SHE ENC

Page 1

อาหาร ประมวลภาพการ เข้าร่วมงาน CSR โรงงานบีพี

เพื่อสมองสดใส

ผลการประกาศรางวัล คาขวัญด้าน SHE

ติดหมวกนิรภัย

สอบใบขับขีเ่ ครือ เดือน กันยายน

Behavior Based Safety

ตอน 1


Introduction ขอกล่าวสวัสดีพี่และเพื่อนพนักงาน วิศวกรรมกลางทุกท่าน และขอต้อนรับเข้าสู่ วารสาร SHE ฉบับเดือนสิงหาคม ทุกท่าน คงสงสัยว่า Logo ของวารสารนั้นเปลี่ยนไป เนื่ องมาจาก คาว่า CEO ( Central engineering office ) มีความหมายไปตรง กับ Chief executive officer (ประธาน คณะกรรมการบริษัท ) ดังนั้นจึงขอ เปลี่ยนเป็ น ENC ( Engineering center ) นะครับ สุดท้ายขอฝากพี่และเพื่อนพนักงาน ปฏิบตั ิงาน โดยยึดหลักของความปลอดภัย ร่วมถึงดูแลสุขภาพให้แข็งแรง และรักษา สิ่งแวดล้อมให้คงอยูต่ ่อไปครับ นายกิตติภณ ั ฑ์ ทองระอา เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน


SHE : วิศวกรรมกลาง

SHE : ประชาสัมพันธ์

SHE : บทความน่ารู ้

Team work ช่วยให้งานประสบความเร็วและปลอดภัย


ค่านิยมองค์กรใหม่ ของ CPF

ค่านิ ยมองค์กร ของ CPF ได้กาหนดขึ้ นมา ใหม่ เพื่อให้สอดคล้องและเป็ นไปในทาง เดียวกันกับค่านิ ยมของ CPG มีดว้ ยกัน 6 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. สามประโยชน์ส่คู วามยัง่ ยืน (ต่อประเทศชาติ ประชาชน และบริษัท) 2. ทาเร็วและมีคุณภาพ 3. ทาเรื่องยากให้เป็ นเรื่องง่าย 4. ยอมรับต่อการเปลี่ยนแปลง 5. สร้างสรรค์สิ่งใหม่ 6. มีคุณธรรมและความซื่อสัตย์


ใช้ระบบ Lock out , Tag out ทุกครั้ง เพิ่มความปลอดภัยก่อนการปฏิบตั งิ าน

SHE

Engineering center


การประชุมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยครั้งที่ 2/54

เมื่อวันที่ 19 – 20 สิงหาคม ทางสานักระบบ มาตรฐานความปลอดภัย นาโดย คุณประมวล สินธารา ประธาน คุณทวี ภู่ทองคา คุณไพโรจน์ หิรญ ั พันธ์ และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทั้ง 11 โรงงาน เข้าร่วมประชุมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ครั้งที่ 2/54 ณ ห้องประชุม โรงงานผลิตอาหาร สัตว์พิษณุ โลก

โดยขอสรุปวาระสาคัญ ที่เกี่ยวข้องกับทาง วิศวกรรมกลาง ดังต่อไปนี้ - ระบบ Lock out , Tag out จะต้องนามาปฏิบตั ิ อย่างต่อเนื่ อง - การประชุมด้านความปลอดภัย เมื่อกาหนดการ ประชุมแล้ว ไม่ควรมีการเลื่อนการประชุม - การลงพื้ นที่อนั ตรายในโรงงาน จะต้องมีการขอ อนุ ญาตทุกครั้ง - สถิติอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้ น จะต้องรายงานให้ทราบ ทุกครั้ง และควรตรวจสอบเพื่อนพนักงานให้ ปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภัย


ประมวลภาพการเข้าร่วมงาน CSR โรงงานบีพี

เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ทางวิศวกรรมกลาง ได้ เข้าร่วมกิจกรรม CSR กับทางโรงงานผลิตอาหาร สัตว์หนองแคที่ทางโรงงานจัดขึ้ น โดยในงาน มี การออกบูธต่างๆ มากมาย อาทิ บูธทาอาหารจาก พืชผักสวนครัว บูธขายพืชผักสวนครัว บูธขายเห็ด ต่างๆ นอกจากนี้ ในงานยังมีเกมต่างๆ ให้เล่น มากมายร่วมไปถึงการฝึ กทาอาหารด้วยเช่นกัน


สรุปผลการสุ่มตรวจความปลอดภัย ครั้งที่ 3/54 สรุปผลการสุ่มตรวจความปลอดภัย ครั้งที่ 3/54 ทีมตรวจเครือ่ งบด และอัดจาระบี

ทีมตรวจ Function test

ทีมตรวจ Function test

ทีมวิเคราะห์พลังงาน ทีม PM Motor

ปั ญหาที่พบ 1. เตรียมเครื่องมือไม่ครบ ทีมตรวจระบบลาเลียง

แนวทางแก้ไข 1. แนะนาเรื่องอุปกรณ์เครื่องมือต้องพร้อม ปฏิบตั ิงานทุกครั้งและมีการติดตามผลของการ ตรวจครั้งหน้า ทีม Thermo scan


สรุปผลการวัดค่าดัชนีมวลกาย ครั้งที่ 2 รายชื่อ คุณกองเกียรติ เลี้ยงปิยะประเสริฐ คุณขวัญชัย ฝั่งชลจิตร์ คุณบุญชัย ธารพานิช คุณสุพจน์ แย้มสิริ คุณจันทร์ ปราสาทิกะพันธ์ คุณสมจินต์ ชมเชย คุณสัมฤทธิ์ กรึงไกร คุณพงศ์ธร หมั่นพลศรี คุณภควัตต์ กฤษดาธิการ คุณยิ่งกมล อนุพงษ์กุลกิจ คุณรัตนา หงษ์ขุนทด คุณโพธิ์ บุญไธสง คุณสมชาย ชวนประสบโชค คุณเด่นรชัย แซ่โจ้ง คุณสุนทร คันธจันทร์ คุณคุณาวุฒิ ศรีสวัสดิ์ คุณศิราทิพย์ ถังกระโทก คุณปรีชา จันทร์หอม คุณอดิชาติ ตวงสุวรรณ คุณศราวุธ อินทิรักษ์ คุณสิทธิโชค มงคลกิจเสถียร คุณสิทธิชัย พิชัยชาญเลิศ คุณวิเชษฐ อารีราษฏร์ คุณพิชิตศักดิ์ นาโสก คุณสมปอง มณีรุ่ง คุณศุภรานันท์ เล็กประเสริฐ

น้อยกว่า 18.5 18.5 - 24.9 25 - 29.9

ผอม

ปกติ

อ้วน

มากกว่า 29.9

อ้วนมาก

(+) 23.27 (+) 23.47 24.46 (+) 23.94 (+) 32.38 (+) 20.49 (+) 26.92 (+) 25.19 (-) 20.38 (-) 19.73 26.10 (-) 19.71 (+) 21.34 (+) 19.27 (-) 22.19 (+) 25.75 (-) 20.96 (-) 23.15 (+) 24.34 20.88 (+) 26.34 (-) 23.66 (-) 24.60 (-) 22.20 (+) 21.97 (-) 19.07

รายชื่อ คุณทัตชญา อนันตวงษ์ คุณเบญญา จงจิรวัชระ คุณสนธยา แสนทวีสุข คุณโกศล ธนะวัฒน์ คุณกิตติภัณฑ์ ทองระอา คุณสโรชา อารีรักษ์ คุณทศพล ทาเสน คุณเอกลักษณ์ จักรพรม คุณปรัชญา พุทชนะ คุณสุพจน์ หินพิมาย คุณวิทวัฒน์ พัดผล คุณอนันต์ ดีแปง คุณพงษ์เทพ จรัสศรี คุณปรีดา เครือแดง คุณธนกร ปัญญาดี คุณธีระ บุญศิลป์ คุณเกียรติศักดิ์ สุพร คุณนครินทร์ ชัยศิริ คุณปิยะ ศรีวิราช คุณวินัย ฉ่​่าพรมราช คุณบัญชา ชั้นชาติ คุณสนธยา วงษ์พรหม คุณอ่านาจ คุรุคราม คุณมนู จงอยู่กลาง คุณสุริยัน วรรณกุล คุณศักดิ์ดา ฟักสอน คุณธวัชชัย เสงี่ยมวงษ์ คุณเทวัญ เทพตาแสง คุณสรรค์ภพ กลัดเกษา

น้อยกว่า 18.5

18.5 - 24.9

25 - 29.9

มากกว่า 29.9

ผอม

ปกติ

อ้วน

อ้วนมาก

(-) 17.49 (-) 19.24 (+) 26.48 (-) 27.70 (-) 25.44 (-) 18.14 (-) 19.07 19.92 ไมได้รับการชั่งน้าหนัก (+) 22.11 (-) 23.28 24.11 21.62 (+) 30.07 (-) 30.32 (+) 23.75 (+) 20.24 (+) 21.52 (+) 22.8 (-) 22.68 (+) 20.01 (+) 21.61 (-) 25.05 20.62 24.59

20.52 17.78 20.08

20.07


ผลการประกาศรางวัล คาขวัญด้าน SHE ผลการประกาศรางวัล คาขวัญด้าน SHE ที่พนักงาน ส่งเข้าประกวด ขณะนี้ ผลการตัดสินออกมาแล้วครับ ซึ่งรางวัลแบ่งเป็ น 3 รางวัล มีดงั ต่อไปนี้ รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 เงินรางวัล 1,500 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ คุณสโรชา อารีรกั ษ์ พนักงานข้อมูลกลาง ฝ่ ายพัฒนาขีดความสามารถ ทางานด้วยความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมต้องสะอาด

ห่วงใยต่อสุขภาพ ปราศจากอันตราย

รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เงินรางวัล 1,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ คุณวิทวัฒน์ พัดผล ช่างเทคนิ คไฟฟ้ า ฝ่ ายซ่อมบารุงกลาง 2 S – ปลอดภัย H – อนามัย E – แวดล้อม เตรียมให้พร้อมก่อนทางาน

รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 เงินรางวัล 700 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ คุณนันทพล ภัทรนฤมล วิศวกร 4 ฝ่ ายวิศวกรรมโรงงาน 2

ทางานอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ และรักษาสิ่งแวดล้อม ขอแสดงความยินดีกบั พนักงานที่ได้รบั รางวัลทุก ท่าน ส่วนเรื่องการมอบรางวัล จะแจ้งให้ พนักงานทราบอีกครั้งครับ


สรุปสถิติความปลอดภัยของพนักงานและยานยนต์

สรุปสถิตคิ วามปลอดภัยของพนักงานและยานยนต์

ตั้งแต่วนั ที่ 26 กรกฎาคม – วันที่ 25 สิงหาคม 2554 เดือน

จานวน จานวนครัง้ อุบตั เิ หตุ จานวนวัน จานวน จานวน พนักงาน วันทางาน ชั ่วโมงทางาน ทรัพย์สิน หยุดงาน หยุดงาน ไม่หยุดงาน ทั้งหมด ทั้งหมด ทั้งหมด เสียหาย ( วัน )

ปี 2553

81

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม รวม

IFR

ISR

ชั ่วโมง จานวน ปลอดอุบตั เิ หตุ วันปลอด อุบตั เิ หตุ สะสม

31,360

1

3

0

3

6.38

19.13

31,360

98 98 110 110 106 106 106 105

296 24 22 25 20 24 24 24 25

18,816 17,248 22,000 17,600 20,352 20,424 21,312 23,088

0 0 0 0 0 1 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 2 0 0

0 0 0 0 0 9.79 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 19.58 0.00 0.00

50,176 67,424 89,424 107,024 127,376 147,800 169,112 192,200

49 24 22 25 20 24 23 24 26

105

484

192,200

1

0

0

2

9.79

19.58

192,200

237


สรุปสถิติความปลอดภัยของพนักงานและยานยนต์

เลขทะเบียนรถ

ชื่อผูเ้ ป็ นเจ้าของรถ

สังกัด

สิงหาคม

ถถ-3017 ฎส-3787 ถถ-3036 ถถ-3010 ฌห-7730 ฌห-2654 ฎพ-7843 ฎม-5106 ฎย-5507 ฎถ-3530 ถช-6825 ถฬ-255 ฌฐ-9201 ถถ-2853 ถพ-2037 ถส-8300

ปรีชา จันทร์หอม ทศพล ทาเสน วิทวัฒน์ พัดผล สุนทร คันธจันทร์ อานาจ คุรุคราม สัมฤทธิ์ กรึงไกร บัญชา ชั้นชาติ อัครพงษ์ สุภาจันทร์ วรเดช พัทยาวรรณ สมพร ตันติเมธานนท์ ปรเมษฐ์ ไชยสมบัติ ศักดิ์ชยั พึ่งครบุรี เอกรัฐ อนุ มานศิริกุล เกริก แก้วสกุลณี อธิราช อัศวชินโชติ ณัฐวุฒิ จันทร์เพ็งเพ็ญ

วิศวกรรมโรงงาน วิศวกรรมโรงงาน วิศวกรรมโรงงาน วิศวกรรมโรงงาน วิศวกรรมโรงงาน วิศวกรรมโรงงาน วิศวกรรมโรงงาน ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง ก่อสร้างกลาง

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0


ทัศนคติของพนักงานเกี่ยวกับความปลอดภัย สาหรับตัวผมแล้วคิดว่าไม่ว่าเราจะทาอะไร ต้องคานึงถึงความปลอกภัยมาเป็ นอันดับแรก เสมอสาหรับการทางานก็เหมือนกัน ถ้าเรามีสติ และมีความระมัดระวัง รอยคอบอยูต่ ลอดเวลา ผมเชื่อได้ว่าจะไม่มีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้ นกับตัวของ เราอย่างแน่นอนสุดท้ายผมขอให้พี่ๆ เพื่อนๆ ทุกคนมีสติและมีสตางค์กนั ทั ่วหน้า สาธุ !!!

นายเทวัญ เทพตาแสง ช่างเทคนิ คไฟฟ้ า ฝ่ ายซ่อมบารุงกลาง 4

สาหรับผม ความปลอดภัยในการทางานเป็ น สิ่งสาคับอย่างยิ่งที่ตอ้ งคานึงถึง ซึ่งก่อนเราเข้า ปฏิบตั ิงานทุกครั้งก็ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วน บุคคลให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ถ้าเราไม่ คานึงถึงความปลอดภัยก็อาจจะเกิดความเสียหาย ขึ้ นกับตัวเราและบริษทั ได้ ดังนั้นผมหวังว่าทุกท่าน จะให้ความสาคัญถึงความปลอดภัยก่อนเสมอ ขอบคุณครับ นายสรรค์ภพ กลัดเกษา ช่างเทคนิ คไฟฟ้ า ฝ่ ายซ่อมบารุงกลาง 4


สติ๊กเกอร์ติดหมวกนิรภัย

ประชาสัมพันธ์

ประชาสัมพันธ์ เรื่อง การดูแลและการป้องกัน หมวกนิ ร ภัย สูญ หาย ขณะนี้ ทางเจ้า หน้ า ที่ ค วาม ปลอดภัย ได้จดั ทา สติ๊กเกอร์ ดังตัวอย่างด้านล่าง เพื่อป้องกันการสูญหายหมวกนิ รภัยของพนั กงาน และเพื่อสร้างจิตสานั กที่ดีในการดูแลรักษาหมวก ของตนเองให้อยู่ได้นาน ซึ่งทางพนั กงานสามารถ มาขอรั บ ได้ ที่ ผู้ จั ด การฝ่ าย หั ว หน้ า งาน และ เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ ค วาม ปลอดภัย ได้ด าเนิ น การแจกให้กับ พนั ก งานแล้ว บางส่วน

ตัวอย่างสติ๊กเกอร์และวิธีการติด


รณรงค์การติดบัตรประจาตัวพนักงาน ขอเชิญชวนพนักงานทุกท่าน ติดบัตรทุกครั้งก่อน เข้าโรงงานและขณะปฏิบตั ิงานอยูต่ ามข้อบังคับของ บริษัท เพื่อให้เกิดความเป็ นระเบียบ และการระบุ ชื่อ – หน่ วยงาน และแสดงสถานะเป็ นพนั กงาน ของบริ ษั ท กรณี บั ต รช ารุ ด สู ญ หา ย ให้ รี บ ดาเนิ นการทาบัตรใหม่ ส่วนเรื่องบัตรรูปแบบใหม่ ที่ จ ะมาแทนบัต รเก่ า ขณะนี้ รอให้ท างฝ่ ายบุ ค คล จากบริ ษั ท กรุ ง เทพผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร จ ากั ด (มหาชน) หรือตรอกจันทน์ ส่งมาให้เท่านั้น

สอบใบขับขี่เครือ เดือน กันยายน เรี ยนผูท้ ี่ ตอ้ งการสอบใบขับขี่ เครื อทุ กท่ าน ทาง บริ ษั ท ได้ เ ปิ ดอบรมหลั ก สู ต ร การขั บ ขี่ อ ย่ า ง ปลอดภัยขั้นพื้ นฐาน และขอรับใบขับขี่ เครือ ของ เดือนกันยายน วันที่ 15 – 16 กันยายน 2554 ที่หอ้ งประชุม 1 บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) หรือตรอกจันทน์ แจ้งความ ประสงค์ที่ผูจ้ ดั การฝ่ ายทุกท่าน ได้ โดยจะต้องรีบ ดาเนิ นการ เนื่ องจากมีผูท้ ี่สนใจและทดสอบจานวน มาก


Behavior Based Safety: BBS ตอน 1 วัฒนธรรมความปลอดภัย : Safety Culture ณ โรงงานแห่งหนึ่ง

บทความน่ารู ้

พนักงานใหม่ได้รบั การปฐมนิ เทศเกี่ยวกับความ ปลอดภัยมาเป็ นอย่างดี ว่าขณะที่ทางานต้องสวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายทุกครั้ง และอย่าไปสนใจกับ พนักงานเก่าที่ใช้บา้ งไม่ใช้บา้ งเลย เพราะพวกเขา แก้ไขได้ยาก” หลังจากพนักงานใหม่คนนี้ ทางานไป ระยะหนึ่ ง เขากลายเป็ นพนักงานเก่าที่ใช้อุปกรณ์ ป้องกันบ้างไม่ใช้บา้ ง


Behavior Based Safety: BBS ตอน 1 ณ โรงงานอีกแห่งหนึ่ง พนั ก งานใหม่ อี ก คนหนึ่ ง ได้รั บ การปฐมนิ เทศ เกี่ ยวกับความปลอดภัย แม้ไม่ได้รับการกาชับให้ สวมใส่อุปกรณ์ความปลอดภัยทุกครั้ง แต่พนักงาน เก่ า ทุ ก คนสวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ องกัน ครบ ตั้ง แต่ วัน แรกๆเขาก็ ใ ช้ค รบถ้ว นที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น เป็ น อิทธิพลของ วัฒนธรรมความปลอดภัย ” ที่มีอยู่ใน องค์การนั น่ เอง วัฒนธรรม ก็คือ “พฤติกรรมที่ถูก เลือกและถือปฏิบตั ิกนั โดยรวมของคนในองค์การ”

ลักษณะ 3 ประการของวัฒนธรรมความปลอดภัย 1. ทุกคนทาตามกฎความปลอดภัยอย่าง เคร่งครัดโดยไม่ตอ้ งบังคับ 2. ทุกคนสามารถตรวจตราความปลอดภัย ได้ตวั เอง 3. ทุกคนเชื่อว่าตัวเองปลอดภัย โรงงานก็ ปลอดภัยทั้ง Software และHardware แล้ว ท าไม่ ต ้อ งมี วัฒ นธรรมความปลอดภัย ? ก็ เพราะ อุบตั ิเหตุมีสาเหตุจากคนถึงกว่า 80% และ อุ บั ติ เ หตุ เ ป็ นสิ่ ง ที่ ย อมรั บ ไม่ ไ ด้ มัน สะท้อ นถึ ง ระดั บ ของการพัฒ นาการ การท างานร่ ว มกั น ภายใน และประสิทธิ ภาพของผูบ้ ริหารสูงสุ ดของ องค์กร


Behavior Based Safety: BBS ตอน 1 Behavior Based Safety: BBS คือการนาหลักการด้านพฤติกรรมศาสตร์มาใช้ใน การปรับปรุงระบบความปลอดภัย เพื่อสร้างให้เกิด วัฒนธรรมความปลอดภัย พฤติกรรม - การกระทาที่มองเห็นได้ ทั้งด้าน บวกและแง่ลบ ทัศนะคติ - คุณค่าภายในที่สะท้อนออกมาของ บุคคลในรูปของพฤติกรรม วัฒนธรรม - แนวทางหรือมาตรฐานของ พฤติกรรม ที่ปฏิบตั ิโดยกลุ่ม

หลักการพื้ นฐานของ BBS • BBS เป็ นกระบวนการ ไม่ใช่ Project เพราะทา อย่างต่อเนื่ อง ได้ผลในระยะยาว • BBS สร้างให้เกิดความร่วมมือ และการมีส่วนร่วม ไม่โทษลูกจ้างฝ่ ายเดียว เพราะเป็ นหน้าที่ฝ่ายจัดการ • BBS มีการวัดผล รับฟั ง Feedback และใช้สถิติมา ช่วย โปรดติดตาม เรื่อง Behavior Based Safety: BBS ตอนจบ ได้ในวารสาร เดือน กันยายนครับ อย่าพลาด

มาร่วมเป็ นส่วนหนึ่ งในวัฒนธรรมความปลอดภัย ที่ ทุกคนมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้มี ประสิทธิภาพที่ยงั ่ ยืนต่อไป


การใช้อุปกรณ์ PPE ตอน 2 อุปกรณ์ฯ ที่ดีควรมีความพอดีกบั ใบหน้าไม่บด บังสายตา มีความสบายขณะสวมใส่ น้ าหนัก เบา ทนทานต่อความร้อนและการกัดกร่อน ของสารเคมี ไม่ก่อให้เกิดอาการระคายเคือง ต่อผิวหน้ง

3.1 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา ได้แก่ แว่นตานิ รภัย ครอบตานิ รภัย บังหน้า หน้ากากกรองแสง

กระ

ใช้ในกรณีที่อาจมีอนั ตรายเกิดขึ้ นกับใบหน้า และดวงตา จึงต้องมีอุปกรณืสาหรับป้องกัน ใบหน้าและดวงตา แล้วแต่ชนิ ดของงานที่อาจ เกิดอันตรายเพื่อป้องกันวัตถุกระแทกดวงตา ป้องกันของเหลวกระเด็นเข้าตาและป้องกัน ความร้อน รังสี แสงสว่างจ้าเข้าตา

อุปกรณ์ลา้ งตาฉุกเฉิน เพื่อชาระล้างสารเคมี ที่กระเด็นใส่หน้าและ ดวงตา วิธีทาความสะอาดและบารุงรักษา ทาความสะอาดหลังการใช้งานทุกวันด้วยน้ า สบู่หรือน้ ายาฆ่าเชื้ อโรค หมัน่ ตรวจหารอยชารุด แตก และตรวจสภาพอุปกรณ์ให้อยูใ่ นสภาพที่ดี เก็บรักษาในที่ที่สะอาด ปราศจากฝุ่น


20 อาหาร เพื่อสมองสดใส ตอน 1

1.บลูเบอร์รี่ ลูกเบอร์รี่ต่าง ๆ คือหนึ่ งในอาหารที่ดีที่สุดสาหรับ มนุ ษย์เรา และบลูเบอร์รี่ก็ดีต่อสมองมาก ๆ เนื่ องจากมีใยอาหารสูงแต่ค่าดัชนี น้ าตาลตา่

3.ทับทิม ทับทิมมีสารต้านอนุ มลู อิสระ เช่นเดียวกับบลูเบอร์ รี่ ซึ่งจาเป็ นมาก ๆ สาหรับสุขภาพของสมองควร จะกินจากผลสด ๆ มากกว่าดื่มน้ าคั้น เพราะจะได้ ใยอาหารด้วย

2.แซลมอนธรรมชาติ กรดไขมันจาเป็ น โอเมก้า-3 เป็ นสิ่งที่สาคัญต่อ สมองมาก ไขมันที่มีประโยชน์นี้มีความเกี่ยวพันกับ สติปัญญา ช่วยให้กระปรี้ กระเปร่า ชะลอความ เสื่อมถอยของระบบประสาทส่วนกลาง

4.กาแฟ เมล็ดกาแฟเต็มไปด้วยสารต้านอนุ มลู อิสระ กรดอะมิโน วิตามิน และแร่ธาตุ โดยเฉพาะผง กาแฟจากเมล็ดที่บดใหม่ ๆ จะมีประโยชน์ต่อทั้ง สมองและร่างกายมาก ส่วนกาเฟอีนก็ได้รบั การ พิสจู น์แล้วว่ามีผลดีต่อสมองเช่นกัน


20 อาหาร เพื่อสมองสดใส ตอน 1

5.ถั ่ว ถัว่ มีท้งั โปรตีน ใยอาหาร และไขมันที่มีประโยชน์ คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนที่อยูใ่ นถัว่ จะทาให้เรา แจ่มใสได้ ในขณะที่โปรตีนและไขมันจะช่วยให้ พลังงานคงระดับตลอดทั้งวัน

7.ข้าวกล้อง ด้วยความที่มีค่าดัชนี น้ าตาลตา่ ข้าวกล้องจึงดีมาก ๆ สาหรับคนที่แพ้กลูเธนเพื่อให้สุขภาพของหลอด เลือดหัวใจแข็งแรงขึ้ น

6.ทูน่า นอกจากจะเป็ นแหล่งของโอเมก้า 3 แล้ว ปลาทูน่า โดยเฉพาะปลาทูน่าครีบเหลือง ซึ่งมีระดับวิตามิน บี 6 สูงกว่าอาหารประเภทอื่น ๆ วิตามินบี 6 นี้ เกี่ยวพันโดยตรงกับความจาและสติปัญญา

8.ชาเขียว ผงชาเขียวสารที่ชื่อว่า Catechin วิตามินเอและซี ฟลูออไรด์ และสาร L-Theanine ซึ่งช่วยในเรื่อง สมาธิ แค่เฉพาะสารต้านอนุ มลู อิสระอย่างเดียวก็มี มากกว่าบลูเบอร์รี่ถึง 33 เท่า


20 อาหาร เพื่อสมองสดใส ตอน 1

9.เมล็ดพืช ไม่วา่ จะเป็ นเมล็ดทานตะวัน เมล็ดแฟล็กซ์ เมล็ด ฟั กทอง หรือเมล็ดพืชอื่น ๆ ก็ลว้ นมีโปรตีน ไขมัน วิตามินอี สารต้านอนุ มลู อิสระ และแร่ธาตุซึ่งช่วย เสริมสร้างสมองอย่างแมกนี เซียม

10.ข้าวโอ๊ต ข้าวโอ๊ตมีใยอาหารและก็มีโปรตีนอยูพ่ อสมควร หรือแม้แต่โอเมก้า-3 ก็ยงั มีอีกจานวนหนึ่ ง การ กินข้าวโอ๊ตตอนเช้าจะช่วยให้เราแจ่มใส และไม่ง่วง นอนแม้ในยามบ่ายด้วย

โปรดติดตาม อาหาร เพื่อสมองสดใส อีก 10 ชนิ ด ในตอนต่อไปครับ และอย่าลืมนะครับ สุขภาพดี การปฏิบตั ิงานก็ ปลอดภัยครับ


อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทางาน ตอน 1

การทางานในชีวติ ประจาวันของคนเรานั้น จะต้องสัมผัสสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันไป ทาให้ ผูป้ ฏิบตั ิงานแต่ละคนมีโอกาสสัมผัสปั จจัยที่เป็ น อันตราย และได้รบั ผลกระทบหรือเกิดโรคอัน เนื่ องมาจากการทางานแตกต่างกันไปตาม สถานภาพ ลักษณะหน้าที่การงานของแต่ละคน อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทางาน อาจสรุป โดยแบ่งตามด้านต่าง ๆ ได้ดงั นี้

ด้านกายภาพ (Physical Agents) 1. แสงสว่าง (Illumination) - ปั ญหาการใช้สายตา กล้ามเนื้ อตา สมรรถภาพการมองเห็น - ประสิทธิภาพการทางานลดลง - ทางานผิดพลาด -- เกิดอุบตั ิเหตุจากการทางาน


2. เสียงดัง (Noise) - ผลกระทบต่อสมรรถภาพการได้ยนิ เกิดอาการหู เสื่อม - ปั ญหาการสื่อสาร -- เกิดอุบตั ิเหตุได้ง่ายขึ้ น - ปั ญหาสุขภาพจิต -- ประสิทธิภาพการทางาน

3. ความร้อน (Heat Stress) - อุณหภูมิภายในร่างกายสูงขึ้ น - สูญเสียน้ า เกลือแร่ เกิดอาการอ่อนเพลีย หมดสติ - เป็ นตะคริว ลมชักเนื่ องจากความร้อน - เป็ นผด ผื่นเนื่ องจากความร้อน - ประสิทธิภาพการทางานลดลง


4. ความสั ่นสะเทือน (Vibration) - กรณีทวั ่ ร่างกาย (Whole body) ทาให้เกิดปั ญหา กล้ามเนื้ อ กระดูก การหมุนเวียนโลหิต การควบคุม ร่างกาย ฯลฯ - กรณีเฉพาะบริเวณ (Hand-Arm) กระทบต่อการ หมุนเวียนโลหิตบริเวณนั้น ทาให้เกิดอาการเนื้ อ ตายได้ นอกจากนี้ อาจทาให้เนื้ อเยือ่ อ่อนของมือ เกิดอาการอักเสบลุกลามไปถึงกระดูกข้อมือ หรือ ทาให้กล้ามเนื้ อมือเป็ นอัมพาตหรือทาให้อวัยวะ บางส่วนลีบได้

5. รังสี (Radiation) - กรณีปริมาณรังสีตา่ ส่งผลกระทบต่ออวัยวะ เป้าหมาย เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง ความ ผิดปกติทางพันธุกรรม และการมีอายุส้นั ลง - กรณีปริมาณรังสีสงู ทาลายเซลล์ เกิดความผิดปกติ รุนแรง และอาจถึงเสียชีวติ ได้


6. ความกดดันบรรยากาศ (Decompression) - เกิดอาการปวดหู หูอื้อ เวียนศีรษะ - เกิดฟองอากาศในเลือด และมีอาการเป็ นตะคริว - เกิดภาวะขาดออกซิเจน ส่งผลกระทบต่ออวัยวะต่าง ๆ กดปุ่ ม Safety First ทุกครั้งก่อนปฏิบตั ิงาน ช่วยคุม้ ครองอันตรายให้กบั ท่านได้ โปรดติดตาม เรื่อง อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทางาน ตอนจบ ได้ในวารสาร เดือน กันยายนครับ


เฉลยภาพปริศนา

ภาพของคุณคุณาวุฒิ ศรีสวัสดิ์ วิศวกร 4 ฝ่ ายซ่อมบารุงกลาง 4

เฉลย >> ทาตามนี้ ครับ PLAYER 2 : 5d > 4c PLAYER 1 : 7f > 3b (บังคับกิน) PLAYER 2 : 5b > 4a PLAYER 1 : 8c > 6e (บังคับกิน) PLAYER 2 : 4a > 6g (บังคับกิน)


2 พยางค์ = ดูถูก

2 พยางค์ = ซี่โครง

3 พยางค์ = บังกะโล

5 พยางค์ = แปดเหลี่ยมสิบสองคม


ภาพปริศนา ภาพนี้ คือภาพของใคร มาหาศัพท์ภาษาอังกฤษกันเถอะ พี่และเพื่อน ลองหาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษดูนะครับ ในตาราง ไม่ ยากครับ

พี่และเพื่อนลองหาสิครับว่านายพรานกาลัง ล่าหมีอยู่ แต่มนั ซ่อนอยูต่ รงไหนกันนะ


เส้นทางการทางานครั้งใหม่ของพนักงาน 1 ท่าน

ขอขอบคุณ คุณศุภรานันท์ เล็กประเสริฐที่ได้ มอบสิ่งดีๆให้กบั วิศวกรรมกลางมา โดยตลอด และขอให้ท่านประสบ ความสาเร็จในหน้าที่การงาน ที่กาลัง เริ่มต้น ให้กา้ วหน้าขึ้นไปในอนาคต

คุณศุภรานันท์ เล็กประเสริฐ ได้งานใหม่


By Kittiphan Thongraar


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.