สมุดเล่มเล็ก

Page 1

ทฤษฏีการออกแบบเว็บไซต์

จัดทาโดย นางสาวจิราวรรณ ศรีอานวย

รหัสนักศึกษา 533410080506

นางสาวปิยภาณี ผดุงสันต์

รหัสนักศึกษา 533410080516

นางสาวพรพิศ แพงสุ่ย

รหัสนักศึกษา 533410080518

นายภาณุเดช ศรีนวลจันทร์

รหัสนักศึกษา 533410080541

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 หมู่ 5

เสนอ อาจารย์ปวริศ สารมะโน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม


คานา หลักการออกแบบเว็บไซต์ เป็นหนังสือที่จัดทาขึ้น เพื่อให้ศึกษา หลักการ ทฤษฎี ต่างๆ เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และ เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้วสามารถออกแบบเว็บไซต์ให้สวยงานได้ หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการ สื่อสาร การประชาสัมพันธ์ของเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ การ ออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ โดยผู้จัดทาได้เรียบเรียงเป็นลาดับดับ ขั้นตอน ซึ่งง่ายต่อการศึกษา การเข้าใจ และการจดจาเป็นอย่างดี ผู้จัดทาได้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือหลักการออกแบบเว็บไซต์ นี้จะ เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน สาหรับนาไปใช้ ในการเรียนรู้และศึกษา ด้วยตนเอง ขอขอบคุณผู้เจ้าของข้อมูลทั้งด้านหนังสือคู่มือ และเว็บไซท์ที่ มีส่วนช่วย ในการจัดทาทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ผู้จัดทา จิราวรรณ ศรีอานวย และคณะ


สารบัญ เรื่อง

หน้า

บทที่ 1 หลักการและทฤษฎีการสื่อสาร ความหมายของการสื่อสาร

1

ความสาคัญของการสื่อสาร

2

วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร

2

ประสิทธิภาพของการสื่อสาร

4

บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ การสร้างภาพลักษณ์เพื่อการประชาสัมพันธ์

6

บทที่ 3 ความหมายของการประชาสัมพันธ์ ความหมายของการประชาสัมพันธ์ ของด.ร.เสรีวงษ์มณฑา

7

ความหมายของการประชาสัมพันธ์ ของสุพิณปัญญามาก

7

บทที่ 4 การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ ประเภทของการเรียนการสอน ผ่านเว็บของพาร์สัน

8


สารบัญ เรื่อง หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอน กับการเรียนการสอนผ่านเว็บ

หน้า 9

บทที่ 5 ความหมายของเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์สุปราณี ธีรไกรศรี

12

ความหมายของเว็บไซต์ดานันท์ มลิทอง

13

บทที่ 6 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบโครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์

14

บทที่ 7 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ การวางแผนในการพัฒนาเว็บไซต์ที่ดี

16

กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ ของดวงพร เกี๋ยงคา

17

บทที่ 8 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ความหมายของโครงสร้างเว็บไซต์

19

หลักในการออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์

19

ประเภทของโครงสร้างเว็บไซต์

20


สารบัญ เรื่อง

หน้า

บทที่ 9 องค์ประกอบของเว็บไซต์ องค์ประกอบของเว็บไซต์มี 4 ส่วน

24

บทที่ 10 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ ส่วนประกอบต่างๆ ของเว็บไซต์

26

บทที่ 11 ประเภทของเว็บไซต์ ประเภทต่างๆ ของเว็บไซต์

28

บทที่ 12 การประเมินเว็บไซต์ หลักในการประเมินเว็บไซต์

33

บทที่ 13 การโปรโมทเว็บไซต์ วิธีการโปรโมทเว็บไซต์

34

บรรณานุกรม

38



1

บทที่ 1 หลักการและทฤษฎีการสื่อสาร การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต มนุษย์จาเป็นต้อง ติดต่อสื่อสารกันอยู่ตลอดเวลา การสื่อสารจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่ง นอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์ การสื่อสารมี บทบาทสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์มาก การสื่อสารมีความสาคัญ อย่างยิง่ ในปัจจุบัน ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เป็นยุคของข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสารมีประโยชน์ทั้งในแง่บุคคลและสังคม การสื่อสารทา ให้คนมีความรู้และโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น การสื่อสารเป็นกระบวนการ ที่ทาให้สังคม เจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ทาให้มนุษย์สามารถสืบทอด พัฒนา เรียนรู้ และรับรู้วัฒนธรรมของตนเองและสังคมได้ ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสาร คือ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคลฝ่ายหนึ่งที่ เรียกว่าผู้ส่งสารไปยังยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้รับสารโดยผ่าน ช่องทางในการสื่อสาร องค์ประกอบที่สาคัญคือ ผู้ส่งสาร(Sender) สาร(Message) ช่องทาง(Channel) และตัวผู้รับสาร(Reciever) ซึ่งมักเรียกกันว่า SMCR


2

ความสาคัญของการสื่อสาร 1. การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ไม่มีใครที่จะดารงชีวิตได้ โดยปราศจากการสื่อสาร ทุกสาขาอาชีพ ก็ต้องใช้การสื่อสารในการปฏิบัติงาน การทาธุรกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะ สังคมมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตลอดเวลา พัฒนาการทาง สังคม จึงดาเนินไปพร้อม ๆ กับพัฒนาการทางการสื่อสาร 2. การสื่อสารก่อให้เกิดการประสานสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลและ สังคมช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างคนในสังคม ช่วยสืบทอด วัฒนธรรมประเพณี สะท้อนให้เห็นภาพความเจริญรุ่งเรือง วิถีชีวิตของ ผู้คน ช่วยธารงสังคมให้อยู่ร่วมกันเป็นปกติสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 3. การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้า ทั้งตัวบุคคลและสังคม การพัฒนาทางสังคมในด้านคุณธรรม จริยธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ รวมทั้งศาสตร์ในการสื่อสาร จาเป็นต้อง พัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร 1. การสื่อสารภายในบุคคล (Intrapersonal Communication) การคิดหรือจินตนาการกับตัวเอง เป็นการคิดไตร่ตรองกับตัวเอง ก่อนที่จะ มีการสื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป


3

2. การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่นการพูดคุย ปรึกษาหารือในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 3. การสื่อสารกลุ่มย่อย (Small-group) Communication) 4. การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจกรรมร่วมกัน แต่จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้นเรียนขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดเล็ก 5. การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (Large-group Communication) 6. การสื่อสารระหว่างคนจานวนมาก เช่นภายในห้องประชุมใหญ่ โรงภาพยนตร์ โรงละคร ชั้นเรียนขนาดใหญ่ 7. การสื่อสารในองค์กร (Organization Communication) 8. การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วยงาน เพื่อปฏิบัติงานให้ สาเร็จลุล่วง เช่นการสื่อสารระหว่าเพื่อนร่วมงาน เจ้านายกับลูกน้อง 9. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) 10. การสื่อสารกับคนจานวนมากในหลายๆพื้นที่พร้อมกัน โดยใช้ สื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ เป็นสื่อกลาง เหมาะสาหรับการส่งข่าวสารไปยังผู้คนจานวนมากๆในเวลา เดียวกัน 11. การสื่อสารระหว่างประเทศ (International Communication)


4

12. การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม การเมืองและสังคม เช่นการสื่อสารทางการทูต การ สื่อสารเจรจาต่อรองเพื่อการทาธุรกิจ ประสิทธิภาพของการสื่อสาร ตามองค์ประกอบของการสื่อสาร ทาให้เห็นว่ามีปัจจัยหลายประการ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการสื่อสารได้ ดังนั้นจึงควรต้องทาความ เข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบต่างเพื่อช่วยในการวางแผนการสื่อสาร โดย สามารถศึกษาได้จากแบบจาลองการสื่อสารของเบอร์โล


5

บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ สมควร กวียะ ได้นาเอาทฤษฎีความรับผิดชอบต่อสังคมมาปฏิรูป การประชาสัมพันธ์แบบดั้งเดิม สร้างเป็นทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ใหม่ที่ เรียกว่า การสื่อสารองค์กรเชิงบูรณาการ (Integrated Oraganizational Communication) ทฤษฎีนี้เสนอว่าองค์กรจะต้องปรับเปลีย่ นปรัชญา 1. จากการสื่อสารมิติเดียวมาเป็นการสื่อสารหลายมิติ ใช้หลายสื่อ หลายทิศทาง และมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมทั้งองค์กรและสังคมอย่าง เป็นธรรม 2. จากการสื่อสารถึงสาธารณชนหรือมวลชนมาเป็นการสื่อสารกับ สมาชิกของสังคม เน้นสังคมภายในองค์กร และชุมชนรอบองค์กร ก่อน ขยายขอบเขตออกไปสู่องค์กรอื่น และสังคมมวลชน 3. จากการสื่อสารโน้มน้าวใจให้คล้อยตามมาเป็นการสื่อสารเพื่อ สร้างความเป็นหนึ่งเดียวบนพื้นฐานความแตกต่างของความรู้ ความคิด และบทบาทหน้าที่ 4. จากการสื่อสารเพื่อสร้างเสริมภาพลักษณ์ ขององค์กรเพียงด้าน เดียวมาเป็นการสื่อสารเพื่อส่งเสริมภาพจริงที่แสดงความรับผิดชอบของ องค์กรต่อสังคมต่อโลกและต่อชีวิตของเพื่อนมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า หรือกลุ่มเป้าหมายขององค์กร


6

การสร้างภาพลักษณ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ (IMAGE) หรือบางแห่งก็อาจใช้ว่าจินตภาพหรือ ภาพพจน์นี้มีความสาคัญต่อการประชาสัมพันธ์มากจนอาจกล่าวได้ว่า เมื่อใดก็ตามที่มีการพูดถึงคาว่าการประชาสัมพันธ์เมื่อนั้นก็มักจะมีคาว่า IMAGE หรือภาพลักษณ์นี้ไปเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอทั้งนี้เนื่องจากการ ประชาสัมพันธ์เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์และเป็นงานที่มีส่วน เสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานสถาบันหรือองค์การให้มีภาพลักษณ์ที่ ดีต่อความรู้สึกนึกคิดของประชาชนเพื่อผลแห่งชื่อเสียงความเชื่อถือ ศรัทธาจากประชาชนที่มีต่อตัวองค์การสถาบันนั่นเองตามหลักวิชาการ ประชาสัมพันธ์หน่วยงานหรือองค์การสถาบันต่างๆถึงเพียรพยายามอย่าง ยิ่งที่จะสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีกับกลุ่มประชาชน เป้าหมายที่ตนเกี่ยวข้องอยู่รวมทั้งกลุ่มประชาชนทั่วไปด้วยเพื่อให้ ประชาชนมีความรู้มีความรู้สึกนึกคิดต่อองค์การสถาบันไปในทางที่ดีความ พยายามดังกล่าวนี้ยังรวมไปถึงการสร้างสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามหรือบาเพ็ญ สาธารณประโยชน์ต่างๆต่อสาธารณชนหรือสังคมส่วนรวมโดยมี จุดมุ่งหมายให้ประชาชนเกิดภาพลักษณ์ที่ดีงามต่อองค์การหรือสถาบันซึ่ง ความจริงนี้บรรดาผู้บริหารระดับสูงขององค์การต่างก็ทราบกันดีอยู่แก่ใจ ว่าการประชาสัมพันธ์เป็นการสร้างภาพลักษณ์ (IMAGE) และพัฒนา ปรับปรุงภาพลักษณ์ของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้นในสายตาของประชาชน


7

บทที่ 3 ความหมายของการประชาสัมพันธ์ คาว่า “การประชาสัมพันธ์” มาจากคาว่า“ประชา” กับ“สัมพันธ์” ซึ่งตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า“public relations” หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “PR” ตามคาศัพท์ที่หมายถึงการมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประชาชน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2525 หมายถึง การ ติดต่อสื่อสารเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน ความหมายของการประชาสัมพันธ์ของด.ร.เสรีวงษ์มณฑา ด.ร.เสรีวงษ์มณฑา, 2540 ให้ความหมายว่า“การประชาสัมพันธ์เป็น ความพยายามที่มีการวางแผนในการที่จะมีอิทธิพลเหนือความคิดจิตใจ ของสาธารณชนที่เกี่ยวข้องโดยกระทาสิ่งที่ดีที่มีคุณค่ากับสังคมเพื่อให้ สาธารณชนเหล่านั้นมีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงานองค์กรบริษัทห้างร้านหรือ สมาคมตลอดจนมีภาพพจน์ที่ดีเกี่ยวกับหน่วยงานต่างๆเหล่านั้นเพื่อให้ หน่วยงานได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือที่ดีจากสาธารณชนที่ เกี่ยวข้องในระยะยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ” ความหมายของการประชาสัมพันธ์ของสุพิณปัญญามาก สุพิณปัญญามาก, 2535 อธิบายไว้ว่า“ความพยายามที่มีแผนที่จะมี อิทธิพลต่อความคิดและทัศนคติของประชาชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างประชาชนกับหน่วยงาน”


8

บทที่ 4 การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ เวิลด์ ไวด์ เว็บ เป็นบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความ นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบันการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับ กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการ เรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการ สอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ใน การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการ เรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของ กระบวนการเรียนการสอนก็ได้ เวิลด์ ไวด์ เว็บ เป็นบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความ นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็น ที่รู้จักในวงการศึกษาใน ประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามีบทบาทสาคัญทาง การศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่งความรู้ที่ไร้พรมแดน พาร์สันแบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บมี 3 ลักษณะ คือ 1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบ อินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุด ถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่านระบบ คอมพิวเตอร์สื่อสารได้ ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบ วิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจาก รายวิชาทางไกล


9

2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครู กับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การ กาหนดให้อ่าน การสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บที่ สามารถชี้ตาแหน่งของแหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ 3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวตั ถุดิบเครื่องมือ ซึ่งสามารถ รวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรม ทางการศึกษา ซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความ เป็นภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทา ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น เองเจลโล ได้สรุปหลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนกับการ เรียนการสอนผ่านเว็บ 5 ประการดังนีค้ ือ 1. ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียน และผู้สอนสามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่าง ผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับการเรียน การสอน โดยผู้สอนสามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะ กาลังศึกษาทั้งยังช่วยเสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียน ผ่านเว็บสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้งซักถามข้อข้องใจ กับผู้สอนได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่านอินเทอร์เน็ต จากผู้สอน ผู้เรียนเมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถทางานที่ได้รับ มอบหมายและส่งผ่านอินเทอร์เน็ต กลับไปยังอาจารย์ผู้สอน หลังจากนั้น


10

อาจารย์ผู้สอนสามารถตรวจและให้คะแนนพร้อมทั้งส่งผลย้อนกลับไปยัง ผู้เรียนได้ในเวลาอันรวดเร็วหรือในทันทีทันใด 2. การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความ ร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนา ความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทางานคนเดียว ทั้งยังสร้างความสัมพันธ์ เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางที่ดี ที่สุด เป็นการพัฒนาการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้และการยอมรับความ คิดเห็นของคนอื่นมาประกอบเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด ผู้เรียนที่เรียนผ่าน เว็บแม้ว่าจะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถ ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกไว้ ด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทันทีทันใด เช่น การใช้ บริการสนทนาแบบออนไลน์ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปจนถึงผู้เรียนที่เป็นกลุ่มใหญ่ 3. ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยงการกากับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้อนข้อมูลหรือคาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ เองโดยการ แนะนาของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้ จะช่วยให้ ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูลได้ จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการใฝ่หา ความรู้ 4. การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ ทราบถึงความสามารถของตน อีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับ


11

แนวทางวิธีการหรือพฤติกรรมให้ถูกต้องได้ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ สามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้งผู้สอนเองหรือแม้กระทั่งจากผู้เรียนคน อื่นๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ละคนจะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียนแบบ เผชิญหน้ากันก็ตาม 5. ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับ บุคคลที่ใฝ่หาความรู้ การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับ ทุกๆคนที่สนใจศึกษา เนื่องจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทางไปเรียนณ ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ทสี่ นใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้มีคุณลักษณะที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอนทั้ง 5 ประการได้อย่างมีประสิทธิภาพ


12

บทที่ 5 ความหมายของเว็บไซต์ เว็บไซต์ หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงผ่านทาง ไฮเปอร์ลิงค์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดย ถูกจัดเก็บไว้ใน www เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อ ประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงาน โดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) ความหมายของเว็บไซต์สุปราณี ธีรไกรศรี สุปราณี ธีรไกรศรี (2542: 18) กล่าวว่า “เว็บไซต์ คือ เครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่อาจใช้ระบบปฏิบัติการใดๆ ก็ได้ เช่น วินโดวส์ เอ็นที (Windows NT) หรือยูนิกซ์ (UNIX) เป็นต้น และมีโปรแกรมจัดการที่ ทางานอยู่ในเครื่องนั้นเพื่อให้เครื่องดังกล่าวทาหน้าที่เป็นเครื่องบริการเว็บ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เก็บเว็บเพ็จที่อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลเอกสารที่ เขียนด้วยภาษาเอชทีเอ็มแอล อยู่ด้วย” ซึ่งสอดคล้องกับ วิเศษศักดิ์ โครต อาษา (2542: 180) ที่กล่าวว่า “เว็บไซต์เป็นแหล่งที่รวมของเว็บเพ็จ ทั้งหมดที่จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกันของหน่วยงานหรือองค์กรหนึ่งๆ เมื่อใดที่ ใช้โปรแกรม ค้นดู (Browser) โปรแกรมค้นดูจะทาการติดต่อกับเว็บไซต์ที่ เก็บเว็บเพ็จนั้น เพื่อทาการโอนย้ายเว็บที่ต้องการมายังเครื่องของผู้ใช้” นอกจากนี้ จักรชัย โสอินทร์และอุรุพงษ์ กัลยาสิริ (2542: 18) กล่าวว่า “เว็บไซต์ คือ สถานที่อยู่ของเว็บเพ็จที่โปรแกรมค้นดูจะสามารถไปดึง ข้อมูลมาเปิดให้ดูได้ โดยเว็บไซต์นี้จะอยู่ในเครื่องที่ให้บริการที่เรียกว่า เครื่องบริการเว็บ”


13

ความหมายของเว็บไซต์ดานันท์ มลิทอง ดานันท์ มลิทอง (2540) ได้กล่าวถึงเวิลด์ไวด์เว็บว่า เป็นบริการ สืบค้นสารสนเทศที่อยู่ในอินเทอร์เน็ตในระบบข้อความหลายมิติ (hypertext) โดยคลิกที่จุดเชื่อมโยง เพื่อเสนอหน้าเอกสารอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องสารสนเทศที่นาเสนอจะมีรูปแบบทั้งในลักษณะของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง การเข้าสู่ระบบเว็บจะต้องใช้โปรแกรม ทางานซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน ได้แก่ เน็ตสเคป นาวิเกเตอร (NetscapeNavigator), อินเทอร์เน็ต เอ็กซพลอเรอร์ (Internet Explorer) มอเซอิก (Mosaic) โปรแกรมเหล่านี้ช่วยให้การใช้เว็บใน อินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่างสะดวกยิ่งขึ้น เวิลด์ไวด์เว็บ นิยมเรียกสั้นๆ ว่าเว็บ หรือ WWW ถือเป็นส่วนที่ น่าสนใจที่สุดบนอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถแสดงสารสนเทศต่างๆ ได้ หลากหลาย เช่น นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ข้อมูลด้าน ดนตรีกีฬา การศึกษา ซึ่งสามารถนาเสนอได้ทั้งภาพ เสียง รวมถึง ภาพเคลื่อนไหว


14

บทที่ 6 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์นั้นไม่ได้ หมายถึง ลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์ เพียงอย่างเดียว แต่เกี่ยวข้องทั้งหมดตั้งแต่การกาหนดเป้าหมาย การระบุ กลุ่มเป้าหมายการจัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชัน การออกแบบ หน้าเว็บรวมไปถึงการใช้กราฟการเลือกใช้สี และการจัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้องคานึงถึงความแตกต่างของสื่อกลางในการแสดงผล เว็บไซต์ การออกแบบโครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์ ปัจจุบันจะมีหลักการออกแบบโครงสร้างหน้าเว็บไซต์จะไม่แตกต่าง กันมากนัก ซึ่งสามารถจาแนกออก ได้เป็น 3 รูปแบบใหญ่ๆ คือ 1. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นการนาเสนอเนื้อหาเป็นหลัก การ ออกแบบเว็บไซต์ลักษณะนี้จะเน้นการนาเสนอเนื้อหามากกว่ารูปภาพ ซึ่ง ใช้โครงสร้างของตารางเป็นหลัก เพื่อใส่ข้อความแบบหน้าสารบัญและ รูปภาพประกอบที่มีขนาดเล็กๆ

ภาพที่ 1 เว็บไซต์ทมี่ ีการนาเสนอเนื้อหาเป็นหลัก


15

2. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิกเป็นหลัก เว็บไซต์ ประเภทนี้ จะไม่เน้นข้อความภายในเว็บเพจแต่จะเน้นใช้ภาพกราฟิกเป็น หลัก และสร้างลิงค์ที่ภาพไปยังหน้าเว็บเพจอื่นๆ

ภาพที่ 2 เว็บไซต์ที่ใช้ภาพกราฟิกเป็นส่วนประกอบ 3. ออกแบบหน้าไซต์ที่มีทั้งภาพ และเนื้อหา เป็นลักษณะของการ ออกแบบเว็บไซต์ที่นารูปแบบทั้ง 2 ที่กล่าวข้างต้นมาผสมกัน โดยจะเน้น การจัดวางภาพและเนื้อหาให้เหมาะสม และสวยงาม

ภาพที่ 3 เว็บไซต์ที่ใช้ภาพกราฟิกและเนื้อหาเป็นส่วนประกอบ


16

บทที่ 7 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ การวางแผนในการพัฒนาเว็บไซต์ที่ดี ซึ่งพอสรุปขั้นตอนได้ดังนี้คือ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์ ควรเริ่ มจากการกาหนดวัตถุประสงค์ให้ เห็น ภาพชัดเจนว่าต้ องการนาเสนอหรื อต้ องการให้ เกิดผลอะไร เมื่อทราบ วัตถุประสงค์แล้ วก็จะสามารถกาหนดรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องได้ เช่นลักษณะหน้ าตาและสีสนั ของเว็บเพจ 2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เป็นการกาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมายที่จะเข้าชมและใช้บริการเว็บไซต์ นี้ เพื่อออกแบบเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการของคนกลุ่มนี้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเนื้อหา โทนสี กราฟิก และเทคโนโลยีที่นามา สนับสนุนการสร้างเว็บไซต์ 3. เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลนับเป็นสาระสาคัญของการสร้างเว็บไซต์ ดังนั้น ผู้ออกแบบเว็บไซต์จึงจาเป็นที่จะต้องรู้ว่าต้องนาข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง เพื่อให้ข้อมูลบนเว็บไซต์สมบูรณ์ที่สุด


17

4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายด้าน เช่นในการเตรียม เนื้อหา การออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น ดังนั้นเว็บไซต์ที่มีข้อมูลและเนื้อหามาก ก็อาจจะต้องใช้บุคลากร หลายคนที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละด้าน 5. เตรียมทรัพยากรต่าง ๆ ที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ โปรแกรมสาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมีเดียโปรแกรมยูทิลิตี้ โปรแกรมสร้างฐานข้อมูล เป็นต้น นอกจากนี้จะต้องเตรียมจดทะเบียนโดเมนเนม และหาผู้ให้บริการ รับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ของดวงพร เกี๋ยงคา 1. กาหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรกาหนด เป้าหมายและวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อไปมีแนวทาง ที่ชัดเจน 2. วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการนาข้อมูลต่างๆ ที่ รวบรวมได้จากขั้นแรกนามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบ เพื่อให้ได้ โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบสาหรับการออกแบบ และดาเนินการในขั้นต่อไป 3. ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้า โครงและลักษณะด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ใช้เกิดอารมณ์ ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่ผู้สร้างต้องการนอกจากนี้ยังรวมไปถึงการ กาหนดสีสันและรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆ ที่ไม่ใช่กราฟิก เช่น ชนิด


18

ตัวอักษร ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณที่ว่าง เป็นต้น ในส่วนของ เนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเนื้อหาที่เลือกไว้มาปรับแก้และตรวจทาน ความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับจะนาไปใส่เว็บเพจ แต่ละหน้าใน ขั้นตอนถัดไป 4. ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นทีละ หน้าโดยอาศัยเค้าโครงและองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้เนื้อหา ต่างๆจะถูกนามาใส่และจัดรูปแบบจุดเชื่อมโยงและมีระบบนาทางไปสู่ หน้าเว็บต่างๆ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่จะนาออก เผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา การทางานของ จุดเชื่อมโยงและระบบนาทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมภาษา สคริปต์และฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่ เหมือนกับของกลุ่มเป้าหมาย เช่น รุ่นของโปรแกรมค้นดู ความละเอียด ของจอภาพ เพื่อดูว่าผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายสามารถชมเว็บไซต์ได้อย่าง สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่


19

บทที่ 8 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ความหมายของโครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการจัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อจัดทาเป็นโครงสร้างใน การจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนแผนที่ ที่ทาให้เห็น โครงสร้างทั้งหมดของเว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมายสาคัญคือ การที่จะทาให้ผู้เข้า เยี่ยมชม สามารถค้นหาข้อมูลในเว็บเพจได้อย่างเป็นระบบ หลักในการออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ควรพิจารณาดังนี้ 1. กาหนดวั ตถุ ประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้ าหมายของการสร้าง เว็บไซต์นี้ทาเพื่ออะไร 2. ศึกษาคุณลักษณะของผู้ที่เข้ามาใช้ว่ากลุ่มเป้าหมายใดที่ผู้สร้าง ต้องการสื่อสาร ข้อมูลอะไรที่พวกเขาต้องการโดยขั้นตอนนี้ควรปฏิบัติ ควบคู่ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง 3. วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างเนื้อหาสาระ การ ออกแบบเว็บไซต์ต้องมีการจัดโครงสร้างหรือจัดระเบียบข้อมูลที่ชัดเจน การที่เนื้อหามี


20

ความต่อเนื่องไปไม่สิ้นสุดหรือกระจายมากเกินไป อาจทาให้เกิด ความสับสนต่อผู้ใช้ได้ 4. ก าหนดรายละเอี ย ดให้ กั บ โครงสร้ า ง ซึ่ ง พิ จ ารณาจาก วัตถุ ป ระสงค์ ที่ตั้งไว้ โดยตั้งเกณฑ์ในการใช้ เช่น ผู้ใช้ค วรทาอะไรบ้ าง จานวนหน้าควรมีเท่าใด มีการเชื่อมโยง มากน้อยเพียงใด 5. หลัง จากนั้ น จึง ท าการสร้ างเว็ บ ไซต์ แ ล้ว นาไปทดลองเพื่อ หา ข้ อ ผิ ด พลาดและท าการแก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง แล้ ว จึ ง น าเข้ า สู่ เ ครื อ ข่ า ย อินเทอร์เน็ตเป็นขั้นสุดท้าย ประเภทของโครงสร้างเว็บไซต์ โครงสร้างเว็บไซต์สามารถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1. โครงสร้างเว็บไซต์แบบเรียงลาดับ มีลักษณะเป็นโครงสร้างแบบ ธรรมดาที่นิยมใช้กันมากที่สุด เนื่องจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูล เป็น โครงสร้างที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นเรื่องราวตามลาดับเวลา หรือดาเนินเนื้อหา ไปตามล าดั บ หรื อ ด าเนิ น เนื้ อ หาจากเรื่ อ งทั่ ว ๆไป กว้ า งๆ ไปสู่ เ รื่ อ งที่ จาเพาะเจาะจงมากขึ้นหรือมีรายละเอียดมากขึ้น หรือการเรียงลาดับตาม ตัวอักษร เช่น ดรรชนี สารานุกรม หรืออภิธานศัพท์ เป็นต้น 1.1 ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบเรียงลาดับ ผู้ออกแบบเว็บไซต์ออกแบบได้ ง่ายในการจัดระบบโครงสร้าง และง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไข เนื่องจากมี โครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน การเพิ่มเติมเนื้อหาเข้าไปสามารถทาได้ง่าย เพราะมี ผ ลกระทบต่ อ บางส่ ว นของโครงสร้ า งเท่ า นั้ น แต่ ข้ อ เสี ย ของ


21

โครงสร้างระบบนี้คือ ผู้ใช้ไม่สามารถกาหนดทิศทางการเข้าสู่เนื้อหาของ ตนเองได้ 1.2 การนาเว็บไซต์แบบเรียงลาดับไปใช้ โครงสร้างนี้เหมาะกับเว็บที่ มีขนาดเล็ก เนื้อหาไม่ซับซ้อน เหมือนการอ่านหนังสือเรีย งลาดับไปแต่ละ หน้า

ภาพที่ 4 ตัวอย่างเว็บไซต์แบบเรียงลาดับที่มีการเพิ่มเนื้อหาย่อย 2. โครงสร้างเว็บไซต์แบบลาดับขั้น เป็นโครงสร้างที่ดีวิธีหนึ่งในการ จัดระบบโครงสร้างที่มีความซับซ้อนของข้อมูล โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ส่วนต่างๆ และมีรายละเอียดย่อยๆลดหลั่นกัน โดยใช้แนวคิดเดียวกันกับ แผนภูมิองค์กร จึงง่ายต่อการทาความเข้าใจกับโครงสร้างของเนื้อหา ลักษณะเด่น คือ การมีจุดเริ่มต้นที่จุดร่วมจุดเดียว นั่นคือ โฮมเพจ และ เชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาในลักษณะจากบนลงล่าง 2.1 ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบลาดับชัน้ คือ ผู้ชมเว็บไซต์สามารถ แยกแยะเนื้อหาได้ง่าย และสะดวกต่อการจัดระบบข้อมูลของผู้ออกแบบ


22

นอกจากนี้ผู้ดูแลเว็บไซต์สามารถดูแลและปรับปรุงแก้ไขเว็บไซต์ได้ง่าย เนื่องจากมีการแบ่งเป็นหมวดหมู่ชัดเจน ส่วนข้อเสีย คือในส่วนของการ ออกแบบโครงสร้าง ต้องระวังอย่าให้โครงสร้างที่ไม่สมดุล นั่นคือ มี ลักษณะการจัดการข้อมูลในแต่ละหัวข้อไม่สมดุลกัน โดยมีบางหัวข้อที่มี เนื้อหาน้อยเกินไป หรือบางหัวข้อมีเนื้อหามากเกินไป ทาให้โครงสร้างของ เว็บไม่สมดุล 2.2 การนาเว็บไซต์แบบลาดับชั้นไปใช้ โครงสร้างแบบนี้เหมาะกับ เว็บไซต์ที่มีขนาดใหญ่ มีเนื้อหามาก แต่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ส่วนใหญ่ จะใช้กับเว็บไซต์การเรียนการสอน 3. โครงสร้างเว็บไซต์แบบตาราง มีความซับซ้อนมากกว่ารูปแบบที่ ผ่านมา การออกแบบเพิ่มความยืดหยุ่นให้แก่การเข้าสู่เนื้อหาของผู้ใช้ โดย เพิ่มการเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ระหว่างเนื้อหาแต่ละส่วน เหมาะแก่การ แสดงให้เห็นถึงความสาพันธ์กันของเนื้อหา การเข้าสู่เนื้อหาของผู้ใช้จะไม่ เป็นลักษณะเชิงเส้นตรง เนื่องจากผู้ใช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าสู่ เนื้อหาของตนเองได้ 3.1 ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบตาราง โครงสร้างแบบตาราง เป็น โครงสร้างที่มีความยืดหยุ่นสาหรับผู้ใช้ ทุกๆเนื้อหามีความสาคัญเท่าๆกัน และมีลักษณะร่วมกัน ดังนั้น ทุกๆเนื้อหาจึงสามารถเชื่อมโยงถึ งกันได้ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ 3.2 การนาเว็บไซต์แบบตารางไปใช้ โครงสร้างแบบนี้เหมาะกับ เว็บไซต์ที่มีขนาดใหญ่ มีเนื้อหาจานวนมากและมีโครงสร้างซับซ้อน ใน


23

การจัดระบบโครงสร้างแบบนี้ เนื้อหาที่นามาใช้แต่ละส่วนควรมีลักษณะที่ เหมือนกัน และสามารถใช้รูปแบบร่วมกันได้ ในส่วนของหารออกแบบ จาเป็นต้องมีการวางแผนที่ดี เนื่องจากมีการเชื่อมโยงที่เกิดขึ้นได้หลาย ทิศทาง นอกจากนี้การปรับปรุงแก้ไขอาจเกิดความยุ่งยาก เมื่อต้องการ เพิ่มเนื้อหาในภายหลัง 4. โครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุม มีความยืดหยุ่นมากที่สุด ทุก หน้าในเว็บสามารถจะเชื่อมโยงไปถึงกันได้หมด เป็นการสร้างรูปแบบการ เข้าสู้เนื้อหาที่เป็นอิสระ ผู้ใช้สามารถกาหนดวิธีการเข้าสู่เนื้อหาได้ด้วย ตนเอง การเชื่อมโยงแต่ละหน้าอาศัยการโยงใยข้อความที่มีมโนทัศน์ เหมือนกัน ของแต่ละหน้าในลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์หรือไฮเปอร์มีเดีย โครงสร้างลักษณะนี้จัดเป็นรูปแบบที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนตายตัว 4.1 ประโยชน์ข องเว็บ ไซต์แบบใยแมงมุม คือ ง่ ายต่อผู้ใช้ในการ ท่องเที่ยวบนเว็บ โดยผู้ใช้สามารถกาหนดทิศทางการเข้าสู่เนื้อหาได้ด้วย ตนเอง แต่ข้อเสีย คือ ถ้ามีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆอยู่เสมอ จะเป็นการยาก ในการปรับ ปรุง นอกจากนี้การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีมากมายนั้น อาจทาให้ผู้ใช้เกิดความสับสนได้ 4.2 การนาเว็บไซต์แบบใยแมงมุมไปใช้ เนื่องจากโครงสร้างแบบใย แมงมุม เป็นโครงสร้างที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด จึงนิยมใช้ในแวดวงธุรกิจ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ เยี่ยมชม หรือผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าอย่าง เต็มที่


24

บทที่ 9 องค์ประกอบของเว็บไซต์ องค์ประกอบของเว็บไซต์สามารถแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนหัวของหน้า (Page Header) เป็นส่วนที่อยู่ด้านบนสุดของหน้าเว็บเพจ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ ที่สุดของหน้า เนื่องจากเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ติดตามเนื้อหาภายใน เว็บไซต์ มักใส่ภาพกราฟิกเพื่อสร้างความประทับใจ ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย ซึ่งเว็บไซต์หรือชื่อหัวข้อของเว็บเพจย่อย เมนูในการ เชื่อมโยง และแบรนเนอร์โฆษณา การออกแบบส่วนหัวของเว็บเพจมี หลักการที่สาคัญ คือ ต้องระบุชื่อหรือโลโก้ขององค์กรทุกครั้ง เพื่อผู้ชม เว็บไซต์จะได้ทราบว่ากาลังชมเว็บไซต์ใดอยู่ 2.ส่วนของเนื้อหา (Page Content) เป็นองค์ประกอบสาคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจเยี่ยมชมข้อมูลของ ผู้ชมเว็บ ว่าควรชมเว็บไซต์นี้ต่อหรือไม่ การออกแบบส่ วนเนื้อหา ควร กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ว่าต้องการนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับอะไร จากนั้นจึงค้นหาข้อมูลให้ครอบคลุมเรื่องที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุด แล้วนา ข้อมูลเหล่านั้นมากาหนดรูปแบบการนาเสนอข้อมูล เช่น การนาเสนอด้วย รู ป ภาพ เสี ย ง คลิ ป วิ ดี โ อ หรื อ ตั ว อั ก ษร เป็ น ต้ น ข้ อ ควรระวั ง ในการ ออกแบบส่วนเนื้อหาคือ ข้อความในเพจไม่ควรมีความจุไฟล์ข้อมูลมาก


25

เกินไป เนื่องจากจะทาให้โหลดเว็บได้ช้า หากเป็นตัวอักษรไม่ค วรยาว จนเกินไป ควรทาให้ส่วนเนื้อหากระชับได้ใจความ 3. ส่วนคอลัมน์การเชื่อมโยง (Page Sidebar) เป็นเครื่องมือที่นักออกแบบเว็บไซต์ควรกาหนดไว้เพิ่มเติม (อาจไม่มี ส่วนนี้ก็ได้) เพื่ออานวยความสะดวกกับผู้ชมในการเลือกชมสิ่งที่ต้องการ อย่างง่ายดาย หลักการออกแบบส่วนคอลัมน์การเชื่อมโยง จะเน้นความ ง่ายในการใช้งานและความสม่าเสมอบนเว็บเพจ ผู้ออกแบบเว็บเพจต้อง มั่นใจว่า สามารถเชื่อมโยงการทางานทุกเว็บเพจได้อย่างถูกต้อง 4. ส่วนท้ายของหน้า(Page Footer) เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้า มักวางระบบนาทางที่เป็นลิงค์ ข้อความง่ายๆ และอาจแสดงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์ ข้อความแสดงลิขสิทธิ์ วิธีการติดต่อกับผู้ดูแลเว็บไซต์ การแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็นต้น การออกแบบส่วนท้ายของเว็บเพจจะ เน้นความสม่าเสมอเช่นเดียวกับส่วนหัวของเว็บเพจ คือ ส่วนท้ายของเว็บ เพจจะปรากฏอยู่ในทุกเว็บเพจย่อยด้วย ส่วนท้ายของหน้าจะเป็นตัวบอก ผู้ชมว่าส่วนนี้คือล่างสุดของหน้าที่แสดงอยู่แล้ว ไม่มีเนื้อหาเพิ่มเติมแล้ว


26

บทที่ 10 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ ภายในเว็บไซต์หนึ่งๆ มีเว็บเพ็จจานวนหลายหน้า ในแต่ละหน้ามีทั้ง ข้อความ และสื่อประสมรวมกัน ส่วนประกอบต่างๆ ของเว็บไซต์ดังนี้ 1. ตัวอักษร เป็นข้อความปกติ โดยสามารถตกแต่งให้สวยงามและ มีลูกเล่นต่างๆ เช่นโปรแกรมประมวลคา เป็นต้น 2. กราฟิก ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น ลายพื้น ต่างๆ มากมาย 3. สื่อประสม ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีทัศน์ 4. ตัวนับ ใช้นับจานวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บเพ็จ 5. จุดเชื่อมโยง ใช้เชื่อมโยงไปยังเว็บเพ็จของตนเองหรือเว็บเพ็จของ คนอื่น 6. แบบฟอร์ม เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้เข้าเยี่ยมชมกรอกรายละเอียด แล้วส่งกลับมายัง เว็บเพ็จ 7. กรอบ เป็นการแบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนก็จะแสดงข้อมูล ที่แตกต่างกัน และเป็นอิสระจากกัน 8. แผนที่ภาพ เป็นรูปภาพขนาดใหญ่ที่กาหนดส่วนต่างๆ บนรูป เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บเพ็จอื่นๆ


27

9. จาวาแอปเพล็ด (Java applets) เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปเล็กๆ ที่ ใส่ลงในเว็บเพ็จ สามารถเพิ่มลักษณะพิเศษ การโต้ตอบ เช่น เพิ่มเกมส์ หรือหน้าต่างสาหรับป้อนหรือดูข้อมูล บนเว็บเซิร์ฟเวอร์ได้ เป็นต้น เพื่อให้ การใช้งานเว็บเพ็จมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


28

บทที่ 11 ประเภทของเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่เกิดขึ้นมา ในประเทศไทยเองมีเว็บไซต์ที่เกิดขึ้นมา ประมาณหนึ่งแสนสี่หมื่นกว่าเว็บไซต์นับว่าเป็นจานวนที่ไม่น้อยเลยทีเดียว จากเว็บไซต์เหล่านั้นได้ถูกจัดประเภทออกประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. Online Store :เว็บจาหน่ายสินค้า เช่นเว็บไซต์ http://www.chulabook.com/ ขายหนังสือของสานักพิมพ์จุฬาฯ

ภาพที่ 5 เว็บจาหน่ายสินค้า 2. Online service provider :ให้บริการออนไลน์ เช่น http://www.thaitravelcenter.com ให้บริการด้านการท่องเที่ยวและ อานวยความสะดวกด้านการจองที่พักออนไลน์


29

ภาพที่ 6 เว็บให้บริการออนไลน์ 3. Online Brochure &Catalog :เว็บให้ข้อมูลองค์กร สินค้าบริษัท เช่น http://www.seacon.co.th/ ให้ข้อมูลองค์กรว่าเป็นบริษัทรับสร้าง บ้าน

ภาพที่ 7 เว็บให้ข้อมูลองค์กร

4. Portal Website :เว็บท่ารวมบริการต่างๆ สาระบันเทิง http://sanook.com/ เว็บไซต์ที่รวมบริการและความบันเทิงต่างๆ


30

ภาพที่ 8 เว็บรวมสาระบันเทิง 5. Online Publisher/Content site :เว็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ http://www.tourthailands.com/ บริการด้านข้อมูลท่องเที่ยวให้แก่ผู้ที่ สนใจ

ภาพที่ 9 เว็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ 6. Online mall :แหล่งซื้อขายสินค้า รายได้จากคอมมิชชั่น ค่า ประกาศ และโฆษณาhttp://www.weloveshopping.com/ เว็บไซต์ที่ ประกาศขายสินค้า และโฆษณาของสมาชิก


31

ภาพที่ 10 เว็บซื้อสินค้า 7. Online Community :เว็บชุมชนออนไลน์ http://www.pantipmarket.com/ ชุมชนที่มีการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นในเรื่องต่างๆตามที่สนใจ

ภาพที่ 11 เว็บชุมชนออนไลน์ 8. Affiliate Marketer :เว็บที่สร้างรายได้จากการเป็นนายหน้า ออนไลน์ http://webhostinggeeks.com/ เว็บไซต์ที่จาหน่าย web hosting


32

ภาพที่ 12 เว็บที่สร้างรายได้จากการเป็นนายหน้าออนไลน์ 9. Social Media Website :เว็บสังคมออนไลน์รุ่นใหม่ http://www.facebook.com/

ภาพที่ 13 เว็บสังคมออนไลน์รุ่นใหม่


33

บทที่ 12 การประเมินเว็บไซต์ หลักในการประเมินเว็บไซต์ 1. หน้าที่ของเว็บไซต์ (Authority) เกี่ยวกับหน้าที่ของเว็บที่สร้างขึ้น นั้นต้องดูว่าใครหรือผู้ใช้เว็บนี้ อะไรคือความถูกต้อง เหมาะสม ชอบธรรม ระหว่างความสัมพันธ์ของเรื่องและการรับประกันคุณภาพของเว็บเพจนี้ที่ มีต่อผู้ชม 2. ความถูกต้อง (Accuracy) แหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงที่นามา สร้างเว็บสามารถแยกแยะเป็นประเด็นรายการต่างๆ สามารถตรวจสอบ ย้อนหลังได้หรือไม่ 3. จุดประสงค์ (Objective) จุดมุ่งหมายในการสร้างชัดเจนและ บอกความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการนั้นชัดเจน 4. ความเป็นปัจจุบนั (Currency) เว็บเพจที่สร้างขึ้นนั้นต้องแสดง วันที่ที่เป็นปัจจุบันด้วย เช่น บอกว่าสร้างเมื่อใดและมีการแก้ไขครั้ง หลังสุดเมื่อใด 5. ความครอบคลุม (Coverage) การสร้างเว็บไซต์ต้องให้ตรงกับจุด สนใจ หัวเรื่องมีความชัดเจน เหมาะกับรูปภาพ โครงเรื่องและเนื้อหาสาระ วิธีการค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ชัดเจน


34

บทที่ 13 การโปรโมทเว็บไซต์ เนื่องจากในยุคปัจจุบัน E-Commerce มีบทบาทสาคัญในการเป็น ช่องทางหนึ่งของธุรกิจ เว็บไซต์ คือ เครื่องมือสาคัญของ E-Commerce เป็นช่องทางที่ใช้ในการโปรโมทสินค้าและขายสินค้า นอกจากนี้แล้ว เว็บไซต์ยังทาหน้าที่แนะนาบุคคล สถานที่ หรือเป็นที่แลกเปลี่ยนกัน ระหว่างบุคคล ในบทความนี้จะช่วยให้ท่านได้รู้จักช่องทางที่หลากหลายในการที่จะช่วย เผยแพร่เว็บไซต์ของท่านให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ซึ่งมีวิธีการกาหนด เว็บไซต์ ดังนี้ 1. บอกเพื่อนๆ เรื่องเว็บของคุณ เป็นประชาสัมพันธ์แบบง่ายๆ และได้ผลดีที่สุดแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถทาได้ตลอดเวลา และไม่เสีย ค่าใช้จ่าย แต่อย่างใด 2. ส่งอีเมล์แจ้งให้เพื่อนๆทราบ คือการ ส่งอีเมล์ แจ้งให้เพื่อน หรือ คนที่คุณติดต่อ ด้วยทราบ เพื่อแจ้งให้ทราบว่าท่านมีเว็บไซต์ ที่สามารถ เข้าไปใช้งานได้ ซึ่งท่านควรส่งอีเมล์ไปยังคนที่คุณรู้จัก ไม่ควรหว่านส่งไป ทั่ว เพราะจะเป็นอีเมล์ ที่เรียกว่า spam mail ซึ่งผู้ใช้อินเตอร์เน็ตทั่วไป ไม่ยอมรับ วิธีส่งอีเมล์ อีกวิธีหนึ่งคือใช้ links E-mail to Friends ข้างล่าง ของหน้าเว็บแต่ละหน้า เพื่อแจ้งให้เพื่อน คลิ๊กเข้ามาดูข้อมูล ที่หน้านั้น


35

3. เพิ่มชื่อเว็บของท่านใน search engine หรือ web directory ต่างๆ หรือเว็บรวมลิงค์ โดยท่านเพียงกรอกข้อมูล ที่สาคัญของเว็บของ คุณ หลังจากนั้น อีกประมาณ สัปดาห์หนึ่ง เว็บของคุณก็จะปรากฏอยู่ใน ฐานข้อมูล ของเว็บ search engine สาหรับเว็บ search engine ที่ สาคัญๆ เช่น Google 4. แลกลิงค์ กับเพื่อน ที่มีเว็บไซต์ โดยทาการแลกลิงค์ ( URL ) กับ เพื่อน ที่มีเว็บ โดยคุณ สามารถนา urlของเว็บเพื่อน มาใส่ใน Cool Links ของเว็บคุณได้ ซึ่ง เพื่อนของคุณก็ทาเช่นเดียวกัน คือ จะมีชื่อเว็บของคุณ ในหน้าเว็บของเพื่อน เพื่อนเป็นการแลกเปลี่ยน visitor กัน จะทาให้เว็บ ของคุณมีผู้เข้าชม มากและหลากหลายมากขึ้น 5. ทาสติกเกอร์ ติดรถ จะเป็นรถของคุณ และ ของเพื่อนๆ ก็ได้ จะ มากน้อยเท่าไหร่ ก็ได้ วิธีนี้ได้ผลอย่างไม่น่าเชื่อ เพราะทุกที่ ที่มีคนเห็น URL ของเว็บคุณ ก็อาจจะมีคนสนใจเข้ามาเยี่ยมชม 6. ทา E-mail signature วิธีนี้ คือการลงท้าย อีเมล์ของคุณ ด้วย ข้อความประชาสัมพันธ์ เว็บของคุณ ทาให้เวลามีใครได้รับ อีเมล์จากคุณ ก็จะเห็น URL เว็บคุณ 7. ลงภาพถ่าย ที่น่าสนใจ ส่งอีเมล์บอกเพื่อน เช่น คุณไปเทีย่ วกับ เพื่อนมา ก็สามารถนาภาพไปเที่ยว มาลงใน photoalbum


36

8. เขียน webmaster talkเพื่อเป็นการทักทาย โต้ตอบกับผู้เข้าชม สม่าเสมอ ก็จะเป็นการ สร้างความเป็นกันเอง กับผู้เข้าชมเพื่อ ให้เป็น แฟนประจา 9. ตอบกระทู้ในเว็บบอร์ด หรือ แสดงความเห็น ในบทความต่างๆ ซึ่งจะทาให้เว็บของคุณ มีสีสัน มากขึ้น โดยคุณ อาจจะตอบหรือ ตั้งกระทู้ ด้วยรหัสสมาชิก จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือ ให้กับผู้เข้าชม รวมทั้งท่าน สามารถสนุกกับการโหวต ของผู้ชม สาหรับความเห็น ที่ดีเป็นประโยชน์ ยิ่งมีสมาชิก ready portal มากๆ และ มีผู้ชมมากๆ ก็จะทาให้เว็บยิ่งมี สีสัน และ คะแนนโหวต ของสมาชิก ก็จะมากด้วย 10. ทานามบัตร สาหรับแจกผู้อื่น วิธีนี้ ทาได้กว้างขวาง 11. ทาแผ่นพับ อาจทาแบบง่าย ใส่รายละเอียดเนื้อหาของเว็บที่ สาคัญๆ เพื่อใช้โฆษณาเว็บของคุณ 12. ลงประชาสัมพันธ์ในเว็บบอร์ด ที่อนุญาต ให้โฆษณาได้ ตาม เว็บไซต์ต่างๆ (ต้องระวัง ไม่โฆษณาเว็บของคุณผ่านหัวข้อเว็บบอร์ด ที่ไม่ เกี่ยวข้อง เพราะจะทาให้เว็บคุณเสียชื่อเสียงได้ เนื่องจากสังคม อินเตอร์เน็ตไม่ยอมรับ) 13. โพสโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บ Classified ลงประกาศ โฆษณาผ่านเว็บไซต์ประเภทClassified ที่มีบริการลงประกาศซื้อ-ขาย โพสต์โฆษณาอย่างน้อยวันละ 30-40โพสต์/วัน จะช่วยเรื่อง Seoได้เป็น อย่างดี


37

14. อัพเดทเนื้อหน้าเว็บไซต์อยู่เสมอ ลองอัพเดทเรื่องหา บทความ ที่เกี่ยวข้องกับบริการมาอัพเดท หรืออัพเดทสินค้า เพื่อให้เว็บไซต์น่า ติดตามอยู่เสมอ


38

บรรณานุกรม กรอบเกียรติ สระอุบล. (2554). เว็บไซต์สวยแบบมืออาชีพด้วย Joomla. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ:อินเตอร์ มีเดีย.ค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2556 การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร : กรณีศึกษาสโมสร ทาร์ซาน ฮัทเพนท์ บอล เชียงใหม่ ค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2556 http://region3.prd.go.th/phrae/data/pr1.html ค้นเมือ่ 26 มิถุนายน 2556 http://www.kroobannok.com/133. ค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2556 http://dit.dru.ac.th/home/004/tachakorn/WEBDE/Chapter2.pdf http://www.websuay.com/th/web_page/web_component. อเนก ปิ่นศรี.(2552). ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกับการออกแบบเว็บไซต์. กรุงเทพฯ: เคทีพ.ี ค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2556 ชลิตา ไวรักษ์. (2556).การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร : กรณีศึกษาสโมสรทาร์ซาน ฮัทเพนท์ บอล เชียงใหม่. ค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2556 ประเภทและส่วนประกอบของเว็บไซต์.(2554).ค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.