิบายได้พอสังเขป ดังนี้ 3.1 รา หมายถึง ศิลปะแห่งการรายราที่มีผแู ้ สดง ตั้งแต่ 1-2 คน เช่น การราเดี่ยว การ ราคู่ การราอาวุธ เป็ นต้น มีลกั ษณะการแต่งการตามรู ปแบบของการแสดง ไม่เล่นเป็ นเรื่ องราวอาจ มีบทขับร้องประกอบการราเข้ากับทานองเพลงดนตรี มีกระบวนท่ารา โดยเฉพาะการราคู่จะต่าง กับระบา เนื่องจากท่าราจะมีความเชื่อมโยงสอดคล้องต่อเนื่องกัน และเป็ นบทเฉพาะสาหรับผู ้ แสดงนั้น ๆ เช่น ราเพลงช้าเพลงเร็ ว ราแม่บท ราเมขลา –รามสูร เป็ นต้น 3.2 ระบา หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ ายราที่มีผเู ้ ล่นตังแต่ 2 คนขึ้นไป มีลกั ษณะการแต่ง การคล้ายคลึงกัน กระบวนท่ารายราคล้าคลึงกัน ไม่เล่นเป็ นเรื่ องราว อาจมีบทขับร้องประกอบการ


ราเข้าทานองเพลงดนตรี ซึ่งระบาแบบมาตรฐานมักบรรเลงด้วยวงปี่ พาทย์ การแต่งการนิยมแต่ง กายยืนเครื่ องพระนาง-หรื อแต่งแบบนางในราชสานัก เช่น ระบาสี่บท ระบากฤดาภินิหาร ระบา ฉิ่งเป็ นต้น 4. การแสดงพื้นเมือง เป็ น ศิลปะแห่งการร่ ายราที่ มีท้งั รา ระบา หรื อการละเล่นที่เป็ น เอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาค ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็ นภูมิภาคได้ 4 ภาค ดังนี้ 4.1 การแสดงพี้นเมืองภาคเหนือ เป็ นศิลปะการรา และการละเล่น หรื อที่นิยมเรี ยกกัน ทัว่ ไปว่า “ฟ้ อน” การฟ้ อนเป็ นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชาวไต ชาว ลื้อ ชาวยอง ชาวเขิน เป็ นต้น ลักษณะของการฟ้ อน แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิม และแบบ ที่ปรับปรุ งขึ้นใหม่ แต่ยงั คงมีการรักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว้คือ มีลีลาท่าราที่แช่มช้า อ่อน ช้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับ ร้องด้วยวง ดนตรี พ้นื บ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็ นต้น โอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงาน ประเพณี หรื อต้นรับแขกบ้านแขกเมือง ได้แก่ ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนครัวทาน ฟ้ อนสาวไหมและ ฟ้ อนเจิง 4.2 การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง เป็ นศิลปะการร่ ายราและการละเล่นของชนชาวพื้นบ้าน ภาคกลาง ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถี ชีวติ และพือ่ ความบันเทิงสนุกสนาน เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทางาน หรื อเมื่อเสร็จจาก เทศการฤดูเก็บเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลงเกี่ยวข้าว เต้นการาเคียว ราโทนหรื อราวง ราเถิดเท อง รากลองยาว เป็ นต้น มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมของท้องถิ่น และใช้เครื่ องดนตรี พื้นบ้าน เช่น กลองยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหม่ง 4.3 การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน เป็ นศิลปะการราและการเล่นของชาวพื้นบ้านภาค อีสาน หรื อ ภาคตะวนออกเฉียงเหนือของไทย แบ่งได้เป็ น 2 กลุ่มวัฒนธรรมใหญ่ ๆ คือ กลุ่ม อีสานเหนือ มีวฒั นธรรมไทยลาวซึ่งมักเรี ยกการละเล่นว่า “เซิ้ง ฟ้ อน และหมอลา” เช่น เซิ้งบัง ไฟ เซิ้งสวิง ฟ้ อนภูไท ลากลอนเกี้ยว ลาเต้ย ซึ่งใช้เครื่ องดนตรี พ้นื บ้าน ประกอบ ได้แก่ แคน พิณ ซอ กลองยาว อีสาน ฉิ่ง ฉาบ ฆ้อง และกรับ ภายหลังเพิม่ เติม โปงลางและโหวดเข้ามาด้วย ส่วนกลุ่มอีสานใต้ได้รับอิทธิพลไทยเขมร มีการละเล่นที่ เรี ยกว่า เรื อม หรื อ เร็อม เช่น เรื อมลูดอันเร หรื อรากระทบสาก รากระเน็บติงต็อง หรื อระบา ตัก๊ แตน ตาข้าว ราอาไย หรื อราตัด หรื อเพลงอีแซวแบบภาคกลางวงดนตรี ที่ใช้บรรเลง คือ วง มโหรี อีสานใต้ มีเครื่ องดนตรี คือ ซอด้วง ซอด้วง ซอครัวเอก กลองกันตรึ ม พิณ ระนาด เอก ไม้ ปี่ สไล กลองรามะนาและเครื่ องประกอบจังหวะ การแต่งกายประกอบการแสดงเป็ นไปตาม วัฒนธรรมของพื้นบ้าน ลักษณะท่าราและท่วงทานองดนตรี ในการแสดงค่อนข้างกระชับ รวดเร็ว


และสนุกสนาน 4.4 การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ เป็ นศิลปะการราและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้อาจ แบ่งตามกลุ่มวัฒนธรรมไ 2 กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนัง ตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็ง ซาแปง มะโย่ง (การแสดง ละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละ มีเครื่ องดนตรี ประกอบที่สาคัญ เช่น กลอง โนรา กลองโพน กลองปื ด โทน ทับ กรับพวง โหม่ง ปี่ กาหลอ ปี่ ไหน รามะนา ไวโอลิน อัค คอร์เดียน ภายหลังได้มีระบาที่ปรับปรุ งจากกิจกรรมในวิถีชีวติ ศิลปาต่างๆ เข่น ระบาร่ อนแต่ กา รี ดยาง ปาเตต๊ะ เป็ นต้น กลับด้านบน ( ๏Nameless๏ .ประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ ไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://board.postjung.com/642545.html )

องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย ดังได้กล่าวมาแล้วว่านาฏศิลป์ จะหมายรวมไปถึงการร้องราทาเพลงดังนั้นองค์ประกอบของ นาฏศิลป์ ก็จะประกอบไปด้วยการร้องการบรรเลง ดนตรี และการฟ้ อนรา ทั้งนี้เพราะการแสดงออก ทางนาฏศิลป์ ไทยจะต้องอาศัยบทร้องทานองเพลงประกอบการแสดง เพราะฉะนั้นก่อนที่จะมาเป็ น นาฏศิลป์ ไทยได้จะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบสาคัญๆดังต่อไปนี้ 1) การฟ้ อนราหรื อลีลาท่ารา การฟ้ อนราหรื อลีลาท่ารา เป็ นท่าทางของการเยือ้ งกรายฟ้ อนราที่สวยงาม โดยมีมนุษย์เป็ นผู ้ ประดิษฐ์ท่าราเหล่านั้นได้ถูกต้องตามแบบแผนรวมทั้งบทบาท และลักษณะของตัวละคร ประเภท ของการแสดง และการสื่อความหมายที่ชดั เจน 2) จังหวะ จังหวะ เป็ นส่วนย่อยของบทเพลงที่ดาเนินไปเป็ นระยะและสม่าเสมอ การฝึ กหัดนาฏศิลป์ ไทย จาเป็ นต้องใช้จงั หวะเป็ นพื้นฐานในการฝึ กหัด เพราะ จังหวะ เป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติและมี อยูใ่ นตัวมนุษย์ทุกคนหากผูเ้ รี ยนมี ทักษะทางการฟังจังหวะแล้ว ก็สามารถราได้สวยงามแต่ถา้ ผูเ้ รี ยนไม่เข้าใจจังหวะ ก็จะทาให้ราไม่ถูกจังหวะหรื อเรี ยกว่า "บอดจังหวะ" ทาให้การราก็จะไม่ สวยงามและถูกต้อง 3) เนื้ อร้องและทานองเพลง เนื้อร้องและทานองเพลง การแสดงลีลาท่าราแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และ ทานองเพลง ทั้งนี้เพือ่ บอกความหมายของท่ารา ถ่ายทอดอารมณ์ความรู ้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อ เรื่ อง ตลอดจนสามารถสื่อความหมายให้กบั ผูช้ มเข้าใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณ์รัก ผูร้ าจะ ประสานมือทาบไว้ที่หน้าอก ใบหน้ายิม้ ละไม สายตามองไปยังตัวละครที่ราคู่กนั เป็ นต้น


4) การแต่งกาย

การแต่งกาย ในการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศ ฐานะและบรรดาศักดิ์ ของผูแ้ สดง ละครนั้นๆ โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรี ยบเสมือนแทนสีกายของตัวละคร เช่น เมื่อ แสดงเป็ นหนุมานจะต้องแต่งกายด้วยชุดสีขาว มีลายปั กเป็ นลายทักษิณาวัตร สวมหัวขนลิงสีขาว ปากอ้าเป็ นต้น การแสดงนาฏศิลป์ ไทยทั้งโขนและละครนั้นได้จาแนกผูแ้ สดงออกเป็ น 4 ประเภทตาม ลักษณะของบทบาทและการฝึ กหัดคือ ตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์และตัวลิง ซึ่ งในแต่ละตัวละครนั้น นอกจากบุคลิกลักษณะทีถ่ ่ายทอดออกมาให้ผชู ้ มทราบจากการแสดงแล้ว เครื่ องแต่งการของผูแ้ สดง ก็ยงั เป็ นสัญลักษณ์ที่สาคัญอย่างหนึ่งที่บ่งบอกว่า ผูน้ ้ นั รับบทบาทแสดงเป็ นตัวใด เครื่ องแต่งการนาฏศิลป์ ไทยมีความงดงามและกรรมวิธีการประดิษฐ์ที่วิจิตรบรรจงเป็ นอย่างยิง่ ทั้งนี้ เพราะที่มาของเครื่ องแต่งกายนาฎศิลป์ ไทยนั้น จาลองแบบมาจากเครื่ องทรงของพระมหากษัตริ ย ์ (เครื่ องต้น) แล้วนามาพัฒนาให้เหมาะสมต่อการแสดง ซึ่งจาแนกออกเป็ น 4 ฝ่ าย ดังนี้ เครื่ องแต่งตัวพระ คือ เครื่ องแต่งกายของผูแ้ สดงหรื อผูร้ าที่แสดงเป็ นผูช้ าย เครื่ องแต่งตัวนาง คือ เครื่ องแต่งกายของผูแ้ สดงหรื อผูร้ าที่แสดงเป็ นหญิง สาหรับเครื่ องแต่งตัว พระและนางนี้ จะใช้แต่งกายสาหรับผูร้ ะบามาตรฐาน เช่น ระบาสี่บท ระบาพรหมาสตร์และระบา กฤดาภินิหาร เป็ นต้น และยังใช้แต่งกายสาหรับตัวละครในการแสดงละครนอกและละครในด้วย ส่วนในระบาเบ็ดเตล็ด เช่น ระบานพรัตน์ ระบาตรี ลีลา ระบาไตรภาคี ระบาไกรลาสสาเริ ง ระบา โบราณคดีชุดต่าง ๆ หรื อระบาสัตว์ต่าง ๆ จะใช้เครื่ องแต่งกายตามความเหมาะสมกับการแสดงนั้น ๆ เช่น นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบ และสวมชุดไทยต่าง ๆ เป็ นต้น ตลอดจนยังมีการแสดงหรื อการ ฟ้ อนราแบบพื้นเมืองของท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่งจะมีการแต่งกายที่แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่นด้วย เครื่ องแต่งตัวยักษ์ (ทศกัณฐ์) คือ เครื่ องแต่งกายของผูแ้ สดงเป็ นตัวยักษ์ เป็ นเครื่ องยักษ์ เครื่ องแต่งตัวลิง (หนุมาน) คือ เครื่ องแต่งกายของผูแ้ สดงเป็ นตัวลิง 5) การแต่งหน้า

การแต่งหน้า เป็ นองค์ประกอบหนึ่งที่ทาให้ผแู ้ สดงสวยงาม และอาพรางข้อบกพร่ อง ของ ใบหน้าของผูแ้ สดงได้ นอกจากนี้ก็ยงั สามารถใช้วธิ ีการแต่งหน้าเพือ่ บอกวัย บอกลักษณะเฉพาะ ของตัวละครได้ เช่น แต่งหน้าคนหนุ่มให้เป็ นคนแก่ แต่งหน้าให้ผแู ้ สดงเป็ นตัวตลก เป็ นต้น


6) เครื่ องดนตรี ที่บรรเลงประกอบการแสดง

การแสดงนาฏศิลป์ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องใช้เครื่ องดนตรี บรรเลงประกอบการแสดง ดังนั้นผู ้ แสดงจะต้องราให้สอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานองเพลงในขณะเดียวกัน ดนตรี ก็เป็ น องค์ประกอบหลักที่สาคัญในการช่วยเสริ มให้การแสดงสมบูรณ์ และสามารถสื่อความหมายได้ ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริ มสร้างบรรยากาศในการแสดงให้สมจริ งยิง่ ขึ้นด้วย เพลงไทยสาหรับประกอบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย เพลงไทยประกอบการแสดงโขน ละคร รา และ ระบามาตรฐาน เพลงไทยที่ใช้บรรเลงและขับร้องประกอบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย โขน ละคร รา และระบามาตรฐานนั้นแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทดังนี้ 1. เพลงหน้าพาทย์

ได้แก่ เพลงที่ใช้บรรเลงหรื อขับร้องประกอบอากัปกิริยาของตัวโขน ละคร เช่น การเดินทาง ยกทัพ สูร้ บ แปลงกาย และนาเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ในการราและระบา เช่น รัว โคมเวียน ชานาญ ตระบอง กัน เป็ นต้น 2. เพลงขับร้องรับส่ ง

คือเพลงไทยทีนามาบรรจุไว้ในบทโขน – ละคร อาจนามาจากเพลงตับ เถา หรื อเพลงเกร็ด เพือ่ บรรเลงขับร้องประกอบการราบทหรื อใช้บทของตัวโขน ละครหรื อเป็ นบทขับร้องในเพลงสาหรับ การราแลระบา เช่น เพลงช้าปี่ เพลงขึ้นพลับพลา เพลงนกกระจอกทอง เพลงลมพัดชายเขา เพลง เวสสุกรรม เพลงแขกตะเขิ่ง เพลงแขกเจ้าเซ็น เป็ นต้น เพลงไทยประกอบการแสดงพืน้ เมือง เพลงไทยที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองเป็ นบท เพลงพื้นบ้านที่ใช้บรรเลงและขับร้องประกอบการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง โดยแบ่งออกตามภูมิภาค ดังนี้ 1. เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์ พืน ้ เมืองภาคเหนือ เพลงประกอบการฟ้ อนเล็บได้แก่ เพลงแหย่งหลวง ฟ้ อนเทียน ได้แก่ เพลงลาวเสี่ ยงเทียน ฟ้ อนสาว ไหม ได้แก่ เพลงปราสาทไหวและสาวสมเด็จ ระบาซอ ได้แก่ ทานองซอยิแ๊ ละซอจ๊อยเชียงแสน บรเลง เพลงลาวจ้อย ต้อยตลิ่งและลาวกระแซ เป็ นต้น 2. เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์ พืน ้ เมืองภาคกลาง

เพลงประกอบการเต้นรากาเคียว ได้แก่ เพลงระบาชาวนา เป็ นต้น 3. เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์ พืน ้ เมืองภาคอีสาน


เพลงประกอบการแสดงเซิ้งโปงลาง บรรเลงเพลงลายโปงลาง เซิ้งภูไทย บรรเลงลายลาภูไทย เป็ น ต้น 4. เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์ พืน ้ เมืองภาคใต้

เพลงประกอบการแสดงลิเกป่ า นิยมใช้เพลงตะลุ่มโปง เพลงสร้อยสน เพลงดอกดิน การแสดงชุด รองเง็งบรรเลงเพลงลาฆูดูวอ เพลงมะอีนงั ลามา เพลงลานัง เพลงปูโจ๊ะปิ ชัง เป็ นต้น การแต่งกายนาฏศิลป์ ไทย 7) อุปกรณ์การแสดงละคร

การแสดงนาฏศิลป์ ไทยบางชุด ต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละครด้วยเช่น ระบาพัด ระบา นกเขา ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนร่ ม เป็ นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการแสดงจะต้อง สมบูรณ์ สวยงาม และสวมใส่ได้พอดี หากเป็ นอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้ประกอบการแสดง เช่น ร่ ม ผูแ้ สดง จะต้องมีทกั ษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่ว วางอยูใ่ นระดับที่ถูกต้องสวยงาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.