AEC Studies Report

Page 1

รายงาน เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เสนอ รศ. วราภรณ จุลปานนท จัดทําโดย นางสาวนพมาศ กิจบํารุง รหัส 5114930119 นายปรินทรอัศว อัครภูวดล รหัส 5114930121 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาบูรณาการเศรษฐกิจสวน ภูมิภาค (NG 612 ) สาขาวิชาการเจรจาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง


สารบัญ หนา สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต

3

(Association of Southeast Asian Nations)

ประชาคมอาเซียน

8

(ASEAN Community)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)

13

นับถอยหลัง 6 ป จาก ASEAN สู AEC

20

ยุทธศาสตรการคาการลงทุนในอาเซียน

25

อุปสรรคการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

31

บทความพิเศษ “ไทยตองพัฒนาตนเองเพื่อรองรับการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

33

บทสัมถาษณพิเศษ

35

ผูอํานวยการหนวยพัฒนาการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน BOI ภาคผนวก :สรุปภาวะการคาระหวางประเทศไทย - อาเซียน 2551 ความเคลื่อนไหวของการเติบโตทางเศรษฐกิจ

37 43

-2-


สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations) หรืออาเซียน (ASEAN)

ปจจุบัน ประกอบดวยประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต 10 ประเทศไดแก บรูไน ดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ อินโดนีเซียสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหพันธรัฐมาเลเซีย สหภาพพมาสาธารณรัฐฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร ราชอาณาจักรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

-3-


Compiled by the Market Information and Research Section, DFAT, using the latest data from the ABS, the IMF and various international sources.

สัญลักษณของอาเซียน เปนรวงขาวสีเหลือง 10 มัด หมายถึงการที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใตทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเปนน้ําหนึ่งใจ เดียวกัน อยูในพื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน้ําเงิน ซึ่งแสดงถึงความ เปนเอกภาพ มีตัวอักษรคําวา “asean” สีน้ําเงินอยูใตภาพ อันแสดงถึง ความมุงมั่นที่จะทํางานรวมกันเพื่อความมั่นคง สันติภาพ เอกภาพ และ ความกาวหนาของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมดที่ปรากฏใน สัญลักษณของอาเซียนเปนสีสําคัญที่ปรากฎในธงชาติของแตละ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยสีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพ และความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความ กลาหาญและความกาวหนา สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุงเรือง รวมใจเปนหนึ่ง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ อาเซียน กอตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศ ไดแก -4-


นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย, ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซนรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีวาการกระทรวง พัฒนาการแหงชาติสหพันธรัฐมาเลเซีย นายนาชิโช รามอส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศสาธารณรัฐฟลิปปนส นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สาธารณรัฐ สิงคโปร และพันเอก(พิเศษ)ดร.ถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความเขาใจอันดีตอกันระหวาง ประเทศในภูมิภาค ธํารงไวซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และ ความมั่นคงปลอดภัยทางการเมือง สรางสรรคความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ การพัฒนาทาง สังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยูดี บนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนรวมกัน ซึ่งจาก เจตนจํานงที่สอดคลองกันนี้ บูรไนดารุสซาลาม ไดเขาเปนสมาชิกในลําดับที่6 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เขาเปนสมาชิกลําดับที่ 7 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2538 และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและสหภาพพมา เขาเปนสมาชิกพรอมกัน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 และราชอาณาจักรกัมพูชาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ทําใหปจจุบันอาเซียนมี สมาชิกรวมทั้งหมด 10 ประเทศ กาวไปพรอมกัน สถานการณในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดเปลี่ยนผานจากสภาวะแหงความตึงเครียดและการ เผชิญหนา มาสูสภาวะที่มีเสถียรภาพ ความมั่นคงและความรวมมือกันอยางใกลชิด จนกลายเปน ภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และเปนตัวอยางของการรวมตัวของกลุม ประเทศที่มีบทบาท และพลังตอรองในเวทีการเมืองและเศรษฐกิจ ระหวางประเทศ ทําใหมีประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเขารวมเปนสมาชิกเพิ่มขึ้น และ มีหลายประเทศในโลกสนใจที่จะเสริมสราง ความสัมพันธและกระชับความรวมมือกับ อาเซียนในฐานะคูเจรจา (Dialogue Partner)

-5-


ซึ่งในปจจุบันอาเซียนมีคูเจรจา 9 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุน นิวซีแลนด สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย สาธารณรัฐประชาชนจีน รัสเซีย และ1 กลุมประเทศ คือ สหภาพยุโรป รวมทั้ง 1 องคการระหวางประเทศ คือ โครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) โดยอาเซียนกับคูเจรจาเหลานี้จะมีการ ปรึกษาหารือกันอยางสมํ่าเสมอ ทั้งในลักษณะการประชุมระดับเจาหนาที่และการประชุมระดับ รัฐมนตรี สรางสรรคอนาคต ความกาวหนาของอาเซียนดังกลาวมีปจจัยที่ สําคัญจากความไววางใจซึ่งกันและกันระหวาง ประเทศสมาชิก อันกอใหเกิดบรรยากาศที่ สรางสรรคตอความรวมมือ และความเขาใจ อันดีตอกัน โดยความรวมมือในอาเซียน ที่สําคัญ ๆ ไดแก ♦ ความรวมมือทางการเมือง อาเซียนตระหนักดีวา ภูมิภาคที่มีสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง และ ความเปนกลางจะเปนพื้นฐานสําคัญที่สงเสริมการพัฒนาประเทศใหเจริญรุดหนา จึงไดรวมกัน สรางประชาคมอาเซียนใหเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ และสรางเสริมความเขาใจอันดี ตอกันในระหวางประเทศสมาชิก ผลงานที่สําคัญที่ไดรับการยอมรับจากนานาประเทศ คือ สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in SoutheastAsia: TAC ) การประกาศใหภูมิภาคอาเซียนเปนเขตแหง สันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom andNeutrality: ZOPFAN ) การกอตั้งการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก (ASEAN Regional Forum: ARF ) และสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast AsiaNuclear Weapon-Free Zone Treaty: SEANWFZ ) ♦ ความรวมมือทางเศรษฐกิจ ปรากฏการณของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตางๆ ของโลก และการแขงขันทาง การคาที่เพิ่มมากขึ้น เปนปจจัยสําคัญที่ผลักดันใหอาเซียนตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองรวมตัว กันใหแนนแฟนยิ่งขึ้น เพื่อปรับแนวการดําเนินนโยบายของตนใหสอดคลองและเหมาะสมกับการ

-6-


ภาษีศุลกากรใหแกสินคาสงออกของกันและกัน และดึงดูดการลงทุนจากภายนอกภูมิภาคใหเขามา ลงทุนในภูมิภาคมากยิ่งขึ้น เขตการคาเสรีอาเซียนนี้จะบรรลุผลสมบูรณสําหรับสมาชิก 6 ประเทศ แรกในป 2546 ตามดวยเวียดนามในป 2549 ลาวและพมาในป 2551และกัมพูชาในป 2553 นอกจากนี้ อาเซียนยังไดมีมาตรการตางๆ ในการสงเสริมการคาการลงทุน และความรวมมือกันใน ดานอุตสาหกรรม การเงินและการธนาคาร และการบริการระหวางกัน ที่สําคัญ ไดแก โครงการ ความรวมมือดานอุตสาหกรรมอาเซียน(ASEAN Industrial Cooperation: AICO ) และ เขตการ ลงทุนอาเซียน (ASEANInvestment Area: AIA ) เปนตน นอกจากนี้ เพื่อใหอาเซียนเติมโต มีความเจริญกาวหนาและความมั่นคงทางดานเศรษฐกิจ และมีความมั่งคั่งรวมกัน อาเซียนไดมีขอริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI ) ขึ้น เพื่อที่จะลดชองวางทางการพัฒนาระหวางสมาชิกเกาและใหมของอาเซียน ดวย ♦ ความรวมมือเฉพาะดาน นอกจากความรวมมือทางการเมือง และ เศรษฐกิจแลว อาเซียนยังใหความสําคัญ ตอความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ระหวางประเทศสมาชิก ไดแก ความรวมมือในดานการพัฒนา สังคม การศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดลอม วัฒนธรรมและสนเทศ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการตอตานยาเสพติด ซึ่งลวนเปนพื้นฐานที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ โครงการความรวมมือ เฉพาะดานระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนนี้มีจํานวนมากและครอบคลุมในทุกดานและมีเปาหมาย เพื่อใหประชาคมอาเซียนมี “ความไพบูลยรวมกัน โดยการพัฒนาคน ความสามารถ ในการ แขงขันทางเทคโนโลยี และความเปนปกแผนทางสังคม” โครงการความรวมมือที่สําคัญใน ดานนี้ ไดแก การจัดตั้งเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน การประกาศใหอาเซียนเปนเขต ปลอดยาเสพติด ในป พ.ศ. 2558 แผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อตอตาน อาชญากรรมขามชาติ และการเชื่อมโยงเสนทางคมนาคมขนสงทั่วทั้งภูมิภาคเปนตน นอกจากนี้ อาเซียนยังไดจัดตั้งมูลนิธิอาเซียน เพื่อเสริมสรางจิตสํานึกในความเปนอาเซียน และพัฒนา ทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่ง เยาวชน

-7-


ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภูมิหลัง เมื่อเดือนธันวาคม 2540 ผูนําอาเซียนไดรับรองเอกสาร วิสัยทัศนอาเซียน 2020 เพื่อ กําหนดเปาหมายวา ภายในปค.ศ. 2020 (2563) อาเซียนจะเปน 1) วงสมานฉันทแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต - A Concert of Southeast Asian Nations 2) หุนสวนเพื่อการพัฒนาอยางมีพลวัต - A Partnership in Dynamic Development 3) มุงปฏิสัมพันธกับประเทศภายนอก - An Outward-Looking ASEAN 4) ชุมชนแหงสังคมที่เอื้ออาทร - A Community of Caring Societies ในการประชุมผูนําอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหวางวันที่ 7-8 ตุลาคม 2546 ที่บาหลี ผูนําอาเซียน ไดตอบสนองตอการบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนเพิ่มเติม โดยไดลงนามใน ปฏิญญาวาดวยความรวมมือ อาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เห็นชอบใหมีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ตอมาป 2550 ผูนําอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบู เรงรัดการกาวไปเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้น เปนป 2558 หรืออีกประมาณ 6ปขางหนาประชาคมอาเซียนนี้จะประกอบดวย 3 เสาหลัก (pillars) ไดแก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC) ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) ASEAN COMMUNITY ASEAN Security Community (ASC)

ASEAN Economic Community (AEC)

ASEAN SocioCultural Community (ASCC)

The Peaceful, Prosperous, and People-Centric ASEAN

Production/Supp

Regional Production Base

Single Regional Market Consumption/Deman

Dual Track

-8-


ตอมา ในระหวางการประชุมผู นําอาเซียนที่เวียงจันทน ผูนําอาเซียนไดรับรองและลงนาม เอกสารสําคัญที่จะวางกรอบความรวมมือเพื่อบรรลุการจัดตั้งประชาคมอาเซียนตอไป ไดแก 1) แผนปฏิบัติการของประชาคมความมั่นคงอาเซียน 2) กรอบความตกลงวาดวยสินคาสําคัญซึ่งจะชวยเรงรัดความรวมมือดานสินคาและ บริการ 11 สาขา (Wood - based products and automotives, Rubber-based products and textiles and apparels, Agro-based products and fisheries, Electronics, e-ASEAN and healthcare, Air Travel and tourism) ภายในป ค.ศ.2010 (พ.ศ. 2553) 3) แผนปฏิบัติการประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน ในระหว า งการประชุ ม ผู นํ า อาเซี ย น ครั้ ง ที่ 10 ผู นํ า อาเซี ย นยั ง ได รั บ รอง แผนปฏิ บั ติ ก าร เวียงจันทน (Vientiane Action Programme - VAP) เปนแผนดําเนินความรวมมือในชวงปพ.ศ. 2547-2553 โดยไดกําหนดแนวคิดหลักหรือ Theme ของแผนปฏิบัติการฯ ไววา “Towards shared prosperity destiny in an integrated, peaceful and caring ASEAN Community” VAP จึงเทากับเปน การจัดลําดับความสําคัญของแผนงานและโครงการของประชาคมอาเซียนที่จะเรงปฏิบัติเพื่อใหเปนไป ตาม theme ดังกลาว ที่ประชุมผูนําอาเซียน ครั้งที่ 10 เห็นชอบใหจัดตั้ง กองทุนเพื่อการพัฒนาอาเซียน (ASEAN Development Fund) โดยแปลงจากกองทุนอาเซียนเดิม เพื่อนํามาเปนแหลงเงินทุนเพื่อดําเนิน กิจกรรมและโครงการตางๆ ของแผนปฏิบัติการเวียงจันทน (VAP) อันจะเปนการสงเสริมการรวมตัว เปนประชาคมอาเซียน และเปนกองทุนที่สามารถระดมความสนับสนุนทั้งจากประเทศคูเจรจาและ แหลงทุนอื่นๆ ซึ่งขณะนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนกําลังอยูในระหวางดําเนินการ คาดวาจะสามารถ จัดตั้งกองทุนดังกลาวไดภายในปนี้ โดยจะมีการลงนามความตกลงจัดตั้งกองทุนดังกลาวในการ ประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน ครั้งที่ 38 ในเดือนกรกฎาคม 2548 ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC) มีวัตถุประสงคที่จะทําใหประเทศในภูมิภาคอยูอยางสันติสุข แกไขปญหาภายในภูมิภาคโดย สันติวิธี และยึดมั่นในหลักความมั่นคงรอบดาน เพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาว ประชาคมความ มั่นคงอาเซียนจะ (1) ใชเอกสารทางการเมืองและกลไกของอาเซียนที่มีอยูแลวในการเพิ่มศักยภาพ ในการแกไขปญหาขอพิพาทภายในภูมิภาค รวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบ คา ยาเสพติด การคามนุษย อาชญากรรมขามชาติอื่นๆ และการขจัดอาวุธที่มีอานุภาพทําลายลางสูง (2) ริเริ่มกลไกใหมๆ ในการเสริมสรางความมั่นคง และกําหนดรูปแบบใหมสําหรับความรวมมือในดาน นี้ ซึ่งรวมไปถึงการกําหนดมาตรฐานการปอ งกัน การเกิด ขอ พิพ าท การแกไ ขขอ พิพ าท และการ สงเสริมสันติภาพภายหลังจากการเกิดขอพิพาท (3) สงเสริมความรวมมือดานความมั่นคงทาง -9-


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กําหนดวัตถุประสงคตามวิสัยทัศนอาเซียน 2020 ที่จะให ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได โดย (1) มุงใหเกิดการไหลเวียนอยางเสรีของสินคา การบริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ําทางสังคมภายในป ค.ศ. 2020 (2) มุงที่จะจัดตั้ง ใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการผลิต โดยจะริเริ่มกลไกและมาตรการใหมๆ ในการปฏิบัติ ตามขอริเริ่มทางเศรษฐกิจที่มีอยูแลว (3) ใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน (กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดชองวางของระดับการพัฒนา และชวยให ประเทศเหลานี้เขารวมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน (4) สงเสริมความรวมมือใน นโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการคมนาคม กรอบความรวมมือดานกฎหมาย การพัฒนาความ ร วมมื อด านการเกษตร พลั งงาน การท องเที่ ยว การพั ฒนาทรั พ ยากรมนุ ษ ย โดยการยกระดั บ การศึกษาและการพัฒนาฝมือ ในการนี้ ผูนําอาเซียนไดเห็นชอบใหเรงรัดการรวมกลุมสินคาและบริการสําคัญจํานวน 11 สาขา ใหเปนสาขานํารอง ไดแก สินคาเกษตร / สินคาประมง / ผลิตภัณฑไม / ผลิตภัณฑยาง / สิ่ง ทอ / ยานยนต /อิเล็ กทรอนิ กส / เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) / การบริการดานสุขภาพ, ทองเที่ยวและการขนสงทางอากาศ (การบิน) ซึ่งอาเซียนไดดําเนินการดังนี้ 1) กําหนดใหประเทศสมาชิกรับผิดชอบในการจัดทํา Roadmap ในแตละสาขา ไดแก - ไทย: ทองเที่ยวและและการขนสงทางอากาศ (การบิน) - พมา: สินคาเกษตรและสินคาประมง - อินโดนีเซีย: ยานยนตและผลิตภัณฑไม - มาเลเซีย: ยางและสิ่งทอ - ฟลิปปนส: อิเล็กทรอนิกส - สิงคโปร: เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริการดานสุขภาพ 2) จั ด ทํ า กรอบความตกลงว า ด ว ยการรวมกลุ ม สิ น ค า และบริ ก าร 11 สาขาดั ง กล า ว คื อ Framework Agreement for the Integration of the Priority Sectors และพิธีสาร 1 สําหรับ แตละสาขา คือ ASEAN Sectoral Integration Protocol อีก 11 ฉบับ เพื่อกําหนด

- 10 -


3) กําหนดใหป ค.ศ. 2010 เปน deadline สําหรับการรวมตัวของสินคาและบริการ 11 สาขา ดังกลาว โดยใหมีการผอนปรนสําหรับประเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม (CLMV) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน มีจุดมุงหมายที่จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใตอยูรวมกันในสังคมที่เอื้ออาทร ประชากรมีสภาพความเปนอยูที่ดี ไดรับการพัฒนาในทุกดาน และ มีความมั่นคงทางสังคม (social security) โดยเนนการสงเสริมความรวมมือในดานตางๆ อาทิ (1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเปนอยูของผูดอยโอกาสและผูที่อาศัยในถิ่นทุระกันดาร และ สงเสริมการมีสวนรวมอยางแข็งขันของกลุมตางๆ ในสังคม ( 2) การพัฒนาการฝกอบรม การศึกษา ระดับพื้นฐานและสูงกวา การพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงาน และการคุมครอง ทางสังคม (3) การสงเสริมความรวมมือในดานสาธารณสุขโดยเฉพาะอยางยิ่ง การปองกันและ ควบคุมโรคติดตอ เชนโรคเอดส และโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (4) การจัดการปญหา ดานสิ่งแวดลอม (5) การสงเสริมการปฏิสัมพันธระหวางนักเขียน นักคิดและศิลปนในภูมิภาค แผนปฏิบัติการของประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน เนนการดําเนินการใน 4 ประเด็น หลัก คือ (1) สรางประชาคมแหงสังคมที่เอื้ออาทร โดยเนนการแกไขปญหาความยากจน เสริมสราง ความเสมอภาค และการพัฒนามนุษย อาทิ การพัฒนาสตรี เด็ก และเยาวชน การสงเสริมสวัสดิการ สังคม การพัฒนาชนบทและขจัดความยากจน การพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข และการเสริมสราง ความมั่นคงของมนุษย (human security) ในดานตางๆ ซึ่งรวมถึงการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และการปองกันและจัดการภัยพิบัติ (2) แกไขผลกระทบตอสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ โดยสรางฐานทรัพยากร มนุษยที่สามารถแขงขันไดดีและมีระบบการปองกันทางสังคมที่เพียงพอ โดยใหความสําคัญกับการ พัฒนาและสงเสริมแรงงาน และเสริมสรางความรวมมือในดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสาธารณสุข (ปญหาที่มากับโลกาภิวัต เชน โรคระบาด โรคอุบัติใหม และอุบัติซ้ํา)

- 11 -


(3) สงเสริมความยั่งยืนของสิ่งแวดลอมและการจัดการดูแลสิ่งแวดลอมอยางถูกตอง โดยมี กลไกที่พัฒนาอยางสมบูรณสําหรับจัดการและดูแลสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม ตลอดจนการปองกันและ ขจัดภัยพิบัติดานสิ่งแวดลอม (4) เสริมสรางรากฐานที่จะนําไปสูประชาคมอาเซียนในป ค.ศ.2020 ซึ่งจะเปนภูมิภาคที่ ประชาชนตระหนักถึงอัตลักษณ (identity) รวมกันของภูมิภาคทามกลางความหลากหลายทางดาน ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ดวยการสงเสริมความเขาใจระหวางประชาชนในระดับและวงการ ตางๆ การเรียนรูประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของกันและกัน และการรับรูขอมูลขาวสารของกันและ กัน (การสงเสริมดานวัฒนธรรมและสนเทศ)

- 12 -


ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) เปาหมายการรวมกลุมของอาเซียน อาเซียนไดตั้งเปาหมายการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจภายในป 2558 (ค.ศ.2015) เพื่อ สรางตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานฝมือ อยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น ความจําเปนที่อาเซียนตองเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ อาเซียนตองเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในก็เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถใน การแขงขันใหกับอาเซียน และเพื่อสรางใหอาเซียนเปนศูนยกลางภายในภูมิภาค คานอํานาจของ ประเทศอื่นๆ ภายในภูมิภาคที่มีบทบาทโดดเดนอยางเชน จีน และอินเดีย การที่จีนและอินเดียเริ่มแสดงบทบาทในเศรษฐกิจโลก ทําใหอาเซียนยิ่งตองเรงปรับปรุง ภายในและสรางความนาสนใจ ดวยการพยายามสรางจุดขายที่วา “อาเซียนจะรวมตัวกันเปนตลาด หรือฐานการผลิตเดียวกัน” เพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตตางๆ ไดเสมือนอยูในประเทศ เดียวกัน กระบวนการผลิตสามารถเกิดขึ้นที่ไหนก็ได โดยสามารถใชทรัพยากรทั้งวัตถุดิบและ แรงงานจากหลายประเทศเพื่อนํามาใชในการผลิต ปราศจากอุปสรรคในดานภาษีและมาตรการที่ มิใชภาษี มีการสรางมาตรฐานของสินคา และกฎเกณฑ/กฎระเบียบตางๆ รวมกัน การดําเนินงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาการดานเศรษฐกิจที่สําคัญของอาเซียนตอจากนี้ คือ การวางรากฐานเพื่อนําไปสูการ รวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกวางขวางมากขึ้น หรือการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) เพื่อดําเนินการไปสูเปาหมายดังกลาว อาเซียนไดจัด ทําพิมพเขียวเพื่อเรงรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซึ่งจะเปนแผนงาน บูรณาการเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อไปสูเปาหมาย AEC ในป 2558 ความจําเปนที่อาเซียนตองจัดทํา AEC Blueprint 1. สรางการยึดมั่นในพันธกรณีของแตละประเทศ โดยกําหนดกรอบเวลาที่จะตองปฏิบัติตาม ขอตกลงตางๆ อยางเครงครัดและจริงจังไมมีการบิดพลิ้วหรือชะลอการดําเนินงานจากที่ไดตกลงกัน เพื่อสรางความนาเชื่อถือของอาเซียนในประชาคมโลก 2. สรางสังคมกฎระเบียบใหเกิดขึ้นในอาเซียน (Rule base society) ยึดกฎเกณฑกติกาตางๆ เปนกลไกการดําเนินงาน โดยการสรางกลไกการระงับขอพิพาท (Dispute Settlement) ที่เขมแข็ง

- 13 -


การจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) แนวคิดของการจัดทําแผนงานเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint)เกิด จากการที่ผูนําอาเซียนเห็นชอบใหเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่ง ประกอบดวย 3 ดานหลัก คือ ความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม จากเดิมที่กําหนดไว ในป 2563 (ค.ศ. 2020) เปนป 2558 (ค.ศ. 2015) โดยไดประกาศปฏิญญาเซบูวาดวยการเรงรัดการ จัดตั้งประชาคมอาเซียน (Cebu Declaration on the Acceleration of the Establishment of an ASEANCommunity by 2015) ไปเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส จากนั้นไดมีการจัดทํากฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเปนเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ที่ จะเปลี่ยนสถานะของอาเซียนจากการรวมตัวในรูปแบบสมาคม เปนองคกรระหวางประเทศ (International Organization) ที่มีฐานะทางกฎหมาย ซึ่งจะเปนพื้นฐานสําคัญในการรองรับการ ดําเนินงานไปสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 โดยกฎบัตรฯ นี้ไดมีผลบังคับใชแลว ตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 2551แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เปนแผนงานบูรณา การการดําเนินงานในดานเศรษฐกิจตางๆ เพื่อใหเห็นการดําเนินงานในภาพรวมที่จะนําไปสูการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 (ค .ศ. 2015) ซึ่งถาหากเปรียบเทียบกับการสรางบาน แผนงานนี้ก็เปรียบเสมือนพิมพเขียวที่จะชวยบอกองคประกอบและรูปรางหนาตาของบานหลังนี้วา เมื่อสรางเสร็จแลวจะมีรูปรางหนาตาอยางไร แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนจําเปนตองใหความสําคัญกับการจัดทํา AEC Blueprint เพื่อกําหนดแผนงานและ กรอบระยะเวลาที่ชัดเจนสําหรับการดําเนินมาตรการตางๆ เพื่อไปสูเปาหมาย AEC อยางเชน สหภาพยุโรปที่มีการจัดทําเกณฑอางอิง (Benchmark) ในดานเศรษฐกิจตามชวงระยะเวลาตางๆ โดยวัตถุประสงคสําคัญของ AEC Blueprint ก็เพื่อกําหนดทิศทาง/แผนงานในดานเศรษฐกิจที่จะตอง ดําเนินงานใหชัดเจนตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด จนบรรลุการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 2558 (ค.ศ. 2015) และสรางพันธะสัญญาระหวางประเทศสมาชิกที่จะดําเนินการไปสู เปาหมายดังกลาวรวมกัน องคประกอบสําคัญภายใต AEC Blueprint AEC Blueprint ประกอบดวย 4 สวนหลัก ซึ่งอางอิงมาจากเปาหมายการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจของอาเซียนตามแถลงการณบาหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) ไดแก 1. การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยใหมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น รวมทั้งการสงเสริมการ - 14 -


รวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียนใหเปนรูปธรรม 2. การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งใหความสําคัญ กับประเด็นดานนโยบายที่จะชวยสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เชน กรอบนโยบายการแขงขัน ของอาเซียน การคุมครองผูบริโภค สิทธิในทรัพยสินทางปญญา พาณิชยอิเล็กทรอนิกส นโยบาย ภาษีและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค โดยการพัฒนา SMEs และการเสริมสรางขีด ความสามารถผานโครงการตางๆ เชน โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุมของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) เพื่อลดชองวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก เนนการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับ ประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อใหอาเซียนมีทาทีรวมกันอยางชัดเจน เชน การจัดทําเขตการคาเสรี ของอาเซียนกับประเทศคูเจรจาตางๆ เปนตน รวมทั้งสงเสริมการสรางเครือขายในดานการผลิต/ จําหนายภายในภูมิภาคใหเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ ในการดําเนินงานสามารถกําหนดใหมีความยืดหยุนในแตละเรื่องไวลวงหนา ได(pre-agreed flexibilities) แตเมื่อตกลงกันไดแลว ประเทศสมาชิกจะตองยึดถือและปฏิบัติ ตามพันธกรณีที่ไดตกลงกันอยางเครงครัดดวย การดําเนินงานของไทย โดยที่ ก ารดํ า เนิ น งานตามเป า หมายดั ง กล า วข า งต น เกี่ ย วข อ งกั บ หลายหน ว ยงาน ภายในประเทศ และอาจจําเปนตองแกไขกฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวของภายในเพื่อดําเนินการตาม พันธกรณีที่ไดตกลงกันไว จึงจําเปนตองเสนอใหรัฐสภาพิจารณาใหความเห็นชอบกับแนวทางการ ดําเนินงานตามแผนงานดังกลาว เพื่อใหสอดคลองกับบทบัญญัติในมาตรา 190 ภายใตรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย ป 2550กระทรวงพาณิชยไดเสนอเรื่องปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นเข า สู ก ารพิ จ ารณาของสภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห ง ชาติ พิ จ ารณาให ค วาม เห็นชอบ ซึ่งสภานิติบัญญัติแหงชาติไดมีมติใหตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาราง ปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อศึกษาในรายละเอียด และไดมีมติ เห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชยเสนอไปเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2550 การลงนามปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นายกรัฐมนตรี (พลเอกสุรยุทธ จุลานนท) ไดลงนามในปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีแผนการดําเนินงาน (AEC Blueprint) และตารางเวลาดําเนินงาน(Strategic Schedule) เปนเอกสารผนวก รวมกับผูนําอาเซียนอื่นๆ ไปในชวงการประชุม สุดยอด - 15 -


อาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร และนับจากนี้ไป จึงนับเปน กาวสําคัญของอาเซียนที่จะตองดําเนินงานตามแผนงานที่ไดตกลงกันไวใหเห็นผลเปนรูปธรรม เพื่อ ไปสูการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 ผลผูกพันตอประเทศสมาชิก 1. การเปดเสรีการคาสินคา 1.1 การยกเลิกภาษี ไทยมีเปาหมายที่จะตองดําเนินการยกเลิกภาษีสินคาใหกับ ประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนี้ เปาหมายการยกเลิกภาษีของไทยภายใตเขตการคาเสรีอาเซียน ป 2546 (ค.ศ. 2003) ป 2550 (ค.ศ. 2007) ป 2553 (ค.ศ. 2010) ลดภาษีเหลือ 0% รอยละ 60 ของบัญชีลดภาษี (IL) ลดภาษีเหลือ 0% รอยละ 80 ของ IL และลดภาษีสินคาที่อยู ภายใตสาขาสําคัญ 9 สาขา ลดภาษีเหลือ 0% รอยละ 100 ของ IL 1.2 การขจัดมาตรการที่มิใชภาษี (NTBs) จะดําเนินการยกเลิกเปน 3 ระยะตามแผนงานขจัด มาตรการที่มิใชภาษี ดังนี้ - NTBs ชุดที่ 1 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2551 ซึ่งครอบคลุมสินคา 5 รายการ หลัก ไดแก ลําไย พริกไทย น้ํามันถั่วเหลือง ใบยาสูบ และน้ําตาล - NTBs ชุดที่ 2 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2552 ไดแก ปอกระเจา ปาน มันฝรั่ง - NTBs ชุดที่ 3 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2553 (กระทรวงพาณิชยจะเสนอ รายการเมื่อถึงกําหนดเวลา) 2. การเปดเสรีการคาบริการ เปาหมาย คือ ลดอุปสรรคในการเขาสูตลาดในดานตางๆ ลง และเพิ่มสัดสวนการถือ หุนใหกับบุคคล/นิติบุคคลสัญชาติอาเซียน ดังนี้ 2.1 สาขาบริการสําคัญ (Priority Integration Sectors: PIS) ไดแก สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการทองเที่ยว และสาขาโลจิสติกส สรุปเปาหมายการเพิ่มสัดสวนการถือหุนในสาขาบริการสําคัญของไทย

- 16 -


2.2 สาขาบริการอื่น (Non-Priority Services Sector) ครอบคลุมบริการทุกสาขา นอกเหนือจากสาขาบริการสําคัญ (priority services sectors) และการบริการดานการเงิน ที่กําหนด เปาหมายการเปดเสรีภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ทั้งนี้ สามารถยกเวนสาขาที่ออนไหวได สรุปเปาหมายการเพิ่มสัดสวนการถือหุนในสาขาบริการอื่นๆ ของไทย ป (ค.ศ.) 2549 (2006) 2551 (2008) 2553 (2010) 2558 (2015) สัดสวนการถือหุนของนักลงทุนอาเซียน 30% 49% 51% 70% 2.3 สาขาการบริการดานการเงิน จะทยอยเปดเสรีตามลําดับอยางเปนขั้นตอน เพื่อรักษาไวซึ่ง ความมั่นคงทางการเงิน เศรษฐกิจและสังคม โดยประเทศที่มีความพรอมสามารถเริ่มดําเนินการเปด เสรีภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ในสาขาที่ระบุไวกอน และประเทศสมาชิกที่เหลือสามารถเขารวมใน ภายหลัง2551 (2008) 2553 (2010) 2556 (2013) สัดสวนการถือหุนของนักลงทุนอาเซียน ไมนอย กวา51% ไมนอยกวา70%สาขาโลจิสติกส 49% 51% 70% 3. การเปดเสรีการลงทุน การเปดเสรีการลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมที่ตกลงกันและการใหการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ ซึ่งไทยมี เปาหมายดําเนินการภายในป 2553 (สาขายกเวนของไทย เปนไปตามบัญชียกเวนภายใต พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว) 4. การเปดเสรีดานเงินทุนเคลื่อนยาย 4.1 ดานตลาดทุน จะเสริมสรางความแข็งแกรงในการพัฒนาและการรวมตัวของตลาดทุนใน อาเซียนโดยสรางความสอดคลองในมาตรฐานดานตลาดทุนในอาเซียน ความตกลงสําหรับการ ยอมรับซึ่งกันและกันในคุณสมบัติและคุณวุฒิการศึกษาและประสบการณของผูประกอบวิชาชีพดาน ตลาดทุน และสงเสริมใหใชตลาดเปนตัวขับเคลื่อนในการสรางความเชื่อมโยงระหวางกันเองในตลาด ทุนอาเซียน 4.2 ดานเงินทุนเคลื่อนยาย จะเปดใหมีการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรียิ่งขึ้นอยางคอยเปนคอยไป โดยใหสมาชิกมี มาตรการปกปองที่เ พียงพอเพื่ อรองรับผลกระทบจากป ญหาความผั นผวนของ เศรษฐกิจมหภาค และความเสี่ยงเชิงระบบ รวมถึงการมีสิทธิที่จะใชมาตรการที่จําเปนเพื่อรักษา เสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค 5. การเคลื่อนยายแรงงานฝมืออยางเสรี จะใหบริหารจัดการการเคลื่อนยายหรืออํานวยความ สะดวกในการเดินทางสําหรับบุคคลธรรมดาที่เกี่ยวของกับการคาสินคา บริการ และการลงทุน ให สอดคลองกับกฎเกณฑของแตละประเทศ โดยอํานวยความสะดวกในการตรวจลงตราและออก ใบอนุญาตทํางานสําหรับผูประกอบวิชาชีพและแรงงานฝมืออาเซียน ที่เกี่ยวของกับการคาขาม พรมแดน และกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุน - 17 -


6. การดําเนินงานตามความรวมมือรายสาขาอื่นๆ เชน ความรวมมือดานเกษตรอาหารและปา ไม ความรวมมือดานทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน (การคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) ความรวมมือดานเหมืองแร พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ความรวมมือ ดานการเงิน ความรวมมือดานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และการพัฒนาเพื่อการ รวมกลุมของอาเซียน (IAI) สวนใหญเปนการดําเนินงานตาม แผนงาน/ขอตกลงที่ไดมีการเห็นชอบ รวมกันไปกอนหนานี้แลวเชนกัน โดยมีรัฐมนตรีรายสาขาที่เกี่ยวของเปนผูรับผิดชอบ ประโยชนและผลกระทบที่ประชาชนจะไดรับ 1. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนจะชวยขยายโอกาสทางการคาและการลงทุน นับตั้งแตเริ่มดําเนินการเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ในป 2535 อาเซียนไดเพิ่ม ความสําคัญในการเปนตลาดสงออกของไทย จนปจจุบันเปนตลาดสงออกอันดับ 1 ของไทย นําทั้ง สหรัฐฯ และญี่ปุนโดยมีมูลคาการสงออกในป 2551 กวา 40,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ และยังมี แนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต เมื่ออุปสรรคทางการคาทั้งภาษีและไมใชภาษีถูกยกเลิกให หมดไป จะเปดโอกาสใหสินคาเคลื่อนยายไดอยางเสรีในภูมิภาคและเพิ่มปริมาณการคาใหมากขึ้นใน ดานการลงทุน ระหวางป 2547-2549 การลงทุนของไทยในประเทศอาเซียน มีมูลคารวมถึง 4,270 ลานเหรียญสหรัฐ และในป 2550 ไทยมีมูลคาการลงทุนในอาเซียน 700 ลานเหรียญสหรัฐฯ เมื่อมี การเคลื่อนยายเงินทุนไดเสรีมากขึ้น จะเปดโอกาสใหไทยออกไปลงทุนในกลุมอาเซียนไดมากยิ่งขึ้น 2. เสริมสรางขีดความสามารถของผูประกอบการภายในประเทศจากการใชทรัพยากรการผลิต รวมกันและการเปนพันธมิตรในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ จากการขจัดอุปสรรคในดานการคา และการลงทุนระหวางประเทศสมาชิก จากผลการศึกษาการรวมกลุมของอาเซียนเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน จะชวยลดตนทุนการทําธุรกรรมในบางกลุมสินคาของอาเซียนไดถึงรอยละ 20 3. สรางภาพลักษณของไทยในเวทีโลกจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่เขมแข็งและชัดเจน รวมกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ซึ่งจะชวยสรางความเชื่อมั่นใหกับประชาคมโลกเกี่ยวกับ พัฒนาการในดานเศรษฐกิจของไทยและของภูมิภาค 4. ยกระดับความเปนอยูของประชาชนภายในประเทศจากการดําเนินงานตามแผนงานในดาน การลดอุปสรรคทั้งดานการคาและการลงทุน ซึ่งมีผลการศึกษาวา การรวมกลุมของอาเซียนไปสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะชวยให GDP ของประเทศสมาชิกอาเซียน ขยายตัวขึ้นถึง รอยละ 8-10 ตอป - 18 -


การเตรียมความพรอมภายในของไทย คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศไดเห็นชอบใหจัดตั้งคณะอนุกรรมการ ดําเนินการตามแผนงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (คําสั่งคณะกรรมการนโยบาย เศรษฐกิจระหวางประเทศ ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550) ซึ่งมีปลัดกระทรวงพาณิชยเปน ประธานคณะอนุกรรมการ และผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของรวมเปนอนุกรรมการ เพื่อทําหนาที่เปน กลไกในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนงานในดานตางๆ เพื่อไปสูการจัดตั้งประชาคมศรษฐ กิจอาเซียนภายในป 2558 แนวทางการรองรับผลกระทบจากการดําเนินงานตาม AEC BLUEPRINT 1. กระทรวงพาณิชยไดดําเนินการประชาสัมพันธและเผยแพรขอมูลขาวสารมาอยางตอเนื่อง ทั้งในรูปของการจัดสัมมนา การจัดทําหนังสือเผยแพรขอมูลการดําเนินงาน การออกขาว ประชาสัมพันธทางสื่อวิทยุ โทรทัศน และหนังสือพิมพ รวมถึงการออกไปบรรยายใหความรูกับ ผูประกอบการ และคณาจารยจากสถาบันตางๆ เพื่อใหสามารถถายทอดประสบการณตอไปได 2. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ไดรับผลกระทบจากการเปด เสรีทางการคา (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550) เพื่อใหความชวยเหลือแก ผูผลิตและผูประกอบการในสินคาเกษตร แปรรูป สินคาอุตสาหกรรม และบริการ ที่ไดรับผลกระทบ จากการเปดเสรีการคา โดยมีกรมการคาตางประเทศเปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในป 2552 กระทรวงพาณิชยไดนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติจัดตั้งเปนกองทุน และขอจัดสรร งบประมาณรายจายประจําป เพื่อใชในการดําเนินงานของกองทุนในการใหความชวยเหลือภาคการ ผลิตและบริการที่ไดรับผลกระทบ โดยไดรับงบประมาณแลว จํานวน 100 ลานบาท เพื่อดําเนินการ ตอไป หลักเกณฑการพิจารณาอนุมัติโครงการ 1) มีสินคา/บริการประเภทเดียวกันนําเขาเพิ่มขึ้นมากอยางเห็นไดชัด ไดแก สวนแบงการตลาดมี แนวโนมลดลง มีสัญญาณบงชี้ หรือคาดการณไดวาจะไดรับผลกระทบ และมีการศึกษาหรือวิจัย สนับสนุนจนทําใหเชื่อไดวาไดรับผลกระทบ 2) มีการจางงานในอุตสาหกรรม/บริการลดลง เชน มีการยายฐานการผลิตสินคาไปประเทศเพื่อน บาน ทําใหมีการจางงานลดลง หรือมีผลการศึกษาระบุไดวาไดรับผลกระทบ 3) ไมเปนโครงการที่ไดรับอนุมัติความชวยเหลือจากหนวยงานอื่นๆ แลว

- 19 -


4) ตองไมขัดกับรูปแบบการใหความชวยเหลือขององคการการคาโลก (WTO) คือเปนการใหการ อุดหนุนโดยตรง เชน การซื้อเครื่องจักร และการสรางโรงงาน เปนตน 5) ระยะเวลาใหความชวยเหลือตองมีระยะเวลาดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายใน 3 ป 3. ไทยไดจัดทํากฎหมายวาดวยมาตรการปกปองจากการนําเขาสินคาที่เพิ่มขึ้นเพื่อเปน มาตรการรองรับใหกับผูประกอบการในประเทศในกรณีที่ไดรับผลกระทบจากการเปดเสรีทางการคา ซึ่งหากการดําเนินงานตามแผนงานภายใต AEC Blueprint กอใหเกิดผลกระทบ ก็สามารถนํา กฎหมายนี้มาใชได นับถอยหลัง 6 ป จาก ASEAN สู AEC ปจจุบันนี้การคาระหวางประเทศมีวิวัฒนาการและรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปจากการคาใน อดีต ทั้งในรูปแบบทางการคา ขอบเขตของกิจกรรมทางการคา รวมถึงการอํานวยความสะดวก กฎเกณฑทางการคา ตลอดจนเทคโนโลยีสารสนเทศและรูปแบบการเจรจาทางการคาเปนตน โดย รูปแบบการเจรจาทางการคานั้นสามารถแบงไดตามระดับของการเจรจา ไดแก การเจรจาระดับทวิ ภาคี (Bilateral) ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางประเทศตอประเทศ การเจรจามากฝาย (Plurilateral) เชน การเจรจา 3 ฝาย หรือการเจรจา 4 ฝาย และการเจรจาหลายฝายหรือพหุภาคี (Multilateral) ทั้งนี้โดยสวนใหญเปนการเจรจาที่มีประเทศเขารวมและใชเวลายาวนานกวาจะไดขอสรุป การเจรจา ตอรองทางการคาเหลานี้นําไปสูระดับความสัมพันธทางการคาระหวางประเทศในรูปแบบตางๆ ใน ป จ จุ บั น ระดั บ ความสั ม พั น ธ ใ นระดั บ กลุ ม ประเทศในภู มิ ภ าคใกล เ คี ย งกั น และมี ข อ ตกลงต อ กั น (Regional Trade Arrangements) เปนกลุมเศรษฐกิจและเปนเรื่องสําคัญตอการพัฒนาที่นําไปสู การคาเสรีของโลก การรวมกลุมทางเศรษฐกิจเปนการที่ประเทศตางๆ ไดเขามารวมตัวกันเพื่อรวมมือกัน พัฒนาเศรษฐกิจ และรักษาผลประโยชนของประเทศสมาชิกดวยกัน โดยมีวัตถุประสงคอยูที่ความ จําเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจ ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากรอยางมี ประสิทธิภาพ การจางงานเต็มที่ และการกระจายรายไดระหวางประเทศ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ หลายรูปแบบและมีวิวัฒนาการแตกตางกันโดยแตละรูปแบบจะมีความเขมขนของความสัมพันธซึ่ง กันและกันแตกตางกันไป ไดแก 1) ขอตกลงการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร(Preferential Tariff Agreement) 2) เขตการคาเสรี (Free Trade Areas) 3) สหภาพศุลกากร(Customs Union) 4) ตลาดรวม (Common Market) - 20 -


5) สหภาพทางเศรษฐกิจ (EconomicUnion) และ 6) สหภาพทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ (Total Economic Union) สําหรับประเทศไทยแลวกรอบความรวมมือหรือการรวมกลุมที่มีความเกี่ยวของและใกลชิด กับประเทศเรามากที่สุดนั้นยอมเปนอยางอื่นไปไมไดนอกจากที่จะเปน อาเซียน(ASEAN) หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of SoutheastAsian Nations) อาเซียนกอตั้งขึ้นโดยปจจุบันยังคงวัตถุประสงคเริ่มแรกและปรับเปลี่ยนแนวทางไปตามเวลาและ สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอยางไรก็ตามวัตถุประสงคหลักของอาเซียนนั้นประกอบไปดวย 3 ประการไดแก 1) การสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค 2) รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค 3) ใหอาเซียนเปนเวทีแกไขปญหาความขัดแยงภายในภูมิภาค อาเซียนปจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ แบงเปนอาเซียนเดิมซึ่งถือไดวาเปน ผูรวมกอตั้งอาเซียน 6 ประเทศ ไดแก บรูไน มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและไทย และประเทศ สมาชิกอาเซียนใหมอีก 4 ประเทศ ซึ่งไดแกกลุมประเทศ CLMV ซึ่งประกอบดวยกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม ความรวมมือทางดานเศรษฐกิจของอาเซียนตลอดระยะเวลากวา 4 ทศวรรษที่ผานมา อาเซียนใหความสําคัญในการเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจรวมกันอยางตอเนื่องนับตั้งแต ป 2535 ที่ไดมีการจัดทําเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free TradeArea : AFTA) การจัดทํากรอบความตกลงการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement onService : AFAS) และความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN IndustrialCooperation Scheme : AICO) ซึ่งเริ่มใชตั้งแตป 2539 รวมถึงเขตการลงทุนอาเซียน (ASEANInvestment Area : AIA) ในป 2541 ทั้งนี้การดําเนินการลวนเปนไปเพื่อขยายตลาดการคา การบริการและการลงทุนในภูมิภาค จนกระทั่งป 2546 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนผูนําอาเซียนไดรวมกันลงนามในปฏิญญา บาหลี (Bali Concord II) เพื่อกําหนดทิศทางการดําเนินงานของ ASEAN เพื่อมุงไปสูการเปน ประชาคมอาเซียนหรือ AEC ภายในป 2563 ตอมาป 2550 ผูนําอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบู เรงรัดการกาวไปเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้น เปนป 2558 หรืออีกประมาณ 6 ปขางหนา เพื่อให บรรลุวัตถุประสงคของประชาคมอาเซียน 3 ประการคือ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนใหความสําคัญและเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายใน เพื่อเสริมสรางขีด ความสามารถในการแขงขันใหกับอาเซียนเอง และเพื่อสรางใหอาเซียนเปนศูนยกลางภายใน ภูมิภาค ตลอดจนเพื่อสรางความสามารถในการแขงขันประเทศอื่นๆ ภายในภูมิภาค หรือประเทศ เศรษฐกิจใหม เชน จีน อินเดีย และรัสเซีย อาเซียนจะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจภายในป 2558 - 21 -


1. พมา สาขาผลิตภัณฑเกษตร (Agro-based Products) และสาขาประมง (Fisheries) 2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑยาง (Rubber-based products) และสาขาสิ่งทอ(Textiles and Apparels) 3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต (Automotives) และสาขาผลิตภัณฑไม (Wood-based Products) 4. ฟลิปปนส สาขาอิเล็กทรอนิกส (Electronics) 5. สิงคโปร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (E-ASEAN) และสาขาสุขภาพ (Healthcare) 6. ไทย สาขาการทองเที่ยว (Tourism) และสาขาการบิน (Air Travel) ทั้งนี้อาเซียนไดมีการจัดทําแผนการดําเนินงานเชิงบูรณาการของเศรษฐกิจดานตางๆเพื่อให การกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบรรลุวัตถุประสงคตามที่วางไว ในรูปแบบ “AEC Blue Print” หรือพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยแผนงานที่สําคัญภายใต AEC Blue Print ประกอบดวย 4 แผนงานไดแก 1) การเปนตลาดเดียวและมีฐานการผลิตรวมกัน มีการดํา เนินงานใน 5องคประกอบคือ - การเคลื่อนยายสินคาเสรี - การเคลื่อนยายบริการเสรี - การเคลื่อนยายการลงทุนเสรี - การเคลื่อนยายเงินทุนเสรีมากขึ้น - การเคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรี 2) การสรางความสามารถในการแขงขัน - กําหนดกรอบนโยบายในการแขงขันเพื่อตอตานพฤติกรรม - สงเสริมความคิดสรางสรรคและใหความรูเกี่ยวกับสิทธิทรัพยสินทางปญญา - กําหนดนิยามภาษีรวมกัน หลีกเลี่ยงความซ้ําซอนของภาษี - นําพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาใช - การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน - การคุมครองผูบริโภค 3) การสรางความเทาเทียมในการพัฒนาเศรษฐกิจระหวางสมาชิกอาเซียนโดยลด ชองวางและความแตกตางระหวางประเทศสมาชิกเดิมและและสมาชิกใหม (CLMV) - 22 -


4) การบูรณาการอาเซียนเขากับประชาคมโลก - ประสานนโยบายเศรษฐกิจกับประเทศนอกอาเซียน เชน การจัดทําเขตการคาเสรี เชน เขตการคา เสรีอาเซียน-จีน เขตการคาเสรีอาเซียน-ยุโรป เปนตน - สรางเครือขายการผลิตและจําหนายเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตรวมถึงการวิจัยและ พัฒนาเชิงพาณิชย ประเทศไทยเปนหนึ่งในหาของประเทศผูรวมกอตั้งอาเซียนและเปนประเทศที่มีบทบาท สําคัญในกิจกรรมตางๆของอาเซียนมาโดยตลอด ดังนั้นการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนยอมนับเปนโอกาสที่สําคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย ที่จะตองเรงปรับตัวและใช โอกาสจากการลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุน ตลอดจนการใชทรัพยากรในภูมิภาคใหเกิด ประโยชนอยางเต็มที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขาที่ไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันเชน สาขา ผลิตภัณฑยานยนต ผลิตภัณฑอาหาร อิเล็กทรอนิกส รวมถึงภาคบริการ เชน สาขาการทองเที่ยว การบริการสาขาสุขภาพ และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งสาขาตางๆ เหลานี้เปนสาขาที่อาเซียน จะเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจใหเห็นผลเปนรูปธรรมภายในป 2553ทั้งสิ้น อยางๆไรก็ตาม แมวาไทยจะไดรับโอกาสจากการรวมกลุมที่จะเกิดขึ้นนี้ ไทยก็ยอมที่จะหลีกหนีไมพนจากผลกระทบ ที่เกิดจากการลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุนเชนเดียวกันดวยการที่อาเซียนเปนตลาดที่มี ประชากรขนาดกวา 550 ลานคน ยอมเปนตลาดที่นาสนใจและสรางความดึงดูดใจการการคาและ การลงทุนเปนอยางยิ่ง สําหรับการคาระหวางประเทศของไทยและอาเซียนนั้นมีการขยายตัวมาโดยตลอด อาเซียน ถือเปนตลาดสงออกอันดับหนึ่งของไทยดวยมูลคา 1,118,810 ลานบาทในป2550 หรือคิดเปนรอย ละ 21.34 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด ซึ่งสินคาสงออกที่สําคัญไดแก น้ํามันสําเร็จรูป รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ เครื่องจักรกลและ สวนประกอบของเครื่อง แผงวงจรไฟฟา รวมถึงเหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ เปนตน สําหรับการ นําเขานั้นแมวาจะขยายตัวลดลงบางในป 2550 แตยังถือเปนแหลงนําเขาสินคาที่สําคัญอันดับสอง รองจากญี่ปุนซึ่งคิดเปนรอยละ 17.91 หรือคิดเปนมูลคาเทากับ 872,246 ลานบาท โดยสินคานําเขา ที่สําคัญประกอบดวย เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ เคมีภัณฑ น้ํามันดิบ กาซ ธรรมชาติ และแผงวงจรไฟฟา นับจากปจจุบันนี้เหลือเวลาอีก ประมาณ 6 ป ที่ไทยและอาเซียนจะกาวไปเปน AECการ เตรียมความพรอมของผูประกอบการภายในประเทศจึงเปนสิ่งที่สําคัญและมีความจําเปนเปนอยาง ยิ่ง แมวาการรวมกลุมทางเศรษฐกิจจะชวยสรางความสามารถในการแขงขันและสรางโอกาสทาง การคาและการลงทุนแลว การใชประโยชนจากโอกาสที่จะไดรับยอมเปนสิ่งที่จําเปนไมยิ่งหยอนไป กวากัน ดังนั้นเพื่อใหการกาวไปสูการเปน AEC เกิดประโยชนกับไทยมากสุดผูประกอบการ

- 23 -


- 24 -


ยุทธศาสตรการคาและการลงทุนในอาเซียน ทําไมอาเซียนตองกระชับการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ? ที่ผานมา กลาวไดวา อาเซียนประสบความสําเร็จในการเปดเสรีการคาสินคามากที่สุด เมื่อ เปรียบเทียบกับการเปดเสรีดานอื่นๆ คือ การคาบริการ และการลงทุน โดยขณะนี้ ประเทศสมาชิก อาเซียนเดิม 6 ประเทศ (บรูไนฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย) ไดลดภาษี สินคาในกรอบอาฟตา (AFTA) ทุกรายการลงเหลือรอยละ 0-5 โดยสินคารอยละ 60 มีอัตราภาษีที่ รอยละ 0 แลว สวนสินคาที่เหลือ ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ มีเปาหมายที่จะลดอัตรา ภาษีเปนรอยละ 0 ในปค.ศ. 2010 และประเทศสมาชิกใหม (CLMV) ในปค.ศ. 2015 ทั้งนี้ ในสวน ของการคาบริการ ไดมีการทยอยเปดเสรีมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมุงเนนใน 7 สาขา คือ การเงิน ขนสง ทางทะเล ขนสงทางอากาศ การสื่อสาร โทรคมนาคม การทองเที่ยว กอสราง และบริการธุรกิจ และ ในสวนของการลงทุน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการดําเนินการดานความรวมมือและการสงเสริม การลงทุนมากกวาดานการเปดเสรี ซึ่งสําหรับการเปดตลาดนั้น ยังจํากัดเฉพาะการลงทุนโดยตรง (FDI) ไมรวมถึงการลงทุนดานหลักทรัพย (portfolio investments) และครอบคลุมเฉพาะสาขาการ ผลิต เกษตร ประมง ปาไม เหมืองแร และบริการที่เกี่ยวของกับ 5 สาขาดังกลาว (services incidental) นอกจากนี้ อาเซียนมีความตกลงวาดวยความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Cooperation: AICO) ซึ่งมีประโยชนอยางยิ่งตอภาคเอกชน แตปจจุบัน อุตสาหกรรมที่เขาไปใชประโยชนจากความตกลงนี้ยังเปนอุตสาหกรรมรถยนตเปนสวนใหญ ซึ่ง จริงๆแลว AICO ไมไดจํากัดอุตสาหกรรม AICO มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน ใหกับสินคาอุตสาหกรรมของอาเซียน โดยสนับสนุนใหเกิดการแบงสรรการผลิตภายในภูมิภาค ลดตนทุนการผลิตโดยการลดภาษีนําเขาสินคาสําเร็จรูป กึ่งสําเร็จรูป และวัตถุดิบ ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินในเอเชียเมื่อป 1997 หลายประเทศสมาชิกอาเซียนรวมทั้ง ไทยประสบปญหาเศรษฐกิจชะลอตัว จนถึงขั้นหดตัว การลงทุนโดยตรงจากประเทศนอกกลุมใน อาเซียนลดลงถึงรอยละ 67.7 ในป 1998 เทียบกับป 1997 เหตุผลที่พูดถึงเหตุการณดังกลาว เนื่องจากเปนเหตุการณสําคัญที่ทําใหผูนําอาเซียนมีการตัดสินใจเชิงนโยบายที่จะกระชับการ รวมกลุมภายในของอาเซียนในเชิงลึกมากขึ้น โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจและการเงิน เพราะ ตระหนักวา หากอาเซียนรวมตัวกันไมติดและไมเขมแข็งพอ อาเซียนจะไมสามารถสรางภูมิภาค ใหเขมแข็งและดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศใหกลับมาและฟนฟูเศรษฐกิจได ใน ขณะเดียวกัน ในชวงเวลานั้น ทามกลางกระแสทวิภาคีและภูมิภาคนิยมที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทั่วโลก อาเซียนจําเปนตองสรางความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคเอเชียผาน การเจรจา FTA ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความนาสนใจของอาเซียนในสายตาของนักลงทุนตางชาติ และ ไมใหอาเซียนตกอยูในสภาวะที่เปนฝายเสียเปรียบประเทศนอกภูมิภาค

- 25 -


การดําเนินการไปสู AEC ในชวง 3 ปที่ผานมา มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอยางมากตออนาคตของอาเซียน คือ ผูนํา อาเซียนไดมีการแสดงออกถึงความมุงมั่นทางการเมืองและการใหความสําคัญตอการดําเนินการ กระชับการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนเปนลําดับแรกออกมาอยางตอเนื่อง เริ่มตนดวยการ ออกแถลงการณบาหลีฉบับที่ 2 (Bali Concord II) เมื่อปลายป 2546 เห็นชอบเปาหมายสุดทายของ การรวมกลุ ม ทางเศรษฐกิ จ ของอาเซี ย นไปสู ก ารเป น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community :AEC) ภายในป 2020 โดยความหมายของ AEC คือ อาเซียนจะเปนตลาด และฐานการผลิตเดียว (single market and production base) และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝมือระหวางกันอยางเสรี และเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น เปนครั้งแรกใน ประวัติศาสตรของอาเซียนที่มีการตั้งเปาหมายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจไวอยางชัดเจน โดย AEC จะเปน อะไรที่ แ ตกต า งไปจากอาเซี ย นในอดี ต อนาคตของอาเซีย นที่ผู นํ า ได ตั้ ง เป า ไว คื อ การ รวมกลุมทางเศรษฐกิจในแบบสหภาพยุโรป แมวา จะไมเหมือนเสียทีเดียว แตเปาหมาย คือ ให อาเซี ย นกลายเป น ประเทศเดี ย วกั น ไร อุ ป สรรคในการเคลื่ อ นย า ยป จ จั ย การผลิ ต ทั้ ง หลาย มี มาตรฐาน และกฎระเบียบที่สอดคลองกัน สินคาราคาเดียวกัน ตางกันเพียงคาขนสง เพื่อใหการดําเนินงานเห็นผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว อาเซียนจะดําเนินการผานกระบวนการ คัดเลือก 11 สาขานํารองที่เห็นวา เปนสาขาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนนาจะสามารถดําเนินการให เกิดการรวมกลุมไดโดยเร็วกวาสาขาอื่นๆในลักษณะรวมกันผลิต รวมกันใชและคาขายระหวางกันให มากขึ้นเหมือนเปนประเทศเดียวกัน ประกอบดวย สาขาการทองเที่ยว การบิน ยานยนต ผลิตภัณฑ ไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขา สุขภาพ รวมเรียกวา 11 priority sectors โดยกําหนดใหดําเนินการรวมกลุมสาขาเหลานี้ใหเสร็จ ภายในป 2010 ซึ่งการรวมกลุมในลักษณะนี้เปนแบบเดียวกับที่สหภาพยุโรปเริ่มตนการรวมกลุม จากอุตสาหกรรมถานหิน นอกจากนี้ สําหรับแตละสาขา มีแผนการดําเนินงาน (Roadmaps) การ รวมกลุมพรอมทั้งกําหนดเวลาในการดําเนินการอยางชัดเจน ในป 2548 ผูนําไดเห็นชอบใหมีการ เรงรัดการรวมกลุมสาขาการทองเที่ยวและการบิน ซึ่งเปน 2 ใน 11 priority sectors ใหเร็วขึ้น ทั้ ง หมดนี้ เพื่ อ แสดงออกถึ ง ความตั้ ง ใจจริ ง ที่ จ ะดํ า เนิ น การไปสู AEC และเพื่ อ ให มี ตั ว อย า ง ความสําเร็จในเวลาอันรวดเร็วได สําหรับการเปดเสรีสินคาที่เปน priority sectors (เกษตร/ ประมง/ ไม/ ยาง/ สิ่งทอ/ ยาน ยนต/ อิเล็กทรอนิกส/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สาขาสุขภาพ) จะใชมาตรการตางๆเปนกลไก เชน การเรงลดภาษีใหเร็วกวาในกรอบอาฟตา 3 ป คือ ตองขจัดภาษีภายในป 2007 สวนการเปดตลาด บริการที่เปน priority sectors (ทองเที่ยว การบิน เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ) อนุญาตใหนัก ลงทุนสัญชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนหนึ่งเขามาตั้งกิจการในอีกประเทศหนึ่งโดยถือหุนขางมาก ได คือ ในสัดสวนรอยละ 51 ในป 2008 และรอยละ 70 ในป 2010 ทั้งนี้ สําหรับสาขาบริการอื่นๆที่ เหลือทั้งหมด ใหเปดเสรีภายในป 2015 - 26 -


นอกจากการลดภาษีแลว อาเซียนยังไดดําเนินการยกเลิกมาตรการและอุปสรรคกีด กันทางการคาที่มิใชภาษี (NTBs) ในขณะเดียวกัน อาเซียนไดเรงปรับประสานมาตรฐานสินคา และจัดทําความตกลงการยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เพื่ออํานวย ความสะดวกทางการคา โดยอาเซียนไดเริ่มดําเนินการปรับประสานมาตรฐานสินคา 20 กลุม สวน ใหญเปนเครื่องใชไฟฟา เชน เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น วิทยุ และโทรทัศน เปนตน นอกจากนี้ เนื่องจากแตละประเทศสมาชิกมีพิธีการนําเขาสินคาที่แตกตางกัน ดังนั้นเพื่อให การคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนเปนไปโดยสะดวก จึงจําเปนตองมีมาตรการอํานวยความ สะดวกดานพิธีการดานศุลกากร ในการนี้ อาเซียนจะนําระบบ ASEAN Single Window หรือที่ เรียกวา ระบบการอํานวยความสะดวกดานศุล กากรดวยระบบอิเ ล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวมาใช เพื่อใหการตรวจปลอยสินคานําเขาเปนไปอยางรวดเร็วขึ้น โดยผูนําเขาสามารถยื่นเอกสารและ ขอมูลที่เกี่ยวของกับการนําเขา-สงออก ณ จุดเดียว ใหศุลกากรเพื่อการตัดสินใจในการตรวจปลอย สิ น ค า เพี ย งครั้ ง เดีย ว ในชั้น นี้ ได มีก ารลงนามความตกลงว า ดว ยการอํา นวยความสะดวกด า น ศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window) แลว และในสวนของไทย จะดําเนินโครงการนํารองกับ ฟลิปปนส โดยในเบื้องตนจะเริ่มใชกับการรับสงขอมูลใบขนสินคาขาออกและ FORM D ระหวางกัน ซึ่งตามแผนงานกําหนดจะเริ่มโครงการนํารองในเดือนมิถุนายน 2549 ในสวนของการเคลื่อนยายของนักธุรกิจ ผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบวิชาชีพ แรงงานมี ฝมือ และผูมีความสามารถพิเศษ ขณะนี้ อาเซียนอยูระหวางการพัฒนาจัดทํา ASEAN Business Card เพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางใหแกนักธุรกิจภายในภูมิภาค และเรงพัฒนามาตรฐาน การยอมรับรวมสําหรับบุคลากรในสาขาวิชาชีพตางๆ ซึ่งขณะนี้ ไดจัดทําขอตกลงยอมรับรวมใน สาขาวิศวกรรมแลว และอยูระหวางการพัฒนาในดานสาขาพยาบาล และจะมีการอํานวยความ สะดวกดานการเดินทางภายในอาเซียนดวย โดยอยูระหวางการปรับประสานกระบวนการ/พิธี การในการออกวีซาใหกับนักเดินทางตางชาติที่เดินทางเขามาในอาเซียน และการยกเวนวีซาใหกับผู เดินทางสัญชาติอาเซียนที่เดินทางภายในอาเซียน นอกจากนี้ สําหรับความคืบหนาการดําเนินการตาม Roadmaps ในแตละสาขา ที่สําคัญ คือ สาขาเกษตร ใหมีการเพิ่มขอบเขตสินคาที่จะเรงลดภาษี ที่สําคัญ คือ น้ํามันปาลม อีก 33 รายการ สาขาประมง มีการพัฒนายกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ โดยใชหลักกระบวนการผลิต GAP (Good Aquaculture Practice) ซึ่งสอดคลองกับหลักปฏิบัติสากล รวมทั้งความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) สาขายานยนต มีขอเสนอโครงการเพื่อสงเสริมความรวมมือในดานกระบวนการผลิต R&D Testing Facility ตางๆเพื่อใหอาเซียนเปนฐานการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต สาขาอิเล็กทรอนิกส อยูระหวางการจัดทําฐานขอมูลผูผลิตสินคาเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสอาเซียนเพื่ออํานวย ความสะดวกการจับคูทางธุรกิจ สาขาการบิน อยูระหวางการพิจารณาเพิ่มขอบเขตของเมืองภายใน อาเซียนที่จะเปดเสรี นอกเหนือไปจากเมืองหลวงของแตละประเทศสมาชิกทั้งในดานการขนสง สินคาและผูโดยสาร สาขา ICT ใหเพิ่มขอบขายสินคาที่จะเรงลดภาษี​ี ซึ่งจะเปนประโยชนตอผูผลิต - 27 -


การดําเนินงานในระยะตอไป (Phase II) สําหรับการดําเนินการในระยะตอไปนั้น นอกจากการดําเนินการตามแผนงาน Roadmaps การรวมกลุม 11 priority sectors และการดึงเอา 2 สาขา คือ การทองเที่ยวและการบิน มา ดําเนินการใหเกิดการรวมกลุมที่เร็วกวา priority sectors อื่นๆที่เหลือแลวนั้น อาเซียนตกลงที่จะ เพิ่มสาขา Logistics เปน priority sector อีกสาขาหนึ่ง เนื่องเห็นวา อาเซียนจําเปนตองมีการพัฒนา ประสิทธิภาพของระบบการดําเนินงานในสวนตางๆ ทั้งระบบคลังสินคา ระบบการผลิต ระบบการ บรรจุภัณฑ ระบบการกระจายสินคา รวมถึงการนําเขาและสงออกสินคาระหวางประเทศ ทั้งนี้ เพื่อใหการจัดสงสินคาและบริการไปถึงมือลูกคาเปนไปอยางรวดเร็ว การเจรจาเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจาตางๆ อาเซียนตองเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคเอเชียใหมากขึ้น เพื่อเพิ่มความ นา สนใจของอาเซี ย น ดั งนั้ น นอกจากการรวมกลุม ภายในของอาเซี ย นเองแลว อาเซี ย นยั ง ให ความสําคัญกับการเจรจาจัดทําเขตการคาเสรีกับประเทศตางๆภายนอกกลุม อาทิ จีน ญี่ปุน เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด เพื่อสรางพันธมิตรทางเศรษฐกิจ และเพิ่มโอกาสดานการคาและ การลงทุนใหกับผูประกอบการในอาเซียนในการขยายตลาดและการลงทุนออกไปภายนอกไดอีกทาง หนึ่ง ในชั้นนี้ การเจรจากับแตละประเทศมีความคืบ หนาที่ตางกัน อาเซียน-จีนมีความ คืบหนามากที่สุด โดยไดเริ่มลดภาษีสินคาระหวางกันตั้งแตปลายป 2004 และจะลดภาษีเหลือรอย ละ 0 ในป 2010 อยางไรก็ดี ในภาพรวมทุกเวทีมีกรอบการเจรจาและเปาหมายเดียวกัน คือ การ เจรจาในกรอบกวาง ครอบคลุมการคาสินคา บริการ การลงทุน และความรวมมือทางเศรษฐกิจใน ดานอื่นๆ เชน การแกไขมาตรการกีดกันการคา เกษตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การเสริมสราง ขีดความสามารถในการแขงขัน และการปรับประสานมาตรฐานและกฎระเบียบ เปนตน ทั้งนี้ ในการ จัดทํา FTA กับประเทศตางๆนั้น รัฐบาลไดตระหนักในความหวงใยของภาคเอกชนโดยเปดรับฟง ความคิดเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่ง สินคาเกษตร และสินคาอุตสาหกรรมที่สําคัญ เชน เหล็กและยาน ยนต อนึ่ง สําหรับประเทศคูเจรจาที่เปนประเทศพัฒนาแลว คือ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด มี - 28 -


นโยบายของรัฐบาลไทยตออาเซียน จากภาพอาเซียนที่ไดสรุปใหทานฟง จะพบวา นอกจากโอกาสทางการคาภายในภูมิภาค แลว ในอนาคตอันใกลนี้ภายหลังจากการเจรจา FTA ของอาเซียนกับประเทศคูเจรจาตางๆแลวเสร็จ จะทํา ใหเ กิดความเชื่อมโยงระหวางอาเซียนกับประเทศตางๆในภูมิภาคเอเชีย และเปดโอกาส ทางดานการคาและการลงทุน ในสวนของนโยบายของรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการดําเนินงาน ของอาเซียนมาโดยตลอดในฐานะที่อาเซียนเปนกลุมภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิ จ สั ง คมและวั ฒ นธรรม รั ฐ บาลได มุง ให ค วามสํา คั ญ กับ อาเซี ย นเป น ลํา ดั บ แรก โดยใช นโยบาย ASEAN First Policy คือ อาเซียนตองมากอน เนื่องจากเล็งเห็นวา การรวมกลุมทาง เศรษฐกิจของอาเซียนที่แข็งแกรงมากขึ้น จะชวยเพิ่มศักยภาพการแขงขันของของไทยและของ อาเซียนทั้งกลุมในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) รวมทั้งชวยสรางอํานาจใน การตอรองในกรอบการเจรจาระดับภูมิภาค และพหุภาคี และจากพื้นฐานที่แข็งแกรงตรงนี้ จะทําให การเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆโดยการจัดทํา FTA ของไทยเกิดอํานาจตอรองมากขึ้น แนวทางความรวมมือที่เปนไปไดระหวางไทยกับอาเซียน ขณะนี้ รัฐบาลมีโครงการสรางเครือขายและขยายความรวมมือทางธุรกิจในอาเซียน หรือ ASEAN Hub โดยมีกระทรวงพาณิชยเปนหนวยงานรับผิดชอบ ซึ่งกําหนดยุทธศาสตรที่มีตอ อาเซียนไว 4 ประการ คือ 1) การเปนพันธมิตรและหุนสวน (strategic partner) : ตองทําใหอาเซียนเปนทั้ง พันธมิตรและหุนสวนเพื่อใหประเทศไทยเปน gateway ของอาเซียน ทั้งการคาและการลงทุน โดย การใชเวทีทวิภาคี เชน JTC และแนวทาง 2+X เปนตน และสนับสนุนความรวมมือในภูมิภาค เชน ACMECS, IMT-GT 2) การเปนแหลงวัตถุดิบ : ตองเปลี่ยนแนวคิดการมองอาเซียน จากคูแขงมาเปนหุนสวน โดยการสร า งความไว ว างใจให เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง แก ค นไทย และประเทศเพื่ อ นบ า น โดยการให ค วาม ชวยเหลือแกประเทศเพื่อนบาน การเขาไปลงทุนผลิตสินคาเกษตรที่ขาดแคลน การนําประเทศที่ สามเขารวมในการพัฒนา - 29 -


3) การเปนฐานการผลิตใหอุตสาหกรรมไทย : ตองพิจารณาเรื่องการยายฐานการผลิต ของบางอุตสาหกรรมออกไปยังประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาอุตสาหกรรมที่ใชแรงงาน และแรงงาน กึ่งฝมือ เชน อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร สิ่งทอ เฟอรนิเจอร แปรรูปผลิตภัณฑไม 4) การเปนตลาดที่มีประชากรกวา 500 ลานคน : ตองรักษาตลาดเดิมไวใหมั่น และตอง ขยายใหกวางขึ้น เนื่ อ งจากความแตกต า งในระดั บ การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ อาจสามารถจํ า แนกกลุ ม ประเทศในอาเซียนออกไดเปน 3 กลุมสําคัญ คือ 1) กลุมที่มีความกาวหนาดานเทคโนโลยี และเนนภาคบริการ ไดแก สิงคโปร ซึ่ง ไทยสามารถเปนพันธมิตรรวมทางดานเศรษฐกิจเพื่อแสวงหาชองทางและโอกาสทางการตลาด โดย ใชความชํานาญดานโลจิสติกสของสิงคโปรเปนฐานในการกระจายสินคาในภูมิภาคและไปยังประเทศ ภายนอก ซึ่งรัฐบาลไดใหความสําคัญในประเด็นนี้ จึงไดมุงสงเสริมความรวมมือระหวางไทยกับ สิงคโปรในดานตางๆ เชน โลจิสติกส การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม การศึกษา และ การทองเที่ยว เปนตน 2) กลุมที่เปนฐานการผลิตในอุตสาหกรรมตางๆ ไดแก ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งไทยสามารถใชเปนพันธมิตรเพื่อรวมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ เพื่อไปสูการเปนผูนําในอุตสาหกรรมโดยอาศัยการ outsource และ Joint Venture เพื่อยกระดับ ความสามารถในการแขงขัน 3) กลุ ม ที่ เ ป น แหล ง วั ต ถุ ดิ บ และทรั พ ยากร ได แ ก ประเทศสมาชิ ก ใหม อ าเซี ย น (CLMV) ประกอบดวย กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม ซึ่งเปนประเทศที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติที่จะเอื้อประโยชนตอการผลิต อาทิ แรธาตุ พลังงาน และวัตถุดิบ ทางการเกษตรตางๆ รวมถึงตนทุนแรงงาน (low-skill worker) ที่ต่ํา นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกใหม อาเซียนเหลานี้สวนใหญยังไดสิทธิประโยชนทางดานภาษีจากประเทศที่พัฒนาแลว (GSP) อาทิ สหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุน ดังนั้น การเขาไปลงทุนในประเทศเหลานี้ยอมไดรับประโยชนในแง การยกเวนภาษีนําเขาตามกรอบ GSP ที่ประเทศเหลานั้นไดรับและสรางความสามารถในการ แขงขันใหกับสินคาที่สงออกมากขึ้น อนึ่ง สําหรับประเทศสมาชิกใหมเหลานี้ ไทยไดใหความชวยเหลือในรูปของมาตรการ ใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (ASEAN Integration System of Preferences : AISP ) โดยการ ยกเวนและลดภาษีศุลกากรใหประเทศสมาชิกใหมอาเซียน ซึ่งเปนการใหลักษณะทวิภาคีและเปน การใหฝายเดียวโดยไมมีการเจรจาตอรอง และมีกรอบเวลา 8 ป โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2545 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งนี้ เพื่อใหภาคเอกชนไทยสามารถนําเขาวัตถุดิบราคาถูกเพื่อ ใชในการผลิต

- 30 -


อุปสรรคการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอยางไมเปนทางการ (AEM retreat) ระหวาง 3-4 พฤษภาคม2550 ณ กรุงบันดาเสรี เบกาวัน ประเทศบรูไน ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแผนการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC blueprint) โดยจะมีการเปดตลาดในภูมิภาคอาเซียน เพื่อมุงสู การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) ภายในป พ.ศ.25532558 เราสามารถวิเคราะหอุปสรรคในการจัดจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไดดังนี้ ขาดความผูกพันกับวิสัยทัศน แมวาประเทศอาเซียนจะมีจุดมุงหมายรวมกันอยางชัดเจน ในการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป พ.ศ.2553-2558 และมีการจัดทําแผนการ ดําเนินงานเพื่อไปสูจุดหมายดังกลาว แตวิสัยทัศนและแผนการดําเนินงานยังเปนเพียงหลักการ เบื้องตน รัฐบาลของประเทศสมาชิกยังไมผูกมัดตัวเองตอวิสัยทัศนดังกลาว ทําใหขาดเจตจํานงทาง การเมือง รวมทั้งกระแสการเจรจาการคาเสรีแบบทวิภาคี ยังทําใหความสําคัญของความรวมมือ ระดับภูมิภาคลดลง ขาดผลประโยชนรวมอยางเพียงพอ อาเซียนมีความพยายามสรางความรวมมือบน พื้นฐานของที่ทุกประเทศไดประโยชนรวมกัน สังเกตไดจากบรรทัดฐานสําคัญของอาเซียน คือ ฉันทานุมัติและความสมัครใจ แตในความเปนจริง มีความเปนไปไดยากที่จะจัดตั้งการเปนประชาคม ในระดับภูมิภาค เนื่องจากประเทศสมาชิกมีความแตกตางของระดับการพัฒนาคอนขางมาก อาจทํา ใหการกระจายผลประโยชนไมเทาเทียมกัน ยิ่งไปกวานั้น ประเทศอาเซียนยังเปนคูแขงขันกันเอง ทั้งดานการคา และดานการดึงดูดเงินลงทุนจากตางประเทศ ซึ่งอาจแตกตางจากยุโรปที่มีลักษณะ เปน “คูคากันโดยธรรมชาติ” (natural trading partner) ขาดความรูสึกเปนเจาของ ประชาชนในอาเซียนยังขาดความรูสึกเปนเจาของภูมิภาคนี้ รวมกัน เนื่องจากแตละประเทศมีประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่แตกตางกันมาก และไมมี ประสบการณหรือประวัติศาสตรที่ตองตอสูรวมกัน ขณะที่ประชาชนยังไมไดรับการสื่อสารวิสัยทัศน การจัดตั้งประชาคมอาเซียนอยางเพียงพอ ประชาชนในแตละประเทศยังคงถือวาตนเองเปนคนของ ประเทศตน โดยไมเห็นประโยชนของการอางถึงความเปนประชาชนของความเปนอาเซียน ขาดกติกาที่เขมแข็ง อาเซียนยังขาดกติกาที่เขมแข็ง วิถีอาเซียนมีลักษณะของของการไมมี พิธีรีตอง โดยเนนความสําพันธระหวางบุคคลมากกวาความสัมพันธเชิงสถาบัน และไมให ความสําคัญตอขอผูกมัดที่ตายตัวและขอตกลงเชิงกฎหมาย ความรวมมือของอาเซียนจึงมีลักษณะ เปนการประกาศ (declaration) ไมใชสนธิสัญญา (treaty) อาเซียนยังขาดกฎเกณฑในการ - 31 -


ขาดการมีสวนรวมของประชาชน อาเซียนไดพยายามจัดกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธ ระหวางสมาชิก แตกิจกรรมสวนใหญยังเปนกิจกรรมของกลุมคนระดับชนชั้นสูง สถาบันของอาเซียน ถูกใหฉายาวาเปนเพียง สมาคมของรัฐบาลและชนชั้นสูง นอกจากนี้ การประชุมระดับผูนําและ รัฐมนตรีมีไมบอยครั้งนัก เมื่อเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรปที่ผูนํารัฐบาลมีการประชุมกัน 2 ครั้งตอป รัฐมนตรีของอาเซียนประชุมกันเพียงปละ 1 ครั้ง ไมตองกลาวถึงประชาชนในอาเซียน เพราะยังขาด กิจกรรมที่ทําใหเกิดความสัมพันธซึ่งกันและกันในระดับประชาชน ขาดระบบจัดการที่มีประสิทธิภาพ อาเซียนยังขาดระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ โครงสรางสํานักงานเลขาธิการอาเซียนยังออนแอ เพราะมีลักษณะการทํางานเปนรูปแบบ คณะกรรมการ ที่มีอํานาจและบทบาทที่จํากัด ตลอดจนขาดแคลนบุคลากร การสนับสนุนดาน งบประมาณ และการสนับสนุนดานการเมือง เพราะนักการเมืองและผูนําประเทศตาง ๆ ยังไม ตองการแบงอํานาจใหกับสถาบันของภูมิภาค นอกจากนี้ กระบวนการตัดสินใจใชหลักฉันทามติใน ทุกเรื่อง ทําใหขาดความยืดหยุนและความคลองตัวในการดําเนินงาน ขาดการเรียนรูรวมกัน ภูมิภาคอาเซียนยังขาดกลไกและกระบวนที่ที่ทําใหเกิดการเรียนรู รวมกัน ประชาชนในแตละประเทศยังไมรูจักประเทศเพื่อนบานของตนเองมากเพียงพอ แตกลับรูจัก ประเทศนอกภูมิภาคมากกวา เนื่องจากอาเซียนยังขาดชองทางการเรียนรูจักประเทศเพื่อนบาน ขาดชองทางการถายทอดและสงผานขอมูลขาวสารและองคความรูระหวางกัน กลาวโดยสรุป อาเซียนยังหางไกลจากความสําเร็จในการรวมกันเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เพราะผูนําทางการเมืองยังขาดความตระหนักถึงความจําเปนและความสําคัญของความ รวมมือกัน กลไกที่สนับสนุนความรวมมือยังขาดประสิทธิภาพ ในขณะที่ประชาชนของประเทศตาง ๆ ไมรูจักกันมากเพียงพอ ในปจจุบัน การมุงสูวิสัยทัศนอาเซียน ยังเปนการดําเนินการของระดับชนชั้นนํา และการ พัฒนาโครงสรางและกลไกตาง ๆ ในภูมิภาคเทานั้น แตประเด็นสําคัญที่ยังไมถูกใหความสําคัญมาก นัก คือการสรางความสัมพันธระหวางประชาชน และการสรางความตระหนักถึงความเปนประชาชน ของอาเซียน ซึ่งเปนรากฐานที่ทําใหการรวมตัวของภูมิภาคประสบความสําเร็จ

- 32 -


ไทยตองพัฒนาตัวเองเพือ่ รองรับการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในอีก 6 ปขางหนา

รองอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ในการประชุ ม สุ ด ยอดผู นํ า อาเซี ย น (อาเซี ย น ซั ม มิ ท ) ที่ จั ง หวั ด เพชรบุ รี ที่ ผ า นมานั้ น รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยของไทยไดมีการลงนามในความตกลงหลายฉบับ โดยเฉพาะความ ตกลงระหวางกลุมประเทศอาเซียน 10 ประเทศ และ ระหวางอาเซียนกับคูเจรจา สําหรับการลงนามความตกลงภายในอาเซียนนั้น ไทยไดลงนามความตกลงดานการคา หรือเขตการคาเสรี (FTA) ซึ่งจะทําใหระบบเขตการคาเสรีเปนระเบียบและมีความชัดเจนยิ่งขึ้น เชน แหลงกําเนิดสินคา ตารางการลดภาษี และกําจัดขอกีดกันการคา นอกจากนี้ ไทยยังไดลงนามความ ตกลงเรื่องการลงทุน ที่เนนการลดขอจํากัดระหวางกัน ซึ่งจะอํานวยความสะดวก และคุมครองนัก ลงทุนระหวางอาเซียนดวย นอกจากนี้ ยังมีขอตกลงดานการยอมรับใน 3 วิชาชีพคือ แพทย ทันตแพทย และ บัญชี ซึ่ง จะเปนการอํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายแรงงานมีฝมืออยางเสรีใหสามารถประกอบอาชีพ ระหวางประเทศอาเซียนดวยกันได รวมถึงยังมีการลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย – อินโดนีเซียเรื่อง “น้ําตาล” จากการที่อินโดนีเซียไมสามารถลดภาษีน้ําตาลไดตามขั้นตอน ซึ่งตอง ชดเชยดวยการทําสัญญา MOU วาจะนําเขาสินคาน้ําตาลจากไทยในปริมาณเทาเดิมเปนเวลา 3 ป ยอนหลัง สวนการลงนามความตกลงระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา จะมีทั้งความตกลงเรื่องเขต การคาเสรีดานสินคาและบริการที่ไทยไดลงนามความตกลงกับเกาหลีใต และการลงนามความตกลง ระหวางประเทศกลุมอาเซียนกับออสเตรเลีย-นิวซีแลนด ซึ่งเปนความตกลงที่ครอบคลุมดานสินคา

- 33 -


รองอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศกลาวอีกวา เนื่องจากขอตกลงในกฎบัตร อาเซียนระบุไวชัดเจนวาจะตองเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 6 ปขางหนา ซึ่งจะทํา ใหทุกประเทศสมาชิกมีตลาดและฐานการผลิตรวมกัน สามารถพัฒนาความสามารถในการแขงขัน และการลดชองวางระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงกอใหเกิดความรวมมือกับประชาคมโลกมากขึ้น จึงตองดําเนินการเปนขั้นตอนภายใตกฎบัตรอาเซียนซึ่งไดมีการลงนามพิมพเขียวเปนแมแบบไว ตั้งแตเมื่อ 2 ปที่ผานมา และถัดจากนี้ก็จะยึดแนวทางนั้นอยางเขมขนตอไป ทั้งนี้ ประเทศไทยก็จะตองปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจดวย ทั้งการ ปรับปรุงคุณภาพของตราสินคา เทคโนโลยีการผลิต และนวัตกรรมใหม ๆ เพื่อสรางความไดเปรียบ ในการแขงขันในอนาคต สวนการเปดเสรีดานสินคาเกษตรนั้น ภาครัฐก็พรอมเขาไปชวยเหลือในการ สรางคุณภาพ การยกระดับการผลิต เพื่อรองรับการเปดเสรีทางการคาอยางเต็มที่ใน 6 ปขางหนา ดวย

- 34 -


บทสัมภาษณพิเศษ

ผอ. ชนินทร ขาวจันทร ผูอํานวยการหนวยพัฒนาการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (B.O.I.) ถาม การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2015 อาเซียนจะเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวและมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน อยางเสรี ผูประกอบการคนไทยจะไดรบั ผลกระทบอยางไร และควร ปรับตัวเชนไร? ผอ.ชนินทร การที่ผูประกอบการคนไทยจะไดรับผลกระทบนั้น แลวแตสนิ คาที่ผูประกอบการ รายนั้นผลิตเชนชิ้นสวนยานยนตจะไดรบั ผลกระทบในทิศทางที่ดี แตในทางกลับกันอุตสาหกรรม อิเลคทรอนิคสจะไดรับผลกระทบจากการรวมกลุมนี้ กลาวคือ ในอุตสาหกรรมยานยนตนั้นกลยุทธ ตาง ๆ ในการที่จะวางฐานการผลิตขึ้นอยูกับบริษัททีผ่ ลิตรถยนตนนั้ ๆ เชน โตโยตา ฮอนดา อีซูซุ หรือ ฟอรด ในการกําหนดนโยบายการผลิตและจําหนาย บริษทั ผูผ ลิตเหลานี้ ยังมองประเทศไทย วามีศักยภาพเหนือกวาประเทศอินโดนีเซีย ทั้งประสบการณการผลิตและทักษะแรงงานที่มีความ ชํานาญ ทั้งรัฐบาลไทยก็ยงั ใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ ดังนั้น อุตสาหกรรมผูผลิตชิ้นสวนยานยนต - 35 -


ถาม มุมมองนักลงทุนที่ไมไดอยูในกลุมอาเซียน ตอการที่จะมาลงทุนในอาเซียน และ แนวโนมของการลงทุน? ผอ.ชนินทร การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนนั้น เปรียบเสมือนประเทศมีความใหญขึ้น กําลังซื้อมากขึ้น ดังนั้นการผลิตมี Economy of scale คําถามตามมาก็คือ แลวนักลงทุนจะมาลงทุน ในอุตสาหกรรมไหนในอาเซียน นักลงทุนตางประเทศก็ตองดูวาประเทศไหนมีศักยภาพรองรับ อุตสาหกรรมของเขาไดทั้งดานวัตถุดิบ การผลิต การสรางและพัฒนาบุคลากร เพื่อใหไดตนทุนที่ สามารถแขงขันได ขณะนี้หนวย B.O.I. จึงมีหนาที่ประชาสัมพันธใหนักลงทุนตางประเทศมาลงทุน ในประเทศไทยใหมากที่สุด ถาม ทําไมนักลงทุนในตางประเทศถึงมาลงทุนในประเทศไทยประเทศไทยมีขอดีอยางไร? ผอ.ชนินทร อุตสาหกรรมที่นักลงทุนตางชาติเขามาลงทุนในประเทศไทย จะเปนอุตสาหกรรมที่ เนนการใชทักษะไมใชอตุ สาหกรรมที่ใชแรงงานอยางเดียว แตอยางไรก็แลวแต ถาเปนอุตสาหกรรม ที่ใชแรงงานอยางเดียว ตองเปนอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ทําใหตนทุนการ ผลิตตอหนวยการผลิตต่ํา และแนนอนที่สุดอุตสาหกรรมดานการแปรรูปทางดานเกษตร ประเทศ ไทยมีวตั ถุดิบที่ดีมากที่สุดและตนทุนทีต่ ํา่ อยูแลว แตประเทศไทยตองพัฒนาดานเครื่องจักรที่ใชใน การแปรรูปจะตองพัฒนาการผลิตเครื่องจักรขึ้นเองภายในประเทศ ไมพึ่งพาการนําเขาเครือ่ งจักร จากตางประเทศ ซึ่งสวนใหญเครื่องจักรในการผลิตอาหารจะมีราคาสูง ดังนั้นรัฐบาลไทยควรสงเสริม ใหมีการพัฒนาและผลิตเครือ่ งจักรในการผลิตอาหารขึน้ มา เพื่อใหการสงออกอาหารไทย เปนการ ผลิตจากประเทศไทยอยางแทจริง - 36 -


ภาคผนวก สรุปภาวะการคาระหวางประเทศไทย - อาเซียน 2551 (ม.ค – ธค.) (สรุปจากสถิติ Menucom กรมสงเสริมการสงออก) โครงสรางสินคาออกของไทยกับ อาเซียน

สินคาออกสําคัญ ทั้งสิ้น สินคาเกษตรกรรม สินคาอุตสาหกรรม การเกษตร สินคาอุตสาหกรรม สินคาแรและเชื้อเพลิง สินคาอื่นๆ

มูลคา : ลานเหรียญ สหรัฐฯ

สัดสวน % เพิ่ม/ % ลด

40,159.39 3,177.72 2,714.47

100.0 0 7.91 6.76

37.67 25.49

28,304.90 5,962.18 0.11

70.48 14.85 0.00

16.59 54.94 -99.94

7.91 14.85

6.76

22.47

70.48 เกษตรกรรม

อุตสาหกรรมการเกษตร

อุตสาหกรรม

แรและเชื้อเพลิง

โครงสรางสินคาเขาของไทยกับอาเซียน

นําเขาทั้งสิ้น สินคาเชื้อเพลิง สินคาทุน สินคาวัตถุดิบและกึ่ง สําเร็จรูป สินคาบริโภค สินคายานพาหนะและ อุปกรณขนสง สินคาอื่นๆ

มูลคา : ลานเหรียญ สหรัฐฯ

สัดสวน % เพิ่ม/ % ลด

30,051.28 7,425.91 7,565.57 11,831.15

100.0 0 24.71 25.18 39.37

24.87 23.91 14.48

2,155.16 1,067.18

7.17 3.55

13.71 43.50

6.31

0.02

-84.30

24.71

7.17

19.88 25.18

39.37 เชื้อเพลิง

ทุน

วัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป

บริโภค

ยานพาหนะฯ

- 37 -


1. มูลคาการคา มูลคาการนําเขา สงออก และดุลการคาของไทย - อาเซียน 2550 2551 Δ/% 36,500.00 (ม.ค. - ธ.ค.) 26,500.00 ลานเหรียญสหรัฐฯ 16,500.00 มูลคา การคารวม 57,857.96 70,210.67 21.35 6,500.00 การนําเขา 25,066.88 30,051.28 19.88 การสงออก 32,791.08 40,159.39 22.47 ดุลการคา 7,724.20 10,108.11 30.86

การนําเขา การสงออก ดุลการคา

2552(มค.-ธค.)

2551(มค.-ธค.)

2. การนําเขา ประเทศไทยนําเขาจากตลาดอาเซียน มูลคา 30,051.28 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น รอยละ 19.88 สินคานําเขาสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก มูลคา : ลานเหรียญ สหรัฐฯ

สัดสวน %

มูลคาการนําเขารวม 30,051.28 100.00 1. กาซธรรมชาติ 3,170.52 10.55 2. เครื่องคอมพิวเตอร 2,555.82 8.50 ฯ 3. เคมีภัณฑ 2,529.03 8.42 4. น้ํามันดิบ 2,313.82 7.70 5. เครื่องจักรไฟฟา 2,060.68 6.86 อื่น ๆ 3,214.52 10.70 3. การสงออก ประเทศไทยสงออกไปตลาดอาเซียน มูลคา 22.47

% เพิ่ม/ ลด 10.41

10.63

19.88 53.12 -6.76 3.64 11.90 38.77 6.90

8.59

6.91 7.37

8.58

กาซธรรมชาติ

เครื่องคอมพิวเตอรฯ

เคมีภัณฑ

น้ํามันดิบ

เครื่องจักรไฟฟา

อื่น ๆ

40,159.39 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ

- 38 -


สินคาสงออกสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก

มูลคาการนําเขารวม 1. น้ํามันสําเร็จรูป 2. รถยนต อุปกรณฯ 3. เครื่องคอมพิวเตอรฯ 4. เหล็ก เหล็กกลาฯ 5. แผงวงจรไฟฟา อื่น ๆ

มูลคา : ลาน เหรียญ สหรัฐฯ

สัดสวน % เพิ่ม/ % ลด

10,159.3 9 4,584.23 3,936.11 2,244.16 1,739.90 1,664.08 10,336.3 8

100.0 0 11.42 9.80 5.59 4.33 4.14 25.74

11.42

25.51

9.8

22.47 4.14

71.91 42.51 3.05 21.83 -11.26 21.70

5.59 4.33

น้ํามันสําเร็จรูป

รถยนต อุปกรณ

เครื่องคอมพิวเตอรฯ

เหล็ก เหล็กกลา

แผงวงจรไฟฟา

อืน่ ๆ

4. ขอสังเกต 4.1 สินคาสงออกสําคัญของไทยไปอาเซียน ป 2551 (มค.-พย.) ไดแก น้ํามันสําเร็จรูป : เมื่อพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวา ป 2550 เปนเพียงปเดียวที่มอี ัตราการขยายตัว ลดลง (-1.08 %) ในขณะทีป่  2548 2549 2551 มีอตั รา ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 44.49 37.21และ 71.91 ตามลําดับ เมือ่ เทียบกับชวงเวลา เดียวกันของปกอน รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ : เมื่อพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวา ป 2549 เปนเพียงปเดียวที่มอี ัตราการขยายตัว ลดลง(-3.22 %) ในขณะทีป่  2548 2550 2551 มีอัตรา ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 38.61 41.02 และ 42.51 ตามลําดับเมื่อเทียบกับชวงเวลา เดียวกันของปกอน เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ

: เมื่อพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวา ป 2550 เปนเพียงปเดียวที่มีอัตราการขยายตัว ลดลง (-15.41 %) ในขณะที่ป 2548 2549 2551 มี - 39 -


เหล็ก เหล็กกลาฯ

แผงวงจรไฟฟา

: เมื่อพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวามีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องรอยละ 13.13 15.28 43.02 และ 21.83 ตามลําดับ เมื่อเทียบกับ ชวงเวลาเดียวกันของปกอน : เมื่อพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวา ป 2551 เปนเพียงปเดียวที่มีอัตราการขยายตัว ลดลง(-11.26 %) ในขณะที่ป 2548 2549 2550 มี อัตราขยายตัว เพิ่มขึ้นรอยละ 24.03 12.48 และ 25.92 ตามลําดับ เมื่อเทียบกับชวงเวลา เดียวกันของ ปกอน

4.2 ในบรรดาสินคาสงออกจากไทยไปตลาดอาเซียน ป 2551 (ม.ค.- ธค.) 25 รายการแรก สินคาที่มีอัตรา เพิ่มสูงโดยสูงกวารอยละ 30 มีรวม 11 รายการ คือ หมายเหตุ อันดับที่ / รายการ มูลคา อัตราการ ลานเหรียญ ขยายตัว สหรัฐ % 1. น้ํามันสําเร็จรูป 4,584.23 74.91 2. รถยนต อุปกรณ 3,936.11 42.51 10. เครื่องสําอาง 1,215.09 126.88 11. ขาว 1,052.44 84.15 12. เครื่องยนตสันดาป 913.95 40.06 13. ผลิตภัณฑยาง 804.73 36.54 16.รถจักรยานยนตและ 642.21 34.62 สวนประกอบ 17.เครื่องปรับอากาศและ 566.30 32.56 สวนประกอบ 21. เครื่องรับวิทยุ 426.25 48.41 24. ไขมัน และน้ํามันจากพืช 323.61 37.95 25. เครื่องดื่ม 317.37 47.50

- 40 -


4.3 ในบรรดาสินคาสงออกจากไทยไปตลาดอาเซียน ป 2551 (ม.ค. - ธค.) 25 รายการแรก สินคาที่มีอัตราลดลง รวม 3 รายการ คือ อันดับที่ / รายการ 5.แผงวงจรไฟฟา 18. สวนประกอบอากาศยานฯ 20. เครื่องใชไฟฟา ฯ

มูลคา ลานเหรียญสหรัฐ 1,664.08 556.50 484.23

อัตราการขยายตัว % -11.26 -27.55 -47.03

4.4 ขอมูลเพิ่มเติม • ปนี้สถาบันอุตสาหกรรมสิ่งทอ ไดงบประมาณจากรัฐบาล 110 ลานบาท ซึ่งจะนํามาพัฒนา โครงการตอเนื่อง และป 2553 สถาบันฯไดเสนอของบประมาณใกลเคียงกับปนี้ อาจจะ ประมาณ 100 ลานบาท เพื่อนํามาพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ อุตสาหกรรมสิ่งทอในระดับอาเซียนมากขึ้น ทั้งนี้ สถาบันมีแผนเปดโครงการใหม 2 โครงการ คือ 1.สถาบันฯตองการจะเจาะตลาดใหม และเขาไปศึกษาตลาดในแถบ อาเซียนมากขึ้น โดยใชงบประมาณ 110 ลานบาท ที่ไดมา เปนงบชวยสนับสนุนใน โครงการนี้ เพราะปที่ผานมาอุตสาหกรรมสิ่งทอมีการสงออกในแถบอาเซียนเฉลี่ยอยูที่ 850 ลานเหรียญสหรัฐ และคาดวาปนี้จะสงออกได 1,000 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเพิ่มขึ้น 10% และ 2.โครงการพัฒนากระบวนการผลิตแบบลดตนทุน หรือระบบลีน ถาโครงการนี้ ประสบความสําเร็จ จะชวยลดความเลี่ยงในกระบวนการผลิต สงผลดีตอผูประกอบการที่ไม ตองแบกรับภาระตนทุนและคาใชจายในอัตราที่สูงได สถาบันตองการเจาะตลาดอาเซียน เพราะมองวายังสามารถขยายฐานตลาดไดเพิ่มอยู โดยเฉพาะตลาดที่เปนของจีนใน 9 ประเทศ ที่ขณะนี้บริษัทของจีนถูกลูกคาสั่งหามนําเขาสินคา ไทยจึงนาจะใชโอกาสนี้เขา แทรกแซง หรือแยงตลาดที่เคยเปนของจีนอยูมาครองไว ซึ่งจะสงผลดีตอผูป ระกอบการ ไทยที่สามารถมาเปดตลาดแขงไดในอนาคต เพราะการผลิตเสื้อผาไทยมีมาตรฐานและมี คุณภาพมากกวาจีน อยางไรก็ตาม ปนี้คาดวาอัตราการเติบโตของอุตสาหกรามสิ่งทอ ไทย อาจลดลง 4-5% เมื่อเทียบกับปที่ผานมาที่เติบโตเฉลี่ยอยูท ี่ 10% เนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจถดถอย ยอดคําสั่งซื้อหดตัวลงตั้งแตชว งไตรมาส 4/2551 และลุกลามมาในปนี้ ดวย

- 41 -


• นับตั้งแตเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อป 2540 ถือวาปนี้ตลาดรถจักรยานยนตวิกฤตมากที่สุด ทั้งนี้คาดวาถึงสิ้นปตลาดรถจักรยานยนตจะเหลือเพียง 1.7 ลานคัน แมยอดขายจะทรง ใกลเคียงป 2550 แตยอดขาย 2 เดือนที่ผานมา ยอดขายหดตัวไป 3-5% ทําใหประเมินวา สิ้นปนี้ยอดจําหนายตลาดรวมอาจจะลดลงเล็กนอย ซึ่งนั่นเปนสัญญาณชี้ใหเห็นวา ป 2552 ยอดขายจะลดลงอยางแนนอน คราวๆ มองวา นาจะลดมากถึง 20-30 เปอรเซ็นต" สถานการณตลาดรถจักรยานยนตไทยที่เกิดขึ้น หากเทียบกับวิกฤติป 2540 มีความ แตกตางกัน ยอดขายปนั้น จาก 1.5 ลานคัน เหลือ 5 แสนคัน แตชวงปที่แลว กับปนี้ และ จากนี้อีก 2 ป นาจะไมรุนแรงเทา เพียงแตยอดจะหดลง ทําใหผูประกอบการตองทํางาน หนักขึ้น ขณะที่ ความตองการในตลาดอาเซียน สําหรับตลาดรถจักรยานยนตใน ภูมิภาคนี้ ลวนเปนแหลงขุมทรัพยหลายที่ ไมวาเวียดนาม ที่มีอัตราการเติบโต 25 เปอรเซ็นต ซึง่ มีขนาดใหญกวาไทย 1.5 เทา หรือทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย ที่เปนตลาดใหญ อยูแลว เนื่องจากอัตราการเติบโตมากถึง 30% แตหลังโดนพิษสึนามิ การเงิน เลนงาน ทั้ง 2 ประเทศกําลังซื้อก็ลดลงเชนกัน จุดนี้เอง การสงออกไปยังทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งถือวา เปนแหลงรายไดของยามาฮา ทําใหประเมินวา ยอดการสงออก ที่เคยทํารายไดแกยามา ฮา จะลดลงเชนกัน หรือคิดเปนสัดสวน 35% ของยอดขายทั้งหมดของยามาฮา ที่ คาดการณวาในป 2551 จะทําไดถึง 28,000 ลานบาท เหลือเพียง 24,000 ลานบาท ใน สวนยามาฮา ทิศทางอนาคตป 2552 ในสภาวะตลาดรถจักรยานยนตไทยตกต่ําเชนนี้ ตองมีการทําตลาดในเชิงรุกมากขึ้น ไมวาจะเปนการสนับสนุนการทําตลาด และกิจกรรมใน พื้นที่ของตัวแทนจําหนาย เพื่อกระตุนใหลูกคาเขารานมากขึ้น และตองออกไปหาลูกคา โดยตรง สลับกับการสรางความสัมพันธกับลูกคาอยางตอเนื่องดวย จากกิจกรรมสงเสริม การขาย (โปรโมชัน) หรือการจัดอีเวนท มารเก็ตติ้ง ควบคูกันไป แหลงขอมูล - Menucom กรมสงเสริมการสงออก - แนวหนา (Th) (วันที่ 26 มกราคม 2552) - เว็บไซตบสิ ิเนสไทย (Th) (วันที่ 11 มกราคม 2552)

กลุมงานวิเคราะหสารสนเทศ ศูนยสารสนเทศการคาระหวางประเทศ กรมสงเสริมการสงออก มกราคม 2552 - 42 -


- 43 -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.