สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร?
[1] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร? พิมพ์ครั้งแรก : พฤษภาคม ๒๕๕๘
จำนวนพิมพ์ : ๒๐,๐๐๐ เล่ม
ประสำนกำรผลิต สานักสื่อสารการพัฒนา
สนับสนุนกำรผลิตโดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ๙๑๒ ถนนนวมินทร์ คลองจั่น บางกะปิ กทม. ๑๐๒๔๐ โทร. ๐-๒๓๗๘-๘๓๐๐ โทรสาร ๐-๒๓๗๘-๘๓๒๑ Homepage : www.codi.or.th
[2] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
สารบัญ “สมัชชาพลเมือง”คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร?
๔
“สมัชชาพลเมือง” มีวัตถุประสงค์อย่างไร?
๖
“สมัชชาพลเมือง” จัดตั้งในระดับหรือพื้นที่ใด?
๘
จะจัดตั้ง “สมัชชาพลเมือง” ได้อย่างไร?
๙
การดาเนินการจัดตั้ง “สมัชชาพลเมือง”
๑๑
โครงสร้างการทางานของ “สมัชชาพลเมือง”
๑๓
กลไกส่งเสริม “สมัชชาพลเมือง” ระดับชาติและระดับจังหวัด
๑๖
[3] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
“สมัชชาพลเมือง” คืออะไร? และ มีแนวทางอย่างไร?
ร่างรัฐธรรมนูญนี้ ได้ให้ความสาคัญของ “พลเมือง” อย่างมาก ด้ ว ยการปกป้ อ งสิ ท ธิ ด้ า นต่ า งๆ รวมทั้ ง การสร้ า งโอกาสให้ พ ลเมื อ ง สามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหารท้องถิ่น ทั้งทางตรงและ ทางอ้อม โดยแนวทางนี้ “สมัชชาพลเมือง” เป็นเรื่องที่มีความสาคัญ มากเรื่ อ งหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยสร้ า งพื้ น ที่ แ ละกลไกการมี ส่ ว นร่ ว มของ ภาคพลเมื อ งที่ ก ว้ า งขวาง เป็ น ที่ ย อมรั บ เป็ น ไปตามพลวั ต รของ ภาคพลเมื อ งเอง มี ค วามหลากหลายตามความแตกต่ า งของแต่ ล ะ ภูมิสังคม และสามารถดาเนินการครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อเป็นเวทีการ เชื่อมโยงกลุ่มองค์กรที่มีอยู่ในพื้นที่สู่การเรียนรู้และการทางานร่วมกัน สร้างความสมานฉั นท์ของภาคพลเมืองกลุ่มต่างๆ ในพื้นที่ เพื่อทาให้ เกิดความเข้มแข็งและประสิทธิภาพในการพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากร คุณภาพของคน ชุมชน และท้องถิ่น ร่วมกับ หน่วยงานที่มีอยู่ และเพื่อสร้างความเข้มแข็งของภาคพลเมืองเอง
[4] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
ในวรรคที่สอง สาม และสี่ ในมาตราที่ ๒๑๕ หมวดที่ ๗ ของ ร่างรัฐธรรมนูญ เรื่องการกระจายอานาจ และการบริหารท้องถิ่น ได้ กาหนดเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสมัชชาพลเมือง ดังนี้ “.... องค์กรบริหารท้องถิ่นมีหน้าที่ต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน โดยอย่างน้อยต้องเปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร รายงาน ผล การดาเนินงาน และรายงานการเงิน และสถานการณ์การคลังท้องถิ่น ให้ประชาชนทราบ ส่งเสริมสมัชชาพลเมือง รวมทั้งต้องจัดให้ประชาชน มีส่วนร่วมตัดสินใจในการดาเนินงานที่มีผลกระทบต่อประชาชน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ เพื่อประโยชน์ในการมี ส่วนร่วมของประชาชนตามมาตรานี้ พลเมืองอาจรวมตัวกันเป็นสมัชชาพลเมือง ซึ่งประกอบด้วย สมาชิก ที่มาจากองค์ประกอบที่หลากหลายจากพลเมืองในท้องถิ่น และมีความ เหมาะสมกับภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่ มีภารกิจในการร่วมกับองค์การ บริหารท้องถิ่นในการดาเนินการตามที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ องค์ประกอบ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม ที่มา วาระการ ดารงต าแหน่ ง ภารกิ จ ของสมั ช ชาพลเมื อ งและการอื่ น ที่ จาเป็ น ให้ เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ....”
[5] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
“สมัชชาพลเมือง” มีวตั ถุประสงค์ อย่างไร? เชื่อมโยงกลุ่มองค์กร ผู้คนพลเมืองในพื้นที่ มาร่วมกันทางาน ปรึ ก ษาหารื อ เรี ย นรู้ เท่ า ทั น ความเป็ น ไป และการ เปลี่ยนแปลง รวมทั้งการพัฒนาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ มีส่วนร่วมกับการพัฒนาท้องถิ่น ร่วมกับองค์กรท้องถิ่นและ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง ในด้ า นการให้ ค วามคิ ด เห็ น ร่วมพัฒนา และร่วมติดตาม ร่ ว มปกป้ อ งรั ก ษา อนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและศิลปวัฒนธรรมอันดี ที่มีอยู่ในท้องถิ่น สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ พลเมื อ ง ปกป้ อ งคุ้ ม ครอง ผลประโยชน์ของพลเมื อง สร้างพื้นที่ความรู้ สร้างการตื่นรู้ สร้างโอกาสให้พลเมืองเข้าถึงข้อมูล สิทธิประโยชน์และโอกาส การพัฒนาต่างๆ เพื่อเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง มีจิตสาธารณะ เชื่อมโยงกันเป็นชุมชนและพึ่งตนเองได้ [6] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
เสริ ม สร้ า งการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ที่ ส มานฉั น ท์ มี เ ป้ า หมายที่ พลเมื อ งในพื้ น ที่ เชื่ อ มโยงกลุ่ ม คน องค์ ก ร เครื อ ข่ า ย หน่ ว ยงาน สถาบั น องค์ ก รท้ อ งถิ่ น หน่ ว ยงานท้ อ งที่ ภาคเอกชน ราชการ ให้ ส ามารถร่ ว มมื อ กั น ท างาน ร่ ว ม วางแผน ร่วมวางเป้าหมาย ร่วมจัดการ ร่วมทุน ร่วมแบ่งปัน ความสาเร็จ โดยมุ่งผลสาเร็จที่คุณภาพของพลเมืองที่เข้มแข็ง และความอุดมสมบูรณ์ ความก้าวหน้าของพื้นที่ ร่วมตรวจสอบ และ เฝ้าระวัง การดาเนินงานและการพัฒนา ในพื้นที่ให้ถูกต้อง ปราศจากปัญหาทุจริต การเห็นแก่พวกพ้อง ส่ ง เสริ ม ระบบการเมื อ งและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ที่ ใ สสะอาด มี ความเป็ น ธรรมต่ อ ประชาชนพลเมื อ งอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ประสาน ร่วมมือกับสภาตรวจสอบภาคประชาชนในจังหวัด
[7] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
“สมัชชาพลเมือง” จัดตั้งในระดับหรือ พื้นที่ใด? สมั ช ชาพลเมื อ ง เป็ น กลไกการท างานของภาคประชาชน พลเมือง สามารถจัดตั้งในพื้นที่ ๓ ระดับ คือ - ระดับท้องถิ่นขนาดเล็ก เช่น ตาบล เทศบาล - ระดับจังหวัด - ระดับที่เชื่อมโยงตามภูมินิเวศน์เดียวกัน เช่น ฝั่ง ทะเล (อันดามัน) พื้นที่ชุมชนเดียวกัน บริเวณลุ่ม น้าเดียวกันที่ผ่านหลายจังหวัด ชุมชนที่ร่วมอยู่ใน ผืนป่าที่เชื่อมระหว่างจังหวัด สมัชชาพลเมืองมีความสัมพันธ์และทางานเชื่อมโยงกันแต่มี อิสระต่อกัน สมัชชาพลเมืองของพื้นที่ใดก็เป็นของกลุ่มองค์กร และประชาชนพลเมืองในพื้นที่นั้นๆ มิได้ขึ้นกับสมัชชาพลเมือง ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น สมัชชาพลเมืองตาบล ไม่ต้องขึ้นอยู่กับ สมัชชาพลเมืองจังหวัด แต่มีการเป็นตัวแทนทางานร่วมกัน
[8] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
จะจัดตั้ง
“สมัชชาพลเมือง” ได้อย่างไร
? อั น ที่ จ ริ ง รู ป แบบการท างานของสมั ช ชาพลเมื อ งหรื อ สภาพลเมือง ที่มีการโยงกลุ่มองค์กรต่างๆ ในพื้นที่ มาร่วมกันทางาน สร้างแผน สร้างกลไกร่วม และการทางานร่วมกับท้องถิ่น ได้เกิดขึ้นแล้ว เป็นจานวนมาก อย่างหลากหลายรูปแบบ ในพื้นที่ต่างๆ ทั้งระดับตาบล และระดับจังหวัด ทั้งที่เป็นทางการ เช่น สภาองค์กรชุมชนระดับตาบล ที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติส ภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551 ปัจจุบันมี การจัดตั้งแล้วกว่า 4,500 ตาบลทั่วประเทศ ตาบลอื่นที่แม้จะไม่มีสภา องค์กรชุมชนที่จดแจ้งจัดตั้งเป็นทางการ ก็มักมีการทางานเชื่อมโยงกัน หลากหลายรูปแบบ ทั้งสนับสนุนหรือจัดตั้งโดยองค์กรท้องถิ่นเองหรือ ริเริ่มกันเองอยู่อีกจานวนไม่น้อย ส่วนในระดับจังหวัด ซึ่งจากข้อมูล พบว่า มีการทางานในรูปแบบสภาพลเมือง หรือ สมัชชาพลเมือง อย่าง ไม่เป็นทางการ หรือ กึ่งทางการ (เนื่องจากได้รับการยอมรับและมี ความร่วมมื อในการท างานกั บหน่ วยงานในระดับ จั งหวัด ) มีม ากถึ ง ประมาณ 49 จังหวัด และจานวนนี้มีจังหวัดที่มีการทางานต่อเนื่อง เข้มแข็งอยู่ถึงประมาณ 20 จังหวัด จึงทาให้การจัดตั้งสมัชชาพลเมือง [9] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
ที่จะเกิดขึ้นตามกฎหมาย ไม่ใช่เรื่องที่ยาก และไม่ใช่การทางานใหม่เสีย ทีเดียว แต่จะใช้ศักยภาพ ประสบการณ์ และพลังที่เกิดขึ้นแล้วเหล่านี้ เป็ น พื้ น ฐานสร้ า งสมั ช ชาพลเมื อ งในแต่ ล ะพื้ น ที่ ที่ มี ม าตรฐาน มี ประสิทธิภาพ เข้มแข็ง มีส่วนร่วม และเป็นของคนในพื้นที่อย่างแท้จริง
“การจัดตั้งสมัชชาพลเมืองที่จะเกิดขึ้นตามกฎหมาย ไม่ใช่เรื่องที่ยาก และไม่ใช่การทางานใหม่เสียทีเดียว แต่จะใช้ศักยภาพ ประสบการณ์ และพลังที่เกิดขึ้นแล้วเหล่านี้ เป็นพื้นฐานสร้างสมัชชาพลเมือง ในแต่ละพืน้ ที่ที่มีมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ เข้มแข็ง มีส่วนร่วม และเป็นของคนในพื้นที่อย่างแท้จริง”
[ 10 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
การจัดตั้ง
“สมัชชาพลเมือง” ดาเนินการดังนี้ ๑) ศึ ก ษารวบรวมข้ อ มู ล ขององค์ ก ร กลุ่ ม ภาคส่ ว นที่ มี ก าร ทางานอยู่ในพื้นที่ รูปแบบสภาพลเมืองหรือกลไกการทางาน ร่ ว มกั น เครื อ ข่ า ยพื้ น ที่ ที่ มี ก ารด าเนิ น การอยู่ แ ล้ ว คนที่ เกี่ยวข้อง ๒) ตั้งคณะกรรมการร่วมในพืน้ ที่เพื่อริเริ่มจัดตั้งสมัชชาพลเมือง คณะกรรมการร่วมควรประกอบด้วย องค์กรสนับสนุนการ พัฒนาที่ทางานสนับสนุนภาคชุมชนและประชาสังคม องค์กร ทัองถิ่น หน่วยงานพัฒนา ตัวแทนภาคชุมชนและประชาสังคม ในพื้นที่ คณะกรรมการจัดตั้งดังกล่าวต้องศึกษาข้อมูลตาม ข้อ ๑ ๓) การจัดตั้งสมัชชาพลเมืองต้องเชิญตัวแทนกลุ่มองค์กรใน พื้นที่มาประชุม เพื่อร่วมกันจัดตั้งคณะกรรมการร่วม จะต้อง เชิญองค์กร หน่วยงาน กลุ่ม บุคคล ตามข้อ ๑ มาหารือวิธีการ [ 11 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
ร่ ว มกั น จั ด ตั้ ง สมั ช ชาพลเมื อ ง โดยให้ ก าหนดขั้ น ตอน วิ ธี ทางาน และตกลงตั้งกลไกประสานงานระหว่างกันขึ้นมา ใน ระยะจัดตั้งด้วย ความเห็นชอบของคณะกรรมการจัดตั้ง การ จั ด ตั้ ง จะเกิ ด ขึ้ น ได้ เ มื่ อ มี ก ารจั ด การประชุ ม ใหญ่ เ พื่ อ จั ด ตั้ ง สมั ช ชาพลเมื อ งในพื้ น ที่ ตามแผนและข้ อ ตกลง และกลุ่ ม องค์ก รส่ วนใหญ่ ใ นพื้นที่ เห็นด้ วยกับ การจั ดตั้ง พร้อมกลไก ประสานงาน โครงสร้าง และแผนการทางานขั้นต้นที่เกิดขึ้น คณะกรรมการร่ ว มที่ ริ เ ริ่ ม การจั ด ตั้ ง จะต้ อ งเห็ น ชอบกั บ กระบวนการและผลสรุปที่เกิดขึ้น
[ 12 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
โครงสร้าง การทางานของ
“สมัชชาพลเมือง”
โครงสร้างสมัชชาพลเมืองอาจมีความแตกต่างกันในแต่ละ พื้นที่ ตามบริบทและภูมิสังคมที่แตกต่างกัน แต่จะต้องมีการ ประชุมและเห็นชอบร่วมกันในที่ประชุมใหญ่ระดับพื้นที่ ซึ่งมี ส่ ว นร่ ว มจากกลุ่ ม องค์ ก ร กลไกสนั บ สนุ น และหน่ ว ยงาน เกี่ยวข้อง สมัชชาพลเมืองจะมีกลไกคณะประสานงาน ทาหน้าที่เป็น คณะเลขาธิการ มีหน้าที่ประสานการทางานทั่วไปกับทุกกลุ่ม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างการมีส่วนร่วม เข้าถึงทุกกลุ่ม หรือทุกกลุ่มเข้าถึงได้ดาเนินการตามแผนและมติของสมัชชา พลเมืองที่มีการตกลงกันจัดกิจกรรมต่างๆ คณะกรรมการกลาง หรือคณะกรรมการชุดต่างๆ และการ เป็นตัวแทน ที่ประชุมอาจมีการแต่งตั้งคณะกรรมการกลาง เพื่อทาหน้าที่ตัดสินใจเรื่องต่างๆ ร่วมกัน หรือมีคณะทางาน [ 13 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
หรือกรรมการเรื่องต่างๆ เช่น เรื่องอนุรักษ์พัฒนาทรัพยากร สิ่ ง แวดล้ อ ม พลั ง งานท้ อ งถิ่ น ข้ อ มู ล และการสื่ อ สาร เรื่ อ ง พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และอาชี พ ท้ อ งถิ่ น เรื่ อ งสวั ส ดิ ก าร ศิลปะวัฒนธรรมพื้นถิ่น การศึกษา การจัดผังและพั ฒนาเมือง พัฒนาเยาวชน กองทุนชุมชน ฯลฯ โครงสร้างสมัชชาพลเมืองอาจปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ ตามความเห็นชอบร่วมกันในการประชุมใหญ่ที่จัดขึ้น อาจมี กลุ่ม หรือคณะทางานด้านต่างๆ ทั้งงานเฉพาะหน้าระยะสั้น หรือระยะยาว จากกลุ่มองค์กรหรือหน่วยงานเกี่ยวข้องในพื้นที่ และผู้ เ ชี่ ย วชาญ เป็ น โครงสร้ า งที่ มี พ ลวั ต รของคนทั้ ง พื้ น ที่ โครงสร้างอาสาสมัคร ครอบคลุมเรื่องที่เกี่ยวข้องจานวนมาก และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตามความเป็นจริง คณะที่ ป รึ ก ษา หรื อ กรรมการที่ ป รึ ก ษา เพื่ อ ให้ ส มั ช ชา พลเมืองสามารถมีส่วนร่วมจากทุกกลุ่ม /ฝ่าย และมีความเป็น เจ้ า ของร่ ว มกั น ของคนในพื้ น ที่ สมั ช ชาพลเมื อ งอาจตั้ ง ที่ ปรึกษา หรือกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย นายกองค์กร ท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ศาสนา สมาคม ภาคธุรกิจ เอกชน ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ อายุ ข องสมั ช ชาพลเมื อ ง ระยะเวลาท างานของแต่ ล ะ กลุ่มงาน หรือคณะประสานงาน ขึ้ นกับข้อตกลงในที่ประชุม
[ 14 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
ใหญ่ของสมัชชาพลเมือง แต่ละชุดไม่ควรเกิน ๒ ปี แต่อาจมี การเลือกกลับเข้ามาใหม่ได้ การหยุ ด ท างานของสมั ช ชาพลเมื อ ง เมื่ อ มี เ หตุ จ าเป็ น อันนาไปสู่ความขัดแย้งที่ไม่สามารถหาข้อสรุปที่เหมาะสมได้ และความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ ภายในสมัชชาพลเมืองเอง อาจขยายตัวนาไปสู่ความขัดแย้ง หรือความรุนแรง ระหว่าง พลเมื อง คณะกรรมการสมั ชชาพลเมืองระดับจังหวัด หรือ คณะกรรมการสมัชชาพลเมืองระดับชาติ อาจมีความเห็นให้ สมัชชาพลเมืองนั้นๆ หยุดทาการเป็นระยะเวลาหนึ่ง จนเมื่อมี การแก้ปัญหาและมีความพร้อมจึงเริ่มต้นขึ้นใหม่ตามขั้นตอน เช่นเดียวกับการเริ่มต้น
[ 15 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
กลไกส่งเสริม
“สมัชชาพลเมือง” ระดับชาติและ ระดับจังหวัด คณะกรรมการส่งเสริมสมัชชาพลเมืองจังหวัด ให้มีการ จัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสมัชชาพลเมืองระดับจังหวัด ขึน้ ในทุกจังหวัด ประกอบด้วย ตัวแทนส่วนราชการ อบจ. ตั ว แทนสมาคมองค์ ก รท้ อ งถิ่ น ตั ว แทนหน่ ว ยงานที่ สนั บ สนุน งานด้า นชุ ม ชน และประชาสั ง คม เช่ น สสส. พอช. สปสช. สกว. กป.อพช. ตัวแทนสถาบันการศึ กษา ตัวแทนสภาองค์กรชุมชน และประชาสังคมอื่น เป็นต้น รวมไม่เกิน 25 คน เป็นสัดส่วนใกล้เคียงกัน ภาคราชการ และท้ อ งถิ่ น หน่ ว ยงานด้ า นภาคประชาสั ง คม ทั้ ง ส่ ว นกลาง และพื้ น ที่ และภาคตั ว แทนชุ ม ชนและกลุ่ ม พลเมืองอื่นๆ ให้คณะกรรมการส่งเสริมสมัชชาพลเมือง จัง หวั ด นี้ มี ห น้ าที่ ส นั บ สนุ น ส่ ง เสริ มกระบวนการจัด ตั้ ง
[ 16 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
ขั บ เคลื่ อ น และพั ฒ นาสมั ช ชาพลเมื อ งในพื้ น ที่ ต่ า งๆ ในจังหวัด
คณะกรรมการส่งเสริมสมัชชาพลเมืองระดับชาติ ให้มี คณะกรรมการส่งเสริมสมัชชาพลเมืองระดับชาติ จานวน ไม่ เ กิ น ๓๐ คน สั ด ส่ ว น เช่ น เดี ย วกั บ คณะกรรมการ ส่ งเสริม ระดับจัง หวัด และควรเป็นตั วแทนจากสมัชชา พลเมืองจากพื้นที่ด้วย ไม่ต่ากว่ากึ่งหนึ่ง ในระยะแรกอาจ เป็นกลไก หรือกรรมาธิการหนึ่งของสภาขับเคลื่อนการ ปฏิรูปประเทศ
[ 17 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
บันทึก
[ 18 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
บันทึก
[ 19 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?
บันทึก
[ 20 ] สมัชชาพลเมือง คืออะไรและมีแนวทางอย่างไร ?