ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

Page 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว ตอนที่ 1

ใครคือ? นัก(คริสต์)ศาสนศาสตร์

ก่

อนอื่นผมอยากจะบอกท่านว่า ผมรู้ สึกดีใจที่ท่านตัดสิน ใจอ่านบทความนี ้ เพราะเมื่อคริ สเตียนได้ ยินค�ำว่า “คริ สต์ ศาสนศาสตร์ ” ก็มกั จะคิดว่าเป็ นเรื่ องที่ยาก น่าเบื่อ และไกลตัว ดังนันจึ ้ งไม่ค่อยมีใครสนใจเรื่ องนี ้ แต่ในความเป็ นจริ ง คริ สต์ ศาสนศาสตร์ ใกล้ ตวั เรามากกว่าทีค่ ดิ บทความชุดนี ้จะช่วยให้ ทา่ น เห็นความจริ งนี ้ชัดเจนขึ ้น อีกทังจะช่ ้ วยให้ ทา่ นได้ รับประโยชน์จาก คริ สต์ศาสนศาสตร์ มากขึ ้นด้ วย

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

เป็ นทางขึ ้นเขา รถจึงค่อยๆ วิ่งช้ าลง จนในที่สดุ ก็หยุดอยูข่ ้ าง ทางด้ วยความปลอดภัย ผู้โดยสารต่างรู้สกึ โล่งอก ปรบมือ ด้ วยความยินดี และในเวลานันเอง... ้ นาย ก. อธิษฐานขอบคุณสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ทงหลายในสากลโลกที ั้ ่ ปกป้องคุ้มครอง นางสาว ข. คิดในใจว่า “ดีนะ ที่ฉนั ท�ำบุญมาเยอะ” นาย ค. คิดในใจว่า “นี่แหละ พระราชกิจการช่วยกู้ของพระเจ้ า ผู้ทรงสัพพัญญู องค์เอลชัดดาย” นางสาว ง. ขอบคุณพระเจ้ าที่ปกป้องจากอันตราย และตังใจ ้ จะเอาจริ งเอาจังกับพระเจ้ ามากขึ ้น นาย จ. เดินไปขอบคุณคนขับ แล้ วบอกว่า “คุณมี ความ สามารถในการขับรถที่ยอดเยี่ยมมาก”

นตอนแรกของบทความชุดนี ้ ผมอยากเริ่มต้ นด้ วยการเล่า เหตุการณ์หนึง่ ให้ กบั ท่าน เรื่ องมีอยู่วา่ ... ในขณะที่รถประจ�ำทางคันหนึง่ ก�ำลัง วิง่ ไปบนหนทางที่คดเคี ้ยวและลาดชัน ผู้โดยสารเริ่มสังเกตว่า มีบางอย่างผิดปกติ ในทันใดนัน้ คนขับรถตะโกนว่า “รถเบรก แตก ทุกคนเกาะแน่นๆ!” ผู้โดยสารทุกคนต่างตกใจและเตรียม ตัวรับแรงกระแทกที่อาจจะเกิดขึ ้น ในช่วงเวลาหน้ าสิว่ หน้ าขวานนัน้ คนขับรถพยายาม จากการตอบสนองของแต่ละคน ท่านคิดว่า “ใครคือ ตังสติ ้ บังคับรถให้ เลี ้ยวไปตามถนน ชะลอความเร็วโดยการ ใช้ เกียร์ ตำ�่ เนื่องจากถนนช่วงนันเริ ้ ่มเป็ นทางราบและก�ำลังจะ นักศาสนศาสตร์ ?” (ลองหยุดคิดสักครู่นะครับ)

นส่วนใหญ่ คงตอบว่า “นาย ค.” เพราะนัก ศาสนศาสตร์ ใ นความ คิดของเรา คือ ผู้ที่เข้ าใจประเด็นยากๆ เกี่ ย วกับ พระเจ้ า และมัก จะใช้ ภ าษา ที่คนทัว่ ไปฟั งแล้ วไม่เข้ าใจ นอกจาก นัน้ เมื่ อ พิ จ ารณาการตอบสนองของ คนอื่นๆ ในสถานการณ์ นี ้แล้ ว ก็ไม่น่า จะมีใครที่ถือว่าเป็ นนักศาสนศาสตร์ ได้ โดยเฉพาะ “นาย จ.” ที่ยกย่องความ สามารถของมนุษย์ แต่ไม่สนใจศาสนา แม้ แต่น้อย

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว - ตอนที่ 1 ใครคือนัก(คริสต์)ศาสนศาสตร์?

แท้ จริงแล้ ว เราจะตอบค�ำถามนี ้ ได้ ก็ตอ่ เมื่อเราเข้ าใจความหมายของค�ำ ว่า “ศาสนศาสตร์ ” ค�ำว่า “ศาสนศาสตร์ ” มาจาก ค�ำว่า Theology ในภาษาอังกฤษ ซึง่ มา จาก 2 ค�ำ ในภาษากรี ก คือ 1. θεος (เตออส) แปลว่า “พระเจ้ า” 2. λογος (ลอกอส) แปลว่า “ค�ำพูด (การ เรี ยน การสอน การพูดคุย) หรื อ เหตุผล” Theology จึ ง มี ค วามหมาย ตามตัวอักษรว่า “การเรี ยน การสอน

การพูดคุยเกี่ยวกับพระเจ้ า” หรื อ “การ คิดหาเหตุผลเกี่ยวกับพระเจ้ า” อย่างไร ก็ตาม เราต้ องไม่ลืมว่า เตออส ในภาษา กรี ก สามารถหมายถึง เทพเจ้ าองค์อื่นๆ ได้ ด้วย ค�ำว่า “พระเจ้ า” ในที่นี ้ จึงไม่ ได้ จ�ำกัดเฉพาะพระเจ้ าของคริ สเตียน เท่า นัน้ แต่ร วมถึ ง ความจริ ง สูง สุด ที่ มนุษย์แต่ละคนยึดถือ ด้ วยเหตุนี ้ เรา จึงสรุ ปได้ ว่า ความหมาย กว้ างๆ ของ “ศาสนศาสตร์ ” คือ “การคิดหาเหตุผล เกี่ยวกับความจริ งสูงสุด” หน้า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ความจริ งสูงสุดส�ำหรั บแต่ละ คนอาจแตกต่างกัน แต่ทุกคนล้ วนมี สิง่ ที่ตนเองยึดถือ ในขณะที่คริ สเตียน เชื่อในพระเจ้ าผู้ทรงด�ำรงเป็ นพระบิดา พระบุ ต ร และพระวิ ญ ญาณบริ สุท ธิ์ ชาวยิวนมัสการพระยาห์ เวห์ มุสลิม นับถืออัลลอฮ์ ชาวพุทธยกย่องธรรมะ ส่วนคนรุ่ นใหม่ที่ไม่นับถื อศาสนาใดๆ นัน้ แท้ จริ งแล้ วก็ยดึ มัน่ ในตนเอง ดังนัน้ มนุษย์ทกุ คนจึงมีการคิดหาเหตุผลเกี่ยว กับความจริ งสูงสุด หรื อ มีศาสนศาสตร์ ของตนเอง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

พระเจ้าทรงมีพระประสงค์ ให้ผู้เชื่อ ในแต่ละยุคสมัย และท้องถิ่น สร้างศาสนศาสตร์ ที่ดีและเหมาะสมกับบริบท ของตนเอง

ห า ก เ ร า ย้ อ น ก ลั บ ไ ป ต อ บ ค�ำถามในตอนต้ น เราจะพบว่า แท้ จริง แล้ ว ทุกคนคือนักศาสนศาสตร์ !! แต่ พวกเขามี ศ าสนศาสตร์ ที่ แ ตกต่า งกัน ส�ำหรับ นาย ก. ความจริ งสูงสุดของเขา คือ สิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ตา่ งๆ นางสาว ข. เชื่อ ในผลบุญ นาย ค. มีความเข้ าใจที่ลกึ ซึ ้งเกี่ยวกับพระเจ้ าและพระราชกิจของ พระองค์ นางสาว ง. ส�ำนึกในพระคุณ ของพระเจ้ าและตัง้ ใจจะตอบสนอง ต่อพระคุณนัน้ ส่วน นาย จ. ยกย่อง ความสามารถของมนุษย์ทที่ ำ� ให้ พ้นจาก อันตราย ดังนัน้ ค�ำถามที่เราควรจะถาม ต่อไปก็คือ “ในฐานะที่เราเป็ นคริ สเตียน เราควรจะมีศาสนศาสตร์ แบบไหน?” ผม เชื่อว่า พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ให้ เรา มีศาสนศาสตร์ ที่มีลกั ษณะ 3 ประการ คือ คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว - ตอนที่ 1 ใครคือนัก(คริสต์)ศาสนศาสตร์?

1. คริสต์ศาสนศาสตร์ หรือ ศาสนศาสตร์ คริสเตียน

ในขณะที่ผ้ คู นมีศาสนศาสตร์ ที่ อ ยู่ บ นพื น้ ฐานความเชื่ อ ที่ ห ลาก หลาย ไม่วา่ จะเป็ นการนับถือเทพเจ้ า ต่ า งๆ การยึ ด หลัก ปรั ช ญา หรื อ การพึ่งพาความสามารถของตนเอง พระเจ้ าปรารถนาให้ คริสเตียนมีศาสนศาสตร์ ที่ อ ยู่บนพื น้ ฐานความเชื่ อ ใน พระองค์ ดังนัน้ แทนที่จะใช้ ค�ำว่า “ศาสนศาสตร์ ” เราน่าจะแปลค�ำว่า Theology เป็ นภาษาไทยว่า “คริ สต์ ศาสนศาสตร์ ” แม้ ว่าค�ำนี ้จะตรงกับ ค�ำว่า Christian Theology มากกว่า แต่การใช้ ค�ำว่า “คริ สต์” ขยายค�ำว่า “ศาสนศาสตร์ ” เป็ นการท�ำให้ เข้ าใจ ชัดเจนขึ ้นว่า ศาสนศาสตร์ ที่กล่าวถึง นี ้มิได้ เป็ นศาสนศาสตร์ โดยทัว่ ไป แต่ เป็ นศาสนศาสตร์ ที่อยูบ่ นรากฐานของ คริ สต์ศาสนา

2. คริสต์ศาสนศาสตร์ ท่ดี ี

การมี ศ าสนศาสตร์ ที่ อ ยู่ บ น รากฐานของคริ ส ต์ ศ าสนาเท่ า นั น้ ไม่เพี ยงพอ เราจ� ำเป็ นต้ องมี คริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดีด้วย นั่นคือ คริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ มี พื น้ ฐานอยู่ บ น พระคัมภีร์ เรี ยนรู้ จากประวัติศาสตร์ และเกี่ ยวข้ องกับวัฒนธรรม (ผมจะ กล่าวถึงหัวข้ อนี โ้ ดยละเอียดในตอน ต่อไป) พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ให้ ผ้ ู เชื่อในแต่ละยุคสมัยและท้ องถิ่น สร้ าง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดีและเหมาะสม กับบริ บทของตนเอง แต่เรามักเข้ าใจ ผิดว่าคริสต์ศาสนศาสตร์ คือ การศึกษา เกี่ยวกับหลักข้ อเชื่อของคริสเตียน หรื อ แนวคิดของนักศาสนศาสตร์ ในอดีต (ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นชาวตะวันตก) เราจึง มัวแต่ศกึ ษาคริ สต์ศาสนศาสตร์ ของผู้

อื่น แต่ลมื สร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ของ ตนเอง บทความชุดนี ้จึงถูกเขียนขึ ้น เพือ่ น�ำเสนอแนวทางในการสร้ างคริสต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดีและเหมาะสมกับชาว ไทยในปั จจุบนั

3. คริสต์ศาสนศาสตร์ ท่มี ีชีวติ

สิง่ ส�ำคัญประการสุดท้ าย เรา จ�ำเป็ นต้ องมี คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่มี ชีวิต คือ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ไม่หยุด อยูใ่ นโลกของวิชาการ แต่ก้าวไปสูโ่ ลก แห่งความเป็ นจริ ง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดีจะต้ องมีอิทธิพลที่ดีตอ่ ชีวิตของเรา ด้ วย ย้ อนกลับไปที่เรื่ องเล่าในตอน ต้ น ในขณะที่คริ สต์ศาสนศาสตร์ ของ “นาย ค.” เน้ นที่ “ความเข้ าใจ” แต่ไม่ ได้ แสดงให้ เห็นว่าสิ่งนี ม้ ีความหมาย ส�ำหรับชีวิตของเขาอย่างไร “นางสาว ง.” ไม่เพียงแต่เข้ าใจว่าพระเจ้ าเป็ นผู้ที่ ปกป้องเธอจากอันตรายเท่านัน้ แต่สงิ่ นันเปลี ้ ย่ นแปลงชีวติ ของเธอด้ วย นี่คอื คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่มีชีวิต!

สรุป

ในขณะที่ทุกคนคือนักศาสนศาสตร์ พระเจ้ าปรารถนาให้ คริ สเตียน สร้ างศาสนศาสตร์ บนพื ้นฐานความจริ ง ของพระเจ้ า เป็ นคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี และเหมาะสมกับบริบทของตนเอง รวม ทังเป็ ้ นคริสต์ศาสนศาสตร์ ทมี่ ชี ีวติ นี่คอื จุดเริ่ มต้ นของคริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ ตัว ที่จะน�ำไปสู่ชีวิตคริ สเตียนที่เติบโต ขึ ้น คริ สตจักรที่เข้ มแข็งขึ ้น และสังคม ที่ดีขึ ้นต่อไป ให้ เรามาเป็ นนั กคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ด้วยกันนะครั บ.. ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร มกราคม 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้า 2


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

สร้างคริสต์ศาสนศาสตร์ที่ดี

ตอนที่ 2

นตอนที่แล้ ว เราพบว่า “ศาสนศาสตร์ ” ในความหมายกว้ างๆ หมายถึง “การคิดหาเหตุผลเกี่ยวกับความ จริ งสูงสุด” ดังนัน้ มนุษย์ทกุ คนจึงเป็ นนัก ศาสนศาสตร์ เพราะทุกคนต่างมีการคิด หาเหตุผลเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเชื่อ อย่างไร ก็ตาม พระเจ้ ามีพระประสงค์ให้ คริสเตียน เป็ นนักคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่สร้ างศาสนศาสตร์ ที่ดีบนพืน้ ฐานของคริ สต์ ศาสนา และด� ำ เนิ น ชี วิ ต สอดคล้ อ งกับ สิ่ ง ที่ เ รา เชื่อ ในตอนนี ้ เราจะมาพิจารณาต่อไป ว่า “คริ สต์ ศาสนศาสตร์ (ที่ดี)คืออะไร?” และ “เราจะสร้ างคริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ ที่ดีได้ อย่างไร?” ความเข้ าใจนี จ้ ะช่วย ให้ คริ สเตี ยนเห็นว่า แท้ จริ งแล้ ว คริ สต์ ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องใกล้ ตวั และเราทุก คนสามารถสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ทดี่ ไี ด้

คริสต์ศาสนศาสตร์ (ที่ด)ี

คืออะไร?

คนส่ว นใหญ่ เ ข้ า ใจว่า คริ ส ต์ ศาสนศาสตร์ หมายถึง การสรุปค�ำสอน ของพระคัมภีร์ออกมาเป็ นหัวข้ อ บาง คนคิดว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ หมายถึง การศึกษาแนวคิดของนักศาสนศาสตร์ ที่ มีชอื่ เสียง ความเข้ าใจเหล่านี ้ถูกต้ อง แต่ ยังไม่ครบถ้ วนสมบูรณ์ และห่างไกลจาก ชีวิตจริ ง ดังนัน้ ผมจึงอยากจะเสนอ ว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ หมายถึง “ความ พยายามของคริ สเตียนในการแสวงหา หลักค�ำสอน การด�ำเนินชีวิต และการ ท� ำพันธกิ จ ที่ สอดคล้ องกับความจริ ง ของพระเจ้ า และเหมาะสมกับบริ บท

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 2 สร้างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ทีด่ ี

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ของตนเอง” หรื อพูดอีกอย่างหนึ่งว่า คริสต์ศาสนศาสตร์ คือ “การที่คริสเตียน พยายามหาค�ำตอบว่า สิง่ ที่ตนเองเชื่อ ท�ำ และรับใช้ พระเจ้ านัน้ สอดคล้ อง กับพระประสงค์ของพระเจ้ า และเหมาะ สมกับสถานการณ์ของตนเองมากน้ อย เพียงใด” จากความหมายนี ้ เราพบว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ ไม่ได้ เป็ นเพียงเรื่ อง ของวิชาการเท่านัน้ แต่เกี่ ยวข้ องกับ ชีวิตประจ�ำวันของเราโดยตรง ผลลัพธ์ ของคริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ จึ ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพียงความรู้ ความเข้ าใจ แต่เป็ นการ ที่ ค ริ สเตี ย นสามารถด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ าใน บริ บททางสังคมและประวัติศาสตร์ ที่ พวกเขาอยู่ นอกจากนัน้ เรายังพบว่า ไม่มี คริ ส ต์ ศาสนศาสตร์ ใ ดที่ สมบูร ณ์ แบบ หรื อเหมาะสมกับผู้เชื่อในทุกที่ทกุ เวลา เพราะคริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ เ ป็ นความ พยายามของมนุษย์ทถี่ กู จ�ำกัดด้ วยเวลา และสถานที่ หลักค�ำสอนในอดีตอาจไม่ เหมาะกับสังคมปั จจุบนั แนวทางการท�ำ พันธกิจในโลกตะวันตกอาจไม่เกิดผลใน สังคมตะวันออก ผู้เชื่อในแต่ละยุคสมัย และท้ องถิ่นจึงต้ องศึกษาความจริ งของ พระเจ้ าทีป่ รากฏในพระคัมภีร์ แล้ วเชือ่ ม โยงกับสถานการณ์รอบข้ าง เพื่อสร้ าง

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่สะท้ อนความจริ ง ของพระเจ้ าในบริ บทของตนเอง ด้ วยเหตุนี ้ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ ดี จึงไม่ได้ หมายถึง ผลงานของนัก วิ ช าการที่ ลึก ซึง้ และไม่ มี ข้ อ บกพร่ อ ง แต่ค ริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ ที่ ดี คื อ ความ พยายามที่ ช่ ว ยให้ คริ ส เตี ย นมี ห ลั ก ค� ำ สอน การด� ำ เนิ น ชี วิ ต และการท� ำ พันธกิจ ที่สอดคล้ องกับความจริ งของ พระเจ้ า และตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดีจึงเป็ นสิ่งที่คริ สเตียน ทุกคนน่าจะแสวงหา

คริสต์ศาสนศาสตร์ที่ดี คือ ความพยายามที่ช่วยให้ คริสเตียนมีหลักค�ำสอน การด�ำเนินชีวิต และ การท�ำพันธกิจที่สอดคล้อง กับความจริงของพระเจ้า และตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบข้างได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

เราจะสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ท่ดี ี ได้ อย่ างไร?

คริ สเตียนทุกคนสามารถสร้ างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ได้ หากเราเข้ าใจว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ ดีต้องอาศัยแหล่งข้ อมูลส�ำคัญ 3 ประการ คือ พระคัมภีร์ หลัก ข้ อเชื่อ และบริ บทในปั จจุบนั

พระคัมภีร์ 1. พระคริสตธรรมคัมภีร์ คือ แหล่งข้ อมูลหลักในการสร้ างคริสต์

ศาสนศาสตร์ อย่างไรก็ตาม เราจะสามารถสร้ างคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดีได้ ก็ต่อเมื่อเรารู้ พระคัมภีร์อย่างครบถ้ วน และตีความหมายพระคัมภีร์อย่างถูกต้ อง การรู้พระคัมภีร์อย่างครบถ้ วน หมายถึง การศึกษา พระคัมภีร์ทงเล่ ั ้ มเพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับประเด็น ที่เราสนใจ ไม่ใช่เลือกเพียงบางข้ อหรื อบางตอนเท่านัน้ มิฉะนัน้ เราอาจพลาดข้ อมูลที่ส�ำคัญ และมีความเข้ าใจ คลาดเคลือ่ นไปจากความจริงของพระเจ้ า การตีความหมาย พระคัมภีร์อย่างถูกต้ อง หมายถึง การศึกษาพระคัมภีร์เพือ่ ให้ เข้ าใจความหมายที่แท้ จริ ง มิใช่การยึดตามตัวอักษร หรื อ บิดเบือนความหมายเพื่อสนับสนุนความคิดของตนเอง ดัง นัน้ คริ ส เตี ย นจ� ำ เป็ นจะต้ อ งอ่ า นและศึก ษา พระคัมภี ร์อย่างสม�่ ำเสมอ เพื่อที่เราจะเข้ าใจความจริ ง ของพระเจ้ า และสามารถน�ำเอาความจริ งนันไปสร้ ้ างคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ในประเด็นต่างๆ ต่อไป

หลักข้ อเชื่อ 2. หลักข้ อเชื่อในที่นี ้ หมายถึง หลักข้ อเชื่อของคริ สต์ศาสนา

นิ ก ายและคณะต่ า งๆ รวมทั ง้ ค� ำ สอนของนั ก ศาสนศาสตร์ ในอดีต ในขณะที่พระคัมภีร์เป็ นแหล่งข้ อมูลหลัก เราจ� ำ เป็ นต้ อ งเรี ย นรู้ ด้ ว ยว่า คริ สตจักรคณะต่างๆ มีหลักข้ อ เชื่ออย่างไร และผู้เชื่อในอดีต มีหลักค�ำสอนอย่างไรเกี่ยวกับ ประเด็นที่เราสนใจ โดยเฉพาะ มาร์ติน ลูเธอร์ จอห์น คาลวิน อย่างยิ่ง หลักข้ อเชื่อของนิกาย คณะ และนักศาสนศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องกับเราโดยตรง ยกตัวอย่างเช่น คริ สเตียนนิกาย โปรเตสแตนต์ควรศึกษาแนวคิดพื ้นฐานของมาร์ ติน ลูเธอร์ และ จอห์น คาลวิน คริ สเตียนในสังกัดสภาคริ สตจักรใน ประเทศไทยควรรู้ ว่าสภาคริ สตจักรฯ ยึดมัน่ ในหลักข้ อเชื่อ อย่างไรบ้ าง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 2 สร้างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ทีด่ ี

ถึงแม้ ว่าแนวคิดทางศาสนศาสตร์ ของผู้เชื่อในอดีต จะมีความส�ำคัญรองจากพระคัมภีร์ และไม่สมบูรณ์แบบ แต่ สิง่ นี ้มีคณ ุ ค่าอย่างยิ่งส�ำหรับเรา เพราะจะช่วยให้ เราเห็นว่า ตลอดประวัติศาสตร์ คริ สตจักร ผู้เชื่อมีความเข้ าใจอย่างไร บ้ างเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ช่วยให้ เห็นสิ่งดีที่ควรเอาอย่าง ข้ อผิดพลาดที่ต้องหลีกเลี่ยง และอันตรายที่ต้องระมัดระวัง อีกทังช่ ้ วยให้ เราสามารถสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ทไี่ ม่ขดั แย้ ง กับหลักข้ อเชื่อพื ้นฐานของคริ สตจักรที่เราสังกัด

บริบทในปั จจุบนั 3. แหล่งข้ อมูลสุดท้ ายที่ ขาดไม่ได้ ในการสร้ างคริ สต์ ศาสน-

ศาสตร์ ที่ดี คือ บริ บทในปั จจุบนั โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สภาพ สังคม วัฒนธรรม และความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง กับประเด็นที่เราสนใจ เราจ�ำเป็ นต้ องเชื่อมโยงความจริ ง จากพระคัมภีร์และหลักข้ อเชื่อ กับ สิ่งที่เราก�ำลังเผชิญอยู่ ในปั จจุบนั มิฉะนัน้ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่เราสร้ างขึน้ จะ เป็ นเพียงสิ่งที่สอดคล้ องกับพระคัมภีร์และหลักข้ อเชื่อของ คริ สเตียนในอดีต แต่ไม่ได้ สะท้ อนความจริ งของพระเจ้ าใน ปั จจุบนั และไม่สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ปัจจุบนั ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

สรุป

ในตอนนี ้ เราได้ พิจารณาถึงความหมายของคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ลักษณะของคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี และแหล่ง ข้ อมูลส�ำคัญ 3 ประการในการสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี คือ พระคัมภีร์ หลักข้ อเชื่อ และบริ บทในปั จจุบนั เนื ้อหาของตอนนี ้เป็ นการกล่าวโดยสรุป ท่านอาจยัง ไม่เห็นภาพที่ชดั เจนเกี่ยวกับวิธีการสร้ างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ ดี อย่างไรก็ตาม ขอให้ ทา่ นจดจ�ำแนวคิดพื ้นฐานนี ้ไว้ เพราะ สิง่ เหล่านี ้เป็ นหัวใจส�ำคัญของการสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ทดี่ ี ในตอนต่อๆ ไป เราจะน�ำหลักการนี ้ไปสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ในประเด็นต่างๆ ส�ำหรับชาวไทย เพือ่ ทีค่ ริสเตียนไทยจะได้ เห็น ว่า คริสต์ศาสนศาสตร์ เป็ นสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับชีวติ ประจ�ำวัน และ ได้ รับประโยชน์จากคริ สต์ศาสนศาสตร์ อย่างแท้ จริ ง ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร กุมภาพันธ์ 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 2


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 3

โลกนี้ ของพระบิดา โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

นตอนที่แล้ ว เราพบว่า “คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี” คือ “ความพยายามที่ชว่ ยให้ คริ สเตียนมีหลักค�ำสอน การด�ำเนินชีวิต และการท�ำพันธกิจ ที่สอดคล้ องกับความ จริ งของพระเจ้ า และตอบสนองต่อสถานการณ์รอบข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ” คริ สเตียน ทุกคนสามารถสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ที่ดเี กี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ได้ โดยอาศัยแหล่งข้ อมูลส�ำคัญ 3 ประการ คือ พระคัมภีร์ หลักข้ อเชื่อ และบริ บทในปั จจุบนั ในตอนนี ้ และตอนต่อๆ ไป เราจะมา “ร่วมกันสร้ าง” คริ สต์ศาสนศาสตร์ ในประเด็น ต่างๆ ส�ำหรับชาวไทยด้ วยกัน การทีผ่ มใช้ คำ� ว่า “ร่วมกันสร้ าง” ก็เพราะว่าพระเจ้ าทรงปรารถนา ให้ ผ้ เู ชื่อทุกคนเป็ นนักคริ สต์ศาสนศาสตร์ ดังนัน้ ในขณะที่ทา่ นอ่านบทความนี ้ (ซึง่ เป็ นการ ศึกษาโดยสรุปเท่านัน) ้ ขอให้ ทา่ นพิจารณาแต่ละประเด็นไปพร้ อมๆ กัน โดยคิดถึงสิง่ อื่นๆ ที่ ผมไม่ได้ พดู ถึงด้ วย ไม่วา่ จะเป็ นพระคัมภีร์ตอนอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้ อง หลักข้ อเชื่อของคณะ/ค�ำสอน ของนักศาสนศาสตร์ คนอื่นๆ และสถานการณ์ปัจจุบนั โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สิง่ ที่ตวั ท่านเอง ต้ องเผชิญ เพื่อที่ผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดีและมีชีวิต คือ เป็ นคริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ ตวั ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินชีวิตและการท�ำพันธกิจของท่านอย่างแท้ จริ ง หัวข้ อแรกที่เราจะพิจารณาร่ วมกัน คือ “คริ สต์ศาสนศาสตร์ เรื่ องการทรงสร้ างใน บริ บทไทย” แต่เนื่องจากพื ้นที่ของบทความที่จ�ำกัด แทนที่เราจะพิจารณาแหล่งข้ อมูลตาม ล�ำดับ เราจะเริ่ มต้ นด้ วยสถานการณ์ของคนไทยที่เกี่ยวข้ องกับการทรงสร้ าง จากนันเราจะ ้ ศึกษาพระคัมภีร์และหลักข้ อเชื่อที่สอนชาวไทยในเรื่ องนี ้อย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อหาค�ำตอบ ว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เรื่ องการทรงสร้ างในบริ บทไทยควรมีเนื ้อหาโดยสรุปว่าอย่างไร?

บริบทในปั จจุบัน เป็ นอย่ างไร?

คนไทยได้ รับการปลูกฝั งว่าทุก สิ่งเกิดขึ ้นมาเองตามธรรมชาติ แต่ใน เวลาเดียวกันก็ได้ รับอิทธิพลจากความ เชื่ อในโชคชะตาราศี และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ต่างๆ ดังนัน้ คนไทยส่วนใหญ่จึงพึ่ง ตนเองเป็ นหลัก แต่ก็พึ่งพาสิ่งเหล่านี ้ ควบคูไ่ ปด้ วย สิง่ ต่างๆ ในธรรมชาติที่ มองเห็น ล้ วนย� ้ำเตือนถึงพลังอ�ำนาจที่ มนุษย์ต้องเกรงกลัว ส�ำหรับคริ สเตียน ไทย แม้ ว่าจะมี ความเชื่ อในพระเจ้ า พระผู้สร้ าง แต่ก็มกั จะรู้ สึกว่าพระองค์ ทรงเป็ นเหมือนสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ทอี่ ยูห่ า่ งไกล นอกจากนัน้ คริ สเตียนบางคนยังอยูใ่ ต้ อิทธิพลของความเชือ่ อืน่ ๆ เช่น คิดว่าวัน เดือนปี เกิดจะก�ำหนดสถานการณ์ตา่ งๆ ในชีวิต เชื่ อว่าบางวันเป็ นวันดี ส่วน บางวันนัน้ ไม่ดี เข้ าใจว่าสัตว์หรื อพืช บางชนิดจะน�ำโชคลาภมาสู่ครอบครัว หรื อพึง่ พาอ�ำนาจของผีและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธ์ ต่างๆ เมือ่ คริสเตียนไทยมองดูธรรมชาติ ก็คิดถึงความยิ่งใหญ่ของพระเจ้ า แต่ มักจะลืมคิดว่าต่อไปว่า พระเจ้ าองค์นี ้ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 3 โลกนีข้ องพระบิ ดา

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ทรงเกี่ยวข้ องกับชีวิตของเราอย่างไร อีกสถานการณ์ หนึ่งที่เรามอง ข้ ามไม่ได้ คือ การท�ำลายสิ่งแวดล้ อม ในประเทศไทยและทัว่ โลก ในแต่ละวัน ทรัพยากรธรรมชาติถกู ท�ำให้ เสือ่ มสูญไป อย่างรวดเร็ ว อัตราการสูญพันธุ์ของสิง่ มีชีวติ เพิ่มมากขึ ้น ภูมิอากาศแปรปรวน มลพิษมากขึ ้น และภัยธรรมชาติรุนแรง ขึน้ นอกจากนัน้ หากเราพิจารณา ถึงทรั พยากรมนุษย์ เราก็ พบปั ญหา มากมายในสังคมที่ท�ำให้ คณ ุ ภาพชีวิต ของมนุษย์แย่ลงไปเรื่ อยๆ ทังทางด้ ้ าน สุขภาพร่างกายและจิตใจ ศีลธรรม และ สังคม แต่นา่ เศร้ าที่ผ้ คู นยังด�ำเนินชีวิต ต่อไปราวกับว่าไม่มีอะไรเกิ ดขึน้ หรื อ มักจะโยนความผิดให้ คนอื่น ประเทศ อื่น หรื อทวีปอื่น โดยไม่คดิ ว่าตนเองจะ ท�ำอะไรบ้ างเพื่อรักษาโลกใบนี ้ให้ ดีที่สดุ และเพื่อแก้ ไขปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ ้นใน สังคม ในสถานการณ์เช่นนี ้ คริสเตียน ไทยต้ องถามต่อไปว่า “พระคัมภีร์และ ผู้เชื่อในอดีตสอนเราอย่างไรบ้ างเกี่ยว กับเรื่ องนี ้?” หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

พสอนว่าอย่างไร? ระคัมภีร์

มีพระคัมภีร์อย่างน้ อย 2 ตอน ที่ สอนเรื่ องการทรงสร้ างอย่างเฉพาะ เจาะจง คือ ปฐมกาล บทที่ 1-2 และ วิวรณ์ 21:1-5

บทที่ 1 และ 2 ป ฐมกาล คริ สเตียนส่วนใหญ่จ�ำได้ อย่าง

ขึ ้นใจว่า ในเจ็ดวันแห่งการทรงสร้ าง นัน้ พระเจ้ าทรงกระท�ำอะไรบ้ าง แต่ เรามัก จะมุ่ง ความสนใจไปที่ ค วาม หมายของค�ำว่า “วัน” และล�ำดับขัน้ ตอนของการทรงสร้ าง จนลืมไปว่า สิ่งที่ผ้ เู ขียนปฐมกาลต้ องการเน้ น คือ ความจริ งที่ว่า ทุกสิ่งไม่ได้ เกิดขึน้ มา เองตามธรรมชาติ แต่ถกู สร้ างขึ ้นมา อย่างเป็ นระบบระเบียบโดยพระเจ้ า องค์เที่ยงแท้ มากกว่านัน้ ผู้เขียนกล่าวถึงสิง่ ต่างๆ ที่พระเจ้ าทรงสร้ างขึ ้นในแต่ละ วัน เพื่อให้ ผ้ อู ่านในอดีตรู้ ว่า อ�ำนาจ ต่างๆ ที่ผ้ ูคนเกรงกลัว ไม่ว่าจะเป็ น ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซงึ่ ถือว่าเป็ น เทพเจ้ า ดวงดาวที่เชื่อว่าก�ำหนดชะตา ชีวิต ต้ นไม้ หรื อสัตว์ที่เชื่อว่าศักดิ์สทิ ธิ์ แท้ จริ งแล้ ว สิง่ ต่างๆ ในธรรมชาติเป็ น เพียงสิง่ ที่พระเจ้ าทรงสร้ างขึ ้น และอยู่ ภายใต้ อ�ำนาจของพระองค์ ดังนัน้ สิ่ ง เหล่า นัน้ จะไม่ ส ามารถมี อิ ท ธิ พ ล เหนือชีวติ ของพวกเขาได้ พวกเขาจึงไม่ ต้ องเกรงกลัวหรื อพึง่ พาสิง่ เหล่านัน้ แต่ ควรจะไว้ วางใจและนมัสการพระเจ้ า ผู้ยิ่งใหญ่สงู สุดองค์นี ้ สิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่ง คือ ในขณะที่พืชและสัตว์ถกู สร้ างขึ ้นตาม ชนิ ดของมัน ผู้เขี ยนย� ำ้ ว่า พระเจ้ า ทรงสร้ างมนุษย์ขึ ้นมาตามพระฉายา ของพระองค์ ทรงให้ ม นุ ษ ย์ ค รอบ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 3 โลกนีข้ องพระบิ ดา

ครองสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ พ ระองค์ ท รงสร้ าง (1:26-28) ทัง้ ยัง ทรงให้ ม นุษ ย์ ท� ำ และรักษาสวน (2:15) ดังนัน้ มนุษย์ จึงสามารถสะท้ อนพระลักษณะของ พระเจ้ า มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ ชิดกับ พระองค์ และมีความรั บผิดชอบใน การดูแล พัฒนาโลกนี ้ให้ ดขี ึ ้นเพือ่ ถวาย พระเกียรติแด่พระเจ้ า

วิ วรณ์แม้21:1-5 ว่าในปั จจุบนั มนุษย์และ

สิ่งทรงสร้ างจะอยู่ภายใต้ อิทธิพลของ ความบาป และในที่สุด สิ่งสารพัด ก็จะสูญสิ ้นไป แต่พระคัมภีร์ได้ กล่าว ถึงการสร้ างใหม่ของพระเจ้ าที่จะเกิด ขึ ้นในอนาคต คือ ท้ องฟ้า(สวรรค์)ใหม่ และแผ่นดินโลกใหม่ที่พระเจ้ าจะทรง สถิตอยูก่ บั มนุษย์ ณ ที่นนั่ “พระเจ้ า จะทรงเช็ ด น� ำ้ ตาทุก ๆ หยดจากตา ของเขา ความตายจะไม่มีอีกต่อไป การคร�่ ำครวญ การร้ องไห้ และการ เจ็บปวดจะไม่มอี กี ต่อไป เพราะยุคเดิม นันได้ ้ ผา่ นพ้ นไปแล้ ว” จากพระคัมภีร์ ตอนนี ้ เราเห็นอย่างชัดเจนว่า แม้ ใน วันนี ้ อ�ำนาจของความบาปและความ ตายดูเหมือนมีชยั แต่ในความเป็ นจริง นัน้ พระเจ้ ายังทรงครอบครองอยู่ ใน วันสุดท้ าย พระเจ้ าจะทรงเป็ นผู้มีชยั และผู้เชื่อจะได้ อยู่ในสวรรค์ใหม่และ แผ่นดินโลกใหม่ร่วมกับพระองค์ ซึ่ง แม้ ว่าเราจะไม่เข้ าใจว่าการสร้ างใหม่ นี ้จะมีลกั ษณะอย่างไรแน่ แต่เรามัน่ ใจ ได้ ว่า ผู้เชื่อและสิ่งทรงสร้ างต่างๆ จะ ได้ รับการปลดปล่อยจากอ�ำนาจของ ความบาป แล้ วอยูก่ บั พระเจ้ าตลอด ไปชัว่ นิรันดร์

ขอให้เรามั่นใจว่า แม้ในโลกปัจจุบัน จะเต็มไปด้วย ความบาปและความชั่วร้าย แต่พระเจ้า ยังทรงเป็น ผู้ครอบครองอยู่... และในที่สุด พระเจ้า จะทรงสร้างฟ้าสวรรค์ใหม่ และแผ่นดินโลกใหม่ ตามแผนการของพระองค์ อย่างแน่นอน

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ผู้เชื่อในอดีตสอนว่าอย่างไร? สรุป ในขณะที่ เราได้ เรี ยนรู้ เรื่ องการทรงสร้ างจากหลัก ข้ อเชือ่ และค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ หลายๆ ท่าน ผมพบว่า เพลงไทยนมัสการ “โลกนี ้ของพระบิดา” ซึง่ มาจากบทกวีของ มอลท์บี ดี. แบพคอค (Maltbie D. Babcock, 1858-1901) ศิษยาภิบาลคริ สตจักรเพรสไบทีเรี ยน ประเทศสหรัฐอเมริ กา ช่วยให้ เราเข้ าใจความจริ งของพระเจ้ าในเรื่ องการทรงสร้ าง อย่างชัดเจนจริ งๆ “โ ได้ยินบทเ ลกนี้ของพระบิดา พลงธรรม ยามเม โลกนี้ของ ชาติบรรเลง เป็น ื่อข้าฯ เงี่ยหูฟัง ราชกิจนา พระบิดา ข้า เสียงเพลงโลก จ ฯ นาปรากฏ ในนภา ตรึกนึกในกมล ักรวาล แผ่นผาป่า โลกนี้ของ ไม้สายชล พระบิดา แสงทองส ปักษาซ ่องมาอ โลกนี้ของ ุบลขาวพราวตา ส้องประสานเพลง พร รร ท้องนาพง พีเต็มด้วยพะบิดา สรรพสิ่งด เสริญบูชาพระเจ้า ีงา ระฤทธี ทรงตรัสก มส�ำแดง ับข้าฯ ทุก แห่ง แม้ความผ โลกนี้ของพระบิดา ิดบาปร้าย อ ย า ่ ใ ห โลกนี้ของ กาจมากเพียงใด ้ข้าฯ กังวลใจ พระ แต พระผู้วาง วายจะได้พบิดา ความบาปย ่พระเจ้าทรงปกครอ ังไม ง อพระทัย เมื่อโลกสว ่สิ้นพลัน รรค์รวมก ัน”

นี่เป็ นเพลงไทยนมัสการที่ผมชอบมากที่สดุ บทหนึง่ เพราะได้ รั บ การย� ำ้ เตื อ นว่ า ทุก สิ่ ง ที่ เ ราเห็ น ในธรรมชาติ ล้ วนส�ำแดงถึงพระเจ้ าพระผู้สร้ างที่ยิ่งใหญ่สงู สุด ผู้ทรงเป็ น พระบิดาของเรา ดังนัน้ คริ สเตียนควรจะสรรเสริ ญนมัสการ พระเจ้ าร่ วมกับสิ่งทรงสร้ าง และฟั งสิ่งที่พระองค์ตรัสกับเรา ผ่านทางสิ่งเหล่านัน้ นอกจากนัน้ ขอให้ เรามัน่ ใจว่า แม้ ในโลกปั จ จุบันจะเต็ม ไปด้ ว ยความบาปและความชั่วร้ าย แต่พระเจ้ ายังทรงเป็ นผู้ครอบครองอยู่ พระเยซูคริ สต์ ได้ เสด็จมาเพื่ อไถ่ มนุษย์ และสิ่งทรงสร้ างให้ พ้นจากการเป็ น ทาสของความบาปแล้ ว และในที่สดุ พระเจ้ าจะทรงสร้ าง ฟ้าสวรรค์ใหม่และแผ่นดินโลกใหม่ตามแผนการของพระองค์ อย่างแน่นอน

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 3 โลกนีข้ องพระบิ ดา

คริ สต์ศาสนศาสตร์ เรื่ องการทรงสร้ างในบริ บทไทย ควรมีเนื ้อหาโดยสรุปดังนี ้ แท้ จริ ง แล้ ว ธรรมชาติ ถู ก สร้ างขึ น้ โดยพระเจ้ า องค์เที่ยงแท้ สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติอยู่ภายใต้ อ�ำนาจของ พระองค์ จึง ไม่ส ามารถมี อิ ท ธิ พ ลเหนื อ ชี วิ ต ของมนุษ ย์ ไ ด้ ดังนัน้ คริ สเตียนไทยไม่ควรเกรงกลัวหรื อพึง่ พาสิง่ อื่นใด แต่ ควรไว้ วางใจและนมัสการพระเจ้ าแต่เพียงผู้เดียว ความ ยิ่งใหญ่และมหัศจรรย์ของธรรมชาติควรเป็ นสิ่งที่สะท้ อนให้ เราเห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้ า ผู้ทรงเป็ นพระบิดาของเรา ในขณะเดียวกัน เราได้ รับมอบหมายให้ ดแู ล และ พัฒนาโลกนี ้ให้ ดีขึ ้นเพื่อถวายพระเกียรติแด่พระเจ้ า ดังนัน้ เราแต่ละคนจึงมีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อม และร่วมแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้นในสังคม โดยเริ่ มต้ นจากตัวเรา เองก่อน แล้ วก้ าวไปสูส่ งิ่ ต่างๆ ที่เราท�ำร่วมกับผู้อื่นในคริ สตจักร หน่วยงาน สถาบัน และชุมชนของเรา สิ่งที่ ส�ำคัญที่ สุด คื อ เราควรตระหนักอยู่เสมอว่า โลกนี ้เป็ นของพระบิดา พระองค์ทรงอยู่เคียงข้ างเราในโลก ใบนี ้ แม้ ในวันนี ค้ วามบาปอาจดูเหมือนมีชัย แต่พระเจ้ า ยังทรงครอบครองอยู่ ดังนัน้ เราจะด�ำเนินชีวิตที่ติดสนิท กับพระองค์ในแต่ละวัน ท�ำหน้ าที่ที่พระเจ้ ามอบหมายให้ อย่างดีที่สดุ ในวันนี ้ แล้ วในวันสุดท้ าย เราจะได้ มีสว่ นร่วมใน การสร้ างใหม่ของพระเจ้ า คือ อยู่กบั พระองค์ในสวรรค์ใหม่ และแผ่นดินโลกใหม่ตลอดไปชัว่ นิรันดร์ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร มี นาคม 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว ตอนที่ 4

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือ ผู้ศักดิ์สิทธิ์?

นช่ ว งเทศกาลปี ใหม่ ทัง้ ปี ใหม่ ส ากลและ สงกรานต์ของชาวไทย คนไทยมักจะอวยพรกัน และกันโดยขอให้ “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทงหลายในสากลโลก” ั้ ปกป้องรักษาและน�ำสิง่ ที่ดีมาสูช่ ีวติ และเมื่อไหร่ก็ตาม ที่ประเทศชาติอยูใ่ นภาวะวิกฤต ก็จะมีการเรี ยกร้ องให้ ชาวไทยแต่ละคนขอให้ “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเองนับถือ” ช่วยแก้ ไขสถานการณ์ของประเทศให้ ดีขึ ้น แนวคิดนี ้บ่งบอกถึงความเชื่อเช่นใด ส่งผลต่อ คริ สเตียนไทยอย่างไร และเราควรมีมมุ มองอย่างไร? ขอให้ เรามาพิจารณาร่วมกันนะครับ

บริบทในปัจจุบนั เป็ นอย่างไร?

การที่ ช าวไทยมัก จะ ขอพรและความช่วยเหลือจาก สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ต่างๆ สะท้ อนให้ เห็ น ว่ า แม้ คนไทยหั ว สมั ย ใหม่จะปฏิเสธความเชื่อในสิง่ ที่ พิสจู น์ไม่ได้ แม้ ชาวพุทธนิกาย เถรวาทที่เคร่งครัดจะยึดมัน่ ในหลักตนเป็ นที่พงึ่ แห่งตน แต่คนไทยส่วนใหญ่ยงั คง เชื่อถือและพึง่ พาสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ทงที ั ้ ่พวกเขารู้จกั และไม่ร้ ูจกั อย่างไรก็ดี น่าสนใจที่คนไทยใช้ ค�ำว่า “สิ่งศักดิ์สิทธิ์” แทนที่จะใช้ ค�ำว่า “ผู้ศกั ดิ์สทิ ธิ์” ในภาษาไทย เรามักใช้ ค�ำว่า “สิง่ ” กับสิง่ ที่ไม่มีชีวิต หรื อ อะไรก็ตาม ที่เป็ นนามธรรม แต่ใช้ ค�ำว่า “ผู้” กับบุคคลที่มีชีวิต การกล่าวเช่นนี ้จึงเป็ นการ บ่งบอกว่า แม้ คนไทยจะยอมรับในอ�ำนาจที่อยู่เหนือสิ่งของ(เช่น วัตถุศกั ดิ์สิทธิ์) สิ่งมีชีวิต(เช่น สัตว์ศกั ดิ์สิทธิ์) หรื อสิ่งที่เป็ นนามธรรม(เช่น วิญญาณต่างๆ) แต่ พวกเขาไม่ได้ มองว่าอ�ำนาจเหล่านันเป็ ้ นบุคคลทีพ่ วกเขาต้ องเกี่ยวข้ องสัมพันธ์อย่าง ใกล้ ชดิ สิง่ ทีพ่ วกเขาต้ องท�ำเป็ นเพียงการมีสงิ่ ของหรือสัตว์นนไว้ ั ้ ในครอบครอง หรือ ท�ำในสิง่ ที่วิญญาณนันชอบเพื ้ ่อแลกกับสิง่ ที่พวกเขาต้ องการ (เช่น เมื่อบนไว้ ก็ต้อง แก้ บน) ด้ วยเหตุนี ้ จึงไม่ใช่เรื่ องยากที่คนไทยจะยอมรับว่าพระเจ้ ามีจริ ง เพราะ ถือว่าพระองค์เป็ นหนึ่งในศักดิ์สิทธิ์ทงหลายในสากลโลก ั้ แต่พวกเขาไม่ได้ มอง ว่าพระเจ้ าทรงเป็ นบุคคลที่พวกเขาต้ องเกี่ยวข้ องสัมพันธ์ด้วย (แต่ถ้าพระองค์จะ ตอบค�ำอธิษฐานของพวกเขาก็จะเป็ นการดี เพราะพวกเขาได้ รวมพระองค์เข้ าไป ในสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ตา่ งๆ ที่พวกเขาขอความช่วยเหลือแล้ ว) ท่านอาจคิดว่า นี่เป็ นมุมมองของคนไทยที่ไม่ได้ เป็ นคริ สเตียนเท่านัน้ แต่ ผมเชื่อว่ามุมมองนี ้ส่งผลกระทบต่อคริ สเตียนไทยมากกว่าที่เราคิด!! ผลกระทบที่ส�ำคัญประการหนึง่ คือ การที่คริ สเตียนไทยมองพระเจ้ าเป็ น “สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์” แทนที่จะเป็ น “ผู้ศกั ดิส์ ทิ ธิ์” กล่าวคือ มองว่าพระองค์เป็ นพลังอ�ำนาจ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 4 สิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ หรื อ ผูศ้ กั ดิ์ สิทธ์ ?

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ที่ยิ่งใหญ่สงู สุดซึง่ อยูห่ า่ งไกล แทนที่จะ เป็ นบุคคลยิ่งใหญ่ สูงสุดซึ่งประทับอยู่ กับเรา ด้ วยเหตุนี ้ แม้ วา่ คริ สเตียนไทย จะเชือ่ วางใจในพระเจ้ า แต่มกั จะมีความ สัมพันธ์ ที่เหินห่างจากพระองค์ โดย มี ปฏิ สัมพันธ์ กับพระองค์ ในบางเวลา และสถานที่เท่านัน้ เช่น จะอธิษฐาน ก็ ต่ อ เมื่ อ มี ปั ญ หา จะนมัส การก็ ต่ อ เมื่ออยูท่ ี่คริ สตจักร เป็ นต้ น สิง่ ที่ตาม มาก็คือ คริ สเตียนไทยไม่น้อยพลาด โอกาสที่ได้ ร้ ู จกั กับพระเจ้ าในฐานะของ “พระบิดา” และพร้ อมที่จะทิ ้งพระเจ้ า ไปหา “สิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์” อื่นๆ หากพระองค์ ไม่ตอบค�ำอธิษฐานของพวกเขา ในสถานการณ์เช่นนี ้ คริสเตียน ไทยจ�ำเป็ นต้ องถามว่า “พระคัมภีร์และผู้ เชื่อในอดีตสอนเราอย่างไรเกี่ยวกับเรื่ อง นี ้?”

Altar - แท่นนมัสการส�ำหรับ ”พระเจ้าทีไ่ ม่รู้จกั ” ทีช่ าวเอเธนส์ได้สร้างขึ้น หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

พระคัมภีร์สอนว่าอย่างไร?

แม้ วา่ พระเจ้ าจะเป็ นพระวิญญาณที่มองไม่เห็น แต่ พระองค์ก็ไม่ได้ เป็ นพลังอ�ำนาจที่ไม่มีตวั ตน พระคัมภีร์ตลอด ทังเล่ ้ มชี ้ให้ เห็นว่าพระเจ้ าทรงเป็ นบุคคล พระองค์ทรงด�ำรง อยู่ตงแต่ ั ้ นิรันดร์ กาลถึงนิรันดร์ กาล พระองค์ทรงเป็ นผู้สร้ าง สรรพสิง่ รวมทังมนุ ้ ษย์ และพระองค์ทรงปรารถนาให้ มนุษย์ ได้ ร้ ู จกั และมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ ชิดกับพระองค์ พระคัมภีร์ หลายๆ ตอนที่กล่าวถึงพระเจ้ าในฐานะของพระบิดา และ กล่าวถึงผู้เชื่อในฐานะลูกของพระองค์ ยืนยันถึงความจริ งนี ้ อย่างชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น ค�ำกล่าวของยอห์นที่วา่ “ลอง คิดดู พระบิดาได้ ประทานความรั กแก่เราเพียงไร ที่เราได้ ชื่อว่าเป็ นลูกของพระเจ้ า...” (1 ยอห์น 3:1—ฉบับมาตรฐาน) พระคัมภีร์อีกตอนหนึ่งที่เป็ นประโยชน์มากส�ำหรับ คริ สเตียนไทย คือ ค�ำกล่าวของเปาโลต่อชาวเมืองเอเธนส์ (กิจการฯ 17) ในขณะที่ชาวเอเธนส์นมัสการรูปเคารพ และ มีการสร้ างแท่นส�ำหรับ “พระเจ้ าที่ไม่ร้ ูจกั ” (หากเป็ นเมืองไทย ก็คงเป็ นแท่นส�ำหรับ “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทงั ้ หลายในสากลโลก”) เปาโลได้ ประกาศให้ พวกเขารู้ ว่าพระเจ้ าที่พวกเขาไม่ร้ ู จกั นัน้ ทรงเป็ นผู้ใด (ข้ อ 23) สิง่ ที่เปาโลเน้ นก็คือ พระเจ้ าองค์นี ้ทรง เป็ นพระผู้สร้ าง พระองค์ไม่ได้ อยู่ในวัตถุที่มนุษย์สร้ างขึน้ พระองค์ทรงเป็ นผู้ประทานชีวติ ให้ กบั มนุษย์ เพื่อให้ มนุษย์ได้ แสวงหาพระเจ้ าและพบพระองค์ เพราะแท้ จริ งแล้ ว พระองค์ มิได้ ทรงอยูห่ า่ งไกลจากเราเลย (ข้ อ 24-27) จากพระคัมภีร์ ตอนนี ้ เราเห็นอย่างชัดเจนว่าพระเจ้ าไม่ได้ เป็ นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยูห่ า่ งไกล แต่พระองค์ทรงเป็ นผู้ศกั ดิ์สทิ ธิ์ที่ประทับอยูก่ บั มนุษย์ และปรารถนาให้ เขารู้จกั กับพระองค์

คริสเตียนไทยไม่น้อย พลาดโอกาสที่ได้รู้จักกับพระเจ้า ในฐานะของพระบิดา และพร้อมที่จะทิ้งพระเจ้า ไปหาสิ่งศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ หากพระองค์ ไม่ตอบค�ำอธิษฐานของพวกเขา

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 4 สิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ หรื อ ผูศ้ กั ดิ์ สิทธ์ ?

นิ โคลาส แฮร์ มนั แห่งโลเรน หรื อ บราเธอร์ ลอเร็ นซ์

ผู้เชือ่ ในอดีตสอนว่าอย่างไร?

นิ โ คลาส แฮร์ มัน แห่ ง โลเรน ที่ ร้ ู จัก กัน ในนาม บราเธอร์ ลอเร็ นซ์ (1614-1691) ไม่ได้ เป็ นนักศาสนศาสตร์ ที่ ยิ่งใหญ่ที่สอนเกี่ยวกับหัวข้ อนี ้ แต่เรื่ องราวของท่านที่ปรากฏ อยูใ่ นหนังสือเล่มเล็กๆ ที่ชื่อว่า ต่อพระพักตร์ (The Practice of the Presence of God) ท�ำให้ เราเห็นว่าคริ สเตียนควรมี ความสัมพันธ์ที่ใกล้ ชิดกับพระเจ้ า บราเธอร์ ล อเร็ น ซ์ ท� ำ งานอยู่ใ นห้ อ งครั ว ของคณะ คาร์ เมลไลท์ สิ่งที่ท�ำให้ ท่านแตกต่างจากผู้อื่น คือ ความ ตังใจของท่ ้ านที่จะด�ำเนินชีวติ เสมือนอยูต่ อ่ พระพักตร์ พระเจ้ า ผู้บริ สทุ ธิ์ตลอดเวลา ท่านคิดถึงพระเจ้ าอยูเ่ สมอ สนทนากับ พระเจ้ าอย่างสนิทสนม นมัสการเทิดทูนพระองค์ตลอดเวลา ไม่หลงลืมพระองค์แม้ ในขณะที่พกั ผ่อนหย่อนใจหรื อท�ำงาน ท่านกล่าวว่า “ส�ำหรับผมแล้ ว เวลาท�ำงานไม่ได้ ตา่ งจากเวลา อธิษฐาน ท่ามกลางเสียงอึกทึกคึกโครมในครัว ในขณะที่คน อื่นๆ ร้ องขอสิง่ ต่างๆ ในเวลาเดียวกัน ผมได้ พบกับพระเจ้ าใน ความสงบเงียบเช่นเดียวกับในขณะที่คกุ เข่าในพิธีมหาสนิท ศักดิ์สทิ ธิ์” ผู้คนที่ได้ พบเจอบราเธอร์ ลอเร็ นซ์เป็ นพยานว่า ท่าน เต็มเปี่ ยมไปด้ วยสันติสขุ และสติปัญญา ท่านท�ำหน้ าทีใ่ นห้ อง ครัวด้ วยความสุขใจ และปรนนิบตั ผิ ้ อู นื่ ด้ วยความรัก ท่านจาก โลกนี ้ไปในฐานะของคนชราที่เปี่ ยมด้ วยความรัก และเป็ นที่ นับถือของทุกคนที่ร้ ูจกั ท่าน เมื่อเราพิจารณาชีวิตของบราเธอร์ ลอเร็ นซ์ เราพบ ว่าความสัมพันธ์ ที่ใกล้ ชิดกับพระเจ้ าเป็ นสิ่งส�ำคัญส�ำหรั บ ชีวิตคริ สเตียน การตระหนักว่าเราอยู่ต่อพระพักตร์ พระเจ้ า ผู้บริ สทุ ธิ์ตลอดเวลาจะช่วยให้ เราห่างไกลจากความบาป มี สันติสขุ ในการเผชิญสถานการณ์ต่างๆ มีสติปัญญาในการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน และสามารถท�ำหน้ าที่ที่พระเจ้ าทรง มอบหมายให้ อย่างเกิดผล หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

สรุป

หากคริ สเตียนไทยมองพระเจ้ าเป็ น “สิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์” เราจะมีความสัมพันธ์ที่หา่ งเหินจากพระองค์ และมีแนวโน้ มที่จะ เข้ าหาพระองค์เพียงเพื่อให้ ได้ สงิ่ ที่เราต้ องการ แต่หากเราเข้ าใจว่าพระเจ้ าทรงเป็ น “ผู้ศกั ดิ์สทิ ธิ์” ที่ประทับอยูก่ บั เรา เราจะ มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ ชิดกับพระองค์ พระเจ้ าทรงเป็ นพระบิดาที่สถิตอยูก่ บั เราเสมอ และทรงปรารถนาให้ เรารู้จกั กับพระองค์ อย่างแท้ จริ ง ดังนัน้ ขอให้ เราเป็ นเหมือนกับบราเธอร์ ลอเร็ นซ์ที่ด�ำเนินชีวิตอยูต่ อ่ พระพักตร์ พระเจ้ าผู้บริ สทุ ธิ์ตลอดเวลา ให้ เราคิดถึงพระองค์บอ่ ยๆ พูดคุยกับพระองค์ตลอดทังวั ้ น ยกย่องสรรเสริ ญพระองค์อยูเ่ สมอ และพึง่ พาพระองค์ในทุกสิง่ ที่เรา ท�ำ อีกทังไม่ ้ ลืมฟั งสิง่ ที่พระองค์ตรัสกับเราผ่านทางพระคัมภีร์ในแต่ละวัน แล้ วเราจะพบว่า การได้ ร้ ูจกั พระเจ้ าผู้ศกั ดิ์สทิ ธิ์นี ้ดี ยอดเยี่ยมเพียงใด และชีวิตของเราจะเป็ นพยานที่ดี ที่จะช่วยให้ คนอื่นๆ ได้ มาพบกับพระเจ้ าผู้ศกั ดิ์สทิ ธิ์นี ้เช่นเดียวกัน ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร เมษายน 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หมายเหตุ

บทความชุดนี ้มีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตวั และพระเจ้ าทรงปรารถนาให้ ผ้ ู เชื่อทุกคนสร้ างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดีซงึ่ อยูบ่ นพื ้นฐานของพระคัมภีร์ เรี ยนรู้จากหลักข้ อเชื่อ และเกี่ยวข้ องกับบริ บทในปั จจุบนั บทความ แต่ละตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุปเท่านัน้ จึงขอให้ ผ้ อู า่ นได้ พิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของคณะ/ค�ำสอน ของนักศาสนศาสตร์ คนอื่นๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ทา่ นต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผู้อา่ นสามารถด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่างสอดคล้ องกับความจริ งของ พระเจ้ า และสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีค�ำถาม ค�ำแนะน�ำ หรื อพระพรที่อยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap.ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 4 สิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ หรื อ ผูศ้ กั ดิ์ สิทธ์ ?

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 5

การอธิษฐานคืออะไร? โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

นสมัยที่ผมเป็ นนักเรี ยน มีประสบการณ์สองครัง้ เกี่ยวกับ การอธิษฐานที่ผมไม่เคยลืม ประสบการณ์แรก คือ การเป็ น ผู้น�ำนมัสการและต้ องน�ำอธิษฐานในการนมัสการนัน้ ผมรู้ สกึ ตื่น เต้ นมากเพราะกลัวว่าจะอธิ ษฐานผิด ด้ วยเหตุนี ้ ผมจึงเขียนค� ำ อธิษฐานเอาไว้ บนกระดาษแผ่นเล็กๆ แล้ วอ่านตามนัน้ มาถึงวันนี ้ ผมจ�ำสิ่งที่อธิษฐานไม่ได้ แล้ ว จ�ำได้ เพียงแต่ความรู้ สกึ ตื่นเต้ นและ กังวลในวันนัน้ ประสบการณ์ทสี่ อง คือ วันหนึง่ ผมนัง่ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ และไม่เข้ าใจสิง่ ที่ครูก�ำลังสอน ผมจึงอธิษฐานในใจว่า “ข้ าแต่ พระเจ้ า ลูกไม่เข้ าใจสิง่ ที่ครูสอน” ในทันใดนันเอง ้ คุณครูทา่ นนัน้ ได้ อธิบายเนื ้อหาซ� ้ำอีกครัง้ หนึง่ ท�ำให้ ผมสามารถเข้ าใจได้ ผมยังจ�ำ ค�ำอธิษฐานนันได้ ้ จนถึงทุกวันนี ้ และที่ส�ำคัญก็คือ เหตุการณ์ในวัน นันท� ้ ำให้ ผมมัน่ ใจว่า พระเจ้ าทรงฟั งค�ำอธิษฐานของผมอยูเ่ สมอ ไม่ ว่าสิง่ ที่ผมอธิษฐานจะเป็ นเรื่ องเล็กหรื อใหญ่ เมื่ อพูดถึง “การอธิ ษฐาน” น่าเสียดายที่ คริ สเตี ยนมัก มี ประสบการณ์ ในท� ำนองเดี ยวกับเหตุการณ์ แรกที่ ผมเล่าให้ ฟัง มากกว่าเหตุการณ์ ที่สอง แม้ ว่าเราจะได้ รับการปลูกฝั งว่าการ อธิษฐานเป็ นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับชีวิตคริ สเตียน แต่เรามักจะไม่ค่อย อธิษฐานมากนัก เพราะรู้สกึ ว่าการอธิษฐานเป็ นสิง่ ทีน่ า่ กลัว... แทนที่ จะน่าแสวงหา น�ำมาซึง่ ความเครี ยด... แทนที่จะเป็ นความชื่นชม ยินดี และเป็ นสิง่ ที่ “ต้ องท�ำ”... แทนที่จะ “อยากท�ำ” ผมเชื่อว่าสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ คริ สเตียนมีทศั นคติในแง่ลบ ต่อการอธิษฐาน คือ การมีความเข้ าใจที่ไม่ถกู ต้ องนักเกี่ยวกับการ อธิษฐาน ด้ วยเหตุนี ้ เราจะมาพิจารณาร่วมกันว่า “การอธิษฐาน คืออะไร?” เพื่อที่ชีวิตแห่งการอธิษฐานของเราจะสอดคล้ องกับพระ ประสงค์ของพระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 5 การอธิ ษฐานคืออะไร?

บริบทในปัจจุบนั เป็ นอย่างไร? โดยทั่ว ไป คนไทยมี ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกับ “การ อธิษฐาน” ใน 3 ลักษณะ ซึง่ ความเข้ าใจเหล่านี ้ส่งผลกระทบ ต่อคริ สเตียนไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

1.การตัง้ จิตปรารถนาให้ เป็ นไปตามความตัง้ ใจ

ของตนเอง ซึง่ ไม่ได้ เป็ นการขอความช่วยเหลือจากสิง่ ศักดิ์

สิทธิ์ใดๆ แต่เป็ นการกล่าวแสดงความตังใจของตนเอง ้ จาก นันก็ ้ ลงมือปฏิบตั เิ พื่อให้ สงิ่ นันเกิ ้ ดขึ ้น เช่น อธิษฐานว่าปี นี ้ ตนเองจะร�่ ำรวย แล้ วก็ขยันท�ำงานมากขึ ้น ความเข้ าใจนี ้อยูบ่ นพื ้นฐานของแนวคิด “ตนเป็ นทีพ่ งึ่ แห่งตน” ที่มองว่าการขอความช่วยเหลือจากสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์เป็ น เรื่องงมงาย หรือ เป็ นการกระท�ำของผู้ทอี่ อ่ นแอ หากคริสเตียน ไทยรับแนวคิดนี ้เข้ ามาในชีวติ เราอาจเข้ าใจผิดว่าพระเจ้ าเป็ น เพียงแค่จินตนาการ หรื ออาจจะยังเชื่อในพระเจ้ าแต่มีความ สัมพันธ์ทหี่ า่ งเหินจากพระองค์ สิง่ ทีเ่ ราคิดว่าเป็ นการอธิษฐาน ก็จะเป็ นเพียงการพูดกับตัวเอง หรื อให้ ก�ำลังใจตัวเองเท่านัน้

2.การขอสิ่งที่ตนเองต้ องการจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ต่ างๆ เช่น อธิษฐานขอให้ รูปเคารพปกป้องจากอันตราย

หรื อ อธิษฐานขอเทพเจ้ าบางองค์ให้ ตนเองท�ำมาค้ าขึ ้น เมื่อคนไทยมาเป็ นคริ สเตียน สิง่ ที่มกั จะอธิษฐานต่อ พระเจ้ าจึงเป็ นการทูลขอสิ่งต่างๆ จากพระองค์มากกว่าการ อธิษฐานในลักษณะอืน่ ๆ (หากเราลองสังเกตค�ำอธิษฐานของ ตัวเอง เราจะพบว่าหลังจากที่เราอธิษฐานสรรเสริ ญ สารภาพ และขอบคุณพระเจ้ าได้ ไม่นาน เรามักจะเปลี่ยนไปทูลขอสิง่ หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ต่างๆ จากพระเจ้ า และทูลขอไปเรื่ อยๆ จนจบค�ำอธิษฐาน) ผลที่ตามมาก็คือ หากไม่มีอะไรต้ องทูลขอก็จะไม่อธิษฐาน หากคิดว่าสามารถท�ำได้ ด้วยความสามารถของตนเองก็จะ ไม่อธิษฐาน และที่แย่ที่สดุ ก็คือ หากอธิษฐานแล้ วไม่ได้ ตาม ทีต่ นเองต้ องการ ก็พร้ อมทีจ่ ะทิ ้งพระเจ้ าไปเพือ่ ไปอธิษฐานต่อ สิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์อื่นๆ การกล่ าวถ้ อยค�ำศักดิ์สทิ ธิ์ คือ เข้ าใจว่า ค�ำอธิษฐาน เป็ นเหมือนบทสวดหรือคาถาอาคมทีม่ ีฤทธิ์อำ� นาจในตัวของ มันเอง ดังนัน้ การอธิษฐานจึงเป็ นส่วนหนึง่ ของพิธีกรรม ผู้ ที่จะอธิษฐานต้ องมีคณ ุ สมบัติเหมาะสม และสามารถจดจ�ำ ถ้ อยค�ำเหล่านันได้ ้ อย่างแม่นย�ำ ความเข้ าใจนี ้ท�ำให้ การอธิษฐานของคริสเตียนถูกมอง ว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของพิธีกรรมทางศาสนา ต้ องใช้ ถ้อยค�ำและ รู ปแบบที่ถกู ต้ องจึงจะเกิดผล อีกทังต้ ้ องให้ ผ้ รู ับใช้ พระเจ้ า อธิษฐานจึงจะมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ จึงไม่ใช่เรื่ องแปลก ที่ คริสเตียนจะรู้สกึ ว่าการอธิษฐานเป็ นเรื่ องยาก โดยเฉพาะเมื่อ ต้ องอธิษฐานในที่ชมุ นุมชน

3.

เราอธิษฐาน เราต้ องแน่ใจว่าสิง่ ที่เราพูดนันมี ้ เป้าหมายอยูท่ ี่ พระเจ้ า เราไม่ได้ ก�ำลังพูดกับตัวเอง หรื อพูดกับผู้คนที่อยูร่ อบ ข้ างเรา

2.เมื่อเราอธิษฐาน...เราควรพูดคุยกับพระเจ้ า ในทุกๆเรื่ อง

การอธิษฐานไม่ได้ เป็ นเพียงการ “ทูลขอ” สิง่ ต่างๆ จาก พระเจ้ าเท่านัน้ แต่เป็ นการทีเ่ ราพูดคุยกับพระเจ้ าในทุกๆ เรื่อง ตัวอย่างที่ชดั เจนที่สดุ ในเรื่ องนี ้ คือ ค�ำอธิษฐานที่หลากหลาย ในบทเพลงสดุดี เช่น การสรรเสริ ญ ขอบพระคุณ สารภาพ ทูลขอเพื่อตนเองและผู้อื่น รวมถึงการระบายความในใจต่อ พระเจ้ า ทังในเวลาที ้ ่ชื่นชมยินดีและทุกข์ใจ ค�ำอธิษฐาน เหล่านี ้แสดงให้ เห็นว่า ผู้เชื่อในอดีตรู้จกั พระเจ้ า และมีความ สัมพันธ์กบั พระองค์อย่างแท้ จริ ง ด้ วยเหตุนี ้พวกเขาจึงพูดคุย

ค�ำอธิษฐานไม่ได้เป็นถ้อยค�ำศักดิ์สิทธิ์ ที่มีอ�ำนาจในตัวของมันเอง ระคัมภีร์(และผู้เชือ่ คนอืน่ ๆ) แต่เป็นถ้อยค�ำที่ลูกๆของพระเจ้า สอนว่ าอย่างไร? ใช้ในการสื่อสารกับพระองค์ ตัวอย่างค�ำอธิษฐานมากมายในพระคัมภีร์ชี ้ให้ เห็น ว่า การอธิษฐาน คือ การที่มนุษย์ พดู คุยกับพระเจ้ าด้ วย ...สิ่งส�ำคัญที่สุด คือ ความจริงใจ ความเข้ าใจนี ้ย� ้ำเตือนคริสเตียนไทยใน 3 ประเด็น คือ การพูดกับพระเจ้าด้วยความจริงใจ

1.เมื่อเราอธิษฐาน...เราก�ำลังพูดคุยกับพระเจ้ า

พระคัมภีร์มกั ใช้ ค�ำว่า “อธิษฐานต่อพระเจ้ า” บุคคล ในพระคัมภีร์มกั เริ่มต้ นค�ำอธิษฐานว่า “ข้ าแต่พระเจ้ า...” พระ เยซูทรงสอนเหล่าสาวกให้ อธิษฐานว่า “ข้ าแต่พระบิดาแห่งข้ า พระองค์ทงหลาย...” ั้ (มัทธิว 6:9) สิง่ นี ้สะท้ อนให้ เห็นว่า เมื่อ ผู้เชื่อในอดีตอธิษฐาน(ทังผู ้ ้ เชื่อในพระคัมภีร์และตลอดประวัติ ศาสตร์ คริ สตจักร) พวกเขามัน่ ใจว่าตนเองก�ำลังพูดคุยกับ พระเจ้ าผู้ทรงเป็ นบุคคล และพระองค์ก�ำลังฟั งค�ำอธิษฐาน ของพวกเขาอยู่ การอธิษฐานของพวกเขาจึงมีเป้าหมายอยู่ ที่พระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง สิ่งนีม้ ีความหมายอย่างมากส�ำหรั บคริ สเตียนไทย เพราะท�ำให้ เราตระหนักว่า เราก�ำลังพูดคุยกับพระเจ้ าโดยตรง และท�ำให้ เรามัน่ ใจว่า สิง่ ที่เราพูดนันไม่ ้ ได้ ลอยไปตามลม แต่ พระเจ้ าทรงฟั งทุกถ้ อยค�ำที่เราร้ องทูลต่อพระองค์ ดังนัน้ เมื่อ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 5 การอธิ ษฐานคืออะไร?

กับพระองค์อย่างสม�่ำเสมอ และพูดคุยในทุกๆ เรื่องทีเ่ กี่ยวข้ อง กับชีวิตประจ�ำวันของพวกเขา ดังนัน้ เมื่อเราอธิษฐาน เราควรพูดคุยกับพระเจ้ าใน ทุกๆ เรื่ องเช่นเดียวกัน เราสรรเสริ ญพระเจ้ า... ในสิง่ ที่พระองค์ทรงเป็ น เช่น ทรงเป็ นพระผู้สร้ างที่ยงิ่ ใหญ่สงู สุด ทรงเป็ นพระเจ้ าแห่งความ รัก ความสัตย์ซื่อ และความเมตตา ฯลฯ เราขอบคุณพระเจ้ า... ในสิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงกระท�ำ เช่น ประทานชีวติ ให้ กบั เรา ยกโทษบาปเราผ่านทางพระเยซูคริสต์ และปกป้องดูแลเรา ฯลฯ เราสารภาพต่อพระเจ้ า... ในสิง่ ที่เราได้ กระท�ำผิดต่อ พระองค์และผู้อื่น ทังในทางความคิ ้ ด ค�ำพูด และการกระท�ำ

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

สรุป

เราทูลขอต่อพระเจ้ า... ในความต้ องการจ�ำเป็ นของ ตนเอง ผู้อื่น สังคม ประเทศชาติ และโลกนี ้ แท้ จริ งแล้ วการอธิษฐานเป็ นสิ่งที่น่าปรารถนา แต่ เราระบายความในใจต่อพระเจ้ า ...เพราะเรารู้ ว่า พระองค์ทรงเป็ นพระบิดาที่พร้ อมจะรับฟั งทุกสิ่งที่เราคิดและ ความเข้ าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ ยวกับการอธิ ษฐานท�ำให้ เรา รู้สกึ ไม่ดีตอ่ การอธิษฐาน และไม่คอ่ ยอธิษฐาน พระคัมภีร์ชี ้ รู้สกึ เมื่อเราอธิษฐาน...เราต้ องพูดคุยกับพระเจ้ า ให้ เห็นว่า การอธิษฐานไม่ได้ เป็ นการพูดกับตัวเอง ไม่ได้ เป็ น เพียงการทูลขอสิง่ ต่างๆ จากพระเจ้ า และไม่ได้ เป็ นการท่อง ด้ วยความจริงใจ บทสวด แต่การอธิษฐาน คือ การที่มนุษย์พดู คุยกับพระเจ้ า ค�ำอธิษฐานไม่ได้ เป็ นถ้ อยค�ำศักดิ์สิทธิ์ที่มีอ�ำนาจใน ด้ วยความจริ งใจ ดังนัน้ เมื่อเราอธิษฐาน ขอให้ เราจดจ่ออยู่ ตัวของมันเอง แต่เป็ นถ้ อยค�ำที่ลกู ๆ ของพระเจ้ าใช้ ในการ ที่พระเจ้ า ทูลต่อพระองค์ในทุกเรื่ อง และพูดสิง่ ที่ออกมาจาก สื่อสารกับพระองค์ ดังนัน้ แม้ เราควรเรี ยนรู้การใช้ ถ้อยค�ำ ใจ หากเรามีท่าทีเช่นนี ้ การอธิษฐานจะไม่เป็ นสิ่งน่ากลัว ที่ เหมาะสมในการอธิ ษฐาน(โดยเฉพาะการอธิ ษฐานในที่ เคร่งเครี ยด และน่าเบื่ออีกต่อไป แต่จะเป็ นสิง่ ที่นา่ แสวงหา ชุมนุมชน) แต่เราต้ องไม่ลมื ว่า สิง่ ที่สำ� คัญที่สดุ คือ การพูดกับ น�ำมาซึง่ ความชื่นชมยินดี และเป็ นสิง่ ที่เราแสวงหาอยูเ่ สมอ พระเจ้ าด้ วยความจริ งใจ นัน่ คือ เราต้ องแน่ใจว่า ทุกค�ำที่เรา เพราะจะช่วยให้ เรามีความสัมพันธ์ ที่ใกล้ ชิดกับพระเจ้ าพระ พูดออกมานัน้ เราหมายความว่าอย่างนันจริ ้ งๆ (ในที่นี ้ค�ำว่า บิดาของเรา “ตังจิ ้ ตอธิษฐาน” ที่คนไทยชอบใช้ นา่ จะเป็ นประโยชน์ส�ำหรับ ดังนัน้ นอกจากที่เราจะมาเป็ น “นักคริ สต์ ศาสน เรา เพราะเตือนให้ เรามีสติ มีสมาธิ และจดจ่ออยูก่ บั สิง่ ที่เรา ศาสตร์ ” ร่วมกันแล้ ว ขอให้ เรามาเป็ น “นักอธิษฐาน” ร่วมกัน อธิษฐาน มิใช่ปล่อยความคิดให้ ลอ่ งลอย หรื ออธิษฐานตาม ด้ วยนะครับ ความเคยชิน/ตามรูปแบบโดยไม่ได้ สนใจความหมาย) ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร พฤษภาคม 2011 ดังนัน้ เมื่อเราอธิษฐาน ขอให้ เราพูดคุยกับพระเจ้ า ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ ด้ วยความจริ งใจ ไม่วา่ เราจะใช้ ค�ำพูดง่ายๆ ในการอธิษฐาน Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA ส่วนตัว ใช้ ค�ำราชาศัพท์ในที่ชมุ นุมชน หรื ออธิษฐานตามรูป คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ แบบทีต่ ายตัว เช่น ค�ำอธิษฐานทีพ่ ระเยซูตรัสสอน บทสดุดี ค�ำ อธิษฐานที่ปรากฏในระเบียบนมัสการ หรื อแม้ แต่ค�ำอธิษฐาน ที่ตวั เราเองเขียนเอาไว้ ก่อนเพราะกลัวลืม! หมายเหตุ

3.

บทความชุ ด นี ม้ ี เ ป้ าหมายเพื่ อ ช่ ว ยให้ คริ ส เตี ย นไทย ตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตวั และพระเจ้ าทรง ปรารถนาให้ ผ้ เู ชื่อทุกคนสร้ างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดีซงึ่ อยู่บนพื ้น ฐานของพระคัมภีร์ เรี ยนรู้จากหลักข้ อเชื่อ และเกี่ยวข้ องกับบริ บท ในปั จจุบนั บทความแต่ละตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุปเท่านัน้ จึง ขอให้ ผ้ อู า่ นได้ พิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และ หลักข้ อเชื่อของคณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอื่นๆ รวม ทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์ จริ งที่ท่านต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ ที่ ได้ จะเป็ นคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู ่านสามารถด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่างสอดคล้ องกับความจริ งของ พระเจ้ า และสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์รอบข้ างได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ หากท่านมีค�ำถาม ค�ำแนะน�ำ หรื อพระพรที่อยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap. ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 5 การอธิ ษฐานคืออะไร?

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 6

พระคัมภีร์คืออะไร? โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

มี

เรื่ องเล่าว่า มิชชันนารี คนหนึง่ เดินทางไปประกาศข่าวประเสริ ฐในประเทศที่มีการข่มเหงคริ สเตียนจากรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ในคืน วันหนึง่ หลังจากที่เขาไปถึงประเทศนันได้ ้ ไม่นาน เขาได้ ไปพบคริ สเตียนครอบครัวหนึง่ ที่บ้าน สิง่ แรกที่เขาถามคริ สเตียนคนนันก็ ้ คือ “ผมได้ ยินว่าในประเทศของคุณมีความต้ องการพระคัมภีร์อย่างมากใช่ไหม?” ก่อนที่คริ สเตียนคนนันจะตอบ ้ เขาพามิชชันนารี คนนันเดิ ้ นไปที่โต๊ ะซึง่ มีเครื่ องพิมพ์ดีดเก่าๆ เครื่ องหนึ่งตังอยู ้ ่ พร้ อมกับกระดาษ แผ่นหนึง่ คาอยูใ่ นเครื่ อง และมีพระคัมภีร์สองเล่มวางอยูข่ ้ าง ๆ โดยที่เล่มหนึง่ เปิ ดคาอยูท่ ี่พระธรรมอพยพ เขาหยิบพระคัมภีร์อีกเล่มขึ ้นมา แล้ วพูดว่า “ขอบคุณพระเจ้ าจริ งๆ สามสัปดาห์ที่แล้ ว ผมได้ พระคัมภีร์เล่มนี ้มาในราคาที่ถกู เพียงแค่เงินเดือนๆ เดียวเท่านัน้ สาเหตุที่ราคา ถูกมากก็เพราะพระธรรมปฐมกาล อพยพ และวิวรณ์ ถูกฉีกออกไป สิง่ ที่ผมต้ องท�ำก็เพียงแต่พิมพ์สว่ นที่ขาดหายลงไป โดยดูจากพระคัมภีร์ ของผม แล้ วผมก็จะมีพระคัมภีร์ที่สมบูรณ์อีกเล่มหนึง่ ซึง่ ผมควรจะท�ำเสร็ จในสี่สปั ดาห์ข้างหน้ า” มิชชันนารี จงึ ถามต่อไปว่า “แล้ วคุณจะท�ำอะไรกับพระคัมภีร์เล่มนี ้หละ?” คริ สเตียนคนนันตอบว่ ้ า “อ๋อ ก็เอาไปถวายสิครับ เราจะเอาไปให้ โบสถ์เล็กๆ ซึง่ อยูอ่ ีกเมืองหนึง่ ” ภรรยาของเขาพูดเสริ มว่า “เพราะ ที่นนั่ ไม่มีพระคัมภีร์เลย” มิชชันนารี จงึ ถามว่า “คุณหมายความว่าทังโบสถ์ ้ ไม่มีพระคัมภีร์เลยหรื อ?” คริ สเตียนคนนันตอบว่ ้ า “ใช่แล้ ว และโบสถ์ที่อยูใ่ นสภาพแบบนี ้ยังมีอีกหลายแห่งในประเทศนี ้” มิชชันนารี คนนันจึ ้ งรี บออกไปหน้ าบ้ าน ตรวจดูจนแน่ใจว่าไม่มีคน แล้ วยกกล่องๆ หนึง่ จากท้ ายรถเข้ ามาในบ้ าน ทังสามี ้ และภรรยา จ้ องมองในขณะที่เขาวางกล่องลงบนโต๊ ะ สายตาของพวกเขาเพ่งดูกล่องนัน้ แล้ วถามว่า “นี่อะไรหนะ?” มิชชันนารี คนนันจึ ้ งเปิ ดฝากล่อง หยิบพระคัมภีร์ใหม่เอี่ยมออกมา แล้ ววางลงในมือที่สนั่ เทาของชายคนนัน้ และอีกเล่มหนึง่ ในมือ ภรรยาของเขา “แล้ ว... ในกล่องนี ้หละ?” คริ สเตียนคนนันถาม ้ “มีอีก และในรถก็ยงั มีอีก” มิชชันนารี คนนันตอบ ้ คริ สเตียนคนนันหลั ้ บตาลง พยายามเม้ มริ มฝี ปากแน่นเพื่อควบคุมความรู้สกึ ของตนเอง แต่แล้ วน� ้ำตาก็คอ่ ยๆ ไหลลงมาจากดวงตา คูท่ ี่หลับอยูน่ นั ้ และหยดลงบนพระคัมภีร์เล่มที่อยูใ่ นมือของเขา (ดัดแปลงจาก เจรี มาร์ ชอล์, เราจะโต, (กรุงเทพฯ: กนกบรรณาสาร, 1996), หน้ า 33-35.) เรื่ องราวของพี่น้องคริ สเตียนที่ให้ ความส�ำคัญต่อพระคัมภีร์ จนยอมเสี่ยงอันตรายและลงทุนลงแรงเช่นนี ้ เป็ นสิง่ ที่ท้าทายคริ สเตียน ที่อยูใ่ นประเทศที่มีเสรี ภาพในการนับถือศาสนา(ซึง่ รวมถึงประเทศไทยด้ วย)ให้ ถามตัวเองว่า “เราให้ ความส�ำคัญต่อพระคัมภีร์มากแค่ไหน?” แต่ก่อนที่เราจะตอบค�ำถามนี ้ได้ เราจ�ำเป็ นจะต้ องรู้วา่ “พระคัมภีร์คืออะไร?” และ “พระคัมภีร์มีคณ ุ ค่าส�ำหรับชีวิตของเราอย่างไร?”

พระคัมภีร์คอื อะไร?

ในขณะที่ ค นไทยส่ ว นใหญ่ มั ก จะมองพระคริ ส ตธรรมคั ม ภี ร์ ใ น ลั ก ษณะเดี ย วกั บ คั ม ภี ร์ ข องศาสนา อื่นๆ คือคิดว่าเป็ นหนังสือที่บนั ทึกหลัก ค�ำสอนของคริ สต์ศาสนา ซึ่งคริ สตชน ต้ องปฏิบัติตาม แต่ ใ นฐานะที่เ รา เป็ นคริ สเตียน เราจ�ำเป็ นจะต้ อง เข้ าใจและมั่นใจว่ า พระคัมภีร์ คือ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 6 พระคัมภี ร์คืออะไร?

พระวจนะ(หรื อค�ำพูด)ของพระเจ้ า ดังนัน้ พระคัมภีร์จงึ เป็ น “สื่อ” ที่ชดั เจน ที่สดุ ซึง่ พระเจ้ าทรงใช้ ในการสื่อสารกับ มนุษย์ผ้ ซู งึ่ พระองค์ทรงรักเมตตา อาจารย์เปาโลกล่าวว่า “พระคัมภีร์ ทุกตอนได้ รับการดลใจจากพระเจ้ า และ เป็ นประโยชน์ในการสอน การตักเตือน ว่ากล่าว การแก้ ไขสิง่ ผิด และการอบรม ในความชอบธรรม เพื่อคนของพระเจ้ า

จะมีความสามารถและพรักพร้ อมเพื่อ การดีทุกอย่าง” (2 ทิโมธี 3:16-17— ฉบับมาตรฐาน) นี่ เป็ นการยื นยันว่า แม้ มนุษย์ จะเป็ นผู้เขี ยนหนังสือเล่มนี ้ ขึน้ แต่พวกเขาเขียนโดยได้ รับ “การ ดลใจ” จากพระเจ้ า ดังนัน้ งานเขียนนี ้ จึงเป็ นการส�ำแดงของพระเจ้ าที่ถกู ต้ อง และเป็ นสิง่ ที่พระองค์ตรัสอย่างแท้ จริ ง นอกจากนัน้ เรายังสามารถ หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

มัน่ ใจได้ วา่ พระคัมภีร์คือพระวจนะของ พระเจ้ า เพราะพระคัม ภี ร์ มี ลัก ษณะ ส�ำคัญ 4 ประการ คือ สอดคล้ อง พระคัมภีร์ทงั ้ 66 เล่ม มีความสอดคล้ องกัน แม้ ว่ามีผ้ ูเขียน มากกว่า 40 คน ซึ่งมี ความแตกต่าง หลากหลาย และมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลา ที่ ต่า งกัน ประมาณ 1,600 ปี อี ก ทัง้ หนังสือแต่ละเล่มมีรูปแบบการเขียนที่ แตกต่างกัน เช่น บันทึกประวัติศาสตร์ กฎหมาย บทกวี และจดหมาย ดังนัน้ จึงเป็ นไปไม่ได้ ที่พระคัมภีร์จะเป็ นเพียง หนังสือที่ถกู เขียนขึ ้นโดยสติปัญญาของ มนุษย์เท่านัน้ เที่ ย งตรง สิ่ ง ที่ ถูก บัน ทึ ก ไว้ ใ น พระคั ม ภี ร์ ตรงตามหลั ก ฐานทาง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละภู มิ ศ าสตร์ เช่ น ชื่ อ ผู้น� ำ ทางการเมื อ ง ชื่ อ เมื อ งและ สถานที่ต่างๆ และที่ส�ำคัญที่สุด คือ พระเยซูผ้ ทู รงมีตวั ตนอยูจ่ ริ ง อีกทังการ ้ สิน้ พระชนม์ และเป็ นขึน้ มาจากความ ตายของพระองค์ ก็เป็ นความจริ งทาง ประวัตศิ าสตร์ แม่ นย�ำ ตลอดพระคัมภีร์ มีหลาย เหตุก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ น้ ตามค� ำ พยากรณ์ อย่างแม่นย�ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ค�ำ พยากรณ์ ใ นพัน ธสัญ ญาเดิ ม ที่ เ ล็ง ถึง

1.

2.

3.

ทรงเปลี่ยนแปลงชีวิตของผู้คนมากมาย ผ่านทางพระคัมภีร์ เมื่อใครก็ตามได้ อ่านหรื อได้ ฟังข้ อความจากหนังสือเล่ม นี ้ พระเจ้ าจะตรัสกับเขาแต่ละคนอย่าง เฉพาะเจาะจง เมื่อพวกเขาเปิ ดใจออก พวกเขาจะได้ ร้ ู จกั กับพระเจ้ า และเห็น ความยิ่งใหญ่ของพระองค์ ผู้คนอาจ ไม่ยอมรับลักษณะ 3 ประการแรกของ พระคัมภีร์ แต่หากใครได้ มปี ระสบการณ์ ในลักษณะสุดท้ ายนี ้แล้ ว คงเป็ นเรื่ อง ยากที่ จ ะบอกว่ า พระคัม ภี ร์ เ ป็ นเพี ย ง หนังสือธรรมดา!

พระคัมภีร์มคี ณุ ค่าส�ำหรับ ชีวติ ของเราอย่างไร?

เนื่ อ งจากพระคัมภี ร์ เป็ นสื่ อ ที่ ชัดเจนทีส่ ดุ ซึง่ พระเจ้ าทรงใช้ ในการตรัส กับมนุษย์ พระคัมภีร์จงึ มีคณ ุ ค่าเหลือที่ จะประเมินได้ ดังที่ผ้ เู ขียนสดุดีกล่าวว่า “บทบัญญัติจากพระโอษฐ์ ของพระองค์ ล� ้ำค่าส�ำหรับข้ าพระองค์ยิ่งกว่าเงินและ ทองนับพันนับหมื่น” (สดุดี 119:72— ฉบับอมตธรรมร่วมสมัย) พระคัมภีร์ไม่เพียงแต่สอนหลัก คุณธรรมจริ ยธรรม ให้ แนวทางในการ ด�ำเนินชีวิต หรื อบันทึกเรื่ องราวเกี่ยว กับพระเจ้ าและประชากรของพระองค์

ผู้เชื่อทุกคนสามารถศึกษาพระคัมภีร์ได้ด้วยตนเอง โดยพึ่งพาพระวิญญาณบริสุทธิ์ และปฏิบัติตามแนวทางในการตีความหมาย พระคัมภีร์อย่างเหมาะสม

ชีวติ และการรับใช้ ของพระเยซู ซึง่ ส�ำเร็จ จริ งในสมัยพันธสัญญาใหม่ ท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง สิง่ ส�ำคัญที่สดุ ซึ่งพิสจู น์ ว่าพระคัมภีร์เป็ น พระวจนะของพระเจ้ า คือ การที่พระเจ้ า

4.

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 6 พระคัมภี ร์คืออะไร?

เท่านัน้ แต่ที่ส�ำคัญก็คือ พระคัมภีร์ ท�ำให้ เราสามารถรู้ จกั พระเจ้ า(ไม่เพียง แต่ร้ ู ข้ อมูลเท่านัน้ แต่มีความสัมพันธ์ กับพระองค์อย่างแท้ จริ ง) และด�ำเนิน ชี วิ ต ที่ ส อดคล้ องกั บ ความจริ งของ

พระองค์ ดังที่อาจารย์เปาโลบอกทิโมธี ว่า “และตังแต่ ้ เด็กมาแล้ ว ท่านก็ได้ เรี ยน รู้พระคัมภีร์อนั ศักดิ์สทิ ธิ์ ซึง่ สามารถให้ ปั ญญาแก่ ท่านในเรื่ องความรอดโดย ความเชื่อในพระเยซูคริ สต์ (2 ทิโมธี 3:15—ฉบับมาตรฐาน) ดังนัน้ การอ่าน และศึกษาพระคัมภีร์อย่างสม�่ำเสมอจะ ช่วยให้ เราได้ พบกับพระเจ้ า ผู้ซงึ่ จะพูด คุยกับเราผ่านทางพระคัมภีร์ (ในขณะ ที่ เ ราพูด คุย กับ พระองค์ ผ่ า นทางการ อธิษฐาน) อย่างไรก็ ตาม น่าเสียดายที่ คริสเตียนไทยรู้วา่ พระคัมภีร์มคี ณ ุ ค่า แต่ มักจะไม่คอ่ ยได้ อา่ น หรื อศึกษาค้ นคว้ า พระคัมภีร์ด้วยตนเอง ดังนัน้ จึงไม่ร้ ู ว่าพระเจ้ าตรั สอะไรกับเรา ไม่ได้ ใกล้ ชิดกับพระเจ้ าอย่างที่ควร และไม่ได้ ใช้ พระคัมภีร์เป็ นบรรทัดฐานในการตัดสิน ใจ ที่เป็ นเช่นนี ้อาจเป็ นเพราะนิสยั ของ คนไทยที่ไม่คอ่ ยชอบอ่านหนังสือ หรื อ เพราะคริ สเตียนไทยได้ รับอิทธิพลจาก แนวทางของศาสนาส่ ว นใหญ่ ที่ แ บ่ ง แยกระหว่างบรรพชิตและฆราวาส โดย บรรพชิตเป็ นผู้อา่ นและศึกษาหลักธรรม แล้ ว น� ำ มาสั่ง สอนฆราวาสให้ ป ฏิ บัติ ตาม ดังนัน้ คริ สเตียนไทยจึงมักจะคิด ว่า หน้ าที่ศึกษาค้ นคว้ าพระคัมภีร์เป็ น ของผู้รับใช้ พระเจ้ าเท่านัน้ ส่วนพวกเขา มีหน้ าทีฟ่ ั งสิง่ ทีพ่ ระเจ้ าฝากศิษยาภิบาล มาบอกผ่านการเทศนา(และการศึกษา พระคัมภีร์)ในวันอาทิตย์เท่านัน! ้ ปรากฏการณ์ นีไ้ ม่ใช่เรื่ องใหม่ ในประวัติศาสตร์ คริ สตจักร อย่างไร ก็ดี มาร์ ติน ลูเธอร์ ช่วยให้ เราเข้ าใจ ว่า แท้ จริ งแล้ ว คริ สเตียนทุกคนเป็ น ผู้รับใช้ หรื อ เป็ นปุโ รหิ ตของพระเจ้ า (Priesthood of All Believers) ลูเธอร์ กล่าวว่า เนื่ องจากคริ สเตียนถูกเรี ยก ว่ า เป็ น “ประชากรที่ พ ระเจ้ าได้ ทรง เลื อ กสรร... ปุโ รหิ ต หลวง... ชนชาติ หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

บริ สุ ท ธิ์ . .. พลเมื อ งของพระเจ้ า” (1เปโตร 2:9—ฉบับอมตธรรมร่วมสมัย) คริ สเตียนทุกคนจึงมีศกั ดิ์ศรี การทรง เรี ยก และสิทธิพิเศษจ�ำเพาะพระพักตร์ พระเจ้ าเท่าเทียมกัน จากความเข้ าใจ นี ้ เราสามารถสรุ ปได้ วา่ ผู้เชื่อทุกคน สามารถศึกษาค้ นคว้ าพระคัมภีร์ได้ ด้วย ตนเอง โดยพึง่ พาพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ และปฏิบตั ิตามแนวทางในการตีความ หมายพระคัมภีร์อย่างเหมาะสม (แต่ใน เวลาเดียวกัน คริสเตียนยังต้ องให้ ความ ส�ำคัญกับพระวจนะของพระเจ้ าที่ผ่าน มาทางผู้รับใช้ ของพระองค์ เพราะท่าน เหล่านัน้ ได้ รับมอบหมายหน้ าที่ในการ เทศนาสัง่ สอน อีกทังได้ ้ ผา่ นการอบรม ให้ มีความรู้ความเข้ าใจ และมีทกั ษะใน การตี ค วามหมายพระคัม ภี ร์อย่า งถูก ต้ อง จึงสามารถช่วยเหลือผู้เชื่อคนอื่นๆ ให้ เข้ าใจความจริ งของพระเจ้ าชัดเจน ขึ ้น) ผมขอบคุ ณ พระเจ้ า ที่ ใ น ปั จจุบนั เรามีพระคัมภีร์ภาษาไทยหลาย ฉบับ (version) อี ก ทัง้ มี พ ระคัม ภี ร์ ฉบั บ ศึ ก ษา คู่ มื อ ศึ ก ษาพระคั ม ภี ร์ หนังสืออรรถาธิ บายพระคัมภี ร์ และ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ที่ ช่ ว ยให้ เ รา ศึกษาค้ นคว้ าพระคัมภีร์ได้ สะดวกยิง่ ขึ ้น ซึง่ ก็หมายความว่า คริสเตียนไทยแต่ละ คนจะสามารถเข้ าใจมากขึ ้นว่าพระเจ้ า ก� ำ ลั ง ตรั ส อะไรกั บ ตนเองผ่ า นทาง พระคัมภี ร์ และเราควรจะตอบสนอง ต่อพระองค์อย่างไร (ในขณะเดียวกัน ผู้รับใช้ พระเจ้ าจะสามารถตีความหมาย พระคัม ภี ร์ และน� ำ เสนอการน� ำ ไป ใช้ ให้ กั บ พี่ น้ องคริ ส เตี ย น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพมากขึ ้น)

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 6 พระคัมภี ร์คืออะไร?

เราให้ความส�ำคัญต่อพระคัมภีร์

มากแค่ ไหน?

เมื่ อ เรารู้ แล้ วว่ า พระคั ม ภี ร์ คืออะไร และมีคณ ุ ค่าส�ำหรับชีวิตของ เราอย่างไร เราก็พร้ อมทีจ่ ะตอบค�ำถาม ที่ว่า “เราให้ ความส�ำคัญต่อพระคัมภีร์ มากแค่ไหน?” แต่ท่านต้ องตอบค�ำถามนี ้ด้ วย ตัวเอง และเป็ นการตอบผ่านทางการ กระท�ำของท่าน! จากเรื่ องเล่าในตอนต้ น พี่น้อง คริ สเตียนเหล่านัน้ ไม่เพียงแต่ “รู้ ” ว่า พระคัมภีร์นนส� ั ้ ำคัญ แต่พวกเขา “ให้ ความส�ำคัญ” กับพระคัมภีร์ ผ่านการ กระท�ำของตนเองจริ งๆ ดังนัน้ ผมจึง อยากเชิญชวนให้ ทา่ นลองคิดดูวา่ มีสงิ่ ใดบ้ างที่ท่านสามารถลงมือท�ำได้ เพื่อ เป็ นการให้ ความส�ำคัญกับพระคัมภีร์ ยกตัวอย่างเช่น อ่านพระคัมภีร์ทกุ วัน/ อ่านมากขึน้ /ใคร่ ครวญมากขึน้ หมัน่ ศึกษาค้ นคว้ าพระคัมภีร์ทงส่ ั ้ วนตัวและ ร่ วมกับผู้อื่น ตัง้ ใจฟั งเทศนามากขึน้ ท่องจ�ำพระคัมภีร์มากขึ ้น เชื่อฟั งสิ่งที่ พระเจ้ าสอนมากขึ ้น ฯลฯ หากท่านยังจ�ำได้ ในบทความ ตอนแรก ผมได้ กล่าวว่า พระเจ้ ามี พระประสงค์ให้ เรามีคริ สต์ศาสนศาสตร์ ทีม่ ชี ีวติ คือ คริสต์ศาสนศาสตร์ ทไี่ ม่หยุด อยู่ในโลกของวิชาการ แต่ก้าวไปสู่โลก แห่งความเป็ นจริ ง ดังนัน้ ขอให้ เราทุก คนมีคริ สต์ศาสนศาสตร์ เรื่ องพระคัมภีร์ ที่มีชีวิตนะครับ

หมายเหตุ

บทความชุดนี ้มีเป้าหมายเพือ่ ช่วย ให้ คริสเตียนไทยตระหนักว่า คริสต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่องทีใ่ กล้ ตวั และพระเจ้ าทรง ปรารถนาให้ ผ้ เู ชือ่ ทุกคนสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ทดี่ ซี งึ่ อยูบ่ นพื ้นฐานของพระคัมภีร์ เรี ย นรู้ จากหลัก ข้ อ เชื่ อ และเกี่ ย วข้ อ ง กับบริ บทในปั จจุบัน บทความแต่ละ ตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุ ปเท่านัน้ จึง ขอให้ ผ้ อู ่านได้ พิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ พระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของ คณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอืน่ ๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ทา่ น ต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่าง สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมี ค�ำถาม ค� ำแนะน� ำ หรื อพระพรที่ อ ยากแบ่ ง ปั น ท่ า น สามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap.ac.th หรื อ ส่ ง จดหมายมายัง วิทยาลัยพระคริ สต์ธรรม แมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร มิ ถนุ ายน 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 7

ครอบครัวของพระเจ้า? (1)

นปี การศึกษานี วิ้ ทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารีเน้ นเรื่อง “ครอบครัวของพระเจ้ า” ในชุมชนของเรา ด้ วยเหตุนี ้ ค�ำถามแรกทีผ่ มได้ ถามนักศึกษาในการรีทรีตของวิทยาลัย พระคริ สต์ธรรมฯ และอยากจะถามท่านในเวลานี ้ คือ “การกล่าวว่า ชุมชนของผู้เชื่อ คือ ครอบครัวของพระเจ้ า เป็ นการพูดเปรี ยบเทียบ หรื อ การพูดถึงความเป็ นจริ ง?” หรื อหากจะ ถามให้ ชดั เจนขึ ้นก็คือ... ท่านคิดว่า “ท่านกับผู้เชื่อคนอื่นๆ เปรี ยบเหมือนญาติพี่น้อง หรื อ เป็ นญาติพี่น้อง กันจริ งๆ ในครอบครัวของพระเจ้ า?” ค�ำตอบของค�ำถามนี ้ส�ำคัญมาก เพราะจะก�ำหนดท่าทีและการกระท�ำของเราที่มีตอ่ ผู้เชื่อคนอื่นๆ ทังในกลุ ้ ม่ คริ สเตียนที่มีสมาชิกไม่กี่คน คริ สตจักรท้ องถิ่น คริ สตจักรภาค สภา คริ สตจักรในประเทศไทย รวมทังพี ้ ่น้องคริ สเตียนที่สงั กัดคณะอื่น และพี่น้องโรมันคาทอลิก ซึง่ เราจะตอบค�ำถามนี ้ได้ ก็ตอ่ เมื่อ เราเข้ าใจความหมายของค�ำว่า “ครอบครัว” อย่างแท้ จริ ง

กัน แม้ ว่าพวกเขาจะไม่ได้ เกี่ ยวข้ อง ในอดีต ครอบครัว หมายถึง คู่สมรส กันในทางกฎหมายหรื อสายเลือด (พูด ชายหญิ ง และลูก หลานของพวกเขา อีกอย่างว่าเป็ นครอบครัวในเชิงเปรี ยบ (คือสามารถเป็ นได้ ทัง้ ครอบครั วเดี่ยว เทียบ) และครอบครัวขยาย) แต่ในศตวรรษที่ หากมองเพียงผิวเผิน ครอบครั วของ 21 นี ้ ครอบครัวมีความหมายที่หลาก พระเจ้ า ดูเ หมื อ นเป็ นครอบครั ว ในแง่ หลาย นักวิชาการมองครอบครัวใน 2 บทบาท เพราะเป็ นครอบครั ว ฝ่ าย ลักษณะ คือ ครอบครัวในแง่โครงสร้ าง วิญญาณของผู้ที่ไม่ได้ เกี่ ยวข้ องกันใน และครอบครัวในแง่บทบาท ทางกฎหมายหรื อ สายเลื อ ด (ยกเว้ น

ครอบครัว: ความหมายโดยทั่วไป

1. ครอบครัวในแง่โครงสร้าง คนกลุ่ ม ใดกลุ่ ม หนึ่ ง เป็ นครอบครั ว เพราะมี ค วามเกี่ ย วข้ องกั น ในทาง กฎหมาย (การแต่งงานหรื อการรับเป็ น บุตรบุญธรรม) หรื อในทางสายเลือด (เช่น พ่อแม่กบั ลูก หรื อ ปู่ ย่าตายายกับ หลาน) ไม่วา่ พวกเขาจะมีความสัมพันธ์ ที่ดีหรื อไม่ดี ใกล้ ชิดหรื อห่างเหิน

2. ครอบครัวในแง่บทบาท คนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ ถือว่าเป็ นครอบครัว เพราะพวกเขามีความสัมพันธ์กนั อย่าง ผู้ที่อยูใ่ นครอบครัว คือ มีความรักความ ผูกพัน และช่วยเหลือเกื ้อกูลซึง่ กันและ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 7 ครอบครัวของพระเจ้า? (1)

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

คู่แรกให้ เป็ นหนึ่งเดียวกันในครอบครัว (ปฐก. 1-2) ดังนัน้ ครอบครัวจึงเป็ น ชุมชนพื ้นฐานของมนุษย์ที่เกิดขึ ้นตาม พระประสงค์ของพระเจ้ า นอกจากครอบครั ว เดี่ ย วของอาดั ม และเอวาแล้ ว เราพบว่าครอบครัวใน สมัย พระคัม ภี ร์ มัก จะเป็ นครอบครั ว ขยาย อีกทังยั ้ งเกี่ยวข้ องกับครอบครัว ในแง่บทบาทด้ วย ในสมัยพันธสัญญา เดิ ม ชาวยิ ว อยู่ ใ นครอบครั ว ขยาย ซึ่ง ประกอบไปด้ ว ยหัว หน้ า ครอบครั ว ภรรยาของเขา ลูก ชายของเขาและ ภรรยา หลานของเขาและภรรยา ลูก และหลานคนอื่นๆ ที่ไม่ได้ แต่งงาน รวม ทังคนรั ้ บใช้ จึงมีความเป็ นไปได้ สงู ที่มี สมาชิกประมาณ 50-100 คน ครอบครัว ขยายนี ้เป็ นชุมชนทีม่ อี ทิ ธิพลต่อชีวติ ของ ชาวยิวมากที่สุด เพราะท�ำให้ พวกเขา รู้สกึ ได้ รับการยอมรับ มีเอกลักษณ์ มี ความปลอดภัย และมีความรับผิดชอบ

คริ สเตียนเป็ นญาติพี่น้องกัน) แต่หาก เราพิจารณาความหมายของครอบครัว ตามพระคัมภีร์ เราจะพบว่า ครอบครัว ของพระเจ้ าเป็ นทั ง้ ครอบครั ว ในแง่ ในสมัย พัน ธสัญ ญาใหม่ ครอบครั ว โครงสร้ างและบทบาท ขยายมีขนาดเล็กลง แต่ยงั คงเป็ นชุมชน ที่มีความส�ำคัญ และประกอบไปด้ วย ครอบครัว: ความหมายตาม ญาติพี่น้องและผู้ที่พึ่งพาอาศัยอยู่ด้วย พระคัมภีร์ เช่น ทาส และ คนรับใช้ นอกจากนัน้ 1. ครอบครัวคือชุมชนพื้นฐานที่ ครอบครัวขยายนีย้ งั เป็ นจุดศูนย์กลาง ในการเติบโตของคริ สตจักรในยุคแรก พระเจ้าทรงสร้างขึ้น ในปฐมกาล พระเจ้ าทรงสร้ างมนุษย์ขึ ้น อี ก ด้ ว ย เพราะกิ จ กรรมต่า ง ๆ ของ ตามพระฉายาของพระองค์ให้ เป็ นชาย คริ สเตียนล้ วนเกิดขึน้ ที่บ้าน เช่น การ และหญิ ง ทรงอวยพรให้ มนุษย์ มีลูก ร่ วมพิธีมหาสนิท การสัง่ สอน และการ หลานทวีมากขึ ้น และทรงผูกพันมนุษย์ ประกาศข่าวประเสริ ฐ (เช่น กจ. 2:46)

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ดังนัน้ ครอบครัวในสมัยพระคัมภีร์จงึ มี เขาจะมุ่งไปสู่การเสริ มสร้ างกันและกัน ความส�ำคัญอย่างมากต่อชีวิตของผู้คน อย่างผู้ท่ีอยูใ่ นครอบครัวจริ งๆ และมีบทบาทส�ำคัญในการส่งต่อความ ครอบครัวของพระเจ้า เชื่อจากชนรุ่นหนึง่ ไปยังอีกรุ่นหนึง่ กลับมาที่ค�ำถามในตอนต้ น การกล่าว 2. ครอบครัวฝ่ายร่างกายเป็นภาพ ว่า “ชุมชนของผู้เชื่อ คือ ครอบครัวของ สะท้อนของครอบครัวฝ่ายวิญญาณ พระเจ้ า” จึงเป็ นการพูดถึงความเป็ น พระเยซู ต รั ส ว่ า “ผู้ใ ดจะกระท� ำ ตาม จริ ง! นัน่ คือ เรากับผู้เชื่อคนอื่นๆ เป็ น พระทัยพระเจ้ า ผู้นนแหละเป็ ั้ นพี่น้อง ญาติพี่น้องกันจริ งๆ ในครอบครัวของ ชายหญิงและมารดาของเรา”(มก. 3:35) พระเจ้ า! และ “ผู้ใ ดที่ รั ก บิ ด ามารดายิ่ ง กว่า รั ก แม้ ว่าคริ สเตียนแต่ละคนอาจจะไม่ได้ เรา ก็ไม่มีค่าควรกับเรา และผู้ใดรั ก มาจากครอบครัวฝ่ ายร่ างกายเดียวกัน บุตรชายหญิงยิ่งกว่ารักเรา ผู้นนก็ ั ้ ไม่มี แต่ เ ราอยู่ใ นครอบครั ว ฝ่ ายวิ ญ ญาณ ค่าควรกับเรา (มธ. 10:37) พระเยซูไม่ เดียวกัน เราแต่ละคนที่เชื่อวางใจใน ได้ ทรงปฏิเสธครอบครัวฝ่ ายร่างกาย แต่ พระเจ้ าได้ มาเป็ นญาติพี่น้องกันในฝ่ าย พระองค์ทรงส�ำแดงถึงครอบครัวใหม่ใน วิญญาณโดยการผูกพันของพระเจ้ า ฝ่ ายวิญญาณซึง่ มีความส�ำคัญมากกว่า ผู้เขียนพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ ช า ว ไ ท ย ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ มี กล่าวว่าคริ สตจักร คือ ครอบครัวของ ประสบการณ์ เกี่ ย วกับครอบครั วฝ่ าย วิญญาณนีไ้ ด้ ง่ายๆ เนื่องจากคนส่วน ใหญ่ อ าศัย อยู่ใ นครอบครั ว ขยาย มี ความสัมพันธ์ที่ใกล้ ชิดกับผู้คนในชุมชน และในขณะที่ชาวตะวันตกใช้ ค�ำว่าพ่อ แม่ ลุง ป้า น้ า หรื อลูก ส�ำหรับผู้ที่เป็ น ญาติพี่น้องกันจริ ง ๆ เท่านัน้ ชาวไทยใช้ ค�ำเหล่านี ้ในการเรี ยกผู้ที่ไม่ได้ เป็ นญาติ พระเจ้ า (อฟ. 2:19 1ทธ. 3:15 ฮบ. 3:6 ด้ วย เช่น เรี ยกผู้หญิงที่อายุมากกว่าแม่ 1ปต. 4:17) เพราะเมือ่ มนุษย์คนใดกลับ ของตนเองว่า “คุณป้า” ใจต้ อนรับพระเยซูคริ สต์เป็ นพระผู้ช่วย ให้ รอด เขาจะได้ รับฐานะใหม่เป็ นบุตร อย่างไรก็ดี แม้ คนไทยจะใช้ ค�ำเหล่านี ้ ของพระเจ้ าและเป็ นพี่น้องกับผู้เชื่อคน เพื่อแสดงความเคารพหรื อความใกล้ ชิด โดยไม่ได้ หมายถึงการเป็ นญาติกนั จริงๆ อื่นในครอบครัวฝ่ ายวิญญาณนี ้ คริ สเตียนไทยจ� ำเป็ นจะต้ องเข้ าใจว่า ดังนันเราสามารถสรุ ้ ปได้ วา่ “ครอบครัว” ค� ำ กล่ า วนี ส้ ะท้ อนความเป็ นจริ ง ใน ตามความหมายของพระคัม ภี ร์ คื อ ครอบครัวของพระเจ้ า ความจริ งนี ้ควร ครอบครั ว ในแง่ โ ครงสร้ างที่ มุ่ ง ไปสู่ ส่งผลให้ เรามองผู้เชื่อคนอื่นๆ ในฐานะ ครอบครัวในแง่บทบาท กล่าวคือ ผู้คน ของสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน และ จะถื อ ว่า เป็ นครอบครั ว เดี ย วกัน จริ ง ๆ ควรส่งผลให้ เราปรับปรุงแก้ ไขพฤติกรรม ก็ ต่อเมื่ อพวกเขามี ความเกี่ ยวข้ องกัน ของเราที่มีตอ่ ผู้เชื่อคนอื่นๆ ด้ วย จริ งๆ ในทางกฎหมาย ในทางสายเลือด หรื อในฝ่ ายวิญญาณ นอกจากนัน้ พวก เนื่ อ งจากเนื อ้ ที่ ข องบทความที่ จ� ำ กัด และเนื ้อหาเรื่ องครอบครัวของพระเจ้ า

เรากับผู้เชื่อคนอื่นๆ เป็นญาติพี่น้องกันจริงๆ ในครอบครัวของพระเจ้า!

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 7 ครอบครัวของพระเจ้า? (1)

นี ม้ ีความส�ำคัญมาก ผมจะกล่าวถึง เรื่ อ งนี เ้ พิ่ ม เติ ม ในตอนต่ อ ไป เพื่ อ ที่ เราจะสามารถด� ำเนินชี วิตที่สมกับอยู่ ในครอบครั วของพระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง อย่างไรก็ดี ส�ำหรับในตอนนี ้ ขอให้ เรา จดจ�ำว่า ผู้เชื่อทุกคนเป็ นญาติพี่น้องกัน ในครอบครัวของพระเจ้ าจริ งๆ!! ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร กรกฎาคม 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หมายเหตุ

บทความชุ ด นี ม้ ี เ ป้ าหมายเพื่ อ ช่ ว ยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตวั และพระเจ้ าทรง ปรารถนาให้ ผ้ เู ชือ่ ทุกคนสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ที่ดซี งึ่ อยูบ่ นพื ้นฐานของพระคัมภีร์ เรี ย นรู้ จากหลัก ข้ อ เชื่ อ และเกี่ ย วข้ อ ง กับ บริ บ ทในปั จ จุบัน บทความแต่ล ะ ตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุ ปเท่านัน้ จึง ขอให้ ผ้ อู ่านได้ พิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ พระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของ คณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอืน่ ๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ทา่ น ต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่าง สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีคำ� ถาม ค�ำแนะน�ำ หรือพระพร ที่อยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap. ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิทยาลัย พระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัย พายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

หน้ า 2


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 8

ครอบครัวของพระเจ้า? (2)

ทบทวน นตอนที่แล้ ว เราพบว่านักวิชาการมอง “ครอบครัว” ใน 2 ลักษณะ คือ (1) ครอบครัว ในแง่โครงสร้ าง หมายถึง ผู้ที่เกี่ยวข้ องกันในทางกฎหมายหรื อทางสายเลือด (แม้ อาจ จะไม่มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ ชิด) และ (2) ครอบครัวในแง่บทบาท หมายถึง ผู้ที่รัก ผูกพัน และ ช่วยเหลือกันและกัน (แม้ อาจจะไม่ได้ ผกู พันกันในทางกฎหมายหรื อสายเลือด) ในทางคริ สต์ศาสนศาสตร์ “ครอบครัว” หมายถึง ชุมชนพื ้นฐานของมนุษย์ที่เกิดขึ ้น ตามพระประสงค์ของพระเจ้ า เป็ นครอบครัวในแง่โครงสร้ างที่มงุ่ ไปสูค่ รอบครัวในแง่บทบาท กล่าวคือ ผู้คนเป็ นครอบครัวเดียวกันเพราะเกี่ยวข้ องกันในทางกฎหมาย ทางสายเลือด หรื อ ฝ่ ายวิญญาณ มากกว่านัน้ พวกเขาจะมุง่ ไปสูก่ ารผูกพัน และเสริ มสร้ างซึง่ กันและกันอย่าง แท้ จริ ง ด้ วยเหตุนี ้ การกล่าวว่า “ชุมชนของผู้เชื่อ คือ ครอบครัวของพระเจ้ า” จึงไม่ได้ เป็ น เพียงการเปรี ยบเทียบ แต่เป็ นการพูดถึงความเป็ นจริ ง เพราะในฐานะที่เราเป็ นคริ สเตียน เรามีทงญาติ ั้ พี่น้องในทางกฎหมาย ทางสายเลือด และฝ่ ายวิญญาณ

ค�ำถามส�ำคัญที่ตามมาก็คือ “เราควรจะด�ำเนินชีวิตอย่างไรในครอบครัวของพระเจ้ า?”

เราควรจะด�ำเนินชีวิตอย่างไรใน ครอบครัวของพระเจ้า?

คริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ เรื่ อ งครอบครั ว ของพระเจ้ า “ที่มีชีวิต” จะต้ องน�ำไปสู่ ความสัมพันธ์ ที่เสริ มสร้ าง ระหว่างเรา กับสมาชิ กคนอื่ นๆ ในครอบครั วฝ่ าย ร่ างกาย และฝ่ ายวิญญาณ—ทัง้ กลุ่ม ผู้เชื่อ คริ สตจักรท้ องถิ่ น คริ สตจักร ภาค สภาคริ ส ตจัก รในประเทศไทย คริ สตจักรทุกคณะนิกายในประเทศไทย และคริ สตจักรสากล จากการไตร่ตรอง ค�ำสอนของพระคัมภีร์ ค�ำแนะน�ำของ ผู้รับใช้ พระเจ้ า(ดร.แจ็ค และ ดร.จูดิธ บอลสวิค ผู้เชี่ยวชาญด้ านครอบครัว ณ วิทยาลัยคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ฟูลเลอร์ ) รวมทังสถานการณ์ ้ ของครอบครัวและ คริ สตจักรไทยในปั จจุบัน ผมอยาก จะเสนอว่า คริ สเตียนไทยควรพัฒนา คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 8 ครอบครัวของพระเจ้า? (2)

คุณลักษณะ 4 ประการ ในครอบครัว ของพระเจ้ า

1. รักและยอมรับซึ่งกันและกันอย่าง ไม่มีเงื่อนไข ผู้คนในสังคมมักจะชื่นชอบผู้ที่ประสบ ความส� ำ เร็ จ และยอมรั บ ผู้ ที่ ท� ำ ได้ ตามมาตรฐานต่างๆ แต่มักมองข้ าม ผู้ที่เล็กน้ อย ไม่โดดเด่น อีกทังเกลี ้ ยด ชังผู้ที่แตกต่างจากตนเอง(โดยเฉพาะ ความแตกต่างในเรื่ องการเมือง) แต่ ในครอบครัวนัน้ พระเจ้ าทรงปรารถนา ให้ สมาชิ ก แต่ ล ะคนมี ค วามสัม พั น ธ์ ที่ ตัง้ อยู่บ นรากฐานของความรั ก ของ พระองค์ทปี่ ราศจากเงือ่ นไขและเสียสละ (ยน. 3:16 รม. 5:8) ดังนัน้ สมาชิกใน ครอบครั วควรจะรั กและยอมรั บซึ่งกัน และกันอย่างไม่มีเงื่อนไข

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ส�ำหรั บครอบครั วฝ่ ายร่ างกาย ไม่ว่า บุคคลหนึง่ จะมีชีวิตเป็ นเช่นไร สมาชิก คนอื่นๆ จะรักเขาอย่างที่เขาเป็ น เช่น พ่ อ แม่ รั ก ลูก ไม่ ใ ช่ เ พราะลูก ท� ำ ตาม ค�ำสัง่ หรื อเรี ยนได้ ดี แต่รักเพราะเป็ น ลูก ถึงแม้ วา่ บางคนอาจถูกคนอื่นๆ ใน สังคมมองข้ ามหรื อปฏิเสธ แต่สมาชิก ในครอบครัวจะเห็นคุณค่า และยอมรับ เขาอยูเ่ สมอ ส�ำหรับครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ สมาชิก ในชุมชนแห่งความเชื่ อควรจะรั กและ ยอมรับซึ่งกันและกัน แม้ อาจมีความ เข้ าใจ มุมมอง หรื อวิธีการที่แตกต่าง กัน ส่วนคริ สตจักรคณะนิกายต่างๆ ที่ มีแนวคิดทางศาสนศาสตร์ หรือศาสนพิธี ที่แตกต่างกัน ก็ควรจะยอมรับในความ แตกต่าง และยืนยันว่าสิ่งที่ส�ำคัญกว่า คือ การที่เราเป็ นสมาชิกในครอบครั ว ของพระเจ้ าเช่นเดียวกัน สิ่งส�ำคัญอี กประการหนึ่งที่ คริ สเตี ยน ไทยในปั จจุบนั ต้ องเรี ยนรู้ คือ การรัก ให้ เกียรติ และยอมรับผู้ที่มีจดุ ยืนทางการ เมืองต่างจากเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ ทีอ่ ยูใ่ นครอบครัวและคริสตจักรเดียวกับ เรา เป็ นเรื่องเศร้ าทีส่ มาชิกในครอบครัว และในคริ สตจักรบาดหมางกันเพราะมี มุมมองทางการเมืองที่ต่างกัน ดังนัน้ ขอพระเจ้ าช่วยเรานะครั บ ที่เราจะให้ ความส�ำคัญกับครอบครัวที่พระเจ้ าทรง หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

สถาปนาไว้ มากกว่า แนวคิดทางการ เมืองที่มนุษย์สร้ างขึ ้น และเราจะปฏิบตั ิ ต่อ ผู้อื่ น ด้ ว ยความรั ก มิ ใ ช่ ด้ ว ยความ เกลียดชัง แม้ วา่ พวกเขาจะคิดไม่เหมือน กับเราก็ตาม

2. เต็มไปด้วยบรรยากาศแห่ง พระคุณ ครอบครั ว ที่ รั ก และยอมรั บ ซึ่ง กัน และ กัน อย่ า งไม่ มี เ งื่ อ นไข จะเต็ ม ไปด้ ว ย บรรยากาศแห่งพระคุณ ไม่ใช่บรรยากาศ แห่งกฎเกณฑ์และข้ อบังคับ แม้ วา่ จะมี ข้ อตกลงที่ทกุ คนท�ำตาม แต่จะท�ำด้ วย ความเต็ม ใจ หากมี ข้ อ บกพร่ อ งเกิ ด ขึน้ จะพูด คุยกันด้ วยความรั กเพื่ อน� ำ ไปสู่ก ารแก้ ไ ข มี ก ารลงโทษอย่ า งมี ขอบเขต และมีการยกโทษเพื่อน�ำไปสู่ การเริ่ มต้ นใหม่ ไม่ใช่การว่ากล่าวด้ วย ค�ำพูดทีท่ ำ� ให้ เจ็บปวด ลงโทษด้ วยความ รุนแรง หรื อท�ำให้ อีกฝ่ ายรู้สกึ ว่าตนเอง ไม่สามารถเริ่ มต้ นใหม่ได้ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อลูกท�ำผิด พ่อแม่ อาจลงโทษด้ วยการให้ ลกู ไปยืนเงียบๆ ที่มมุ ห้ องสักครู่หนึง่ จากนัน้ พ่อแม่ควร อธิบายให้ ลกู เข้ าใจด้ วยความอ่อนสุภาพ ไม่ใช่ด้วยความโกรธ อีกทัง้ ควรหนุน ใจให้ ลกู เริ่ มต้ นใหม่ ไม่ใช่ซ� ้ำเติมจนเขา

ท�ำอย่างมีขอบเขต และเปิ ดโอกาสให้ เขาสามารถเริ่ มต้ นใหม่อย่างเหมาะสม ด้ วย มิใช่เหยียบย�่ำซ� ้ำเติม หรื อ ท�ำให้ เขารู้สกึ ด้ อยค่า คิดว่าตนเองไม่สามารถ รับการเปลี่ยนแปลงจากพระเจ้ าได้

ในคริ สตจักรทุกระดับ พระเจ้ าต้ องการ ให้ ผ้ เู ชื่อน�ำความแตกต่างมาเสริ มสร้ าง ซึง่ กันและกัน ดังที่อาจารย์เปาโลกล่าว ว่า ของประทานที่หลากหลายนัน้ มีไว้ เพื่อ “เสริ มสร้ างพระกายของพระคริ สต์ ให้ จ�ำเริ ญขึ ้น” (อฟ. 4:12) ดังนัน้ แทนที่ 3. เสริมสร้างชีวิตของกันและกัน คริ สเตียนไทยจะมองความแตกต่างใน ในครอบครั วที่ เต็มไปด้ วยบรรยากาศ แง่ลบ แล้ วพยายามเอาชนะกันและกัน แห่งพระคุณนัน้ แม้ ว่าเราจะรั กและ เราควรยอมรับความแตกต่าง แล้ วน�ำ ยอมรับซึ่งกันและกันอย่างไม่มีเงื่อนไข แต่ เ ราจะเสริ ม สร้ างชี วิ ต ของกัน และ กัน ให้ พัฒ นาไปในทิ ศ ทางที่ ดี ขึน้ ด้ ว ย ส�ำหรับครอบครัวฝ่ ายร่างกาย ลูกหลาน ควรได้ รั บ การยอมรั บ จากพ่ อ แม่ แ ละ ญาติผ้ ใู หญ่อย่างที่พวกเขาเป็ น ไม่ใช่ เอาพวกเขาไปเปรี ยบเที ย บกับคนอื่ น แต่ในขณะเดียวกัน เด็กแต่ละคนควร ได้ รั บ การส่ง เสริ ม ให้ พัฒ นาศัก ยภาพ มาเสริ มสร้ างซึง่ กันและกัน ยกตัวอย่าง ของตนเองด้ วย เช่น บางคนอาจไม่เก่ง เช่น แทนที่ เ ราจะถกเถี ย งกัน ว่า การ ค� ำ นวน แต่ เ ก่ ง ภาษา บางคนอาจ นมัสการรูปแบบใดเหมาะสมกับคริ สตเรี ยนไม่ดี แต่ถนัดงานช่าง หรื อมีความ จักรไทยมากที่สุด (ไม่ว่าจะเป็ นเพลง สามารถทางดนตรี หรื อกีฬา ฯลฯ หรื อเครื่ องดนตรี ที่ใช้ ล�ำดับขัน้ ตอน สิ่ ง ที่ ข า ด ไ ม่ ไ ด้ ใ น ค ร อ บ ค รั ว ข อ ง หรื อผู้ที่มีสว่ นในการนมัสการ) เราควร คริ ส เตี ย น คื อ การเสริ ม สร้ างซึ่ ง กัน ยอมรับว่าคริ สเตียนที่อยู่คนละท้ องถิ่น และกันให้ เติบโตขึ ้นในทางของพระเจ้ า มีวยั ต่างกัน หรื อมีชาติพนั ธุ์ที่ไม่เหมือน พ่อแม่เป็ นผู้ที่มีอิทธิพลกับลูกมากที่สดุ กัน ย่อมมีแนวทางทีเ่ หมาะสมกับบริบท โดยเฉพาะในฝ่ ายวิ ญ ญาณ ดัง นัน้ ของตนเอง ดังนัน้ เราควรเปิ ดใจเรี ยนรู้ สิง่ ดีของผู้อนื่ แล้ วน�ำมาปรับใช้ ในบริบท ของตนเอง

แทนที่คริสเตียนไทยจะมองความแตกต่างในแง่ลบ แล้วพยายามเอาชนะกันและกัน เราควรยอมรับความ แตกต่าง แล้วน�ำมาเสริมสร้างซึ่งกันและกัน

หมดก�ำลังใจ ในคริ สตจักร ผู้ใหญ่ควร เปิ ดโอกาสให้ เด็กและอนุชนได้ ร่วมรับใช้ แม้ ว่าพวกเขาอาจยังไม่สามารถท�ำได้ ดีตามมาตรฐานของเรา และที่ส�ำคัญ ก็คอื หากมีสมาชิกคนใดล้ มลงในความ บาป สมาชิกคนอื่นๆ ควรช่วยเหลือเขา ด้ วยความรัก อาจมีการลงโทษ แต่ต้อง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 8 ครอบครัวของพระเจ้า? (2)

พ่อแม่ต้องเป็ นแบบอย่างที่ดีในทางของ พระเจ้ า และส่งเสริ มให้ ลกู ๆ เดินในทาง ของพระองค์ด้วย เช่น นมัสการพระเจ้ า และอ่านพระคัมภีร์ร่วมกันในครอบครัว พาลูก ที่ ยัง เป็ นเด็ ก ไปคริ ส ตจัก รและ ให้ เข้ าชันเรี ้ ยนรวีวารศึกษา เป็ นต้ น

4. ความใกล้ชิด ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม ใ ก ล้ ชิ ด ภ า ย ใ น ครอบครั ว เป็ นสิ่ ง ที่ ท้ าทายส� ำ หรั บ ชาวไทยในศตวรรษที่ 21 สภาพ เศรษฐกิจที่ฝืดเคืองและความต้ องการ ความก้ าวหน้ า ท� ำ ให้ สมาชิ ก ใน ครอบครัวที่ท�ำงานแล้ ว ต้ องใช้ เวลาอยู่ ในที่ท�ำงานมากขึ ้น เอางานกลับมาท�ำ ที่บ้าน หรื อย้ ายไปท�ำงานต่างจังหวัด การแข่งขันทางการศึกษาที่รุนแรงและ หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ความต้ องการความส�ำเร็จ ท�ำให้ สมาชิก ในครอบครัวทีอ่ ยูใ่ นวัยเรียน ต้ องใช้ เวลา เรี ยนมากขึน้ บางคนต้ องเรี ยนพิเศษ ทังช่ ้ วงเช้ า-ช่วงค�่ำของวันธรรมดา และ เรี ย นพิ เ ศษทัง้ วัน ในวัน เสาร์ - อาทิ ต ย์ นอกจากนัน้ ยัง มี อี ก หลายสิ่ ง ที่ เ รี ย ก ร้ องเวลาของสมาชิกแต่ละคน เช่น งาน อดิเรกหรื อกิจกรรมที่แต่ละคนชื่นชอบ

ท� ำความรู้ จัก ซึ่ง กัน และกัน ให้ มากขึน้ พูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็น แบ่งปั น ประสบการณ์ในชีวติ คริสเตียน และร่วม กันรับใช้ พระเจ้ า สิ่งเหล่านี ้จะช่วยให้ ผู้เชือ่ มีความสัมพันธ์ทใี่ กล้ ชดิ กันมากขึ ้น แต่ละคนจะกล้ าเปิ ดเผยชีวิตต่อกันและ กันมากขึ ้น ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารมีความรัก มากขึ ้น การมีบรรยากาศแห่งพระคุณ ด้ วยเหตุนี ้เอง ครอบครัวของคนไทยจึง มากขึ ้น และการเสริ มสร้ างซึง่ กันและ กลายเป็ นครอบครัวที่ห่างเหิน การนัง่ กันมากยิ่งขึ ้นต่อไป รั บประทานอาหารร่ วมกันอย่างพร้ อม หน้ าพร้ อมตา การใช้ เวลาพูดคุยเกี่ยว กับปั ญหาในชีวิต และการคอยดูแลให้ ก�ำลังใจซึง่ กันและกันก�ำลังค่อยๆ หมด ไป สิง่ ที่เหลืออยู่ คือ การสนทนาสันๆ ้ เพื่อแลกเปลี่ยนข้ อมูล การขอเงินค่า ขนม กระดาษบันทึกข้ อความสันๆ ้ ที่ ติดไว้ หน้ าตู้เย็นเพื่อสื่อสารกับสมาชิก ในครอบครั ว หรื อ การรั บ ประทาน อาหารร่ วมกันปี ละครัง้ ในโอกาสพิเศษ ผลที่ ต ามมาก็ คื อ ความโดดเดี่ ย วและ ความเครี ยดในการต้ องเผชิญกับปั ญหา สรุป ต่างๆ ตามล�ำพัง พระเจ้ าทรงให้ ความส�ำคัญกับครอบครัว

คริ ส เตี ย นไทยจ� ำ เป็ นต้ อ งใช้ เ วลากับ ครอบครัวให้ มากขึ ้น โดยเรี ยนรู้ที่จะใช้ เวลาร่ วมกันอย่างสร้ างสรรค์ด้วย เช่น แทนที่จะนัง่ ดูโทรทัศน์ด้วยกันเป็ นเวลา หลายชั่ว โมงแต่ แ ทบไม่ ไ ด้ พู ด คุย กั น ก็ปิดโทรทัศน์แล้ วหันมาพูดคุยกันถึงสิ่ง ต่างๆ ที่สมาชิกแต่ละคนก�ำลังเผชิญอยู่ ให้ ก�ำลังใจ ให้ ค�ำแนะน�ำซึ่งกันและกัน อ่านพระคัมภีร์ร่วมกัน และอธิษฐานเผือ่ ซึง่ กันและกัน ในท�ำนองเดียวกัน สมาชิกในคริ สตจักรควรเรี ยนรู้ จัก “การสามัคคีธรรม” ที่ แ ท้ จ ริ ง ซึ่ง มิ ไ ด้ เ ป็ นเพี ย งการ “เข้ า ร่วม” กิจกรรมต่างๆ เท่านัน้ แต่เป็ นการ “เข้ า ส่ว น” เพื่ อ เสริ ม สร้ างชี วิ ต ซึ่ง กัน และกันอย่างแท้ จริ ง เริ่ มต้ นด้ วยการ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 8 ครอบครัวของพระเจ้า? (2)

หมายเหตุ

บทความชุ ด นี ม้ ี เ ป้ าหมายเพื่ อ ช่ ว ยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตวั และพระเจ้ าทรง ปรารถนาให้ ผ้ เู ชือ่ ทุกคนสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ที่ดซี งึ่ อยูบ่ นพื ้นฐานของพระคัมภีร์ เรี ย นรู้ จากหลัก ข้ อ เชื่ อ และเกี่ ย วข้ อ ง กับ บริ บ ทในปั จ จุบัน บทความแต่ล ะ ตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุ ปเท่านัน้ จึง ขอให้ ผ้ อู ่านได้ พิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ พระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของ คณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอืน่ ๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ทา่ น ต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่าง สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีคำ� ถาม ค�ำแนะน�ำ หรือพระพร ที่อยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap. ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิทยาลัย พระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัย พายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

พระองค์ มี พ ระประสงค์ ใ ห้ ม นุ ษ ย์ อ ยู่ ในครอบครั ว ฝ่ ายร่ า งกายและฝ่ าย วิญญาณ เพื่อที่เราจะเป็ นหนึง่ เดียวกัน และเสริ มสร้ างกันและกัน ดังนันขอให้ ้ เราให้ ความส�ำคัญกับทังสองครอบครั ้ ว นี ้ โดยร่วมกันเพิม่ เติม ความรัก พระคุณ การเสริ มสร้ าง และความใกล้ ชิดให้ กบั ครอบครัวของเรา เพื่อที่ครอบครัวของ เราจะเป็ นครอบครัวของพระเจ้ าอย่าง แท้ จริ ง ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร สิ งหาคม 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 9

ตรีเอกภาพ/ตรีเอกานุภาพ

มื่อท่านพบว่าบทความตอนนี ้มีชื่อว่า “ตรี เอกภาพ/ตรี เอกานุภาพ” ท่านอาจเป็ น เหมือนคริ สเตียนส่วนใหญ่ที่มองว่าหัวข้ อนี ้ “เข้ าใจยาก” และ “ไกลตัว” (มากที่สดุ ) และอาจใช้ เวลาพอสมควรในการคิดว่าจะอ่านบทความนี ้หรื อไม่! (แต่ผมดีใจที่ในที่สดุ ท่าน ก็ตดั สินใจอ่าน) อย่างไรก็ดี บทความตอนนี ้จะช่วยให้ ทา่ นเห็นว่า “ตรี เอกภาพ/ตรี เอกานุภาพ” ไม่ใช่ เรื่ องที่ยากเกินความเข้ าใจ หากเราสนใจในประเด็นที่เหมาะสม อีกทัง้ ไม่ใช่เรื่ องไกลตัว แต่ เกี่ยวข้ องกับชีวติ ประจ�ำวันของเราอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในความสัมพันธ์ระหว่างเรา กับพระเจ้ า และกับผู้อื่น อนึ่ง แม้ คริ สเตียนไทยจะคุ้นเคยกับค�ำว่า “ตรี เอกานุภาพ” แต่ผมจะขอใช้ ค�ำว่า “ตรี เอกภาพ” เนื่องจากมีความหมายที่ใกล้ เคียงกับค�ำว่า Trinity ในภาษาอังกฤษ และ รากศัพท์ภาษาลาติน Trinitas ซึง่ เทอร์ ทเู ลียนได้ บญ ั ญัติขึ ้นเพื่อกล่าวถึงพระเจ้ าผู้ทรงด�ำรง เป็ นสาม(ตรี )พระภาค คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ แต่ทรงเป็ นพระเจ้ า องค์เดียว (เอกภาพ)

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

-พระเยซูตรัสสัง่ ให้ ผ้ เู ชื่อออกไปน�ำชน ทุกชาติมาเป็ นสาวกของพระองค์ และบัพติศมาพวกเขาในพระนามของ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ (มธ. 28:19) -เปาโลอวยพรผู้เชื่อ โดยกล่าวว่า “ขอ พระคุณขององค์พระเยซูคริ สต์เจ้ า ความ รักของพระเจ้ า และสามัคคีธรรมจากพระ วิญญาณบริ สทุ ธิ์ ด�ำรงอยูก่ บั ท่านทังปวง ้ เถิด” (2คร. 13:14—อมตธรรมร่วมสมัย)

พระคัมภีร์สอนว่าอย่างไร?

นอกจากนัน้ พระคัมภีร์ยงั ชี ้ให้ เห็นว่าแต่ละพระภาคทรงเป็ น แม้ เราจะไม่พบค�ำว่า “ตรี เอกภาพ” ในพระคัมภีร์ แต่ความ พระเจ้ าแท้ ที่เท่าเทียมกัน ทรงแตกต่างกันแต่ผกู พันเป็ นหนึง่ จริ งนี ป้ รากฏอยู่ในพระคัมภี ร์ทัง้ ภาคพันธสัญญาเดิมและ เดียวกันด้ วยความรัก และท�ำพระราชกิจร่วมกัน (แม้ วา่ แต่ละ พันธสัญญาใหม่ ในยุคสมัยที่ผ้ คู นเชื่อว่ามีสงิ่ ศักดิ์สทิ ธิ์และ พระภาคมีพระราชกิจหลักของพระองค์) ยกตัวอย่างเช่น เทพเจ้ ามากมาย พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมเน้ นว่ามี -ยอห์นยืนยันว่า “ในปฐมกาลพระวาทะ(พระบุตร)ทรง พระเจ้ าเที่ยงแท้ องค์เดียว (เช่น ฉธบ. 6:4) แต่ก็มีการเปิ ดเผย ด�ำรงอยู่ และพระวาทะทรงอยูก่ บั พระเจ้ า และพระวาทะทรง เรื่ องตรี เอกภาพด้ วย แม้ ยงั ไม่ชดั เจนนัก เช่น การกล่าวถึง เป็ นพระเจ้ า ในปฐมกาลพระองค์ทรงอยูก่ บั พระเจ้ า พระเจ้ า พระวิญญาณของพระเจ้ า (เช่น ปฐก. 1:2 วนฉ. 3:10 ยอล. ทรงสร้ างสรรพสิง่ ขึ ้นมาโดยพระวาทะ...” (ยน. 1:1-3—ฉบับ 2:28-29) และการใช้ สรรพนามพหูพจน์ของพระเจ้ า (เช่น มาตรฐาน) ในปฐมกาล 1:26 พระเจ้ าตรัสว่า “ให้ เราสร้ างมนุษย์ตาม -ลูกาเน้ นว่าพระเยซูเสด็จมากระท�ำพระราชกิจในพระนาม ฉายาตามอย่างของเรา…”) ของพระบิดา โดยฤทธิ์เดชของพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ (ลก. พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ยงั คงยืนยันว่ามีพระเจ้ าเที่ยง 4:14-21) แท้ องค์เดียว แต่มีการเปิ ดเผยเรื่ องตรี เอกภาพอย่างชัดเจน -พระเยซูตรัสว่าพระองค์กบั พระบิดาทรงเป็ นหนึง่ เดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น รู้จกั และรักกันและกัน (ยน. 10:15,17,30) -เรื่ องราวการบัพติศมาของพระเยซูชี ้ให้ เห็นว่าพระบุตร -เอเฟซัส 1:3-14 ชี ้ให้ เห็นว่าการช่วยมนุษย์ให้ รอดพ้ นจาก พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ และพระบิดาอยู่พร้ อมกัน ณ ที่นั่น ความบาปเป็ นพระราชกิจของทังสามพระภาค ้ พระบิดาทรง (มธ. 3:16-17) เลือกเราไว้ ตงแต่ ั ้ กอ่ นทีจ่ ะทรงเริ่มสร้ างโลก (ข้ อ 4) พระเยซูทรง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 9 ตรี เอกภาพ/ตรี เอกานุภาพ

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ไถ่เราโดยพระโลหิตของพระองค์ (ข้ อ 7) และพระวิญญาณ ตรีเอกภาพกับคริสเตียนไทยในปัจจุบัน บริ สทุ ธิ์ทรงเป็ นตราประทับ (ข้ อ 13) ความจริ ง เรื่ อ งตรี เ อกภาพช่ ว ยให้ เรามี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ เหมาะสมกับพระเจ้ าและกับผู้อื่น ส�ำหรั บความสัมพันธ์ ผู้เชื่อในอดีตสอนว่าอย่างไร? ระหว่างเรากับพระเจ้ า ความจริ งนี ท้ � ำให้ เราตระหนักว่า ตลอดประวัติศาสตร์ คริ สตจักร มีความเข้ าใจที่ไม่ถูกต้ อง “พระเจ้ าทรงเป็ นพระเจ้ า” นัน่ คือพระองค์ทรงยิ่งใหญ่และ หลายประการเกี่ยวกับตรี เอกภาพ เช่น เข้ าใจผิดว่ามีพระเจ้ า อัศจรรย์ เกิ น กว่าที่ เราจะบรรยายได้ อ ย่างถ่ อ งแท้ ดัง นัน้ สามองค์ คิดว่าพระบิดาเท่านันที ้ ่ทรงเป็ นพระเจ้ าแท้ (ส่วน พระองค์จงึ ทรงเป็ นผู้เดียวที่คคู่ วรแก่การนมัสการ ในขณะ พระบุตรและพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์นนถู ั ้ กสร้ างขึ ้น) คิดว่า เดียวกัน เราต้ องนมัสการทังพระบิ ้ ดา พระบุตร และพระ พระเจ้ ามีองค์เดียวแต่ส�ำแดงพระองค์เป็ นพระบิดาในสมัย วิ ญ ญาณบริ สุท ธิ์ เพราะทัง้ สามพระภาคนัน้ ทรงด� ำ รงอยู่ พันธสัญญาเดิม เป็ นพระบุตรในชีวิตของพระเยซู และเป็ น นิรันดร์ ร่วมกัน และต่างมีสว่ นในการกระท�ำพระราชกิจอันมี พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ในปั จจุบนั หรื อมองว่ามีล�ำดับขันใน ้ ตรี เอกภาพ คือ พระบิดานันสู ้ งสุด พระบุตรรองลงมา และ พระวิญญาณเป็ นล�ำดับสุดท้ าย ผู้เชือ่ ในอดีตได้ ปฏิเสธค�ำสอนเท็จเหล่านี ้ และระบุความเข้ าใจ ที่ถูกต้ องเอาไว้ ในหลักข้ อเชื่ออะทาเนเซียน (Athanasian Creed) ซึง่ มีประเด็นส�ำคัญดังนี ้ (หลักข้ อเชื่อนี ้ค่อนข้ างยาว และกล่าวถึงสองหัวข้ อ คือ ตรี เอกภาพและพระคริ สต์)

-เรานมัสการพระเจ้ าองค์เดียวผู้ทรงมีสามพระภาค -แต่ละพระภาคทรงแตกต่างกัน แต่ไม่แยกจากกัน -ทังสามพระภาคทรงเป็ ้ นพระเจ้ าแท้ แต่ทรงเป็ น พระเจ้ าองค์เดียว -ทังสามพระภาคทรงด� ้ ำรงอยูน่ ิรันดร์ ร่วมกัน -ทังสามพระภาคทรงเท่ ้ าเทียมกัน

อย่างไรก็ตาม อิทธิพลของปรัชญาตะวันตกท�ำให้ ผ้ เู ชือ่ ในอดีต พยายามอธิบายความเป็ นไปได้ ของตรี เอกภาพด้ วยเหตุและ ผล อีกทังพยายามเปรี ้ ยบเทียบความจริงนี ้กับสิง่ ต่างๆ เช่น น� ้ำ ในสามสถานะ หรือ ร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของมนุษย์ ฯลฯ โดยลืมไปว่า เป็ นไปไม่ได้ ที่มนุษย์จะอธิบายความจริ ง ของพระเจ้ าได้ อย่างกระจ่างแจ้ ง หรือจะเปรียบพระเจ้ าเหมือน กับสิ่งอื่นๆ ผลที่ตามมาก็คือ ตรี เอกภาพกลายเป็ นเรื่ องที่ เข้ าใจยาก เพราะคริ สเตียนมัวแต่สนใจว่า “พระเจ้ าองค์เดียว ทรงมีสามพระภาคได้ อย่างไร?” แทนที่จะยอมรับความจริ งนี ้ ด้ วยความเชื่อ แล้ วถามค�ำถามที่เหมาะสมกว่า คือ “พระเจ้ า องค์เดียวที่มีสามพระภาคทรงเกี่ยวข้ องกับเราอย่างไร?

การท�ำพระราชกิจร่วมกันของ องค์ตรีเอกภาพเตือนใจเราให้ มองตนเองและเพื่อนร่วมงาน อย่างเท่าเทียมกัน แม้แต่ละคนอาจมีต�ำแหน่งหน้าที่ แตกต่างกัน แต่ทุกคนล้วนมี บทบาทส�ำคัญเท่าเทียมกันในการ ก้าวไปสู่เป้าหมายของทีม

พระคุณทังสิ ้ ้นในชีวิตของเรา (ขอให้ เพลง “สรรเสริ ญพระเจ้ า ผู้อำ� นวยพร” ทีเ่ ราร้ องทุกวันอาทิตย์ ย� ้ำเตือนเราไม่ให้ ลมื ความ จริ งนี ้) นอกจากนัน้ เราควรมีความสัมพันธ์ ที่ใกล้ ชิดกับ พระเจ้ าและมีจิตใจที่รักผูกพันกับพระองค์ เช่นเดียวกับที่เรา เห็นแบบอย่างจากความสัมพันธ์ของทังสามพระภาค ้ ส�ำหรับความสัมพันธ์ระหว่างเรากับผู้อื่น เราสามารถน�ำแบบ อย่างความสัมพันธ์ขององค์ตรี เอกภาพมาประยุกต์ใช้ ได้ ใน 3 ประเด็นที่ส�ำคัญ คือ

ด้ วยเหตุนี ้ เราจะมาพิจารณาร่วมกันว่าตรี เอกภาพเกี่ยวข้ อง 1. เราควรพัฒนาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับสมาชิกใน กับชีวิตประจ�ำวันของเราอย่างไร ครอบครัวอยู่เสมอ แม้ ทงสามพระภาคทรงเป็ ั้ นพระเจ้ าองค์เดียว แต่พระองค์ ก็ ไม่ละเลยที่ จะพัฒนาความสัมพัน ธ์ ใ ห้ ใ กล้ ชิด มากยิ่ ง ขึน้ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 9 ตรี เอกภาพ/ตรี เอกานุภาพ

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ดังที่พระเยซูทรงใช้ เวลากับพระบิดาอย่างสม�่ำเสมอในขณะ ที่พระองค์ทรงอยู่ในโลกนี ้ ดังนัน้ เราต้ องไม่มองข้ ามการ พัฒนาความสัมพันธ์ทใี่ กล้ ชดิ กับสมาชิกคนอืน่ ๆ ในครอบครัว อย่ า งสม�่ ำ เสมอ (ทัง้ ครอบครั ว ในฝ่ ายร่ า งกายและฝ่ าย วิญญาณ) มิฉะนัน้ เราจะไม่สามารถเอาชนะปั ญหาความ ห่างเหินระหว่างสมาชิกในครอบครั ว และความสัมพันธ์ ที่ ผิวเผินระหว่างสมาชิกในคริสตจักรซึง่ ผมกล่าวถึงในบทความ ตอนที่แล้ วได้

2. เราควรพัฒนาการท�ำงานร่วมกันเป็นทีม ความส�ำเร็ จของนักกีฬาประเภทเดี่ยวและความล้ มเหลวของ นักกีฬาประเภททีมของประเทศไทยชี ้ให้ เห็นว่า สิ่งที่คนไทย ต้ องพัฒนาไม่ใช่ทกั ษะเฉพาะตัว แต่เป็ นทักษะในการท�ำงาน ร่ วมกันเป็ นทีม แต่ผมเชื่อว่าสิ่งที่ส�ำคัญกว่า “ทักษะ” คือ “ทัศนคติ” เกี่ยวกับการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การท�ำพระราชกิจ ร่วมกันขององค์ตรีเอกภาพเตือนใจเราให้ มองตนเองและเพือ่ น ร่ วมงาน(ทังในที ้ ่ท�ำงานและในคริ สตจักร)อย่างเท่าเทียมกัน แม้ แต่ละคนอาจมีต�ำแหน่งหน้ าที่แตกต่างกัน แต่ทกุ คนล้ วน มีบทบาทส�ำคัญเท่าเทียมกันในการก้ าวไปสูเ่ ป้าหมายของทีม ดังนัน้ เราควรให้ เกียรติเพื่อนร่วมงานของเรา รับฟั งความคิด เห็นของผู้อื่น และปฏิบตั ติ อ่ ทุกคนอย่างเสมอภาค มากกว่า นัน้ เราได้ รับการท้ าทายให้ ท�ำงานด้ วยความถ่อมใจโดยเห็นว่า ผู้อื่นดีกว่าตนเอง เหมือนกับที่พระบุตรยอมถ่อมพระองค์ลง มาเป็ นมนุษย์และยอมเชื่อฟั งพระบิดาแม้ ต้องตายที่กางเขน (ฟป. 2:3-8) อีกทังท� ้ ำงานโดยไม่หวังการยกย่องสรรเสริ ญ เช่นเดียวกับทีพ่ ระวิญญาณบริสทุ ธิ์กระท�ำพระราชกิจอยูเ่ บื ้อง หลังเพื่อยกย่องพระบุตรและพระบิดา หากคริ สเตียนไทยมี ทัศนะคติเช่นเดียวกับองค์ตรี เอกภาพ เชื่อแน่วา่ เราจะท�ำงาน ร่วมกันเป็ นทีมได้ ดียิ่งขึ ้น

3. เราควรพัฒนาความเป็นเอกภาพท่ามกลางความหลาก หลาย

ความรักแม้ วา่ จะมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันก็ตาม แน่นอนที่การท�ำตามแบบอย่างขององค์ตรี เอกภาพนันไม่ ้ ใช่ เรื่ องง่าย แต่เราสามารถท�ำได้ เพราะเราเป็ นมนุษย์ที่ถกู สร้ าง ขึ ้นตามพระฉายาขององค์ตรี เอกภาพ และในฐานะที่เราเป็ น ผู้เชื่อ เราได้ รับการสร้ างใหม่ตามพระฉายาของพระองค์ (คส. 3:10) เราจึงสามารถด�ำเนินชีวิตตามแบบอย่างของพระองค์ ได้ ด้ วยเหตุนี ้ ในตอนหน้ า เราจะมาพูดคุยกันว่า “การเป็ น มนุษย์ ที่ถูกสร้ างขึน้ ตามพระฉายาของพระเจ้ านัน้ มี ความ หมายส�ำหรับเราอย่างไรบ้ าง?” ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร กันยายน 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หมายเหตุ

บทความชุดนี ม้ ีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตวั และพระเจ้ าทรงปรารถนา ให้ ผ้ ูเชื่อทุกคนสร้ างคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ดีซึ่งอยู่บนพื ้นฐานของ พระคัมภีร์ เรี ยนรู้ จากหลักข้ อเชื่อ และเกี่ ยวข้ องกับบริ บทใน ปั จจุบนั บทความแต่ละตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุปเท่านัน้ จึงขอให้ ผู้อา่ นได้ พจิ ารณาเพิม่ เติมเกี่ยวกับพระคัมภีร์ตอนอืน่ ๆ และหลักข้ อ เชื่อของคณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอืน่ ๆ รวมทังไตร่ ้ ตรอง ถึงสถานการณ์จริ งที่ทา่ นต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ทดี่ ี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและ ท�ำพันธกิจอย่างสอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และสามารถ ตอบสนองต่อสถานการณ์รอบข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีค�ำถาม ค�ำแนะน�ำ หรื อพระพรที่อยากแบ่งปั น ท่าน สามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap. ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

แม้ แต่ละพระภาคทรงแตกต่างกัน แต่ไม่แตกแยก และไม่นำ� ไป สูค่ วามเกลียดชัง ในทางตรงกันข้ าม ทังสามพระภาคทรงเป็ ้ น หนึง่ เดียวกันด้ วยความรัก ความจริงนี ้เตือนสติคริสเตียนไทย ให้ มองความแตกต่างอย่างสร้ างสรรค์ และปฏิบตั ิตอ่ ผู้ที่แตก ต่างจากตนเองด้ วยความรัก ทังความแตกต่ ้ างระหว่างบุคคล คริ สตจักร คณะ นิกาย หรื อแม้ แต่ความแตกต่างทางศาสนา และการเมือง เพื่อที่คริ สเตียนไทยจะสามารถเป็ นแบบอย่าง ที่ดีกบั ชาวไทยคนอื่นๆ ได้ วา่ เอกภาพสามารถเกิดขึ ้นได้ ท่าม กลางความหลากหลาย และคนไทยสามารถอยูร่ ่วมกันได้ ด้วย คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 9 ตรี เอกภาพ/ตรี เอกานุภาพ

หน้ า 3


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 10

อยู่กบั ความจริ งที่ว่า เอลีเป็ นผู้ที่สร้ าง พันชิเนโล่(และหุน่ ไม้ ทกุ ตัว)ขึ ้นมา พันชิเนโล่(และหุน่ ไม้ ทกุ ตัว)จึงเป็ นหุน่ ที่แสน พิ เ ศษและมี ค วามหมายต่อ เอลี อ ย่า ง มาก แล้ วเมื่อพันชิเนโล่ยอมรับความ โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ จริ งนี ้ วงกลมสีเทาก็หลุดออกจากตัว เขา! (สรุปจาก แม็กซ์ ลูคาโด. คุณเป็ น นนิ ท านเรื่ อ ง “คุณ เป็ นคนพิ เ ศษ” คนพิเศษนะ. กรุ งเทพฯ: กนกบรรณา(You Are Special) แม็กซ์ ลูคาโด สาร, 2008.) เล่าเรื่ องของบรรดาหุ่นไม้ ที่ถกู สร้ างขึ ้น โดยช่างไม้ ชื่อ เอลี หุน่ ไม้ แต่ละตัวแตก เรื่ องราวที่น่าประทับใจนี ้สะท้ อนความ ต่างกัน แต่อาศัยอยูใ่ นหมูบ่ ้ านเดียวกัน จริ งเกี่ยวกับมนุษย์อย่างชัดเจน ผู้คน ทุกๆ วัน หุน่ ไม้ เหล่านี ้จะท�ำสิง่ หนึง่ คือ ในสังคมมองว่า “บุคคลส�ำคัญ หรื อ คน เอาสติ๊กเกอร์ ไปติดหุ่นไม้ ตวั อื่นๆ หุ่น พิเศษ” คือ บางคนที่มีฐานะ ต�ำแหน่ง ไม้ ที่ดดู ี หรื อมีความสามารถพิเศษจะได้ ความสามารถ หรื อรูปร่างหน้ าตาดีกว่า สติก๊ เกอร์ รูปดาวสีทอง แต่หนุ่ ไม้ ที่ดไู ม่ คนอื่นๆ นอกจากนัน้ บุคคลส�ำคัญ ้ กจะได้ รับสิทธิพเิ ศษต่างๆ เช่น ดี หรื อไม่เก่งจะได้ สติก๊ เกอร์ รูปวงกลมสี เหล่านันมั เทา ดังนัน้ ผู้ทมี่ ดี าวสีทองมากๆ จะรู้สกึ ที่นงั่ VIP ห้ อง VIP ที่จอดรถ VIP ฯลฯ ดีกบั ตัวเอง ส่วนผู้ที่มีแต่วงกลมสีเทาก็ ดังนัน้ ผู้คนจึงปรารถนาและพยายาม จะรู้สกึ แย่กบั ตัวเอง เหมือนกับหุน่ ไม้ ที่ ที่จะเป็ นบุคคลส�ำคัญ ซึง่ หากประสบ ความส�ำเร็ จก็จะรู้ สกึ ว่าตนเองมีคณ ุ ค่า มีชื่อว่า พันชิเนโล่ แต่หากล้ มเหลวก็จะรู้ สึกแย่กับตัวเอง พัน ชิ เ นโล่มี ว งกลมสี เ ทาติ ด อยู่ทั่ว ตัว อย่างไรก็ดี มุมมองของพระเจ้ าเกี่ยว เพราะเขาไม่มีความสามารถพิเศษ และ กับบุคคลส�ำคัญนันแตกต่ ้ างจากมุมมอง มักจะท�ำอะไรผิดพลาดอยูเ่ สมอ หุน่ ไม้ ของโลกนีอ้ ย่างสิ ้นเชิง เพราะในสาย ตัวอื่นๆ พากันพูดถึงพันชิเนโล่ว่า “เขา พระเนตรของพระเจ้ านัน้ มนุษย์ทกุ คน เป็ นหุ่นไม้ ที่ไม่ดี” จนท�ำให้ เขาคิดว่า ล้ วนเป็ นบุคคลส�ำคัญ! ตนเองเป็ นอย่างนันจริ ้ งๆ อยูม่ าวันหนึง่ พันชิเนโล่ได้ พบกับหุน่ ไม้ ที่ชื่อ ลูเซีย ซึง่ การศึกษาเรื่ อง “มนุษย์” ในพระคริ สตน่ า แปลกที่ เ ธอไม่ มี ทัง้ ดาวสี ท องและ ธรรมคัมภีร์ ช่วยให้ เราเข้ าใจว่าเพราะ วงกลมสีเทา เธอเป็ นหุ่นไม้ ที่มีความ เหตุใดมนุษย์ทกุ คนจึงเป็ นคนพิเศษใน สุขเพราะไม่มีใครสามารถเอาสติ๊กเกอร์ สายพระเนตรของพระเจ้ า และเราควร มาติดที่ตัวเธอได้ เธอบอกพันชิเนโล่ จะตอบสนองต่อความจริ งนี ้อย่างไรใน ว่าที่เป็ นเช่นนันก็ ้ เพราะเธอไปหาช่างไม้ ชีวิตประจ�ำวัน เอลีทกุ วัน

บุคคลส�ำคัญ(VIP)?

ในที่ สุด พัน ชิ เ นโล่ ก็ ตัด สิ น ใจไปยัง บ้ านของเอลี ณ ที่ นั่น เขาได้ พบกับ เอลี และได้ เข้ าใจว่า คุณค่าของตนเอง ไม่ได้ ขึน้ อยู่กับความสามารถของเขา หรื อการยกย่องของหุ่นไม้ อื่นๆ แต่ขึ ้น คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 10 บุคคลส�ำคัญ(VIP)?

1. ทุกคนถูกสร้างขึ้นตาม พระฉายาของพระเจ้า

พระคัมภีร์กล่าวว่า พระเจ้ าทรงสร้ าง มนุษ ย์ ขึ น้ มา “ตามพระฉายา” ของ พระองค์ (ปฐก. 1:26-27) มนุษย์ทกุ คนจึงมีเกียรติและศักดิ์ศรี (สดุดี 8:5) หน้ า 1


เป็ นบุคคลส�ำคัญในสายพระเนตรของ พระเจ้ า

แม้ในวันนี้พระฉายาของพระเจ้าในมนุษย์ จะถูกบิดเบือนไป แต่ทุกคนมีโอกาสที่จะได้รับการสร้างใหม่ จากพระเจ้าผ่านทางพระเยซูคริสต์

แม้ ว่ า เราจะไม่ ส ามารถอธิ บ ายค� ำ ว่า “พระฉายา” ของพระเจ้ าได้ อย่างชัดเจน แต่เราสามารถสรุ ปได้ ว่า การที่มนุษย์ ถูกสร้ างขึน้ “ตามฉายา” หรื อ “ตาม อย่าง” ของพระเจ้ า ท�ำให้ มนุษย์สามารถ สะท้ อนสิ่งที่ พระเจ้ าทรงเป็ นและสิ่งที่ พระองค์ทรงกระท�ำได้ เช่น การมีชีวิต 2. ทุกคนได้รับมอบหมายหน้าที่ ที่บริ สทุ ธิ์และยุตธิ รรม การมีสติปัญญา จากพระเจ้า และความคิดสร้ างสรรค์ การมีความรัก พระคัมภีร์กล่าวว่า “แล้ วพระเจ้ าตรั ส และความเมตตาต่อผู้อื่น เป็ นต้ น ว่า ‘ให้ เราสร้ างมนุษย์ ตามฉายาตาม เมื่ อ มนุษ ย์ ล้ ม ลงในความบาป พระ อย่างของเรา ให้ ครอบครองฝูงปลาใน ฉายาของพระเจ้ าไม่ ไ ด้ สู ญ สิ น้ ไป ทะเล ฝูงนกในอากาศและฝูงสัตว์ ให้ พระคัม ภี ร์ ยื น ยัน ว่ า มนุษ ย์ ยัง คงเป็ น ปกครองแผ่นดินทัว่ ไป และสัตว์ต่างๆ พระฉายาของพระเจ้ า (ดู ปฐก. 9:6 ที่เลื ้อยคลานบนแผ่นดิน” (ปฐก. 1:26) ยก. 3:9) แต่พระฉายานันถู ้ กบิดเบือน และ “พระเจ้ าจึง ทรงให้ มนุษย์ นัน้ อยู่ หรื อถูกท�ำให้ เสือ่ มลง มนุษย์ในปั จจุบนั ในสวนเอเดน ให้ ท�ำและรั กษาสวน” จึ ง ไม่ ส ามารถสะท้ อ นพระฉายาของ (ปฐก. 2:15) พระเจ้ าได้ อย่างแท้ จริ ง และบ่อยครัง้ ก็แสดงออกถึงลักษณะที่ตรงข้ ามด้ วย เช่น การผิดศีลธรรม ความเห็นแก่ตวั และความเกลียดชัง ฯลฯ

ด้ ว ยเหตุนี ้ เราจ� ำ เป็ นต้ อ งตระหนัก อยู่ เ สมอว่ า มนุ ษ ย์ ทุ ก คนสามารถ สะท้ อนพระลักษณะทีด่ งี ามของพระเจ้ า ได้ ไม่ ว่ า เขาจะรู้ จัก พระองค์ ห รื อ ไม่ ก็ ตาม ในฐานะที่ เราเป็ นคริ สเตี ยน ไทย เราควรชื่นชมในศิลปะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิต ของชาวไทยที่สะท้ อนพระลักษณะที่ดี งามของพระเจ้ า แต่ในเวลาเดียวกัน เราควรปฏิเสธค่านิยมที่ไม่ถูกต้ องของ สังคมด้ วย เช่น การให้ เกียรติเฉพาะ ผู้ใหญ่ แต่ดูหมิ่นผู้เล็กน้ อย ในทาง ตรงกันข้ าม เราควรให้ เกียรติและมอง เห็ น คุณ ค่า ของทุก คน เพราะทุก คน เป็ นบุคคลส�ำคัญในสายพระเนตรของ พระเจ้ า คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 10 บุคคลส�ำคัญ(VIP)?

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

พระเจ้ าทรงแต่งตังมนุ ้ ษย์ให้ เป็ นตัวแทน ของพระองค์ในการครอบครองสิ่งทรง สร้ าง อีกทังมอบหมายหน้ ้ าที่ให้ มนุษย์ “ท�ำ” และ “รักษา” โลกนี ้ ซึง่ หมายถึง การท�ำงาน การสร้ างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ การ พัฒนาโลกนี ้ให้ ดขี ึ ้น และการดูแลรักษา สิ่งทรงสร้ างอื่นๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อ ถวายเกียรติแด่พระเจ้ า สิง่ เหล่านี ้เป็ น วัตถุประสงค์ดงเดิ ั ้ มของพระเจ้ าส�ำหรับ มนุษยชาติ ซึง่ ท�ำให้ มนุษย์ด�ำเนินชีวิต ในโลกนี ้อย่างมีคณ ุ ค่าและมีความหมาย

เดื อ ดร้ อนให้ กับ ผู้อื่ น นอกจากนัน้ มนุ ษ ย์ ยัง เปลี่ ย นจากการดูแ ลรั ก ษา สิ่ ง ทรงสร้ าง ไปเป็ นการท� ำ ลายสิ่ ง มีชีวิตอื่นๆ และใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่ า งไม่ รั บ ผิ ด ชอบ ด้ วยเหตุ นี ้ สั ง คมปั จจุ บั น จึ ง เต็ ม ไปด้ วยปั ญหา มากมาย ไม่วา่ จะเป็ นปั ญหาเศรษฐกิจ อาชญากรรม หรื อภัยธรรมชาติ ท่ามกลางสถานการณ์เช่นนี ้ คริ สเตียน ไทยจ� ำ เป็ นต้ องตระหนั ก ว่ า เราเป็ น ตัว แทนของพระเจ้ าในการดูแ ลและ พัฒนาสังคมไทยให้ ดีขึ ้น การท�ำงาน ของเราไม่ได้ เป็ นเพียงการหาเลี ้ยงชีพ แต่เป็ นการท�ำหน้ าที่ที่พระเจ้ าทรงมอบ หมายให้ พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ ให้ เราประกอบอาชีพที่สจุ ริ ตเพื่อถวาย เกียรติแด่พระองค์ เพื่อรับใช้ ผ้ คู น และ เพื่อพัฒนาโลกนี ้ให้ ดีขึ ้น ดังนัน้ ขอให้ เราเห็นคุณค่าและความส�ำคัญของงาน ที่เราก�ำลังท�ำอยู่ และท�ำหน้ าที่ของเรา อย่างดีที่สดุ เพื่อถวายเกียรติแด่พระเจ้ า ในขณะเดียวกัน ขอให้ เรามีสว่ นในการ ดูแลรักษาสิ่งต่างๆ ที่พระเจ้ าทรงสร้ าง อีกทังร่้ วมกันป้องกันและแก้ ไขปั ญหาที่ เกิดกับสิง่ แวดล้ อมด้ วย

อิทธิ พลของความบาป ท� ำให้ มนุษย์ เปลี่ยนจากการท�ำงานเพื่อถวายเกียรติ แด่พระเจ้ า ไปเป็ นการท�ำงานเพือ่ ตนเอง เราต้ อ งเผชิ ญ ความทุ ก ข์ ย ากในการ 3. ทุกคนมีโอกาสที่จะได้รับการ ท� ำ งานที่ เ กิ ด จากการกระท� ำ ที่ ไ ม่ ถู ก สร้างใหม่จากพระเจ้า ต้ องของตนเองและผู้อื่นอยู่เสมอ อีก แม้ วา่ มนุษย์ทเี่ ป็ นคนบาปจะไม่สามารถ ทัง้ มี ผ้ ูค นมากมายที่ ห าเลี ย้ งชี พ ด้ ว ย สะท้ อนพระฉายาของพระเจ้ าได้ อย่าง วิ ธี ก ารที่ ผิ ด ศี ล ธรรมและสร้ างความ แท้ จ ริ ง และไม่ ส ามารถท� ำ หน้ า ที่ ที่

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

พระองค์ ท รงมอบหมายให้ อ ย่ า งครบ ถ้ วน แต่มนุษย์ก็ยงั เป็ นบุคคลพิเศษใน สายพระเนตรของพระเจ้ า ด้ วยเหตุนี ้ เมื่อประมาณ 2,000 ปี ที่แล้ ว พระเจ้ า จึงได้ เสด็จมาในโลกนี ้โดยทางพระเยซู พระองค์สิ ้นพระชนม์บนไม้ กางเขนและ เป็ นขึน้ มาจากความตาย เพื่อรั บโทษ บาปแทนมนุษย์ และเพื่อเปิ ดโอกาสให้ มนุษย์ได้ รับการสร้ างใหม่จากพระเจ้ า อีกครัง้ หนึง่ เมื่อมนุษย์คนใดหันจากความบาปมา หาพระเจ้ า ยอมรับพระเยซูคริ สต์เป็ น พระผู้ช่วยให้ รอด เขาจะได้ รับการยก โทษบาป ได้ กลับคืนดีกบั พระเจ้ า และ ได้ รับการสร้ างใหม่จากพระองค์ ดังที่ อาจารย์ เปาโลกล่าวว่า ผู้ที่เชื่อวางใจ ในพระเยซูคริ สต์จะ “ได้ สวมวิสยั มนุษย์ ใหม่ ที่ ก� ำ ลัง ทรงสร้ างขึ น้ ใหม่ ต าม พระฉายของพระองค์ผ้ ทู รงสร้ าง ให้ ร้ ูจกั พระเจ้ า” (คส. 3:10) แม้ วา่ ในเวลานี ้ ชีวิตของผู้เชื่ออาจยังไม่ดีพร้ อม แต่เรา สามารถมัน่ ใจได้ ว่ากระบวนการสร้ าง ใหม่นี ้ได้ เริ่ มต้ นขึ ้นแล้ ว เราจึงสามารถ มีชีวติ ทีส่ ะท้ อนพระฉายาของพระเจ้ าได้ มากยิ่งขึ ้น และเมื่อพระเยซูคริ สต์เสด็จ กลับมา กระบวนการนี ้จะเสร็จสมบูรณ์ คือ เราจะสามารถสะท้ อนพระฉายาของ พระเจ้ าได้ อย่างแท้ จริ ง ดังที่ยอห์นกล่า วว่า “...เมื่อพระองค์จะเสด็จมาปรากฏ นัน้ เราทังหลายจะเป็ ้ นเหมือนพระองค์ เพราะว่ า เราจะเห็ น พระองค์ อ ย่ า งที่ พระองค์ทรงเป็ นอยูน่ น” ั ้ (1ยน. 3:2)

พระฉายาของพระเจ้ าเท่านัน้ แต่เรา ควรตัง้ เป้าหมายที่จะเป็ นผู้ที่สามารถ สะท้ อนพระลักษณะทีด่ งี ามของพระเจ้ า ได้ มากขึ ้นในชีวิตประจ�ำวันของเรา ทัง้ ในครอบครัว คริ สตจักร ที่ท�ำงาน และ ในชุมชน ซึง่ สิ่งนี ้จะเกิดขึ ้นได้ ก็ตอ่ เมื่อ เราด� ำ เนิ น ชี วิ ต ใกล้ ชิ ด กับ พระเจ้ า ใน แต่ละวันผ่านทางการอธิ ษฐาน อ่าน พระคัมภีร์ นมัสการ สามัคคีธรรม และ เป็ นพยาน ในขณะเดียวกัน เราจะเชื่อ มั่นว่าคริ สเตียนคนอื่นๆ ก็สามารถได้ รับการเปลี่ยนแปลงจากพระเจ้ าได้ เช่น กัน ดังนัน้ เราจะมองผู้อื่นด้ วยความ เห็นอกเห็นใจ ให้ โอกาสผู้ที่ล้มลงให้ ลกุ ขึ ้นใหม่ และไม่ให้ ความผิดพลาดหรื อ ความบกพร่องของคริสเตียนคนอื่นๆ ส่ง ผลกระทบต่อความเชือ่ ทีเ่ รามีในพระเจ้ า

สรุป

มนุษย์ ทุกคนเป็ นบุคคลส�ำคัญในสาย พระเนตรของพระเจ้ า เพราะทุกคนถูก สร้ างขึ ้นตามพระฉายาของพระองค์ ทุก คนได้ รับมอบหมายหน้ าที่จากพระเจ้ า ให้ เป็ นตัวแทนของพระองค์ในการดูแล รักษาและพัฒนาโลกนี ้ให้ ดีขึ ้น แม้ ใน วันนี ้พระฉายาของพระเจ้ าในมนุษย์จะ ถูกบิดเบือนไป แต่ทกุ คนมีโอกาสที่จะ ได้ รับการสร้ างใหม่จากพระเจ้ าผ่านทาง พระเยซูคริ สต์ ดังนัน้ ขอให้ เราเห็น คุณค่าและความส�ำคัญของตนเองและ ผู้อื่น ท�ำหน้ าที่ที่พระเจ้ าทรงมอบหมาย ให้ อย่างดีที่สดุ ปรารถนาที่จะมีชีวิตที่ สะท้ อนความดีงามของพระเจ้ ามากยิ่ง ในฐานะที่เราเป็ นคริ สเตียน ขอให้ เรา ขึ ้น และมัน่ ใจว่า เมือ่ พระเยซูคริสต์เสด็จ มัน่ ใจว่า เมื่อเราเชื่อวางใจในพระเยซู กลับมา เราจะเป็ นบุคคลส�ำคัญทีส่ ำ� แดง คริ ส ต์ เราจะได้ รับ การสร้ างใหม่จ าก พระฉายาของพระเจ้ าอย่างสมบูรณ์ พระเจ้ าอย่างแน่นอน ดัง นัน้ เราไม่ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร ตุลาคม 2011 ควรพึ ง พอใจกั บ การเป็ นมนุ ษ ย์ ต าม ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ

หมายเหตุ

บทความชุ ด นี ม้ ี เ ป้ าหมายเพื่ อ ช่ ว ยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตัว และพระเจ้ า ทรงปรารถนาให้ ผ้ ูเชื่อทุกคนสร้ างคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ ดี ซึ่ ง อยู่ บ นพื น้ ฐานของ พระคัมภีร์ เรี ยนรู้ จากหลักข้ อเชื่อ และ เกี่ยวข้ องกับบริ บทในปั จจุบนั บทความ แต่ละตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุ ปเท่านัน้ จึงขอให้ ผ้ อู า่ นได้ พจิ ารณาเพิม่ เติมเกีย่ วกับ พระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของ คณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอื่นๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ท่าน ต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่าง สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีค�ำถาม ค�ำแนะน�ำ หรื อพระพร ที่อยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อผมได้ โดยผ่านทางอีเมล satanun_b@payap. ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิทยาลัย พระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัย พายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 10 บุคคลส�ำคัญ(VIP)?

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 11

บุคคลส�ำคัญ(2)

ทบทวน นตอนแรกของบทความชุดนี ้ เราพบว่า พระเจ้ า ปรารถนาให้ คริ สเตียนสร้ าง “คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่มี ชีวิต” คือ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ไม่เพียงช่วยให้ เรา “เข้ าใจ” ความจริ งของพระเจ้ าเท่านัน้ แต่ช่วยให้ เรา “ด�ำเนินชีวิตที่ สอดคล้ อง” กับความจริ งของพระเจ้ าด้ วย ดังนัน้ ในบทความตอนนี ้อยากให้ เรามาพิจารณาร่วมกัน อย่างละเอียดถี่ถ้วนมากขึ ้นว่า เมื่อเราเข้ าใจว่ามนุษย์ทกุ คน เป็ นคนพิเศษในสายพระเนตรของพระเจ้ า เราควรจะมีทา่ ที อย่างไรต่อตนเอง และมีพฤติกรรมอย่างไรต่อผู้อื่น ทังใน ้ ครอบครัว ที่ท�ำงาน คริ สตจักร และสังคม

ที่ ไ ม่ ยั่ง ยื น และการท� ำ สิ่ ง ที่ ขั ด กั บ พระประสงค์ ของพระเจ้ า นอกจาก นัน้ ความมัน่ ใจนี ้จะช่วย ให้ เราจะมีความพึงพอใจ ในตนเอง มีความพอเพียง และพร้ อมที่จะช่วยให้ คน อื่นๆ เห็นคุณค่าของตนเอง เพราะทุกคนเป็นคนส�ำคัญ... เช่นกัน (เพราะหากเรายังไม่มั่นใจใน 1. ฉันจะมั่นใจในคุณค่าของตนเอง คุณค่าของตนเอง ก็คงเป็ นเรื่ องยาก ในขณะที่ผ้ ูคนในสังคมมักรู้ สึกว่า ที่ เ ราจะเห็ น คุณ ค่ า ของคนอื่ น ๆ และ ตนเองมี คุณ ค่า เมื่ อ ได้ รั บ การยอมรั บ สามารถช่วยให้ พวกเขาเห็นคุณค่าของ จากผู้ อื่ น หรื อเมื่ อ ประสบความ ตนเองได้ ) ส�ำเร็ จในด้ านต่างๆ จนพยายามท�ำทุก 2. ฉันจะทะนุถนอมทุกคนใน วิถีทางเพื่อให้ ได้ สิ่งเหล่านี ้มา แม้ บาง ครอบครัว ครั ง้ อาจเป็ นการท� ำ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อง การเห็นคุณค่าของมนุษย์ ไม่ควร คริ สเตียนไทยควรมัน่ ใจในคุณค่าที่แท้ เป็ นเพียงหลักการที่เราใช้ กบั ผู้คนทัว่ ไป จริ งของตนเอง นัน่ คือ เรามีคณ ุ ค่าใน เท่านัน้ แต่ควรเริ่ มต้ นที่ครอบครัวของ สายพระเนตรของพระเจ้ า เพราะเรา เรา เราเอาใจใส่ซงึ่ กันและกัน มิใช่เพียง เป็ นมนุษ ย์ ที่ พ ระเจ้ า ทรงสร้ างขึ น้ มา เพราะเป็ นสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน ตามพระฉายาของพระองค์ มากกว่า เท่ า นัน้ แต่ เ พราะทุก คนเป็ นบุค คล นัน้ โดยความเชื่อในพระเยซูคริสต์ เรามี ส�ำคัญในสายพระเนตรของพระเจ้ า ไม่ ฐานะที่เราเป็ นลูกที่รักของพระเจ้ า ดังที่ ว่าผู้นนจะเป็ ั้ นหญิงหรือชาย จะเป็ นเด็ก ยอห์น 1:12 กล่าวว่า “แต่สว่ นบรรดาผู้ที่ วัยรุ่น ผู้ใหญ่ หรื อผู้อาวุโส ต้ อนรับพระองค์ ผู้ที่เชื่อในพระนามของ พระองค์ พระองค์ก็ทรงประทานสิทธิให้ ขอบคุณพระเจ้ าทีส่ งั คมไทยมีความ เข้ าใจมากขึ ้นเกี่ยวกับสิทธิของสตรี และ เป็ นบุตรของพระเจ้ า” (ยน. 1:12) เด็ก มีกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำ ความมั่ น ใจในคุ ณ ค่ า ที่ แ ท้ จริ ง ด้ วยความรุนแรงในครอบครัว กฎหมาย ของตนเองจะปกป้ องเราจากการวิ่ ง สิ ท ธิ เ ด็ ก และการรณรงค์ ใ ห้ ยุติ ก าร ตามกระแสของสังคม การแสวงหาสิ่ง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 11 บุคคลส�ำคัญ (2)

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ท� ำ ร้ ายร่ างกายหรื อ จิ ตใจของสมาชิ ก ในครอบครั ว คริ ส เตี ย นไทยควรมี ส่วนสนับสนุนและส่งเสริ มกระบวนการ เหล่านี ้ อีกทัง้ ปฏิบัติต่อเด็กและสตรี ในครอบครัวของตนเองอย่างเหมาะสม มากกว่านัน้ เราต้ องทะนุถนอมสมาชิก ทุกคนในครอบครัว และช่วยให้ แต่ละ คนเห็นคุณค่าที่แท้ จริ งของตนเอง นอกจากนั น้ ผมอยากหนุ น ใจ ให้ คริ ส เตี ย นไทยใส่ ใ จวัย รุ่ น ที่ อ ยู่ ใ น ครอบครั ว ของเรามากเป็ นพิ เ ศษด้ ว ย เนือ่ งจากพวกเขาก�ำลังแสวงหาลักษณะ เฉพาะของบุคคล แต่มักมองตนเอง อย่างไม่ถกู ต้ อง เพราะได้ รับอิทธิพลจาก เพือ่ นและสือ่ ต่างๆ ด้ วยเหตุนี ้ ผู้ใหญ่ใน ครอบครัวจ�ำเป็ นต้ องให้ ความรักความ อบอุ่นแก่วยั รุ่ น และช่วยให้ พวกเขารู้ ว่าตนเองมีความส�ำคัญส�ำหรับผู้ใหญ่ใน ครอบครัว และเป็ นบุคคลส�ำคัญในสาย พระเนตรของพระเจ้ า

3. ฉันจะไม่ดูถูกหรือล้อเลียนผู้อื่น ผู้คนในสังคมปั จจุบนั มีความหลาก หลายทางเชื ้อชาติ ภาษา การศึกษา ฐานะ และวัฒนธรรม สิ่งนี ้สะท้ อน ให้ เห็นว่าพระเจ้ าทรงสร้ างมนุษย์แต่ละ คนขึน้ มาอย่า งเป็ นเอกลัก ษณ์ ดัง ที่ พระคัมภีร์บรรยายว่าพระเจ้ าทรงสร้ าง มนุษย์ด้วยการ “ปั น้ ” (ปฐมกาล 2:7) และ “ถักทอ” (สดุดี 139:13) ด้ วยเหตุ หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

นี ้ มนุษย์แต่ละคนจึงพิเศษสุดในสาย พระเนตรของพระเจ้ า แต่คนเรามัก เปรี ยบเทียบกันและกัน แล้ วดูถกู หรื อ ล้ อเลียนผู้ที่ไม่เป็ นไปตามค่านิยมของ สังคม โดยคิดว่าเป็ นเรื่ องสนุก หรื อเป็ น เรื่ องเล็กน้ อย เช่น การล้ อเลียนผู้ที่มี รูปร่ างหน้ าตาไม่ดี ไม่มีความสามารถ มากพอ ท�ำบางอย่างผิดพลาด หรื อพูด ภาษาไทยไม่ชดั ฯลฯ

ยอมรับฟั งความคิด ความรู้ สึกของคน อื่นๆ ที่อยูร่ อบข้ างเราด้ วย ไม่วา่ จะเป็ น สมาชิกในครอบครัว พีน่ ้ องในคริสตจักร หรือเพือ่ นร่วมงาน อะไรจะเกิดขึ ้น หาก วัยรุ่นคนหนึง่ ไม่สามารถบอกผู้ปกครอง ได้ วา่ จริ งๆ แล้ วตนเองอยากเรี ยนต่อใน สาขาใด หากสมาชิกคนหนึ่งในกลุ่ม สามัคคีธรรมเล่าค�ำพยานแต่ไม่มใี ครฟั ง หรื อ หากกรรมการคนหนึ่งแสดงความ คิดเห็นในที่ประชุม แต่คนอื่นๆ ไม่สนใจ

แท้ จริ ง แล้ ว การกระท� ำ เช่ น นี ้ เป็ นการท� ำ ร้ ายความรู้ สึ ก ของผู้ ที่ ถูกล้ อเลียน เป็ นการดูหมิ่นศักดิ์ศรี ของ พวกเขา และเป็ นการหมิ่ นประมาท พระเจ้ าด้ วย ดังที่ผ้ เู ขียนสุภาษิตกล่าว ว่า “บุคคลที่เย้ ยหยันคนยากจนก็ดถู กู พระผู้สร้ างของเขา...” (สุภาษิ ต 17:5) ดังนัน้ คริสเตียนไทยควรระมัดระวังมาก คนเหล่านีค้ งรู้ สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า ขึ ้นที่จะไม่ใช้ ค�ำพูด น� ้ำเสียง สายตา ไม่มีความส�ำคัญในสายตาของผู้อื่น ท่าทาง หรื อการกระท�ำที่แสดงออกถึง ด้ วยเหตุนี ้ หากเราปรารถนาที่จะ การดูถกู หรื อล้ อเลียนผู้อื่น แสดงให้ คนอื่นๆ เห็นว่า พวกเขามีความ มากกว่านัน้ เราควรฝึ กฝนที่จะให้ ส�ำคัญ เราต้ องเรี ยนรู้ที่จะยอมรับฟั งผู้ เกี ยรติผ้ ูที่มักถูกมองว่าเป็ นผู้เล็กน้ อย อื่นมากขึ ้น โดยเริ่ มต้ นที่การตังใจฟั ้ งสิง่ ในสังคมด้ วย ผมมีเพื่อนคริ สเตียนคน ที่ผ้ อู ื่นพูดอย่างแท้ จริ ง เพื่อให้ ได้ ยินว่า หนึง่ ที่เป็ นผู้บริ หารที่มีฐานะร�่ ำรวย แต่ จริ งๆ แล้ วเขาต้ องการจะสื่ออะไร จาก ผมรู้ สกึ ประทับใจที่ท่านจะให้ เกียรติแก่ นัน้ เราควรใช้ เวลาซักถามเพื่อให้ เข้ าใจ คนอื่นๆ เสมอ ไม่วา่ ผู้นนจะมี ั ้ สถานภาพ มากยิง่ ขึ ้นว่าจริงๆ แล้ วเขาคิดอะไร รู้สกึ หรื อฐานะอย่างไร บ่อยครัง้ ที่ทา่ นท�ำให้ อย่างไร และมีประเด็นอะไรที่ซอ่ นเร้ น พนักงานของร้ านอาหาร ร้ านขายของ อยู่หรื อไม่ และก่อนที่เราจะด่วนสรุ ป หรื อสถานที่อื่นๆ ต้ องประหลาดใจกับ หรื อแสดงความคิดเห็นของตนเอง เรา รอยยิ ้ม ค�ำทักทาย ค�ำขอบคุณ และ ควรใช้ เวลาไตร่ ตรองสิ่งที่เราได้ ยินจาก ค�ำชมเชยที่ท่านมอบให้ ผมเชื่อว่าคน บุคคลนัน้ โดยตระหนักว่า เราทุกคนต่าง เหล่านันคงไม่ ้ เพียงแต่ชมื่ ชมในอัธยาศัย ก็ เป็ นผู้ที่พระเจ้ าทรงสร้ างขึน้ มาตาม ไมตรีของท่านเท่านัน้ แต่พวกเขาคงรู้สกึ พระฉายาของพระองค์ มีสติปัญญา มัน่ ใจในคุณค่าของตนเองมากขึ ้นด้ วย มีความสามารถ และมีความรู้สกึ ดังนัน้ เราน่าจะเรี ยนรู้ จากกันและกัน ปรับตัว 4. ฉันจะยอมรับฟังผู้อื่นมากขึ้น สิ่ ง ส� ำ คัญ ประการหนึ่ ง ที่ บ่ ง บอก เข้ าหากันและกัน และแสวงหาแนวทาง ว่า เราเห็นคุณค่าและความส�ำคัญของ ที่เหมาะสมส�ำหรับประเด็นที่เราก�ำลัง ผู้อื่น คือ การที่ไม่เอาตัวเองเป็ นที่ตงั ้ แต่ พูดคุยกันในครอบครัว คริ สตจักร หรื อ ที่ท�ำงานของเรา

5. ฉันจะช่วยเหลือผู้ที่ทุกข์ยาก คนไทยในปั จ จุบัน ต้ อ งเผชิ ญ กับ ความทุกข์ ยากล�ำบากมากมาย เช่น อุ ท กภัย ครั ง้ ใหญ่ ใ นขณะนี ้ ซึ่ ง สร้ าง ความเดือดร้ อนให้ กบั ผู้คนและส่งผลก ระทบต่อเศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก ความ ขัด แย้ ง ทางการเมื อ ง ความยากจน การไม่ร้ ู หนังสือ ยาเสพติด โรคเอดส์ ฯลฯ ท่ า มกลางสถานการณ์ เ ช่ น นี ้ ความเข้ าใจเรื่ องคุณค่าของมนุษย์ควร

เรามีคุณค่าในสายพระเนตรของพระเจ้า เพราะเราเป็นมนุษย์ที่พระเจ้าทรงสร้างขึ้นมา ตามพระฉายาของพระองค์

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 11 บุคคลส�ำคัญ (2)

ผลัก ดัน ให้ ค ริ ส เตี ย นใส่ใ จผู้ที่ ป ระสบ ความทุก ข์ ย าก และลงมื อ ช่ ว ยเหลื อ พวกเขาอย่ า งเป็ นรู ป ธรรม ซึ่ ง การ ช่ ว ยเหลื อ นี ไ้ ม่ ค วรท� ำ ในลั ก ษณะที่ ฉาบฉวย ท�ำเพือ่ ให้ ตนเองสบายใจ หรือ ท�ำเพื่อแสวงชื่อเสียงและผลประโยชน์ บางประการ แต่ควรเป็ นการกระท�ำที่ น�ำการเปลี่ยนแปลงไปสู่ชีวิตของผู้คน และเป็ นการช่วยเหลือที่เกิดจากความ เมตตาสงสารอย่ า งจริ ง ใจ เช่ น เดี ย ว กับ ที่ เ ราเห็ น ในพระเยซู ค ริ ส ต์ ดัง ที่ มัทธิวบันทึกว่า “และเมื่อพระองค์ทอด พระเนตรเห็นประชาชนก็ทรงสงสารเขา ด้ วยเขาถูกรังควานและไร้ ทพี่ งึ่ ดุจฝูงแกะ ไม่มีผ้ เู ลี ้ยง” (มัทธิว 9:36) ในขณะเดี ย วกัน เราต้ อ งไม่ ลื ม ว่ า ความทุก ข์ ป ระการส� ำ คัญ ที่ ผ้ ูค น มากมายก� ำ ลัง เผชิ ญ คื อ ความทุก ข์ ในฝ่ ายจิตใจและจิตวิญญาณ ซึง่ เป็ น ผลจากการที่ ม นุ ษ ย์ ป ฏิ เ สธพระเจ้ า พระผู้สร้ าง และด�ำเนินชีวิตที่ขดั แย้ ง กับพระประสงค์ของพระองค์ ด้ วยเหตุนี ้ เมื่อพระเยซูเสด็จมาในโลกนี ้ พระองค์ หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ชายคนนัน้ จึงถามว่า “ท�ำไม เธอ จึงต้ องโยนปลาดาวลงไปในทะเล” เด็ก หนุ่ม ตอบว่ า “แสงแดดก� ำ ลัง ส่อ งมา และน� ้ำก�ำลังลดลง หากผมไม่โยนพวก มันลงไปในทะเล พวกมันจะต้ องตาย” ชายคนนัน้ จึงกล่าวว่า “เด็กหนุ่ม เอ๋ย เธอไม่ร้ ูหรื อว่า หาดทรายนี ้แสนจะ กว้ างไกล และมีปลาดาวอยู่มากมาย สิ่งที่เธอท�ำนันไม่ ้ สามารถท�ำให้ เกิดการ เปลี่ยนแปลงอะไรหรอก!” เมือ่ เด็กหนุม่ ได้ ยนิ ดังนัน้ เขาค่อยๆ ก้ มตัวลงไปหยิบปลาดาวตัวหนึ่งขึ ้นมา โยนมันลงไปในทะเล แล้ วหันกลับมา ดังนัน้ คริ สเตียนไทยควรประกาศ ตอบชายคนนันด้ ้ วยรอยยิ ้มว่า “ผมเพิ่ง พระกิตติคุณที่ครบถ้ วนสมบูรณ์ ให้ กับ สร้ างการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับปลาดาว พี่น้องชาวไทย ผ่านทางการกระท�ำและ ตัวนัน!” ้ ค�ำพูดของเรา นั่นคือ ให้ ความช่วย เหลืออย่างเป็ นรู ปธรรมและไม่ล�ำเอียง เช่ น เดี ย วกับ เด็ ก หนุ่ม คนนี ท้ ี่ เ ห็ น แก่ ผ้ ูค นที่ ย ากจน ทนทุก ข์ และถูก คุณค่าของปลาดาวแต่ละตัว พระเจ้ ามี กดขีข่ ม่ เหงในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ให้ พวก พระประสงค์ให้ คริสเตียนไทยเห็นคุณค่า เขาได้ รับการช่วยให้ รอดจากความทุกข์ ของเพื่ อ นมนุ ษ ย์ และมี ส่ ว นน� ำ การ ยากล�ำบากต่างๆ ในโลกนี ้ และทีส่ ำ� คัญ เปลี่ยนแปลงไปสูช่ ีวิตของพวกเขา เรา ก็คือ เล่าข่าวดีของพระเยซูคริ สต์แก่คน อาจไม่สามารถช่วยเหลือ “ทุกคน” แต่ อืน่ ๆ เพือ่ ที่พวกเขาจะมีโอกาสได้ เปิ ดใจ เราสามารถช่วยเหลือ “บางคน” ได้ และ ต้ อนรับพระเยซูคริ สต์เป็ นพระผู้ช่วยให้ หากคริ สเตียนไทยร่ วมใจกันประกาศ รอด ได้ รับการช่วยให้ รอดพ้ นจากความ ข่าวดีนี ้เราจะสามารถช่วยให้ พี่น้องชาว ไทยอีกมากมายได้ ร้ ู ว่าพวกเขาเป็ นคน บาปและได้ รับชีวิตนิรันดร์ ส�ำคัญในสายพระเนตรของพระเจ้ าได้ สรุป อย่างแน่นอน ผมอยากสรุ ป การตอบสนองต่ อ คริสต์ศาสนศาสตร์ เรื่องมนุษย์ ด้ วยเรื่อง ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร พฤศจิ กายน 2011 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ ของปลาดาว ไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความต้ องการ จ� ำ เป็ นทางกายภาพของผู้ค นเท่ า นัน้ แต่พระองค์ได้ เสด็จมาเพื่อช่วยมนุษย์ ให้ รอดอย่างครบถ้ วนสมบูรณ์ คือ ทัง้ ความทุกข์ในฝ่ ายร่างกาย จิตใจ สังคม และที่ส�ำคัญที่สดุ คือ ฝ่ ายจิตวิญญาณ ซึ่งหมายถึงการที่มนุษย์ จะได้ คืนดีกับ พระเจ้ าพระผู้สร้ างของตน มองเห็น คุณค่าของตนเองที่แท้ จริ ง รับการสร้ าง ใหม่จากพระเจ้ า ท�ำหน้ าทีท่ พี่ ระเจ้ าทรง มอบหมายให้ และรับชีวิตนิรันดร์ จาก พระเจ้ า

มีเรื่ องเล่าว่า ในขณะที่ชายคนหนึง่ ก�ำลังเดินอยูร่ ิ มชายหาด เขาสังเกตเห็น เด็กหนุ่มคนหนึ่งหยิบบางสิ่งขึ ้นมาจาก หาดทราย แล้ วโยนลงไปในทะเล เมื่อ เขาเดินเข้ าไปใกล้ จึงถามเด็กหนุ่มคน นันว่ ้ า “เธอก�ำลังท�ำอะไรอยูห่ รื อ?” เด็ก หนุ่มตอบว่า “ผมก�ำลังโยนปลาดาวลง ไปในทะเล” คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 11 บุคคลส�ำคัญ (2)

Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

ความมั่นใจในคุณค่า ที่แท้จริงของตนเอง จะปกป้องเราจาก การวิ่งตามกระแสของสังคม การแสวงหาสิ่งที่ไม่ยั่งยืน และ การท�ำสิ่งที่ขัดกับ พระประสงค์ของพระเจ้า

หมายเหตุ

บทความชุดนี ้มีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตวั และพระเจ้ าทรง ปรารถนาให้ ผ้ เู ชือ่ ทุกคนสร้ างคริสต์ศาสนศาสตร์ ที่ดซี งึ่ อยูบ่ นพื ้นฐานของพระคัมภีร์ เรี ย นรู้ จากหลัก ข้ อ เชื่ อ และเกี่ ย วข้ อ ง กับ บริ บ ทในปั จ จุบัน บทความแต่ล ะ ตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุ ปเท่านัน้ จึง ขอให้ ผ้ อู ่านได้ พิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ พระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของ คณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอืน่ ๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ทา่ น ต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่าง สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีค�ำถาม ค�ำแนะน�ำ หรื อ พระพรทีอ่ ยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อ ผมได้ โดยผ่ า นทางอี เ มล satanun_b @payap.ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิ ท ยาลั ย พระคริ ส ต์ ธ รรมแมคกิ ล วารี มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 12

ข่าวดี

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

นตอนที่แล้ ว เราพบว่าคริ สเตียนไทยควรตระหนักถึงคุณค่าของเพื่อนมนุษย์ และ ควรมีสว่ นช่วยเหลือพี่น้องชาวไทยให้ พ้นจากความทุกข์ ทังในฝ่ ้ ายร่างกาย จิตใจ และ จิตวิญญาณ โดยการประกาศ “พระกิตติคณ ุ ที่ครบถ้ วนสมบูรณ์” ให้ กบั พวกเขา ซึง่ หมายถึง การให้ ความช่วยเหลือแก่ผ้ ทู ี่ทกุ ข์ยากหรื อถูกกดขี่ข่มเหง และประกาศข่าวดีเรื่ องพระเยซู คริ สต์แก่ผ้ ทู ี่ยงั ไม่ร้ ูจกั พระองค์ อย่างไรก็ตาม คริ สเตียนไทยมักมีค�ำถามว่า “ข่าวดีเรื่ องพระเยซูคริ สต์ในบริ บทไทยมี ใจความส�ำคัญว่าอย่างไร?” และ “เราควรจะแบ่งปั นข่าวดีนี ้ให้ กบั พี่น้องชาวไทยด้ วยวิธีการ อย่างไร?” ในบทความตอนนี ้ ผมจึงอยากจะน�ำเสนอ ใจความส�ำคัญของข่าวดีเรื่ องพระเยซูคริ สต์ ที่น่าจะเหมาะสมกับชาวไทย และวิธีการประกาศข่าวดีที่น่าจะเกิดผลในสังคมไทย สิ่งที่ น�ำเสนอในบทความนี ้มาจากการศึกษาความเชื่อพื ้นฐานและสถานการณ์ชีวิตของคนไทย ค�ำสอนของพระคัมภีร์ และใจความส�ำคัญของข่าวประเสริ ฐที่คริ สเตียนทัว่ โลกยึดถือ เนือ้ หาของบทความนีไ้ ม่ได้ เป็ นสิ่งที่สมบูรณ์ แบบ แต่หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าจะช่วยให้ คริสเตียนไทยมีความเข้ าใจทีช่ ดั เจนขึ ้นเกีย่ วกับข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ และสามารถประกาศ ข่าวดีนี ้ได้ อย่างเกิดผลมากขึ ้น นอกจากนัน้ หวังว่าบทความนี ้จะช่วยจุดประกายให้ คริสเตียน ไทยช่วยกันแสวงหาค�ำศัพท์ที่เหมาะสมมากขึ ้น ค�ำอธิบายหรื อตัวอย่างที่ชว่ ยให้ เข้ าใจมาก ขึ ้น และวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากขึ ้นต่อไป

ข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ใน บริบทไทย

เราสามารถสรุปใจความส�ำคัญของ ข่าวดีเรื่ องพระเยซูคริ สต์ด้วยการกล่าว ถึงความจริ ง 4 ประการ ดังนี ้

1. โลกนี้มีพระเจ้าพระผู้สร้าง ผู้ทรงรักเมตตามนุษย์ พี่น้องชาวไทยควรได้ ยินข่าวดีที่ว่า สิง่ ต่างๆ ในธรรมชาติไม่ได้ เกิดขึ ้นมาเอง ด้ วยความบังเอิญ แต่พระเจ้ าทรงเป็ น ผู้สร้ างสิ่งต่างๆ ขึ ้นมาอย่างเป็ นระบบ ระเบียบ และที่ส�ำคัญที่สดุ คือ พระเจ้ า ทรงสร้ างมนุษย์ขึ ้นด้ วยความรักความ เมตตา เพื่อให้ มนุษย์มีความสัมพันธ์ ที่ใกล้ ชิดกับพระเจ้ า เต็มไปด้ วยความ สุขแท้ ความบริ สทุ ธิ์ และความดีงาม เช่นเดียวกับพระเจ้ าพระผู้สร้ างของตน (ปฐมกาล 1-2 สดุดี 8:5)

ทรงเมตตามนุ ษ ย์ ” จึ ง น่ า จะเหมาะ สมกว่า อย่างไรก็ดี เราต้ องไม่ลืม ว่ า ความเมตตาในพุ ท ธศาสนาเป็ น ความปรารถนาดี ที่ ป ราศจากความ ผูกพันกับผู้อื่น (เพราะการไม่ยดึ ติดกับ ผู้ใดหรือสิง่ ใดเป็ นหัวใจส�ำคัญของพุทธศาสนา) แต่พระคัมภีร์สอนว่าพระเจ้ ามี พระประสงค์ให้ มนุษย์มีความสัมพันธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ พระองค์ การกล่ า วว่ า “พระเจ้ า ทรงเมตตามนุษ ย์ ” เท่ า นัน้ จึ ง ไม่ เ พี ย งพอ ดัง นัน้ เราน่ า จะใช้ ค�ำว่า “พระเจ้ าทรงรักเมตตามนุษย์” เพือ่ เป็ นการบ่งบอกว่าความรักนี ้เกี่ยวข้ อง กับความเมตตา นอกจากนัน้ การ กล่าวถึงความรัก ยังเป็ นการเตรี ยมผู้ฟัง ส�ำหรับอนาคตด้ วย เพราะเราคงปฏิเสธ ไม่ได้ วา่ “ความรัก” เป็ นหัวใจส�ำคัญใน การด�ำเนินชีวิตคริ สเตียน

2. ความบาปท�ำให้มนุษย์ถูกแยกจาก หมายเหตุ นักวิชาการคริ สเตียน พระเจ้าและเต็มไปด้วยความทุกข์ ไทยหลายท่า นให้ ค วามเห็ น ว่า การ กล่าวว่า “พระเจ้ าทรงรักมนุษย์” อาจ ท�ำให้ ชาวพุทธคิดถึงความรักที่เกิดจาก กิ เลสตัณหา การกล่าวว่า “พระเจ้ า คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 12 ข่าวดี

เราควรช่ ว ยให้ ชาวไทยเข้ าใจ ว่า “ความบาป” ไม่ได้ หมายถึงการท�ำ สิ่งที่เลวร้ ายมากๆ เหมือนที่คนไทยมัก จะเข้ าใจ แต่หมายถึง การที่มนุษย์ไม่ หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

เชื่อฟั งพระเจ้ า และท�ำสิง่ ต่างๆ ที่ขดั กับ พระประสงค์ของพระองค์ ความบาป ท�ำให้ มนุษย์ ถูกแยกจากพระเจ้ าทัง้ ใน ชีวติ นี ้และในชีวติ หลังความตาย ในโลก นี ้ไม่มคี วามสุขแท้ ต้ องพบกับความทุกข์ มากมาย และในอนาคตต้ องรับโทษใน บึงไฟนรก ถึงแม้ วา่ มนุษย์จะพยายามเอาชนะ ความบาปและความทุ ก ข์ โ ดยการ ท� ำ ความดี หรื อ ท� ำ ตามค� ำ สอนของ ศาสนาต่ า งๆ แต่ ก็ ไ ม่ ส� ำ เร็ จ เพราะ ความบาปทีค่ รอบง�ำชีวติ ท�ำให้ มนุษย์ไม่ สามารถท�ำสิ่งที่ดีได้ อย่างครบถ้ วน อีก ทังยั ้ งคงท�ำสิง่ ที่ไม่ดีอยูเ่ สมอ (โรม 3:23; 6:23; 7:21-23)

3. พระเยซูคริสต์ทรงเป็นผู้เดียว ที่สามารถช่วยมนุษย์ให้หลุดพ้นจาก ความบาปและความทุกข์ พระเยซู ค ริ ส ต์ ท รงเป็ นพระเจ้ า ที่ เ สด็ จ มาบัง เกิ ด ในโลกนี เ้ ป็ นมนุษ ย์ พระเยซูทรงช่วยเหลือผู้คนในสมัยของ พระองค์ ใ ห้ พ้ น จากความทุก ข์ ห ลาย ประการ มากกว่านัน้ พระองค์ ทรง ทนทุกข์ทรมานและสิ ้นพระชนม์บนไม้ กางเขนเพื่ อ รั บ โทษบาปแทนมนุ ษ ย์ ทุ ก คน พระคัม ภี ร์ บัน ทึ ก ว่ า ในวัน ที่ สามพระองค์ทรงเป็ นขึน้ มาจากความ ตายและภายหลังพระองค์ทรงเสด็จขึ ้น สู่สวรรค์ สิ่งนี ้ชี ้ให้ เห็นว่าพระองค์ทรง เป็ นพระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง และพระองค์ ทรงเป็ นผู้เดียวที่สามารถช่วยมนุษย์ให้ หลุดพ้ นจากความบาปและความทุกข์ ชัว่ นิรันดร์ (โรม 5:8 1 โคริ นธ์ 15:3-6) หมายเหตุ การกล่าวว่า “พระเยซู ทรงเป็ นพระผู้ช่ ว ยให้ ร อด” เป็ นศัพ ท์ เฉพาะของคริสเตียนทีค่ นทัว่ ไปไม่เข้ าใจ ดังนัน้ การกล่าวว่า “พระเยซูทรงเป็ น ผู้ช่วยมนุษย์ให้ หลุดพ้ นจากความบาป คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 12 ข่าวดี

และความทุกข์ ” จึงสามารถสื่อความ ความบาปและความทุกข์ ข้ าพระองค์ หมายกับชาวไทยได้ ชดั เจนกว่า จึงขอเปลีย่ นจากการพึง่ ตนเองมาพึง่ ใน พระองค์ ข้ าพระองค์ขอละทิ ้งความบาป 4. มนุษย์ต้องเชื่อวางใจในพระเยซู ทุกอย่าง และขอเชิญพระเยซูคริสต์เข้ า คริสต์ มาประทับในชีวิตของข้ าพระองค์ ขอ มนุษ ย์ จ� ำ เป็ นต้ อ งตอบสนองต่ อ ยอมให้ พระองค์ เป็ นผู้ช่วยให้ หลุดพ้ น ข่าวดีนี ้โดย “การเชื่อวางใจในพระเยซู จากความบาป และยอมให้ พระองค์เป็ น คริสต์” (ยน. 3:16) ซึง่ ประกอบด้ วยท่าที เจ้ าของชีวติ ของข้ าพระองค์ ข้ าพระองค์ และการกระท�ำดังนี (4.1) ้ เชื่อว่าพระเจ้ า อธิษฐานในพระนามพระเยซูคริ สต์เจ้ า ทรงเป็ นพระเจ้ าที่เที่ยงแท้ แต่องค์เดียว อาเมน” (4.2) เปลี่ยนจากการพึ่งตนเองในการ เอาชนะความบาปและความทุก ข์ ไ ป การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซู พึง่ พระเจ้ า (4.3) เชื่อว่าพระเยซูคริ สต์ คริสต์ในบริบทไทย ทรงเป็ นพระเจ้ าที่เสด็จมาช่วยมนุษย์ให้ การเข้ าใจแก่นแท้ ของข่าวดี เรื่ อง หลุดพ้ นจากความบาปและความทุกข์ พระเยซู ค ริ ส ต์ เ ท่ า นั น้ ยัง ไม่ เ พี ย งพอ โดยการสิ ้นพระชนม์และเป็ นขึ ้นมาจาก คริ สเตียนไทยจ�ำเป็ นต้ องเรี ยนรู้ วิธีการ ความตายของพระองค์ (4.4) ต้ อนรับ ประกาศข่าวดีที่เหมาะสมกับสังคมไทย พระเยซูคริสต์เข้ ามาในชีวติ ในฐานะของ ด้ วย ในบทความนี ้ ผมขอกล่าวถึง พระผู้ชว่ ยให้ รอดพ้ นจากความบาป และ ประเด็นส�ำคัญ 2 เพียงประการ ดังนี ้ ผู้เป็ นเจ้ าของชีวิต เมือ่ คริสเตียนได้ แบ่งปั นข่าวดีนี ้ เรา ควรเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ฟู ั งได้ มีโอกาสตัดสิน ใจด้ วย ซึง่ เราสามารถท�ำได้ งา่ ยๆ โดย การถามผู้ฟังว่าเขาเห็นด้ วยหรื อมีความ ประสงค์ จะกระท�ำตามข้ อ 4.1 - 4.4 หรื อไม่ หากเขามีความประสงค์เช่นนี ้ เราสามารถช่วยให้ เขาเริ่ มต้ นชีวิตใหม่ กับพระเจ้ าได้ โดยการน�ำเขาอธิ ษฐาน ต้ อ นรั บ พระเยซู ค ริ ส ต์ (น� ำ อธิ ษ ฐาน ทีละวรรค) ดังตัวอย่างต่อไปนี ้

ตัวอย่างค�ำอธิษฐานต้อนรับพระเยซู คริสต์เข้ามาในชีวิต

1. คริสเตียนไทยต้องมี ประสบการณ์เกี่ยวกับข่าวดีนี้อย่าง แท้จริง

ก่ อ นอื่ น เราจ� ำ เป็ นจะต้ อ งแน่ ใ จ ว่ า เราไม่ ไ ด้ เป็ นเพี ย งแค่ ผ้ ู ที่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ สต์เท่านัน้ แต่เราเป็ นผู้ที่มี ประสบการณ์เกีย่ วกับข่าวดีเรื่องพระเยซู คริ สต์อย่างแท้ จริ ง นัน่ คือ เราเป็ นผู้ที่ เชื่อมั่นและด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันตาม ความจริ งนี ้ ซึง่ หากเป็ นเช่นนัน้ ชีวิต ของเราจะเป็ นสิ่งที่พิสูจน์ ให้ ผ้ ูคนรอบ ข้ างเห็นว่า สิ่งที่เราก�ำลังแบ่งปั นให้ กบั พวกเขานันเป็ ้ นความจริ ง ในทางตรง กันข้ าม หากวิถีชวี ติ ของเราไม่สอดคล้ อง กับข่าวดีที่เราประกาศ คงเป็ นเรื่ องยาก ที่ชาวไทยคนอื่นๆ จะเชื่อว่าข่าวดีนี ้เป็ น ความจริ ง

“ข้ า แต่พ ระเจ้ า ข้ า พระองค์ เ ชื่ อ ว่า พระองค์ทรงเป็ นพระเจ้ าเที่ยงแท้ แต่องค์เดียว ขอบคุณพระองค์ที่ทรงรัก เมตตาข้ าพระองค์ ข้ าพระองค์เชื่อว่า พระเยซูคริ สต์ทรงเป็ นพระเจ้ า พระองค์ การส� ำ แดงพระเยซู ค ริ ส ต์ ผ่ า น สิน้ พระชนม์ และเป็ นขึน้ มาจากความ ทางการกระท�ำของผู้เชื่อ หรื อที่เรี ยกว่า ตาย เพือ่ ช่วยข้ าพระองค์ให้ หลุดพ้ นจาก “การประกาศด้ วยชีวิต” จึงเป็ นหัวใจ หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

การเสวนานี ้ไม่จ�ำเป็ นต้ องอยูใ่ นรูปแบบ ที่เป็ นทางการ แต่สามารถเกิดขึ ้นได้ ใน การสนทนากับผู้ที่ไม่เป็ นคริ สเตียนใน โอกาสต่าง ๆ หลักการของการเสวนา ระหว่า งศาสนา คื อ ทัง้ สองฝ่ ายต้ อ ง เคารพ ให้ เกียรติ และยอมฟั งกันและ กั น อย่ า งแท้ จริ ง ซึ่ ง หมายความว่ า แต่ละฝ่ ายจะต้ องเปิ ดโอกาสให้ อีกฝ่ าย อธิบายความเชื่อของเขา ยอมรับความ แตกต่างของกันและกัน และไม่โต้ แย้ ง เพื่อเอาชนะ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้อง อธิบายหลักความเชื่อของตนเองอย่าง ถูกต้ อง แม้ วา่ ค�ำสอนนันอาจจะขั ้ ดแย้ ง กับ ค� ำ สอนของอี ก ศาสนาก็ ต าม ถึ ง แม้ ว่าการเสวนานีจ้ ะไม่ได้ มีเป้าหมาย เพื่อให้ ผ้ ทู ี่ไม่เชื่อได้ ตดั สินใจเชื่อวางใจ 2. คริสเตียนไทยต้องประกาศข่าวดี ในพระเยซูคริสต์ แต่จะช่วยให้ พวกเขา นี้ด้วยความถ่อมสุภาพและไม่กล่าว มีความเข้ าใจมากขึน้ เกี่ยวกับพระเจ้ า ถึงศาสนาอื่นในแง่ลบ และมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ ้นกับคริ สเตียน 2 เปโตร 2:24-25 กล่าวว่า “ฝ่ าย ซึ่ ง ถื อ ได้ ว่ า เป็ นจุ ด เริ่ ม ต้ นที่ ดี ใ นการ ผู้รับใช้ ขององค์พระผู้เป็ นเจ้ าต้ องไม่เป็ น ประกาศข่ า วดี เ รื่ อ งพระเยซู ค ริ ส ต์ ใ น คนที่ชอบการทะเลาะวิวาท แต่ต้องมี สังคมไทย ใจเมตตาต่อทุกคน เป็ นครูที่เหมาะสม สรุป และมีความอดทน ชี ้แจงให้ ฝ่ายตรงกัน คริ สเตียนไทยควรมีความเข้ าใจที่ ข้ ามเข้ าใจด้ วยความสุภาพ ว่าพระเจ้ า ชัดเจนว่าข่าวดี เรื่ องพระเยซูคริ สต์ ใน อาจจะทรงโปรดให้ เขากลับ ใจ และ บริ บทไทยมีใจความส�ำคัญว่าอย่างไร มาถึงซึ่งความจริ ง” ดังนัน้ เราจึงไม่ และควรจะแบ่งปั นข่าวดีนี ้ให้ กบั พี่น้อง ควรมี ท่ า ที ข องการพยายามเอาชนะ ชาวไทยด้ วยวิธีการที่เหมาะสม หรื อ กล่ า วถึ ง ความเชื่ อ ดัง้ เดิ ม ของผู้ อื่นในแง่ลบ เพราะจะท�ำให้ ผ้ ูนนั ้ รู้ สึก แม้ ในวันนี ้ เราอาจจะยังไม่มีขา่ วดี เสียหน้ า และน�ำไปสูก่ ารต่อต้ าน แต่ เรื่ องพระเยซูคริ สต์ที่ชดั เจนที่สดุ หรื อวิธี เราควรอธิบายข่าวดีเรื่ องพระเยซูคริ สต์ ประกาศที่ดีที่สดุ ส�ำหรับบริ บทไทย แต่ ด้ วยความถ่อมสุภาพ และเปิ ดโอกาส สิ่งที่เรามีในวันนี ้ คือ ใจความส�ำคัญ ให้ ผ้ ูฟั ง ได้ ตัด สิ น ใจโดยไม่ ร้ ู สึ ก ว่ า ถูก และแนวทางในการประกาศข่าวดีนี ้ให้ บีบบังคับให้ เชื่อ ซึง่ จะส่งผลให้ ผ้ นู นเปิ ั ้ ด กับชาวไทย ดังนัน้ ขอให้ เรามาร่วมกัน แบ่ ง ปั น ข่ า วดี นี ใ้ ห้ กั บ พี่ น้ องชาวไทย ใจรับฟั งมากขึ ้น ตังแต่ ้ วนั นี ้ดีไหมครับ! นอกจากนัน้ คริ สเตียนควรมีสว่ น ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร ธันวาคม 2011 ร่ ว มในการเสวนาระหว่ า งศาสนาซึ่ง ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), มีเป้าหมายเพื่อสร้ างความเข้ าใจและ Fuller Theological Seminary, USA ความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างศาสนาด้ วย คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี ส�ำคัญของการประกาศข่าวดีในบริ บท ไทย ยกตัวอย่างเช่น การอธิบายให้ คน ไทยเข้ าใจถึงความรักเมตตาของพระเจ้ า อย่ า งชัด เจนอาจเป็ นเรื่ อ งยาก แต่ คริ สเตียนสามารถส�ำแดงให้ คนไทยเห็น ความรักเมตตาของพระเจ้ าผ่านทางการ กระท�ำของตนเองได้ อย่างไรก็ดี เมื่อ เราได้ ประกาศด้ วยชีวิตแล้ ว เราต้ องไม่ ลืมที่จะประกาศด้ วยค�ำพูด เพื่อที่ชาว ไทยจะได้ ทราบว่าแท้ จริ งแล้ ว พระเยซู คริสต์ทรงเป็ นผู้ที่ชว่ ยเขาจากความทุกข์ นันผ่ ้ านทางการกระท�ำของเรา และหาก เขาเชื่อวางใจในพระองค์ก็จะได้ รับการ ช่วยให้ หลุดพ้ นจากความบาปและความ ทุกข์ชวั่ นิรันดร์ ด้วย

...ในทางตรงกันข้าม หากวิถีชีวิตของเรา ไม่สอดคล้องกับข่าวดี ที่เราประกาศ คงเป็นเรื่องยากที่ชาวไทย คนอื่นๆ จะเชื่อว่า ข่าวดีนี้เป็นความจริง

หมายเหตุ

บทความชุดนี ้มีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คริ สเตียนไทยตระหนักว่า คริ สต์ศาสนศาสตร์ เป็ นเรื่ องที่ใกล้ ตัว และพระเจ้ า ทรงปรารถนาให้ ผ้ ูเชื่อทุกคนสร้ างคริ สต์ ศาสน-ศาสตร์ ที่ ดี ซึ่ง อยู่บ นพื น้ ฐานของ พระคัมภีร์ เรี ยนรู้ จากหลักข้ อเชื่อ และ เกี่ยวข้ องกับบริ บทในปั จจุบนั บทความ แต่ละตอนเป็ นการกล่าวโดยสรุ ปเท่านัน้ จึงขอให้ ผ้ อู า่ นได้ พจิ ารณาเพิม่ เติมเกีย่ วกับ พระคัมภีร์ตอนอื่นๆ และหลักข้ อเชื่อของ คณะ/ค�ำสอนของนักศาสนศาสตร์ คนอื่นๆ รวมทังไตร่ ้ ตรองถึงสถานการณ์จริ งที่ท่าน ต้ องเผชิญ เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็ นคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ดี ซึง่ ช่วยให้ ผ้ อู า่ นสามารถ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและท�ำพันธกิจอย่าง สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และ สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ รอบ ข้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านมีค�ำถาม ค�ำแนะน�ำ หรื อ พระพรทีอ่ ยากแบ่งปั น ท่านสามารถติดต่อ ผมได้ โดยผ่ า นทางอี เ มล satanun_b @payap.ac.th หรื อ ส่งจดหมายมายัง วิ ท ยาลั ย พระคริ ส ต์ ธ รรมแมคกิ ล วารี มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 12 ข่าวดี

หน้ า 3


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว ตอนที่ 13

“งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข”ชาวไทยคุ้นเคยกับค�ำกล่าวนี ้

ซึง่ ช่วยให้ ผ้ คู นตระหนักถึงความส�ำคัญของการท�ำงาน และขยันหมัน่ เพียรในการประกอบ อาชีพ แต่ในขณะเดียวกัน แนวคิดนี ้อาจท�ำให้ ผ้ คู นมุง่ ความสนใจไปที่คา่ ตอบแทน จนลืม ไปว่าแท้ จริ งแล้ ว งานมีความหมายมากกว่าเงิน และความสุขที่เราได้ รับจากการท�ำงานนัน้ ไม่จ�ำเป็ นต้ องขึ ้นอยูก่ บั ค่าตอบแทนที่ได้ รับ โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ ในบทความตอนนี ้ เราจะมาพิจารณาร่วมกันว่า คริ สเตียนไทยควรมีความเข้ าใจอย่างไร เกี่ยวกับการท�ำงาน และเราควรมีทา่ ทีอย่างไรต่อการประกอบอาชีพของเรา

งานคือ...?

ความเต็มใจเหมือนท�ำถวายองค์พระผู้เป็ นเจ้ า ไม่ใช่เหมือน เราพบหลักการส�ำคัญอย่างน้ อย 4 ประการเกี่ยวกับการ ท�ำต่อมนุษย์ ท่านทัง้ หลายก็ร้ ู ว่า ท่านจะได้ รับมรดกจาก องค์ พ ระผู้ เป็ นเจ้ าเป็ นบ� ำ เหน็ จ เพราะท่ า นก� ำ ลัง รั บ ใช้ ท�ำงาน พระคริ สต์องค์พระผู้เป็ นเจ้ าอยู่” (โคโลสี 3:23-24—ฉบับ 1. พระเจ้าทรงเป็นแบบอย่างในการท�ำงาน มาตรฐาน) เช่น การทรงสร้ าง (ปฐก. 1-2) การธ� ำรงรักษาสิ่งที่ พระองค์ทรงสร้ าง (คส. 1:17) การที่พระเยซูคริ สต์เสด็จ ผู้เชื่อในอดีตสอนอย่างไรเกี่ยวกับ “งาน” มากระท� ำ พระราชกิ จ ของพระองค์ ใ นโลกนี ้ และการที่ แม้ พระคัมภีร์จะช่วยให้ เราเข้ าใจว่า “งาน” คือ “การรับใช้ พระเจ้ า” แต่คริ สเตียนส่วนใหญ่กลับไม่คดิ เช่นนัน้ เนื่องจาก พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์สถิตอยูก่ บั ผู้เชื่อในปั จจุบนั เราได้ รับการปลูกฝั งให้ แบ่งแยกระหว่าง “เรื่ องทางโลกและ 2. พระเจ้าบัญชาให้มนุษย์ท�ำงาน ในปฐมกาล 2:15 เรื่ องทางธรรม” “การประกอบอาชีพและการรับใช้ ” “ฆราวาส พระเจ้ าทรงให้ มนุษย์อยูใ่ นสวนเอเดน ให้ ท�ำและรักษา และบรรพชิต” ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตียนไม่น้อยจึงแยกชีวิตการ สวน การท�ำงานจึงเป็ นพระประสงค์ของพระเจ้ าส�ำหรับมนุษย์ ท�ำงานออกจากชีวิตคริ สเตียน แยกชีวิตประจ�ำวันออกจาก ตังแต่ ้ เริ่ มแรก มนุษย์สามารถสะท้ อนพระลักษณะ การรับใช้ พระเจ้ า หรือเข้ าใจผิดว่าการประกอบ ของพระเจ้ า และสามารถพัฒนาโลกนี ้ให้ ดีขึ ้น อาชี พ ของตนเองจะถื อ ว่ า เป็ นการรั บ ใช้ โดยการท�ำงาน พระเจ้ าได้ ก็ ต่อเมื่ อได้ น� ำเงิ นมาถวาย พระเจ้ ามากๆ หรือเมือ่ ได้ เล่าเรื่องพระเจ้ า 3. ความบาปมีผลกระทบต่อการท�ำงาน ให้ เพื่อนร่วมงานฟั งเท่านัน้ ปฐมกาล 3:17-19 ชีใ้ ห้ เห็น ว่า ความทุกข์ยากล�ำบากในการ อย่างไรก็ดี ค�ำสอนเรื่ อง ท�ำงานเป็ นผลมาจากความบาป (แต่ “การเป็ นปุโ รหิ ต (หรื อ ผู้รั บ ใช้ ) ของ การท�ำงานไม่ได้ เป็ นผลของบาป) ผู้เชื่ อทุกคน (Priesthood of All นอกจากนัน้ ความบาป Believers) โดย มาร์ ตนิ ลูเธอร์ ยังส่งผลให้ มนุษย์ ท�ำงาน ช่วยให้ เราเข้ าใจว่า คริสเตียน ที่ผิดศีลธรรม ท�ำงานด้ วยแรง ทุกคนล้ วนได้ รับการทรงเรี ยก จูง ใจหรื อ วิ ธี ก ารที่ ไ ม่ถูก ต้ อ ง จากพระเจ้ าให้ เป็ นผู้รับใช้ ของ และเอารัดเอาเปรี ยบผู้อื่น พระองค์ แม้ วา่ แต่ละคนอาจได้ รับมอบหมายหน้ าทีท่ ี่แตกต่าง 4. คริสเตียนควรท�ำงาน กันออกไป มาร์ ติน ลูเธอร์ เพื่อรับใช้พระเจ้า กล่าวว่า เนื่องจากคริ สเตียน พระคัมภีร์ท้าทายให้ ผ้ เู ชือ่ เปลีย่ นมุมมองใหม่เกีย่ วกับการ ถูกเรี ยกว่าเป็ น “ประชากรที่พระเจ้ าได้ ทรงเลือกสรร... ปุโรหิต ท�ำงาน โดยเข้ าใจว่า “งาน” คือ “การรับใช้ พระเจ้ า” ดังนัน้ หลวง... ชนชาติบริ สทุ ธิ์ ... พลเมืองของพระเจ้ า” (1เปโตร เราจะท�ำหน้ าที่ของเราให้ ดีที่สดุ เพื่อถวายเกียรติแด่พระองค์ 2:9—ฉบับอมตธรรมร่ วมสมัย) ผู้เชื่อแต่ละคนจึงมีศกั ดิ์ศรี ดังที่เปาโลกล่าวว่า “ไม่ว่าพวกท่านจะท�ำสิ่งใด ก็จงท�ำด้ วย การทรงเรี ย ก และสิท ธิ พิเศษจ� ำ เพาะพระพัก ตร์ พ ระเจ้ า

พระคัมภีร์สอนอย่างไรเกี่ยวกับ “งาน”

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 13 งานคือ...?

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

เท่าเทียมกัน ด้ วยเหตุนี ้ ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร 3. เราควรประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ผ่าน เราก็สามารถรับใช้ พระเจ้ าผ่านทางอาชีพของเราได้ แต่ต้อง การท�ำงานของเรา เป็ นอาชีพที่สจุ ริ ตและไม่ขดั แย้ งกับหลักศีลธรรมที่ปรากฏใน ในบทความตอนที่แล้ ว เราพบว่า การประกาศข่าวดี พระวจนะของพระเจ้ า เรื่ องพระเยซูคริ สต์ผ่านการกระท�ำ เป็ นหัวใจส�ำคัญของการ ประกาศข่าวดีในบริ บทไทย การประกอบอาชีพอยูท่ า่ มกลาง คริสเตียนไทยควรมีความเข้าใจและมีท่าทีอย่างไร ผู้ที่ ยัง ไม่ ร้ ู จัก กับ พระเจ้ า จึง เป็ นโอกาสดี ที่ ค ริ ส เตี ย นไทย เกี่ยวกับ “งาน” จะส�ำแดงพระคุณความรักของพระเจ้ าให้ กับผู้อื่น ดังนัน้ จากการพิจารณาถึงมุมมองของคนไทยในปั จจุบนั ความ นอกจากการท�ำงานอย่างดีที่สดุ จะเป็ นการถวายเกียรติแด่ จริ งจากพระคัมภีร์ และค�ำสอนของผู้เชื่อในอดีตเกี่ยวกับ พระเจ้ าแล้ ว ยังเป็ นการช่วยให้ ผ้ อู ื่นรู้จกั พระเจ้ ามากขึ ้นด้ วย การท�ำงาน คริ สเตียนไทยควรตระหนักว่า การท�ำงานของเรา อย่างไรก็ดี เมือ่ เราได้ ประกาศด้ วยชีวติ ในทีท่ �ำงานของเราแล้ ว ไม่ได้ เป็ นเพียงการหาเลี ้ยงชีพเท่านัน้ แต่เป็ นการที่เราปฏิบตั ิ เราต้ องไม่ลมื ที่จะเล่าข่าวดีเรื่ องพระเยซูคริสต์ให้ กบั เพื่อนร่วม ตามพระประสงค์ของพระเจ้ าในการพัฒนาโลกนี ้ให้ ดขี ึ ้น งาน งานหรื อผู้คนที่เราได้ พบปะด้ วย ทีเ่ ราท�ำจึงมีความหมายมากกว่าเงิน เพราะหมายถึงการทีเ่ รา สรุป ได้ รับใช้ พระเจ้ าผ่านทางบทบาทหน้ าทีข่ องเรา ถึงแม้ วา่ อาชีพ มีเรื่ องเล่าว่า ในขณะที่ชาย 3 คนก�ำลังท�ำงานอยู่นนั ้ ของเรานันอาจจะไม่ ้ เป็ นที่ยกย่อง เราอาจจะไม่มีต�ำแหน่งสูง มีคนถามพวกเขาว่า “คุณก�ำลังท�ำงานอะไรอยู?่ ” หรื อเราอาจจะไม่ได้ รับค่าตอบแทนมากมาย แต่พระเจ้ าทรง เห็นคุณค่า และพอพระทัยในสิง่ ที่เราท�ำ ด้ วยเหตุนี ้ เราจึง คนแรกตอบว่า “ผมก�ำลังหาเลี ้ยงชีวิตของผมอยู”่ สามารถมีความสุขในการท�ำงานได้ เพราะเรารู้วา่ เราก�ำลัง คนที่สองตอบว่า “ผมก�ำลังก่ออิฐอยู”่ ประกอบอาชีพนี ้เพื่อถวายเกียรติแด่พระเจ้ า และเราจะได้ รับ คนสุดท้ ายตอบว่า “ผมก�ำลังสร้ างก�ำแพงเมืองจีน ส�ำหรับ บ�ำเหน็จจากพระเจ้ าตามพระสัญญาของพระองค์ แผ่นดินจีนที่ยิ่งใหญ่!” ความเข้ าใจว่า “งาน” คือ “การรับใช้ พระเจ้ า” ควรน�ำไป ท่ า นคงพอจะเดาได้ ว่ า คนไหนจะมี ค วามสุ ข ใน สูท่ า่ ที 3 ประการในการท�ำงาน ดังนี ้ การท� ำ งานมากที่ สุด ในขณะที่ ส องคนแรกคงจะเริ่ ม ต้ น 1. เราควรเลือกท�ำงานที่เราสามารถถวายเกียรติแด่พระเจ้า ท�ำงานในแต่ละวันตามความเคยชิน โดยคิดถึงค่าแรงหรื อ สิ่งที่ตนเองต้ องท�ำเท่านัน้ คนสุดท้ ายคงเริ่ มต้ นการท�ำงาน ได้มากที่สุด แทนทีเ่ ราจะเลือกงานทีไ่ ด้ รับค่าตอบแทนสูงทีส่ ดุ เราควร ด้ วยความกระตือรื อร้ น โดยคิดว่าเขาก�ำลังท�ำสิ่งที่ส�ำคัญยิ่ง แสวงหาอาชีพที่เราจะสามารถถวายเกียรติแด่พระเจ้ าได้ มาก ส�ำหรับประเทศของเขา ที่สดุ ซึง่ หมายถึง งานที่สอดคล้ องกับความสามารถที่พระเจ้ า ประทานให้ กบั เรา งานที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ผู้คนในสังคม และ งานที่ไม่ขัดแย้ ง(หรื อไม่ส่งเสริ มให้ ผ้ ูคนท� ำสิ่งที่ขัดแย้ ง)กับ พระประสงค์ของพระเจ้ าส�ำหรับมนุษย์

หากมีคนถามท่านว่า “คุณก�ำลังท�ำงานอะไรอยู?่ ” ท่าน จะตอบว่าอย่างไร?

คงเป็ นการดี หากคริ สเตียนไทยจะตอบว่า “ฉันก�ำลัง รับใช้ พระเจ้ า เพือ่ ขยายแผ่นดินของพระเจ้ าผู้ยงิ่ ใหญ่!” เพราะ 2. เราควรท�ำงานอย่างดีที่สุดเพื่อถวายเกียรติแด่พระเจ้า ความเข้ าใจเช่นนี ้จะช่วยให้ เราเห็นคุณค่าของงานทีเ่ ราท�ำ เรา การระลึกอยู่เสมอว่า เราก� ำลังรั บใช้ พระเจ้ าผ่านการ จะท�ำงานอย่างเต็มที่ และเราจะมีความสุขในการท�ำงาน ท�ำงานของเรา จะปลดปล่อยเราจากการยึดติดกับค่าตอบแทน ด้ วยเหตุนี ้เอง คริ สเตียนไทยน่าจะท�ำงานโดยยึดคติที่วา่ ต�ำแหน่ง หรื อการยอมรับจากผู้อื่น อีกทัง้ ป้องกันเราจากการ “งานคือการรับใช้ รับใช้ พระเจ้ าในการท�ำงาน ชีวิตชื่นบาน ท�ำงานแบบเช้ าชามเย็นชาม แต่จะช่วยให้ เราท�ำงานอย่างมี มีสนั ติสขุ ” ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร มกราคม 2012 ความสุข อย่างเต็มที่ และอย่างดีที่สดุ เพื่อถวายเกียรติแด่ พระเจ้ า ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 13 งานคือ...?

หน้ า 2


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 14

ท�ำงาน และ หยุดพัก

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ นตอนที่แล้ ว เราพบว่า หากคริ สเตียนไทยตระหนักว่า การท�ำงาน คือ การรับใช้ พระเจ้ า เราจะเห็นคุณค่าของงานที่เราท�ำ ท�ำงาน อย่างเต็มที่ และมีความสุขในการท�ำงาน ซึง่ ผลที่ตามมา คือ พระเจ้ าจะทรงได้ รับเกียรติผา่ นการท�ำงานของเรา

อย่างไรก็ดี ความเข้ าใจนี ้ไม่ควรส่งผลให้ เราเป็ นเหมือน อาจารย์ ก. และ นาย ข.

อาจารย์ ก. เป็ นผู้รับใช้ พระเจ้ าที่ท่มุ เท ท่านท�ำงานโดยไม่มีวนั หยุด ใช้ เวลาอย่างมากในการเยี่ยมเยียนสมาชิก ให้ เวลากับทุกคนที่ มาขอค�ำปรึกษา ไม่ละเลยการศึกษาพระคัมภีร์และเตรี ยมเทศน์ และดูแลพันธกิจต่างๆ ของคริสตจักรเป็ นอย่างดี การรับใช้ ของท่านดูเหมือน เป็ นไปด้ วยดี แต่เมื่อเวลาผ่านไป ท่านเริ่ มไม่สบายบ่อยๆ อีกทังรู้ ้ สกึ เหนื่อยล้ า ท้ อถอย และขาดความกระตือรื อร้ น จนในที่สดุ ท่านก็ หันไปจากการรับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลา โดยไม่เข้ าใจว่าเกิดอะไรขึ ้นกับตนเอง นาย ข. เป็ นคริ สเตียนที่รักพระเจ้ า เขาเป็ นนักธุรกิจที่เข้ าใจว่า การท�ำงาน คือ การรับใช้ พระเจ้ า ด้ วยเหตุนี ้เขาจึงท�ำงานอย่างทุม่ เท หาก ท�ำงานไม่เสร็ จ เขาจะเอางานกลับไปท�ำที่บ้าน และถึงแม้ จะต้ องท�ำงานดึกดื่นในคืนวันเสาร์ เขาก็ยงั ไปนมัสการที่คริ สตจักรในเช้ าวันอาทิตย์ แล้ วกลับไปท�ำงานต่อในช่วงบ่าย ธุรกิจของเขาก้ าวหน้ าไปด้ วยดี แต่นาย ข. กลับกลายเป็ นคนที่หงุดหงิดง่าย ไม่คอ่ ยพูดคุยหรื อใช้ เวลากับ ภรรยาและลูกๆ จนในที่สดุ ครอบครัวของเขาก็เต็มไปด้ วยปั ญหา นาย ข. ไม่เข้ าใจว่าท�ำไมพระเจ้ าทรงอนุญาตให้ เรื่ องนี ้เกิดขึ ้น ทังๆ ้ ที่เขา ได้ รับใช้ พระองค์ในการท�ำงานอย่างทุม่ เท จากตัวอย่างนี ้ เราเห็นอย่างชัดเจนว่า นอกจากคริ สเตียนไทยควรมีความเข้ าใจที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับ “การท�ำงาน” แล้ ว เราควรมีความเข้ าใจ ที่เหมาะสมเกี่ยวกับ “การหยุดพัก” ด้ วย มิฉะนัน้ การท�ำงานของเราอาจไม่เกิดผลเท่าที่ควร และอาจน�ำผลเสียมาสูช่ ีวิตของเราด้ วย ในบทความตอนนี ้ เราจะมาพิจารณาร่ วมกันว่า คริ สเตียนไทยควรมีความเข้ าใจอย่างไรเกี่ยวกับการหยุดพัก และเราควรจะหยุดพัก อย่างไรบ้ าง

ใช้ งาน)—หยุดพักจากการงานในวันสะบาโต (อพย. 20:8-11; เราพบหลักการส�ำคัญอย่างน้ อย 4 ประการเกี่ยวกับการ ฉธบ. 5:12-15) พระเยซูตรัสกับสาวกหลังจากที่พวกเขากลับ มาจากการรับใช้ วา่ “ท่านทังหลายจงตามเราไปหาที ้ ่สงบพัก หยุดพัก กันสักหน่อยเถิด” (มก. 6:31—อมตธรรม)

พระคัมภีร์สอนอย่างไรเกี่ยวกับ “การหยุดพัก” 1. พระเจ้าทรงเป็นแบบอย่างในการหยุดพัก

พระเจ้ าทรงหยุดพักในวันที่เจ็ดของการทรงสร้ าง (ปฐก. 3. พระเจ้ามีพระประสงค์ให้มนุษย์ได้หยุดพักในฝ่าย 2:1-3) พระเยซูทรงหยุดพักจากพระราชกิจเพื่อไปอธิษฐาน จิตวิญญาณ ต่อพระบิดา (มก. 1:35; 6:46) สิง่ ที่สำ� คัญกว่าการหยุดพักในฝ่ ายร่างกายและจิตใจ คือ การที่มนุษย์ได้ หยุดพักในฝ่ ายจิตวิญญาณ ซึง่ หมายถึง การ 2. พระเจ้าบัญชาให้มนุษย์หยุดพัก ได้ คืนดีกบั พระเจ้ า ได้ รับความสุขแท้ และชีวิตที่ครบบริ บรู ณ์ ในบัญญัติสบิ ประการข้ อที่สี่ พระเจ้ าบัญชาให้ มนุษย์— จากพระองค์ ดังที่พระเยซูตรัสว่า “บรรดาผู้เหน็ดเหนื่อยและ หัวหน้ าครอบครัว สมาชิกทุกคน ทาส และแขก (รวมทังสั ้ ตว์ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 14 ท�ำงาน และ หยุดพัก

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

แบกภาระหนัก จงมาหาเรา และเราจะให้ ทา่ นทังหลายได้ ้ หยุด ด้ วยเหตุนี ้ นักจิตวิทยาแนะน�ำให้ เราป้องกัน(และแก้ ไข) ภาวะหมดไฟด้ วยการเริ่มต้ นวันใหม่ด้วยกิจกรรมที่ผอ่ นคลาย พัก” (มธ. 11:28—ฉบับมาตรฐาน) เช่น การท�ำสมาธิ กายบริ หาร หรื ออ่านหนังสือที่สร้ างแรง 4. พระเจ้าทรงจัดเตรียมการหยุดพักนิรันดร์ไว้ส�ำหรับ บันดาลใจ ไม่ท�ำงานมากเกินไป ท�ำงานอดิเรก ปลีกตัวออก ผู้เชื่อทุกคน จากเทคโนโลยี (ปิ ดโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ ) การได้ ห ยุด พัก ในโลกนี เ้ ป็ นตัว อย่า งของการหยุด พัก จัด การกับ ความเครี ย ด และสร้ างวิ นัย ในการกิ น อาหาร นิรันดร์ ในแผ่นดินสวรรค์ ดังที่ผ้ เู ขียนหนังสือฮีบรูกล่าวว่า ผู้ที่ ออกก�ำลังกาย และนอนหลับให้ เพียงพอ เชื่อก็ได้ เข้ าสูก่ ารหยุดพักแล้ ว แต่ยงั ต้ องมุง่ ไปสูก่ ารหยุดพัก[ที่ สมบูรณ์แบบ]ต่อไป (ฮบ. 4:1-11) และพระวิญญาณตรัสเกี่ยว คริสเตียนไทยควรมีความเข้าใจและการกระท�ำ กับผู้เชือ่ ทีอ่ ยูใ่ นแผ่นดินสวรรค์วา่ “ใช่แล้ ว เขาทังหลายจะหยุ ้ ด อย่างไรเกี่ยวกับ “การหยุดพัก” พักจากการตรากตร� ำของตน เพราะผลงานของเขาจะติดตาม จากการพิ จ ารณาความจริ ง จากพระคัม ภี ร์ แ ละหลัก เขาไป” (วว. 14:13ข—อมตธรรม) การทางจิตวิทยา คริ สเตียนไทยควรมีความสมดุลระหว่าง การท�ำงานและการหยุดพัก ขณะทีเ่ ราถวายเกียรติแด่พระเจ้ า เราได้เรียนรู้อะไรจากหลักการทางจิตวิทยา ผ่านการท� ำงานอย่างเต็มที่ เราจะไม่ลืมถวายเกี ยรติแด่ คริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ ที่ ดี ค วรเรี ย นรู้ จากสาขาวิ ช าอื่ น ๆ พระเจ้ าผ่านการหยุดพักตามพระประสงค์ของพระองค์ด้วย ด้ วย เราพบว่าหลักการทางจิตวิทยาเกี่ยวกับ “ภาวะหมดไฟ” (Burnout) ช่วยให้ เราเห็นความส�ำคัญของการหยุดพักมากยิง่ คริ ส เตี ย นไทยควรให้ ค วามส� ำ คัญ กับ การหยุด พัก ใน 4 ลักษณะ ดังนี ้ ขึ ้น “ภาวะหมดไฟ” คือ การที่บคุ คลหนึง่ รู้สกึ เหนื่อยล้ าทาง ร่ายกายและจิตใจอย่างมาก เนือ่ งจากเผชิญความเครียดอย่าง ต่อเนื่อง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเครี ยดจากการท�ำงาน) ภาวะหมดไฟมิได้ เกิดขึ ้นในทันทีทนั ใด แต่จะค่อยๆ ทวีความ รุนแรงขึ ้น โดยมักจะมีอาการดังนี ้ ขาดก�ำลังในฝ่ ายร่างกาย ไม่สบายบ่อยๆ อ่อนล้ าในฝ่ ายจิตใจ ไม่อยากเกี่ยวข้ องกับ ผู้อื่น ขาดความกระตือรื อร้ น มองโลกในแง่ลบ มักโทษ ผู้อื่น ผลัดวันประกันพรุ่ง ขาดงานบ่อย และท�ำงานอย่าง ไม่มีประสิทธิภาพ

1. การหยุดพักเพื่อให้ร่างกายและจิตใจได้รับก�ำลังขึ้น

การได้ หยุ ด พั ก อย่ า งน้ อยหนึ่ ง วั น ต่ อ สั ป ดาห์ เ ป็ น พระประสงค์ของพระเจ้ าส�ำหรับมนุษย์ (มิใช่ท�ำเพื่อรั กษา บัญญัติ แต่เพื่อประโยชน์ของมนุษย์เอง) ดังนัน้ เราควรให้ ความส�ำคัญต่อการหยุดพักในแต่ละสัปดาห์ และให้ ผ้ ทู ี่อยู่ ภายใต้ การดูแลของเราได้ หยุดพักเช่นเดียวกัน นอกจากนัน้ เราควรให้ ความส�ำคัญต่อการหยุดพักในแต่ละวันผ่านการ ท�ำงานอย่างมีขอบเขต การท�ำงานอดิเรก ออกก�ำลังกาย และนอนหลับให้ เพียงพอด้ วย

สภาพสังคมในปั จจุบนั ท�ำให้ ผ้ คู นมีความเสี่ยงสูงขึ ้นใน 2. การหยุดพักเพื่อให้จิตวิญญาณได้รับการฟื้นฟูขึ้น การตกอยูใ่ ต้ ภาวะหมดไฟ ไม่วา่ จะเป็ นผู้ที่ประกอบอาชีพที่ ก า ร ไ ด้ ห ยุ ด พั ก อย่ า งน้ อ ยหนึ่ ง วัน ต่ อ สัป ดาห์ ไ ม่ มีความเครี ยดสูง ผู้ที่มีภาระงาน มากเกินไป เพียงแต่ช่วยให้ ร่ า งกายและจิ ต ใจของเราได้ ผู้ที่คิดว่าหน้ าที่ของตนเองไม่มี คุ ณ ค่ า รั บ ก� ำ ลัง ขึน้ เท่านัน้ แต่เป็ นการเปิ ดโอกาส หรื อ ใครก็ ต ามที่ ต้ องรั บ ผิ ด ชอบ ให้ เ ราได้ ใ ช้ เ วลากับ พระเจ้ า หน้ าที่บางประการจนรู้สกึ ว่า มากขึ น้ เพื่ อ ที่ จิ ต วิ ญ ญาณ เกินก�ำลัง เช่น คุณแม่มือใหม่ ของเราจะได้ รับการฟื ้นฟูขึน้ ที่ ต้ อ งดูแ ลลูก น้ อ ยโดยไม่ มี การได้ ไปนมัสการพระเจ้ าใน ใครช่วยแบ่งเบาภาระ วันอาทิตย์ที่คริ สตจักรเป็ น ประจ�ำทุกสัปดาห์จงึ เป็ น สิ่งที่คริ สเตียน ไทยทุ ก คน

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 14 ท�ำงาน และ หยุดพัก

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ควรแสวงหา แต่หากไม่สามารถท�ำได้ (เช่น แพทย์ พยาบาล หรื อ อาชี พ อื่ น ๆ ที่ ต้ อ งอยู่เ วรวัน อาทิ ต ย์ ) เราควรแสวงหา การได้ นมัสการพระเจ้ าร่วมกับพีน่ ้ องคริสเตียนในวันอืน่ ๆ แทน อย่างไรก็ดี สิง่ ทีข่ าดไม่ได้ สำ� หรับทุกคน คือ การภาวนาส่วนตัว (เฝ้าเดี่ ยว)ในแต่ละวัน เพราะจะช่วยให้ เราได้ พักสงบกับ พระเจ้ า และได้ รับก�ำลังใหม่ในฝ่ ายวิญญาณจากพระองค์ ทุกวัน

3. การหยุดพักเพื่อใช้เวลากับสมาชิกในครอบครัว

นอกจากการหยุดพักเพื่อให้ เวลากับตนเองและพระเจ้ า แล้ ว เราควรให้ เวลากับสมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัวของ เราด้ วย ในบทความตอนที่ 7-8 เราได้ เรี ยนรู้ ว่า ครอบครัว (ทัง้ ฝ่ ายร่ า งกายและฝ่ ายวิ ญ ญาณ)มี ส่ ว นส� ำ คัญ ในการ ช่ ว ยให้ ส มาชิ ก แต่ล ะคนเผชิ ญ สถานการณ์ ต่า งๆ ในชี วิ ต ดั ง นั น้ เราควรพั ฒ นาความสัม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด โดยการ “จัดเวลา” ที่จะหยุดพักจากการงานเพื่อใช้ เวลากับสมาชิก ในครอบครัว และสามัคคีธรรมกับพี่น้องคริ สเตียนในคริ สตจักร เพื่อที่เราจะสามารถเสริ มสร้ างชีวิตของกันและกันได้ อย่างแท้ จริ ง

แม้ในวันนี้ เรายังต้องตรากตร�ำท�ำงานหนัก โดยสามารถหยุดพัก ได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น แต่เรามีความมั่นใจว่า พระเจ้าได้ทรงจัดเตรียม การหยุดพักที่สมบูรณ์แบบ ไว้ส�ำหรับผู้เชื่อทุกคน ในแผ่นดินสวรรค์

4. การหยุดพักนิรันดร์ที่เราจะได้รับในอนาคต

ท�ำงานที่มีการหยุดพักอย่างเหมาะสม อาจดูเหมือนก้ าวไป อย่างเชื่องช้ า แต่จะน�ำเราไปสูก่ ารเกิดผลที่ยงั่ ยืน

สรุป

มีผ้ ูรับใช้ พระเจ้ าท่านหนึ่งกล่าวว่า ชีวิตคนเราเปรี ยบ เหมือนการแข่งรถฟอร์ มลู า่ วัน นักแข่งทุกคนต้ องขับรถไปด้ วย ความเร็วสูง วนหลายรอบ และพยายามท�ำเวลาให้ ดที สี่ ดุ เพือ่ จะได้ ชยั ชนะ แต่สงิ่ ที่นกั แข่งทุกคนไม่คดิ ว่าเป็ นการเสียเวลา คือ การหยุดพักเพื่อเปลี่ยนยาง (และเติมน� ้ำมัน) เพราะพวก เขารู้ ดีว่า การหยุดพักนี ้จะช่วยป้องกันพวกเขาจากอันตราย และท�ำให้ พวกเขาสามารถมุ่งไปสูเ่ ส้ นชัยได้ ในชีวิตของเรา ก็เช่นเดียวกัน การหยุดพักอย่างเหมาะสมจะป้องกันเราจาก ภาวะหมดไฟ และช่วยให้ เราได้ รับก�ำลังจากพระเจ้ าในการ มุง่ ไปสูห่ ลักชัยในชีวิตของเรา

แม้ ในวันนี ้ เรายังต้ องตรากตร� ำท�ำงานหนัก โดยสามารถ หยุดพักได้ เพียงชัว่ คราวเท่านัน้ แต่เรามีความมัน่ ใจว่าพระเจ้ า ได้ ทรงจัดเตรี ยมการหยุดพักที่สมบูรณ์ แบบไว้ ส�ำหรับผู้เชื่อ ทุกคนในแผ่นดินสวรรค์ ด้ วยเหตุนี ้ เราจะยึดมัน่ ในความเชื่อ อดทนต่อความทุกข์ยาก และด�ำเนินชีวิตที่เชื่อฟั งพระเจ้ าใน ทุกๆ ด้ าน (รวมทังการรั ้ กษาความสมดุลระหว่างการท�ำงาน และการพักผ่อน) เพือ่ ทีเ่ ราจะไม่พลาดไปจากทางของพระเจ้ า และจะได้ เข้ าสู่การหยุดพักที่สมบูรณ์ แบบที่พระองค์ได้ ทรง จัดเตรี ยมไว้ พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ให้ มนุษย์ท�ำงานและหยุดพัก เพื่อถวายเกียรติแด่พระองค์ ดังนัน้ คริ สเตียนไทยแต่ละคน ควรแสวงหาแนวทางรักษาความสมดุลระหว่างการท�ำงาน และการพักผ่อนของตนเอง เพื่อที่เราจะมีคริ สต์ศาสนศาสตร์ เรื่ องการท�ำงานและหยุดพัก “ที่มีชีวิต” อย่างแท้ จริ ง การ กระท�ำเช่นนี ้ไม่ใช่เรื่ องง่ายในสังคมปั จจุบนั แต่ขอให้ ตวั อย่าง ของ อาจารย์ ก. และ นาย ข. ย� ้ำเตือนให้ เราระลึกอยูเ่ สมอว่า การท�ำงานที่ปราศจากการหยุดพัก อาจดูเหมือนก้ าวหน้ าไป ด้ วยดี แต่จะน�ำผลเสียมาสูช่ ีวิตของเราในอนาคต ส่วนการ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 14 ท�ำงาน และ หยุดพัก

ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร กุมภาพันธ์ 2012 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 15

พระเยซูทรงเข้าใจ

“ไม่ มใี ครเข้ าใจฉัน!” เป็ นเสียงตัดพ้ อที่เรามักจะ

ได้ ยินจากผู้ที่ก�ำลังพบกับความทุกข์แล้ วรู้ สึกว่าคนอื่นๆ ไม่สามารถช่วยเขา/เธอได้ เพราะไม่มใี ครทีม่ ปี ระสบการณ์ ในครรภ์ ของมารี ย์ ทรงเกิด แบบเดียวกับเขา/เธอ

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

แท้ จริ งแล้ ว “พระเยซูทรงเข้ าใจ” เนื่องจากพระองค์ มาเป็ นเด็กทารก ทรงเติบโต ทรงเป็ นพระเจ้ าผู้เสด็จมาในโลกนี ้เป็ นมนุษย์ พระองค์ ขึ ้นจนกระทัง่ เป็ นผู้ใหญ่ และ จึงทรงมีประสบการณ์เช่นเดียวกับทีม่ นุษย์ต้องเผชิญ และ สิ ้นพระชนม์

2. พระเยซูทรงเข้าใจ...เพราะ พระองค์ได้ถูกทดลองเหมือน มนุษย์คนอื่นๆ

นอกจากนัน้ ยัง มี พ ระคัม ภี ร์ ในบทความตอนนี ้ เราจะมาพิจารณาร่ วมกันว่า หลายตอนที่ ก ล่ า วถึ ง ความ พระเยซูทรงเข้ าใจมนุษย์ได้ อย่างไร และสิง่ นี ้มีความหมาย จ� ำ กั ด ของพระเยซู ใ นฐานะ อย่างไรส�ำหรับชีวิตของเรา มนุษย์ เช่น ทรงหิว (มัทธิว 1. พระเยซูทรงเข้าใจ...เพราะ 4:2) ทรงเหน็ดเหนื่อย (ยอห์น 4:6) ทรง กระหายน� ้ำ (ยอห์น 19:28) ทรงโศกเศร้ า พระองค์ได้เสด็จมาบังเกิดเป็น และหนักพระทัยเมื่ ออธิ ษฐานในสวน มนุษย์ เกท-เสมนี (มัทธิว 26:37-38) ทรงรู้สกึ ยอห์นกล่าวว่า “พระวาทะ(พระเยซู) เจ็บปวดในฝ่ ายร่ างกายและต้ องตาย ทรงเกิดเป็ นมนุษย์...” (ยน. 1:14 ฉบับ (เช่น ยอห์น 19:30) มาตรฐาน) ค�ำว่า “มนุษย์” ในภาษา กรี กใช้ ค�ำว่า “เนื ้อหนัง” ซึง่ ในบริ บทของ เมื่ อ ยอห์ น กล่ า วว่ า “พระวาทะ พ ร ะ คั ม ภี ร์ ต อ น นี ไ้ ม่ ไ ด้ ห ม า ย ถึ ง (พระเยซู)ทรงเกิ ดเป็ นมนุษย์ และทรง “ธรรมชาติบาปของมนุษย์” แต่หมายถึง อยู่ท่ามกลางเรา...” (ยน. 1:14 ฉบับ “ธรรมชาติที่แท้ จริ งของมนุษย์” ดังนัน้ มาตรฐาน) นี่ เ ป็ นภาพของพระเจ้ า เมื่อพระเยซูเสด็จมาในโลกนี ้ พระองค์ ผู้เสด็จมาสร้ างเต็นท์หรื อพลับพลาของ ไม่ได้ เพียงแสดงตัวเป็ นเหมือนมนุษย์ พระองค์ ในที่ ๆ เราอยู่ เช่นเดียวกับที่ เท่านัน้ แต่พระองค์เสด็จมารับสภาพ พระองค์ได้ เสด็จมาพบกับชาวอิสราเอล ของมนุษย์จริ งๆ คือ ทรงปฏิสนธิ์(โดย ที่พลับพลาในขณะที่พวกเขาเดินทาง ฤทธิ์ เ ดชของพระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ ) เร่ ร่อนอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ยอห์นชีใ้ ห้ เราเห็นว่า การที่ พระเยซูทรงเกิ ดเป็ น มนุษย์ทมี่ ลี กั ษณะเหมือนมนุษย์คนอืน่ ๆ เป็ นสิ่งที่ยืนยันว่าพระเจ้ าไม่ได้ ทรงอยู่ ห่ า ง ไ ก ล แ ต่ ท ร ง อ ยู่ กั บ เ ร า ใ น ทุกสถานการณ์ ทรงเข้ าใจความรู้ สึก ของเรา และพร้ อมจะช่วยเราจากความ ทุกข์ที่เราก�ำลังเผชิญ

โดยฤทธิ์ เดชของพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ (ลก. 1:35) และถึงแม้ ว่าพระเยซูทรง ถู ก ทดลองใจเช่ น เดี ย วกั บ มนุ ษ ย์ ค น อื่นๆ พระองค์ก็ยงั ปราศจากบาป แต่ ด้ วยการที่พระองค์เคยมีประสบการณ์ที่ ถูกทดลอง พระองค์ จึงทรงเห็นใจใน ความอ่อนแอของมนุษย์ ดังนันเราควร ้ ตอบสนองต่อพระองค์ ตามค�ำแนะน� ำ ของผู้เขียนฮีบรู ทีว่ า่ “ฉะนันขอให้ ้ เราเข้ า มาถึงพระที่นั่งแห่งพระคุณด้ วยความ กล้ า เพื่อเราจะได้ รับพระเมตตาและ จะพบพระคุณทีช่ ว่ ยเราในยามต้ องการ” (ฮีบรู 4:16 ฉบับมาตรฐาน)

สามารถช่วยมนุษย์ให้ พ้นจากความทุกข์ได้

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 15 พระเยซูทรงเข้าใจ

ฮีบรู 4:15 กล่าวว่า “เพราะว่า เรา ไม่ ไ ด้ มี ม หาปุ โ รหิ ต ที่ ไ ม่ ส ามารถจะ เห็นใจในความอ่อนแอของเรา แต่ทรง เคยถูก ทดลองใจเหมื อ นเราทุก อย่ า ง ถึงกระนันพระองค์ ้ ก็ยงั ปราศจากบาป” แม้ ว่ า พระเยซู จ ะมี ลั ก ษณะเหมื อ น กั บ มนุ ษ ย์ ค นอื่ น ๆ แต่ พ ระองค์ ท รง ปราศจากบาปเนื่ อ งจากทรงปฏิ ส นธิ์

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

3. พระเยซูทรงเข้าใจ...เพราะ พระองค์ได้แบกความบาปและ ความทุกข์ของมนุษย์ทุกคน

ที่ บ นกางเขน พระเยซู ไ ด้ แบก ความบาปผิดและความทุกข์ของมนุษย์ ทุกคนไว้ ในพระกายของพระองค์ (อสย. 53) พระองค์จึงทรงเข้ าใจความทุกข์ ที่มนุษย์ แต่ละคนต้ องเผชิญ ในวันนี ้ พระเยซูทรงพระชนม์ อยู่และทรงสถิ ต อยู่ ใ นชี วิ ต ของเรา พระองค์ จึ ง ทรง ทนทุกข์ร่วมกับเราด้ วย เจอร์ เก็น โมลต์มันน์ นักคริสต์ศาสนศาสตร์ ชาวเยอรมนี ช่วยให้ เราเข้ าใจความจริ งนีช้ ัดเจนยิ่ง ขึ ้น ท่านกล่าวว่า “ประวัติศาสตร์ ของ พระเจ้ าในความตายของพระเยซูบนไม้ กางเขนนันถื ้ อได้ ว่าเป็ นประวัติศาสตร์ ของประวัติ ศ าสตร์ ทั ง้ หมด เพราะ ประวัติ ศ าสตร์ ทัง้ หมดของมนุษ ย์ นัน้ ถูก รวบรวมเอาไว้ ใ นเหตุก ารณ์ นัน้ ที่ บนกางเขน ความทุกข์ของมนุษยชาติ ในตลอดประวัติศาสตร์ ได้ ถูกรวบรวม เอาไว้ ที่พ ระเจ้ า ดัง นัน้ จึงไม่มีความ ทุก ข์ ข องมนุษ ย์ ค นไหนที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่บ น กางเขน ไม่มีความตายของมนุษย์คน ไหนที่ไม่ได้ อยู่บนกางเขน ไม่มีน�ำ้ ตา ของมนุษย์คนไหนที่ไม่ได้ อยูบ่ นกางเขน หากเราเผชิญความทุกข์ ที่ไม่สามารถ อธิ บายได้ และรู้ สึกว่าถูกพระเจ้ าทอด ทิ ้ง ขอให้ เรารู้วา่ แท้ จริ งแล้ วพระเจ้ าเอง เคยผ่านประสบการณ์นนมาแล้ ั้ ว และ ในวันนี ้พระองค์ทรงทนทุกข์ร่วมกับเรา ด้ วย เพราะพระองค์ทรงอยู่ในชีวิตของ เรา” ดังนัน้ ขอให้ เรามัน่ ใจว่า เราไม่ได้ ก�ำลังเผชิญความทุกข์อยูเ่ พียงล�ำพัง แต่ พระเยซู ท รงอยู่เ คี ย งข้ า งเราและทรง ทนทุกข์ร่วมกับเรา

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 15 พระเยซูทรงเข้าใจ

การที่พระเยซูทรงเกิดเป็นมนุษย์ที่มีลักษณะ เหมือนมนุษย์คนอื่นๆ เป็นสิ่งที่ยืนยันว่าพระเจ้า ไม่ได้ทรงอยู่ห่างไกล แต่ทรงอยู่กับเรา ในทุกสถานการณ์ ทรงเข้าใจความรู้สึกของเรา และพร้อมจะช่วยเราจากความทุกข์ที่เราเผชิญ

สรุป

พระเยซูทรงเข้ าใจความทุกข์ยากที่มนุษย์ต้องเผชิญ เนื่องจากพระองค์ได้ เสด็จ มาบังเกิดเป็ นมนุษย์ ได้ ถกู ทดลองเหมือนมนุษย์คนอืน่ ๆ และได้ แบกความบาปและ ความทุกข์ของมนุษย์ทกุ คนไป จอห์น สตอทท์ ได้ กล่าวถึงละครสันเรื ้ ่ อง “ความเงียบอันยาวนาน” (The Long Silence) ซึง่ สรุปความจริ งนี ้ได้ อย่างชัดเจน (อ้ างอิงใน นิคกี ้ กัมเบิล. เปิ ดประเด็น ดัง (กรุงเทพฯ: กนกบรรณสาร, 2006), หน้ า 23-25.) “ในวาระสุดท้ าย เมื่ อคนจ� ำนวนนับพันล้ านต่างอยู่อย่างกระจัดกระจาย ในที่ราบอันกว้ างใหญ่ไพศาลต่อเบื ้องหน้ าบัลลังก์ของพระเจ้ า คนส่วนใหญ่ต่างแอบอยู่ด้านหลังเพื่อหลบแสงจ้ าที่อยู่ต่อหน้ าพวกเขา แต่ บางกลุม่ ที่อยูบ่ ริ เวณแถวหน้ าได้ คยุ กันอย่างเผ็ดร้ อน ไม่ได้ คยุ ด้ วยความกลัวหรื อ ความอับอาย แต่ด้วยความโกรธแค้ น หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

‘พระเจ้ าตัดสินเราได้ หรื อ พระองค์จะเข้ าใจความทุกข์ได้ อย่างไร’ หญิงผมด�ำคนหนึ่งพูดขึ ้นแบบขบเขี ้ยว และถลก แขนเสื ้อขึ ้นให้ เห็นหมายเลขที่สกั ไว้ ตอนที่ถูกขังอยู่ในค่ายกักกันของพวกนาซี ‘เราต้ องเผชิญกับความหวาดกลัว... การ โบยตี... การทรมาน... และความตาย’ ชายหนุ่มคนหนึ่งในอีกกลุ่มหนึ่งพับคอเสื ้อของเขาลง ‘แล้ วนี่ล่ะ’ เขาเรี ยกร้ องและแสดงรอยเชือกที่น่าเกลียดให้ เห็น ‘ถูกศาลเตี ้ยตัดสินแขวนคอ... ทังๆ ้ ที่ไม่ได้ ท�ำผิดอะไรเลย แค่เราเป็ นคนผิวด�ำเท่านัน’้ ในกลุม่ คนอีกกลุม่ หนึง่ นักเรี ยนหญิงที่ตงครรภ์ ั้ คนหนึง่ หน้ าตาบูดบึ ้งและบ่นพึมพ�ำว่า ‘ท�ำไมฉันต้ องทนทุกข์ มันไม่ใช่ ความผิดของฉันเลย’ มีกลุม่ คนลักษณะเช่นนี ้เป็ นร้ อยๆ กลุม่ กระจายอยู่ตามที่ราบอันกว้ างใหญ่นี ้ แต่ละกลุม่ ก็มีสิ่งที่จะบ่นต่อว่าพระเจ้ าที่ พระองค์ทรงอนุญาตให้ สิ่งเลวร้ ายและความทุกข์เกิดขึ ้นในโลกของพระองค์ พวกเขาพูดกันว่า พระเจ้ าช่างโชคดีเหลือเกิน ที่สถิตบนสรวงสวรรค์ซงึ่ ทุกอย่างล้ วนน่าชื่นชมและสดใส ที่นนั่ ไม่มีการร้ องไห้ หรื อความหวาดกลัว ไม่มีความหิวหรื อความ เกลียดชัง พระเจ้ าจะรู้อะไรเกี่ยวกับสิง่ ที่มนุษย์ถกู บังคับให้ เผชิญในโลกนี ้ เพราะพระเจ้ าทรงด�ำเนินชีวิตที่มีการคุ้มกันเป็ น อย่างดี ฉะนัน้ แต่ละกลุม่ ต่างส่งตัวแทนซึง่ เป็ นผู้ที่เผชิญความทุกข์มากที่สดุ คือยิวคนหนึง่ ชายหนุม่ ผิวด�ำคนหนึง่ คนหนึง่ ที่มา จากเกาะฮิโรชิมา เด็กคนหนึง่ ซึง่ เป็ นโรคข้ อต่อผิดปกติ พวกเขาปรึกษากันตรงกลางที่ราบใหญ่แห่งนัน้ หลังจากนันพวกเขา ้ จึงเสนอค�ำร้ องเรี ยนซึง่ เป็ นวิธีการที่ชาญฉลาดอย่างยิ่ง ก่อนที่พระเจ้ าจะมีคณ ุ สมบัติพอที่จะเป็ นผู้พิพากษาของพวกเขานัน้ พระองค์ต้องผ่านการทนทุกข์ที่พวกเขาทนมาแล้ ว พวกเขาตกลงกันว่าพระเจ้ าต้ องถูกตัดสินให้ มีชีวิตอยูใ่ นโลกในฐานะมนุษย์คนหนึง่ ‘ให้ พระองค์เกิดเป็ นคนยิว ให้ การเกิดของพระองค์เป็ นที่สงสัยว่าถูกต้ องตามท�ำนองคลองธรรมหรื อไม่ ให้ พระองค์มีงาน รับผิดชอบทีห่ นักและล�ำบากมากจนเมือ่ พระองค์พยายามท�ำให้ สำ� เร็จ คนในครอบครัวของพระองค์ยงั คิดว่าพระองค์เสียสติ ให้ พระองค์ถกู สหายผู้ใกล้ ชิดที่สดุ ทรยศ ให้ พระองค์ถกู ปรักปร� ำด้ วยข้ อกล่าวหาเท็จ ถูกสอบสวนด้ วยคณะลูกขุนที่มีอคติ และ ถูกตัดสินโทษโดยผู้พิพากษาที่ขี ้ขลาด ให้ พระองค์ถกู ทรมาน และท้ ายสุดคือให้ พระองค์เผชิญกับความโดดเดีย่ วอย่างสิ ้นเชิงแล้ วจึงตาย ให้ พระองค์ตายชนิดทีไ่ ม่มขี ้ อสงสัยว่าพระองค์ ตายแล้ ว และให้ มีพยานกลุม่ ใหญ่มายืนยันในเรื่ องนี ้’ ในขณะที่ตวั แทนแต่ละคนประกาศค�ำตัดสินในแต่ละส่วนของตน เสียงแสดงการสนับสนุนและเห็นด้ วยก็ดงั กระหึ่ม มาจากฝูงชนที่ชมุ นุมกันอยู่ และเมื่อค�ำตัดสินของคนสุดท้ ายสิ ้นสุดลง ก็เกิดความเงียบอยูเ่ ป็ นเวลานาน ไม่มีใครพูดอะไรอีก ไม่มีใครเคลื่อนไหว เพราะทันใดนัน้ พวกเขาต่างรู้วา่ พระเจ้ าได้ ด�ำเนินตามค�ำตัดสินนันเรี ้ ยบร้ อยแล้ ว” “พระเยซูทรงเข้ าใจ” นี่เป็ นข่าวดีที่คริ สเตียนไทยควรยึดมัน่ และประกาศให้ พี่น้องชาวไทยได้ ร้ ู อย่างไรก็ดี เราต้ อง ไม่ลมื ว่า นอกจากพระเยซูจะทนทุกข์ร่วมกับเราแล้ ว พระองค์ยงั ทรงช่วยเราให้ พ้นจากความทุกข์ด้วย ดังนัน้ ในบทความตอน ต่อไป เราจะมาพิจารณาร่วมกันว่า เพราะเหตุใดพระเยซูจงึ สามารถช่วยเราให้ พ้นจากความบาปและความทุกข์ได้ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร มี นาคม 2012 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 15 พระเยซูทรงเข้าใจ

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 16

พระเยซูทรงช่วยได้

นบทความตอนที่แ ล้ ว เรา พบว่ าพระเยซูทรงเข้ าใจมนุ ษย์ เนื่ องจากพระองค์ เสด็จมาบังเกิดเป็ น มนุษย์ แท้ ทรงถูกทดลองเหมือนมนุษย์ คนอื่นๆ แต่ ทรงปราศจากบาป และทรง รั บความบาปและความทุกข์ ของมนุษย์ ทุกคนไว้ ในพระกายของพระองค์ อย่ างไรก็ดี พระเยซู ไม่ เพียงแต่ ทรงเข้ าใจมนุ ษย์ เท่ านัน้ แต่ พระองค์ ทรงสามารถช่ วยมนุษย์ ได้ อย่ างแท้ จริ ง ในบทความตอนนี ้ เราจะมาพิจารณา ร่ วมกันว่ า พระเยซูคริ สต์ ทรงช่ วยเรา อย่ างไรบ้ าง และเพราะเหตุใดพระองค์ จึงทรงท�ำเช่ นนัน้ ได้

1. พระเยซูทรงช่วยเราให้รู้จัก พระเจ้า

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

คิดถึงพระเจ้ าโดยอาศัยความรู้ ที่ได้ รับ มาจากพันธสัญญาเดิม พวกเขาคิดว่า พระเจ้ าทรงยิ่งใหญ่ น่าคร้ ามกลัว และ อยู่ห่างไกล อีกทังคิ ้ ดว่าสิ่งที่จะท�ำให้ พระเจ้ า พอพระทัย คื อ การท� ำ ตาม บัญญัติอย่างเคร่งครัด แต่เมื่อพระเยซูเสด็จมา พระองค์ ทรงส�ำแดงให้ พวกเขารู้ ว่า เป็ นความ จริ งที่พระเจ้ าทรงยิ่งใหญ่ บริ สุทธิ์ น่า เกรงขาม และเป็ นผู้พพิ ากษาที่ยตุ ธิ รรม แต่ในเวลาเดียวกัน พระองค์ทรงเปี่ ยม ด้ วยความรักเมตตา ความห่วงใย และ ความถ่อมใจ พระองค์ทรงพร้ อมให้ อภัย ผู้ที่กลับใจใหม่โดยที่พระองค์เป็ นผู้รับ โทษบาปแทน ดังที่พระคัมภีร์บนั ทึกว่า พระเยซูทรงเดินเท้ าไปหาผู้คนในเมือง ต่ า งๆ แตะต้ อ งรั ก ษาคนง่ อ ยที่ ผ้ ูค น รั ง เกี ย จ เลี ย้ งฝูง ชนที่ หิ ว โหย เป็ น เพื่อนกับคนเก็บภาษี และคนบาปอื่นๆ ปกป้องหญิงโสเภณีจากการถูกหินขว้ าง ให้ ต ายและให้ โ อกาสเธอเริ่ ม ต้ น ใหม่ ก้ มลงล้ างเท้ าให้ เหล่าสาวก ยอมถูก หักหลังและทอดทิ ้ง ยอมถูกจับ โบยตี และถูกประหารชี วิตด้ วยวิธีการที่โหด ร้ ายและน่าอับอายเพื่อรับโทษบาปแทน มนุษย์

ยอห์นกล่าวว่า “พระวาทะ(พระเยซู) ทรงเกิดเป็ นมนุษย์ และทรงอยูท่ า่ มกลาง เรา เราเห็นพระสิริของพระองค์ คือ พระสิริที่สมกับพระบุตรองค์เดียวของ พระบิ ด า บริ บูร ณ์ ด้ ว ยพระคุณ และ ความจริ ง ” และ “ไม่ มี ใ ครเคยเห็ น พระเจ้ าเลย แต่ พ ระบุ ต รองค์ เ ดี ย ว ผู้สถิ ตในพระทรวงของพระบิดา ทรง ส�ำแดงพระเจ้ าแล้ ว” (ยน. 1:14, 17 ฉบับมาตรฐาน) นั่นคือ พระเยซูทรง เป็ นพระเจ้ าที่เสด็จมาในโลกนี ้ เพื่อให้ มนุษย์ ได้ ร้ ู จักพระเจ้ าอย่างที่พระองค์ ทรงเป็ น ไม่ใช่ร้ ูจกั พระองค์ตามความคิด หรื อความรู้สกึ ของตนเอง ส� ำ หรั บ คริ ส เตี ย นไทย บางครั ง้ ก่อนที่พระเยซูจะมาบังเกิด ชาวยิว เรามี มุม มองคล้ า ยๆ กับ คนไทยโดย คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 16 พระเยซูทรงช่วยได้

ทั่วไป คื อ มองว่าพระเจ้ าทรงเป็ นสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ห่างไกล แทนที่จะเป็ น ผู้ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ที่ประทับอยูก่ บั เรา คดิ ว่าสิง่ ส�ำคัญที่สดุ ในชีวติ คริ สเตียน คือ การท�ำ ตามกฏเกณฑ์ ต่ า งๆ ในพระคั ม ภี ร์ แทนทีจ่ ะเป็ นการรักพระเจ้ าและรักเพือ่ น บ้ าน หรือยึดมัน่ ในแนวคิด “ตนเป็ นทีพ่ งึ่ แห่งตน” แทนที่จะพึง่ พาพระเจ้ า แต่ หากเราเปลีย่ นมุมมองทีเ่ รามีตอ่ พระเจ้ า ด้ วยการมองผ่านชีวิตของพระเยซู เรา จะได้ รู้ จั ก พระเจ้ าอย่ า งที่ พ ระองค์ ทรงเป็ น!

2. พระเยซูทรงช่วยเราให้คืนดีกับ พระเจ้า เปาโลกล่าวว่า “เพราะมีพระเจ้ า เ พี ย ง อ ง ค์ เ ดี ย ว แ ล ะ มี ค น ก ล า ง ผู้เดี ยวระหว่างพระเจ้ ากับมนุษย์ คื อ พระเยซูคริ สต์ ผ้ ูทรงเป็ นมนุษย์ ผู้ทรง สละพระองค์เองเป็ นค่าไถ่บาปส�ำหรับ มวลมนุษย์...” (1ทิโมธี 2:5-6 อมตธรรม ร่วมสมัย) พระเยซูคริ สต์ทรงเป็ นผู้เดียว ที่สามารถเป็ นคนกลางระหว่างพระเจ้ า กับมนุษย์ได้ เพราะเมื่อพระองค์เสด็จ มาในโลกนี ้ พระองค์ทรงเป็ นทังพระเจ้ ้ า แท้ และมนุษย์แท้ ในเวลาเดียวกัน ความ เป็ นพระเจ้ าของพระองค์นนยั ั ้ งคงอยู่ แต่ ทรงรับเอาธรรมชาติที่แท้ จริ งของมนุษย์ หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

เข้ าไปในพระองค์ ดังนัน้ พระเยซูจึง ทรงเป็ นพระเจ้ า ที่ ท รงสามารถเชื่ อ ม หุบเหวระหว่างพระเจ้ ากับมนุษย์ และ ทรงเป็ นมนุ ษ ย์ ที่ ป ราศจากบาปซึ่ ง สามารถรับโทษบาปแทนมนุษย์คนอื่นๆ ได้ พระคัม ภี ร์ ห ลายตอนชี ใ้ ห้ เ ห็ น ว่า พระเยซูไม่ได้ เป็ นเพียงมนุษย์ธรรมดา แต่พระองค์ทรงเป็ นพระเจ้ า เช่น ยอห์น 1:1, 14 ฟี ลิปปี 2: 5-11 โคโลสี 1:1420 ฮีบรู 1:1-4 การอัศจรรย์มากมายที่ พระเยซูทรงกระท�ำ และที่ส�ำคัญที่สดุ คื อ การที่ พ ระเยซูท รงเป็ นขึน้ มาจาก ความตายและเสด็จขึ ้นสูส่ วรรค์ในเวลา ต่อมา สิง่ เหล่านี ้ยืนยันว่าพระเยซูไม่ได้ เป็ นเพียงศาสดาของศาสนาคริ สต์ (ผู้ ก่อตังศาสนาคริ ้ สต์) ดังที่คนส่วนใหญ่ เข้ า ใจ แต่ พ ระองค์ ท รงเป็ นพระเจ้ า ที่ เ สด็ จ มาในโลกนี เ้ พื่ อ ช่ ว ยมนุษ ย์ ใ ห้ หลุดพ้ นจากความบาปและความทุกข์ อีกทังช่ ้ วยให้ มนุษย์ได้ คืนดีกบั พระเจ้ า กลับ ไปมี ค วามสัม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ พระองค์ดงั ที่เคยมีในปฐมกาล การเฉลิมฉลองชัยชนะเหนือความ ตายของพระเยซูคริ สต์ในวันอีสเตอร์ จงึ เป็ นโอกาสดีที่คริ สเตียนไทยจะได้ ระลึก ถึงความจริ งนี ้ และประกาศข่าวดีนี ้ให้ กับพี่ น้องชาวไทยคนอื่ นๆ เพื่ อที่ พวก เขาจะได้ ร้ ูจกั กับพระเจ้ าและได้ คืนดีกบั พระองค์

3. พระเยซูทรงช่วยเราให้ด�ำเนิน ชีวิตตามพระประสงค์ของพระเจ้า

เนื่ อ งจากพระเยซู ค ริ ส ต์ ยั ง ทรง พระชนม์ อ ยู่ ใ นวั น นี ้ พระองค์ จึ ง ทรงสามารถช่ ว ยเราให้ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ทีส่ อดคล้ องกับพระประสงค์ของพระเจ้ า ได้ ก่อนที่พระเยซูคริ สต์จะเสด็จขึ ้นสู่ สวรรค์ พระองค์ ตรั สสัง่ ให้ ผ้ ูเชื่อออก

หากเราเปลี่ยนมุมมองที่เรามีต่อพระเจ้า ด้วยการมองผ่านชีวิตของพระเยซู เราจะได้ รู้จักพระเจ้าอย่างที่พระองค์ทรงเป็น

ไปสร้ างสาวกจากมวลประชาชาติ และทรงสัญญาว่า “เราจะอยู่กับท่าน ทังหลายเสมอไปตราบจนสิ ้ ้นยุค” (มัทธิว 28:20 อมตธรรมร่วมสมัย) นอกจาก นัน้ เปาโลยังกล่าวว่า พระเยซูคริ สต์ “ทรงสถิ ต ณ เบื อ้ งขวาพระหัตถ์ ของ พระเจ้ า(พระบิดา) และทรงอธิ ษฐาน ขอเพื่อเราทังหลายด้ ้ วย” (โรม 8:34)

ด�ำเนินชีวิต แล้ วเราจะพบว่า พระเยซู คริ สต์ทรงอยูเ่ คียงข้ างเรา และพระองค์ ทรงช่วยเราได้ อย่างแท้ จริ ง

สรุป

ความจริ งที่ ว่ า พระเยซู ค ริ สต์ ทรงเป็ นพระเจ้ าผู้ ทรงพระชนม์ อ ยู่ พระองค์จึงทรงช่วยเราให้ ร้ ู จักพระเจ้ า คืนดีกบั พระองค์ และด�ำเนินชีวิตตาม พระประสงค์ของพระองค์ได้ สามารถ สรุ ปได้ อย่างชัดเจนผ่านบทเพลงสัน้ ๆ ที่มีชื่อว่า “เพราะพระองค์ทรงอยู”่ (แปล มาจาก “Because He Lives” โดย William and Gloria Gaither)

เมื่อพระเยซูคริ สต์เสด็จขึ ้นสูส่ วรรค์ ดูเ หมื อ นว่ า พระองค์ ก� ำ ลัง จากเราไป แต่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว พระองค์ ท รงใกล้ ชิ ด เรามากยิ่งขึ ้น เพราะเมื่อพระเยซูทรง อยู่ใ นสภาพของมนุษ ย์ พระองค์ ท รง มีความจ�ำกัดในด้ านร่างกาย ไม่สามารถ อยูท่ กุ แห่งหนในเวลาเดียวกันได้ แต่ใน ปั จจุบนั พระองค์ทรงอยู่เคียงข้ างผู้เชื่อ พระเจ้าประทานพระเยซูพระบุตร ทุกคนอยูเ่ สมอ เราจึงสามารถมัน่ ใจได้ ทรงรักและให้อภัยแก่ข้า ว่า เราไม่ได้ ด�ำเนินชีวติ อยูใ่ นโลกนี ้เพียง ทรงไถ่ตัวข้าด้วยสละพระชนม์ ล�ำพัง แต่พระเยซูคริ สต์ทรงสถิตอยู่กบั เราเสมอ เราสามารถพึง่ พาพระองค์ได้ อุโมงค์ว่างเปล่าย่อมยืนยันว่าพระองค์ทรงอยู่ ในทุกเวลาและทุกสถานการณ์ เพราะพระองค์ทรงอยู่ ข้าเผชิญพรุ่งนี้ได้ ด้ วยเหตุนี ้ แม้ เราต้ องพบกับการ เพราะพระองค์ทรงอยู่ ความกลัวหายไป ทดลองหรื อความทุกข์ ยากล�ำบากใน เพราะข้าแน่ใจ (แน่ใจ) พระองค์ทรงน�ำหน้า การด�ำเนินชีวิต ขอให้ เรารู้ ว่าพระเยซู คริ สต์ทรงเป็ นพระเจ้ าผู้ทรงพระชนม์อยู่ ข้าจะอดทน เพราะข้าแน่ใจ พระองค์ทรงอยู่ พระองค์ทรงอยูเ่ คียงข้ างเรา ทรงเข้ าใจ ความรู้ สึกของเรา และทรงสามารถ ช่วยเราได้ ขอเพียงให้ เราอธิษฐานมอบ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร เมษายน 2012 เรื่ องราวเหล่านัน้ ไว้ กับพระองค์ และ ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), ฟั ง สิ่ ง ที่ พ ระองค์ ต รั ส กับ เราผ่ า นทาง Fuller Theological Seminary, USA พระคัมภีร์ และพึ่งพาพระองค์ในการ คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 16 พระเยซูทรงช่วยได้

หน้ า 2


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 17

ผู้อยู่เคียงข้าง

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ลอดระยะเวลาหลายปี ที่ผมไปศึกษาต่ อระดับปริญญาเอกด้ านคริสต์ ศาสนศาสตร์ และวัฒนธรรมที่ Fuller Theological Seminary ประเทศสหรั ฐอเมริกา ผมขอบคุณพระเจ้ าที่มีภรรยาอยู่เคียงข้ างเสมอ แม้ ว่าการเรี ยนและการใช้ ชีวติ ใน ต่ าง แดนนัน้ ไม่ ใช่ เรื่ องง่ าย แต่ การมีผ้ ูท่ คี อยดูแล ให้ กำ� ลังใจ แนะน�ำ เตือนสติ หรื อเพียงแต่ อยู่เคียงข้ างในเวลาที่ท้อใจ ก็ทำ� ให้ ผม มีกำ� ลังในการฟั นฝ่ าอุปสรรคปั ญหาต่ างๆ ไปได้ ประสบการณ์ นีท้ ำ� ให้ ผมคิดถึงสิทธิพเิ ศษที่คริสเตียนได้ รับจากพระเจ้ า นั่นคือ การที่เรามีพระวิญญาณบริสุทธิ์อยู่เคียงข้ างเราอยู่เสมอ ด้ วยเหตุนีเ้ ราจึงสามารถท�ำสิ่งที่พเิ ศษส�ำหรั บตนเองและผู้อ่ ืนได้ แต่ น่าเสียดายที่คริสเตียนไทยมักมีความเข้ าใจที่สับสนเกี่ยวกับพระวิญญาณบริสุทธิ์ เช่ น บางคนเข้ าใจผิดว่ าพระวิญญาณ บริสุทธิ์เป็ นพลังที่มาจากพระเจ้ า แต่ ไม่ ได้ เป็ นพระเจ้ า บางคนคิดว่ าเป็ นเรื่ องของพี่น้องคณะเพนเทคอสต์ เท่ านัน้ ไม่ เกี่ยวข้ อง กับผู้ท่ สี ังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย หรื อบางคนไม่ ร้ ู ว่าพระวิญญาณบริสุทธิ์ทรงเกี่ยวข้ องกับชีวติ ประจ�ำวันของพวกเขา อย่ างไร ในบทความตอนนี ้ เราจะมาพิจารณาร่ วมกันว่ าพระวิญญาณบริสุทธิ์ทรงเป็ นผู้ใด พระองค์ ทรงอยู่เคียงข้ างเราอย่ างไร และ เราควรจะตอบสนองต่ อพระองค์ อย่ างไร

พระวิญญาณบริสุทธิ์ทรงเป็นผู้ใด?

พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรงเป็ นพระภาคที่สามของพระเจ้ า เที่ยงแท้ ผู้ทรงเป็ นองค์ตรี เอกภาพ (ดู คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ ตัว ตอนที่ 9 “ตรี เอกภาพ/ตรี เอกานุภาพ”) พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรงเป็ นพระเจ้ าแท้ ที่เท่าเทียมกัน ทรงแตกต่างกันแต่ผกู พันเป็ นหนึง่ เดียวกันด้ วยความรัก และ ทรงท�ำพระราชกิจร่ วมกัน แม้ ว่าแต่ละพระภาคมีพระราชกิจ หลักของพระองค์ ส�ำหรับพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์นนั ้ พระราชกิจหลักของพระองค์ คือ ส�ำแดงให้ มนุษย์ได้ ร้ ูจกั พระเจ้ า และ ช่วยเหลือผู้เชื่อให้ ด�ำเนินชีวิตตามพระประสงค์ของพระองค์

พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรงท�ำงานในจิตใจของผู้คนทุกยุคสมัย เพื่อให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั พระเจ้ า และเมื่อผู้ใดหันหลังจากความ บาปมาเชื่อวางใจในพระเจ้ า พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์จะประทับ อยู่ในชีวิตของผู้นนั ้ พร้ อมทังช่ ้ วยให้ เขา/เธอสามารถด�ำเนิน ชีวิตตามพระประสงค์ของพระเจ้ าได้ หากกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจง พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรง เป็ นผู้ที่อยูใ่ นชีวิตของผู้เชื่อ แต่เนื่องจากทังสามพระภาคของ ้ องค์ตรี เอกภาพทรงผูกพันเป็ นหนึง่ เดียวกันและท�ำพระราชกิจ ร่วมกัน เราจึงสามารถกล่าวได้ วา่ พระบิดาและพระบุตรทรง อยูใ่ นชีวิตของผู้เชื่อผ่านทางพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ การที่เรา เปิ ดใจต้ อนรับพระเยซูคริ สต์เป็ นพระผู้ช่วยให้ รอดและองค์ พระผู้เป็ นเจ้ า จึงหมายถึงการยอมให้ พระเยซูคริ สต์รับโทษ บาปแทนเรา และยอมให้ พระเยซูคริ สต์(และพระบิดา)ครอบ- ครองชีวิตของเราผ่านทางพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์

ในขณะที่พระเยซูทรงอยูใ่ นโลกนี ้ พระองค์ตรัสกับเหล่า สาวกว่า “เราจะทูลขอพระบิดา และพระองค์ จะประทาน ผู้ช่วยอีกผู้หนึ่งให้ กับพวกท่าน เพื่อจะอยู่กับท่านตลอดไป คือ พระวิญญาณแห่งความจริ งซึง่ โลกรับไว้ ไม่ได้ เพราะมอง ไม่เ ห็ น และไม่ ร้ ู จัก พระองค์ พวกท่า นรู้ จัก พระองค์ เ พราะ ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตียนทุกคนจึงสามารถมัน่ ใจได้ วา่ หาก พระองค์สถิตอยู่กบั ท่าน และจะประทับอยู่ท่ามกลางท่าน” เราได้ หันหลังจากความบาปมาเชื่อวางใจในพระเจ้ าอย่าง (ยอห์น 14:16-17 ฉบับมาตรฐาน) แท้ จริ ง พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ก็ประทับอยูใ่ นชีวิตของเราแล้ ว หลัง จากที่ พ ระเยซู ท รงเป็ นขึน้ มาจากความตายและ อย่างแน่นอน เสด็จขึ ้นสูส่ วรรค์แล้ ว พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ได้ เสด็จมาตาม พระสัญญาในวันเพ็นเทคอสต์ (กจ. 2) จากวันนันเป็ ้ นต้ นมา คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 17 ผูอ้ ยู่เคียงข้าง

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

พระวิญญาณบริสุทธิ์ทรงอยู่เคียงข้างเราอย่างไร?

4. ทรงช่วยเหลือเรา

พระองค์ทรงสร้ างชีวิตของเราขึ ้นใหม่ให้ มีคณ ุ ลักษณะที่ ดีงามตามพระประสงค์ของพระเจ้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การมี ผลของพระวิญญาณในชีวิต (กท. 5:22-23) ทรงให้ เรามีฤทธิ์ เดชในการรับใช้ พระเจ้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเป็ นพยานถึง พระเยซูคริ สต์ (กจ. 1:8) ทรงให้ เรามีของประทานในฝ่ าย พระเยซูทรงเป็ นแบบอย่างที่ชดั เจนในการอยู่เคียงข้ าง วิญญาณ (1 คร. 12:1-11) และทรงให้ เราเป็ นหนึง่ เดียวกับ ผู้ค น เริ่ ม ต้ น ที่ พ ระองค์ ท รงมาบัง เกิ ด เป็ นมนุษ ย์ แ ละอยู่ ผู้เชื่อคนอื่นๆ (1 คร. 12:12-13) ท่ามกลางเรา (ยน. 1:14) ทรงสอนให้ ผ้ คู นเข้ าใจพระประสงค์ ที่แท้ จริ งของพระเจ้ า (เช่น การเทศนาบนภูเขา) ทรงต้ อนรับ เราควรจะตอบสนองต่อพระวิญญาณบริสุทธิ์ คนเก็บภาษี และคนบาปอื่นๆ และเข้ าไปในบ้ านของคนเหล่า อย่างไร? นัน้ (มธ. 9:10-13; ลก. 19:1-10) ทรงหนุนใจผู้หญิงที่ถกู ตราหน้ าว่าเป็ นคนบาป (ลก. 7:36-50) ทรงอยูเ่ คียงข้ างหญิงที่ เนื่องจากพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรงอยู่เคียงข้ างเราเสมอ ถูกจับฐานล่วงประเวณีและช่วยเธอให้ เริ่มต้ นชีวติ ใหม่ (ยน. 8) เราควรจะตอบสนองต่อพระองค์ด้วยการกระท�ำอย่างน้ อย ทรงช่วยเหลือผู้ที่เจ็บป่ วย โดยทรงแตะต้ องรักษาคนโรคเรื อ้ น 2 ประการ คือ ที่ผ้ คู นรังเกียจ (มธ. 8:3) ทรงรับโทษบาปแทนมนุษย์ และ 1. พึ่งพาพระวิญญาณบริสุทธิ์ หลังจากที่ทรงเป็ นขึ ้นมาจากความตาย พระองค์ทรงส�ำแดง การสถิตอยู่ของพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ จะมีความหมาย พระองค์แก่เหล่าสาวกที่ได้ ทอดทิง้ พระองค์ไป เพื่อให้ พวก ส�ำหรับชีวิตของเราก็ต่อเมื่อเราเปลี่ยนจากการพึ่งตนเองไป เขาได้ เริ่ มต้ นใหม่ (ยน. 20:19-21:19) ทรงส�ำแดงพระองค์แก่ พึ่งพาพระองค์ อย่างแท้ จริ ง ซึ่งเราสามารถท�ำได้ โดยการ เซาโลผู้ขม่ เหงคริ สตจักร เพื่อให้ เขาได้ ร้ ูจกั และรับใช้ พระองค์ ยอมให้ พระเจ้ าครอบครองชีวิต และด�ำเนินชีวิตที่ใกล้ ชิดกับ (กจ. 9:1-19) พระองค์อยูเ่ สมอ เมื่อพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์เสด็จมา พระองค์ทรงอยูเ่ คียง เมื่อเรายอมให้พระเจ้าครอบครองชีวิต ข้ างเราใน 4 ลักษณะ ดังนี ้

ค� ำ ว่า “ผู้ช่ ว ย” ที่ พ ระเยซูต รั ส เกี่ ย วกับ พระวิ ญ ญาณ บริ สทุ ธิ์ (ยน. 14:16) มาจากค�ำว่า “พาราเคลตอส” ในภาษา กรี ก ซึ่งแปลตรงตัวว่า “ผู้ที่ถูกเรี ยกให้ มาอยู่เคียงข้ าง” คือ อยูเ่ คียงข้ างเพื่อปลอบโยน แนะน�ำ และช่วยเหลือ

1. ทรงช่วยให้เรารู้จักพระเจ้า

พระองค์ทรงท�ำงานในจิตใจของเรา ให้ เราเข้ าใจความ จริงของพระเจ้ า สำ� นึกในความบาป และเปิ ดใจให้ กบั พระองค์ (ยน. 16:8, 13-15 2 ธส. 1:13) ให้ เรามีชีวิตใหม่ในฝ่ าย วิญญาณ(บังเกิดใหม่) (ยน. 3:3-8) และช่วยให้ เรามัน่ ใจว่า เรามีฐานะเป็ นลูกของพระเจ้ า (รม. 8:14-16)

2. ทรงปลอบโยนเรา

พระองค์ทรงช่วยให้ ผ้ ทู ี่ผิดพลาดได้ สมั ผัสพระคุณ ความ รัก และการให้ อภัยของพระเจ้ า แล้ วพร้ อมที่จะเริ่ มต้ นใหม่ อี ก ทัง้ ช่ ว ยให้ ผ้ ูที่ อ่ อ นล้ า ได้ รั บ ความเข้ ม แข็ ง ในฝ่ ายจิ ต ใจ มีความชื่นชมยินดี สันติสขุ และความหวัง (อฟ. 3:16 รม. 15:13)

อย่างแท้จริง และด�ำเนินชีวิตที่ใกล้ชิดกับ พระองค์อยู่เสมอ... เราจะมี​ีชีวิตที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลงใหม่ เราสามารถเผชิญ ทุกเหตุการณ์ที่เกินความสามารถของเรา ได้ด้วยความชื่นชมยินดี และเราจะสามารถ เป็นพระพรกับผู้คนที่อยู่รอบข้างเรา

มี ผ้ ูก ล่า วเปรี ย บเที ย บเอาไว้ ว่ า ในหัว ใจของคนเรา นัน้ มีบลั ลังก์ ใจอยู่ ผู้ที่นั่งอยู่บนบัลลังก์ นีจ้ ะเป็ นผู้ก�ำหนด ว่ า ชี วิ ต ของเราจะก้ า วไปในทิ ศ ทางใด หากเราให้ ค วาม ปรารถนา ความต้ องการ และความฝั นของเราควบคุมตัวเรา ก็หมายความว่าเราเป็ นคริ สเตียนที่นงั่ อยู่บนบัลลังก์ ใจของ ตนเอง ซึง่ พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ก็จะท�ำงานในชีวิตของเราได้ 3. ทรงแนะน�ำเรา เพียงเล็กน้ อยเท่านัน แต่ ้ หากเรายอมให้ พระเจ้ าประทับอยู่ พระองค์ทรงช่วยให้ เราเข้ าใจพระประสงค์ของพระเจ้ า บนบัลลังก์ใจของเรา พระองค์จะทรงเปลี่ยนแปลงชีวิตของ และทรงน�ำเราในการด�ำเนินชีวิตและการรับใช้ (1 โคริ นธ์ เราอย่างอัศจรรย์ 2:10-11 และตัวอย่างมากมายในหนังสือกิจการฯ) คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 17 ผูอ้ ยู่เคียงข้าง

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ในขณะเดียวกัน เราจ�ำเป็ นต้ องด�ำเนินชีวิตที่ใกล้ ชิด กับพระเจ้ าอยูเ่ สมอ การไปร่วมงานฟื น้ ฟูหรื อกิจกรรมพิเศษ ต่างๆ อาจช่วยให้ เรารู้ สึกมีก�ำลังในการด�ำเนินชีวิตมากขึ ้น แต่ไม่มีทางลัดที่เราจะมี ชีวิตที่ได้ รับการเปลี่ยนแปลงจาก พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์อย่างแท้ จริ ง เพราะเมื่อเวลาผ่านไป ความรู้ สึกตื่นเต้ นจะค่อยๆ หมดลง แล้ วเราก็จะกลับไปมี วิถีชีวิตเหมือนเดิม ดังนัน้ เราจ�ำเป็ นต้ องมีชีวิตที่ติดสนิท กับพระเจ้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเข้ าเฝ้าพระเจ้ าเป็ นการ ส่วนตัวทุกวัน และการคิดถึงพระเจ้ าอยูเ่ สมอ เพราะหลายครัง้ ที่เราไม่ทราบถึงการทรงน�ำของพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ เพราะ เราไม่ได้ ใช้ เวลากับพระเจ้ า และไม่ค้ นุ เคยกับวิธีการทีพ่ ระองค์ ตรัสกับเรา

จะได้ รับสันติสขุ ก�ำลัง และความหวังจากพระเจ้ าในการก้ าว ผ่านอุปสรรคปั ญหาในชีวิต อีกทัง้ พร้ อมที่จะเป็ น “ผู้อยูเ่ คียง ข้ าง” คนอื่นๆ ต่อไป

สรุป

พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรงเป็ นพระเจ้ าผู้อยู่เคียงข้ างเรา เสมอ พระองค์ทรงช่วยให้ เรารู้ จกั พระเจ้ า ทรงปลอบโยน แนะน�ำเรา และช่วยเหลือเราในการด�ำเนินชีวิต หากเรา ยอมให้ พระองค์ ครอบครองชีวิต และด�ำเนินชีวิตที่ใกล้ ชิด กับพระองค์อยู่เสมอ เราจะได้ รับการเปลี่ยนแปลงชีวิตจาก พระองค์อย่างอัศจรรย์ และพร้ อมที่จะเป็ นผู้อยู่เคียงข้ าง ผู้อื่น เพื่อช่วยให้ พวกเขามีชีวิตที่ดีขึ ้นด้ วยเช่นกัน

การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ที่เกิดจากการช่วยเหลือของ เมื่ อ เรายอมให้ พ ระเจ้ า ครอบครองชี วิ ต อย่ า งแท้ จ ริ ง ผู้อยูเ่ คียงข้ าง สามารถเห็นได้ อย่างชัดเจนผ่านบทเพลง “You และด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ ใ กล้ ชิ ด กับ พระองค์ อ ยู่เ สมอ เราก็ จ ะมี Raise Me Up” (เธอยกชูฉนั ขึ ้น) เนื ้อร้ อง โดย Brendan Graประสบการณ์เหมือนกับผู้เชื่อในอดีตที่พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ ham ท�ำนองโดย Rolf Løvland ได้ เติมชีวติ ของพวกเขาให้ เต็มเปี่ ยมด้ วยฤทธิ์เดชของพระองค์ เราจะมีชีวิตที่ได้ รับการเปลี่ยนแปลงใหม่ เราสามารถเผชิญ “ When I am down and, oh my soul, so weary; ทุกเหตุการณ์ที่เกินความสามารถของเราได้ ด้วยความชื่นชม When troubles come and my heart burdened be; ยินดี และเราจะสามารถเป็ นพระพรกับผู้คนที่อยูร่ อบข้ างเรา Then, I am still and wait here in the silence, Until you come and sit awhile with me.

2. เรียนรู้ที่จะอยู่เคียงข้างผู้อื่น

เช่นเดียวกับที่พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ทรงอยู่เคียงข้ างเรา เราควรเรี ยนรู้ที่จะเป็ น “ผู้อยูเ่ คียงข้ าง” ผู้อื่น ในโลกที่ได้ รับ อิทธิพลจากความบาปนี ้ ผ้ คู นต้ องการใครสักคนที่จะอยูเ่ คียง ข้ าง เพื่อปลอบโยน แนะน�ำ และช่วยเหลือในอุปสรรคปั ญหา ที่พวกเขาต้ องเผชิญ ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตียนไทยไม่ควรสนใจแต่ความต้ องการ ของตนเอง แต่ควรหันไปมองคนอื่นๆ ที่ก�ำลังต้ องการความ ช่วยเหลือ แล้ วพร้ อมอยู่เคียงข้ างพวกเขา ซึ่งอาจเป็ นคน ใกล้ ตวั ของเรา เช่น สมาชิกในครอบครัว ญาติพนี่ ้ อง มิตรสหาย เพื่อนบ้ าน เพื่อนร่วมงาน พี่น้องในคริ สตจักร (โดยเฉพาะ ผู้ที่ถกู มองว่าเป็ นคนที่ “เหลือขอ”) หรื ออาจเป็ นผู้ที่ขดั สน ผู้ประสบภัยธรรมชาติ คนที่ ถูกกดขี่ ข่ม เหง เด็ก ก� ำ พร้ า ผู้พิการ ผู้ป่วย ผู้ด้อยโอกาส บุคคลไร้ สญ ั ชาติ และคนอื่นๆ ที่เป็ นคนชายขอบของสังคม ความช่วยเหลือที่เรามอบให้ อาจดูเล็กน้ อยเมื่อเทียบกับ สถานการณ์ทยี่ ากล�ำบากของพวกเขา แต่โดยความช่วยเหลือ จากพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ ผู้คนที่เราอยูเ่ คียงข้ างจะได้ สมั ผัส พระคุณความรักของพระเจ้ าผ่านทางชีวิตของเรา พวกเขา คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 17 ผูอ้ ยู่เคียงข้าง

You raise me up, so I can stand on mountains; You raise me up, to walk on stormy seas; I am strong, when I am on your shoulders; You raise me up... to more than I can be. ” ทย)

(สรุปความเป็นภาษาไ

ญาณชา่ งหอ่ เหี่ยว “ เมื่อฉนั ตกต�่ำ จิตวิญ นกั ของฉนั ต้ องแบกภาระห ใจ ั ว ห อ ่ ื เม าย ม าก าม เมื่อมีปัญห ยใู่ นความเงียบ ฉนั นิ่งอยแู่ ละรอคอยอ ะอยเู่ คียงข้างฉนั แล า ม า ้ เข อ เธ ่ ั ง ท ระ ก จน ารถเดนิ ข้ ามภเู ขาได้ าม ส ึ ง จ ั น ฉ ้น ึ ข ั น ู ฉ ช ก ย เธอ ี่เตม็ ไปด้ วยคลื่นลม ท ล ะเ ท น บ ิ น เด อ ่ ื เพ ้น ึ เธอยกชฉู นั ข อยบู่ นไหลข่ องเธอ ฉนั แข็งแรงขึ ้น เมื่อฉนั กว่าที่ฉนั จะเป็นได้ ” าก ม น ็ เป ั น ฉ ้ ให อ ่ ื เพ ้น ึ เธอยกชฉู นั ข ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร พฤศภาคม 2012 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 3


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 18

เปลี ย ่ น (Change)!! โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

“เปลี่ยน (Change)!!” เป็ นค�ำพูดทีเ่ รามักจะได้ ยนิ

ในช่วงต้ นปี จากผู้ที่อยากเห็นชีวติ ของตนเองเปลีย่ นแปลงไป ในทิศทางทีด่ ขี ึ ้น และเราก็มกั จะได้ ยนิ ค�ำนี ้ในช่วงการหาเสียง จากผู้ที่อยากเห็นสังคมและประเทศชาติได้ รับการพัฒนา แต่เมื่อเวลาผ่านไป ความเป็ นจริ งที่คนเราต้ องเผชิญ เช่น น� ้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ ้น นิสยั ไม่ดีที่ยงั ท�ำอยู่ ความบาปที่ ยังพ่ายแพ้ ปั ญหาสังคมที่ยงั ไม่ได้ รับการแก้ ไข ฯลฯ มักจะ ท�ำให้ ผ้ คู นสงสัยว่าชีวิตของตนเองจะได้ รับการเปลี่ยนแปลง หรื อไม่ และตังค� ้ ำถามว่าผู้น�ำของพวกเขาจะสามารถท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ จริ งหรื อ ถึ ง แม้ ว่ า มนุ ษ ย์ จ ะมี ค วามสามารถที่ จ� ำ กั ด ในการ เปลี่ยนแปลงชีวิตของตนเองและสังคม แต่ข่าวดีส�ำหรั บ คริ ส เตี ย นไทย คื อ พระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ ท รงสามารถ เปลี่ยนแปลงชีวิตของเราได้ และพระองค์ทรงสามารถใช้ เรา เปลี่ยนแปลงสังคมไทยให้ ดีขึ ้นได้ เช่นกัน

พระวิญญาณบริสุทธิ์ทรง เปลี่ยนแปลงชีวิตของเราได้ ในบทความตอนที่แล้ ว เราพบว่า หนึ่ง ในพระราชกิ จ ของพระวิ ญ ญาณ บริ สทุ ธิ์ คือ การสร้ างชีวิตของผู้เชื่อให้ มีคณ ุ ลักษณะที่ดีงามตามพระประสงค์ ของพระเจ้ า ดังนัน้ หน้ าทีข่ องคริสเตียน จึงไม่ใช่การ “พยายาม” เปลี่ยนแปลง ชีวิตของตนเอง แต่เป็ นการ “รับ” การ เปลี่ ย นแปลงชี วิ ต จากพระวิ ญ ญาณ บริสทุ ธิ์ ดังที่ โรม 12:2 (ฉบับมาตรฐาน) ระบุวา่ “อย่าลอกเลียนแบบอย่างคนใน ยุคนี ้ แต่จงรั บการเปลี่ยนแปลงจิตใจ แล้ วอุปนิสยั ของท่านจึงจะเปลี่ยนใหม่ เพื่อท่านจะได้ ทราบพระประสงค์ ของ พระเจ้ า จะได้ ร้ ูวา่ อะไรดี อะไรเป็ นทีช่ อบ พระทัย และอะไรดียอดเยี่ยม” คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 18 เปลีย่ น (Change)!!

ตลอดประวัติ ศ าสตร์ มี ผ้ ู คนมากมายที่ พ บว่ า พระคั ม ภี ร์ ข้ อนี เ้ ป็ นจริ ง เนื่ อ งจากพวกเขาได้ รั บ การเปลี่ยนแปลงชีวิตจาก พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์อย่าง อัศจรรย์ ดังตัวอย่างของ บุคคล 2 ท่านต่อไปนี ้

บุ ค คลแรก ท่านมีชีวิตอยู่

ในศตวรรษที่ 1 ท่านเป็ น ชาวยิวที่รักษาพระบัญญัติ อย่ า งเคร่ ง ครั ด และรั บ ใช้ พระเจ้ าอย่างทุ่มเท เมื่อท่านพบว่ามี ชาวยิวหันไปเชื่อวางใจในพระเยซูคริ สต์ ท่านได้ ต่อต้ านความเชื่อของคริ สเตียน อย่างรุนแรง เพราะคิดว่าเป็ นไปไม่ได้ ที่ พระเยซูจะเป็ นพระเจ้ าที่มาบังเกิดเป็ น มนุษย์ ที่พระมาซีฮาจะถูกตรึงตายบน ไม้ กางเขน (เพราะผู้ทถี่ กู แขวนไว้ ทตี่ ้ นไม้ นันก็ ้ ถกู พระเจ้ าสาปแช่ง—ฉธบ. 21:23) และที่พระเยซูจะเป็ นขึน้ มาจากความ ตายจริ งๆ ด้ วยเหตุนี ้ท่านจึงขัดขวาง การประกาศเรื่ องพระเยซูคริ สต์ด้วยการ จับคริ สเตียนไปขังไว้ ในคุก

แต่ในวัน หนึ่ง ขณะที่ ท่า นก� ำลัง เดิ น ทางไปจับ กุม คริ ส เตี ย น ท่า นได้ เห็นแสงสว่างที่ส่องมาจากฟ้าจนท่าน ล้ มลงที่พืน้ และได้ ยินพระสุรเสียงของ พระเยซูคริ สต์ที่ตรัสกับท่าน หลังจาก

นันท่ ้ านมองไม่เห็นและไม่ได้ กินหรื อดื่ม อะไรตลอดสามวัน (ซึ่งน่าจะเป็ นเวลา ที่ ท่ า นได้ ใ คร่ ค รวญเกี่ ย วกับ สิ่ ง ต่ า งๆ ที่เกิดขึ ้น และได้ ตดั สินใจเชื่อวางใจใน พระเยซูคริสต์) ในทีส่ ดุ เมือ่ คริสเตียนคน หนึ่งได้ มาวางมือบนท่านและยืนยันว่า พระเยซู ค ริ ส ต์ ไ ด้ ท รงปรากฏกับ ท่ า น ท่ า นก็ ก ลับ มองเห็ น ได้ อี ก ครั ง้ และ รับบัพติศมาทันที มาถึงตอนนี ้ ท่านผู้อ่านคงพอจะ รู้ แล้ ว นะครั บ ว่ า บุค คลนี ้ คื อ อัค รทูต เปาโล นัน่ เอง! ซึง่ นับจากวันนัน้ ชีวิต ของท่านก็เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ ้นเชิง ทัง้ ในด้ านความคิด (ท่านเข้ าใจอย่าง ลึ ก ซึ ง้ ว่ า พ ร ะ เ ย ซู ค ริ ส ต์ ท ร ง เ ป็ น พระเจ้ าและพระมาซีฮาผู้เสด็จมาตาม พระสัญญาทีป่ รากฏในพันธสัญญาเดิม เช่น รม. 1:1-4) จิตใจจิตวิญญาณ (ท่าน รักพระเจ้ าและมีความปราถนาดีตอ่ ผู้อนื่ เสมอ เช่น รม. 9:1-3) และการกระท�ำ (ท่านทุม่ เทในการประกาศข่าวประเสริฐ และเสริมสร้ างผู้เชือ่ ตลอดชีวติ ของท่าน)

บุ ค คลที่ ส อง

ท่ า นมี ชี วิ ต อยู่ ใ นช่ ว ง ศตวรรษที่ 4 ท่านอาศัยอยู่ทางตอน เหนือของทวีปแอฟริ กา ท่านมีคณ ุ แม่ ที่เป็ นคริ สเตียนแต่ตวั ท่านกลับยึดหลัก ปรัชญาที่ปฏิเสธพระเจ้ า อีกทังหมกมุ ้ น่ ในเรื่องเพศ และอยูก่ ินกับผู้หญิงคนหนึง่ โดยไม่ได้ แต่งงาน เมื่อเวลาผ่านไป หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ท่านพบว่าหลักปรั ชญาไม่สามารถให้ ความอิ่มเอมใจและไม่สามารถช่วยให้ ท่านเอาชนะความบาปทางเพศได้ ท่าน จึงพยายามแสวงหาค�ำตอบส�ำหรับชีวติ และเริ่ มหันกลับมาหาพระเจ้ า อย่างไร ก็ ตาม ท่านยังรู้ สึกเหน็ดเหนื่ อยและ ท้ อแท้ ในการต่อสู้กบั ความบาปในชีวิต

ส�ำหรั บเปาโล ท่านช่วยให้ ชาวยิวใน หลายๆ เมืองได้ เชื่อวางใจในพระเยซู คริ ส ต์ ช่ ว ยให้ ค นต่ า งชาติ ม ากมาย ทั่วอาณาจักรโรมันได้ ร้ ู จักกับพระเจ้ า องค์ เ ที่ ย งแท้ ก่ อ ตัง้ คริ ส ตจัก รขึน้ ใน หลายเมือง เสริ มสร้ างผู้เชื่อให้ เติบโต ขึน้ ในทางของพระเจ้ า ฝึ กฝนผู้รับใช้ จนกระทัง่ วันหนึ่ง ในขณะที่ท่าน รุ่ นใหม่ (เช่น สิลาสและทิโมธี ) และ ก�ำลังอยู่ในสวนและรู้ สกึ สับสนกับสิ่งที่ ที่ส�ำคัญ คือ พระวิญญาณทรงดลใจ เกิดขึ ้นในชีวิต ท่านได้ ยินเหมือนเสียง ท่านให้ เขียนจดหมายหลายฉบับซึง่ เป็ น เด็ ก ดัง มาจากข้ า งบ้ า นว่ า “จงรั บ ไป อ่านๆ” ท่านจึงหยิบพระคัมภีร์ขึน้ ไป อ่านและพบข้ อความใน โรม 13:13-14 ที่วา่ “เราจงประพฤติตวั ให้ เหมาะสมกับ เวลากลางวัน มิใช่เลี ้ยงเสพสุราเมามาย มิใช่หยาบโลนลามก มิใช่วิวาทริ ษยา กัน แต่ทา่ นจงประดับกายด้ วยพระเยซู ส่วนหนึง่ ของพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญา คริ สตเจ้ า และอย่าจัดเตรี ยมอะไรไว้ ใหม่ ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ คนนั บ ล้ าน(รวมทั ง้ บ�ำรุงบ�ำเรอตัณหาของเนื ้อหนัง” เมือ่ ได้ ออกัสติน)ได้ รับการเปลี่ยนแปลงชี วิต อ่านข้ อความนัน้ ท่านรู้วา่ พระเจ้ าก�ำลัง จากพระเจ้ า ตรัสกับท่านอย่างเฉพาะเจาะจง และได้ ส�ำหรั บออกัสติน ค� ำพยานชี วิต เปิ ดใจให้ พระองค์เข้ ามาเปลี่ยนแปลง ของท่านในหนังสือ The Confessions ชีวิตของท่านอย่างแท้ จริ ง ช่ว ยให้ ผ้ ูค นมากมายตระหนัก ถึง การ

พระองค์จะทรงใช้ เราเปลีย่ นแปลงสังคม ที่เราอยูใ่ ห้ ดีขึ ้นด้ วยเช่นเดียวกัน

สรุป

พระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ ท รงเป็ น พระเจ้ าผู้อยูเ่ คียงข้ างเราเสมอ พระองค์ ทรงช่ ว ยให้ เรารู้ จั ก พระเจ้ า ทรง ปลอบโยน แนะน�ำเรา และช่วยเหลือ เราในการด�ำเนินชีวิต หากเรายอมให้ พระองค์ครอบครองชีวติ และด�ำเนินชีวติ ที่ใกล้ ชิดกับพระองค์อยูเ่ สมอ เราจะได้

เมื่อพระวิญญาณบริสุทธิ์ทรงเปลี่ยนแปลงชีวิต ของเราให้ดีขึ้นแล้ว พระองค์จะทรงใช้เรา เปลี่ยนแปลงสังคมที่เราอยู่ให้ดีขึ้นด้วยเช่นเดียวกัน

นับ จากวัน นัน้ ชี วิ ต ของท่ า นได้ เปลี่ ย นแปลงอย่ า งอัศ จรรย์ ท่ า นมี สันติสขุ แท้ ในจิตใจ สามารถเอาชนะ ความอ่อนแอในชีวติ และมีความเข้ าใจที่ ลึกซึ ้งเกี่ยวกับประเด็นทางคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่เข้ าใจยากหลายประเด็น ท่าน ผู้นี ้คือ ออกัสติน นักคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่ยงิ่ ใหญ่ที่สดุ คนหนึง่ ในประวัตศิ าสตร์ !

พระวิญญาณบริสุทธิ์ทรงใช้เรา เปลี่ยนแปลงสังคมได้

รั บการเปลี่ยนแปลงชีวิตจากพระองค์ อย่างอัศจรรย์ และพร้ อมที่จะเป็ นผู้อยู่ เคียงข้ าง ผู้อื่น เพื่อช่วยให้ พวกเขา มีชีวิตที่ดีขึ ้นด้ วยเช่นกัน

การเปลี่ ย นแปลงที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ เ กิ ด จากการช่วยเหลือของ ผู้อยู่เคียง ข้ าง สามารถเห็นได้ อย่างชัดเจนผ่าน แสวงหาค�ำตอบทีแ่ ท้ จริงของชีวติ ความ บทเพลง “You Raise Me Up” (เธอยกชู เข้ าใจด้ านคริ สต์ ศาสนศาสตร์ ที่ลึกซึง้ ฉันขึ ้น) เนื ้อร้ อง โดย Brendan Graham ของท่านปกป้องคริ สตจักรจากค�ำสอน ท�ำนองโดย Rolf Løvland เท็จ ช่วยให้ คริ สเตียนในสมัยของท่าน ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร มิ ถนุ ายน 2012 ผู ้ เ ขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ เข้ าใจหลักคริสต์ศาสนศาสตร์ เรื่องต่างๆ Ph.D. (Theology and Culture), ชัด เจนขึน้ และสามารถเชื่ อ มโยงกับ Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี เหตุการณ์ ที่เกิดขึน้ จริ งในสังคม (เช่น มหาวิ ทยาลัยพายัพ หนังสือ City of God ที่มงุ่ ตอบค�ำถาม เกี่ ย วกับ การล่ม สลายของอาณาจัก ร โรม) ดังนัน้ หลักค�ำสอนและวิธีการ สร้ างคริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ ข องท่ า นจึ ง เป็ นรากฐานส�ำคัญของนักคริ สต์ศาสนศาสตร์ ตงแต่ ั ้ อดีตมาจนถึงปั จจุบนั

เมื่อเราศึกษาชี วิตของเปาโลและ ออกั ส ติ น เราพบว่ า พระวิ ญ ญาณ บริ สุท ธิ์ ไ ม่ เ พี ย งแต่ ท รงเปลี่ ย นแปลง ชีวิตของพวกเขาเท่านัน้ แต่พระองค์ ด้ วยเหตุนี ้ เราจึงสามารถกล่าว ์ ทรงใช้ พวกเขาเปลี่ยนแปลงสังคมอย่าง ได้ ว่ า เมื่ อ พระวิ ญ ญาณบริ สุท ธิ ท รง เปลี่ยนแปลงชี วิตของเราให้ ดีขึน้ แล้ ว อัศจรรย์ด้วย คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 18 เปลีย่ น (Change)!!

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 19

นมัสการ โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

มื่ อ ท่ า นได้ ยิ น ค� ำ ว่ า “นมั ส การ” ท่านคิดถึงอะไร? คริ สเตียนส่วนใหญ่ มัก คิ ด ถึ ง ภาพของผู้เ ชื่ อ ที่ ร่ ว มกัน ยกย่ อ ง สรรเสริ ญ พระเจ้ า ผ่ า นการกระท� ำ ต่ า งๆ เช่น การร้ องเพลง การอธิษฐาน การฟั งพระ วจนะ และการมอบถวาย ด้ วยเหตุนี ้ เมื่อ ท�ำสิง่ เหล่านี ้เสร็ จแล้ ว จึงมักกล่าวว่า “การ นมัสการได้ เสร็ จสิ ้นแล้ ว” การกล่ า วเช่ น นี อ้ าจไม่ ผิ ด เพราะ เป็ นการเน้ นว่าผู้เชื่อได้ ร่วมกันท�ำสิ่งต่างๆ ในการนมัสการเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ ว อย่างไร ก็ดี ค�ำกล่าวนี ้สะท้ อนให้ เห็นว่า คริ สเตียน ไทยยัง ขาดความเข้ า ใจที่ ค รบถ้ ว นเกี่ ย ว กับ การนมัส การ ซึ่ง อาจส่ง ผลให้ เ ราไม่ ได้ นมัสการพระเจ้ าตามพระประสงค์ของ พระองค์ ดัง นั น้ คริ ส เตี ย นไทยควรมี ค วาม เข้ าใจที่ชดั เจนว่าการนมัสการหมายความ ว่าอย่างไร และเราควรจะนมัสการพระเจ้ า อย่างไร

การนมัสการหมายความว่า อย่างไร?

ในภาษาไทย ค�ำว่า “นมัสการ” มี ความหมายใน 2 ลักษณะ คือ ความ หมายที่เฉพาะเจาะจง กับ ความหมาย โดยรวม ความหมายที่เฉพาะเจาะจง ของค�ำว่ า “นมัสการ” คือ “การกราบ ไหว้ ” ไม่วา่ จะเป็ นการกราบไหว้ บคุ คล หรื อ สิ่ ง อื่ น ๆ เช่ น เมื่ อ ชาวพุท ธไหว้ พระสงฆ์ พวกเขาจะพูดว่า “นมัสการ” หรื อเวลาคนไทยไปไหว้ พระพุทธรูปตาม วัดต่างๆ ก็ จะใช้ ค� ำว่าไป “นมัสการ” ซึ่ ง ความหมายที่ เ ฉพาะเจาะจงนี น้ � ำ ไปสู่ค วามหมายโดยรวมของค�ำ ว่ า “นมั ส การ” นั่ นคื อ “การมอบชี วิต ให้ อยู่ภายใต้ อ�ำนาจของบางสิ่งบาง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 19 นมัสการ

อย่ าง” เพราะเมื่อเรากราบไหว้ หรื อ นมัสการสิ่งใด เราก�ำลังยกย่องสิ่งนัน้ ขึ ้น แล้ วยอมให้ ชีวิตของเราอยู่ภายใต้ อ�ำนาจของสิ่งนัน้ เช่น การที่คนไทย กราบไหว้ นมัสการสิง่ ต่างๆ นัน่ ก็เพราะ พวกเขาเชื่อว่าสิ่งนันมี ้ อ�ำนาจมากกว่า พวกเขา ด้ วยเหตุนีพ้ วกเขาจึงยกมือ ไหว้ สิ่งนัน้ แล้ วขอให้ สิ่งนันให้ ้ พรหรื อ ช่วยเหลือ ใ น ท� ำ น อ ง เ ดี ย ว กั น ค� ำ ว่ า “นมัสการ” ในพระคัมภีร์ มีความหมาย ใน 2 ลักษณะนี ้ ความหมายที่เฉพาะ เจาะจงของค� ำ ว่ า “นมั ส การ” ใน พระคัมภีร์ คือ “การที่ผ้ ูเชื่อยกย่ อง สรรเสริ ญ พระเจ้ า ด้ ว ยการกระท�ำ ต่ างๆ” ดังตัวอย่างของ สดุดี 95:6 ที่ กล่าวว่า “มาเถิด ให้ เรานมัสการและ กราบลง ให้ เราคุกเข่าลงต่อพระเจ้ า ผู้ท รงสร้ างพวกเรา” การร้ องเพลง อธิษฐาน ฟั งเทศนา มอบถวาย และ ท�ำสิง่ อื่นๆ เพื่อยกย่องสรรเสริ ญพระเจ้ า ในเช้ า วัน อาทิ ต ย์ ห รื อ ในโอกาสต่า งๆ จึ ง เป็ นการนมัส การในความหมายที่ เฉพาะเจาะจง ซึง่ เป็ นความเข้ าใจของ คริ สเตียนส่วนใหญ่ อย่ า งไรก็ ดี พระคัม ภี ร์ ชี ใ้ ห้ เ ห็ น ว่ า ความหมายที่ ส� ำ คั ญ ของการ นมัสการ คือ ความหมายโดยรวม ซึ่งหมายถึง “การมอบชีวิตของเรา ให้ กับพระเจ้ า” ดังที่อาจารย์เปาโล กล่าวว่า “พีน่ ้ องทังหลาย ้ ด้ วยเหตุนี ้โดย เห็นแก่ความเมตตากรุ ณาของพระเจ้ า ข้ าพเจ้ าจึ ง วิ ง วอนท่ า นทั ง้ หลายให้ ถวายตัวของท่านแด่พระองค์ เพื่อเป็ น เครื่ องบูชาที่มีชีวิตอันบริ สทุ ธิ์และเป็ นที่ พอพระทัยพระเจ้ า ซึง่ เป็ นการนมัสการ โดยวิ ญ ญาณจิ ต ของท่ า นทัง้ หลาย” (โรม 12:1) การนมัสการจึงไม่ได้ เป็ น เพียงสิง่ ทีเ่ ราท�ำเพือ่ สรรเสริญพระเจ้ าใน หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ช่วงเวลาหนึ่งเท่านัน้ แต่เป็ นการมอบ ชีวิตของเราให้ กบั พระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง เพื่อที่พระองค์จะได้ รับเกียรติผ่านทาง วิถีชีวิตของเราในทุกที่และทุกเวลา

เราควรจะนมัสการพระเจ้า อย่างไร?

พระเยซูตรั สว่า “แต่วาระนัน้ ใกล้ เข้ ามาแล้ ว และบัดนี ้ก็ถงึ แล้ ว คือเมื่อ ผู้ที่นมัสการอย่างถูกต้ องจะนมัสการ พระบิดาด้ วยจิตวิญญาณและความจริง เพราะว่าพระบิดาทรงแสวงหาคนเช่น นันนมั ้ สการพระองค์ พระเจ้ าทรงเป็ น พระวิญญาณ และผู้ทนี่ มัสการพระองค์ ต้ องนมั ส การด้ วยจิ ต วิ ญ ญาณและ ความจริ ง” (ยอห์น 4:23-24) จากพระ คัมภีร์ตอนนี ้ เราพบความจริ งส�ำคัญ 2 ประการเกี่ยวกับการนมัสการ คือ

ตรั สว่า “ผู้ที่นมัสการอย่างถูกต้ องจะ 2. เราต้องนมัสการพระเจ้า นมัสการพระบิดา...” มิใช่นมัสการผู้อื่น ด้วยจิตวิญญาณและความจริง หรื อสิง่ อื่น ซึ่งหมายถึง การนมัสการพระเจ้ า พระคัมภีร์ตลอดทังเล่ ้ มชี ้ให้ เห็นว่า ที่ อ อกมาจากวิ ญ ญาณของเราด้ วย พระเจ้ าทรงเป็ นพระเจ้ าเที่ยงแท้ แต่องค์ ความจริ ง ใจ หากเราคิ ด ถึ ง ความ เดียว ทรงฤทธานุภาพสูงสุด ทรงบริสทุ ธิ์ หมายที่เฉพาะเจาะจงของการนมัสการ

ทุกค�ำอธิษฐานที่เราวิงวอน ทุกบทเพลงที่เราร้อง ทุกอากัปกิริยาของเรา และทุกโน้ตเพลงที่เราบรรเลง จะมีเป้าหมายเพื่อถวายเกียรติแด่พระเจ้าอย่างแท้จริง

ทรงเปี่ ยมด้ ว ยพระปั ญ ญา พระคุณ ความรั ก และความเมตตา ทรงเป็ น พระผู้สร้ าง พระผู้ช่วยให้ รอด และพระ ผู้เลี ้ยงที่ดีเลิศของเรา พระองค์จงึ ทรง เป็ นผู้เดียวที่สมควรได้ รับการนมัสการ 1. เราต้องนมัสการพระเจ้าเที่ยงแท้ จากสิง่ ต่างๆ ที่พระองค์ทรงสร้ าง และ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากบรรดาผู้ที่ได้ รับ แต่องค์เดียว ในขณะที่ผ้ ูคนในสังคมไทยมักจะ ฐานะเป็ นลูกของพระองค์ กราบไหว้ บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ต่างๆ ด้ วยเหตุ นี ้ คริ ส เตี ย นไทยควร ในเวลาเดียวกัน เพราะอยาก ท�ำตาม แบบอย่างของผู้เชื่ อ ได้ รั บ พ ร ในอดีต ที่แม้ ว่าผู้คน ห รื อ รอบข้ างจะนมัสการพระต่างๆ ก า ร ช่ ว ย มากมาย แต่พ วกเขาได้ ตัด สิน ใจ เ ห ลื อ จ า ก สิ่ ง ที่จะนมัสการพระเจ้ าเที่ ยงแท้ แต่องค์ เ ห ล่ า นั ้น ห รื อ เดียว ดังที่โยชูวากล่าวว่า “และถ้ าท่าน บางคนก็ น มั ส การ ไม่เต็มใจที่จะปรนนิบตั ิพระเจ้ า ท่าน ตนเอง(พึ่ ง ตนเอง) ทัง้ หลายจงเลื อ กเสี ย ในวัน นี ว้ ่ า ท่ า น เพราะเชื่อมั่นในความ จะปรนนิ บัติ ผ้ ู ใ ด จะปรนนิ บัติ พ ระ รู้ ความสามารถของ ซึ่งบรรพบุรุษของท่านปรนนิบัติอยู่ใน ตนเอง พระเจ้ าทรงมี ท้ องถิ่นฟากตะวันออกของแม่น� ้ำยูเฟรพ ร ะ ป ร ะ ส ง ค์ ใ ห้ ติส หรื อของคนอาโมไรต์ ในแผ่นดิน คริ ส เตี ย นไทยนมัส การ ซึง่ ท่านอาศัยอยู่ แต่สว่ นข้ าพเจ้ าและ พระองค์ แต่เพียงผู้ ครอบครัวของข้ าพเจ้ า เราจะปรนนิบตั ิ เดียว ดังที่พระ พระเจ้ า” (โยชูวา 24:15) เ ย ซู

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 19 นมัสการ

เราจ�ำเป็ นจะต้ องแน่ใจว่า ทุกสิ่งที่เรา กระท�ำในการนมัสการไม่ได้ เป็ นเพียง การปฏิบตั ิตามธรรมเนียมของคริ สตจักร ท�ำตามความเคยชิน หรื อยึดติด กับความรู้สกึ แต่เป็ นสิง่ ที่เราท�ำเพราะ จิตวิญญาณของเราปรารถนาจะยกย่อง สรรเสริ ญพระเจ้ า ทุกค�ำอธิษฐานที่เรา วิ ง วอน ทุก บทเพลงที่ เ ราร้ อง(ไม่ ว่า จะเป็ นเพลงไทยนมัสการ เพลงชีวิต คริสเตียน หรือเพลงนมัสการใหม่ๆ) ทุก อากัปกิริยาของเรา และทุกโน้ ตเพลงที่ เราบรรเลง(ส�ำหรับผู้ที่เป็ นนักดนตรี ) จะ มีเป้าหมายเพื่อถวายเกียรติแด่พระเจ้ า อย่างแท้ จริ ง มากกว่ า นั น้ เราจ� ำ เป็ นต้ อง นมัส การด้ ว ยจิ ต วิ ญ ญาณและความ จริ งในความหมายโดยรวมด้ วย นัน่ คือ การมอบชีวิตของเราทังชี ้ วิตให้ กับพระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง หรื อที่เรี ยกว่า “การนมัสการด้ วยชีวิต” การนมัสการ ของเราจะไม่ “เสร็ จ สิ น้ ” ในเช้ าวัน อาทิ ต ย์ แต่ เ ราจะนมัส การพระเจ้ า ทุกวันเวลาในชีวติ ของเรา โดยการถวาย ตัวแด่พระเจ้ าเพือ่ เป็ นเครื่องบูชาทีม่ ชี วี ติ อันบริสทุ ธิ์และเป็ นทีพ่ อพระทัยของ พ ร ะ อ ง ค์

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

(โรม 12:1) ซึ่งแสดงออกโดยการยึด พระวจนะของพระเจ้ าเป็ นบรรทัดฐานใน การด�ำเนินชีวิต ปฏิเสธความบาป ไม่ ท�ำสิง่ ต่างๆ เพื่อตัวเอง ไม่ตอบสนองต่อ สถานการณ์ต่างๆ โดยเอาตัวเองเป็ นที่ ตัง้ แต่พงึ่ พระเจ้ าและท�ำสิง่ ที่สอดคล้ อง กับพระประสงค์ของพระองค์

(โคโลสี 3:23) หากเราท� ำ ทุก อย่ า ง เสมื อ นกระท� ำ ถวายแด่พ ระเจ้ า สิ่ ง ที่ เราท� ำ นัน้ จะกลายเป็ นการนมัส การ สถานที่ ๆ เราอยู่ จ ะกลายเป็ นสถาน นมัสการ เป็ นที่ๆ ถวายค�ำสรรเสริ ญแด่ พระเจ้ า และเมื่อคนอืน่ ๆ มองดูชีวติ ของ เรา พวกเขาจะเห็นพระคุณความรักของ พระเจ้ าทรงมอบหมายให้ ผู้ เชื่ อ พระเจ้ าผ่านทางชีวิตของเรา และพวก แต่ละคนมีบทบาทหน้ าที่ที่แตกต่างกัน เขาจะอดไม่ได้ ทจี่ ะขอบคุณพระเจ้ าและ ออกไป แต่พระองค์ทรงมีพระประสงค์ สรรเสริ ญพระองค์ร่วมกันกับเรา ให้ ผ้ เู ชื่อทุกคนนมัสการพระองค์ในชีวิต สรุป ประจ� ำวัน อาจารย์ เปาโลได้ แนะน� ำ พระเจ้ าทรงเป็ นพระเจ้ าที่เที่ยงแท้ เคล็ดลับที่จะท�ำให้ เราสามารถนมัสการ แต่องค์เดียว พระองค์ทรงปรารถนาให้ พระเจ้ าด้ วยชีวิตได้ ท่านกล่าวว่า “ไม่ เรานมัสการพระองค์ด้วยจิตวิญญาณ ้ ำที่เฉพาะ ว่าท่านจะท�ำสิ่งใด ก็จงท�ำด้ วยความ และความจริ ง ทังในการกระท� เต็ ม ใจ เหมื อ นกระท� ำ ถวายองค์ พ ระ เจาะจงในการนมัส การ และในการ ผู้เป็ นเจ้ าไม่ใช่เหมือนกระท�ำแก่มนุษย์” ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วัน ของเรา ดัง นัน้

คริ คริสสต์ต์ศศาสนศาสตร์ าสนศาสตร์ใใกล้ กล้ตตวั วั -- ตอนที ตอนที่ ่ 19 19 นมั นมัสสการ การ

การนมัสการของเราจะไม่ เสร็จสิ้นในเช้าวันอาทิตย์ แต่เราจะนมัสการพระเจ้า ทุกวันเวลาในชีวิตของเรา

คริ ส เตี ย นไทยควรท� ำ ทุ ก สิ่ ง ในการ นมัสการด้ วยจิตใจที่ยกย่องสรรเสริ ญ พระเจ้ าอย่างแท้ จริ ง มากกว่านัน้ เรา ควรนมัสการพระเจ้ าด้ วยชีวติ ของเรา คือ มอบชีวิตของเราให้ กบั พระเจ้ า และท�ำ ทุกสิง่ เพื่อถวายเกียรติแด่พระองค์ ให้ เรามานมัสการพระเจ้ าด้ วยกัน นะครับ! ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร กรกฎาคม 2012 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ หน้าา 33


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 20

คริสตจักรคืออะไร?

ใน

ช่วงที่ผา่ นมา ผมได้ ร่วมกับคณาจารย์ของวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิลวารี ศึกษาวิจยั เรื่ อง “ชีวิตและการท�ำพันธกิจของคริ สตจักรท้ องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริ สตจักรในประเทศไทย” (ท่านที่สนใจสามารถอ่านบทคัดย่อและบทความวิจยั ได้ ที่ www.mcd.in.th ภายใต้ หวั ข้ อ “บริ การวิชาการ” หัวข้ อย่อย “การวิจยั ”) สิ่งหนึ่งที่ น่าสนใจในการวิจยั ครัง้ นี ้ก็คือ เมื่อประชากรกลุม่ ตัวอย่างกล่าวว่า “คริ สตจักรควรจะท�ำบาง สิง่ ” พวกเขาก�ำลังหมายความว่า “ผู้รับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลา หรื อ ผู้น�ำของคริ สตจักรควรจะท�ำ บางสิง่ ” ในขณะเดียวกัน เมื่อผมย้ อนกลับไปพิจารณาข้ อเสนอแนะส�ำหรับคริ สตจักรที่ผม เขียนขึ ้น ผมพบว่าเมื่อผมเสนอให้ คริ สตจักรท�ำบางสิง่ บางครัง้ ผมก็ก�ำลังหมายความว่า ผู้รับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลา หรื อ ผู้น�ำของคริ สตจักร ควรท�ำบางสิง่ ในแง่หนึง่ มุมมองเช่นนี ้ให้ ความส�ำคัญกับผู้น�ำของคริสตจักร แต่ในอีกแง่หนึง่ ก็สะท้ อน ให้ เห็นถึงความเข้ าใจทางคริ สต์ศาสนศาสตร์ ที่คลาดเคลือ่ นเกี่ยวกับความหมายของ “คริ สตจักร” ซึง่ ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและการท�ำพันธกิจของคริ สตจักรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ด้ วยเหตุนี ้คริ สเตียนไทยจ�ำเป็ นจะต้ องมีความเข้ าใจที่ชดั เจนขึ ้นว่า “คริ สตจักรคืออะไร” และ “พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ให้ คริ สตจักรเป็ นเช่นใด”

คริสตจักรคืออะไร

ของอัครทูต 5:11; 13:1; 14:23) แต่บาง ครัง้ ก็หมายถึงชุมชนของผู้เชื่อโดยรวม เช่น การที่เปาโลกล่าวว่าเขาได้ ข่มเหง คริ สตจักรของพระเจ้ า (1โคริ นธ์ 15:9) ดังนัน้ คริ สตจักรจึงไม่ใช่ตวั อาคารหรื อ องค์กร แต่หมายถึง ผู้คนที่เชื่อวางใจใน พระเจ้ า(องค์ตรี เอกภาพ) ในทุกยุคสมัย

สัง คมปั จ จุบันมัก ท� ำให้ เราเข้ า ใจ ว่าคริ สตจักร คือ “องค์กร” ซึง่ อยูภ่ ายใต้ ความรับผิดชอบของผู้น�ำองค์กร ซึง่ อาจ ไม่ใช่เรื่ องผิดหากเรามองในแง่ของการ บริ ห ารคริ ส ตจัก ร แต่ ใ นทางคริ ส ต์ ศาสนศาสตร์ คริสตจักร หมายถึง ชุมชน ของผู้ที่เชื่อวางใจในพระเจ้ า หรื อพูด พระเจ้าทรงมีพระประสงค์ให้ อีกอย่างว่า “คริ สตจักร คือ คริ สเตียน คริสตจักรเป็นเช่นใด ตังแต่ ้ สองคนขึ ้นไป” (ขอย� ้ำว่านีค่ อื ความ พระคัม ภี ร์ ภ าคพัน ธสัญ ญาใหม่ หมายทางคริ สต์ศาสนศาสตร์ นะครับ) กล่าวถึงคริ สตจักรโดยใช้ ภาพที่ส�ำคัญ ในพระคัมภีร์ภาคภาษาไทย ฉบับปี 4 ภาพ คือ (1) ประชากรของพระเจ้ า ค.ศ. 1971 มีค�ำว่า “คริ สตจักร” ปรากฏ (2) พระกายของพระคริ สต์ (3) พระ อยู่ทงหมด ั้ 106 ครัง้ โดยแปลมาจาก วิหารของพระวิญญาณบริ สุทธิ์ และ ค�ำว่า “เอคเคลเซีย” ในภาษากรี ก ซึ่ง (4) ครอบครัวของพระเจ้ า ภาพเหล่า หมายถึง “ชุมนุมชน การประชุม หรื อ นี ้ช่วยให้ เราเข้ าใจว่าพระเจ้ าทรงมีพระ กลุม่ คน” ส่วนใหญ่ค�ำนี ้จะถูกใช้ ในการ ประสงค์ให้ คริ สตจักรเป็ นเช่นใด และ กล่าวถึงชุมชนของผู้เชื่อในเมืองใดเมือง เนื่องจากคริ สตจักร คือ เราทังหลายที ้ ่ หนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจง (เช่น กิจการ เชื่อวางใจในพระเจ้ า ภาพเหล่านี ้จึงเป็ น คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 20 คริ สตจักรคืออะไร?

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

สิง่ ทีพ่ ระเจ้ าทรงปรารถนาจะเห็นในชีวติ ของเราทังหลายนั ้ น่ เอง

1. มีชีวิตที่สมกับเป็นประชากรของ พระเจ้า (เอเฟซัส 2:19 1 เปโตร 2:9) ในขณะทีช่ นชาติอสิ ราเอลได้ รบั การ เลือกให้ เป็ นพลเมืองของพระเจ้ าผ่าน ทางการสืบเชื ้อสาย ในคริ สตจักร ผู้คน จากทุกเชื ้อชาติและภาษาได้ รับการทรง เลือกให้ เป็ นประชากรของพระเจ้ าผ่าน ทางพระเยซูคริ สต์ ดังนัน้ ความเชื่อใน พระเยซูคริสต์จงึ ไม่ได้ เป็ นเพียงเรื่องส่วน ตัว แต่เป็ นเรื่องของส่วนรวม(หรือชุมชน) ด้ วย (Robert J. Banks, 1994: 26) ผู้เชื่ อได้ คืนดี กับพระเจ้ าและผู้เชื่ อคน อื่นๆ เขาจึงสามารถมีความสัมพันธ์ ที่ ใกล้ ชิดกับพระเจ้ าและคนอื่นๆ ได้ พระคัมภีร์สอนว่าผู้เชื่อทุกคนเป็ น ประชากรของพระเจ้ า และกล่าวต่อไป ว่าผู้เชื่อทุกคนเป็ นปุโรหิตของพระเจ้ า ด้ วย (1เปโตร 2:9) พระคัมภีร์ข้อนี ้เป็ น รากฐานของหลัก ค� ำ สอนเรื่ อ ง “การ เป็ นปุโรหิตของผู้เชื่อทุกคน” โดย มาร์ ติน ลูเธอร์ ซึง่ ยืนยันว่าผู้เชื่อแต่ละคน มีศกั ดิ์ศรี การทรงเรี ยก และสิทธิพิเศษ จ�ำเพาะพระพักตร์ พระเจ้ าเท่าเทียมกัน ในขณะที่คริ สเตียนทุกคนได้ รับการทรง เรี ย กให้ รั บ ใช้ พ ระเจ้ า ผ่ า นทางอาชี พ ต่างๆ ผู้เชื่อบางคนได้ รับการทรงเรี ยก หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ให้ รับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลา ผู้รับใช้ พระเจ้ า เต็มเวลาจึงไม่ได้ มีฐานะที่สูงกว่าหรื อ ส�ำคัญกว่าผู้เชื่อคนอื่น แต่พวกเขาได้ รับการแต่งตังและได้ ้ รับสิทธิอ�ำนาจให้ สนับสนุนและส่งเสริมผู้เชือ่ ทุกคนในการ รับใช้ พระเจ้ า ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตียนทุก คนจึงมีความรับผิดชอบต่อพันธกิจต่างๆ ของคริ สตจักร มิใช่มอบให้ เป็ นหน้ าที่ ของผู้รับใช้ เต็มเวลาเท่านัน้

2. มีชีวิตที่สมกับเป็นพระกายของ พระคริสต์ (เอเฟซัส 1:22-23 1 โครินธ์ 12:12-31) ราฟ พี. มาร์ ติน กล่าวว่า การที่ผ้ ู เชื่อแต่ละคนเป็ นอวัยวะในพระกายของ พระคริ สต์ พิสจู น์ว่าการกลับใจมาเชื่อ พระเจ้ าของคริ สเตียนแต่ละคน น�ำไป สู่การเข้ าเป็ นส่วนหนึ่งในชุมชนของผู้ เชื่อ ชีวติ ใหม่ในพระคริ สต์เป็ นเรื่ องส่วน บุคคล แต่ต้องอาศัยชุมชนในการเอาใจ ใส่เลี ้ยงดูให้ เติบโตไปสูค่ วามไพบูลย์ใน พระคริสต์ (Ralph P. Martin, 1980: 15) ความเข้ าใจนีส้ ะท้ อนให้ เห็นว่า ผู้ เชือ่ ต้ องให้ พระเยซูคริสต์เป็ นผู้นำ� ในชีวติ อย่างแท้ จริ ง คือ เชื่อวางใจในพระองค์ ในฐานะขององค์พระผู้เป็ นเจ้ า ด�ำเนิน ชีวิตในทุกๆ ด้ านโดยพึง่ พาในพระองค์ และมีความสัมพันธ์ทใ่ี กล้ ชดิ กับพระองค์ นอกจากนัน้ ชุมชนของผู้เชือ่ ต้ องร่วมกัน รับใช้ ด้วยความเป็ นน� ้ำหนึ่งใจเดียวกัน แม้ ว่ า ผู้ เชื่ อ แต่ ล ะคนจะเป็ นเหมื อ น อวัยวะของร่ างกายที่มีความสามารถ แตกต่างกัน แต่งานรับใช้ ทุกอย่างใน คริ สตจักรจะต้ องกระท�ำด้ วยความเป็ น น� ้ำหนึง่ ใจเดียวกัน เมื่อผู้เชื่อคนใดหรื อ กลุ่ม ใดในคริ ส ตจัก รได้ รั บ มอบหมาย หน้ าทีบ่ างประการก็ไม่ได้ หมายความว่า หน้ าที่เหล่านันเป็ ้ นของพวกเขาเท่านัน้ ผู้เชื่อคนอื่นๆ ในคริ สตจักรต้ องมีส่วน รับผิดชอบในหน้ าที่เหล่านันด้ ้ วย

การเป็ นพระกายของพระคริ ส ต์ ยัง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่า สมาชิ ก ในชุม ชน นี จ้ ะต้ อ งมี ค วามสัม พัน ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด ต่ อ กัน พึ่งพาอาศัยและเสริ มสร้ างซึ่งกัน และกัน รวมทัง้ มี การสามัคคีธรรมที่ แท้ จริ ง ดังที่ มิลลาร์ ด อิริคสัน อธิบาย ว่า “[การสามัคคีธรรม] ไม่ได้ หมายถึง ความเกี่ ย วข้ อ งสัม พัน ธ์ กัน ทางสัง คม เท่านัน้ แต่หมายถึง การมีความรู้ สึก ที่ใกล้ ชิดและมีความเข้ าใจซึ่งกันและ กัน การมีความเห็นอกเห็นใจและให้ ก�ำลังใจซึง่ กันและกัน สิ่งที่บคุ คลหนึง่ ได้ ประสบจะเป็ นสิ่งที่ทุกคนได้ ประสบ ด้ วย ดังที่ เปาโลได้ กล่าวว่า ‘ถ้ าอวัยวะ อันหนึง่ เจ็บ อวัยวะทังหมดก็ ้ พลอยเจ็บ ด้ ว ย ถ้ า อวัย วะอัน หนึ่ง ได้ รั บ เกี ย รติ อวัยวะทังหมดก็ ้ พลอยชื่นชมยินดีด้วย’ (1โคริ นธ์ 12:26)” (Millard J. Erickson, 1998: 1048)

3. มีชีวิตที่สมกับเป็นพระวิหาร ของพระวิญญาณบริสุทธิ์ (1โครินธ์ 3:16-17 เอเฟซัส 2:19-22) ในพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม พระวิหารเป็ นที่สถิตของพระเจ้ าในโลก นี ้ แต่ในพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ จุดศูนย์กลางของการสถิตอยู่ด้วยของ พระเจ้ า คือ ชุมชนของผู้เชื่อ (Stanley J. Grenz, 2000: 467) ดังนัน้ นอกจาก ผู้ เ ชื่ อ แต่ ล ะคนจะเป็ นวิ ห ารของพระ วิญญาณบริ สทุ ธิ์แล้ ว ชุมชนของผู้เชื่อ โดยรวมก็เป็ นที่สถิตของพระวิญญาณ บริ สทุ ธิ์ด้วย คริ สตจักรจึงได้ รับฤทธิ์เดช

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 20 คริ สตจักรคืออะไร?

การสอน และการทรงน�ำในการรับใช้ จากพระวิญญาณบริสทุ ธิ์ (ยอห์น 14:26 กิจการฯ 1:8) (Millard J. Erickson, 1998: 1049-1050) ความเข้ าใจนี ส้ ะท้ อนให้ เห็นชี วิต คริสตจักรทังในด้ ้ านส่วนตัวและส่วนรวม กล่าวคือ สมาชิกของคริสตจักรแต่ละคน จะต้ องพึ่งพาพระวิญญาณบริ สุทธิ์ ใน การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน และคริ สตจักรจะต้ องท�ำพันธกิจของพระเยซูคริสต์ ต่อไปในโลกนี โ้ ดยพึ่งพาฤทธิ์ เดชจาก พระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ ดังนันพั ้ นธกิจที่ คริ สตจักรท�ำจะต้ องสอดคล้ องกับพันธกิจที่พระเยซูได้ ทรงกระท�ำเมื่อพระองค์ เสด็จมาเป็ นมนุษย์

4. มีชีวิตที่สมกับเป็นครอบครัว ของพระเจ้า (เอเฟซัส 2:19) ผู้เขียนพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญา ใหม่เ น้ น ว่า คริ ส ตจัก ร คื อ ครอบครั ว ในฝ่ ายวิ ญ ญาณ ซึ่ ง เป็ นครอบครั ว แห่งความรั กและความเป็ นน� ำ้ หนึ่งใจ เดียวกัน เปาโลยืนยันความจริ งนี ้หลาย ครัง้ ในจดหมายฝากของท่าน อีกทังยั ้ ง กล่าวถึงผู้เชื่อคนอื่นว่าเป็ น “ลูก” และ “พี่น้อง” ของท่าน (เช่น 1โคริ นธ์ 4:14 กาลาเทีย 4:19) ยอห์นบันทึกว่าพระ เยซูตรั สสัง่ ให้ เหล่าสาวกรั กซึ่งกันและ กัน รวมทังอธิ ้ ษฐานเผื่อให้ พวกเขาเป็ น หนึง่ เดียวกัน (ยอห์น 15:12-17; 17:2021) ท่านเน้ นเกี่ยวกับความรักทังในพระ ้ กิตติคณ ุ และจดหมายฝากที่ท่านเขียน

ครั้งต่อไป เมื่อเราคิดว่า ‘คริสตจักรควรจะท�ำอะไร’ ขอให้เราหมายความว่า ‘ตัวเราและผู้เชื่อคนอื่นๆ จะร่วมกันท�ำอะไร’

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ขึ ้น และกล่าวถึงผู้รับจดหมายของท่าน โดยใช้ ค�ำว่า “ลูกทังหลาย” ้ (1 ยอห์น 2:1, 12, 18) เปโตรกล่าวว่า ชุมชน คริ สเตียน คือ ครอบครั วของพระเจ้ า (1เปโตร 4:17) และเรี ยกยอห์นมาระโก ว่า “บุตรของข้ าพเจ้ า” (1เปโตร 5:13)

สรุป

แท้ จริ งแล้ ว ค�ำถามที่ถกู ต้ องเกี่ยว กับคริสตจักรไม่ใช่ “คริสตจักรคืออะไร?” แต่ เ ป็ น “คริ ส ตจัก รคื อ ใคร?” เพราะ ค� ำ ถามนี ส้ ะท้ อนความเป็ นจริ ง ของ คริ สตจักร ซึง่ หมายถึง ผู้คนที่เชื่อวางใจ ในพระเจ้ า ด้ วยเหตุนี ้ เราทังหลายที ้ ่ เป็ นคริ สเตียนต้ องตระหนักอยู่เสมอว่า เมื่อพระคัมภีร์กล่าวถึงพระประสงค์ของ เราทุกคนคือคริ สตจักรของพระเจ้ า พระเจ้ าส�ำหรับคริสตจักร ก็หมายถึงพระ ดังนัน้ ขอให้ เรามาพัฒนาคริ สตจักรนี ้ ประสงค์ของพระเจ้ าส�ำหรับชีวติ ของเรา ร่วมกันนะครับ! ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร สิ งหาคม 2012 ทังหลายนั ้ น่ เอง

ด้ วยเหตุนี ้ เราจึงเห็นอย่างชัดเจน ว่าคริ สตจักร คือ ชุมชนของผู้เชื่อที่อยู่ รวมกันด้ วยความรัก สนิทสนม และ เป็ นน� ้ำหนึง่ ใจเดียวกัน สมาชิกแต่ละ คนในชุมชนจะเลีย้ งดู เกื อ้ กูลกันและ กันให้ แต่ละคนมีชีวิตที่เจริ ญเติบโตขึ ้น ตามอย่างพระเยซูคริ สต์มากขึ ้นทุกวัน ครัง้ ต่อไป เมือ่ เราคิดว่า “คริสตจักร และมีชวี ติ ทีเ่ กิดผลตามพระประสงค์ของ ควรจะท�ำอะไร” ขอให้ เราหมายความ พระเจ้ า ว่า “ตัว เราและผู้เ ชื่ อ คนอื่ น ๆ จะร่ ว ม

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 20 คริ สตจักรคืออะไร?

กันท�ำอะไร” เพราะนี่เป็ นความเข้ าใจ ที่สอดคล้ องกับความจริ งของพระเจ้ า และเป็ นหัวใจส�ำคัญที่จะน�ำคริ สตจักร (ผู้เ ชื่ อ ทุก คน)ไปสู่ก ารมี คุณ ลัก ษณะ ของประชากรของพระเจ้ า พระกายของ พระคริ สต์ พระวิหารของพระวิญญาณ บริสทุ ธิ์ และครอบครัวของพระเจ้ าอย่าง แท้ จริ ง

ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ตอนที่ 21

คริสตจักร(คริสเตียน)

อยู่ในโลกนี้เพื่ออะไร?

ใน

บทความตอนที่แล้ ว เราพบว่า “คริสตจักร” หมายถึง ผู้คนที่เชื่อ วางใจในพระเจ้ า เมื่อพระคัมภีร์กล่าว ถึ ง พระประสงค์ ข องพระเจ้ าส� ำ หรั บ คริ สตจักร จึงหมายถึงพระประสงค์ของ พระเจ้ าส�ำหรับชีวติ ของผู้คนทีเ่ ชือ่ วางใจ ในพระองค์นนั่ เอง ซึง่ เราพบว่าพระเจ้ า ทรงปรารถนาให้ เราด�ำเนินชีวิตที่สมกับ เป็ นประชากรของพระเจ้ า พระกายของ พระคริ สต์ พระวิหารของพระวิญญาณ บริ สทุ ธิ์ และ ครอบครัวของพระเจ้ า ค�ำถามส�ำคัญทีต่ ามมาก็คอื “คริสตจั ก ร(คริ สเตี ยน)อยู่ ใ นโลกนี เ้ พื่ อ อะไร?” ค�ำตอบที่สอดคล้ องกับความ จริ ง ของพระเจ้ า จะช่ ว ยให้ ค ริ ส เตี ย น ไทยด� ำ เนิ น ชี วิ ต อยู่ ใ นโลกนี อ้ ย่ า ง มี ค วามหมาย และสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ของพระเจ้ า ส�ำหรั บชี วิตของพวกเรา ได้ อย่างแท้ จริ ง

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ชัดเจนและครบถ้ วนในหนังสือ คริ สตจักรที่เคลื่อนไปด้ วยวัตถุประสงค์ และ ชีวติ ทีเ่ คลือ่ นไปด้ วยวัตถุประสงค์ (ดูเพิม่ เติม ริ ค วอร์ เรน, 2000 และ 2004)

ทรงรักมนุษย์เป็ นอย่างมาก พระองค์ ทรงปรารถนาให้ เรารู้จกั และรักพระองค์ โดยแสดงออกถึงความรักทีม่ ตี อ่ พระเจ้ า ในทุกๆ ด้ านของชีวิต หรื อพูดอีกอย่าง ริ ค วอร์ เ รน ช่ ว ยให้ เ ราเข้ า ใจว่ า ว่า เราต้ องมีวิถีชีวิตแห่งการนมัสการ “พระมหาบัญญัติ” (มัทธิว 22:37-40) พระเจ้ า และ “พระมหาบัญชา” (มัทธิว 28:19- ในบทความตอนที่ 19 เรื่ อง 20) ของพระเยซูคริ สต์ แสดงให้ เห็นว่า “นมัสการ” เราได้ เรี ยนรู้ถงึ ความหมาย คริ สตจักรและคริ สเตียนอยูใ่ นโลกนี ้เพื่อ ทีเ่ ฉพาะเจาะจง กับ ความหมายโดยรวม วัตถุประสงค์ 5 ประการ ดังนี ้ ของการนมัสการ นัน่ คือ การยกย่อง สรรเสริ ญ พระเจ้ า ผ่า นการแสดงออก 1. นมัสการพระเจ้า ต่างๆ ในการนมัสการ และ การมอบ พระเยซูตรั สว่า “จงรั กองค์ พระผู้ ชีวิตของเราทัง้ หมดแด่พระเจ้ า เพื่อที่ เป็ นเจ้ าของท่านด้ วยสุดใจของท่านด้ วย พระองค์จะได้ รับเกียรติผา่ นทางวิถีชีวิต สุดจิตของท่าน และด้ วยสุดความคิด ของเราในทุกที่และทุกเวลา ของท่าน นัน่ แหละเป็ นพระบัญญัติข้อ ส�ำคัญอันดับแรก” (มัทธิว 22:37-38 ด้ วยเหตุนี ้ ชุมชนของผู้เชื่ อ และ คริ สเตียนแต่ละคน จึงอยู่ในโลกนี ้เพื่อ มาตรฐาน) นมัสการพระเจ้ าผ่านสิง่ ต่างๆ ที่พวกเขา กระท�ำร่วมกันในการนมัสการ และการ ที่แต่ละคนได้ มอบชีวิตแด่พระเจ้ า (โรม 12:1) มอบความรั กและค�ำสรรเสริ ญ แด่พระองค์ผา่ นสิง่ ที่แต่ละคนกระท�ำใน ชีวิตประจ�ำวัน (โคโลสี 3:23)

มี พ ระคั ม ภี ร์ หลาย ตอนและนักคริ สต์ศาสนศ า ส ต ร์ ห ล า ย ท่ า น ที่ ช่วยให้ เราสามารถตอบ ค�ำถามนี ้ได้ แต่ผมพบว่า ริ ค วอร์ เรน ได้ สรุปความ จริ งเกี่ยวกับพระประสงค์ พระมหาบัญ ญัติ ข้ อ แรกชี ใ้ ห้ เ ห็ น ของพระเจ้ าส�ำหรับชุมชนของผู้เชื่อ และ ว่า เช่นเดียวกับที่พระเจ้ าทรงรู้จกั และ ส�ำหรั บชีวิตของเราแต่ละคน ไว้ อย่าง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 21 คริ สตจักร(คริ สเตียน)อยู่ในโลกนีเ้ พือ่ อะไร?

2. รับใช้

พระมหาบัญญัตขิ ้ อทีส่ องมีใจความ ว่า “จงรักเพื่อนบ้ านเหมือนรักตนเอง” (มัท ธิ ว 22:39) พระเจ้ า ทรงมี พ ระ ประสงค์ให้ ผ้ เู ชื่อส�ำแดงความรักต่อผู้อนื่ หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

โดยการรับใช้ พวกเขา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ผู้ที่ขดั สน ด้ อยโอกาส ถูกเอารัดเอา เปรี ยบ ถูกกดขี่ขม่ เหง หรื อเผชิญความ ทุกข์ในด้ านร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ หรื อความสัมพันธ์

นอกจากการรับใช้ ผ้ อู ื่นจะเป็ นการ แสดงออกถึงการรั กเพื่อนบ้ านเหมือน รักตนเองแล้ ว ยังแสดงให้ เห็นถึงความ รักของเราทีม่ ตี อ่ พระเจ้ าด้ วย เพราะเมือ่ เราได้ รับใช้ ผ้ อู ื่นก็เหมือนกับเราได้ รับใช้ พระเจ้ า ดังที่พระเยซูตรัสว่า “เราบอก ความจริ งกับท่านทัง้ หลายว่า ซึ่งพวก ท่านได้ ท�ำกับคนใดคนหนึ่งที่เล็กน้ อย ที่สดุ ในพี่น้องของเรานี ้ ก็เหมือนท�ำกับ เราด้ วย” (มัทธิว 25:40) วัต ถุป ระสงค์ ป ระการที่ ส องของ ชุมชนของผู้เชื่อและคริ สเตียนแต่ละคน จึงเป็ นการรับใช้ พระเจ้ าและรับใช้ ผ้ อู ื่น ผ่ า นทางของประทานฝ่ ายวิ ญ ญาณ ความสนใจ ความสามารถ บุคลิกภาพ และประสบการณ์ของตนเอง

3. ประกาศพระกิตติคุณ ในตอนต้ นของพระมหาบัญชา พระ เยซูตรัสว่า “ดังนันจงไปสร้ ้ างสาวกจาก มวลประชาชาติ...” (มัทธิว 28:19 อมตธรรมร่วมสมัย) ผู้ทจี่ ะเป็ นสาวกของพระ เยซูคริ สต์ได้ ต้องเชื่อวางใจในพระองค์ ก่อน ดังนัน้ วัตถุประสงค์ประการที่สอง ของคริ สตจักรและคริ สเตียน คือ การ ประกาศพระกิตติคณ ุ แก่ผ้ ทู ี่ยงั ไม่เชื่อ

ในบทความตอนที่ 12 เรื่ อง “ข่าวดี” เราพบว่า ใจความส� ำ คัญ ของ “พระ กิตติคณ ุ ” หรื อ “ข่าวประเสริ ฐเรื่ องพระ เยซูคริ สต์” ประกอบไปด้ วยความจริ ง 4 ประการ คือ (1) โลกนี ้มีพระเจ้ าพระผู้ สร้ าง ผู้ทรงรักเมตตามนุษย์ (2) ความบาปท� ำ ให้ ม นุษ ย์ ถูก แยก จากพระเจ้ าและเต็มไปด้ วยความ ทุกข์ (3) พระเยซูคริ สต์ทรงเป็ นผู้ เดียวทีส่ ามารถช่วยมนุษย์ให้ หลุด พ้ นจากความบาปและความทุกข์ (4) มนุษย์ต้องเชื่อวางใจในพระ เยซูคริ สต์

ท่านไว้ ” (มัทธิว 28:20 อมตธรรมร่วม สมัย) วัตถุประสงค์ประการที่สขี่ องชุมชน ของผู้เ ชื่ อ และคริ ส เตี ย นแต่ ล ะคนจึ ง เป็ นการเสริ มสร้ างกันและกันให้ เติบโต ขึ ้นในองค์พระผู้เป็ นเจ้ า คือ เป็ นเหมือน พระคริ สต์ มากขึน้ ทัง้ ในด้ านความคิด ทัศนคติ และการกระท�ำ หรื อที่เปาโล กล่า วว่ า เป็ นการ “เติ บ โตเป็ นผู้ใ หญ่ คือ เต็มถึงขนาดความไพบูลย์ของพระ คริ สต์” (เอเฟซัส 4:13 อมตธรรมร่ วม สมัย)

ค ริ ส เ ตี ย น ไ ท ย จ� ำ เ ป็ น ต้ อ ง มี ประสบการณ์ เกี่ ยวกับข่าวดีเรื่ องพระ เยซูคริ สต์ด้วยตนเองก่อน จากนัน้ เรา ควรส�ำแดงชีวิตที่สอดคล้ องกับข่าวดีนี ้ และแบ่งปั นเรื่ องราวของพระเยซูคริ สต์ ให้ กับผู้อื่นด้ วยความถ่อมสุภาพ เพื่อ ที่พ่ีน้องชาวไทยคนอื่นๆ จะได้ ร้ ู จักกับ 5. สามัคคีธรรม พระองค์ พระมหาบั ญ ชาของพระเยซู คริ ส ต์ มี ข้ อความว่ า “จงบัพ ติศมาพวกเขาในพระนามของ พระบิ ด า พระบุ ต ร และพระ วิญญาณบริสทุ ธิ์” (มัทธิว 28:19 มาตรฐาน) พิธีบพั ติศมาเป็ นพิธี ที่ ผ้ ูเ ชื่ อ ได้ เ ข้ า ส่ ว นในการตาย และการเป็ นขึ น้ มาจากความ ตายของพระเยซู ค ริ ส ต์ ได้ ประกาศความเชื่ อ ของตนเอง 4. สร้างสาวก ต่อสาธารณชน ในขณะเดียวกัน ผู้นนั ้ คริ ส ตจัก รและคริ สเตี ย นไม่เพี ย ง จะได้ เข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่งในชุมชนแห่ง แต่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ประกาศพระ ความเชื่อด้ วย พระเจ้ าไม่เพียงแต่ทรง กิ ต ติ คุณ แก่ ผ้ ูที่ ยัง ไม่ เ ชื่ อ เท่ า นัน้ แต่ ให้ เ ราได้ รั บ สิ ท ธิ์ เ ป็ นลูก ของพระองค์ ต้ อ งพัฒ นาชี วิ ต ของผู้ ที่ เ ชื่ อ แล้ ว ให้ มี เท่านัน้ แต่พระองค์ทรงน�ำเราเข้ ามาเป็ น คุณลักษณะของสาวกแท้ ของพระเยซู ประชากรของพระองค์ เป็ นอวัยวะใน คริ ส ต์ ม ากยิ่ ง ขึ น้ ด้ ว ย ดัง ที่ พ ระเยซู พระกายของพระคริสต์ และเป็ นสมาชิก ตรัสในตอนท้ ายของพระมหาบัญชาว่า ในครอบครัวของพระเจ้ า “สอนเขาให้ เชื่ อฟั งทุกสิ่งที่ เราสั่งพวก เช่นเดียวกับที่พระบิดา พระบุตร

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 21 คริ สตจักร(คริ สเตียน)อยู่ในโลกนีเ้ พือ่ อะไร?

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

และพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์ ทรงมีความ สัมพันธ์ ที่ใกล้ ชิดกันในองค์ตรี เอกภาพ พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ให้ ลกู ๆ ของ พระองค์ มี ค วามสัม พัน ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กัน เพื่อที่เราจะสามารถเสริ มสร้ างกันและ

ทัง้ 5 ประการที่พระเจ้ าได้ ทรงก�ำหนด ไว้ ส�ำหรับชุมชนของผู้เชื่อ และส�ำหรับ คริ สเตียนแต่ละคน

กันได้ อย่างแท้ จริ ง ดังนัน้ วัตถุประสงค์ ประการที่ห้าของชุมชนของผู้เชื่ อและ คริสเตียนแต่ละคน คือ การสามัคคีธรรม หรื อ การเข้ าส่วนในชีวิตเพื่อเสริ มสร้ าง กันและกัน

ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร กันยายน 2012 ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

สรุป

คริสตจักรและคริสเตียนอยูใ่ นโลกนี ้ เพือ่ วัตถุประสงค์ 5 ประการ คือ นมัสการ พระเจ้ า รับใช้ ประกาศพระกิตติคณ ุ สร้ างสาวก และสามัคคีธรรม เมื่ อ พระเยซู เ สด็ จ มากระท� ำ พระ ราชกิ จ ในโลกนี ้ พระองค์ ท รงเป็ น แบบอย่ า งในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตาม วัต ถุป ระสงค์ ทัง้ 5 ประการนี ้ เมื่ อ เปาโลได้ ร้ ู จกั กับพระเจ้ า ท่านได้ อทุ ิศ ตนในการท� ำ ให้ วัต ถุป ระสงค์ เ หล่ า นี ้ ส�ำเร็จในชีวติ ของท่าน เมือ่ เราพิจารณา คริ สตจักรยุคแรกที่ สามารถสร้ างการ เปลี่ยนแปลงในสังคมได้ อย่างอัศจรรย์ เราพบว่าคริ สเตียนในเวลานันได้ ้ ดำ� เนิน ชีวิตตามวัตถุประสงค์ทงั ้ 5 ประการนี ้ เช่นเดียวกัน ด้ วยเหตุนี ้ สิง่ ที่เราควร ท� ำ จึงไม่ใ ช่การจัด ล� ำดับ ความส�ำคัญ ของวัต ถุป ระสงค์ เ หล่ า นี ้ ไม่ ใ ช่ ก าร เลื อ กท� ำ เฉพาะวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ เ รา ชืน่ ชอบ แต่เป็ นการท�ำตามวัตถุประสงค์

หากเราร่วมกันท�ำตามวัตถุประสงค์ เหล่านี ้ คริ สเตียนไทยจะด�ำเนินชีวิต อยู่ใ นโลกนี อ้ ย่า งมี ค วาม หมาย และคริ สตจักรไทย จะสามารถเป็ นพระพรกับ ประเทศไทยและกับโลกนี ้ ได้ อย่างแน่นอน

.. ด้วยเหตุนี้ สิ่งที่เราควรท�ำจึงไม่ใช่ เมื่อพระเยซูเสด็จมา กระท�ำพระราชกิจในโลก การจัดล�ำดับความส�ำคัญ นี้ พระองค์ทรงเป็นแบบ ของวัตถุประสงค์เหล่านี้ อย่างในการด�ำเนินชีวิต ไม่ใช่การเลือกท�ำเฉพาะ วัตถุประสงค์ที่เราชื่นชอบ ตามวัตถุประสงค์ ทั้ง 5 ประการนี้... แต่เป็นการท�ำตาม วัตถุประสงค์ทั้ง 5 ประการที่พระเจ้าได้ทรง ก�ำหนดไว้ส�ำหรับชุมชน ของผู้เชื่อ และส�ำหรับ คริสเตียนแต่ละคน

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 21 คริ สตจักร(คริ สเตียน)อยู่ในโลกนีเ้ พือ่ อะไร?

หน้ า 3


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 22

สามัคคีธรรม?

ใน

บทความตอนที่แล้ ว เราพบว่าคริ สตจักรและคริ สเตียนอยูใ่ นโลกนี ้ โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ เพื่อวัตถุประสงค์ 5 ประการ คือ นมัสการพระเจ้ า รับใช้ ประกาศพระ กิตติคณ ุ สร้ างสาวก และสามัคคีธรรม คริ สตจักรทุกแห่งและคริ สเตียนทุกคน ภาพเปรี ย บเที ย บที่ ชัด เจนที่ สุด ก็ จึงควรท�ำตามวัตถุประสงค์เหล่านี ้ทังหมด ้ มิใช่เลือกท�ำเพียงบางสิง่ เท่านัน้ คือ ฟื นหลายท่อนที่ติดไฟอยู่รวมกันจะ ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตี ยนไทยจ� ำเป็ นจะต้ องเข้ าใจว่าวัตถุประสงค์ แต่ละข้ อ สามารถให้ ความร้ อนได้ เป็ นระยะเวลานาน หมายความว่าอย่างไร และเราจะท�ำให้ วตั ถุประสงค์นนส� ั ้ ำเร็ จจริ งในชีวิตของ แต่หากเราดึงฟื นท่อนหนึง่ ออกมา เปลวไฟ ้ อยๆ มอดแล้ วก็ดบั ลง เราได้ อย่างไร เนื่องจากผมเคยกล่าวถึงการประกาศพระกิตติคณ ุ (ตอนที่ 12) ของฟื นท่อนนันจะค่ และการนมัสการพระเจ้ า (ตอนที่ 19) ไปแล้ ว ผมจึงอยากจะกล่าวต่อไปถึงการ ในที่สดุ สิง่ ที่เหลือทิ ้งไว้ ก็คือฟื นท่อนหนึง่ ที่ ไม่สามารถจะให้ ความอบอุน่ หรือแสงสว่าง สามัคคีธรรม การสร้ างสาวก และการรับใช้ ในบทความตอนนี ้ เราจะมาพิจารณาร่วมกันว่า การสามัคคีธรรมหมายความ ได้ อีก ชีวิตคริ สเตียนของเราก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่จะช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ ระหว่าง ว่าอย่างไร? และเราจะมีการสามัคคีธรรมที่แท้ จริ งได้ อย่างไร? เรากับพระเจ้ า ก็คือความสัมพันธ์ระหว่าง เรากับคริ สเตียนคนอื่นๆ และสิง่ ที่จะช่วยให้ เรารับใช้ พระเจ้ า การสามัคคีธรรมหมายความว่าอย่างไร? เมื่อกล่าวถึงค�ำว่า “การสามัคคีธรรม” คนไทยส่วนใหญ่ ได้ อย่างเกิดผลมากขึ ้น ก็คือการร่ วมรับใช้ กับคริ สเตียนคน มักคิดถึง ความสามัคคีปรองดอง การร่ วมแรงร่ วมใจกัน อืน่ ๆ ดังนัน้ การสามัคคีธรรมจึงเป็ นสิง่ ทีข่ าดไม่ได้ สำ� หรับชีวติ ท�ำงาน หรื อ การร่วมกันท�ำกิจกรรมทางศาสนา แต่ในทาง คริ สเตียน คริ สต์ศาสนศาสตร์ “การสามัคคีธรรม” (Fellowship) มี เราจะมีการสามัคคีธรรมที่แท้จริงได้อย่างไร? ความหมายมากกว่าสิง่ เหล่านี ้ เพราะหมายถึง “การเข้ าส่ วน การสามัคคีธรรมที่แท้ จริ งประกอบไปด้ วยการกระท�ำ 2 ในชีวติ เพื่อเสริมสร้ างกันและกัน” ประการ คือ (1) การเข้ าร่วม และ (2) การเข้ าส่วน “การเข้ า เปาโลกล่าวว่า “เนื่ องจาก[พระคริ สต์ ]นี เ้ อง ร่ างกาย ทังหมดจึ ้ งได้ รับการเชื่อมและประสานเข้ าด้ วยกันโดยทุกๆ ข้ อต่อที่ประทานมานัน้ และเมื่อแต่ละส่วนท�ำงานตามหน้ าที่ แล้ ว ก็ท�ำให้ ร่างกายเจริ ญและเสริ มสร้ างตนเองขึ ้นด้ วยความ รัก” (เอเฟซัส 4:16 มาตรฐาน) ผู้เชื่อแต่ละคนเปรี ยบเหมือน อวัยวะของร่ างกายที่แตกต่างกัน แต่แยกออกจากกันไม่ได้ และต้ องท�ำงานร่ วมกันเพื่อให้ ร่างกายนัน้ เติบโตขึน้ การ สามัคคีธรรมจึงไม่ได้ เป็ นเพียงการร่วมกันท�ำบางสิง่ ด้ วยความ สามัคคี พอเสร็ จแล้ วก็ตา่ งคนต่างไป แต่เป็ นการที่ผ้ เู ชื่อได้ มี ส่วนร่วมในชีวติ ของกันและกันอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อเสริ มสร้ าง ซึง่ กันและกันในการด�ำเนินชีวิตและการท�ำพันธกิจตามพระ ประสงค์ของพระเจ้ า คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 22 สามัคคีธรรม?

ร่ วม” มีความหมายตรงตัว คือ เข้ าร่ วมกิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชนผู้เชื่อ ไม่ว่าจะเป็ นการเข้ าร่ วมการนมัสการในเช้ าวัน อาทิตย์ หรื อการเข้ าร่ วมกลุม่ ย่อยต่างๆ เช่น กลุม่ เซล สตรี บุรุษ อนุชน ฯลฯ

อย่างไรก็ดี สิง่ ทีส่ ำ� คัญมากกว่าการเข้ าร่วมก็คอื “การเข้ า ส่ วน” ซึง่ หมายถึง “การเข้ าส่วนในชีวิตเพื่อเสริ มสร้ างกันและ กัน” เพราะนี่คือความหมายที่แท้ จริ งของการสามัคคีธรรม ดังนัน้ หากเราเป็ นคนหนึ่งที่ได้ เข้ าร่ วมกิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชนผู้เชื่อ แต่ยงั ไม่ได้ ให้ ผ้ อู ื่นเข้ ามามีสว่ นร่ วมในชีวิตของ เรา หรื อไม่มีสว่ นร่วมในชีวิตของผู้อื่น ก็หมายความว่าเรายัง ขาดการสามัคคีธรรมทีแ่ ท้ จริง เราก�ำลังเป็ นเหมือนฟื นท่อนนัน้ ที่ถกู ดึงออกมาจากฟื นท่อนอืน่ ๆ ซึง่ จะท�ำให้ ไฟในชีวติ ของเรา หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

้ เช่นเดียวกัน หากเราเรี ยนรู้ทจี่ ะสนใจตัวเอง ค่อยๆ มอดลง หากเราไม่อยากเป็ นเหมือนกับฟื นท่อนนัน้ เรา ของเราทังหลายก็ จ�ำเป็ นจะต้ องมีการเข้ าส่วนในชีวติ ของกันและกันอย่างแท้ จริง ให้ น้อยลง และห่วงใยคนอื่นๆ ให้ มากขึ ้น เราจะสามารถสร้ าง เราสามารถเข้ าส่วนในชีวติ เพือ่ เสริมสร้ างกันและกัน ผ่าน ชุมชนที่อบอุน่ มากขึ ้น การกระท�ำ 7 ประการที่ลงท้ ายด้ วยค�ำว่า “กันและกัน” ซึ่ง 3. รับใช้กันและกัน “จงช่วยรับภาระของกันและกัน ท�ำ หมายความว่า ผู้เชื่อแต่ละคนต้ องเป็ นทังผู ้ ้ ให้ และผู้รับ อีกทัง้ ดังนี ้แล้ วท่านก็ได้ ปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตขิ องพระคริสต์ (กาลาร่วมกันท�ำให้ สงิ่ เหล่านี ้เกิดขึ ้นในชุมชนของเรา เทีย 6:2 อมตธรรมร่วมสมัย)

1. รักกันและกัน

“ค�ำบัญชาของเราก็คือ จงรักซึง่ กันและ การสามัคคีธรรมที่แท้ จริ งจะไม่หยุดอยู่เพียงแค่ความ กันเหมือนที่เราได้ รักพวกท่าน” (ยอห์น 15:12 อมตธรรมร่วม ห่วงใย แต่จะส�ำแดงออกมาเป็ นการกระท�ำ การรับภาระซึง่ กันและกัน คือ การรับใช้ หรื อ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันในด้ าน สมัย) หากปราศจากความรัก ผู้คนในชุมชนจะต่างคนต่างอยู่ ต่างๆ ของชีวติ ภาพของมดตัวเล็กๆ ทีช่ ว่ ยกันแบกภาระทีใ่ หญ่ ต่างคนต่างท�ำ เมื่อเสร็ จกิจกรรมแล้ วก็ตา่ งคนต่างไป งาน เกินตัว ช่วยให้ เราเข้ าใจพระคัมภีร์ข้อนี ้มากขึ ้น พระเจ้ าไม่ อาจจะเสร็ จเรี ยบร้ อย แต่ชีวิตของแต่ละคนยังเป็ นเหมือนเดิม ต้ องการให้ ผ้ เู ชื่อแต่ละคนเผชิญกับปั ญหาและอุปสรรคต่างๆ หรื อบางครัง้ อาจจะแย่ลงเพราะต้ องเผชิญกับความเหนื่อยล้ า เพียงล�ำพัง พระองค์จึงทรงให้ เราอยู่ในชุมชนแห่งความเชื่อ หรื อท้ อใจกับปั ญหาที่เกิดขึ ้นกับงานหรื อเพื่อนร่วมงาน ด้ วย เพื่อให้ เรารับภาระซึง่ กันและกัน ดังนัน้ ขอให้ เราห่วงใยและ เหตุนี ้ สิ่งแรกที่พระเยซูบญ ั ชาเหล่าสาวกของพระองค์จึงไม่ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันอย่างแท้ จริง ไม่วา่ จะเป็ นการอธิษฐาน ได้ เป็ นการให้ พวกเขาออกไปท�ำบางสิง่ บางอย่าง แต่ให้ พวก เผือ่ การแบ่งปั นให้ กบั ผู้ทมี่ คี วามต้ องการจ�ำเป็ น หรือการช่วย เขา “รักกันและกัน” เหมือนที่พระองค์ทรงรักพวกเขา ซึง่ ไม่ได้ เหลือผู้อื่นด้ วยการกระท�ำ เพื่อที่แต่ละคนจะสามารถเอาชนะ เป็ นความรักในแง่ของอารมณ์ความรู้สกึ เท่านัน้ แต่เป็ นความ อุปสรรคปั ญหาที่ใหญ่เกินกว่าที่ตนเองจะแก้ ไขได้ เพียงล�ำพัง ปรารถนาดีที่มีให้ กบั ผู้อื่นด้ วยความจริ งใจ เป็ นการพร้ อมที่ จะเป็ นผู้ให้ เพื่อให้ อีกฝ่ ายมีชีวิตที่ดีขึ ้น หากเรารักกันและกัน ชุมชนของเราย่อมมีบรรยากาศที่ดี เป็ นชุมชนที่น่าอยู่ น่า ท�ำงาน และเราก็จะสามารถช่วยเหลือซึง่ กันและกันให้ เติบโต ขึ ้น มีชีวติ ที่สะท้ อนความดีงามของพระเจ้ ามากขึ ้น และรับใช้ พระเจ้ าได้ อย่างเกิดผลมากขึ ้นต่อไป

2. ห่วงใยกันและกัน “เพื่ อ จะไม่ มี ก ารแตกแยกกัน ใน

ร่างกาย แต่เพื่อให้ อวัยวะต่างๆ ห่วงใยกันอย่างเท่าเทียมกัน” (1 โคริ นธ์ 12:25 อมตธรรมร่วมสมัย)

4. ให้เกียรติกันและกัน “จงรักกันฉันพี่น้อง

จงให้ เกียรติ กันและกันโดยถือว่าผู้อื่นดีกว่าตน” (โรม 12:10 อมตธรรม ร่วมสมัย) หากเราคิดว่าตนเองดีกว่าผู้อื่นเสมอ...เราจะคิดว่าตัว เราไม่มีสิ่งใดที่ต้องปรับปรุ งแก้ ไข มีแต่คนรอบข้ างเท่านันที ้ ่ มีปัญหา เราจะคิดว่ามุมมองหรื อวิธีการของเราเท่านันที ้ ่ถกู ต้ อง ส่วนของคนอื่นๆ นันใช้ ้ ไม่ได้ เราจะคิดว่ามีแต่เราเท่านัน้ ที่ท�ำได้ ส่วนคนอื่นๆ นันไม่ ้ มีความสามารถ แล้ วผลที่ตาม มาก็คือ...ชีวิตของเราจะเป็ นเหมือนแก้ วน� ้ำที่มีน� ้ำอยูเ่ ต็มแก้ ว เราจะพลาดโอกาสได้ ปรับปรุงแก้ ไขตนเองให้ ดีขึ ้น ได้ เรี ยนรู้ สิง่ ใหม่หรื อวิธีการใหม่ๆ หรื อได้ เห็นความส�ำเร็ จที่ยิ่งใหญ่ใน ชุมชนของเรา ดังนัน้ ขอให้ เราเรี ยนรู้ที่จะให้ เกียรติกนั และกัน อยูเ่ สมอ เปิ ดใจของเราเพื่อเรี ยนรู้จากคนอื่นๆ ไม่วา่ ผู้นนจะ ั้ มีอายุมากกว่าหรื อน้ อยกว่าเรา มีต�ำแหน่งสูงกว่าหรื อต�่ำกว่า เรา มีประสบการณ์มากกว่าหรื อน้ อยกว่าเรา มีฐานะร�่ ำรวย กว่าหรือยากจนกว่าเรา แล้ วชุมชนของเราจะเป็ นชุมชนทีเ่ สริม สร้ างซึง่ กันและกันอยูเ่ สมอ

พระคัมภีร์ข้อนี ้ชี ้ให้ เห็นว่า หากเราปรารถนาจะเข้ าส่วน ในชีวิตของกันและกัน เราจ�ำเป็ นจะต้ อง “ห่วงใยกันและกัน” แทนทีจ่ ะ “แตกแยก หรือ แก่งแย่งแข่งขัน” มนุษย์เรามีแนวโน้ ม ที่จะเอาตัวเองเป็ นที่ตงั ้ เราสนใจความรู้สกึ และผลประโยชน์ ของตนเองมากกว่าของผู้อื่น เมื่อเราเข้ าร่ วมกิจกรรมต่างๆ ก็มกั จะคิดว่าตนเองจะได้ รับอะไรบ้ าง สิง่ ที่ตามมาก็คือ เรา รู้ สกึ โดดเดี่ยวท่ามกลางฝูงชนที่แต่ละคนสาละวนอยู่กบั เรื่ อง ของตนเอง นี่คือปั ญหาที่เกิดขึ ้นในคริ สตจักรโคริ นธ์ ซึง่ ส่ง ผลให้ พวกเขาพลาดโอกาสที่จะเสริ มสร้ างกันและกัน ดังนัน้ 5. ให้อภัยกันและกัน “จงอดทนอดกลันต่ ้ อกันและกัน และ อ.เปาโล จึงบอกให้ พวกเขาหันมาสนใจและห่วงใยคนอื่นๆ ให้ ไม่วา่ ท่านมีเรื่ องขุน่ ข้ องหมองใจประการใดต่อกันก็จงยกโทษ มากขึ ้น เพื่อที่พวกเขาจะมีสามัคคีธรรมที่แท้ จริ งได้ ในชีวิต ให้ กนั ท่านจงยกโทษให้ กนั เหมือนที่องค์พระผู้เป็ นเจ้ าได้ ทรง คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 22 สามัคคีธรรม?

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ยกโทษให้ ทา่ น” (โคโลสี 3:13 อมตธรรมร่วมสมัย) ส�ำหรับคนไทย เมื่อคนอื่นท�ำผิดต่อเรา เรามักตอบสนอง ด้ วยการพูดว่า “ไม่เป็ นไร” เพื่อรักษาความสัมพันธ์ที่ราบรื่ น และดูดี แต่จริ งๆ แล้ วในใจของเราเต็มไปด้ วยความขุน่ เคือง ใจและโกรธแค้ น เพราะเรายังไม่ได้ ยกโทษให้ กบั เขาจริ งๆ ผล ที่ตามมาก็คือ เรามักจะถอยตัวออกห่างคนๆ นัน้ ไม่อยากอยู่ ใกล้ ไม่อยากพูดคุย ไม่อยากร่วมงานด้ วย และยิ่งเราเก็บ ความขมขื่นใจและความโกรธแค้ นเอาไว้ สิง่ เหล่านี ้จะยิ่งทวี ความรุนแรงขึ ้น และจะบัน่ ทอนชีวิตของเราเป็ นคนแรก เรา จะกลายเป็ นคนทีม่ องโลกในแง่ลบและไม่มคี วามสุขอยูต่ ลอด เวลา จากนันเราจะเริ ้ ่ มมีค�ำพูดและการกระท�ำที่บนั่ ทอนคน อื่นๆ แทนที่จะได้ เสริ มสร้ างพวกเขา และเราจะไม่สามารถรับ ใช้ พระเจ้ าได้ อย่างเกิดผลอย่างที่ควรจะเป็ น

7. ให้ค�ำแนะน�ำกันและกัน “จงให้ พระวจนะของพระคริสต์

เปี่ ยมล้ นอยู่ในท่านขณะที่ท่านสัง่ สอนและเตือนสติกนั ด้ วย ปั ญญาทังสิ ้ ้น และขณะที่ทา่ นร้ องเพลงสดุดี เพลงนมัสการ และบทเพลงฝ่ ายวิญญาณด้ วยใจกตัญญูตอ่ พระเจ้ า” (โคโลสี 3:18 อมตธรรมร่วมสมัย)

หากเราปรารถนาจะเสริ มสร้ างกันและกันอย่างแท้ จริ ง เราควรให้ ค�ำแนะน�ำแก่กนั และกันในการแก้ ไขสิ่งที่ผิดพลาด หรื อบกพร่องในชีวติ แต่ขอให้ เป็ นการสัง่ สอนและเตือนสติกนั ด้ วยปั ญญาบนพื ้นฐานพระวจนะของพระเจ้ า เหมือนที่เปาโล กล่าวในพระคัมภีร์ข้อนี ้ และเป็ นการพูดความจริ งด้ วยความ รัก ดังที่เปาโลกล่าว “แต่โดยการพูดความจริ งด้ วยความรัก เราจะเติบโตขึ ้นในทุกสิง่ สูพ่ ระองค์ผ้ เู ป็ นศีรษะคือพระคริ สต์” (เอเฟซัส 4:15 อมตธรรมร่วมสมัย) ในขณะเดียวกัน หาก ดังนัน้ ขอให้ เราเรียนรู้ทจี่ ะยกโทษให้ กบั ผู้อนื่ อย่างแท้ จริง เราปรารถนาจะรับการเสริ มสร้ างจากผู้อื่น เราจะต้ องยอมรับ แทนที่จะใช้ คำ� ว่า “ไม่เป็ นไร” เพือ่ กลบเกลือ่ นสถานการณ์ เรา ฟั งค�ำแนะน�ำ หรื อค�ำเตือนสติจากคนอื่นๆ ด้ วย เพื่อที่เราจะ จะตัดสินใจทีจ่ ะยกโทษให้ กบั ผู้ทที่ ำ� ผิดต่อเราเหมือนทีพ่ ระเจ้ า สามารถพัฒนาชีวิตของเราให้ ดีขึ ้นต่อไป ได้ ทรงยกโทษให้ กบั เราแล้ ว โดยใช้ ค�ำว่า “ฉันยกโทษให้ ” เพื่อ ที่เราจะตัดวงจรแห่งการแก้ แค้ นซึ่งมีแต่จะท�ำร้ ายตัวเราเอง สรุป ท�ำร้ ายอีกฝ่ าย และท�ำร้ ายชุมชนของเรา นอกจากนัน้ หาก การสามัคคีธรรมเป็ นหนึ่งในวัตถุประสงค์ของพระเจ้ า เราเป็ นฝ่ ายผิด ขอให้ เราเรี ยนรู้ ที่จะยอมรับผิด ยอมกล่าว ส�ำหรับคริ สเตียนทุกคน ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตียนไทยควรร่วม ค�ำว่า “ขอโทษ” และปรับปรุงแก้ ไขสิง่ ที่ไม่ถกู ต้ องนันด้ ้ วย กันสร้ างการสามัคคีธรรมที่แท้ จริ งให้ เกิดขึ ้นในคริ สตจักรไทย 6. ให้ก�ำลังใจกันและกัน “จงให้ ก�ำลังใจกันและกันทุกวัน ผ่านการเข้ าร่ วมและการเข้ าส่วนในชีวิตเพื่อเสริ มสร้ างกัน ตราบเท่าที่ยงั เรี ยกว่า ‘วันนี ้’ เพื่อจะไม่มีใครในพวกท่านดื ้อ และกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรัก ห่วงใย รับใช้ ให้ เกียรติ ด้ านไปเพราะกลลวงของบาป” (ฮีบรู 3:13 อมตธรรมร่วมสมัย) ให้ อภัย ให้ ก�ำลังใจ และให้ ค�ำแนะน�ำกันและกัน เราคงต้ องยอมรั บว่าสังคมทุกวันนี แ้ ย่ลงเรื่ อยๆ การ ขอให้ เรามาร่วมกันสร้ างการสามัคคีธรรมที่แท้ จริ งนี ้โดย โกหกกลายเป็ นเรื่ องปกติ การท�ำผิดในเรื่ องเพศกลายเป็ น เริ่ มต้ นที่ตวั เรานะครับ! เรื่ องธรรมดา การคดโกงกลายเป็ นเรื่ องของความฉลาด และ การเห็นแก่ตวั กลายเป็ นเรื่ องของความอยูร่ อด ง่ายเหลือเกิน หากเราเป็นคนหนึ่งที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม ที่เราจะซึมซับค่านิยมที่ขดั แย้ งกับความจริ งพระเจ้ าเข้ ามาใน ชีวิตของเรา ดังนัน้ สิง่ ที่ขาดไม่ได้ ในชุมชนของผู้เชื่อ คือ ให้ ต่างๆ ของชุมชนผู้เชื่อ แต่ยังไม่ได้ให้ผู้อื่น ก�ำลังใจกันและกันอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อที่จิตใจของเราจะไม่ เข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตของเรา หรือไม่มี แข็งกระด้ างไปเพราะกลลวงของบาป แต่เราจะยืนหยัดในการ ส่วนร่วมในชีวิตของผู้อื่น ก็หมายความว่า ท�ำสิง่ ที่ดีและถูกต้ องต่อไป แท้ จริ งแล้ ว เราสามารถให้ ก�ำลัง เรายังขาดการสามัคคีธรรมที่แท้จริง ใจกันได้ มากมายหลายวิธี เช่น การพูดถ้ อยค�ำที่ให้ ก�ำลังใจ การให้ ค�ำปรึกษา การกล่าวชมเชย การเขียนข้ อพระคัมภีร์ให้ หรื อส่งการ์ ดหรื อดอกไม้ ไปหนุนใจผู้อื่น และบางครัง้ การให้ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร ตุลาคม 2012 ก�ำลังใจทีด่ ที สี่ ดุ อาจเป็ นเพียงการอยูข่ ้ างๆ คนทีก่ �ำลังมีปัญหา ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA ฟั งสิง่ ที่เขาพูด ร้ องไห้ กบั เขา และอธิษฐานเผื่อเขา

คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 22 สามัคคีธรรม?

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

สร้างสาวก(ของพระคริสต์) โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ตอนที่ 23

“ดังนันจงไปสร้ ้ างสาวกจากมวลประชาชาติ ให้ เขารับบัพติศมาในพระนามของพระบิดา พระ บุตร และพระวิญญาณ บริ สทุ ธิ์ สอนเขาให้ เชื่อฟั งทุกสิง่ ที่เราสัง่ พวกท่านไว้ และแน่นอน เราจะอยูก่ บั ท่านทังหลายเสมอไปตราบจนสิ ้ ้นยุค” (มัทธิว 28:19-20 อมตธรรมร่วมสมัย) คริ สเตียนรู้ดีวา่ นี่คือพระมหาบัญชาของพระเยซูคริ สต์สำ� หรับผู้ที่เชื่อวางใจในพระองค์ ดังนัน้ การสร้ างสาวกจึงเป็ นพันธกิจส�ำคัญที่คริ สตจักรควรจะท�ำ

อย่างไรก็ดี จากการศึกษาวิจยั เรื่ อง “ชีวิตและการท�ำพันธกิจของคริ สตจักรท้ องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริ สตจักรในประเทศไทย” พบว่าการสร้ างสาวกเป็ นหนึง่ ในพันธกิจของคริสตจักรที่จ�ำเป็ นต้ องได้ รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน (ท่าน ที่สนใจสามารถอ่านบทคัดย่อและบทความวิจยั ได้ ที่ www.mcd.in.th ภายใต้ หวั ข้ อ “บริ การวิชาการ” หัวข้ อย่อย “การวิจยั ”) ปั ญหานี ้อาจเกิดจากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุส�ำคัญประการหนึง่ คือ คริ สเตียนไทยมักจะคิดว่าการสร้ างสาวกเป็ นงานที่ยาก ต้ องอาศัยความเชี่ยวชาญ และห่างไกลจากชีวิตประจ�ำวัน ดังนันคริ ้ สเตียนจ�ำนวนมากจึงมอบพันธกิจนี ้ให้ เป็ นหน้ าที่ของ ผู้รับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลา และมองว่ากระบวนการสร้ างสาวกเกิดขึ ้นที่คริ สตจักรเท่านัน้ แต่ในความเป็ นจริ ง กระบวนการสร้ างสาวกสามารถเกิดขึ ้นได้ ในชีวิตประจ�ำวันของเรา และคริ สเตียนทุกคนสามารถมี ส่วนในพันธกิจนี ้ได้ โดยผ่านการ “รับการสร้ าง” และ “สร้ างผู้อื่น”

รับการสร้าง

การสร้ างสาวกไม่ได้ เริ่ มต้ นที่การ ออกไปสร้ างผู้อื่น แต่เป็ นการที่ตวั เรา ได้ รับการสร้ างให้ เป็ นสาวกแท้ ของพระ เยซูค ริ ส ต์ ก่ อ น พระเยซูไ ม่ไ ด้ สั่ง ให้ เหล่า สาวกออกไปท� ำ สิ่ง ที่ พ วกเขาไม่ คุ้นเคย แต่พระองค์ทรงมอบหมายให้ พวกเขาออกไปท�ำสิง่ ทีพ่ วกเขาได้ รับการ ปลูกฝั งจากพระองค์ตลอดระยะ 3 ปี ทไี่ ด้ ติดตามพระองค์ไป นัน่ คือ การรับการ สร้ างชีวิตให้ เป็ นเหมือนพระคริ สต์มาก ยิ่งขึ ้น

พระเจ้ า (1พศว. 25:7-8 อสย. 8:16; 54:13) ในสมัยพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ ค�ำนี ้หมายถึง ผู้สนับสนุน หรื อผู้ติดตามผู้น� ำ/ครู เช่น ศิษย์ ของ ยอห์น ศิษย์ของฟาริ สี และศิษย์ของ พระเยซู (มก. 2:18) โดยในวัฒนธรรม ยิวนัน้ สาวกจะตามรับบีของตนเองและ เลียนแบบผู้นัน้ เพื่อที่จะพัฒนาตนเอง ให้ เป็ นรับบีในอนาคต ดังนัน้ เราจึง สามารถสรุ ปได้ ว่า สาวกของพระเยซู คริ สต์ คือ ผู้ที่อยูใ่ นกระบวนการรับการ สร้ างชีวิตให้ เป็ นเหมือนพระคริ สต์มาก ยิ่งขึ ้น

ปั จจุบันได้ รับการทรงเรี ยกให้ ติดตาม พระเยซูคริ สต์โดยหันจากชีวิตเก่าและ ต้ อนรับพระองค์เข้ ามาในชีวิตในฐานะ ของพระผู้ช่ ว ยให้ ร อดและองค์ พ ระผู้ เป็ นเจ้ า และรับการเปลี่ยนแปลงชีวิต ให้ สะท้ อนคุณลักษณะของพระองค์โดย ผ่านทางพระวิญญาณบริ สทุ ธิ์

ด้ วยเหตุนี ้ คริ สเตียนทุกคนจึงควร แสวงหาโอกาสที่จะได้ รับการสร้ างชีวิต ให้ เป็ นเหมือนพระคริ สต์มากขึ ้นทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การด�ำเนินชีวิตที่ ใกล้ ชดิ กับพระเจ้ าอยูเ่ สมอ รักพระวจนะ ของพระเจ้ าและปฏิบตั ติ ามสิง่ ทีพ่ ระองค์ ค�ำว่า “สาวก” ในสมัยพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม หมายถึง ผู้ตดิ ตาม ในขณะที่ผ้ เู ชื่อในสมัยของพระเยซู สอน สนทนากับพระองค์ผ่านทางการ ผู้สนับสนุน ลูกศิษย์ของครู /ผู้น�ำทาง ได้ รับการทรงเรี ยกให้ ติดตามพระองค์ อธิษฐานในทุกเวลา นมัสการพระองค์ ศาสนา หรื อ ผู้ที่ ไ ด้ รั บ การสอนจาก ในความหมายตามตัวอักษร ผู้เชื่อใน ทัง้ ในคริ สตจักรและในชี วิตประจ� ำวัน คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 23 สร้างสาวก(ของพระคริ สต์)

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

และรับใช้ พระเจ้ าผ่านทางการรับใช้ ผ้ อู นื่ • โมเสสและเปาโลเป็ นผู้น�ำที่สร้ าง มากกว่านัน้ ในพระคัมภีร์มตี วั อย่าง คนรุ่ น ใหม่ อ ย่ า งโยชู ว าและทิ โ มธี ใ ห้ ของผู้เ ชื่ อ มากมายที่ เ ติ บ โตขึน้ เพราะ เติบโตขึ ้นในความเชื่อและการเป็ นผู้น�ำ พวกเขาได้ รับการสร้ างจากผู้อื่น เช่น ผ่านทางการเป็ นแบบอย่างของผู้น�ำที่ดี โยชูวาได้ รับการสร้ างจากโมเสส โยนา- การเปิ ดโอกาสให้ คนรุ่ นใหม่ได้ ร่วมรับ ธานกับดาวิดเสริ มสร้ างกันและกัน ซา- ใช้ และการมอบหมายหน้ าที่ผ้ นู �ำให้ กบั โลมอนได้ รับการสร้ างจากดาวิด เหล่า พวกเขาต่อไป

• พระเยซูทรงสร้ างชีวิตของเหล่า สาวกโดยให้ พวกเขาได้ ตดิ ตามพระองค์ อย่างใกล้ ชิด ได้ ฟังสิ่งที่พระองค์ทรง สอน ได้ เห็นสิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงกระท�ำ อีก ทัง้ ได้ สัมผัสถึงความรั ก ความเมตตา และการให้ อภัยจากพระองค์

• ดาวิ ด เป็ นพ่ อ ที่ ส ร้ างชี วิ ต ของ ซาโลมอนบุตรชายตังแต่ ้ เขายังเป็ นเด็ก ดังนันซาโลมอนจึ ้ งเติบโตขึ ้นในทางของ พระเจ้ า และพร้ อมปรนนิ บัติ พ ระองค์ ตามการทรงเรี ยก

• พ่อแม่หรื อญาติผ้ ูใหญ่สามารถ สร้ างบุตรหลานของตนให้ ร้ ู จกั พระเจ้ า และเติบโตขึ ้นในทางของพระองค์ ผ่าน ทางการเป็ นแบบอย่างทีด่ ใี นชีวติ ประจ�ำ วัน การสอน การช่วยเหลือ และการ สนั บ สนุ น ให้ พวกเขาอยู่ ใ นทางของ พระเจ้ า (เช่ น พาลูก ไปโบสถ์ ใ นวัน อาทิตย์ แทนที่จะพาเขาไปเรี ยนพิเศษ เรี ยนดนตรี หรื อท�ำกิจกรรมอื่นๆ)

ในชี วิ ต ของเราทั ง้ หลายก็ เ ช่ น • โยนาธานกั บ ดาวิ ด เป็ นเพื่ อ น เดียวกัน เราทุกคนสามารถเสริ มสร้ าง ที่ ต่ า งเสริ ม สร้ างกัน และกัน ให้ ยึ ด มั่น ชีวิตของผู้เชื่อคนอื่นๆ ให้ เป็ นสาวกแท้ ในองค์ พระผู้เป็ นเจ้ าแม้ ต้องเผชิญกับ ของพระคริ ส ต์ ผ่า นทางบทบาทและ วิกฤตการณ์ในชีวิต สถานการณ์ที่หลากหลาย เช่น

สาวกได้ รับการสร้ างจากพระเยซู เปาโล ได้ รั บ การสร้ างจากบารนาบัส และ ทิโมธีได้ รับการสร้ างจากเปาโล ดังนัน้ เราควรรั บ การสร้ างชี วิตผ่า นทางการ สามัคคีธรรมกับผู้เชื่อคนอื่นๆ ด้ วย โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่เป็ นผู้ใหญ่ ในฝ่ าย วิญญาณ เช่นเดียวกับทีน่ กั กีฬาประสบ ความส�ำเร็ จได้ เพราะมี “โค้ ช” หรื อ “พี่ เลี ้ยง” ที่ดี เราจะมีชีวิตที่เป็ นเหมือน พระคริ สต์มากยิ่งขึ ้น เมื่อเราได้ รับการ สร้ างจากพี่เลี ้ยง ผู้ซงึ่ จะช่วยให้ เรารู้ จกั พระเจ้ ามากขึ ้น มองเห็นตนเองชัดเจน ขึน้ อีกทัง้ ได้ รับการแนะน�ำ เตือนสติ และหนุนใจให้ ด�ำเนินชีวิตที่สองคล้ อง กับพระประสงค์ของพระเจ้ าอย่างแท้ จริง

สร้างผู้อื่น

เมื่อเราได้ รับการสร้ างให้ เป็ นสาวก ของพระคริ สต์แล้ ว เราควรสร้ างผู้อื่น ให้ เป็ นสาวกของพระองค์เช่นกัน คริ สตจักรและคริ สเตียนไม่เพียงแต่ได้ รับมอบ หมายให้ ประกาศพระกิตติคณ ุ แก่ผ้ ทู ี่ยงั ไม่เชื่อเท่านัน้ แต่ต้องพัฒนาชีวิตของ ผู้ที่ เ ชื่ อ แล้ ว ให้ เ ป็ นเหมื อ นพระคริ ส ต์ มากยิ่งขึ ้น ทังในด้ ้ านความคิด ทัศนคติ และการกระท�ำ หรื อที่เปาโลกล่าวว่า เป็ นการ “เติบโตเป็ นผู้ใหญ่ คือ เต็ม ถึงขนาดความไพบูลย์ ของพระคริ สต์” (เอเฟซัส 4:13 อมตธรรมร่วมสมัย)

• บารนาบัสเป็ นพีเ่ ลี ้ยงทีด่ แู ลเปาโล หลังจากที่ ท่านกลับใจเชื่ อพระเยซูได้ ไม่นาน เปาโลจึงได้ รับการดูแล หนุนใจ และช่วยเหลือ จนกระทัง่ ท่านเติบโต ขึน้ เป็ นผู้รั บ ใช้ พ ระเจ้ า ที่ เ กิ ด ผลอย่ า ง • มิตรสหายสามารถเสริ มสร้ างกัน มากมาย และกันให้ ยึดมั่นในองค์ พระผู้เป็ นเจ้ า

พระเจ้าทรงปรารถนาให้คริสตจักรไทยและคริสเตียนไทย สร้างสาวกของพระคริสต์จากมวลประชาชาติ การสร้างสาวกจึงควรเป็นพันธกิจของคริสเตียนไทย ทุกคน มิใช่ของผู้รับใช้พระเจ้าเต็มเวลาเท่านั้น

จากแบบอย่างการสร้ างสาวกใน พระคัม ภี ร์ เราพบว่า กระบวนการนี ้ สามารถเกิดขึ ้นได้ ในหลายรู ปแบบและ สถานการณ์ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 23 สร้างสาวก(ของพระคริ สต์)

หน้ า 2


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ผ่านทางการหนุนใจ ตักเตือน ช่วยเหลือ และอธิษฐานเผื่อซึง่ กันและกันอยูเ่ สมอ • ผู้น�ำคริสตจักร หน่วยงาน สถาบัน สามารถสร้ างคนรุ่นใหม่ให้ เติบโตขึ ้นใน ความเชื่อและการเป็ นผู้น�ำ ด้ วยการเป็ น แบบอย่างของผู้น�ำที่ดี การเปิ ดโอกาส ให้ คนรุ่ นใหม่ได้ ร่วมรับใช้ พระเจ้ าตาม พัน ธกิ จ ขององค์ ก ร แล้ ว มอบหมาย หน้ าที่ในการเป็ นผู้น�ำให้ กบั พวกเขาต่อ ไป • คริ สเตียนที่เชื่อพระเจ้ ามาระยะ เวลาหนึง่ แล้ วสามารถช่วยผู้เชื่อใหม่ให้ รู้ จัก พระเจ้ า มากขึน้ และเติ บ โตขึน้ ใน ทางของพระองค์ ด้ วยการแนะน�ำเกี่ยว กับพื ้นฐานชีวิตคริ สเตียน การต้ อนรับ สรุป ผู้เชื่อใหม่เข้ าสูช่ มุ ชนแห่งความเชื่อ การ พระเจ้ าทรงปรารถนาให้ คริ สตจักรไทยและคริ สเตี ยนไทยสร้ างสาวกของ ให้ คำ� แนะน�ำในการด�ำเนินชีวติ และการ พระคริ สต์จากมวลประชาชาติ(โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากชาวไทย) การสร้ างสาวก เปิ ดโอกาสให้ พวกเขาได้ ร่วมรับใช้ จึงควรเป็ นพันธกิจของคริ สเตียนไทยทุกคน มิใช่ของผู้รับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลาเท่านัน้ ด้ ว ยเหตุนี ้ คริ ส เตี ย นทุก คนจึ ง และที่สำ� คัญก็คือ การสร้ างสาวกไม่ใช่เรื่ องยาก หากเราเริ่ มต้ นด้ วยการรับการสร้ าง สามารถกระท�ำตามพระมหาบัญชาของ ชีวติ ให้ เป็ นเหมือนพระคริสต์มากขึ ้น จากนัน้ ให้ เราสร้ างผู้อนื่ ให้ เติบโตขึ ้นในพระเจ้ า พระเยซูคริสต์ในการสร้ างสาวกผ่านทาง ผ่านทางสิง่ ต่างๆ ที่เราท�ำในชีวิตประจ�ำวัน สิ่งต่างๆ ที่เราท�ำในชีวิตประจ�ำวันของ ให้ เรามาสร้ างสาวกของพระคริ สต์ร่วมกันนะครับ! เราได้ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร พฤศจิ กายน 2012

ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ

คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 23 สร้างสาวก(ของพระคริ สต์)

หน้ า 3


คริสต์ศาสนศาสตร์ใกล้ตัว

ตอนที่ 24

“ รับใช้

วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

...เพราะเมื่อเราได้รับใช้ผู้อื่น ก็เหมือนกับเราได้รับใช้พระเจ้า

โดย สาธนัญ บุณยเกียรติ

ระมหาบัญญัติข้อที่สองมีใจความว่า “จงรักเพื่อนบ้ านเหมือนรักตนเอง” (มัทธิว 22:39) พระเจ้ าทรงมีพระประสงค์ให้ เราส�ำแดงความรักต่อผู้อื่น โดยการรับใช้ พวกเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่ขดั สน ด้ อยโอกาส ถูกเอารัดเอา เปรียบ ถูกกดขีข่ ม่ เหง หรือเผชิญความทุกข์ในด้ านร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ หรื อความสัมพันธ์ นอกจากการรับใช้ ผ้ อู ื่นจะเป็ นการแสดงออกถึงการรักเพื่อนบ้ าน เหมือนรักตนเองแล้ ว ยังแสดงให้ เห็นถึงความรักของเราที่มีตอ่ พระเจ้ า ด้ วย เพราะเมื่อเราได้ รับใช้ ผ้ อู ื่นก็เหมือนกับเราได้ รับใช้ พระเจ้ า ดังที่ พระเยซูตรัสว่า “เราบอกความจริ งกับท่านทังหลายว่ ้ า ซึง่ พวกท่านได้ ท�ำกับคนใดคนหนึ่งที่เล็กน้ อยที่สดุ ในพี่น้องของเรานี ้ ก็เหมือนท�ำกับ เราด้ วย” (มัทธิว 25:40)

ด้ วยเหตุนี ้ คริสเตียนแต่ละคนและชุมชนของผู้เชือ่ จึงได้ รบั การทรง เรี ยกจากพระเจ้ าให้ รับใช้ พระองค์และรับใช้ ผ้ อู ื่น อย่างไรก็ดี คริ สเตียน จ�ำนวนมากคิดว่าตนเองไม่มีความสามารถมากพอที่จะรับใช้ พวกเขาจึง มอบหน้ าที่นี ้ให้ ผ้ รู ับใช้ พระเจ้ าเต็มเวลาหรื อผู้น�ำในคริ สตจักรเท่านัน้ ผลที่ ตามมา คือ คริสตจักรส่วนใหญ่มสี มาชิกจ�ำนวน 50% ของสมาชิกทังหมดที ้ ค่ ดิ ว่าตนเองเป็ นผู้ชมหรื อผู้บริโภค มีสมาชิก 40% ที่ไม่มีสว่ นในการรับใช้ เพราะไม่ร้ ู ว่าจะท�ำอย่างไร และมีสมาชิกเพียง 10% ที่รับใช้ สิง่ ที่เกิดขึ ้นในคริ สตจักรจึงเป็ น เหมือนภาพของการแข่งขันกีฬาที่มีเพียงบางคนเหน็ดเหนื่อยอยูก่ ลางสนาม ในขณะที่ คนอีกนับหมื่นนัง่ เชียร์ อยูบ่ นอัฒจรรย์ แท้ จริงแล้ ว คริสเตียนแต่ละคนสามารถรับใช้ พระเจ้ าและผู้อนื่ ได้ มากมายหลายวิธี อีกทังจะสามารถ ้ รับใช้ ได้ อย่างเกิดผล หากเราเรียนรู้ทจี่ ะรับใช้ ตาม “ลักษณะ” (SHAPE) ของตนเองทีไ่ ม่เหมือนใคร ในหนังสือ ชี วิตทีเ่ คลือ่ นไปด้วยวัตถุประสงค์ ริ ค วอร์ เรน ได้ ใช้ ตวั อักษร S.H.A.P.E. ในการกล่าวถึง 5 สิง่ ที่ผ้ เู ชื่อแต่ละคนควรพิจารณา เพื่อที่จะสามารถรับใช้ พระเจ้ าและผู้อื่นได้ อย่างเกิดผล (ดูเพิ่มเติม ริ ค วอร์ เรน, 2004) Spiritual Gifts (ของประทานฝ่ายวิญญาณ) ตามของประทานที่เรามี เราจะสามารถรับใช้ ได้ อย่างเกิดผล พระคัมภีร์ยืนยันว่าผู้เชื่อทุกคนสามารถรั บใช้ พระเจ้ า มากขึ ้น อย่างไรก็ตาม นี่ไม่ได้ หมายความว่าเราจะต้ องรับใช้ ได้ เพราะเราต่างมีของประทานฝ่ ายวิญญาณด้ วยกันทุกคน ในด้ านที่เรามีของประทานเท่านัน้ แต่หมายความว่าแม้ เรา ภาพของอวัยวะที่แตกต่างกันในร่ างกายสะท้ อนให้ เห็นถึง จะรับใช้ ในงานทุกอย่างได้ แต่เราจะท�ำได้ ดใี นด้ านทีเ่ รามีของ ผู้เชื่อแต่ละคนที่มีของประทานฝ่ ายวิญญาณแตกต่างกัน แต่ ประทาน ไม่มสี กั หนึง่ คนทีไ่ ม่มขี องประทานฝ่ ายวิญญาณ ของประทาน Heart (หัวใจ) ฝ่ ายวิญญาณนี ้ต่างจากความสามารถทัว่ ๆ ไป และมีบนั ทึกอยู่ หมายถึง สิง่ ทีเ่ ราชอบหรือรักทีจ่ ะท�ำ พระเจ้ าทรงสร้ างเรา ในพระคัมภีร์ 5 ตอนด้ วยกัน คือ โรม 12:6-8 1โคริ นธ์ 7:7; แต่ละคนให้ แตกต่างกัน ในหัวใจของเรามีสงิ่ ที่เราชอบและรัก 12:8-10,28 เอเฟซัส 4:11 และ 1เปโตร 4:10-11 ทีจ่ ะท�ำซึง่ ไม่เหมือนกับคนอืน่ ในขณะทีค่ นอืน่ อาจจะไม่อยาก เราจ�ำเป็ นจะต้ องแสวงหาว่าเรามีของประทานใด และใช้ ท�ำสิง่ นัน้ แต่เราชอบที่จะท�ำ และพร้ อมที่จะทุม่ เทเวลา ก�ำลัง ของประทานนันในการรั ้ บใช้ พระเจ้ าและผู้อื่น พระเจ้ าทรงให้ ความสามารถให้ กบั สิง่ นัน้ เช่น บางคนชอบการอ่านหนังสือ เราแต่ละคนมีของประทานที่แตกต่างกัน ดังนัน้ หากเรารับใช้ การศึกษาค้ นคว้ าเพื่อน�ำสิง่ ที่ได้ รับมาสอนผู้อื่น บางคนชอบ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 24 รับใช้

หน้ า 1


วิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ

ที่จะใช้ เวลากับผู้คน ชอบพูดคุย และหนุนน� ้ำใจผู้อื่น หรื อบาง หรื ออื่ นๆ แต่ขอให้ เรารู้ ว่าพระเจ้ าทรงอนุญาตให้ เราผ่าน คนชอบท�ำงานกับเด็กเล็กๆ ในขณะที่บางคนมีความห่วงใย ประสบการณ์ ต่ า งๆ เพื่ อ เตรี ย มชี วิ ต ของเราในการรั บ ใช้ พระองค์ ขอเพียงให้ เรามอบชีวิตของเราให้ กบั พระองค์ และ ผู้อาวุโส ดังนัน้ เราควรแสวงหาว่างานรับใช้ ในด้ านใดที่เราชอบ ยอมให้ พระองค์ใช้ เรา เราจะพบว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ ้น ้ ำมาเป็ นประโยชน์ต่อการรับใช้ หรื อรั กที่จะท�ำมากเป็ นพิเศษ และให้ เราก้ าวเข้ าไปรั บใช้ กับชีวิตของเรานันสามารถน� ในด้ านนัน้ แต่เราจะไม่ร้ ูจริ งๆ จนกว่าจะได้ ลงมือท�ำ บางที พระเจ้ าได้

เราอาจจะคิดว่าไม่ชอบแต่พอลองท�ำดูแล้ วอาจจะชอบก็ได้ สรุป เพราะฉะนัน้ ผู้เชื่อแต่ละคนจึงควรแสวงหาโอกาสที่จะรับใช้ พระเจ้ า ทรงปรารถนาให้ ค ริ ส เตี ย นไทยทุก คนรั บ ใช้ ในงานหลายๆ ด้ านเพื่อที่จะพบว่าแท้ จริ งแล้ วเรามีภาระใจ พระเจ้ าและรับใช้ ผ้ คู นในสังคมไทย หากคริ สเตียนไทยทุกคน หรื อพันธใจกับงานรับใช้ ในด้ านใด ตระหนักถึงความจริ งนี ้ แล้ วเปลี่ยนจากการเป็ นกองเชียร์ มา เป็ นนักกีฬา เชื่อแน่ว่าจะมีชาวไทยอีกมากมายที่ได้ สมั ผัส Abilities (ความสามารถ) นอกเหนือจากของประทานฝ่ ายวิญญาณ พระเจ้ ายัง ถึงความรักของพระเจ้ าผ่านทางชีวิตของเรา ดังตัวอย่างของ ทรงประทานให้ เรามีความสามารถที่แตกต่างกันออกไป เช่น บุคคลหนึง่ ในรัฐเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริ กา ความสามารถในการพูด ดนตรี กีฬา ศิลปะ การแสดง การ มี นัก ธุ ร กิ จ กลุ่ม หนึ่ง นั่ง รถลี มูซี น เพื่ อ ไปร่ ว มพิ ธี ฝั ง ศพ บริ หาร การรักษาพยาบาล ฯลฯ พระเจ้ าทรงประทานความ ของผู้ชายที่ร�่ำรวยและเป็ นที่ร้ ู จกั ในเมืองของเขา ในขณะที่ สามารถที่แตกต่างกันให้ ผ้ เู ชื่อแต่ละคน เพื่อที่เราจะน�ำเอา รถก�ำลังแล่นขึ ้นไปยังสุสานซึ่งอยู่บนเนินเขา พวกเขาเห็น ความสามารถนันมารั ้ บใช้ พระเจ้ าและผู้อื่น ซึ่งไม่ได้ จ�ำกัด ผู้คนมากมายเดินบนฟุตบาทขึน้ ไปยังสุสาน คนที่เดินไป ้ จ�ำนวนมากจนบางคนต้ องลงมาเดินบนถนน นักธุรกิจ อยูแ่ ค่เพียงการรับใช้ ในคริสตจักรแต่เป็ นการรับใช้ พระองค์ใน นันมี หน้ าที่การงานของเราด้ วย หากเราท�ำงานของเราด้ วยท่าทีใน คนหนึง่ ก็เริ่มสงสัยว่าคนเหล่านี ้ก�ำลังไปร่วมงานศพของเศรษฐี ้ เหมือนเป็ นคนธรรมดาที่ไม่ได้ โคโลสี 3:23-24 คือ ท�ำด้ วยความเต็มใจเหมือนกระท�ำถวาย คนนี ้หรื อ เพราะคนเหล่านันดู แต่งตัวเรี ยบร้ อยสวยงาม องค์พระผู้เป็ นเจ้ า เมือ่ รถของพวกเขาเข้ าไปใกล้ สสุ านมากขึ ้นก็มผี ้ คู นแออัด Personality (บุคลิกภาพ) มากขึ ้นจนต�ำรวจต้ องช่วยกันผู้คนเพื่อให้ รถผ่านไป นักธุรกิจ พระเจ้ าทรงสร้ างให้ แต่ละคนมีบคุ ลิกภาพที่แตกต่างกัน คนนันอดสงสั ้ ยไม่ได้ จงึ เปิ ดกระจกรถ แล้ วถามต�ำรวจว่า “คน บางคนชอบเปิ ดเผย ส่วนบางคนชอบเก็บตัว บางคนชอบ พวกนี ้เป็ นใครเหรอครับ?” ต�ำรวจตอบกลับมาว่า “พวกเขามา สิ่งที่ท�ำเป็ นกิจวัตร ในขณะที่บางคนชอบท�ำสิ่งที่แปลกใหม่ งานฝั งศพของผู้หญิงคนหนึ่งครับ” นักธุรกิจคนนันจึ ้ งถาม บางคนให้ ความส�ำคัญกับเหตุผล ส่วนบางคนสนใจความรู้สกึ กลับไปด้ วยความประหลาดใจว่า “เธอคือใครเหรอครับ ท�ำไม บางคนให้ ความส�ำคัญกับงาน แต่บางคนห่วงใยความสัมพันธ์ เธอจึงมีความส�ำคัญมากขนาดนี ้?” ต�ำรวจจึงถามกลับมาว่า บุคลิกภาพต่างๆ มีทงข้ ั ้ อดีและข้ อเสีย ไม่มีลกั ษณะใดที่ดีกว่า “เมือ่ สักครู่นี ้รถของคุณผ่านโรงเรียนมาหรือเปล่า?” เขาก็ตอบ ลักษณะอื่นๆ ดังนันเราจึ ้ งต้ องการซึง่ กันและกันในการรับใช้ ว่า “ใช่ครับ” ต�ำรวจจึงกล่าวว่า “เธอคือคนที่คอยช่วยเด็กๆ พระเจ้ า นอกจากนัน้ แต่ละบุคลิกภาพก็เหมาะสมกับงาน ข้ ามทางม้ าลายหน้ าโรงเรี ยนมาตลอด 29 ปี ที่ผา่ นมา และ รับใช้ ที่แตกต่างกันด้ วย ดังนัน้ เราควรจะตระหนักว่าเรามี คนเหล่านี ้ก็คือครอบครัวของเด็กๆ ที่เธอได้ ดแู ล” บุคลิกภาพแบบใด เรี ยนรู้ที่จะพัฒนาจุดเด่นและระมัดระวัง ผู้หญิงคนนี ้เป็ นแบบอย่างที่นา่ ประทับใจจริ งๆ เธอรับใช้ จุดด้ อยของเรา และเน้ นงานรับใช้ ที่สอดคล้ องกับบุคลิกภาพ พระเจ้ าและรับใช้ ผ้ อู ื่นอย่างดีที่สดุ ตามบทบาทหน้ าที่ที่เธอได้ ของเรา รับผิดชอบ ข้ อพระคัมภีร์ “จงรักเพื่อนบ้ านเหมือนรักตนเอง” Experience (ประสบการณ์) จึงส�ำเร็ จจริ งในชีวิตของเธอ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า พระคัมภีร์ สิ่งสุดท้ ายที่สามารถท�ำให้ เรารับใช้ พระเจ้ าได้ อย่างเกิด ข้ อนี ้จะส�ำเร็ จจริ งในชีวิตของเราทุกคนเช่นกันนะครับ ที่มา: วารสารข่าวคริ สตจักร ธันวาคม 2012 ผล คือ ประสบการณ์ เราแต่ละคนมีประสบการณ์ ที่แตก ต่างกันออกไปซึง่ มีทงดี ั ้ และไม่ดี สุขและทุกข์ ไม่วา่ จะเป็ น ผู้เขียน: สาธนัญ บุณยเกี ยรติ Ph.D. (Theology and Culture), Fuller Theological Seminary, USA ประสบการณ์ในด้ านครอบครัว การศึกษา อาชีพ ความรัก คณบดีวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมคกิ ลวารี มหาวิ ทยาลัยพายัพ คริ สต์ศาสนศาสตร์ ใกล้ตวั - ตอนที ่ 23 สร้างสาวก(ของพระคริ สต์)

หน้ า 2



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.